รวมผลงานวิจัยเชิงพาณิชย์ 58

Page 1


ผู้จัดทำ� รวมผลงานวิจัยเชิงพาณิชย์ เพื่อเพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมการผลิต พัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชน พ.ศ. 2558 โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ISBN: 978-974-625-695-7 เอกสารเผยแพร่ พิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2558 พิมพ์ที่ บริษัท ดีเอฟ ดิจิตัล พริ้นท์ติ้ง จำ�กัด จำ�นวน 300 เล่ม จัดทำ�โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เลขที่ 39 หมู่ที่ 1 ชั้น 5 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 48 พระชันษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ถนนรังสิต-นครนายก ตำ�บลคลองหก อำ�เภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท:์ 0 2549 4681-4 โทรสาร 0 2549 4680 E-mail: ird@rmutt.ac.th http://www.ird.rmutt.ac.th ผลิตและออกแบบโดย ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และหจก.บราเธอร์ มีเดีย แอนด์ ดีไซน์

เนื้อหาใดๆ ในหนังสือเล่มนี้เป็นความรับผิดชอบของผู้แต่งแต่เพียงผู้เดียว สถาบันวิจัยและพัฒนา เป็นเพียงผู้จัดพิมพ์และเผยแพร่เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชนเท่านั้น


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี



คำ�นำ� สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีเป็นหน่วยงานกลาง ในการประสานและบริหารงานวิจยั ของมหาวิทยาลัยฯ มีหน้าทีห่ ลักในการส่งเสริมและสนับสนุน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการวิจัยของบุคลากรด้านการวิจัยบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีให้สร้างผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม และผลงานสร้างสรรค์ ที่เป็นประโยชน์ต่อ สังคมไทยและตรงตามความต้องการในการพัฒนาประเทศ ตลอดจนมุง่ มัน่ เพือ่ ยกระดับงานวิจยั ให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยทางสถาบันฯ ได้เล็งเห็นถึงความสำ�คัญ ของการเผยแพร่ผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัย เพื่อนำ�ไปต่อยอดและใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่ภาคอุตสาหกรรมการผลิตด้วยการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี ตลอดจนเป็นการ ส่งเสริมให้ชมุ ชนมีการพึง่ พาตนเองในภาคการผลิตและบริการ ด้วยการนำ�วิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ ใช้ในการสร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจของชุมชนและสังคมไทยอย่างแท้จริง เอกสาร “รวมผลงานวิจยั เชิงพาณิชย์ เพือ่ เพิม่ มูลค่าอุตสาหกรรมการผลิต พัฒนาคุณภาพ ชีวิตชุมชน” ฉบับที่ 1 ปี พ.ศ. 2558 เป็นการรวมผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ เพียงบางส่วน ที่ เ ป็ น ประโยชน์ แ ละพร้ อ มที่ จ ะถ่ า ยทอดออกสู่ สั ง คมในเชิ ง พาณิ ช ย์ แ ละสาธารณประโยชน์ จำ�นวน 28 ผลงาน เพื่อเผยแพร่แก่ผู้สนใจทุกภาคส่วน โดยเฉพาะสถานประกอบการ วิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และชุมชนเพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันของ ภาคธุรกิจของอุตสาหกรรมและชุมชนให้ดำ�เนินไปอย่างยั่งยืน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี


สารบัญ กลุ่มผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ • Star grass สารสำ�คัญชนิดใหม่สำ�หรับเครื่องสำ�อางต้านริ้วรอย • แผ่นเจลมาส์กหน้าสมุนไพรไทย THAI PHYTOGEL FACIAL MASK • ผลิตภัณฑ์สบู่สครับรังไหม ( Silk Scrub Soap Products ) • เครื่องสำ�อางผงไหมเอ็นพีนาโน • ลูกประคบหน้า นวัตกรรมสมุนไพร จากภูมปิ ญ ั ญาไทย สร้างรายได้สชู่ มุ ชน • Yapox ผลิตภัณฑ์บรรเทาอาการปวดอักเสบจากตำ�รับยาสมุนไพรพอกดูดพิษ

10 11 12 13 14 15

กลุ่มอาหารและการเกษตร • น้ำ�ผึ้งไทย และเทคโนโลยีการผลิตแยมน้ำ�ผึ้ง • LOTUS TEA ผลิตภัณฑ์ชาสมุนไพรจากธรรมชาติที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ • “ไรโบนิวคลีโอไทด์” สารเสริมรสชาติในอาหารจากยีสต์ ทางเลือกใหม่ของผูบ้ ริโภค • หัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ดนาโน

18 19 20 21

กลุ่มเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม • หัตถกรรมจักสานภาคกลาง: การศึกษาภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านผลิต และการ พัฒนาเชิงพาณิชย์ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน • หัตถกรรมไม้ตาลภาคกลาง: การศึกษาภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านการผลิต และ การพัฒนาเชิงพาณิชย์โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน • ผ้าไหมไทยทอมือร่วมสมัยหน้ากว้าง 110 นิ้ว • ผลิตภัณฑ์สนิ ค้าของทีร่ ะลึก ตุก๊ ตาไทย“ชุดไทยพระราชนิยม” ของศูนย์ศลิ ปาชีพ บางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • การพัฒนาผลิตภัณฑ์สปาธัญพืชเพื่อวิสาหกิจชุมชน • การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์สบู่ผสมสารสกัดมังคุด

กลุ่มงานวิจัย: วัสดุก่อสร้าง

24 25 26 27 28 29


กลุ่มวัสดุก่อสร้าง • นวัตกรรมที่พักสำ�เร็จรูปถอดประกอบได้ • ท่อนไม้เทียมรูปแบบใหม่สำ�หรับบ้านสไตล์ไม้ • กระเบื้องยางธรรมชาติที่มีความต้านทานต่อไฟฟ้าสถิต • วัสดุคอมโพสิตธรรมชาติจากยางพาราผสมเส้นใยธรรมชาติสำ�หรับทำ�เป็น ผลิตภัณฑ์บล็อกยางปูพื้นภายนอกอาคาร • คอนกรีตบล็อกผสมเศษผลิตภัณฑ์พลาสติกเอทธีลีนไวนิลอะซิเตท • คอนกรีตบล็อกดินขาว • บล็อกปูพื้นน้ำ�หนักเบาดูดกลืนความร้อนต่ำ�และซึมผ่านน้ำ�สูงจากเศษ พลาสติกเอทธีลีนไวนิลอะซิเตท • แผ่นยางพารารองปลายแท่งตัวอย่างคอนกรีตทดสอบ

กลุ่มเทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม • Fragrance Wicker Furniture เฟอร์นิเจอร์ที่ผลิตจากพลาสติกรีไซเคิล ผสมไมโครแคปซูลหุ้มน้ำ�หอมให้กลิ่นหอมยาวนาน • กระถางคอนกรีตน้ำ�หนักเบา • บ้านลดการใช้พลังงานด้วยคอร์ตและหลังคา 2 ชั้น จ.บึงกาฬ • เรือสำ�รวจคุณภาพน้ำ�แบบ ณ ขณะเวลาจริง ผ่านระบบโทรมาตร

32 33 34 35 36 37 38 39

42 43 44 45



ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ


Star grass

สารสาคัญชนิดใหม่สาหรับเครื่องสำ�อางต้านริ้วรอย

01

ทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิบัตร เลขที่คำ�ขอ 130100506

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ

ว่านตาลเดีย่ ว เป็นพืชสมุนไพรดัง้ เดิมของไทยทีอ่ ยูใ่ นวงศ์ Hypoxidaceae มีความสามารถในการต้านการทำ�งานเอนไซม์ไทโรซิเนส และลดการสร้างเมลานินในเซลล์เมลาโนไซต์เทียบเท่าวิตามินซีและมี ฤทธิ์กระตุ้นคอลลาเจนในเซลล์ไฟโบรบลาสได้ดีกว่าวิตามินซี อีกทั้ง ยั งให้ ฤ ทธิ์ ใ นการต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระซึ่ ง เป็ น สาเหตุ ห ลั ก ของการเกิ ด ริ้วรอย และมีความปลอดภัยสูงไม่มีพิษต่อเซลล์ผิวหนัง

จุดเด่นของผลงาน

• สารสกัดว่านตาลเดี่ยวมีสมบัติสามารถช่วยลดริ้วรอยได้อย่างมี ประสิทธิภาพ • ปรับสภาพผิวให้ขาวกระจ่างใส มีความปลอดภัยต่อเซลล์ ไม่ก่อ ให้เกิดอาการแพ้

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ สามารถต่อยอดในเชิงพาณิชย์ได้ โดยผลิตภัณฑ์นี้เป็นวัตถุดิบ ชนิดใหม่ที่สามารถใช้เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์เวชสำ�อาง เพื่อชะลอวัยและผิวขาว สามารถกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจใน ตลาดเครื่องสำ�อางของประเทศ ซึ่งสามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจ ได้ในประชาคมอาเซียนและทั่วโลกได้ ดร.กรวินท์วิชญ์ บุญพิสุทธินันท์ และ นางสาวอุษา โสดามุข วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: korawinwich_b@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2592 1999 โทรสาร: 0 2592 1900

10


แผ่นเจลมาส์กหน้าสมุนไพรไทย

(THAI PHYTOGEL FACIAL MASK)

