เอกสารเงื่อนไขสากลของ FIDIC

Page 1

คำนำ

เอกสำรเงื่อนไขของ สัญญำสำกล FIDIC

เจตณรงค์ เชำว์ชูเดช

บริษัท ทีม คอนซัลติง� เอนจิเนี ยริง� แอนด์ แมเนจเมนท์ จํากัด


คำสงวนสิทธิ:์ Disclaimer เอกสำรนี้ จัดทำขึ้นเพื่อประกอบกำรบรรยำยเรื่อง เอกสำรเงื่อนไขของสัญญำ สำกล FIDIC สำหรับ บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด ลิขสิทธิ์ อันพึงมีในข้อเขียนทั้งปวง ย่อมเป็นสิทธิ์ของเจ้ำของนั้นทั้งสิ้น ผู้ใช้เอกสำร พึงใช้วิจำรณญำณในกำรใช้ด้วยตนเอง

ผิด ตก ยกเว้น (E&OE)

ความรู้มีไว้แบ่งปัน!


เจตณรงค์ เชำว์ชูเดช บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด


พิมพ์ครั้งที่ 1:

17 สิงหำคม 2559

แก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1:

30 สิงหำคม 2559

พิมพ์ครั้งที่ 3:

23 ตุลำคม 2559


กิตติกรรมประกาศ เอกสารนี้ สาเร็จได้ด้วยความกรุณาของบริษัททีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จากัด โดยคุณสมเกียรติ มณิ รุจิ ที่ได้ส่งชื่อผมเข้าอบรม หลักสูตร การบริหารสัญญาโครงการก่อสร้างวิศวกรรมระดับสากลของ FIDIC (Train the Trainer) หลั ก สู ต รที่ 3 (Module 4) รุ่ น แรก เมื่ อ เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ 2558 ขอขอบคุณเป็นอย่างสูงมา ณ ที่นี้ ขอขอบคุณ สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย (วปท.) โดยความร่วมมือ กับ กรมการค้ าต่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์ และศูน ย์บ ริการวิช าการแห่ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้เปิดอบรมหลักสูตรการบริหารสัญ ญาโครงการ ก่อสร้างวิศวกรรมระดับสากลของ FIDIC (Train the Trainer) ขอขอบคุณ อาจารย์ Mr. Zoltán Záhonyi วิทยากรจาก FIDIC สาหรับ Hand out และการบรรยายที่เข้มข้น ขอขอบคุณคุณนิวัฒน์ ธัญปิตินันทน์ กรรมการ วปท. ที่ได้มอบหมายให้ผมเป็นหัวหน้าทีมผู้แปลเอกสารประกอบการอบรม จาก ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ขอขอบคุณกลุ่มเพื่อนร่วมทีมแปลมากมายหลาย ท่าน ที่ช่วยกันแปลเอกสารดังกล่าว ขอขอบคุณคุณนพดล ใจซื่อ อุปนายกฝ่าย วิชาการ วปท. หัวหน้าทีมบรรยาย และเพื่อนวิทยากรผู้บรรยาย หลาย ๆ ท่า น ที่ช่วยกัน แนะนา และปรับปรุงเอกสารประกอบการบรรยายให้มีความสมบูรณ์ มากขึ้น ขอขอบคุณอาจารย์ชานาญ พิ เชษฐพันธ์ ผู้เขียนหนังสือ สัญ ญาจ้างที่ปรึกษา บริหารการก่อสร้าง ผู้จุดประกาย ด้วยการเชิญชวนผมให้ร่วมเขียนหนังสือ ทาให้ ได้มีโอกาส อ่าน และเริ่มเขียนหนังสือ ขอขอบคุณเป็นอย่างสูง เอกสารนี้ สาเร็จได้ด้วยความกรุณาของคุณวินิจ กลิ่นทอง และ คุณเพ็ญศิริ ดวง ศรีแก้ว ที่ ช่วยตรวจทาน กลั่นกรอง และทบทวน เอกสารนี้ให้มีความถูกต้อง ขอขอบคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบคุณ บริษัททีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จากัด และ เจ้าหน้าที่ฝ่ายอบรม สาหรับการบรรยายในครั้งนี้

ขอขอบคุณทุกท่านครับ



สารบัญ เรื่อง

หน้า

กิตติกรรมประกาศ สารบัญ คานา ภาพรวม และโครงสร้างเอกสาร 1. บทนา

1 1-1

การใช้งานเชิงปฏิบัติ ของสัญญาการบริหารงานโครงการ (Practical Use of the FIDIC Contract) 2. แนะนำ FIDIC และเอกสำรสัญญำข้อตกลง FIDIC

2-1

3. FIDIC RED BOOK: ลักษณะเฉพำะของสัญญำ FIDIC Red Book

3-1

4. FIDIC YELLOW BOOK ลักษณะเฉพำะของสัญญำ FIDIC Yellow Book 4-1 5. FIDIC SILVER BOOK: ลักษณะเฉพำะของสัญญำ FIDIC Silver Book 5-1 6. FIDIC PINK BOOK: ลักษณะเฉพำะของสัญญำ FIDIC Pink Book เงื่อนไขของสัญญำสำหรับธนำคำรเพื่อกำรพัฒนำระหว่ำงประเทศ 6-1 7. FIDIC GREEN BOOK: ลักษณะเฉพำะของสัญญำ FIDIC Green Book 7-1

(ก)


สำรบัญ 8. FIDIC WHITE BOOK: ลักษณะเฉพำะของสัญญำ FIDIC White Book 8-1 การบริ ห ารและการด าเนิ น การของสั ญ ญาโครงการวิ ศ วกรรม (Management and Administration of FIDIC Contracts) 9. กำรบริหำรจัดกำรสัญญำ ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา 10.1 ตัวอย่ำงกำรใช้งำน 10.2 กรณีศึกษำ ภาคผนวก สำรบัญเอกสำร FIDIC เล่มสีแดง สีเหลือง และเล่มสีเงิน แหล่งความรู้เพิ่มเติม บรรณานุกรม

(ข)

9-1

10-1 10-4


คำนำในพิมพ์ครั้งที่ 3 การจั ด พิ ม พ์ ค รั้ ง ใหม่ นี้ เพื่ อ ใช้ ป ระกอบการบรรยายเรื่ อ ง เอกสารเงื่ อ นไขของสั ญ ญาสากล FIDIC ส าหรั บ บุ ค ลากรโครงการ เซเปี ย นเซน้ าน้ อ ย แขวงจ าปาศั ก ดิ์ และแขวงอั ต ตบื อ สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ในวันที่ 23 ตุลาคม 2559 หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้บ้างไม่ มากก็น้อย ด้วยความปรารถนาดี เจตณรงค์ เชาว์ชูเดช


คำนำกำรแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 ในการจัดพิมพ์ครั้งใหม่นี้ ได้ทาการแก้ไข คาผิด วรรคตอน ใหม่ ทั้ ง เล่ ม ได้ เ พิ่ ม เอกสาร FIDIC Green Book ในบทที่ 7 และเพิ่ ม เอกสาร FIDIC White Book ในบทที่ 8 ได้แก้ไ ขเพิ่มเติมรายละเอียด ของสารบัญเอกสาร FIDIC ในภาคผนวก ขอขอบคุณคุณวินิจ กลิ่นทอง ที่ได้กรุณาตรวจทาน และให้ ความเห็นเพิ่มเติมที่มีประโยชน์ ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารนี้จะมีความสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น และเป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้บ้างไม่มากก็น้อย ด้วยความปรารถนาดี เจตณรงค์ เชาว์ชูเดช


คำนำ เอกสารนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการนาเสนอ เรื่องเอกสาร เงื่ อ นไขของสั ญ ญ าสากล FIDIC ส าหรั บ บริ ษั ท ที ม คอนซั ล ติ้ ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จากัด เพื่อ ใช้ประโยชน์ด้านการศึกษา และเป็นวิทยาทานแก่ผู้สนใจเท่านั้น มิได้มุ่งหวังประโยชน์ด้านการค้าใน เชิงพาณิชย์แต่ประการใด ลิขสิทธิ์ในข้อเขียนและภาพอันพึงมีเป็นของ FIDIC สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย (วปท.) และ บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จากัด วัตถุประสงค์ของเอกสารนี้ คือเพื่อเติมเต็มการนาเสนอ เรื่อง เอกสารเงื่อนไขของสัญญาสากล FIDIC ซึ่งมีเวลาจากัดเพียง 6 ชั่วโมง สาหรับการนาเสนอ 2 Module ของ FIDIC คือ Module 1: Practical Use of FIDIC Conditions of Contracts แ ล ะ Module 4: Management and Administration of FIDIC Contracts ซึ่ ง ปรกติ จะต้องใช้เวลาในการนาเสนอไม่น้อยกว่า 2-3 วันต่อ 1 Module คาดว่า เอกสารนี้ คงจะสามารถครอบคลุมเนื้อหาได้สมบูรณ์ เพิ่มมากขึ้นจากการนาเสนอ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์แก่ ผู้ใช้บ้างไม่มากก็น้อย ด้วยความปรารถนาดี เจตณรงค์ เชาว์ชูเดช jadenc@team.co.th jadenarong@gmail.com


ภาพรวม และโครงสร้างของเอกสาร บทนา กล่าวถึงความเป็นมาของ FIDIC และแนะนาเอกสาร FIDIC เล่ม ต่าง ๆ โดยสังเขป แนะนา FIDIC กล่าวถึงความเป็นมา ภารกิจ ลักษณะเด่น ยุทธศาสตร์ ภูมิหลัง ลักษณะ และโครงสร้างโดยรวมของเอกสารสัญญา FIDIC RED BOOK กล่าวถึงลักษณะเฉพาะของเอกสารสัญญา FIDIC เล่มสีแดง ซึ่งใช้กับงานก่อสร้าง ออกแบบโดยผู้ว่าจ้าง ลักษณะพื้นฐาน การใช้งาน และโครงสร้างของเอกสาร FIDIC YELLOW BOOK กล่ า วถึ ง ลั ก ษณะเฉพาะของเอกสารสั ญ ญา FIDIC เล่มสีเหลือง เป็นเอกสารซึ่งใช้กับงานออกแบบรวมก่อสร้างโดย ผู้รับจ้างก่อสร้าง ลักษณะพื้นฐาน การใช้งาน และโครงสร้างของเอกสาร FIDIC SILVER BOOK กล่ า วถึ ง ลั ก ษณะเฉพาะของเอกสารสั ญ ญา FIDIC เล่มสีเงิน เป็นเอกสารซึ่งใช้กับงานออกแบบวิศวกรรม จัดหา และ ก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จ โดยผู้รับจ้างก่อสร้าง ลักษณะพื้นฐาน การใช้งาน และโครงสร้างของเอกสาร FIDIC PINK BOOK กล่ า วถึง ลั กษณะเฉพาะของสั ญ ญา FIDIC เล่ ม สี ชมพู เป็น เงื่อ นไขของสั ญ ญาส าหรั บธนาคารเพื่ อการพั ฒ นาระหว่าง ประเทศ ลักษณะพื้นฐาน การใช้งาน และโครงสร้างของเอกสาร FIDIC GREEN BOOK กล่าวถึงลักษณะเฉพาะของสัญญา FIDIC เล่มสี เขียว เป็นเงื่อนไขของสัญญาสาหรับโครงการขนาดเล็ก มีมูลค่าของงาน ประมาณ ~ 0.5 million $ (15 ล้านบาท) ระยะเวลาก่อสร้างประมาณ 6 เดือน ลักษณะพื้นฐาน การใช้งาน และโครงสร้างของเอกสาร

