Arunothai7_sep11

Page 1

ปี ที 1 ฉบั บ ที 7 กั น ยายน 2554

YOGA HEALING


พลังแห่ ง การเยี ย วยาของโยคะ

บรรณาธิการบันทึก ‘เริ่ มต้นใหม่ ’ คุ ณ สมบัติ ที ง ดงามอย่ า งหนึ งของการ เกิ ด มาเป็ นมนุ ษ ย์ซ ึ งมี อ ยู่ ใ นตัว คนเรา ทุ ก คนก็ คื อ “ความสามารถที จ ะเริ มต้น ใหม่ ” ได้ทุ ก เมื อ คนเราอาจจะก้ าวเดินผิดพลาด ล้ มเหลว ท้ อแท้ หรื อทําอะไรเหลวไหลไม่เข้ าท่าในสายตา ตัวเองและคนอื!นๆ ทังโดยตั # #งใจและไม่ตงใจ ั # แต่เมื!อ วันหนึ!งวันใด ที!เรา “พลันคิดได้ ” กลับเนื #อกลับตัว ข้ อดีของชีวิตก็คือการพร้ อมเปิ ดทางให้ เริ! มต้ นใหม่ ได้ เสมอ...โดยไม่มีคําว่าสายเกินไป

2 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสํ าหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

สิ!งหนึ!งที!บ่งบอกว่า คนเราสามารถเริ! มต้ นทําอะไร ใหม่ๆ เพื!อสิ!งที!ดีและเป็ นประโยชน์ได้ อยู่เสมอก็คือ การมี “ลมหายใจ” เคลื!อนไหวในทุกวินาทีของการ หายใจและมีชีวิต ตราบใดที!ลมหายใจยังเกิดขึ #น คนเราก็มีพลังที!พร้ อมจะตระหนักรู้ถึงการเริ! มต้ น การอยู่กบั โยคะนั #นเป็ นการฝึ กสมาธิและการดูแล ลมหายใจ และมีประโยชน์หลายๆ ด้ านต่อชีวิต ดัง เรื! องราวของพลังแห่งการบําบัดเยียวยา ช่วยให้ คนเราเตรี ยมความพร้ อมเพื!อที!จะเปิ ดรับสิง! ใหม่ๆ และพร้ อมเสมอสําหรับการเริ! มต้ นใหม่ มีพลังที!จะ เริ! มต้ นแก้ ไข กลับเนื #อกลับตัว สร้ างทําสิง! ที!ดีและมี ประโยชน์ หลายวันก่อนขณะที!ผมก้ าวเดินออกจากบ้ าน ยาม สายๆ ในวันนั #นขณะนั #นมีแสงแดดสาดส่อง ให้ ความรู้สกึ สะอาด สด สว่างลึกลํ #า นําพาความรู้ สกึ

กันยายน 2554


ดีๆ ปลอดโปร่ งให้ เกิดขึ #นในความรู้ สกึ และคิดถึง การเริ! มต้ นใหม่ขึ #นมา ช่างโชคดีที!คนเรามีวนั พรุ่ งนี #หรื อมีโอกาสหน้ าให้ แก้ ตัวแก้ ไข เริ! มต้ นทําสิง! ใหม่ให้ ดีขึ #นได้ เสมอ ตราบใด ที!เรายังคงรู้ ตวั ว่าต้ องการที!จะแก้ ไขหรื อไปให้ พ้น จากเรื! องราวใดเรื! องราวหนึ!งที!ไม่ถกู ใจ เบียดเบียน ชีวิตและลมหายใจทังของตนเองและคนอื # !นสิง! อื!น อยูใ่ นวันนี # อยากบอกและแลกเปลีย! นกับผู้อ่าน “อรุ โณทัย” ทุกท่านไม่ว่าคุณจะเป็ นคนหนึ!งที!ฝึกโยคะหรื อให้ ความสนใจโยคะแต่ยงั ไม่เคยได้ ลองฝึ กโยคะดูก็ ตามว่า โยคะนั #นช่วยให้ เรามีสติ ขัดเกลาส่วนเกิน และกิเลสต่างๆ ในชีวิต ด้ วยการฝึ กตระหนักรู้ใน ปั จจุบนั ขณะ ซึง! เต็มเปี! ยมด้ วยพลังงานที!จะช่วยให้ คนเราเริ! มต้ นสิง! ใหม่ๆ ได้ ช่วยให้ เรารับรู้และเห็นคุณค่าว่า ชีวิตและลม หายใจได้ หยิบยื!นพลังที!ดีในการเริ! มต้ นใหม่ให้ เรา ในตอนนี # ...ก่ อนที ทุกอย่ างจะสายหรือช้ าเกินไป นมัสเต

อิ ท ธิ ฤ ทธิ ประคํา ทอง ITTIRITP@GMAIL.COM

3 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสํ าหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

คําครู

Guruji’s Words "You will be able to enjoy better sleep, a happier disposition, a clearer and calmer mind. You will learn how to build up your health and protect yourself against colds, fevers, constipation, headaches, fatigue, and other troubles. You will know what to do in order to remain youthful, vital and alert, regardless of your calendar-age; how to lose or gain weight; how to get rid of premature wrinkles, and keep a smooth skin and clear complexion." - Indra Deviauthor of many books on yoga

“ด้ วยโยคะคุณจะสั มผัสการนอนหลับ สนิทได้ ดขี นึ) มีจิตใจทีส งบ สดใส และมี ความสุ ขมากขึน) ซึ งในที สุดคุณก็จะ เรี ยนรู้หนทางเอาชนะความเจ็บป่ วยอย่ าง การเป็ นหวัด ปวดหัวเป็ นไข้ ความ เมื อยล้ าและอาการอืน ๆ คุณจะรู้ ได้ ว่าจะ ทําตัวอย่ างไรเพือ รักษาความอ่ อนเยาว์ เอาไว้ รักษาความตื นตัวมีพลังไม่ ว่าคุณ จะอายุมากขึน) เพียงใดก็ตาม โยคะจะช่ วย กันยายน 2554


ให้ คุณควบคุมนํา) หนักตัวหรือลดนํา) หนัก รักษารอยเหี ยวย่ นหรือแม้ แต่ การมี ผิวพรรณที สดชื น ผ่ องใส”

ผูเ้ ขียนหนังสื อเกี ยวกับโยคะหลายเล่มจากเว็บไซต์ http://www.holisticonline.com /yoga/hol_yoga_benefits.htm