02 ทรัพย์สินทางปัญญา

อนุสิทธิบัตร เลขที่คำ�ขอ 1503000486 วันที่ 3 เมษายน 2558

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ เป็นผลิตภัณฑ์เครื่องสำ�อางต้นแบบที่ใช้วตั ถุดบิ จากธรรมชาติทม่ี ี อยูอ่ ย่างหลากหลาย และราคาถูกในท้องถิน่ โดยเฉพาะภายในประเทศ ทำ�ให้ได้ต้นทุนที่ต่ำ�และเป็นการต่อยอดพืชผลทางการเกษตรของไทย ให้มมี ลู ค่าทีส่ งู ขึน้ ได้ และรวมไปถึงการนำ�ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ มาต่อยอด และนำ�เสนอในรูปแบบที่ทันสมัย ให้มีผลิตภัณฑ์ใหม่ทางธรรมชาติ สำ�หรับดูแลผิวหน้า

จุดเด่นของผลงาน วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ในการผลิตได้จากพืชสมุนไพรไทย สามารถย่อยสลาย ได้ง่าย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สามารถทำ�ให้ผิวหน้ามีความ ชุม่ ชืน้ และซึมซาบผิวได้อย่างรวดเร็ว ช่วยเพิม่ ให้ความเย็นแก่ผวิ หนัง

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ศูนย์วิจัยนวัตกรรมความงาม ของบริษัทบารมี แลบเบอราทอรีส์ จำ�กัด ภายใต้เครื่องหมายการค้า PhytoGel Facial Mask เป็น ผู้ผลิต และจัดจำ�หน่าย

ดร.ไฉน น้อยแสง และคุณศันสนีย์ กองไชย วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: chanai_n@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2592 1999 โทรสาร: 0 2592 1900

11


ผลิตภัณฑ์สบู่สครับรังไหม (Silk Scrub Soap Products)

03 ทรัพย์สินทางปัญญา อยู่ ในระหว่างดำ�เนินการ

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส บู่ ส ครั บ รั งไหมเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากธรรมชาติ ที่ นำ � มา เคลือบด้วยกลีเซอรีน (Glycerin) ชนิดพิเศษ ซึ่งอุดมไปด้วยกรดอะมิโน (Amino acid) มากกว่า 18 ชนิด ที่มีคุณสมบัติในการช่วยลดแรงตึงผิว ต้านอนุมลู อิสระ กระตุน้ การสร้างคอลลาเจนทำ�ให้ตาข่ายผิว (Skin Texture) แข็งแรง ลดการอักเสบสิว สิวเสี้ยน สิวอุดตัน ลดฝ้า กระ รอยด่างดำ� ขจัดเชลล์ผิวเดิมที่เสื่อมสภาพ ทำ�ให้ขาวใสมีน้ำ�มีนวล เปล่งปลั่งดูอ่อน กว่าวัย

จุดเด่นของผลงาน • เป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติอย่างแท้จริง ที่ผลิตจากรังไหมไทยและ รังไหมญี่ปุ่น • เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติทางเวชสำ�อาง • สามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนเพื่อสร้างงานอาชีพได้อย่างแท้จริง

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ จำ�หน่ายเป็นผลิตภัณฑ์ทางเวชสำ�อางได้อย่างดีและได้รับการยอมรับ จากประชาชนและผูท้ ดลองใช้ดว้ ยราคาทีไ่ ม่แพง ผลิตภัณฑ์ได้รบั เครือ่ งหมาย อ.ย. สามารถจำ�หน่ายในสปาไทย ร้านสมุนไพร ร้านยาและส่งเสริมชุมชน ให้เป็นผูผ้ ลิตและจำ�หน่าย เครือ่ งหมาย อ.ย.10-1-5704384 ผศ.ไศลเพขร ศรีสุวรรณ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: salaipet_s@exchange.rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2744 4419, 0 2549 3183 โทรสาร: 0 2577 2358

12


เครื่องสำ�อาง ผงไหมเอ็นพีนาโน บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ กรรมวิธีการเตรียมผงเส้นใยไหม (ไฟโบรอิน) และผงกาวไหม (เซริซิน) ที่มีขนาดอนุภาคไมโคร/นาโนเมตร ที่สามารถละลายน้ำ�ได้ เกือบสมบูรณ์ซึ่งปกติชาวบ้าน หรืออุตสาหกรรมต่างๆ จะใช้น้ำ�กาวไหม มาใช้งาน เช่น การทำ�ให้เป็นผงกาวไหม การนำ�ไปใช้ในเครื่องสำ�อาง เป็นต้น แต่คณะนักวิจัยจาก มทร.ธัญบุรี สามารถเตรียมผงเส้นใยไหม และผงกาวไหม ซึ่งมีกรดอะมิโนที่มีปริมาณต่างกัน และละลายได้ยาก กว่ากาวไหม ด้วยลักษณะที่มีอนุภาคเล็กมากๆ และปริมาณสารที่เป็น ของแข็งเกือบร้อยละ 100 ทำ�ให้อนุภาคมีความบริสุทธิ์ สามารถนำ�ไป ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์บำ�รุงผิวหนังจากผงไหมนาโน (สบู่เอ็นพีนาโน และ สเปรย์ส�ำ หรับผิวหน้าเอ็นพีนาโน) ทำ�ให้ผวิ หนังนุม่ นวล ชุม่ ชืน้ เปล่งปลัง่ มีสารต้านเชื้อจุลินทรีย์ สมานแผลที่เกิดจากสิว และกระตุ้นการ เจริญเติบโตของเซลล์ผิวหนัง

04 ทรัพย์สินทางปัญญา

เลขที่อนุสิทธิบัตร 9418 ออกให้ ณ วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2558

จุดเด่นของผลงาน • รางวัลเหรียญทอง (กระบวนการผลิตผงไหมนาโน) จากงาน Seoul International Fair 2009 (SIIF 2009) จากประเทศเกาหลีใต้ • ไม่เป็นอันตรายต่อเซลล์ผิวหนัง ทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ โดย ศูนย์นาโน เทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) และไม่มีสารห้ามใช้ เช่น ปรอท ไฮโดรควิโนน กรดวิตามินเอ วิเคราะห์ โดยศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ จ.นครสวรรค์

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ผลิตภัณฑ์สบูเ่ อ็นพีนาโน และสเปรย์ส�ำ หรับผิวหน้าเอ็นพีนาโนทำ�ให้ ผิวหนัง นุ่มนวล ชุ่มชื้น เปล่งปลั่ง มีสารต้านเชื้อจุลินทรีย์ สมานแผล ที่เกิดจากสิว และกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์ผิว (ใบจดแจ้งเลขที่ อย.:60-15400002 และ อย.:60-1-5600005 ได้ รั บ มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชน มผช.550/2553 และ ผลิตภัณฑ์ OTOP 4 ดาว ปี 2553) สนับสนุนทุนวิจยั “กรรมวิธกี ารเตรียมผงเส้นใยไหมและผง กาวไหม” โดยสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ (THTI) ผศ.ดร.อภิชาติ สนธิสมบัต1ิ และ ผศ.นิพนธ์ วงษ์พานิช2 1คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โทรศัพท์: 0 2549 3666 2บริษัท เอ็นพีนาโน จำ�กัด 118/36 ซอยสวรรค์วิถี 62 ต.นครสวรรค์ตก อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 60000 อีเมล์ apichart.s@en.rmutt.ac.th เว็บไซต์ http://www.npnano.com

13


ลูกประคบหน้า นวัตกรรมสมุนไพร จากภูมิปัญญาไทย สร้างรายได้สู่ชุมชน

05 ทรัพย์สินทางปัญญา บริการวิชาการสู่ชุมชน

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ ลูกประคบหน้าถูกพัฒนาจากลูกประคบตัว เนื่องจากหลังการใช้ลูก ประคบตัวจะสังเกตได้ว่าผิวพรรณบริเวณที่ถูกประคบมีความเปล่งปลั่ง สดใส ดูมีชีวิต ชีวา จึงน่าจะนำ�มาพัฒนาเป็นลูกประคบหน้าได้ ซึ่งคน ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่รักความสวย ความงามกันอยู่แล้ว เนื่องจากความสวย ความงามเป็นภาพลักษณ์ที่ทำ�ให้เกิดความน่าประทับใจให้กับผู้พบเห็น จึงพัฒนามาเป็นลูกประคบหน้าตามความต้องการของผูใ้ ช้ ทัง้ หมด 3 สูตร คือ สูตรหน้าใสเต่งตึง สูตรหน้าขาวใส และสูตรหน้าใสไร้สวิ

จุดเด่นของผลงาน • ถ่ายทอดและอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย • ส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ที่มีในชุมชน ไร้สารเคมี • สร้างรายได้ให้กับชุมชนโดยใช้ผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์

• สามารถสร้างรายได้เพิ่มให้กับครอบครัว • สร้างธุรกิจชุมชนช่วยลดต้นทุน • ส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติในสถานประกอบการกิจการสปา นางสาวยามีละ ดอแม วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: yamila_d@exchange.rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2592 1991 โทรสาร: 0 2592 1900

14


YAPOX

ผลิตภัณฑ์บรรเทาอาการปวดอักเสบ จากตำ�รับยาสมุนไพรพอกดูดพิษ

06 ทรัพย์สินทางปัญญา

สิทธิบัตร เลขที่คำ�ขอ 1501002534

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ ตำ�รับยาพอกดูดพิษเป็นตำ�รับยาสมุนไพรไทยดัง้ เดิมทีแ่ พทย์แผนไทย ใช้ในการรักษาผูป้ ว่ ยในกลุม่ อาการปวดและอักเสบบริเวณหัวเข่า ข้อ และ กล้ามเนื้อ พบว่าได้ผลการรักษาในผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี สามารถลด การปวดและอักเสบ บวม แดง เทียบเท่ากับยาแผนปัจจุบัน methyl salicylate หรือ diclofinac และไม่พบอาการแพ้หรืออาการข้างเคียงใดๆ จึงแสดงให้เห็นว่าการใช้ตำ�รับยาพอกดูดพิษนั้นเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง เพื่อการรักษาอาการปวดและอักเสบได้เป็นอย่างดี