1


ภาพรวมและโครงสร้างเอกสาร FIDIC WHITE BOOK กล่าวถึงลักษณะเฉพาะของสัญญา FIDIC เล่มสี ขาว เป็นเงื่อนไขสัญญาเล่มพิเศษโดยเป็นรูปแบบของข้อตกลงระหว่าง ผู้ว่าจ้างและที่ปรึกษา ลักษณะพื้นฐาน การใช้งาน และโครงสร้างของ เอกสาร การบริหารจัดการสัญญา กล่าวถึงลาดับขั้นตอนในการบริหารจัดการ สั ญ ญา FIDIC ในเรื่ อ งต่ า ง ๆ ได้ แ ก่ การเริ่ ม ด าเนิ น การตามสั ญ ญา การควบคุมด้านการเงิน การบริหารควบคุมสัญญาอย่างต่อเนื่อง การรับ มอบงาน ความรับผิดชอบต่อสิ่งบกพร่อง และความเสร็จสมบูรณ์ของ สัญญา รวมถึงการพิพาทโต้แย้ง การระงับข้อพิพาทโต้แย้ง และการบอก เลิกสัญญา ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา แสดงตัวอย่างการใช้เอกสาร FIDIC ในโครงการต่าง ๆ รวมถึงกรณีศึกษาเรื่องเหตุสุดวิสัย การเพิ่มลดงาน และความเป็นธรรม ความรับผิดของที่ปรึกษา ความไม่เข้าใจในเงื่อนไข สัญญาจ้างก่อสร้าง การขัดแย้งกันของแบบ และค่าปรับที่ปรึกษา ************

2


บทนำ ส ม า พั น ธ์ วิ ศ ว ก ร ที่ ป รึ ก ษ า น า น า ช า ติ (Fédération Internationale des Ingénieurs-Conseils: International Federation of Consulting Engineers) หรื อ ที่ เ ราได้ ยิ น กั น บ่ อ ย ๆ ทั่วไปว่า FIDIC เป็นองค์กรอิสระ ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1913 (พ.ศ. 2456) ณ ประเทศเบลเยี่ยม โดยการริเริ่มจากความร่วมมือของสมาคมวิศวกร ที่ ป รึ ก ษ า แ ห่ ง ช า ติ ( National Associations of Consulting Engineers) ของประเทศในยุโรปจานวนสามประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส เบลเยียม และสวิตเซอร์แลนด์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างและ ยกระดับวิชาชีพวิศวกรที่ปรึกษาให้เป็นที่ยอมรับ รักษาและพัฒนาระดับ มาตรฐานทางจริยธรรมและการปฏิบัติงาน เผยแพร่ข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ให้กับสมาชิกที่เป็นสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งชาติในประเทศต่าง ๆ ใน ปัจจุบัน FIDIC มีสมาชิกประมาณ 100 ประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศ ไทย และจากจานวนวิศ วกรที่ ป รึก ษาของกลุ่ ม ประเทศสมาชิกท าให้ กล่ าวได้ว่า FIDIC เป็ นตั วแทนของวิศ วกรที่ ป รึกษาส่ วนใหญ่ ของโลก สานักงานใหญ่ของ FIDIC ตั้งอยู่ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในอดีตประเทศไทยจะใช้สัญญาก่อสร้างตามระเบียบสานัก นายกรั ฐ มนตรี และตั ว อย่ า งสั ญ ญ าจ้ า งฉบั บ ภาษาอั ง กฤษ ซึ่ ง กระทรวงการคลังจัดทาขึ้น เมื่อประเทศไทยเริ่มมีการก่อสร้างโครงการ ขนาดใหญ่ และเป็นสัญญาโครงการเงินกู้ สัญญาสากลจึงได้ถูกนามาใช้ เงื่อนไขสัญญาของ FIDIC เป็นหนึ่งในเงื่อนไขสัญญาสากลที่ ได้ถูกนามา ใช้โดยบริษัทที่ปรึกษาต่างชาติ บางบริษัทได้นาเงื่อนไขสัญญา FIDIC มา ดัดแปลงเป็นเงื่อนไขสัญญามาตรฐานของหน่วยงานบางแห่งของรัฐ ตาม ข้อ ตกลงของเจ้าของเงิน กู้ ตัวอย่ างเช่น บริษั ท ที่ ป รึก ษาของญี่ ปุ่ น ได้

1-1


บทนา ดัดแปลงเงื่อนไขสัญญาของ FIDIC ฉบับปี 1987 มาใช้กับเงื่อนไขสัญญา มาตรฐานของการประปานครหลวง เป็นต้น FIDIC เป็ น องค์ ก รที่ มี ก ารพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ได้ พั ฒ นา รูปแบบเงื่อ นไขของสั ญ ญาอยู่ตลอดเวลาตามวิวัฒ นาการของสั ญ ญา ก่อสร้างประเภทต่าง ๆ จากเดิมมีเพียงสัญญาก่อสร้างซึ่งออกแบบโดย ผู้ว่าจ้าง แล้วจึงนาแบบและเอกสารสัญญาไปว่าจ้างก่อสร้าง เอกสารเล่ม นี้ คื อ FIDIC RED BOOK: Conditions of Contract for Works of Civil Engineering Construction, 1957, 1987, 1992 and 1996 ส า ห รั บ งา น ก่ อ ส ร้ า งงา น โย ธ า แ ล ะ FIDIC YELLOW BOOK: Conditions of Contract for Electrical and Mechanical Works including erection on site, 1963 and 1987 สาหรับงานไฟฟ้าและ เครื่องกล สาหรับสัญญาออกแบบรวมก่อสร้าง FIDIC ได้พัฒนาเงื่อนไข ของสัญญาเป็น FIDIC ORANGE BOOK: Conditions of Contract for Design-Build and Turnkey ในปี คศ. 1995 ในปี คศ. 1999 FIDIC ได้มีการปรับปรุงครั้งใหญ่ เรียกการ ปรั บ ปรุ งชุ ด นี้ ว่ า Rainbow Suite Version ประกอบด้ วยชุ ด เอกสาร เงื่อนไขสัญญาหลัก สี่เล่มคือ เล่มสีเขียว เล่มสีแดง เล่มสีเหลือง และเล่ม สี เงิ น (FIDIC Green Book: Short Form of Contract, FIDIC Red Book: Conditions of Contract for Building and Engineering Works, Designed by the Employer, FIDIC Yellow Book: Conditions of Contract for Plant and Design-Build for Electrical and Mechanical Plant, and for Building and Engineering Works, Designed by the Contractor and FIDIC Silver Book: Conditions of Contract for EPC/Turnkey Projects)

1-2


บทนา นอกจากนี้ ยั ง ได้ พั ฒ นา FIDIC เล่ ม ต่ า ง ๆ เช่ น White Book, Blue Book, Pink Book, Gold Book รวมถึง Conditions of Subcontract for Construction สาหรับการใช้งานในสัญญารูปแบบที่แตกต่างกัน

เอกสำร FIDIC Conditions of Contract Version ต่ำง ๆ  FIDIC Vision:Enabling the development of a sustainable world as the recognised global voice for the consulting engineering industry.  FIDIC Mission:To work closely with our stakeholders to improve the business climate in which we operate and enable our members to contribute to making the world a better place to live in, now and in the future.

1-3


บทนา  FIDIC Values : 1. Quality 2. Integrity 3. Sustainability เอกสำรชุดแรกของ FIDIC (3 เล่มหลัก) 1. Conditions of Contract for Works of Civil Engineering Construction (Red Book 4th) First Edition 1957 Fourth Edition 1987 Reprinted 1988 with editorial amendments Reprinted 1992 with further amendments Supplement to the 1992 Red Book published in 1996 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มแรกของ FIDIC คือ เอกสารเล่มสีแดง จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี คศ. 1957 เป็นเงื่อนไขของสัญญาที่ใช้กับ งานก่อสร้างประเภทงานโยธา ซึ่งมีการแก้ไขปรับปรุง เล่มที่ใช้ กันแพร่หลายในสมั ยก่อ นคื อฉบับพิ ม พ์ ครั้งที่ 4 ปี คศ. 1987 ฉบับล่าสุดที่มีการพิมพ์คือ ปี คศ. 1996

1-4


บทนา 2. Conditions of Contract for Electrical and Mechanical Works including erection on site (Yellow Book) First Edition 1963 Third Edition 1987 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มต่อมาของ FIDIC คือ เอกสารเล่มสีเหลือง จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี คศ. 1963 เป็นเงื่อนไขของสัญญาที่ใช้กับ งำนไฟฟ้ำ และเครื่องกล และเน้นเรือ่ งการประกอบและติดตั้ง ในสนาม ได้มีการปรับปรุงจนถึงฉบับพิมพ์ครั้งที่ 3 ปี คศ. 1987 3. Conditional of Contract for Design-Build and Turnkey (Orange Book) First Edition 1995 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มที่ 3 ของ FIDIC คือ เอกสารเล่มสีส้ม จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี คศ. 1995 เป็นเงื่อนไขของสัญญาที่ใช้กับ งานออกแบบรวมก่อสร้าง และ สัญญาจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ

1-5


บทนา เอกสำรชุดปรับปรุงของ FIDIC 1999 (Rainbow Suite) และ เพิ่มเติม

4. Short Form of Contract (Green Book) First Edition 1999 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่ม นี้ เป็นเงื่อนไขสัญญา ส าหรั บ โครงการขนาดเล็ ก มี มู ล ค่ า ของงาน ประมาณ ~ 0.5 million USD (ประมาณ 15 ล้านบาท) ระยะเวลาก่อสร้างประมาณ 6 เดือน 5. Conditions of Contract for Construction, for Building and Engineering Works, Designed by the Employer (Red Book 1999) First Edition 1999 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มนี้ ปรับปรุงมาจาก FIDIC เล่มสีแดง ฉบับดั้งเดิม ปี คศ. 1987 เป็นเงื่อนไขสัญญาที่ ใช้ กั บ งานก่ อ สร้ า งซึ่ งออกแบบโดยผู้ ว่ า จ้ า ง มี ก ารปรั บ ปรุ ง เนื้อหาในเงื่อนไขสัญญาให้กระชับขึ้น

1-6


บทนา 6. Conditions of Contract for Plant and Design-Build for Electrical and Mechanical Plant, and for Building and Engineering Works, Designed by the Contractor (Yellow Book) First Edition 1999 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มนี้ ใช้กับ โครงการก่อสร้างโรงผลิต (Plant) และออกแบบรวมก่อสร้าง สาหรับงานไฟฟ้าและเครื่องกล รวมถึงโครงการออกแบบรวม ก่อสร้างสาหรับงานอาคาร และงานด้านวิศวกรรม อื่น ๆ โดย ผู้รับจ้างก่อสร้าง 7. Conditions of Contract for EPC/ Turnkey Projects (Silver Book) First Edition 1999 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มนี้ใช้กับโครงการ สัญญาแบบออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง/ สัญญาออกแบบรวมก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จ โดยผูร้ ับจ้างก่อสร้าง 8. Conditions of Sub-contract for Works of Civil Engineering Construction First Edition 1994