-อินทรา เทวี-

เรื อ งประจํา ฉบั บ MAIN STORY

ให้ ‘โยคะ’ บําบัด ภาสการ่ า (bhaskara100@hotmail.com) : เรื อง

...เชื อหรื อไม่ ว่า ความมหั ศจรรย์ นั นไม่ มีอยู่จริ ง ...เชื อหรื อไม่ ว่า “ความมหั ศจรรย์ นั นอาจจะมีอยู่จริ ง” ผูเ้ ขียนไม่ได้ต/ งั ใจจะตีสาํ นวนหรื อชวนให้งุนงง แต่เมื อนึ กว่าหนทางและเหตุผล แรงดลใจมากมายที ทาํ ให้คนเรา ในยุคสมัยใหม่น/ ี หนั เข้าหาโยคะแล้วก็เพื อที จะให้ได้คาํ ตอบของความมหัศจรรย์ของโยคะ ซึ งหนึ งในความ มหัศจรรย์ของโยคะที ว่าก็คือ “พลังแห่ งการบําบัดเยียวยา” ความเจ็บป่ วย ด้วยเหตุผลต่างๆ หรื อสิ งที เคยได้ยนิ ได้ฟังจากคนอื นๆ คนเราอาจจะมีความคาดหวังหรื อต้องการให้ “โยคะ” ช่วยที จะไปให้พน้ จากความเจ็บไข้ได้ป่วยทั/งทางร่ างกายและจิตใจได้ โดยคิดว่าการฝึ กโยคะชัว ไม่กี ครั/งหรื อไม่ จริ งจังแล้วจะเกิดผลที ว่า

4 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสํ าหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

กันยายน 2554


แต่เมื อได้เริ มต้นฝึ กโยคะแล้วนั/นจึงจะสัมผัสรับรู ้ได้ว่า “ความมหัศจรรย์” แท้จริ งแล้วไม่มี โยคะไม่ใช่ยาวิเศษ หรื อสู ตรลัดสู ตรสําเร็ จที ช่วยให้คนเราอาจจะขจัดปั ดเป่ าโรคภัยไข้เจ็บที เบียดเบียนเราอยูไ่ ด้โดยง่าย ถ้าเพียงแต่ผู ้ ฝึ กโยคะนั/นไม่น้อมนําปฏิบตั ิโยคะจนเกิดเป็ นวิถีชีวิตและมีความยัง ยืนในการฝึ กฝน เมื อทําได้ดงั นั/นพลังในการ เยียวยาและความมหัศจรรย์ของโยคะจึงจะบังเกิดขึ/นแก่ผทู้ ี เปิ ดใจเปิ ดรับ พลังของโยคะในการบําบัดเยียวยารักษาอาการเจ็บป่ วยทั/งทางร่ างกายและจิตใจนั/น เกิดขึ/นจากการฝึ กอาสนะ ซึ ง เป็ นแนวทางขั/นตอนที 3 ของมรรคทั/งแปดของโยคะ (ตามเส้นทางของราชาโยคะหรื ออัษฎางคโยคะ) ซึ งเน้น การทําให้ร่างกายและจิตใจมีความแข็งแรงและมีพลังมีสมาธิ ไม่สับสนแส่ ส่าย ซึ งร่ างกายและจิตใจที ค่อยๆ เข้มแข็งและแข็งแรงเช่นนี/เองที เปรี ยบเหมือนเกราะกําบังคนเราให้ห่างไกลจากโรคภัย แง่มุมที ผฝู้ ึ กโยคะจะมองเห็นได้จากการลงมือปฏิบตั ิและฝึ กฝนตนเองโดยใช้โยคะเป็ นเหมือน “ยาป้ องกัน” โรค มากกว่าการรักษาที ปลายเหตุก็คอื ความรู ้สึกที ดีข/ นึ ต่อตัวเอง ไม่ว่าจะเป็ นต่อร่ างกายต่อเอง การมีสติ ความคิดที แจ่มชัด สดใส ไม่ฟุ้งซ่ านหรื อวิตกซึ มเซาหดหู่ (อาการเช่นนี/เป็ นบ่อเกิดของโรคภัยหรื อการเจ็บป่ วยทางจิตที

5 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสํ าหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