จุดเด่นของผลงาน • การพัฒนาตำ�รับยาแผนโบราณ บนพืน้ ฐานของกระบวนการวิทยาศาสตร์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อการบริการด้านสุขภาพ • กระบวนการแปรรูปพืชสมุนไพรให้เป็นผลิตภัณฑ์ เพื่อผลิต จำ�หน่าย สร้างรายได้และธุรกิจจากการแปรรูปพืชสมุนไพร

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ผลิตภัณฑ์ YAPOX ทั้งแบบสเปรย์และเจลนี้เป็นการพัฒนาต่อยอด จากภูมิปัญญาของไทย มีความน่าเชื่อถือระดับหนึ่ง ทั้งในด้านความ ปลอดภัยและประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถนำ�ไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์ได้ ซึ่งเป็นการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านเศรษฐกิจของประเทศ ดร.กรวินท์วิชญ์ บุญพิสุทธินันท์ และ นางสาวอุษา โสดามุข วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: korawinwich_b@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2592 1991 โทรสาร: 0 2592 1900

15



อาหารและการเกษตร


น้ำ�ผึ้งไทย

และเทคโนโลยีการผลิตแยมน้ำ�ผึ้ง

07 ทรัพย์สินทางปัญญา

อนุสิทธิบัตร เลขที่คำ�ขอ 1503000413 วันที่ 26 มีนาคม 2558

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ น้ำ�ผึ้งเป็นสิ่งที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นอาหารจากธรรมชาติที่มี คุณค่าสูงต่อสุขภาพ และยังเป็นยาอายุวัฒนะ ประเทศไทยมีการบริโภค น้�ำ ผึง้ เพือ่ จุดประสงค์ทงั้ 2 ด้านมาช้านาน ปัจจุบนั มีการเลีย้ งผึง้ เป็นการค้า เพื่อผลิตน้ำ�ผึ้งจากดอกไม้หลายชนิด เช่น น้ำ�ผึ้งจากดอกลำ�ไย ลิ้นจี่ ยางพารา ทานตะวัน สาบเสือ และมันสำ�ปะหลัง จากการทดลองพบว่า น้�ำ ผึง้ จากดอกไม้มคี ณ ุ ค่าและคุณลักษณะทีแ่ ตกต่างกัน เช่น น้�ำ ผึง้ ทานตะวัน มีลักษณะตกผลึกได้ง่ายจนเป็นปัญหาต่อการบรรจุและการบริโภค รวมถึง ความไม่เข้าใจของผู้บริโภคจึงพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตน้ำ�ผึ้งทานตะวัน ให้เป็นแยมน้ำ�ผึ้งเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว

จุดเด่นของผลงาน • •

น้ำ�ผึ้งสด (raw honey) เป็นน้ำ�ผึ้งที่ผึ้งผลิตจากดอกไม้ของไทย หลากชนิด เก็บเกี่ยวจากรังผึ้งโดยไม่ผ่านกระบวนการลดความชื้น มีคุณค่าทางโภชนาการสูง แยมน้ำ�ผึ้งเป็นน้ำ�ผึ้งสดที่มีลักษณะข้น หนืด คล้ายครีม สีเหลืองทอง มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว สามารถทาบนขนมปังได้โดยสะดวก

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ • การผลิตน้�ำ ผึง้ เฉพาะชนิด (specific floral honey) เป็นการผลิตน้�ำ ผึง้ ที่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะดอกไม้ ที่มีลักษณะของกลิ่น สี รสชาติ และคุณค่าที่แตกต่าง ทำ�ให้เกิดอรรถรสในการบริโภคน้ำ�ผึ้ง ทำ�ให้ เกษตรกรจำ�หน่ายน้ำ�ผึ้งได้ในราคาที่สูงขึ้น • นวัตกรรมนี้สามารถถ่ายทอดให้กลุ่มเกษตรกร หรือวิสาหกิจชุมชน นำ�ไปใช้ในการผลิตแยมน้ำ�ผึ้งทานตะวันขาย หรือบริษัทธุรกิจน้ำ�ผึ้ง ก็สามารถทำ�เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ได้ ผศ.ดร.อัญชลี สวาสดิ์ธรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: anchalee_s@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2592 1961 โทรสาร: 0 2592 1961

18


LOTUS TEA ผลิตภัณฑ์ชาสมุนไพร

จากธรรมชาติที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ เครื่องดื่มประเภท “ชาสมุนไพร” เป็นที่รู้จักในทุกชนชาติ และเป็น วัฒนธรรมทีน่ ยิ มกันทัว่ โลกในปัจจุบนั เนือ่ งจากการบริโภคพืชสมุนไพร ในรูปแบบเครือ่ งดืม่ เป็นอีกทางเลือกหนึง่ ทีจ่ ะทำ�ให้รา่ งกายนัน้ ได้รบั สาร ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพที่ดีจากสมุนไพรซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพได้มาก ยิ่งขึ้น ผลการศึกษาวิจัยพบว่าบัวหลวง (Nelumbo nucifera Gaert.) ชื่อสามัญว่า Sacred Lotus ซึ่งมีถิ่นกำ�เนิดแถบเอเชีย เช่น จีน อินเดีย และไทย นั้นมีสรรพคุณทางเภสัชวิทยาในการต้านอนุมูลอิสระ (Anti oxidant) และต้านเบาหวาน โดยชาสมุนไพรที่ผลิตประกอบด้วย วัตถุดิบหลักคือส่วนต่างๆ ของบัวหลวง บรรจุลงในซองขนาดเล็ก พร้อมใช้ สะดวกในการพกพา และการชงดื่มเพียงแช่ในน้ำ�ร้อน

08 ทรัพย์สินทางปัญญา

อยู่ ในระหว่างดำ�เนินการ

จุดเด่นของผลงาน • • •

ผลิตจากส่วนต่างๆ ของบัวหลวง ที่ผ่านการคัดเลือกเฉพาะส่วนที่มี ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูง มีกลิ่นหอมละมุนและรสชาติกลมกล่อม บรรจุในซองแยก เพื่อป้องกันกลิ่นสูญเสียไประหว่างการเก็บ

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ชาบัวหลวงเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ (Health product) ทีต่ อบรับกระแสการดืม่ ชาสมุนไพร ทีไ่ ด้รบั ความนิยมไปทัว่ โลก โดยสามารถ ผลิ ต เพื่ อ จำ � หน่ า ยได้ ทั้ งในระดั บ ชุ ม ชนหรื อในระดั บ อุ ต สาหกรรม เพื่อจำ�หน่ายเป็นสินค้าภายในประเทศ หรือสินค้าส่งออกที่มีมูลค่าได้ ผศ.ดร.เลอลักษณ์ เสถียรรัตน์ และ นายเกรียงศักดิ์ สิงห์แก้ว คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมล์: lerluck_s@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 3161 โทรสาร: 0 2577 2358

19


ไรโบนิวคลีโอไทด์ สารเสริมรสชาติในอาหารจากยีสต์ทางเลือกใหม่ของผู้บริโภค

09 ทรัพย์สินทางปัญญา อยู่ ในระหว่างดำ�เนินการ

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ สารเสริ ม รสชาติ ใ นอาหารไรโบนิ ว คลี โ อไทด์ ผ ลิ ตโดยใช้ ยี ส ต์ เ ป็ น วัตถุดิบหลัก กระบวนการผลิตจะใช้เอนไซม์จากจุลนิ ทรียส์ �ำ หรับย่อยสลาย กรดไรโบนิวคลีอิกจากยีสต์ภายใต้สภาวะที่เหมาะสม ผ่านกระบวนการ แยกการทำ�ให้บริสุทธิ์ และการทำ�แห้ง จะได้ผลิตภัณฑ์สารเสริมรสชาติใน อาหารที่มีลักษณะเป็นผงสีขาว สามารถใช้เติมลงไปเพิ่มรสชาติอูมามิใน ผลิตภัณฑ์อาหารชนิดต่างๆ ได้และไม่สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพของผูบ้ ริโภค

จุดเด่นของผลงาน

• กระบวนการผลิตง่าย ได้ผลผลิตสูง ต้นทุนในการผลิตต่ำ� • ผลิตภัณฑ์ให้รสชาติอูมามิเข้มข้นในอาหาร และไม่มีผลกระทบต่อ ร่างกายของผู้บริโภค

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ งานวิจัยนี้สามารถนำ�ไปขยายขนาดการผลิตในระดับอุตสาหกรรมได้ โดยผลิตภัณฑ์สารเสริมรสชาติในอาหารไรโบนิวคลีโอไทด์จะเป็นทางเลือก ใหม่สำ�หรับอุตสาหกรรมอาหารและผู้บริโภคต่อไป ดร.อนันต์ บุญปาน ผศ.ดร.สิริแข พงษ์สวัสดิ์ และ ดร.จันทิมา ฑีฆะ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: anan_b@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 4142 โทรสาร: 0 2577 5046

20


หัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ดนาโน

สามารถใช้ทดแทนปุย๋ เคมีหรือปุย๋ อินทรีย์ มีประสิทธิภาพหลากหลาย ประการคือ ชักนำ�การเติบโต ควบคุมจุลินทรีย์ก่อโรค ช่วยกำ�จัด โลหะหนักปนเปื้อน ช่วยปรับสภาพ pH ทำ�ให้ดินร่วนซุย ลดปริมาณ การใช้ต่อครั้ง ลดต้นทุนแต่เพิ่มผลผลิต