1-7


บทนา เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มนี้ใช้สาหรับงานว่าจ้างช่วงของงาน ก่อสร้างด้านโยธา 9. Client/Consultant - Model Services Agreement (White Book) Third Edition 1998 Fourth Edition 2006 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มนี้เป็นเล่มพิเศษ เป็นรูปแบบของข้อตกลงระหว่ำงผู้ว่ำจ้ำง และที่ปรึกษำ 10. Form of Contract for Dredging & Reclamation Works (Blue Book) First Edition 2006. เอกสารเงื่อนไขสัญ ญาเล่ม นี้ใช้สาหรับงาน ขุ ด ลอกและถมพื้ น ที่ การออกแบบอาจ ออกแบบโดยผู้ ว่ า จ้ า งหรื อ ผู้ รั บ จ้ า งก็ ไ ด้ ประเด็ น ส าคั ญ ของเงื่อ นไขฉบั บ นี้ คื อ การ ประเมินผลงานโดยวิศวกร จะต้องกระทาด้วยควำมเป็นธรรม (Fairly) ตามที่ระบุไว้ในสัญ ญา และไม่มี ควำมรับผิดต่อข้อ บกพร่องของงำน (defects liability) สาหรับงำนขุดลอก

1-8


บทนํา 11. The Harmonised Multilateral Development Banks Form of Contract (Pink Book) First Edition 2005 Third Edition 2010 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มนี้จะเป็นไปตาม FIDIC เล่มสีแดง แต่จะมีข้อเปลี่ยนแปลงใน ประเด็น ความต้อ งการของแหล่ ง เงิ น ทุ น เช่นการตรวจสอบ (Audits) รายละเอียดเกี่ยวกับการว่าจ้างแรงงาน การหลีกเลี่ยง และข้อระวังในเรื่องคอร์รัปชั่น และข้อพิพาท รวมถึงเงื่อนไข ข้ อ ตกลงการอนุ ญ าตให้ ใ ช้ เ อกสาร (Licence Agreement) ระหว่าง FIDIC และแหล่งเงินทุน 12. Conditions of Contract for Design, Build and Operate Projects (Gold Book) First Edition 2008 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มนี้ใช้ สําหรับโครงการออกแบบรวม ก่อสร้างและดําเนินการ โดยมี สมมติฐานระยะเวลาในการดําเนินการ 20 ปี จะเน้นในเรื่อง ของความเสี่ยง การประกัน และความต้องการของเจ้าของ งาน (Employer’s Representative)

1-9


บทนํา 13. Conditions of Subcontract for Construction (compatible with the 1999 Red Book) First Edition 2011 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่ม นี้จะใช้เ ป็ น สัญญาจ้างช่วงของ FIDIC เล่มสีแดง เงื่ อ นไขต่ า ง ๆ จึ ง คล้ า ยกั น ในส่ ว นที่ เกี่ยวข้อง เอกสาร อื่น ๆ ของ FIDIC โดยที่ FIDIC เป็นองค์กรที่มีวิสัยทัศน์ และพันธกิจที่เด่นชัด มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มียุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการ องค์กร สนองตอบต่อความต้องการของสมาชิก จึงมีการพัฒนา ผลิตและ จัดทําเอกสารต่าง ๆ สนองต่อความต้องการของสมาชิกอย่างต่อเนื่องใน หลาย ๆ ด้าน นอกจากเอกสารชุดเงื่อนไขสัญญาแล้วยังมีเอกสารด้าน อื่น ๆ ดังต่อไปนี้

ตัวอย่างปกเอกสาร FIDIC ด้านต่าง ๆ

1-10


บทนา แนวทำงกำรปฏิบัติด้ำนธุรกิจ (Guide to Business Practice)  Business Practice Training Manual  Policy Statements  Building the Capacity of the Consulting Industry: Guidelines  Selection of Consultants 2nd Edition 2013  Definition of Services: Guidelines  Quality Based Selection 2011  QBS marketing document (2015)  Improving the Quality of Construction: A Guide for Actions กำรจั ด กำรด้ ำ นคุ ณ ภำพและคุ ณ ธรรม (Quality & Integrity Management)  Quality Management Guide  ISO 9001:2000 Quality Management Interpretive Guide  Quality Management Training Kit  FIDIC Integrity Management System (FIMS) Guidelines 1st Ed (2011)  Guidelines for Integrity Management in the Consulting Industry. Part I – Policies and Principles ด้ำนกำรจัดกำรควำมเสี่ยง (Risk Management)  Risk Management: Short Guide  Insurance of Large Civil Engineering Projects 1-11


บทนา  Professional indemnity and the Insurance of Project Risk: A Client’s Guide  Risk Management Manual with appendices: Amicable Settlement of Construction Disputes, 1992;  Construction, Insurance and Law, 1 9 8 6 ; Dealing with Risk - Managing Expectations, 1994;  Guide to the Use of Independent Consultants for Engineering Services, 1980;  Guidelines for Ad Hoc Collaboration Agreements Between Consulting Firms, 1977;  Mediation of Professional Liability Claims, 1993;  Mediation - Explanation and Guidelines, 1993;  Professional Liability Insurance - A Primer, 1991. ด้ำนกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน (Sustainability)  Project Sustainability Management - Applications Manual - 2nd edition 2013  Rethink Cities - White Paper 2013  The Project Sustainability Logbook - 1st Edition 2013  The Project Sustainability Logbook (PSL) 2 0 1 3 TOOLBOX  The Project Sustainability Logbook - User's Instructions 2013  The Project Sustainability Logbook - Monitoring tables 2013

1-12


บทนา  The Project Sustainability Logbook - The Repertoire 2013  State of the World: 2009 Infrastructure Report  State of the World Report 2 0 1 2 : Sustainable Infrastructure รายละเอียดสามารถดูเพิ่มเติม ได้ที่ http://www.fidic.org/bookshop หลักสูตรกำรฝึกอบรม Module ต่ำง ๆ ของ FIDIC Contracts Modules: • Module 0: Professional Service Agreement • Module 1: Practical Use of FIDIC Conditions of Contracts • Module 2: Management of Claims and Disputes resolution under the FIDIC contracts • Module 3: Understanding DABs • Module 4: Management and Administration of FIDIC Contracts Special Contracts Modules: • Module 5: FIDIC Conditions of Contract for EPC/Turnkey Projects • Module 6: FIDIC Conditions of Contract for Design, Build and Operate projects

1-13


บทนา • Module 7: FIDIC Short Form of Contract (under development) • Module 8: FIDIC Construction Subcontract (under development) • Module 9: FIDIC Dredgers Contract (under development) • Module 10: Project Procurement Procedures (under development) ************

1-14


แนะนำ FIDIC และเอกสำรสัญญำ แนะนำ FIDIC FIDIC ย่ อ ม า จ า ก Fédération Internationale des Ingénieurs-Conseils ภาษาอั ง กฤษ คื อ International Federation of Consulting Engineers ภาษาไทยจะหมายถึ ง สมาพั น ธ์ วิศ วกรที่ ปรึ ก ษานานาชาติ เรามั ก เรี ย กกั น ทั่ ว ไปสั้ น ๆ ว่ า FIDIC เป็ น องค์ ก ร วิชำชีพที่ปรึกษำงำนวิศวกรรม ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1913 (พ.ศ. 2456) ณ ประเทศเบลเยี่ ย ม โดยความร่ วมมื อ ของสมาคมวิ ศ วกรที่ ป รึ ก ษา แห่ ง ชาติ (National Associations of Consulting Engineers) ของ สามประเทศ ได้ แ ก่ ฝรั่ ง เศส เบลเยี ย ม และสวิ ต เซอร์ แ ลนด์ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างและยกระดับวิชาชีพวิศวกรที่ปรึกษาให้เป็นที่ ยอมรั บ รั ก ษาและพั ฒ นาระดั บ มาตรฐานทางจริ ย ธรรมและการ ปฏิบัติงาน เผยแพร่ข้อมูลที่เป็นที่สนใจให้กับสมาชิกที่เป็นสมาคมวิศวกร ที่ปรึกษาแห่งชาติในประเทศต่างๆ ในปัจจุบัน FIDIC มีสมาชิกประมาณ 100 ประเทศทั่ วโลกรวมทั้ ง ประเทศไทย ส านั ก งานใหญ่ ข อง FIDIC ตั้ ง อ ยู่ ที่ World Trade Center II, near the Geneva Airport สวิตเซอร์แลนด์  FIDIC Vision:Enabling the development of a sustainable world as the recognised global voice for the consulting engineering industry.  FIDIC Mission:To work closely with our stakeholders to improve the business climate in which we operate and

2-1


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา enable our members to contribute to making the world a better place to live in, now and in the future.  FIDIC Values : 1. Quality 2. Integrity 3. Sustainability ภำรกิจ FIDIC มี ภ ารกิ จ ในการส่ ง เสริ ม และการด าเนิ น การในด้ า น เป้ ำหมำยเชิงกลยุท ธ์ ของอุ ตสาหกรรมวิศ วกรที่ ปรึกษา พั ฒ นำและ ส่งเสริมกำรดำเนินธุรกิจในด้ำนต่ำงๆ  การบริหารจัดการธุรกิจอย่างซื่อสัตย์เที่ยงตรง  การบริหารจัดการโครงการอย่างยั่งยืน  การบริหารคุณภาพ และการบริหารความเสี่ยง ให้บริการ แก่สมาชิกในหลายๆ ด้าน อาทิเช่น  การให้คาปรึกษา การจัดสัมมนาวิชาการ  การจัดทาหนังลือและเอกสารวิชาการ เผยแพร่ รวมถึง การจัดทาสัญญาจ้างมาตรฐานเพื่อนาไปใช้ในการจ้าง งานประเภทต่างๆ ด้วย

2-2


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา

ตัวอย่ำงกลุ่มของสมำคมที่เป็นสมำชิก

FIDIC ธำรงไว้ซึ่งแผนปฏิบัติกำรทำงด้ำนอุตสำหกรรม (Keep the Industry's concerns on the agenda) กำรประชุมปกติตำมควำมต้องกำรด้ำนอุตสำหกรรม (Regular Meetings as the Industry’s Voice)  The World Bank WB  Asian Development Bank ADB  European Bank for Reconstruction and Development EBRD  Inter-American Development Bank IADB  African Development Bank ADB  Islamic Development Bank IDB

2-3


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา พันธมิตรทำงยุทธศำสตร์ (Strategic Partnerships)  International Standards Organization ISO  International Labour Organization ILO  World Federation of Engineering Organizations WFEO  United Nations Environment Program UNEP  Confederation of International Construction Associations CICA  Transparency International TL  Federation of Consultants from Islamic Countries FCIC จุดเด่นของสัญญำ FIDIC ชัดเจน มีกำรเชื่อมโยงกัน