กันยายน 2554


ส่ งผลต่อร่ างกาย ไม่วา่ จะเป็ นโรคกระเพาะ หรื อโรคแห่ งสมัยนิ ยมของคนทํางานอย่างโรคกรดไหลย้อน) ตลอดจนการมองโลกในแง่บวก และการมีจิตใจที ไม่ตดั สิ นวิพากษ์วิจารณ์ผอู ้ ื นหรื อสิ งต่างๆ อย่างง่ายดาย การฝึ กปราณายามะหรื อการควบคุมกําหนดลมหายใจ การหายใจให้ถูกหลักแบบโยคะ (Yogic Breathings) แบบต่างๆ ตลอดจนการฝึ กในเรื องของกริ ยา (Kriyas) ซึ งเป็ นการทําความสะอาดร่ างกายตามอย่างโยคะ ล้วนแต่ เป็ นวิธีการในการดูแลและป้ องกันตัวเราให้ห่างและหายจากความเจ็บป่ วยได้ เพียงแต่ว่าการฝึ กดังกล่าวมีความ ยุง่ ยากและเข้มข้นมากกว่าการฝึ กท่าอาสนาะพื/นฐานและควรจะฝึ กกับครู หรื อผูร้ ู ้ที มีความชํานาญจริ งๆ แท้จริ งแล้วการใช้โยคะเพื อบําบัดเยียวยามีมาช้านานนับร้อยนับพันปี เคียงคู่และเทียมเท่ากับอายุของ ประวัติศาสตร์ ความเป็ นมาของโยคะก็ว่าได้ เนื องจากบรรดาคุรุจี นักบวช สาธุและโยคีท/ งั หลายที ใช้โยคะเป็ น หนทางแห่ งการหลุดพ้นเพื อคืนกลับสู่ ภาวะที เป็ นหนึ งเดียวกับพระเจ้าหรื อสิ งศักดิ?สิทธิ? ซึ งก็คือธรรมชาติน/ นั ต่างก็เป็ นมนุษย์ปุถุชนที ตอ้ งต่อสู ้กบั อาการเมื อยล้าเวลานัง สมาธินานๆ หรื อความเจ็บไข้ได้ป่วยเล็กๆ น้อยๆ ที คอยเบียดเบียด ไปจนถึงความต้องการใช้พลังที มหัศจรรย์ของโยคะในการหยุดยั/งความชราความเสื อมทรุ ดของ ร่ างกาย และในที สุดก็เพื อการหลุดพ้นไปจากวงวัฏแห่ งการเวียนว่ายตายเกิดที ยดึ คนเราไว้กบั ความทุกข์อนั เกิด จากการเกิด แก่ เจ็บ (โมกษะ) เป็ นเรื องยากที รูปแบบของการฝึ กโยคะที เน้นการฝึ กอาสนะในชั/นเรี ยน หรื อในห้องฝึ กแบบสตูดิโอ รวมทั/งภาพ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ถึงผลลัพธ์อนั เลอเลิศของโยคะ ในการมีรูปร่ างดี มีหุ่ นสวย แข็งแรง สามารถทําท่า ยากๆ ยืดเหยียดได้เกินมนุษย์มนา จะทําให้คนเราที ไม่เคยรู ้จกั ไม่เคยฝึ กโยคะเกิดความยึดติดและคาดหวังว่าโยคะ จะคือทางลัดเพิ อการมีสุขภาพดีและรู ปร่ างสวยงามง่ายๆ ความจริ งแล้วสําหรับผูท้ ี น้อมนําโยคะมาสู่ วิถีชีวิต และปฏิบตั ิโยคะอย่างสมํ าเสมอ โดยไม่เพียงแต่ฝึกอาสนะ เท่านั/น แต่ยงั ฝึ กตามเส้นทางแห่ งราชาโยคะด้านอื นๆ (ในมรรคแปดของโยคะ) ด้วย เช่น การฝึ กยมะ นิ ยมะ ปราณายามะ การนัง สมาธิ ฯลฯ ก็ยอ่ มช่วยให้เกิดความสมดุล เกิดความแข็งแรงของร่ างกายและจิตใจมีความ พร้อมในการใช้ชีวิตได้อย่างมีพลัง โดยไม่รอท่าให้ความเจ็บป่ วยหรื อโรคภัยร้ายแรงมาเยือนเสี ยก่อนแล้วจึงค่อย ถามหาความมหัศจรรย์ที อาจจะไม่มีวนั เกิดขึ/นได้จริ งจากโยคะ

6 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสํ าหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

กันยายน 2554


วิธีการฝึ กโยคะเพื อดูแลตัวเอง : • ฝึ กโยคะเป็ นประจําสมํ!าเสมอให้ ได้ ทกุ วัน ฝึ กให้ มีความต่อเนื!อง โดยเฉพาะการฝึ กในท่าไหว้ พระ อาทิตย์ ซึง! ควรทําให้ ครบอย่างน้ อย 6 หรื อ 12 ครัง# ในการไหว้ พระอาทิตย์นนขอให้ ั# คอ่ ยๆ เคลื!อนไหว ร่ างกายให้ สอดคล้ องกับจังหวะของการหายใจ • การหายใจแบบโยคี คือการหายใจให้ ลกึ รับอากาศเข้ าไปให้ เต็มปอด ไม่ใช้ การหายใจด้ วยลําคอหรื อ ช่วงอกเท่านัน# การหายใจแบบนี #จะทําให้ เกิดความร้ อนขึ #นในร่ างกาย ร่างกายอบอุ่นและเกิดการเผา ผลาญได้ ดี • ปกติแล้ วในการฝึ กโยคะจะ แต่เน้ นความสมดุลของชุดท่าอาสนะ เช่น ท่าก้ มตัวไปข้ างหน้ าต่อเนื!องด้ วย การฝึ กท่าแอ่นหลัง ด้ วยเป้าหมายของการฝึ กโยคะเพื!อการมีสขุ ภาพดีนนเกิ ั # ดขึ #นได้ เนื!องจากร่ างกาย จิตใจและลมหายใจมีความสัมพันธ์กนั อย่างสมดุล • ฝึ กโยคะเป็ นประจําโดยไม่ต้องกําหนดว่าจะต้ องมีเวลายาวนาถึงครัง# ละหรื อวันละ 60 -90 นาที แต่ พร้ อมเมื!อใดก็ลงมือฝึ กวันละเล็กวันละน้ อย หรื อแค่เพียงวันละ 15 นาทีก็ยงั ดีกว่าทิ #งช่วงการฝึ ก หรื อ หักโหมฝึ กหนักๆ แต่นานๆ ครัง#

7 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสํ าหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

กันยายน 2554


• การฝึ กโยคะควรเริ! มต้ นด้ วยการทําจิตใจให้ สงบและผ่อนคลายอย่างเต็มที!หลังการฝึ กทุกครัง# ฝึ กด้ วย สติ ตระหนักรู้ในข้ อจํากัดของตัวเอง ไม่เปรี ยบเทียบไม่แข่งขันกับผู้อื!น ที!สําคัญคือทําให้ ดีที!สดุ เท่าที!เรา จะทําได้ โดยไม่ฝืนความสามารถและความพร้ อมของร่างกายเราเอง • หากเจ็บป่ วย เป็ นไข้ ควรพักผ่อนให้ หายดีก่อนเริ! มฝึ กอีกครัง# หนึ!ง และฝึ กอย่างช้ าๆ จดจ่อ แต่ค่อยเป็ น ค่อยไป • หากผ่านการได้ รับอุบตั เิ หตุหรื อผ่าตัดใหญ่ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนการฝึ ก และควรจะพักผ่อนให้ หายดี โดยใช้ เวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือนหลังจากการรักษา • พักผ่อนให้ เพียงพอก่อนและหลังการฝึ ก รับประทานอาหารมื #อหนักๆ ไม่น้อยกว่า 2 ชัว! โมงก่อนการฝึ ก และดื!มนํ #าก่อนและหลังการฝึ กโยคะให้ เพียงพอ

แฮปปี โยคี การตามความฝั นที สวยงาม เปลี ยนแปลงชีวิตอันน่าเบื อไปสู่ชีวิตที เต็มและเปี ยมสุขจากโยคะ

เส้นทางโยคะของฉัน (2)