10 ทรัพย์สินทางปัญญา

สิทธิบัตร เลขที่คำ�ขอ 1401007158, 1401007159

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ หัวเชือ้ ชีวภาพอัดเม็ดนาโน เคลือบกล้าหัวเชือ้ ราบนตัวจับ (binder) ตัวรักษาสภาพ (carrier) จากวัสดุเหลือใช้ชมุ ชนและโรงงานอุตสาหกรรม ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง ทำ�ให้ได้สูตรชีวภัณฑ์หัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ดนาโน สูตรที่เหมาะสมกับสภาพดิน และได้มาตรฐานสากล และเหมาะต่อ การพัฒนาการปลูกพืชอินทรีย์แต่ละชนิด ทำ�ให้เกษตรกรเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

จุดเด่นของผลงาน

• ธาตุอาหารในชีวภัณฑ์จะค่อยปล่อยธาตุอาหารสู่สภาพแวดล้อม สามารถทำ�งานร่วมกับจุลินทรีย์อื่นๆ ได้ในสภาพแวดล้อม • มีประสิทธิภาพหลากหลายประการคือ ชักนำ�การเติบโต ควบคุม จุลินทรีย์ก่อโรค ช่วยกำ�จัดโลหะหนักปนเปื้อน ช่วยปรับสภาพ pH ดินร่วนซุย ลดปริมาณการใช้ต่อครั้ง ลดต้นทุนแต่เพิ่มผลผลิต

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์

การผลิตหัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ดนาโนหรือเม็ดปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ย ชีวภาพหรือปุ๋ยเคมีอื่นๆ เคลือบด้วยกล้าหัวเชื้อราด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง ทำ�ให้ผลิตภัณฑ์หัวเชื้อชีวภาพอัดเม็ดนาโนหรือเม็ดปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ย ชีวภาพหรือปุ๋ยเคมีที่มีประสิทธิภาพดีขึ้นและได้มาตรฐานสากลและ มีปริมาณ NPK เหมาะสม สามารถแก้ปัญหาเกษตรกรได้หลายๆ ประการและมีจ�ำ นวนเพียงพอกับความต้องการของเกษตรกร ลดต้นทุน เพิ่มรายได้ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผศ.ดร.สุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: sukhan@mail.rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 4177 โทรสาร: 0 2549 4119

21



เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม


หัตถกรรมจักสานภาคกลาง:

11 ทรัพย์สินทางปัญญา

การศึกษาภูมิปัญญาพื้นบ้าน ด้านผลิตและการพัฒนา เชิงพาณิชย์โดยการมีส่วนร่วม ของชุมชน

ไม่ระบุ

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ การวิจัยเรื่อง หัตถกรรมจักสานภาคกลาง : การศึกษาภูมิปัญญา พืน้ บ้านด้านการผลิตและการพัฒนาเชิงพาณิชย์ โดยการมีสว่ นร่วมของชุมชน โดยมุ่งการพัฒนางานหัตถกรรมที่ยังคงตั้งอยู่บนฐานคิดและภูมิปัญญา ท้องถิ่นเดิม การบูรณาการแนวคิดใหม่ กับแนวคิดดั้งเดิมโดยเฉพาะการ พัฒนาวัสดุ กระบวนการผลิต และรูปแบบผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ขึ้นใหม่ เพือ่ เพิม่ ทัง้ คุณค่า และมูลค่าของผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของชุมชนและผู้บริโภค

จุดเด่นของผลงาน การใช้ไม้ไผ่มาจัดตอกให้เป็นเส้นที่มีขนาดเล็กและนำ�ไปย้อมโดย การใช้เทคนิคการมัดย้อมให้มสี สี นั ต่างๆ จากนัน้ นำ�มาสานให้เกิดลวดลาย ต่างๆ ที่คงความเป็นเอกลักษณ์ของไทย

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ผลการวิจัยนำ�ไปใช้อบรมให้กับกลุ่มชาวบ้านที่ผลิตงานจักสานที่หมู่บ้าน ยางทอง ตำ�บลบางเจ้าฉ่า อำ�เภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง เพื่อเป็นการ สร้างรายได้ให้กับชุมชน ผศ.ดร.บุญเรือง สมประจบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: boonrueng_s@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 3278 โทรสาร: 0 2577 5022

24


หัตถกรรมไม้ตาลภาคกลาง: การศึกษาภูมิปัญญาพื้นบ้าน ด้านผลิตและการพัฒนา เชิงพาณิชย์โดยการมีส่วนร่วม ของชุมชน

12 ทรัพย์สินทางปัญญา

ไม่ระบุ

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ การวิจัยเรื่อง หัตถกรรมไม้ตาลภาคกลาง : การศึกษาภูมิปัญญา พืน้ บ้านด้านการผลิต และการพัฒนาเชิงพาณิชย์โดยการมีสว่ นร่วมของ ชุมชน โดยมุ่งการพัฒนางานหัตถกรรมที่ยังคงตั้งอยู่บนฐานคิดและ ภูมิปัญญาท้องถิ่นเดิม การบูรณาการแนวคิดใหม่ กับแนวคิดดั้งเดิม โดยเฉพาะการพัฒนาวัสดุ กระบวนการผลิต และรูปแบบผลิตภัณฑ์ เชิงพาณิชย์ขน้ึ ใหม่เพือ่ เพิม่ ทัง้ คุณค่า และมูลค่าของผลิตภัณฑ์สอดคล้อง กับความต้องการของชุมชนและผู้บริโภค

จุดเด่นของผลงาน • การนำ�ไม้ตาลที่หมดอายุแล้วมาใช้ประโยชน์ให้เกิดมูลค่า • การใช้เทคนิคลายรดน้ำ�แบบโบราณเขียนลงบนผลิตภัณฑ์ไม้ตาล เพื่อสืบสานเอกลักษณ์ความเป็นไทย

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ผลการวิจยั นำ�ไปใช้อบรมให้กบั กลุม่ ชาวบ้านทีผ่ ลิตงานหัตถกรรม ไม้ตาล ของชุมชนตำ�บลหนองปรง อำ�เภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี เพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชน ผศ.ดร.บุญเรือง สมประจบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: boonrueng_s@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 3278 โทรสาร: 0 2577 5022

25


ผ้าไหมไทยทอมือร่วมสมัยหน้ากว้าง 110 นิ้ว

13

ผลิตภัณฑ์สิ่งทอไทยร่วมสมัย.... ไร้รอยต่อ... ขนาดหน้ากว้างพิเศษ 110 นิ้ว

ทรัพย์สินทางปัญญา อยู่ ในระหว่างดำ�เนินการ

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ การพัฒนาศักยภาพผ้าไหมไทยทอมือ ถือเป็นอีกก้าวหนึง่ ทีม่ แี นวคิด ในการเพิ่มช่องทางการตลาด ปัญหาของการใช้ผ้าไหมทอมือมีความ กว้างของหน้าผ้าไม่เพียงพอในการผลิต ผู้ประกอบการเลือกใช้งานได้ น้อยจนเกิดคำ�ถามว่า ทำ�อย่างไรที่จะให้ผ้าไหมทอมือของไทย มีความ ร่วมสมัย สามารถผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย การคิดแก้ปัญหา หน้าผ้าให้กว้างขึ้น จึงเป็นแนวทางในการพัฒนาสิ่งทอสร้างสรรค์ด้วย ความคิดและเทคโนโลยี อีกทั้งยังช่วยเสริมสร้างมูลค่าเพิ่มผ้าไหมไทย ด้วยเทคโนโลยีและวัฒนธรรมร่วมสมัย

จุดเด่นของผลงาน • ผลิตจากเส้นด้ายไหมไทย 100 % • ทอด้วยกี่ทอผ้าขนาดใหญ่พิเศษ 320 เซนติเมตร • เนื้อผ้าเนียนนุ่ม เหมาะกับแฟชั่นและสิ่งทอไทยแบบไร้รอยต่อ

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ กลุม่ ผูป้ ระกอบการผ้าไหมไทย ได้เทคโนโลยีในการผลิตผ้าไหมไทย ทอมือร่วมสมัยทีม่ หี น้าผ้ากว้างพิเศษ สามารถนำ�ไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ได้ง่าย สร้างมูลค่าเพิ่มของไหมไทยด้วยอัตลักษณ์ที่โดดเด่น เป็นหนึ่งใน สินค้าที่มีโอกาสทางการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ และทรง คุณค่าทางภูมิปัญญาที่สืบทอดมายาวนาน

26

ผศ.ดร.สาคร ชลสาคร1, ดร.รัตนพล มงคลรัตนาสิทธ2ิ์ , อาจารย์อุไรวรรณ คาสิงหา1, อาจารย์ชนากานต์ เรืองณรงค์1 และ อาจารย์ศุภนิชา ศรีวรเดชไพศาล1 1สาขาวิชาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อีเมลล์: sakorn_c@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 6164 โทรสาร: 0 2577 2358


ผลิตภัณฑ์สินค้าของที่ระลึก

ตุ๊กตาไทย

“ชุดไทยพระราชนิยม”

ของศูนย์ศิลปาชีพบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ทรงได้เล็งเห็นความสำ�คัญของ ผ้าไทย และเห็นควรให้มีการอนุรักษ์ไว้เพื่อเป็นการสืบสานภูมิปัญญา ทักษะฝีมือ เชิดชูความสามารถชาวชนบทไทยทุกภูมิภาคของประเทศ โดยมีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร เป็นที่รวมและอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรม จาก ทุกภาคของประเทศ ทั้งนี้สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ยังได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า พระราชทานชุดแต่งกายประจำ�ชาติให้กับ พสกนิกรชาวไทย โดยเน้นให้มกี ารใช้ชดุ แต่งกายประจำ�ชาติไปยังสถานที่ ต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนใช้ผ้าไหมทอพื้นเมือง หรือผ้าไหมในการตัดเย็บชุดให้มีความสวยงาม โดดเด่น มีเอกลักษณ์ ในความเป็นชนชาติไทยอย่างแท้จริง