มีหัวข้อที่จำเป็น มีรำยละเอียดของคำจำกัดควำม มีโครงสร้ำงทีส่ อดคล้องกัน

เป็นธรรม และเท่ำเทียมกัน

ควำมเสี่ยงได้รับกำรจัดสรรให้กับ ฝ่ำยที่เหมำะสมในกำรควบคุม รับภำระ และจัดกำร

บุคคลที่ 3

ร่ำงโดยวิศวกรที่ปรึกษำ ซึ่ง ออกแบบ และบริหำรจัดกำร โครงกำร

สมบูรณ์ มีควำมยืดหยุน่

ครอบคลุมควำมต้องกำร และ วัตถุประสงค์ครบถ้วน พร้อมใช้ และสำมำรถปรับให้

2-4


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา

จุดเด่นของสัญญำ FIDIC เหมำะสมกับควำมต้องกำร เป็นที่ยอมรับ

มีภำพลักษณ์ที่ดี เป็นที่ยอมรับในวงกว้ำง ผ่ำนกำรใช้งำนมำนำนกว่ำ 50 ปี

กำรใช้สัญญำ FIDIC เหตุใดจึงควรใช้สัญญำ FIDIC ?  ใช้ได้กับโครงการกองทุนพัฒนา - ทวิภาคี - และพหุภาคี  ลดการคอรัปชั่น – ยุติธรรม และเข้าใจได้ดี  เป็นมาตรฐานสากลใช้อย่างกว้างขวาง  มีบันทึกการติดตามมากกว่า 50 ปี  ได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน  มีการฝึกอบรมอย่างแพร่หลาย  ได้รับการสนับสนุนจาก FIDIC มีแนวทางการดาเนินธุรกิจ ที่ ดี เช่ น ด้ า นความเสี่ ย ง ด้ า นกฎหมายและจริ ย ธรรม ความยั่งยืน มีการพัฒนาทางด้านศักยภาพ ฯลฯ FIDIC เป็นหน่วยงำนที่เชี่ยวชำญเฉพำะด้ำนกำรจัดหำจัดจ้ำง และ กำรปฏิบัติทำงด้ำนวิชำชีพ (Be the Authority on Procurement and Business Practice) โดยมียุทธศาตร์ ดังต่อไปนี้

2-5


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา ยุทธศำสตร์ที่ 1: วิธีสรรหำจำกฐำนคุณภำพ (QBS Method) ลูกค้าจะสรรหาที่ปรึกษาบนพื้นฐานดังนี้:  ความสามารถทางด้านวิชาชีพและประสบการณ์  ความสามารถในการจัดการ  ความพร้อมของทรัพยากร  ความเป็นมืออาชีพและมีความเป็นอิสระ  สามารถบริหารความเสีย่ งด้วยวิธที ี่เหมาะสม  การจัดการด้านกฎหมายและจริยธรรมในการทางาน  ระบบการจัดการคุณภาพ  ค่าบริการทีเ่ หมาะสม: การเจรจาต่อรองอย่างมีขั้นตอน ตามที่กาหนดโดยปราศจากช่องว่างสาหรับการคอรัปชั่น ยุทธศำสตร์ที่ 2: มีวิธีกำรจัดซื้อจัดจ้ำงที่เป็นมำตรฐำน ประกอบด้วย:  มีความร่วมมือข้ามชาติ  ระยะเวลาการส่งมอบทีเ่ ร็วขึ้น  มีรูปแบบสัญญาใหม่ มี เ อกสารแนวทางและค าจ ากั ด ความของการบริ ก าร โดยจาเป็นต้องประกอบด้วย:  มีการยอมรับในภาระหน้าที่และพันธะผูกพัน  เพิ่มการปกป้องแก่ลูกค้า  เพิ่มการแข่งขัน  เพิ่มการแสดงคุณค่า/ค่านิยมที่ชัดเจนของวิศวกรที่ปรึกษา ยุทธศำสตร์ที่ 3: นวัตกรรม และควำมยั่งยืน  ระบบกำรจัดกำรสิ่งแวดล้อม

2-6


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา  เครื่องมือทางด้านอุตสาหกรรม  เครื่องมือทางด้านชุมชนเมือง  กำรจัดกำรโครงกำรอย่ำงยั่งยืน  มีคู่มอื แนวทาง  มีรายงาน ยุทธศำสตร์ที่ 4: กำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถ  กำรบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยง  คู่มือการบริหารความเสีย่ ง  หลักการบริหารความเสีย่ ง  การประกันการชดเชยความเสียหายทางด้านวิชาชีพ  การประกันความรับผิดชอบทางด้านวิชาชีพ  การประกันภัยโครงการขนาดใหญ่  การจัดการความเสีย่ ง  กำรบริหำรจัดกำรด้ำนคุณภำพ  กำรบริหำรจัดกำรคุณภำพ  ISO 9001 คู่มอื แนวทางการดาเนินงาน  ISO 9001 คู่มอื สาหรับกลุ่มงาน  ISO 9001 คู่มอื การฝึกอบรม  คู่มือแนวทำงกำรปฏิบัติวิชำชีพทำงธุรกิจ  คุณภาพของการก่อสร้าง  ด้วยวิธีพิจารณาคุณสมบัติ (Quality Based Selection)  กำรจัดกำรทำงด้ำนกฏหมำยและจริยธรรม (Integrity Management)  คู่มือแนวทาง 2-7


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา  คู่มือฝึกอบรม  การสารวจผู้ใช้  การร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็น  จรรยาบรรณ  นโยบาย  ผลประโยชน์ทับซ้อน  การต่อต้านคอรัปชั่น  รูปแบบข้อตกลง กำรปฏิบัติทำงธุรกิจและคู่มือกำรฝึกอบรมด้ำนสัญญำ Business Practice and Contracts Training Manuals โมดูลกำรฝึกอบรมกับชุดเครื่องมือ Training modules with resource kits สำมำรถใช้งำนในประเทศที่พัฒนำและประเทศกำลังพัฒนำ Applicable in developed and developing countries หลักสูตรกำรฝึกอบรมสำกล/นำนำชำติ International Training Programme จัดร่วมกิจกรรมกับประเทศสมำชิกสมำคม Events co-organised with Member Associations ขึ้นอยู่กับโมดูลคู่มือกำรฝึกอบรม Based on training manual modules โครงกำรพัฒนำผู้ฝึกอบรมให้ได้รับกำรรับรอง Accredited Trainer Development Programme ผู้ฝึกอบรบทั้งในประเทศและระดับสำกล Trainers available locally and international มำตรฐำนสำกล International standards ผู้จัดกำรฝึกอบรม Training Suppliers ศูนย์กำรฝึกอบรมที่ได้รับกำรรับรอง เช่น เกาหลี จีน อินเดีย จอร์แดน และ ฯลฯ Accredited Training Centres: Korea, China, India, Jordan, etc. ผู้จัดกำรฝึกอบรมที่ได้รับกำรรับรอง Accredited Training Suppliers

2-8


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา ยุ ท ธ ศ ำ ส ต ร์ ที่ 5 : สั ญ ญ ำ แ ล ะ ข้ อ ต ก ล ง ม ำ ต ร ฐ ำ น รูปแบบข้อตกลงมำตรฐำนสำหรับกำรบริกำรวิชำชีพ  ลูกค้า - ที่ปรึกษา  กิจการร่วมค้า  ผู้รับจ้างช่วง  ผู้ดาเนินการแทน รูปแบบลักษณะสัญญำ และข้อตกลงมำตรฐำนตำมประเภทของ โครงกำร  งานขนาดเล็ก  งานก่อสร้างออกแบบโดยผู้ว่าจ้าง  งานออกแบบรวมก่อสร้าง  EPC/Turnkey (โครงการจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ)  งานออกแบบรวมก่อสร้างและดาเนินการ

2-9


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา ภูมิหลังของ สัญญำ

วิศวกร * ในเอกสารสัญญาบางเล่ม จะใช้คาว่า “ผู้แทนของผู้ว่าจ้าง” แทน ความสัมพันธ์ตามสัญญา ความสัมพันธ์ในด้านการบริหารจัดการ/สื่อสาร

เอกสาร FIDIC เล่มสีแดง (4th Ed. 1987, พ.ศ. 2530) สีเหลือง (1987) และสี ส้ ม (1995 พ.ศ. 2538) (ฉบั บ เดิ ม ) ได้ จั ด พิ ม พ์ ใหม่ ในปี ค.ศ. 1999 (พ.ศ. 2542) เป็นสัญญาก่อสร้ำงออกแบบโดยผู้ว่ำจ้ำง (สีแดง) สัญญาออกแบบรวมก่อสร้ำง (สีเหลือง) และสัญญา EPC/Turnkey (สี เงิน)

โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้  กาหนดคาจากัดความให้เป็นมาตรฐาน  จัดทาเอกสารให้มีความน่าใช้ ใช้งานได้สะดวกมากที่สุด

2-10


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา  แก้ไขปัญหาแก่วิศวกรให้ได้รับความเป็นธรรมในขณะที่ วิศวกรถูกว่าจ้างและรับค่าจ้างจากเจ้าของงาน ควำมสอดคล้องของเอกสำรตำมประเภทของโครงกำร  ก่อนปี ค.ศ. 1999 (พ.ศ. 2542 ) เอกสาร FIDIC เล่มสีแดง และเอกสาร FIDIC เล่มสี เหลื อ ง แม้ จะเป็ น เรื่ อ งทั่ วไปที่ เหมื อ นกั น แต่เนื้อหาค่อนข้างแตกต่างกัน  เดิม FIDIC เล่มสีแดง: เป็นงานโยธา FIDIC เล่มสีเหลือง: เป็นงานไฟฟ้าเครือ่ งกล (E & M)  ในเอกสารฉบับ ปี ค.ศ. 1999 จะเป็นการแบ่งความรับผิดชอบใน การออกแบบ โดยไม่คานึงถึงประเภทของงาน (งานโยธาและงาน ไฟฟ้าเครื่องกล)  ภายใต้ สั ญ ญาการก่ อ สร้ า งตามเอกสาร FIDIC เล่ ม สี แดง ฉบั บ ปี ค.ศ. 1999 การ จ่ายเงินแก่ผู้รับจ้าง จะขึ้นอยู่กับมูลค่างาน จากการวัดสาหรับงานก่อสร้างซึ่งออกแบบ โดยผู้อื่น  สาหรับเอกสาร FIDIC เล่มสีเหลือง ฉบับปี ค.ศ. 1999 สั ญ ญาการออกแบบและก่ อ สร้ า ง โรงงาน ผู้รับจ้างจะได้รับเงินตามหลั กเกณฑ์การเหมาจ่ายรวม จากงานที่ออกแบบโดยผู้รับจ้างเอง

2-11


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา ลักษณะเนื้อหำของเอกสำรฉบับปี ค.ศ.1999  ความสอดคล้องของคาศัพท์และหัวข้อในเอกสาร  ประยุกต์ใช้ได้กว้างขวาง: กฎหมายทั่วไปและกฎหมายแพ่ง  การบังคับใช้ได้กว้างขวาง ภายใต้การส่งมอบโครงการ ต่างๆ และระบบของสัญญา  บทบัญญัติเฉพาะเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาระผูกพันและสิทธิ ของผู้ที่เกีย่ วข้อง  มีการปรับปรุงขั้นตอนการจัดการ  มีการจัดการปัญหาของการชาระเงินล่าช้า  มีการปรับปรุงบทบาทของวิศวกร  กรณีข้อพิพาทได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น FIDIC Red Book

FIDIC Yellow Book

FIDIC Silver Book)

งำนอำคำรและงำนวิศวกรรม

งำนไฟฟ้ำ และหรืองำน เครื่องกล งำนโรงงำน รวมถึง งำนอำคำรและงำนวิศวกรรม

กระบวนกำรผลิตหรือ โรงไฟฟ้ำ โรงงำน หรือ สิ่ง อำนวยควำมสะดวกที่มี ลักษณะคล้ำยคลึงกัน หรือ โครงสร้ำงระบบ สำธำรณูปโภค