คงเหมือนโยคีมือใหม่หลายๆ คน เมื!อครัง# ตัดสินใจไปห้ องโยคะช่วงแรกๆ ก็กังวลและถาม ตัวเองอยู่ตลอดว่าจะทําได้ ไหม จะเก่งไหม กลัวว่า จะขายหน้ า ปล่อยไก่โต้ งกระโต๊ กกระต๊ ากในห้ อง ฝึ ก รู้สกึ เกร็ งอย่างบอกไม่ถกู ทุกคนคงเป็ นเหมือน ฉันนี!ละ่ ทําตัวไม่ถกู มันยากตรงจุดเริ! มต้ นนี!เอง ใช้ กําลังใจอย่างสูงในการตัดสินใจว่าจะเริ! มฝึ ก อันนีต# ้ องขอบอกหนุ่มๆ โยคีว่า ไม่เฉพาะผู้ชาย เท่านั #นที!กว่าจะตัดสินใจนันช่ # างแสนยากเย็น แถม

8 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสํ าหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

กันยายน 2554


พอตัดสินใจไปแล้ วยังยากกว่าที!ต้องรักษาและมี วินยั ในการฝึ กอย่างจริ งจัง ต้ องบอกว่าตอนเริ! มฝึ ก โยคะระยะแรกๆ ก็ไม่ได้ สนใจอะไรมากเกี!ยวกับ หลักการของโยคะมากนัก เห็นคนพูดถึงประโยชน์ ของโยคะอย่างมากมายก็เลยอยากลองดูด้วย ตัวเอง และก็แค่อยากจะมีร่างกายแข็งแรงบวกกับ สามารถทําท่าพิสดารแปลกๆ ได้ เหมือนที!เห็นพวก โยคีเขาทํากันคิดแต่วา่ ถ้ าทําได้ ก็จะนับว่าเก่งมาก อ่านถึงตรงนี #เพื!อนๆ ผู้อา่ นคงเหมือนจะยิ #มเพราะ คงคิดคล้ ายๆ กัน

เมื!อย้ อนมองกลับไปก็ได้ แต่ขําตัวเอง จําได้ ว่าครู ของฉันเน้ นยํ #าอยู่ตลอดเวลาว่า Let Go ปล่อยวาง และอย่าสนใจอย่างอื!น แต่ก็ไม่ได้ เข้ าใจอะไร มากมายตอนนัน# ว่าท่านต้ องการให้ ฉนั ปล่อยวาง อะไรตอนฝึ กโยคะอย่างนี # แต่หลังจากมาศึกษาลึก ลงไปหลังจากฝึ กได้ สกั ระยะหนึ!ง และยิ!งหลังจาก ไปอบรมเข้ าคอร์ สเป็ นครู สอนโยคะ คราวนี #รู้แจ้ ง เห็นจริ งว่าโยคะไม่ได้ มีไว้ เพื!อการแข่งขัน หรื อ พิสจู น์ว่าฉันเก่งกว่าเพื!อนๆ ในห้ อง หรื อมีกรรมการ ท่านใดมาตัดสินว่าใครแพ้ ใครชนะแต่อย่างใด

ยังจําภาพตัวฉันเองก็เหมือนโยคีมือใหม่ทั #งหลายที! เข้ าไปห้ องโยคะครัง# แรก สายตาก็สอดส่ายไปมาอยู่ ตลอดเวลาคอยสืบส่องดูเพื!อนๆ โยคีร่วมห้ องว่า พวกเขาใส่อะไรกัน แฟชัน! ของพวกเขาเป็ นอย่างไร กันบ้ าง ทําอะไรกันอยู่ ดูผ้ หู ญิงคนนั #นซิทา่ ทางจะ เก่งน่าดู ทําท่านี #ได้ ทําท่านันได้ # ดูผ้ ชู ายคนนันซิ # ว้ าวยกขาได้ สงู จริ งๆ คนนั #นหุ่นดีจริ งๆ เอวคอด ตัว ตรง ยืนนิ!งมาก อดคิดไม่ได้ ว่า จะทํายังไงให้ ทําได้ อย่างเขา บางทีก็อยากจะแข่งกับเขาให้ มากที!สดุ ยกขาให้ สงู กว่าเขา ยืนได้ นิ!งกว่าเขา ทําได้ ดีกว่าเขา อยูต่ ลอดเวลา ในทางตรงข้ ามเห็นเพื!อนโยคีบาง ท่านช่างอวบอ้ วน ก็คิดไปว่าช่างกล้ ามาฝึ กโยคะ แต่พอเห็นเค้ าทําท่าต่างๆ ได้ เป็ นอย่างดี ก็ถึงขันอ้ # า ปากค้ างกันเลยทีเดียว เรี ยกได้ ว่าชัว! โมงครึ!งที!ผา่ น ไปทุกวันๆ ในห้ องฝึ กของฉัน มีแต่ความคิดที!ว่าจะ เก่งเหมือนคนนัน# จะดีกว่าคนโน้ นในห้ องเท่านั #น

การฝึ กโยคะจริ งๆ ที!แท้ เป็ นการฝึ กเฉพาะส่วน บุคคล ยิ!งฝึ กมากก็ยิ!งก้ าวหน้ ามาก เหมือนที Sri Pattahbi Jois กล่าวว่า Do your practice and all is coming - ฝึ กฝนเข้าไว้แล้วทุกอย่างจะ ตามมาเอง ยังจําได้ แม่นเลยว่าครูท่านหนึ!งบอกกับ ทุกคนในห้ องในขณะฝึ กว่า อย่าได้สนใจคนรอบ ข้าง ทําท่าต้นไม้ (Tree pose) คุณจะล้มสักกี 7ครั8ง หรื อ จะทําท่ายื นกลับหัว (headstand) ได้สวยงาม ขนาดไหนก็ไม่สําคัญ ไม่มีใครมาสนใจดูเพราะมัน ไม่ใช่เวลามาดูว่าคนอืน7 ทําได้หรื อไม่ได้อย่างไร เป็ น เวลาค้นหาว่าตัวเองทํ าได้หรื อไม่ได้ต่างหาก เท่านั #นสายตาของฉันก็หดไปทันที

9 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสํ าหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

แก่นของการฝึ กโยคะมีจดุ มุ่งหมายเผื!อให้ เราได้ มี เวลากับตัวเอง ได้ มีเวลาใส่ใจกับการหายใจของ ตนเอง มีเวลาได้ สงั เกตตัวเอง สังเกตอวัยวะส่วน ต่างๆ ของร่ างกายว่ารู้สกึ อย่างไร ทําหน้ าที!ของมัน กันยายน 2554