14 ทรัพย์สินทางปัญญา

ไม่ระบุ

จุดเด่นของผลงาน

• เป็นผลิตภัณฑ์ตุ๊กตาของคนไทย ที่มีความสวยงามในแบบฉบับการ แต่งกายไทยในชุดไทยพระราชนิยมแบบต่างๆ จำ�นวน 11 ชุด บนแป้น หมุนกล่องดนตรีแบบ 18 ตัวโน๊ต พร้อมไฟส่องสว่าง กับชุดอุปกรณ์ ติดตั้งไม้สัก ที่แสดงถึงความเป็นไทยได้อย่างสวยงาม • เป็นผลิตภัณฑ์ทส่ี ร้างขึน้ เพือ่ การเทิดพระเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ผู้ทรงอนุรักษ์ชุดเครื่องแต่งกายของไทย

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ • เป็นการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้เกิดขึน้ ในระดับชุมชน • สามารถนำ�ไปผลิตเป็นสินค้าผลิตภัณฑ์ของทีร่ ะลึกในรูปแบบ ตุก๊ ตาไทย ทีม่ คี วามเป็นเอกลักษณ์ โดดเด่น สร้างความน่าสนใจให้กบั นักท่อง เทีย่ วและกลุม่ เป้าหมาย • สามารถนำ�ผลิตภัณฑ์ไปจัดแสดงนิทรรศการเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้าน วัฒนธรรมการแต่งกายของไทย ตามแหล่งชุมชนและสถาบันการศึกษา ต่างๆ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ดร.ณปภัช หิรัญพุฒิกุล คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: napapat_h@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 3278 โทรสาร: 0 2577 5022

27


การพัฒนาผลิตภัณฑ์สปาธัญพืช เพื่อวิสาหกิจชุมชน

15 ทรัพย์สินทางปัญญา อยู่ระหว่างการดำ�เนินการขอ อนุสิทธิบัตรโดย สพภ

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ ข้าวทิพย์ เป็นตำ�รับอาหารมงคลในพระบรมมหาราชวังโดยมี พระราชพิธปี รุงข้าวทิพย์ ตัง้ แต่รชั สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช จนถึงปัจจุบัน การนำ�เครื่องผสมที่ใช้ปรุงข้าวทิพย์ มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สปาเพือ่ ความงาม ทีม่ สี ว่ นผสมของกลุม่ สาร ทีอ่ อกฤทธิช์ ีวภาพจากส่วนผสมเกสรบัวหลวง ข้าว ชะเอมเทศ งา และมะพร้าวทีเ่ ป็นพืชสมุนไพรในท้องถิน่ และนำ�ไปสูก่ ารผลิตเชิงพาณิชย์

จุดเด่นของผลงาน • ผลิตภัณฑ์จากทรัพยากรชีวภาพ และภูมิปัญญาท้องถิ่น • กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • ประสิทธิภาพ คุณภาพ และมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ วิสาหกิจชุมชนได้ท�ำ การผลิตเพือ่ เชิงพาณิชย์ ภายใต้เครือ่ งหมาย การค้า Anongthip เป็นผู้ผลิต และจัดจำ�หน่าย โดยได้เลขที่ จดแจ้งจากสำ�นักงานคณะกรรมการอาหาร และยา ดร.ไฉน น้อยแสง และคุณศันสนีย์ กองไชย วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: chanai_n@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2592 1999 โทรสาร: 0 2592 1900

28


การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ สบู่ผสมสารสกัดมังคุด

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์สบูผ่ สมสารสกัดมังคุด มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ การ ออกแบบด้านโครงสร้างและกราฟฟิก โดยนำ�แนวคิด Universal Design มาใช้ในการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ขวดสบู่ เพือ่ ให้ตอบสนองการใช้งานสำ�หรับ บุคคลทัว่ ไปและผูพ้ กิ ารทางสายตา โดยมีการจัดวางตัวอักษรเบรลล์ไว้ดา้ น ข้างขวด เพื่อสะดวกต่อการสัมผัสและการอ่านของผู้พิการทางสายตา สบูผ่ สมสารสกัดจากเปลือกมังคุด เป็นผลิตภัณฑ์ท�ำ ความสะอาดผิวหน้า และผิวกาย ซึง่ ช่วยปกป้องและลดการอักเสบของสิว โดยมีบรรจุภณ ั ฑ์ 3 ขนาด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์สบูเ่ หลวขนาด 400 มล. ครีมล้างหน้าขนาด 100 มล. และสบูก่ อ้ นขนาด 80 กรัม

16 ทรัพย์สินทางปัญญา

เลขที่สิทธิบัตร 1102001553

จุดเด่นของผลงาน • ได้นำ�แนวคิดของ Universal Design มาใช้เป็นแนวทางในการออก แบบบรรจุภัณฑ์ขวดสบู่เพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคลทั่วไป และผูพ้ กิ ารทางสายตา • ได้ จั ด วางตั ว อั ก ษรเบรลล์ ไ ว้ ด้ า นข้ า งของขวดเพื่ อ สะดวกต่ อ การ สัมผัสและการอ่านของผู้พิการทางสายตา • ขวดสบู่สามารถนำ�มารีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่ได้

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ บรรจุภัณฑ์สามารถผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ ขวดมีความเหมาะสม ต่อการวางโชว์บนชั้นแสดงสินค้า สามารถจัดวางขวดเรียงกันได้อย่าง ต่อเนื่อง การจัดวางตัวอักษรเบรลล์ มีความเหมาะสมเป็นประโยชน์ สำ�หรับผู้พิการทางสายตาสามารถผลิตเพื่อการจัดจำ�หน่ายได้จริงด้าน กราฟฟิกสื่อถึงความเป็นสมุนไพรธรรมชาติจากมังคุด สีสัน ตัวอักษร แบรนด์สินค้า มีความสวยงาม มีบุคลิกพิเศษโดดเด่นสะดุดตา สามารถ สร้างมูลค่าให้กับสินค้าเพื่อการจำ�หน่ายได้ ผศ.จุฑามาศ เจริญพงษ์มาลา และ อาจารย์ คมสัน เรืองโกศล คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: c_chutamad@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 3278 โทรสาร: 0 2577 2358

29



วัสดุก่อสร้าง


นวัตกรรมที่พักสำ�เร็จรูป ถอดประกอบได้

17 ทรัพย์สินทางปัญญา

อยู่ ในระหว่างดำ�เนินการจดสิทธิบัตร

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ ที่พักฉุกเฉินสำ�เร็จรูปนี้ใช้ท่อพีวีซีประกอบเป็นแผ่นผนังสำ�เร็จรูป น้�ำ หนักเบาทีม่ คี า่ การนำ�ความร้อนต่�ำ ใช้นอ๊ ตเป็นตัวยึดโครงสร้างชิน้ ส่วน สำ�เร็จรูปต่างๆ ไว้ด้วยกัน ชุดชิ้นส่วนสำ�เร็จรูปหลักมีดังนี้ ส่วนด้านหน้า ส่วนด้านข้าง ส่วนด้านหลัง ส่วนพื้น ส่วนฝ้าเพดาน ส่วนหลังคา ส่วนผนัง และส่วนประตูหน้าต่าง การประกอบติดตั้งสามารถทำ�เสร็จ ได้ภายในหนึ่งวันด้วยแรงงานคน พื้นที่พักฉุกเฉินสามารถเพิ่มขนาดและ พื้นที่ได้

จุดเด่นของผลงาน • ระบบการประกอบและติดตัง้ ทีส่ ามารถประกอบและถอดได้รวดเร็วด้วย แรงงานคน • ระบบแผ่นผนังสำ�เร็จรูปทีใ่ ช้ทอ่ พีวซี ที ม่ี นี �ำ้ หนักเบาและสามารถรีไซเคิลได้ • การต่อเติม เพิ่มขยายพื้นที่ได้ตามความต้องการ

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ • การนำ�ไปใช้ในเชิงบริการสังคม ในการสร้างทีพ่ กั ฉุกเฉินชัว่ คราวสำ�หรับ ผูป้ ระสบภัยทางธรรมชาติ และจากอัคคีภยั ทีต่ อ้ งการทีอ่ ยูอ่ าศัยชัว่ คราว • การนำ�ไปใช้ในเชิงพาณิชย์ สามารถผลิตเป็นที่พักอาศัยและร้านค้า สำ�เร็จรูปจำ�หน่าย เช่น ร้านขายของและที่พักคนงานก่อสร้างชั่วคราว ที่พักผู้ป่วยและคนชรา สถานพยาบาลและศูนย์ดูแลสุขภาพเคลื่อนที่ เป็นต้น ผศ.ดร.วชิระ แสงรัศมี1 และ นายประชุม คำ�พุฒ2 1คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และ 1คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: vachira_s@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 4771 โทรสาร: 0 2549 4775

32


ท่อนไม้เทียมรูปแบบใหม่ สำ�หรับบ้านสไตล์ไม้

18 ทรัพย์สินทางปัญญา

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ

อยู่ ในระหว่างดำ�เนินการจดสิทธิบัตร

การศึกษานี้เป็นการพัฒนาระบบการติดตั้งและวัสดุก่อสร้างที่ เรียกว่าท่อนไม้เทียมสำ�เร็จรูป โดยมีสมบัติค่าการนำ�ความร้อนต่ำ� น้ำ�หนักเบา และมีราคาถูก ทดแทนท่อนไม้จริง ในการนำ�มาประกอบ เป็นแผ่นผนังสำ�หรับประกอบเป็นที่พักอาศัยสำ�เร็จรูปสไตล์ธรรมชาติ