ออกแบบโดย (หรือในนำม ของ) ผู้ว่ำจ้ำง

ออกแบบโดย (หรือในนำม ของ) ผู้รับจ้ำง

ผู้รับจ้ำงรับผิดชอบทั้งหมด ในงำนออกแบบและ ดำเนินงำนก่อสร้ำง

ผู้รับจ้ำงดำเนินกำรก่อสร้ำง โดยกำรบริหำรงำนของวิศวกร ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงมอบหมำย

ผู้รับจ้ำงดำเนินกำรก่อสร้ำง โดยกำรบริหำรงำนของวิศวกร ตำมที่ผู้ว่ำจ้ำงมอบหมำย

ผู้รับจ้ำงดำเนินกำรก่อสร้ำง โดยกำรบริหำรงำนของผู้ ว่ำจ้ำง

ข้อพิพำทจะตัดสินและยุติโดย คณะกรรมกำรพิจำรณำกรณี ข้อพิพำท

ข้อพิพำทจะตัดสินและยุติโดย คณะกรรมกำรพิจำรณำกรณี ข้อพิพำท

ข้อพิพำทจะตัดสินและยุติ โดยคณะกรรมกำรพิจำรณำ กรณีข้อพิพำท

2-12


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา

FIDIC Red Book

FIDIC Yellow Book

FIDIC Silver Book)

ผู้รับจ้ำงจะดำเนินกำรก่อสร้ำง แล้วเสร็จตำมสัญญำและ คำสั่งกำรของวิศวกร (Engineer’s Instruction)

ผู้รับจ้ำงจะดำเนินกำร ออกแบบและก่อสร้ำงรวมถึง ดำเนินกำรอื่น ๆ ตำมสัญญำ ซึ่งปรำกฎในข้อเสนอ (Proposal) และควำม ต้องกำรของ ผู้ว่ำจ้ำง (Employer’s Requirements)

ผู้รับจ้ำงจะดำเนินกำร ออกแบบและก่อสร้ำง รวมถึงดำเนินกำรอื่น ๆ ให้ พร้อมที่จะเริ่มปฏิบัติงำน (Operate) ตำมสัญญำ ซึ่ง ปรำกฎในเอกสำรประกวด รำคำ (Tender) และควำม ต้องกำรของ ผู้ว่ำจ้ำง (Employer’s Requirements)

กำรจ่ำยเงินงวดและกำร จ่ำยเงินครั้งสุดท้ำยจะรับรอง โดยวิศวกร (ด้วยกำรกำหนด ในวิธีกำรวัดปริมำณงำนตำม ปริมำณงำนที่ได้ดำเนินกำร จริงด้วยอัตรำรำคำต่อหน่วยที่ ระบุในบัญชีแสดงปริมำณวัสดุ และรำคำ หรือบัญชีงำนอื่น ตำมที่ระบุไว้)

กำรจ่ำยเงินงวดและกำร จ่ำยเงินครั้งสุดท้ำยจะรับรอง โดยวิศวกร ตำมที่กำหนดไว้ ตำมบัญชีกำรจ่ำยเงินที่อ้ำงถึง

กำรจ่ำยเงินงวดและกำร จ่ำยเงินครั้งสุดท้ำยจะ เป็นไปตำมที่กำหนดไว้ตำม บัญชีกำรจ่ำยเงินที่อ้ำงถึง โดยไม่ต้องกำรกำรรับรอง ใดๆ

เอกสารของ FIDIC ฉบั บ ปี ค.ศ. 1999 นี้ มี ค วามแตกต่ า งกั น อย่ า งมี นัยสาคัญระหว่างเอกสารฉบับเก่าและฉบับใหม่ ดังนั้น: วิศวกรจะต้อง  อ่านอย่างครบถ้วน  มีความเข้าใจ และ  ในระหว่างการบริหารสัญญานั้น ต้องมีความเข้าใจอย่าง ต่อเนื่องถึงการอ้างในรายละเอียดของศัพท์ต่ำงๆ ใน สัญญำที่เกี่ยวข้อง

2-13


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา โครงสร้ำงของเอกสำรสัญญำ FIDIC ฉบับ ปี ค.ศ.1999 เอกสำรประกอบด้วย 1. เงื่อนไขทั่วไป 2. แนวทางสาหรับการจัดเตรียมเงือ่ นไขเฉพาะ 3. จดหมายเสนอการประกวดราคา ข้อตกลงในสัญญา และ ข้อตกลงการวินิจฉัยข้อพิพาท เงื่อนไขทั่วไปที่ใช้จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง ตามวัตถุประสงค์ของผู้ว่าจ้างจะเป็นการขัด และละเมิดต่อ ลิ ขสิ ท ธิ์ของ FIDIC รวมถึงภาคผนวกของเอกสารประกวด ราคา (Appendix to Tender) ซึ่งระบุรายละเอียดข้อมูล ที่จาเป็นของโครงการ การเปลี่ยนแปลงให้ระบุไว้ในเงื่อนไขเฉพำะ ความหมายของค าและข้ อ ความในฉบั บ ปี ค.ศ.1999 จะ เหมือนกัน ยกเว้นรายละเอียดหลัก ดังนี้  เอกสำรเล่มสีแดง: งานก่อสร้างออกแบบโดยผูว้ ่าจ้าง สัญ ญาข้อตกลง จดหมายตอบสนองรับ หนังสือเสนอราคา เงื่อนไขของสัญญา ข้อกาหนด แบบ และรายการกาหนดการ จ่ายเงิน  เอกสำรเล่มสีเหลือง: งานออกแบบรวมก่อสร้าง สัญ ญาข้อตกลง จดหมายตอบสนองรับ หนังสือเสนอราคา เงื่อนไขของสัญญา ความต้องการของเจ้าของงาน รายการ กาหนดการจ่ายเงิน และข้อเสนอของผู้รับจ้าง  เอกสำรเล่มสีเงิน: งานออกแบบรวมก่อสร้างแบบ เบ็ดเสร็จ สัญญาข้อตกลง เงื่อนไขของสัญญาความต้องการของเจ้าของ งาน รายการกาหนดการจ่ายเงิน และเอกสารรายละเอียด การประกวดราคา 2-14


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา องค์ประกอบที่สาคัญของเอกสารของสัญญา FIDIC  เงื่อนไปทั่วไปของสัญญำ (ส่วนนี้จะเป็นประเด็นที่สาคัญในแต่ละแบบของสัญญาที่ เลือกใช้)  เงื่อนไขเฉพำะของสัญญำ (รวมถึ งข้อ ความที่ ดั ดแปลงปรั บ ปรุ ง และเพิ่ ม เติ ม จาก เงื่ อ นไขทั่ ว ไป ตามความจ าเป็ น ของรายละเอี ย ดใน โครงการ)  ภำคผนวกประกอบสัญญำ (เอกสำรประกวดรำคำ) (บัญชีแสดงรายละเอียดข้อมูลที่สาคัญของสัญญา)  เอกสำรทำงเทคนิคของสัญญำ (รายละเอียดการออกแบบ บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและ ราคา ข้อกาหนดทางเทคนิค เอกสารความต้องการของ เจ้าของงาน และอื่นๆ) หัวข้อหลักในเงื่อนไข  ทั่วไป ข้อ 1  ฝ่ายที่เกี่ยวข้องและวิศวกร ข้อ 2-4  ผู้รับจ้างช่วง คณะผูร้ ่วมงาน แรงงาน วัสดุ คุณภาพของงาน คุณภาพ (การทดสอบ) ข้อ 5-7  เวลา ข้อ 8  การทดสอบ การครอบครอง ข้อบกพร่องของงาน ข้อ 9-11  การวัด การเปลี่ยนแปลงงาน และการจ่ายเงิน ข้อ 12-14  การเลิกสัญญา ข้อ 15-16  ความเสี่ยง การประกันภัย และเหตุสุดวิสัย ข้อ 17-19

2-15


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา  การเรียกร้อง และข้อพิพาท ข้อ 20 เพื่อความสาเร็จของโครงการ วิศวกร จะต้อง:  มี ค วามคุ้ น เคยอย่ า งละเอี ย ดครบถ้ ว นในเอกสารสั ญ ญาใน โครงการทั้งหลาย  ช่วย/แนะนาเจ้าของงานตั้งแต่ขั้นตอนเมื่อได้ผชู้ นะการประกวด ราคา ดังนั้นจะต้องคัดเลือก วิศวกร ให้มีส่วนร่วมตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ เอกสารสัญญาจะต้องมีความครบถ้วนดังนี้ 1. มีการลงนามในข้อตกลง 2. มีจดหมายตอบรับ 3. เอกสารของผู้รับจ้าง (รวมทั้งภาคผนวก) 4. เงื่อนไขทั่วไป 5. เงื่อนไขเฉพำะ 6. เอกสารชี้แจงการประกวดราคา (ออกในช่วงระยะเวลาประกวด ราคา) และ/หรือ เอกสารแก้ไขเพิม่ เติมก่อนการเจรจาต่อรอง สัญญา รูปแบบและกำรทบทวนเอกสำรสัญญำ 1. รู ป แบ บ ที่ จ าเป็ น ส าหรั บ ห นั งสื อค้ ำป ระกั น สั ญ ญ ำ (หลั ก ประกั น สั ญ ญา) และหนั งสื อ ค้ ำประกั น กำรรับ เงิน ล่วงหน้ำ 2. ข้ อ ตกลงทำงกำรเงิ น และ/หรื อ บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงกำรเงิ น ระหว่างสถาบันการเงินและผู้ว่าจ้าง (ถ้าเงื่อนไขของข้อตกลง มีผลบังคับใช้กับสัญญา)

2-16


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา 3. แนวทำงมำตรฐำนของลูกค้าหรือสถาบันการเงิน หรือที่มีการ อ้างถึง (ถ้ามีใช้ในสัญญา) ในสั ญ ญางานก่อ สร้างออกแบบโดยผู้ ว่าจ้าง (เอกสำรเล่ ม สี แดง) และสั ญ ญางานออกแบบรวมก่ อ สร้ า ง (เอกสำรเล่ ม สี เ หลื อ ง) ภำคผนวกของเอกสำรประกวดรำคำ จะประกอบด้วยตารางการ ตรวจสอบเพื่อความสะดวกสาหรับข้อมูลที่จาเป็นในแต่ละข้อย่อย ของสัญญา ตัวอย่ำงของหนังสือค้ำประกัน ทั้ง 6 ประเภท: 1. หนังสือรับรองจากบริษัทแม่ 2. หนังสือค้าประกันซอง 3. หนังสือค้าประกันสัญญา 4. หนังสือค้าประกันการรับเงินล่วงหน้า 5. หนังสือค้าประกันการหักเงินประกันผลงาน 6. หนังสือค้าประกันการจ่ายเงินโดยผู้วา่ จ้าง ข้ อ ตกลงกำรวิ นิ จ ฉั ย ข้ อ พิ พ ำท (คนเดี ย ว หรื อ สมาชิ ก 3 คน) เป็ น ข้อความสั้น ๆ เนื่องจากอ้างอิงจากเงื่อนไขของสัญญาในหัวข้อ ข้อตกลง การวินิจฉัยข้อพิพาท ตามที่ปรากฏอยู่ในเงื่อนไขทั่วไป เอกสำรสัญญำก่อสร้ำงประกอบด้วย:  ข้อกาหนดทางเทคนิค  แบบ  บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา  วิธีการวัดปริมาณงาน

2-17


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา สัญญำออกแบบรวมก่อสร้ำง: เอกสารสัญญาประกอบด้วย:  เอกสารความต้องการของเจ้าของงาน  บัญชีกาหนดราคาเหมาจ่ายรวมและรายละเอียด  ข้อเสนอของผู้รับจ้าง กำรเตรียมสัญญำ จะเลือกเงื่อนไขของสัญญาที่เหมาะสมอย่างไร ข้อพิจำรณำ:  วัตถุประสงค์/ประเภทของสัญญำ (ก่อสร้างอย่างเดียว ออกแบบ-ผลิต-ติดตั้ง ออกแบบอย่างเดียว หรืออื่นๆ) ?  ประเภทของกำรกระจำยควำมเสี่ยง (ผู้รับจ้างก่อสร้างอย่าง เดียว หรือต้องออกแบบด้วย) ?  บริหารสัญญาและโครงการอย่างไร?  รูปแบบและวิธีการจ่ายเงินอย่างไร ?