ได้ ดีแค่ไหน เป็ นเวลาสําหรับการสร้ างความสมดุล ของอวัยวะส่วนต่างๆ และช่วยให้ อวัยวะต่างๆ ทํางานได้ ดีขึ #น มีประสิทธิภาพมากยิง! ขึ #น เรี ยกได้ ว่า เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ เราได้ ใช้ เวลาช่วงนั #นอยู่กบั ตัวเองและทําอะไรเพื!อตัวเอง เพื!อสุขภาพที!ดีกว่า เพื!อใจที!สงบ และเพื!อจิตวิญญาณที!สงู ขึ #น ห้ อง โยคะมีไว้ เพื!อให้ ผ้ ฝู ึ กทุกคนได้ ใช้ เวลาช่วงนี #เพื!อ หลีกหนีจากโลกแห่งความวุ่นวาย สู่ความสงบ ภายในร่ างกายของเราจากการฝึ กในแต่ละครัง# ลองคิดดูง่ายๆ เวลาที!เราอยู่ในห้ องโยคะตังใจฟั # ง ครูสงั! ให้ หายใจเข้ าออก ยกขาข้ างนั #น ข้ างนี # ทําท่า ต่างๆ ตามที!ครูบอก ถ้ าเราใส่ใจจริ งๆ กับช่วงเวลา นั #นๆ โอกาสที!เราจะกลับไปคิดว่าจะกินไรดี หลังจากฝึ กเสร็ จ หรื อคิดเรื! องงาน ลูกค้ า หนี #สิน ฯลฯ แทบจะไม่มีเลย หมดเวลาชัว! โมงครึ!งออกจาก ห้ องฝึ กรู้ สกึ ตัวเบาล่องลอย จิตใจสงบ หากผู้ฝึก ท่านไหนไม่แน่ใจว่าฉันพูดถูกไหม ลองสังเกต ตัวเองหลังจากการฝึ กครัง# หน้ าของคุณก็แล้ วกัน และนี!คงเป็ นเสน่ห์อย่างหนึ!งของห้ องฝึ กโยคะที!ฉนั ค้ นพบ ฉันว่าความงามของห้ องฝึ กโยคะอีกอย่าง หนึ!งคือ ความงามจากข้ างในของเหล่าโยคี เวลาที! พวกเราอยู่ในห้ อง ไม่มีการแต่งหน้ า ไม่มีการ แต่งตัวสวยงาม ไม่มีรองเท้ าส้ นสูง มาเพิ!มหรื อ สร้ างความแตกต่าง หรื อลบเลือนความสมบูรณ์ แบบของคนเราทุกคนที!มาจากความสวยงามข้ าง ใน จากจิตวิณญาณจริ งๆ ทุกคนมาฝึ กโยคะเพื!อ 10 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสําหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

จุดประสงค์ที!แตกต่างกันแต่จุดหมายหรื อประโยชน์ ที!ได้ นนอย่ ั # างเดียวกันคือ ความสุข สงบ ทัง8 กาย และใจ เหตุผลสําคัญของการที!เราไม่ควรสนใจคนอื!น หรื อ พยายามแข่งขันกับคนอื!นๆ ในห้ องฝึ กโยคะมากนัก เห็นจะเป็ น เมื!อเวลาเราพยายามที!จะแข่งขันกับ ผู้อื!นแล้ วลืมข้ อจํากัดของร่ างกายของตนเอง ในขณะฝึ กนั #น มีสว่ นทําให้ ร่างกายของเราได้ รับ บาดเจ็บได้ โดยคาดไม่ถึง ถ้ าเราไม่คํานึงถึงร่ างกาย ของตัวเอง มัวแต่พยายามจะแข่งกับเพื!อนร่ วมชัน# หรื อแม้ กระทัง! แข่งขันกับตัวเอง สิ!งที!ไม่คาดฝั นก็ อาจจะเกิดขึ #นได้ ยกตัวอย่างง่ายๆ หากเราพยาม ยามทําท่ายืนโดยหัว (Headstand) ซึง! เป็ นท่าที! เหมาะสําหรับผู้ฝึกซึง! ผ่านการฝึ กมาแล้ วระยะหนึ!ง ไม่เหมาะสําหรับผู้ที!ฝึกระยะแรกๆ หรื อพยายาม ทําท่านี #ทั #งๆ ที!คอของเราเคยได้ รับบาดเจ็บมาก่อน หรื อว่ายังไม่พร้ อม แทนที!เราจะได้ รับประโยชน์ สูงสุดจากการฝึ ก เราอาจจะพลาดและกระดูกคอ อาจได้ รับการบาดเจ็บได้ ข้ อสําคัญจําไว้ ให้ มนั! ว่า การฝึ กโยคะนั #นช่วยให้ ข้อ ต่อ กระดูก กล้ ามเนื #อมีความยืดหยุ่น กระชับ และ ช่วยเตรี ยมและสร้ างความพร้ อมของผู้ฝึกในการฝึ ก ระยะยาว ถ้ าหากเมื!อขณะฝึ กท่าใดก็ตามแล้ วรู้ สกึ ว่าไม่สบายตัว เจ็บ ส่วนใดก็ตาม นัน! แสดงว่า ร่ างกายได้ ส่งสัญญาณให้ เรารู้แล้ วว่า ร่ างกายรับไม่ ไหว หรื อเราได้ ฝึกเกินข้ อจํากัดที!ร่างกายของเรามี กันยายน 2554