จุดเด่นของผลงาน • วัสดุกอ่ สร้างทีม่ สี ว่ นผสมทีม่ นี �ำ้ หนักเบาและมีคา่ การนำ�ความร้อนต่�ำ (ซีเมนต์ผสมเยื่อกระดาษเหลือใช้) • รูปแบบและเทคนิคการผลิตและประกอบชิน้ ส่วน (ลักษณะเป็นท่อนไม้) • ระบบการติดตั้งผนังชนิดใหม่ด้วย (โครงสร้างตัว H) • การออกแบบด้วยระบบประสานทางพิกัด (Modular System) ของ ชุดชิ้นส่วนบ้านสำ�เร็จรูป

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เน้นการนำ�ไปใช้เป็นวัสดุก่อสร้างสำ�เร็จรูปที่เป็นฉนวนป้องกัน ความร้อน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในงานก่อสร้างที่พักอาศัย ราคาถูกเช่น แผ่นผนังรูปแบบไม้ของที่พักอาศัย รีสอร์ท โฮมสเตย์ ร้านค้า ร้านกาแฟ ร้านอาหารในพืน้ ทีเ่ ช่าและในพืน้ ทีป่ า่ อนุรกั ษ์ เป็นต้น นอกจากนี้ แ ล้ ว วั ส ดุ นี้ ยั ง สามารถนำ � มาประกอบเป็ น เฟอร์ นิ เ จอร์ ภายในบ้านได้ด้วย ผศ.ดร.วชิระ แสงรัศมี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: vachira_s@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 4771 โทรสาร: 0 2549 4775

33


กระเบื้องยางธรรมชาติ ที่มีความต้านทานต่อไฟฟ้าสถิต

19 ทรัพย์สินทางปัญญา

อนุสิทธิบัตร เลขที่คำ�ขอ 1403001059 วันที่ 14 กันยายน 2557

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ “กระเบือ้ งยางธรรมชาติทม่ี คี วามต้านทานต่อไฟฟ้าสถิต” เป็นผลิตภัณฑ์ กระเบื้องปูพื้นที่ผลิตจากยางธรรมชาติ เป็นพื้นให้สัมผัสอ่อนนุ่ม ยืดหยุ่น ป้องกันการลืน่ ไถล ต้านทานไฟฟ้าสถิต เหมาะสำ�หรับโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงงานชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีการใช้นาโน เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปรับปรุงสมบัติความต้านทานต่อไฟฟ้าสถิต ของยางธรรมชาติ

จุดเด่นของผลงาน • เป็นผลงานการประยุกต์ใช้นาโนเทคโนโลยีกับยางซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจ ของไทย • มีการเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ยางสำ�หรับโรงงานอุตสาหกรรม • ได้รบั รางวัลเหรียญทองแดงจากการประกวดสิง่ ประดิษฐ์ในงาน “2014 TAIPEI INTERNATIONAL INVENTION SHOWAND TECHNOMART” กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสำ�นักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.)

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์

อยู่ระหว่างการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ร่วมกับสถานประกอบการ ผศ.ดร.สิงห์โต สกุลเขมฤทัย1 และ ผศ.ดร.ฉันท์ทิพ สกุลเขมฤทัย2 1คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ 2คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: singto@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 3539 โทรสาร: 0 2549 4119

34


วัสดุคอมโพสิตธรรมชาติจากยางพารา ผสมเส้นใยธรรมชาติสำ�หรับทำ�เป็น ผลิตภัณฑ์บล็อกยางปูพื้นภายนอกอาคาร

20 ทรัพย์สินทางปัญญา

อนุสิทธิบัตร เลขที่คำ�ขอ 1003000385

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ ผลิตภัณฑ์กระเบื้องยางปูพื้นหญ้าสำ�หรับงานนอกอาคาร ที่มีความ ทนทานต่อสภาวะอากาศ สามารถรับน้ำ�หนักได้ ไม่ลื่น สามารถเปลี่ยน รูปแบบการวางได้และง่ายต่อการจัดการดูแลรักษา ราคาต้นทุนของ กระเบื้องยางปูพื้นหญ้าต่ำ� อีกทั้งเลือกใช้วัตถุดิบยางพาราที่เป็นสินค้า ส่งออกอันดับต้นๆ ของโลก ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และใช้ร่วมกับวัสดุ เหลือใช้เพื่อทำ�เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม

จุดเด่นของผลงาน • สามารถผลิตเป็นกระเบื้องยางปูพื้นขนาด 25x25x2.5 ซม. • สวยงาม ต่อเป็นจิกซอว์ รับแรงได้ดี ทนต่อสภาวะอากาศกับการใช้งาน ภายนอกอาคารได้ • ต้นทุนการผลิตต่�ำ ทดแทนพืน้ กระเบือ้ งเซรามิกทีม่ รี าคาสูงได้ผลิตเป็น กระเบื้องยางปูพื้นหญ้าสำ�หรับงานนอกอาคาร

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ผลิตเป็นกระเบื้องยางปูพื้นหญ้าสำ�หรับงานนอกอาคาร

ผศ.วรุณศิริ จักรบุตร ผศ.ดร.วารุณี อริยวิริยะนันท์ นายธวัชชัย มีแก้ว ผศ.ดร.สมเกียรติ ฐิติภูมิเดชา และ ผศ.ดร.ฉัตรชัย กันยาวุธ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: waroonsiri.j@en.rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 3480 โทรสาร: 0 2549 3483

35


คอนกรีตบล็อกผสมเศษผลิตภัณฑ์พลาสติก เอทธีลีนไวนิลอะซิเตท

21 ทรัพย์สินทางปัญญา

สิทธิบัตร เลขที่คำ�ขอ 1001001077 เลขที่ประกาศ 125099

บล็อกก่อผนังที่น้ำ�หนักเบา ยืดหยุ่นสูง ตกไม่แตก ยึดตะปูแน่น ไม่ลามไฟ คงทน แข็งแรง ต้นทุนต่ำ� ผลิตง่าย ใช้วัสดุรีไซเคิล และเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ

นำ�้หนักเบาเทียบเท่าอิฐมวลเบา

คอนกรีตบล็อกผสมเศษผลิตภัณฑ์พลาสติกเอทธีลีนไวนิลอะซิเตท เป็นบล็อกก่อผนังมวลเบาที่ใช้เทคโนโลยีพอลิเมอร์คอนกรีต จึงมีความ ยืดหยุ่นตัวสูง ในขณะที่ยังคงความแข็งแรงไว้ ด้วยเทคนิคการย่อยและ ปรับสภาพเศษพลาสติกให้มีลักษณะที่เหมาะสม ช่วยให้เนื้อบล็อกยึดจับ ตัวกันอย่างดี อีกทั้งมีการดูดซึมน้ำ�ต่ำ� สามารถก่อ-ฉาบได้ด้วยปูนซีเมนต์ ทั่วไป เป็นฉนวนความร้อนที่ดี เหมาะกับอาคารอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

จุดเด่นของผลงาน มวลรวมพลาสติกนำ�้หนักเบา

• เป็นวัสดุกอ่ ผนังทีม่ นี �ำ้ หนักเบา ก่อ-ฉาบ ได้ดว้ ยปูนก่อ-ปูนฉาบทัว่ ไป • ตกจากความสูง 3 เมตร ไม่แตก ยึดตะปูได้โดยไม่ใช้อุปกรณ์อื่น • ต้นทุนต่ำ� และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพราะใช้วัสดุรีไซเคิล

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์

เป็นวัสดุก่อผนังมวลเบาที่สามารถผลิตได้ด้วยเครื่องจักรชนิดเดียว กับคอนกรีตบล็อกทัว่ ไป ขึน้ รูปได้งา่ ย น้�ำ หนักเบา ขนส่งได้ ครัง้ ละมากๆ ยืดหยุ่นดี ทำ�ให้ไม่มีความเสียหายจากการก่อสร้าง วัสดุรีไซเคิลจากอุตสาหกรรม นายประชุม คำ�พุฒ1 และว่าที่ร้อยเอกกิตติพงษ์ สุวีโร2 1คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และ 2หน่วยจัดการทรัพย์สิน ทางปัญญาและถ่ายทอดเทคโนโลยีแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (TLO) อีเมลล์: prachoom.k@en.rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 4032 โทรสาร: 0 2549 4033

36


คอนกรีตบล็อกดินขาว

22 ทรัพย์สินทางปัญญา

เป็นผลิตภัณฑ์วัสดุก่อสร้างเพื่อชุมชนแหล่งดินขาว ซึ่งมีอยู่ทั่ว ประเทศไทย โดยนำ�กากตะกอนจากเหมืองดินขาว หรือหน้าดินขาว มาผ่านกรรมวิธี แล้วผสมขึ้นรูปเป็นคอนกรีตบล็อก ทดแทนหินฝุ่นที่ ต้องขนส่งมาไกล

สิทธิบัตร เลขที่คำ�ขอ 1001000615 เลขที่ประกาศ 117421

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ คอนกรีตบล็อกดินขาว เป็นวัสดุก่อสร้างจำ�พวกบล็อกก่อผนังที่ เหมาะกับชุมชนรอบๆ เหมืองหรือแหล่งดินขาว เพราะสามารถลดการ ขนส่งหินฝุ่นจากนอกพื้นที่มาใช้ผลิตคอนกรีตบล็อกได้ โดยคอนกรีต บล็อกดินขาวเป็นบล็อกที่มีลักษณะภายนอกใกล้เคียงกับคอนกรีต บล็อกทั่วไป แต่มีสีที่ขาวกว่า รวมทั้งมีความแข็งแรงคงทน เป็นฉนวน ป้องกันความร้อนที่ดี และมีต้นทุนต่ำ�

เหมืองดินขาว

จุดเด่นของผลงาน • ใช้กากดินขาวทีม่ มี ลู ค่าต่�ำ มาเป็นส่วนผสมหลักของคอนกรีตบล็อก • ลดการขนส่งวัตถุดบิ จากภายนอกพืน้ ที่ ต้นทุนต่�ำ และผลิตได้ในชุมชน • แข็งแรง คงทน และเป็นฉนวนป้องกันความร้อนที่ดีกว่าบล็อกทั่วไป