2-18


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา

2-19


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา กำรเตรียมสัญญำ: เงื่อนไขของสัญญำ  เงื่อนไขของสัญญำ FIDIC ไม่เพียงกาหนดสิทธิ และภาระ ผูกพันของแต่ละฝ่าย แต่จะรวมถึงวิธีการจัดการโครงการที่ จาเป็นในการบริหารโครงการ  เงื่อนไขทั่ วไปของสัญ ญาจะต้องครบถ้วน ข้อมูล รำยกำร เฉพำะจะต้ อ งระบุ ไว้ ในภำคผนวกของเอกสำรสั ญ ญำ เงื่อนไขเฉพำะ และข้อกำหนด  ข้อมูลต่างๆ จะต้องประสำนกันกับเอกสำรอื่น เพื่อให้มั่นใจ ว่ า สาระในสั ญ ญาทั้ ง หมดจะสนองวั ต ถุ ป ระสงค์ ต ำม เจตนำรมณ์  ผู้ว่าจ้าง และผู้เข้าประกวดราคา จะกรอกรายละเอียดใน ภำคผนวกของเอกสำรประกวดรำคำ  เงื่ อ นไขทั่ ว ไปของสั ญ ญาอาจปรั บ ปรุ ง ให้ ส อดคล้ อ งกั บ โครงการและวัตถุประสงค์โดยระบุไว้ในเงื่อนไขเฉพำะของ สัญญำ  ตรวจสอบข้อย่อยซึ่งอ้างอิงถึง ก) ข้อมูลในข้อกาหนด/ความ ต้องการของเจ้าของงาน และ ข) ข้อมูลอื่น ที่อาจระบุไว้ที่ อื่นในเอกสารสัญญา  ปรับปรุงข้อ ตกลงสั ญ ญามาตรฐานให้สอดคล้อ งกับความ ต้องการของเจ้าของงาน  ตัดสินใจที่จะใช้ ผู้พิจารณาข้อพิพาทแบบบุคคลเดียว หรือ สามคน และกาหนดชื่อผู้ที่จะทาหน้าที่ดังกล่าว  พิจารณาใช้เอกสารภาคผนวก A ถึง G ของแบบหนังสือค้า ประกัน ที่อ้างอิงในเงื่อนไขทั่วไปของสัญ ญา และเอกสาร ภาคผนวกการประกวดราคา (อาจปรับปรุงให้เหมาะสมกับ ความต้องการของเจ้าของงาน หรือกฎหมายที่อ้างอิง) 2-20


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา  พิ จ ารณาใช้ เอกสารการประกวดราคามาตรฐาน ในการ ประกวดราคา ข้อมูลต่างๆ ในเงื่อนไขของสัญญาจะต้องครอบคลุมครบถ้วน ควำมเสี่ยงในเอกสำร FIDIC ฉบับปี 1999 ความเสี่ ย งในเอกสาร FIDIC ฉบั บ ปี 1999 ได้ รั บ การผ่ อ นปรนแก่ ผู้รับจ้างดังนี้  นิยามของเหตุสุดวิสัยได้รับการขยายกว้างขึ้น  ผู้รับจ้างได้รับการชดเชยด้านเวลา และการเงินเพิ่มมาก ขึ้น (ภายใต้ขีดจากัด)  เพิ่ ม อ านาจแก่ ผู้ รั บ จ้ า งเกี่ ย วกั บ ความสามารถในการ จ่ายเงินของผู้ ว่าจ้าง และการจ่ายเงินจริง (ตามข้อ 2.4, 14.8, 16.1, 16.2 ฯลฯ) กำรกระจำยควำมเสี่ยง หัวข้อความเสี่ยงที่ได้รับการพิจารณาจะได้รับการตรวจสอบโดย  ความเสี่ยงของผู้ว่าจ้าง  ความเสี่ยงของผู้รับจ้าง  ความเสี่ยงร่วมกัน

2-21


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา ควำมเสี่ยง – ผู้รับจ้ำงควรรับภำระทั้งหมดหรือไม่ หากผู้รับจ้างต้องแบกรับความเสี่ยงสูง จะมีผลดังนี้:  ค่างานสูง  การประกวดราคาล้มเหลว และการดาเนินการโครงการไม่ ราบรื่น หรือล้มเลิก  หาผู้เข้าประกวดราคาหรือผู้รับจ้างที่เหมาะสมได้ยาก  ผู้เข้าประกวดราคาไม่สามารถประมาณความเสี่ยงได้  ได้คุณภาพของงานก่อสร้างต่า และงานก่อสร้างล่าช้า  ขาดความไว้วางใจซึ่งกันและกัน  มีข้อเรียกร้องอันปราศจากเหตุผลอันสมควรมากมายจาก ผู้รับจ้าง  เกิดข้อพิพาทบ่อยครั้ง  ในกรณีที่เลวร้าย จะเกิดการยกเลิกสัญญา สัญญำและข้อตกลงที่มีควำมคลำดเคลื่อน ผู้มีส่วนร่วมในสัญญา FIDIC ประกอบด้วย:  ผู้ ว่ า จ้ า ง: ข้ อ ตกลงการให้ บ ริ ก ารระหว่ า งผู้ ว่ า จ้ า งและวิ ศ วกร (FIDIC White Book)  วิศวกร: วิศวกรจะบริหารงานตามสัญญาในนามของผู้ว่าจ้าง  ผู้รับจ้าง: (ตามที่กล่าวถึงใน FIDIC Red Book 1999 และ FIDIC Yellow Book)  ผู้พิจารณาข้อพิพาท  ตามข้อตกลงระหว่างผู้วา่ จ้างและผู้รับจ้าง  ผู้พิจารณาข้อพิพาท 1 หรือ 3 คน

2-22


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา วิศวกรจะต้อง:  ทบทวนสั ญ ญาในส่ วนความรับผิ ดชอบและภาระหน้าที่ เพื่อขจัดปัญหาข้อโต้แย้งในข้อตกลงการให้บริการ  เสนอแนะผู้ว่าจ้างให้แก้ไขความคลาดเคลื่อน (โดยแก้ไข ข้ อ ตกลงการให้ บ ริ ก าร หรื อ โดยการรวบรวมข้ อ จ ากั ด อานาจหน้าที่ของวิศวกร)  แจ้งผู้ว่าจ้างเป็นลายลักษณ์อักษรพร้อมเสนอแนะวิธีการ แก้ไขความคลาดเคลื่อน สัญญำที่ใช้ : กำรกระจำยควำมเสี่ยง เจ้าของโครงการจะต้องวิเคราะห์ด้วยความระมัดระวังดังนี้:  กระจายหน้าที่ ที่ จาเป็ นในโครงการก่อ สร้าง และหน้า ที่ เฉพาะในการออกแบบ  กระจายความเสี่ยงตามความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในโครงการ  การกระจายบทบาทหน้าที่ในการบริหารจัดการ  วิธีการและเวลาในการชาระเงินแก่ผู้รับจ้าง  จัดสรรความเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นโดยใช้กฎหมายบังคับ ให้กับฝ่ายที่เกี่ยวข้องในสัญญา  ติดต่อหรือยืนยันการจัดสรรความเสี่ยงจากฝ่ายหนึ่งไปยัง คู่สัญญาอื่น หรือกระจายไปยังบุคคลที่สาม  หากสัญญามิได้ระบุความเสี่ยงแก่ฝ่ายใดในสัญญา ผู้ตัดสิน จะมีคาถามดังต่อไปนี้ :  ฝ่ายใดจะล่วงรู้ทราบถึงความเสี่ยงนั้นดีที่สุด  ฝ่ายใดจะสามารถควบคุมความเสี่ยงนั้นได้ดีที่สุด  ฝ่ายใดจะแบกรับภาระความเสี่ยงนั้นได้ดีที่สุด

2-23


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา  ท้ายที่สุดของความเสี่ยง ฝ่ายใดได้หรือเสียผลประโยชน์ มากที่สุด  ไม่ ควรที่ จะกระจายความเสี่ย งไปยังฝ่ายที่ ไม่ สามารถ แบกรับภาระนั้น เว้นแต่ว่าฝ่ายนั้นจะผลักภาระนั้นไป ยังฝ่ายที่สามารถรับซึ่งในที่นี้ก็คือการประกันภัย ในโครงการก่อสร้าง พึงระลึกเสมอว่า:  ความหมายและสาระสาคัญของ ควำมเสี่ยง  ไม่ ส ามารถระบุ และคาดการณ์ ถึ ง เหตุ ก ารณ์ ที่ ไ ม่ พึ ง ประสงค์ได้  ในสภาวะทั่วไปเป็นเรื่องแน่นอนที่ เหตุที่พึงประสงค์ และ ไม่พึงประสงค์ สามารถเกิดขึ้นได้ทุกขณะ ความเสี่ยงในโครงการ สามารถจาแนกได้ดังนี้:  ความเสี่ยงซึ่งส่วนใหญ่สามารถประกันได้ (ความเสี่ยงจาก การสู ญ เสี ย ความเสี ย หายหรื อ บาดเจ็ บ จากอุ บั ติ เ หตุ เนื่องจากความผิดพลาดในการออกแบบ ข้อบกพร่องจาก วัสดุก่อ สร้าง ข้อ บกพร่อ งจากฝีมื อ แรงงาน เหตุสุ ดวิสั ย ข้อ ผิ ดพลาดตามปรกติของมนุ ษย์ ข้อ ผิ ดพลาดจากการ ขาดความระมัดระวัง)  ความเสี่ยงซึ่งส่วนใหญ่ไม่สามารถประกันได้ (ความเสี่ยง ทางด้ า นการเงิ น และเวลาที่ สู ญ เสี ย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ โครงการ รวมถึ งความล่ า ช้ า ในการครอบครองสถานที่ ก่อสร้าง ความล่าช้าจากในการได้รับข้อมูลที่จาเป็น การ เปลี่ยนแปลงการออกแบบ การเปลี่ยนแปลงสัญญา)

2-24


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา ในการจัดสรรแบ่งหน้าที่และความเสี่ยงในโครงการ แก่ฝ่ายต่างๆ เจ้าของโครงการจะต้องพิจารณาถึงการจัดการและมูลค่าของงาน และวิธีการจ่ายเงิน ได้จัดเตรียมการแบ่งปันความเสี่ยงนั้นไปยังฝ่าย ต่างๆ หรือไม่ รวมถึงขอบเขตในการแบ่งปันความเสี่ยงนั้น โดยรวม ประเภทของสัญญาในการพิจารณา มีสามกรณีดังนี้:  สั ญ ญาแบบเบิ ก ตามค่ า ใช้ จ่ า ย (Cost Reimbursable Contracts)  สั ญ ญ าแ บ บ ราค าต่ อ ห น่ ว ย (Re-measurement Contracts) เบิ ก จ่ า ยตามปริ ม าณที่ ท าจริ ง และอั ต รา ราคาต่อหน่วย  สัญญาแบบราคาเหมารวม (Lump Sum Contracts) สัญญำที่ใช้ : ประเภทของโครงกำร