อยู่ ค่อยๆ เคลื!อนตัวออกมาจากท่านัน# หรื อหาจุด หรื อตําแหน่งที!ทําแล้ วไม่ร้ ู สกึ เจ็บอีก อย่าลืมว่าไม่มี ใครสามารถบอกเราได้ ดีเท่าตัวเราเอง เพราะฉะนั #น สังเกตตัวเองในเวลาฝึ กนับเป็ นสิ!งสําคัญอย่างหนึง! สําหรับนักฝึ กน้ องใหม่ หรื อแม้ กระทัง! ผู้ที!ฝึกโยคะ มาเป็ นเวลานานแล้ วก็ตาม เมื!อโยงคําแนะนําเหล่านี #เข้ ากับหลักการที!สําคัญ ที!สดุ ของการฝึ กโยคะตามหลักโยคะสุตรา โดย มหาโยคีปตัญชลี Ahimsa หรื อ อหิงสา การไม่ใช้ ความรุนแรง การใช้ ชีวิตในโลกนี #อย่างสันติ ซึง! โดยรวมมิได้ หมายถึงแค่ไม่ใช้ ความรุนแรง หรื อไป ทําร้ ายร่างกาย หรื อฆ่าฟั นผู้อื!นเท่านั #น หากแต่ รวมถึงการไม่ใช้ ความรุนแรงและใส่ใจต่อตัวผู้ฝึก เอง รักและใส่ใจตนเอง อ่านแล้ วอาจจะงงว่าเกี!ยวยังไงกับการฝึ กโยคะ พูด ง่ายๆ คือถ้ าหากเราฝึ กโยคะโดยไม่ใช่หลักการ อหิงสา ถ้ าเราไม่เมตตาและใส่ใจต่อร่ างกายของ เรา พยายามอย่างมุ่งมั!นเกินไป หักโหมเกินไป หรื อ ใช้ แรงในอวัยวะส่วนต่างๆ อย่างไม่ระมัดระวัง ไม่ ช้ ากระดูกสันหลัง ข้ อมือ ข้ อเท้ า หรื อกระดูกข้ อต่อ ต่างๆ ก็ได้ รับบาดเจ็บ ซึง! ถ้ าทําอย่างนันอย่ # าง ต่อเนื!องเป็ นเวลานานแทนที!ร่างกายจะได้ ประโยชน์ จากการฝึ กโยคะอย่างแท้ จริ งร่ างกายอาจพัฒนา อาการบาดเจ็บนั #นก็อาจเรื อ# รังได้ ท่านผู้อ่านคงเริ! ม จะพยักหน้ าเห็นด้ วยกันแล้ วซิวา่ จริ งๆ หลักอหิงสา นั #นสําคัญอย่างไร 11 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสําหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

แม้ การฝึ กโยคะจะเป็ นการฝึ กฝนร่างกายแบบไม่มี แรงกดดันหรื อแรงปะทะระหว่างข้ อต่อของร่างกาย มากเหมือนการออกกําลังชนิดอื!นๆ แต่คงเหมือน การเทรนทุกชนิดที!หากฝึ กโดยไม่ระมัดระวัง และ ไม่ได้ รับคําแนะนําจากครู ผ้ มู ีประสบการณ์อย่าง ถูกต้ องแล้ ว ก็อาจทําให้ ร่างกายได้ รับบาดเจ็บได้ เหมือนกัน เนื!องจากเป็ นการทําท่าทางที!แปลกไป จากในชีวิตประจําวันและความเคยชินของร่างกาย ดังนั #นถ้ าผู้ฝึกหักโหมและฝื นตนเองในขณะฝึ กมาก เกินไปไม่เปิ ดโอกาสหรื อให้ เวลากับร่ างกายให้ ได้ รับความเคยชินก่อนก็คงไม่พ้นต้ องเตรี ยมจ่าย ค่ารักษาพยาบาลกันบ้ าง อย่างที!กล่าวมาข้ างต้ นว่า การฝึ กโยคะไม่ได้ มี จุดประสงค์หรื อทําให้ ร่างกายได้ รับบาดเจ็บแต่ อย่างใด การฝึ กโยคะมีจดุ ประสงค์เพื!อกระตุ้น พลังงานหรื อลมปราณในร่างกายให้ ตื!นตัว ช่อง พลังงานหลักที!มีชื!อว่า “สุชมุ นา” ที!อยู่บริ เวณ กระดูกสันหลังในร่ างกายของเราเปิ ดเพื!อทําให้ เลือดลมในร่างกายไหลเวียนได้ สะดวกยิ!งขึ #น เมื!อ เลือดลมไหลเวียนได้ สะดวก ปริมาณออกซิเจนก็ สามารถไหลเข้ าสู่ช่องลมปราณได้ อย่างมีความ สมดุล ออกซิเจนที!ไหลเวียนเข้ าสูร่ ่ างกายเมื!อเวลา หายใจเข้ าช่วยกําจัดสารพิษออกจากร่ างกายใน ระหว่างที!เราหายใจออก นี!อาจจะตอบคําถามของ หลายคนๆ ที!มกั สงสัยว่าทําไมหลังจากฝึ กโยคะถึง ได้ ร้ ูสกึ สดชื!น กระปรี ก# ระเปร่ า เหมือนตัวลอย กันยายน 2554


ออกมาจากห้ องฝึ กโยคะเลยก็ว่าได้

ส่วนตัวฉันเองได้ เรี ยนรู้ ขึ #นอีกอย่างจากลมหายใจ ของฉันเองว่า ฉันหลงรักเสียงลมหายใจของฉันเอง เข้ าเสียแล้ ว เวลาฝึ กโยคะสิ!งที!ฉนั โปรดปรานมาก ที!สดุ คือเสียงลมหายใจที!ลกึ ยาว และคงที!ของฉัน ฉันยังได้ ข้อสังเกตอีกอย่างซึง! อยากจะแบ่งปั น ให้ กบั ผู้อ่าน เมื!อทําท่าต่างๆ แล้ วลมหายใจขาด หายไปนัน! อาจแสดงให้ เห็นว่าคุณฝึ กเกินข้ อจํากัด ของร่ างกายที!ควรจะเป็ น เพราะอย่าลืมว่าการจับ ลมหายใจขณะการฝึ กโยคะนันสิ # !งสําคัญที!ทําให้ โยคะแตกต่างจากการออกกําลังกายชนิดอื!นๆ สิ!งสําคัญที!สดุ ของการฝึ กอาสนะคือการรักษา ความสัมพันธ์ระหว่างลมหายใจกับท่าทางต่างๆ ถ้ า ไม่มีการจับลมหายใจเวลาฝึ กคุณก็ไม่ได้ ฝึกโยคะ อยูน่ นั! เอง ถ้ าขณะที!ฝึกแล้ วสังเกตตัวเองว่า กลั #น หายใจหรื อหายใจไม่สะดวก ให้ ลองลดดีกรี ของท่า ที!ทําอยู่ลงมาจนกว่าจะค้ นพบว่าหายใจได้ สะดวก 12 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสําหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