กากดินขาว

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ สามารถนำ � ไปผลิ ต เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ที่ มี แ หล่ ง ดินขาว ช่วยให้ต้นทุนวัสดุก่อสร้างลดลง สร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบ การท้องถิ่น และเพิ่มมูลค่าให้กับกากดินขาว ชุมชนสามารถผลิตได้ นายประชุม คำ�พุฒ1 และว่าที่ร้อยเอกกิตติพงษ์ สุวีโร2 1คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และ 2หน่วยจัดการทรัพย์สิน ทางปัญญาและถ่ายทอดเทคโนโลยีแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (TLO) อีเมลล์: prachoom.k@en.rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 4032 โทรสาร: 0 2549 4033

37


บล็อกปูพื้นน้ำ�หนักเบาดูดกลืนความร้อนต่ำ� และซึมผ่านน้ำ�สูงจากเศษพลาสติกเอทธีลีนไวนิลอะซิเตท

23 ทรัพย์สินทางปัญญา

สิทธิบัตร เลขที่คำ�ขอ 1201005250 เลขที่ประกาศ 134400 เป็นบล็อกปูพน้ื ทีเ่ หมาะกับการปูพน้ื ภายนอกอาคารพืน้ ผิวของบล็อก สามารถลดอุณหภูมใิ ห้ต�ำ่ กว่าบล็อกปูพน้ื ทัว่ ไป มีน�ำ้ หนักเบา และระบายน้�ำ ลงสู่ด้านล่างได้ดี

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ บล็อกปูพื้นน้ำ�หนักเบาดูดกลืนความร้อนต่ำ�และซึมผ่านน้ำ�สูงจาก เศษพลาสติกเอทธีลีนไวนิลอะซิเตท เป็นการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการ ดูดกลืนและถ่ายเทความร้อนของวัสดุ ทำ�ให้ได้บล็อกที่มีพื้นผิวเย็น สามารถเดินได้ดว้ ยเท้าเปล่าในเวลาเทีย่ งวันได้โดยไม่รอ้ นเท้า เนือ้ บล็อก มีช่องว่างที่ต่อเนื่องกัน ทำ�ให้ระบายน้ำ�ขังจากด้านบนลงสู่ด้านล่างได้ดี ทั้งยังมีน้ำ�หนักที่เบากว่าบล็อกปูพื้นทั่วไป

จุดเด่นของผลงาน

• ผิวหน้าสะสมความร้อนต่ำ� ทำ�ให้เดินด้วยเท้าเปล่าโดยไม่ร้อน • เนือ้ บล็อกสามารถระบายน้ำ�จากด้านบนลงสู่ด้านล่างได้ • แข็งแรง คงทน และมีน้ำ�หนักที่เบากว่าบล็อกปูพื้นทั่วไป

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ บล็อกปูพื้นน้ำ�หนักเบาดูดกลืนความร้อนต่ำ�และซึมผ่านน้ำ�สูงจาก เศษพลาสติกเอทธีลีนไวนิลอะซิเตท เป็นผลิตภัณฑ์บล็อกปูพื้นสำ�หรับ ผลิตเชิงพาณิชย์ที่ช่วยแก้ปัญหาผิวหน้าร้อนและน้ำ�ขังได้ นายประชุม คำ�พุฒ1 และว่าที่ร้อยเอกกิตติพงษ์ สุวีโร2 1คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และ 2หน่วยจัดการทรัพย์สิน ทางปัญญาและถ่ายทอดเทคโนโลยีแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (TLO) อีเมลล์: prachoom.k@en.rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 4032 โทรสาร: 0 2549 4033

38


แผ่นยางพารารองปลายแท่ง ตัวอย่างคอนกรีตทดสอบ

24 ทรัพย์สินทางปัญญา

สิทธิบัตร เลขที่ประกาศ 4109 เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบความต้านทานแรงอัดของแท่ง คอนกรีตทรงกระบอก เพื่อให้ผลการทดสอบมีความใกล้เคียงกับที่ เป็นจริงมากที่สุด มีหน้าที่ช่วยปรับพื้นผิวให้รับแรงกดได้สม่ำ�เสมอ

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ แผ่นยางพารารองปลายแท่งตัวอย่างคอนกรีตทดสอบ ใช้ร่วมกับ เครื่องทดสอบอเนกประสงค์ (UTM) เพื่อช่วยส่งผ่านแรงกดลงบน ปลายแท่งคอนกรีต เพื่อทดสอบความต้านทานแรงอัดของคอนกรีต ซึ่งการทดสอบต้องการปลายที่เรียบมากโดยแผ่นยางพารานี้สามารถ ทดแทนกำ�มะถันที่มีผลต่อระบบทางเดินหายใจของผู้ทดสอบและลด การนำ�เข้าแผ่นยางสังเคราะห์จากต่างประเทศ

จุดเด่นของผลงาน • ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด ต้นทุนต่ำ� และใช้งานได้ดี • ส่งถ่ายแรงกดได้ดีกว่าการใช้กำ�มะถัน ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน • ลดการเกิดโรคระบบทางเดินหายใจของผู้ทดสอบในห้องปฏิบัติการ

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์

สามารถนำ�ไปผลิตและจำ� หน่ายให้กบั หน่วยงานของรัฐและเอกชน ทีม่ ี การทดสอบความต้านทานแรงอัดของแท่งคอนกรีต และอาจนำ�ไป ประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ส่งถ่ายแรงทั่วไปได้ นายประชุม คำ�พุฒ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: prachoom.k@en.rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 4032 โทรสาร: 0 2549 4033

39



เทคโนโลยี พลังงาน และสิง่ แวดล้อม


Fragrance Wicker Furniture

เฟอร์นิเจอร์ที่ผลิตจากพลาสติกรีไซเคิลผสมไมโครแคปซูล หุ้มน้ำ�หอมให้กลิ่นหอมยาวนาน

25 ทรัพย์สินทางปัญญา

สิทธิบัตร เลขที่คำ�ขอ 1301005171

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ การผลิตเส้นหวายเทียมให้มีกลิ่นหอม ทำ�ได้โดยการผสมพอลิเมอร์ แคปซูลหุ้มน้ำ�มันหอมระเหยลงในพอลิเอทิลีนรีไซเคิลในระหว่างการ หลอมเหลว พอลิเมอร์ที่นำ�มาใช้เป็นเปลือกหุ้มน้ำ�มันหอมระเหยจะมี อุณหภูมิการหลอมเหลวที่สูงกว่าอุณหภูมิการขึ้นรูปเส้นหวายเทียม ทำ�ให้ แคปซู ล ยั ง คงตั ว อยู่ ใ นขณะนำ �ไปผสมกั บ พอลิ เ อทิ ลี นในกระบวนการ หลอมและขึ้นรูปเส้นหวาย ซึ่งจะทำ�ให้แคปซูลกระจายตัวอยู่ในเส้นหวาย และค่อยๆ ปล่อยกลิ่นออกมาอย่างช้าๆ (Slow release) เมื่อเทียบกับ วิธีผสมน้ำ�มันหอมระเหยโดยตรงที่หลังจากผ่านกระบวนการหลอมเหลว ของพอลิ เ มอร์ เ พื่ อ ขึ้ น รู ป เส้ น หวายเที ย มแล้ ว น้ำ � มั น หอมระเหยเกื อ บ ทั้งหมดจะสูญหายไป

จุดเด่นของผลงาน • เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากพอลิเมอร์ที่ใช้แล้ว • ผลิตภัณฑ์มีกลิ่นหอมคงนานมากกว่าหกเดือน

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เป็นการวิจัยร่วมกับบริษัท รุ่งเอ็นจิเนียริ่ง พลาสท์ จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัท ที่ผลิตเฟอร์นิเจอร์จากเส้นหวายเทียมรีไซเคิล โดยได้นำ�พอลิเมอร์แคปซูล หุ้มน้ำ�มันหอมระเหยที่เตรียมได้ไปผสมกับพลาสติกรีไซเคิลสำ�หรับผลิต เฟอร์นิเจอร์ในเชิงพาณิชย์ ผศ.ดร.อมร ไชยสัตย์ และ ผศ.ดร.ปรียาภรณ์ ไชยสัตย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: a_chaiyasat@mail.rmutt.ac.th; p_chaiyasat@mail.rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 4142 โทรสาร: 0 2549 4119

42


กระถางคอนกรีตน้ำ�หนักเบา

26 ทรัพย์สินทางปัญญา

ถูกออกแบบและพัฒนาให้มีน้ำ�หนักเบา ตกไม่แตก เนื้อกระถางมี รูพรุนระบายอากาศและน้�ำ ขัง แต่ยงั รักษาความชืน้ ได้ รวมทัง้ เป็นฉนวน ป้องกันความร้อน ช่วยให้รากของต้นไม้เติบโต ไม่เน่า หายใจสะดวก

สิทธิบัตร เลขที่คำ�ขอ 1201005251 เลขที่ประกาศ 134401

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ เป็นผลิตภัณฑ์ภาชนะปลูกที่มีการเลือกใช้ชนิดและลักษณะของ ส่วนผสม เพือ่ ให้ได้กระถางทีเ่ หมาะสำ�หรับการเจริญเติบโตของรากพืช คือ สามารถระบายอากาศและน้ำ�ขัง และลดการส่งผ่านความร้อน ทำ�ให้ต้นไม้เจริญเติบโตดี ตลอดจนเป็นกระถางที่สามารถใช้งานได้ หลากหลาย มีรูปแบบ และสีสันต่างๆ ให้เลือก ทั้งยังมีความแข็งแรง ตกไม่แตก และน้ำ�หนักเบา