2-25


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา รูปแบบของสัญญำทั่วไป

วิศวกร * ในเอกสารสัญญาบางเล่ม จะใช้คาว่า “ผู้แทนของผู้ว่าจ้าง” แทน ความสัมพันธ์ตามสัญญา ความสัมพันธ์ในด้านการบริหารจัดการ/สื่อสาร

ระยะเวลำในแต่ละขั้นตอนของโครงกำร

2-26


แนะนา FIDIC และเอกสารสัญญา ข้อผิดพลำดพื้นฐำนทั่วไป  เลือกที่ปรึกษา/วิศวกรล่าช้า  เลือกรูปแบบสัญญาไม่ถกู ต้อง  ความรับผิดชอบในการออกแบบไม่ชัดเจน  ผู้ว่าจ้างแทรกแซงการทางานมากเกินไป  การจัดการไม่มีประสิทธิภาพ/การตัดสินใจล่าช้า  เงื่อนไขของสัญญาที่ตีความมีภาระผูกพันมากเกินควร  ขาดทัศนคติที่ดีในการทางานร่วมกัน  อื่น ๆ ************

2-27



FIDIC RED BOOK Conditions of Contract for Construction, for Building and Engineering Works, Designed by the Employer (Red Book 1999) First Edition 1999 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มนี้ ปรับปรุงมา จาก FIDIC เล่มสีแดง ฉบับดั้งเดิม ปี คศ. 1987 เป็ น เงื่ อ นไขสั ญ ญาที่ ใ ช้ กั บ งานก่ อ สร้ า งซึ่ ง ออกแบบโดยผู้ว่าจ้าง มีการปรับปรุงเนื้อหาในเงื่อนไข สัญญาจากฉบับดั้งเดิมให้กระชับขึ้น ลักษณะพื้นฐาน และการใช้งาน เอกสารเงื่ อ นไขเล่ ม นี้ แ นะน าให้ ใ ช้ ส าหรั บ งานก่ อ สร้ า ง โครงการขนาดใหญ่ซึ่งผู้ว่าจ้างมีเวลาสาหรับโครงการในการออกแบบ โดยผู้ว่าจ้างจะมีแบบ และรายละเอียดที่เพียงพอสาหรับการประกวด ราคาหาผู้ รั บจ้ า งก่ อ สร้ า ง แต่ ไ ม่ เ หมาะส าหรั บ งานระบบไฟฟ้ า และ เครื่องกลที่มีความซับซ้อนหลากหลาย และใช้เทคโนโลยีในการออกแบบ และก่อสร้างสูง เงื่อนไขสัญญาฉบับนี้ปรับปรุงมาจาก ”FIDIC Conditions of Contract Type (1987 / 1992 Red Book)” ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลาย มานาน มุ่ งเน้นเฉพาะงานก่อ สร้าง งานออกแบบจะดาเนินการโดย ผู้ว่าจ้าง หรือผู้ออกแบบซึ่งได้รับการว่าจ้างจากผู้ว่าจ้างเอง

3-1


FIDIC RED BOOK การจัดเตรียมเอกสารสัญญา ขั้นตอนในการดาเนินการ เอกสารที่จะต้องระบุให้ครบถ้วนมีดังต่อไปนี้  วัตถุประสงค์ของโครงการ  ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง  วิธีการดาเนินการโครงการ  ขั้นตอนหลักในโครงการ  กลยุทธ์การจัดซือ้ จัดจ้าง  ระยะเวลาในการดาเนินการโครงการ  ความเสี่ยงและความรับผิดชอบของผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด การเตรียมการ  ศึกษารายละเอียดโครงการ/การสารวจ/แบบก่อสร้าง  สถานที่ก่อสร้าง ใบอนุญาตก่อสร้าง  สถานะทางการเงิน  เอกสารสัญญา เอกสารการประมูล ระหว่างการก่อสร้าง  เวลา  เงินทุน  คุณภาพ หลังการก่อสร้าง  การปฏิบัติการ  ความรับผิดชอบข้อบกพร่อง

3-2


FIDIC RED BOOK  การตรวจสอบบัญชี ข้อพิจารณาสาหรับผู้ว่าจ้าง  กลยุทธ์การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารควบคุมระยะเวลาการ ก่อสร้าง  การมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสมระหว่างผู้ออกแบบและผู้ควบคุม งานที่มีประสบการณ์  การพัฒนาและการจัดทารายละเอียดของแบบก่อสร้างที่ดีและมี ประสิทธิภาพ  การจั ด หาแหล่ ง เงิ น ทุ น ที่ มี ศั ก ยภาพและน่ า เชื่ อ ถื อ ตลอด ระยะเวลาของโครงการ  การเตรี ย มความพร้ อ มในการรั บ ความเสี่ ย งที่ อ าจจะเกิ ดขึ้น ระหว่างโครงการ  จัดให้มีการบริหารโครงการที่ดีและมีประสิทธิภาพ โครงสร้างและเงื่อนไขของสัญญา (คานิยาม) 1 คาทั่วไป (General Provision) คือเนื้อหาที่จะนาไปใช้ ในการทาสัญญา เช่น คานิยาม ภาษาที่จะใช้ หรือกฎหมายที่จะใช้บังคับ รวมถึงระดับชั้นของเอกสารที่นามาใช้ 2-5 เจ้าของโครงการ ผู้ควบคุมงาน ผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างช่วง หน้าที่และความรับผิดชอบของหน่วยงานที่แตกต่างกัน มีบทบาทต่างกัน ในการดาเนินการของโครงการ 6-7 บุคลากรและแรงงาน หน่วยผลิต รวมถึงรายการวัสดุ และแรงงานที่มีฝีมือ ความต้องการด้านต่างๆ ที่จะนามาใช้ในโครงการ

3-3


FIDIC RED BOOK 8-11 การเริ่มต้น ความล่าช้าและการหยุดงาน การทดสอบ หลั ง การก่ อ สร้ า งแล้ ว เสร็ จ การส่ ง มอบงาน ความรั บ ผิ ด ชอบใน ข้อบกพร่อง ให้เป็นไปตามลาดับขั้นตอนการก่อสร้าง 12-14 การวั ด การประเมิ น ผล งานเพิ่ ม ลด ราคาตาม สัญญาและการชาระเงิน ให้เป็นไปตามขั้นตอนการจ่ายเงินของผู้รับจ้าง ตามผลงานการก่อสร้าง 15-16 การยกเลิกสัญญาโดยผู้ว่าจ้าง การระงับและยกเลิก สัญญาโดยผู้รับจ้าง ให้เป็นไปตามข้อสรุปและเหตุผลที่ถูกต้องในช่วง ระยะเวลาท้ายโครงการ 17 ความเสี่ ยงและความรับผิดชอบ มี ค วามเกี่ยวข้องกับ โครงการโดยรวมและอาจครอบคลุมถึงคานิยามปลีกย่อยอื่น ๆ ที่จะ นามาใช้ด้วยกัน และมีเรื่องของความรับผิดชอบของบุคคลต่าง ๆ ที่อาจ มีความเชื่อมโยงกับความต้องการด้านอื่น ๆ ด้วย 18 การประกันภัย ให้รวมถึงขั้นตอนต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ กับการประกันภัยที่ต้องจัดให้มีตามสัญญา 19 เหตุสุดวิสัย ข้อกาหนดทั่วไปในเหตุการณ์ที่มีความสาคัญ และมีผลกระทบกับการทางานตามสัญญา ที่อยู่นอกเหนือการควบคุม ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย 20 ก า ร เ รี ย ก ร้ อ ง ก า ร เ กิ ด ก ร ณี พิ พ า ท แ ล ะ อนุญาโตตุลาการ อาจพบได้บ่อยในการจัดทาเงื่อนไข ซึ่งจาเป็นต้อง ระบุในสัญญา จะต้องเป็นไปตามขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้ 1) การจัดส่ง หรือการพิสูจน์ข้อเรียกร้องของผู้รับจ้าง 2) การตอบสนองข้อเรียกร้องของผู้ควบคุมงาน 3) การแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาข้อพิพาท 4) ขั้นตอนการระงับข้อพิพาท

3-4


FIDIC RED BOOK บทบาทหน้าที่ทั่วไปและภาระผูกพัน ผู้ว่าจ้าง  แบบก่ อ สร้ า ง เอกสารสั ญ ญา และข้ อ ก าหนดของรายการ ก่อสร้าง  ใบอนุญาตการก่อสร้าง  การเข้าถึงพื้นที่  การมีส่วนร่วมของผู้ควบคุมงาน  การเบิกจ่ายเงิน การชาระเงิน ผู้รับจ้างก่อสร้าง  การดาเนินการก่อสร้าง  ความปลอดภัยในการการทางานรวมถึงสถานที่ก่อสร้าง  กรรมวิธีและขั้นตอนการก่อสร้าง  คุณภาพการก่อสร้าง  เวลา ผู้ว่าจ้าง  ให้สิทธิ ผู้รับจ้างในการเข้าสู่พื้นที่และให้สิทธิ์ในการดูแลพื้ นที่ ทั้งหมดแก่ผู้รับจ้าง  จั ด ส่ ง เอกสารหลั ก ฐานที่ เ หมาะสมในเรื่ อ งการจั ด การด้ า น การเงินให้กับผู้รับจ้าง  จัดส่งแบบก่อสร้างให้กับผู้รับจ้าง  อาจต้องมีการจัดส่งข้อเรียกร้องของผู้รับจ้างส่งที่มีผลกระทบต่อ การเบิกจ่ายเงิน หรือการยืดระยะเวลาจากการที่ต้องรับผิดชอบ ต่อข้อบกพร่อง

3-5


FIDIC RED BOOK ทั้งนี้การเรียกร้องใด ๆ จะได้รับการแจ้งเตือนในทันที และไม่มีส่วนใด เกี่ยวข้องกับระยะเวลาในส่วนของผู้ว่าจ้างเลย ผู้รับจ้าง  จะทาการออกแบบ (เท่าที่ระบุไว้ในสัญญา) และดาเนินการให้ เป็นไปตามที่ ระบุ ในสัญญาและตามที่ผู้ควบคุมงานได้มีคาสั่ง รวมถึงแก้ไขข้อบกพร่อง  จะจัดหาและให้มี โ รงงานผลิ ต จัดหาบุค ลากรและสิ่ งอ านวย ความสะดวกอื่ น ๆ ไม่ ว่า จะเป็นการชั่วคราวหรื อ ถาวรเท่ า ที่ จาเป็น ภายใต้ที่ระบุไว้ในสัญญา การดาเนินการนี้ครอบคลุมถึง การแก้ไขข้อบกพร่องของงาน  รั บผิ ดชอบในเรื่อ งความมั่ นคงปลอดภัยในการท างานภายใน พื้นที่ก่อสร้างรวมถึงขั้นตอนการก่อสร้างทั้งหมด  รับผิดชอบงานเอกสาร งานชั่วคราวต่ าง ๆ รวมถึงการออกแบบ สิ่งก่อสร้างบางอย่างที่จาเป็นเพื่อให้งานก่อสร้างดาเนินไปได้ ตามที่ระบุในสัญญา แต่ ผู้ รั บ จ้ า งไม่ ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบงานในส่ ว นที่ มี ก ารออกแบบหรื อ จั ด ท า ข้อกาหนด อื่น ๆ ที่เป็นงานก่อสร้างถาวร วิศวกร  ทาหน้าที่เป็นตัวแทนผู้ว่าจ้างหรือเจ้าของโครงการ  ไม่มีอานาจในการปรับลดหน้าที่หรือ ภาระผูกพันต่าง ๆ รวมถึง ความรับผิดชอบต่าง ๆ ภายใต้สัญญา  อาจจะมอบหมายความรับผิดชอบหรืออานาจในการควบคุมงาน ให้กับบุคคลอื่นที่มีคุณสมบัติเหมาะสม