ขึ #น ตัวอย่างที!สงั เกตได้ ง่ายๆ คือ เวลาทําท่าคันธนู (Full bow pose) แล้ วจับลมหายใจของตัวเองไม่ได้ แสดงว่าเหยียดหรื อยืดตัวมากเกินไปควรลดระดับ ความสูงของแขน ขา และ หน้ าอกลงมาในระดับที! หายใจได้ สะดวก ทางที!ดีแนะนําว่า ให้ ค่อยๆ ยกตัว ขึ #นเพื!อหาระดับที!เหมาะกับตัวเอง อย่ายกตัวใน ระดับที!สงู สุดในครัง# แรก แต่ค่อยๆ ยกตัวขึ #นลงเพื!อ หาระดับที!ดีที!สดุ ของตนเอง อย่าลืมว่าเราไม่ สามารถเป็ นมาสเตอร์ ของท่าอาสนะต่างๆ ในวัน เดียว ทุกอย่างต้ องใช้ เวลา และวินยั ในการฝึ กฝน อย่างสมํ!าเสมอ จากประสบการณ์ตรงของตัวฉันเองก็มีบ้างที!หกั โหมและต้ องมีการพักฟื น# การฝึ กอยูห่ ลายครัง# สิง! ที! สร้ างความหงุดหงิดใจให้ ฉนั มากที!สดุ เห็นจะเป็ น ช่วงเวลานี #ที!ไม่สามารถกลับไปฝึ กได้ เพราะได้ รับ บาดเจ็บนี!เอง จึงอยากจะแบ่งปั นข้ อมูลตรงนี #ให้ กบั ทุกคน จะได้ ไม่ตกอยูใ่ นภาวะที!ฉนั ประสบมาก่อน อย่างไรก็ตามการฝึ กโยคะมิใช่มีเพียงแค่ฝึกท่า อาสนะต่างๆ อย่างเดียวฉันได้ เรี ยนรู้ อีกว่าเมื!อ ร่ างกายต้ องการการพักผ่อนหรื อพักฟื น# จากการ บาดเจ็บ สิ!งที!ทําได้ ซงึ! ถือเป็ นการฝึ กโยคะด้ วย เหมือนกันคือการนัง! สมาธิและสวดมนต์ หรื อการ ฝึ กหายใจต่างๆ ของโยคีซงึ! มีผลดีต่อร่ างกายไม่แพ้ อาสนะเลยทีเดียว เอาเป็ นว่าขอเก็บข้ อมูลส่วนนี #ไว้ พูดในตอนต่อๆ ไปก็แล้ วกัน กันยายน 2554


มาถึงตรงนี #ขอสรุปเป็ นข้ อๆ ให้ กบั ผู้อ่านทั #งหลายว่า - การฝึ กโยคะมิใช่การแข่งขัน หรื อการเปรี ยบเทียบ กับผู้อื!น หากแต่เป็ นการฝึ กฝนตนเอง ในระดับ ความสามารถที!ตนมี จะดีไม่น้อยหากสามารถ เปลีย! นความรู้สกึ แข่งขันหรื อเปรี ยบเทียบที!มีตอ่ เพื!อนผู้ฝึกร่ วมห้ องมาเป็ นแรงบันดาลใจให้ คณ ุ ฝึ กฝนได้ ดีอย่างเขา - อย่าลืมว่าเวลาในห้ องฝึ กโยคะคือเวลาทองของ คุณเอง ใช้ ให้ เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่ากับตัวคุณ เอง อย่าปล่อยให้ เสียเปล่าโดยการใส่ใจกับคน อื!นๆ รอบข้ างหรื อคิดว่าคนอื!นจะสนใจในตัวเรา - ใช้ หลักอหิงสามาเป็ นหลักในการฝึ ก รักและใส่ใจ ต่อร่ างกายของตนเอง เมื!อคุณทะนุถนอมร่ างกาย เป็ นอย่างดี ร่ างกายก็จะอยู่กบั คุณไปนานๆ ฝึ ก โยคะด้ วยความรัก เมตตา เคารพครู ตัวเองและ เพื!อนโยคีทั #งหลาย - ใส่ใจกับการจับลมหายใจให้ มากที!สดุ อย่าลืมว่า โยคะที!แท้ คือการรักษาความสัมพันธ์ระหว่างลม หายใจกับการเคลือ! นไหวของร่ างกาย ปราศจาก การจับลมหายใจระหว่างการฝึ กอาสนะต่างๆ นัน! แสดงว่าคุณไม่ได้ ฝึกโยคะอยู่ 13 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสําหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

ลองเอาจุดต่างๆ ข้ างต้ นไปลองปรับใช้ กบั การฝึ ก ของผู้อา่ นดู ค่อยๆ ปรับทัศนคติของตนเองอย่าง ช้ าๆ ข้ อสําคัญอย่าหงุดหงิดหากทําไม่ได้ ในช่วงแรก ค่อยเป็ นค่อยไปสร้ างความมัน! ใจให้ กบั ตนเองวันละ นิด สําหรับผู้อ่านบางท่านที!ฝึกโยคะมาเป็ นเวลา พอสมควรลองสังเกตตัวเองดูด้วยว่าท่านลืมสิ!ง พื #นฐานเหล่านี #ไปบ้ างหรื อไม่ เพราะบางทีแม้ แต่ โยคีก็มีโอกาสที!จะเพิกเฉยและหลงลืมไปบ้ าง เหมือนกัน อ่านมาถึงตรงนี #ถ้ าหากผู้อ่านมีคําถามหรื อติดใจ สงสัยกับเนื #อหาของเส้ นทางโยคะของฉันในฉบับนี # ขออย่าได้ ลงั เลโปรดสละเวลาอันมีค่าวิจารณ์หรื อติ ชมมากันได้ ยินดีรับฟั งความคิดเห็นของทุกท่าน และหากบางท่านมีเรื! องใดที!สนใจเป็ นพิเศษอยาก ให้ ฉนั เขียนเล่าแบ่งปั นประสบการณ์ของฉัน สามารถบอกกล่าวผ่านมาทาง ‘อรุโณทัย’ ได้ จะ ยินดีเป็ นอย่างยิ!ง ขอปิ ดท้ ายฉบับนี #ด้ วยคําคมสันๆ # จากมหาตมะ คานธี ที ว่า “Ahimsa is the highest ideal. It is meant for the brave, never for the cowardly”Mahatma Gandhi แปลตามเวอร์ ชนั! ของฉันว่า “การไม่ ใช่ ความรุ นแรงเป็ นอุดมการณ์ ของผู้ กล้ าหาญ ไม่ ได้ แสดงถึงความขีขA ลาดแต่ อย่ าง ใด” ติดต่ อผู้เขียนได้ ทางอีเมล : tida@be-happy-yogi.com กันยายน 2554