เนื้อพรุนช่วยให้รากหายใจได้

จุดเด่นของผลงาน • เป็นกระถางที่ออกแบบเพื่อการเจริญเติบโตของรากพืช • ใช้วัสดุที่แข็งแรง คงทน ตกไม่แตก มีรูปแบบและสีสันหลากหลาย • เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมจากการใช้วัสดุเหลือทิ้งมาเป็นส่วนผสม

มีสีสันหลากหลาย

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เป็ น ภาชนะปลู ก ที่ ส ามารถนำ �ไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นเชิ ง พาณิ ช ย์ ได้ดี มีคุณสมบัติตามที่ผู้บริโภคต้องการ กระบวนการผลิตไม่ยุ่งยาก ต้นทุนต่�ำ และเป็นผลิตภัณฑ์ทม่ี มี ลู ค่าและความต้องการของตลาดสูง ต้นไม้เจริญเติบโตดี นายประชุม คำ�พุฒ1 และว่าที่ร้อยเอกกิตติพงษ์ สุวีโร2 1คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และ 2หน่วยจัดการทรัพย์สิน ทางปัญญาและถ่ายทอดเทคโนโลยีแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (TLO) อีเมลล์: prachoom.k@en.rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 4032 โทรสาร: 0 2549 4033

43


บ้านลดการใช้พลังงานด้วยคอร์ต และหลังคา 2 ชั้น จ.บึงกาฬ

27 ทรัพย์สินทางปัญญา อยู่ ในระหว่างดำ�เนินการ

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ

‘รูปตัดแสดงการไหลเวียนของอากาศ’

บ้ า นหลั ง นี้ อ อกแบบด้ ว ยการต่ อ ยอดจากการแก้ ปั ญ หาของ สถาปัตยกรรมเอเชียโบราณ ที่ใช้คอร์ต (Court) มาแก้ปัญหาการระบาย อากาศและรับแสงธรรมชาติเข้ามายังตัวบ้าน และยังลดการใช้พลังงาน ด้วยการใช้หลังคา 2 ชั้นที่มีลักษณะการระบายความร้อนคล้ายงอบของ ชาวนาไทย โดยต่อยอดจากงานวิจัยเรื่องความคุ้มค่าของหลังคา 2 ชั้น ที่สามารถช่วยลดการถ่ายเทความร้อนจากแสงอาทิตย์เข้ามายังตัวบ้าน ได้ด้วยค่า RTTV 3.14 วัตต์/ตร.ม.

จุดเด่นของผลงาน

• ออกแบบให้เป็นหลังคา 2 ชั้น มีช่องว่าง 1.00 เมตรเพื่อระบาย อากาศร้อน • ออกแบบให้มีคอร์ตกลางบ้านเพื่อระบายอากาศ และรับปรากฏการณ์ ธรรมชาติ เพื่อสร้างบรรยากาศการอยู่อาศัยที่ดี ‘STACKING FOR SPACE ARRANGEMENT‘

‘PLAN’

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ แนวคิดนี้ได้รับความสนใจจากคุณธนวรรณ จารุวงค์กุล อิชยาวิโรจน์ ให้ออกแบบตามแนวคิดการประหยัดพลังงานนี้ จนในปัจจุบันได้ทำ�การ ก่อสร้างแล้วเสร็จ ทางเจ้าของบ้านได้เข้าไปพักอาศัยในเดือนพฤศจิกายน 2557 จากการได้สร้างจริงสามารถเป็นต้นแบบการทดลองการใช้คอร์ตและ หลังคา 2 ชั้นในสถาปัตยกรรมเพื่อทำ�ความเข้าใจต่อข้อดีของการสร้าง สถาปัตยกรรมแนวทางนี้ นายสาโรช พระวงค์ และนายอธิพัตร กฤษณพันธุ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมล์: xaroj@rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 4763 โทรสาร: 0 2549 4775

44


เรือสำ�รวจคุณภาพน้ำ�

แบบ ณ ขณะเวลาจริง ผ่านระบบโทรมาตร (Survey Boat for In-situ Water-Quality Measurement with Real-Time Internet Telemetry System)

บทสรุปเทคโนโลยี และความสำ�คัญ เรือสำ�รวจนี้สามารถตรวจวัดค่าคุณภาพน้ำ�ได้ทั้งค่า อุณหภูมิ พีเอช ความเค็ม และปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำ�และรายงานข้อมูลจาก ตำ�แหน่งที่เก็บตัวอย่างไปยังผู้ใช้ได้ทันทีโดยผ่านระบบสื่อสารระยะ ไกลแบบ 2 ทางระหว่างระบบควบคุมเครือ่ งหย่อนวัดน้�ำ และคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้งาน โดยจะสื่อสารผ่านเว็บเซิร์ฟเวอร์ด้วยเราเตอร์อินเตอร์เน็ต แบบ 3G ที่ติดตั้งอยู่ในเรือและบนฝั่ง ซึ่งระดับความลึกของหัววัดน้ำ� จะถูกส่งจากผู้ใช้ไปยังระบบควบคุมเครื่องหย่อนหัววัดน้ำ� ส่วนข้อมูล คุณภาพน้�ำ จะถูกส่งจากเครือ่ งหย่อนหัววัดน้�ำ ไปยังผูใ้ ช้งาน ดังนัน้ องค์กร บริหารจัดการน้ำ�สามารถตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ำ� และระบุแหล่งที่มาของปัญหาได้ในเวลาจริง และลดความเสี่ยงของผู้ ปฏิบัติการในการลงพื้นที่

28 ทรัพย์สินทางปัญญา

สิทธิบัตรเลขที่คำ�ขอ 1401004910 วันที่ 26 สิงหาคม 2557

จุดเด่นของผลงาน • เรือสำ�รวจนี้สามารถควบคุมการเคลื่อนที่ผ่านคลื่นวิทยุด้วยรีโมท แบบอัตโนมัติตามจุดพิกัด GPS ที่กำ�หนด • ตรวจวัดคุณภาพน้ำ�ที่ความลึกต่างๆ กันได้ลึกมากสุด 5 เมตร ตามคำ�สั่งของผู้ใช้งาน • ระบบการส่งข้อมูลระยะไกลโดยใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตแบบ 3G

การนำ�ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เรื อ สำ � รวจคุ ณ ภาพน้ำ � สามารถนำ � ไปใช้ ใ นการตรวจสอบด้ า น สิ่งแวดล้อมได้จริง ช่วยเพิ่มความถี่ในการตรวจคุณภาพน้ำ�ในแม่น้ำ� อ่างเก็บน้�ำ ทะเลสาบ หรือชายฝัง่ ณ เวลาจริง องค์กรทีเ่ กีย่ วข้องกับการ บริหารจัดการน้ำ� ได้รับคำ�เตือนผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเมื่อ คุณภาพน้ำ�ต่ำ�กว่าระดับมาตรฐานความปลอดภัยโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำ�หรับการบริการน้�ำ สาธารณะเพือ่ ป้องกันอันตรายทีเ่ กีย่ วข้อง นอกจาก นั้นสามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ในด้านอื่นๆ เช่น ในการสุ่มตัวอย่างน้ำ� สารเคมี/ชีววิทยา และ การตรวจวัดความลึกของแหล่งน้ำ� ดร.ปรัชญา เปรมปราณีรัชต์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อีเมลล์: pradya.p@en.rmutt.ac.th โทรศัพท์: 0 2549 4415 โทรสาร: 0 2549 3432

45


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี http://www.rmutt.ac.th คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย หน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี แห่งมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล (TLO) สำ�นักจัดการทรัพย์สิน หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ

Tel.: Tel.: Tel.: Tel.: Tel.: Tel.: Tel.: Tel.: Tel.: Tel.: Tel.:

0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

2549 2592 2549 2549 2549 2549 2549 2549 2549 2549 2592

4700 1955 3161 4500 3241 4150 3400 3278 4930 4771 1999

Tel.: 0 2549 4032 Tel.: 0 2549 3052 Tel.: 0 2549 3626

Fax: Fax: Fax: Fax: Fax: Fax: Fax: Fax: Fax: Fax: Fax:

0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

2577 2992 2577 2549 2577 2577 2577 2577 2577 2549 2592

5049 2408 2358 4500 4399 4119 5026 5022 5017 4775 1900

Fax: 0 2549 4033 Fax: 0 2577 5013 Fax: 0 2549 3628

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี http://www.ird.rmutt.ac.th ผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม กลุ่มบริการและเผยแพร่งานวิจัย

Tel.: Tel.: Tel.: Tel.: Tel.:

0 0 0 0 0

2549 2549 2549 2549 2549

4688 4682 4683 4681 4684

Fax: Fax: Fax: Fax: Fax:

0 0 0 0 0

2549 2549 2549 2549 2549

4680 4680 4680 4680 4680



ʶҺѹÇÔ¨ÑÂáÅоѲ¹Ò ÁØ‹§ÁÑ蹾Ѳ¹Òà¾×èÍ¡ÃдѺ§Ò¹ÇÔ¨ÑÂãˌ䴌Áҵðҹ áÅÐ໚¹·ÕèÂÍÁÃѺã¹ÃдѺÊÒ¡Å

48

àÅ¢·Õè 39 ËÁÙ‹·Õè 1 ¶¹¹ÃѧÊÔµ-¹¤Ã¹Ò¡ µÓºÅ¤Åͧˡ ÍÓàÀ͸ÑÞºØÃÕ ¨Ñ§ËÇÑ´»·ØÁ¸Ò¹Õ 12110 â·ÃÈѾ· : 0 2549 4681-4 â·ÃÊÒÃ: 0 2549 4680 ÍÕàÁÅÅ : ird@rmutt.ac.th http://www.ird.rmutt.ac.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.