หนังสือโยคะน่าอ่าน

ในการดูแลรักษาร่ างกาย ควบคุมนํ/าหนัก ดูแล สุ ขภาพหรื อโยคะเพื อการออกกําลังกาย “โยคะ/ ธรรมะ/ สมดุล/ ชี วติ ” โดย วรรณวิภา มาลัยนวล เป็ นหนังสื อเกี ยวกับโยคะอีก เล่มที เขียนโดยครู โยคะผูม้ ีความสนใจเรื องราว ต่างๆ เกี ยวกับความเป็ นไปในชีวิตของตนเองและ คนรอบข้างที ใกล้ชิด โดยเธอเริ มฝึ กโยคะครั/งแรก เมื อปี 2541 พร้อมๆ กับการเริ มฝึ กปฏิบตั ิธรรม ซึ งทั/งสองด้านเป็ นด้านที ตรงกันข้ามกับความสนใจ และสิ งที ร ําเรี ยนซึ งเป็ นเรื องของเทคโนโลยี

โยคะ/ ธรรมะ/ สมดุล/ ชีวิต วรรณวิภา มาลัยนวล

ผูเ้ ขียนนําเสนอเนื/ อหาของหนังสื อออกเป็ น 4 ส่ วนใหญ่ๆ และมีภาคผนวกในตอนท้ายเป็ น เรื องเกี ยวกับโยคะประเภทต่างๆ ที มีการฝึ กการ สอนกันในประเทศไทย โดยเนื/อหาทั/ง 4 ส่ วนนี/ ได้แก่ ภาค 1 ตระหนักในคุณค่าของชีวิต ภาค 2 โยคะวิถีแห่ งชีวิต ภาค 3 เรี ยนรู ้และเข้าใจความ จริ งของชีวิต ภาค 4 บทสรุ ป ดอกหญ้างามระหว่าง ทางกับดอกบัวบานที รออยู่

สํา นั ก พิ ม พ์ อ ั ม ริ นทร์ ธรรมะ กรกฎาคม 2554 จํา นวนหน้ า 257 หน้ า 210บาท

ลองอ่านดูบางเนื/ อหาและบางบทตอนใน หนังสื อเล่มนี/

ทุกวันนี/อาจเป็ นด้วยกระแสความนิยม โยคะจึงทําให้หนังสื อพ็อกเก็ตบุก้ เกี ยวกับโยคะ ทยอยตีพิมพ์ออกมาโดยสํานักพิมพ์ต่างๆ อย่าง ต่อเนื อง แต่ส่วนมากแล้วก็ยงั คงเน้นเกี ยวกับโยคะ

“โยคะไม่ ใช่ เพี ยงการฝึ กอาสนะหรื อการ ฝึ กเทคนิ คต่ างๆ แต่ โยคะเป็ นวิถีชีวิต” “ฉั นเป็ นเพี ยงผู้ที กาํ ลังดําเนินไปในวิ ถีแห่ ง การนําโยคะมาเป็ นหนึ งในเครื องมือการพัฒนาจิ ต เพื อมุ่งสู่ เป้ าหมายทางพระพุทธศาสนา แม้ โยคะกับ


พระพุทธศาสนาจะเป็ นคนละแนวทัศนะตาม ความเห็นของคนอิ นเดี ย...” รวมความแล้วความน่าสนใจและความแตกต่างของ หนังสื อเล่มนี/ น่าจะอยูท่ ี บทสรุ ปในแต่ละตอนจาก การเปรี ยบเทียบเรื องราวของชีวิตพร้อมให้ขอ้ คิด ทางศานาพุทธและปรัชญาทางโยคะ มีการล้อม กรอบเนื/อหาที น่าจะเข้าถึงได้ยากของโยคะเกี ยวกับ ทฤษฎีหรื อวิธีการฝึ กฝนไว้ทา้ ยบท จึงทําให้หนังสื อ เล่มนี/เป็ นหนังสื อโยคะที มีเนื/ อหาและบุคลิกที แตกต่างและน่ าอ่านอีกเล่มหนึ ง

ศัพท์โยคะ Yoga A-Z F- Fatigue ฟาติก คือความเหน็ดเหนื อยเมื อยล้าของร่ างกาย ความอ่อนเพลีย อ่อนล้าและอิดโรย และอาการ เช่นนี/ ใช่ว่าจะเกิดขึ/นกับผูท้ ี ไม่ออกกําลังกายอย่าง เดียวเท่านั/น แต่ยงั สามารถเกิดขึ/นกับผูท้ ี ออกกําลัง กายอย่างหักโหม หนักหน่ วง หรื อมากเกินไปเกิน กําลังเกินความพร้อมของร่ างกาย นอกจากนี/ยงั เกิด จากรู ปแบบการใช้ชีวิต ภาวะอารมณ์ ความวิตก กังวลหรื อการใช้ยา ภาวะความเจ็บป่ วยทางจิตใจที ส่ งผลต่อร่ างกายได้อีกด้วย 15 | ‘อรุ โณทัย’ สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้ างสําหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7

การออกกําลังกายตามอย่างสมัยใหม่ เช่น การเล่น กีฬามักจะทําให้เกิดอาการอ่อนล้าของกล้ามเนื/ อ หลังการเล่นกีฬาหรื อออกกําลังกายได้ง่าย เนื องจาก ความรุ นแรงและหักโหมของเกมกีฬาหรื อการใช้ กําลังของกล้ามเนื/ อ สําหรับผูฝ้ ึ กโยคะ ซึ งเป็ นการออกกําลังกายด้วยการ ทําท่าอาสนะต่างๆ ที ไม่เน้นการออกแรงจนเกิน กําลัง ใช้การค่อยๆ เหยียดยืด และการหายใจเข้า ออกลึกและยาวสมํ าเสมอ จึงทําให้กล้ามเนื/อไม่ อ่อนแรงหรื อเกิดอาหาร fatigue ได้ง่ายๆ

สื อโยคะทีเ ปิ ดกว้างสําหรับทุกคน ปี ที 1 ฉบับที 7 กันยายน 2554 ผลิตโดย ‘ลิ ตเติ ลซันไชน์ ’ ลาดพร้าว 35/1 แขวง สามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 0 2512- 3270, 085 072 5552 อีเมล: littlesunshineyoga@gmail.com Blog: http://ittirit.wordpress.com

กันยายน 2554


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.