3-6


FIDIC RED BOOK  ท าการออกเอกสารสั่ ง การ (Site Instruction) เพื่ อ เพิ่ ม เติ ม แก้ไขดัดแปลงแบบ  ก่อสร้างที่จาเป็นในการทางาน และสั่งการให้มีการเก็บงานหรือ แก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ให้เป็นไปตามสัญญา  ผู้ว่าจ้างอาจขอให้มีการปรับเปลี่ยนวิศวกร (ทั้งนี้ต้องมีการแจ้ง เตือนผู้รับจ้างทราบล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 42 วัน)  ให้ความเห็นชอบหรือทาการตรวจสอบเหตุการณ์ต่าง ๆ ตาม กระบวนการดังนี้  ให้คาปรึกษาเบื้องต้นแก่ทุกฝ่าย  พยายามให้มีการบรรลุข้อตกลงกับทุกฝ่าย  ตัดสินใจอย่างเป็นธรรมตามที่ระบุในสัญญาโดยพิจารณา ถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง  ให้แต่ละฝ่ายจัดส่งผลกระทบจากการให้ความเห็น หรือ การตัดสินใจจากแต่ละฝ่าย หรือจนกว่าจะมีแนวทางการ แก้ไข บุคลากรและแรงงาน  ผู้รับจ้างจะต้องทาข้อตกลงสาหรับพนักงานและแรงงานในเรื่อง ผลตอบแทน ที่พักอาศัย อาหาร และการเดินทาง  ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งจ่ า ยอั ต ราค่ า จ้ า งและดู แ ลความเป็ น อยู่ ข อง แรงงานซึ่ ง จะต้ อ งไม่ น้ อ ยกว่ า ข้ อ ก าหนดด้ า นการค้ า และ อุตสาหกรรมในบริเวณที่งานนั้นได้ดาเนินการ  ผู้ รั บ จ้ า งจะไม่ ว่ า จ้ า งหรื อ พยายามที่ จ ะว่ า จ้ า งพนั ก งานและ แรงงานของผู้ว่าจ้าง

3-7


FIDIC RED BOOK  ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานที่เกี่ยวข้องที่ใช้กับ บุคลากรของผู้รับจ้างและกาหนดให้บุคลากรของผู้รับจ้างปฏิบัติ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด (เพื่อความปลอดภัย)  ไม่ มี ก ารปฏิ บั ติ ง านในหน่ ว ยงานก่ อ สร้ า งในวั น หยุ ด หรื อ นอกเหนื อ จากเวลาปฏิ บั ติ ง านตามปกติ ตามที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ น ภาคผนวกของการเสนอราคา (ข้อยกเว้น)  ผู้รับจ้างต้องจัดหาที่พักพร้อมสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็น และจัดสวัสดิการให้สาหรับบุคลากรของผู้รับจ้าง  ผู้รับจ้างต้องจัดหาสิ่ งอานวยความสะดวกสาหรับบุคลากรของ ผู้ว่าจ้าง สิ่งสาคัญในการพิจารณา  บทบาทหน้ า ที่ แ ละภาระผู ก พั น ของคณะบุ ค คล (ในการ กระจายความเสี่ยง)  จาเป็นต้องระบุให้ชัดเจนในเอกสารสัญญา  ในทานองเดียวกันการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ควบคุมงานต้อง ระบุให้ชัดเจนในรายละเอียด ตามหัวข้อย่อยที่ 3.1  บ่อยครั้งที่มีการเรียกร้องและเกิดข้อพิพาทต่างๆ ที่มาจาก การจัดทาร่างเอกสารที่ไม่ชัดเจนและคลุมเครือ ไม่มีการ กระจายความเสี่ยงที่แน่นอน เอกสารสัญญา (ก) ข้อตกลงตามสัญญา (ข) หนังสือสนองรับราคา (ค) หนังสือเสนอราคา

3-8


FIDIC RED BOOK (ง) เงื่อนไขเฉพาะของสัญญา (จ) เงื่อนไขทั่วไปของสัญญา (ฉ) ข้อกาหนด (ช) แบบ (ซ) ตาราง และเอกสารอื่น ๆ ประกอบเป็นเอกสารสัญญา ในกรณี ที่ มี ค วามคลุ ม เครื อ หรื อ ขั ด แย้ ง กั น ในเอกสารดั ง กล่ า ว วิศวกรจะเป็นผู้ให้ความชัดเจน หรือออกคาสั่งตามความจาเป็น (ก) ข้อตกลงตามสัญญา • เป็นเอกสารสรุปย่อ จานวน 1-2 หน้า แสดงชื่อของคู่สัญญา ชื่อ ของสัญญา และแสดงรายการเอกสารต่าง ๆ ที่ประกอบเป็น สัญญา • ข้อตกลงตามสัญญานี้ ไม่ต้องรวบรวมหรือกล่าวซ้าถึงข้อมูลใด ๆ ซึ่งจะปรากฏ ในเอกสารสัญญาในหัวข้ออื่น ๆ • ตัวอย่างแบบฟอร์มข้อตกลงตามสัญญานี้ มีในเอกสารแนบของ FIDIC Red Book (1999) (ข) หนังสือสนองรับราคา  หนังสือเสนอราคาประกอบกับหนังสือ สนองรับราคา เป็นการ ยืนยันของผู้มีอานาจในการลงนามในสัญญาของคู่สัญญา (จะถือ ว่าถูกต้องต่อเมื่อ สัญญานั้นได้มีการลงนามโดยคู่สัญญาทั้งสอง ฝ่าย)

3-9


FIDIC RED BOOK (ค) หนังสือเสนอราคา  เอกสารนี้ เ ป็ น เอกสารทางการที่ แ จ้ ง ว่ า ผู้ ป ระกวดราคางาน/ ผู้ รั บ จ้ า งยอมรั บ ในข้ อ ก าหนด และเงื่ อ นไขของเอกสารการ ประกวดราคางาน และเอกสารสัญญา ยืนยันเข้าร่วมผูกพันธะกับ งานประกวดราคานี้จนกว่า จะเสร็ จสิ้นตามข้อ กาหนด รวมถึง ผู กพั นกับข้อ กาหนดต่า ง ๆ เช่น มู ล ค่ า งาน ระยะเวลาในงาน ก่อสร้าง เป็นต้น (ง) เงื่อนไขเฉพาะของสัญญา  เอกสารนี้เป็นเอกสารที่สาคัญของสัญญาตาม FIDIC  ความจาเป็นในการจัดเตรียมเงื่อนไขเฉพาะของสัญญา เนื่องจาก เอกสารเงื่อนไขทั่วไปของสัญญาอาจจะไม่สามารถครอบคลุมกับ งานทุกประเภท ทุกโครงการ โดยปราศจากการปรับปรุงเพิ่มเติม และแก้ไ ขข้อ กาหนด ความต้อ งการเฉพาะของโครงการ และ กฎหมายท้องถิ่น  เงื่ อ นไขเฉพาะของสั ญ ญา จะถู ก จั ด เตรี ย มแยกเป็ น เอกสาร ต่างหาก  มีการเขียนข้อกาหนดใหม่ ที่ชัดเจนในสิ่งที่แตกต่างจากข้อความ ในเอกสารเงื่อนไขทั่วไปของสัญญา  มีข้อความที่ชัดเจนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงข้อความในเอกสาร เงื่อนไขทั่วไปของสัญญา ตัวอย่างเช่น  “ให้ตัดย่อหน้าแรกของข้อสัญญาย่อย X และแทนที่ด้วย ข้อความต่อไปนี”้  “เพิ่มข้อสัญญาย่อยใหม่ดังต่อไปนี้” เป็นต้น

3-10


FIDIC RED BOOK (จ) เงื่อนไขทั่วไปของสัญญา  เอกสารสัญญาตาม FIDIC จะต้องประกอบด้วยเงื่อนไขทั่วไปของ สัญญา (จัดพิมพ์โดย FIDIC – ห้ามเปลี่ยนแปลงแก้ไข)  เงื่อนไขทั่วไปของสัญญา จะเป็นเอกสารส่วนหนึ่งในการจัดเตรียม เอกสารสัญญาตาม FIDIC – ห้ามเปลี่ยนแปลงแก้ไข  คู่ สั ญ ญา (และวิ ศ วกร) จะต้ อ งมี เ อกสารส าเนา (ที่ มี ผ ลตาม กฎหมาย) เอกสารเงื่อนไขทั่วไปของสัญญา (จัดพิมพ์โดย FIDIC) เพื่อการใช้งาน  อาจมี การแปลเงื่อ นไขทั่ วไปของสั ญ ญาจากภาษาอั งกฤษเป็ น ภาษาท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม FIDIC จะพิจารณาเงื่อนไขทั่วไปของ สัญญาชุดภาษาอังกฤษเป็นชุดต้นฉบับ และมีผลตามกฎหมาย (ฉ) ข้อกาหนด หรือรายละเอียดประกอบแบบ (Specifications)  เอกสารนี้รวมข้อความด้านเทคนิค คาอธิบาย และข้อกาหนด ความต้องการเกี่ยวกับงานและแนวทางการก่อสร้าง  จะต้องมีรายละเอียดที่เพียงพอ เพื่อให้ผู้รับจ้างสามารถก่อสร้าง งานให้เป็นไปตามข้อ กาหนดในการออกแบบ (จัดเตรียมโดย ผู้ว่าจ้าง)  ผู้ว่าจ้างจะรับผิดชอบเต็มที่ต่อความถูกต้องของเอกสารนี้ (ช) แบบ (Drawings) • FIDIC Red Book (1999) มี ส มมุ ติ ฐ านเบื้ อ งต้ น ว่ า ผู้ ว่ า จ้ า ง จะต้องจัดเตรียมเอกสารการออกแบบเพื่อการก่อสร้าง ดังนั้น

3-11


FIDIC RED BOOK ผู้ ว่ า จ้ า งจะต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การจั ด เตรี ย มแบบงานให้ แ ก่ ผู้รับจ้าง (เว้นแต่สัญญาจะกาหนดเป็นอย่างอื่น) (ซ) ตารางและเอกสารอื่น ๆ ประกอบเป็นเอกสารสัญญา  ตารางเป็นรายการข้อมูลเฉพาะเรื่องที่ถูกรวบรวมภายใต้หัวข้อ ร่วมกัน เช่น ตาราง X – รายชื่อผู้รับจ้างช่วง  ถ้ า มี เ อกสารอื่ น ๆ ที่ ป ระสงค์ จ ะใช้ ป ระกอบเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ เอกสารสัญญา เอกสารนั้นจะต้องกาหนดชื่อให้ชัดเจนในเอกสาร สัญญา คานิยาม 1.1.1.1 - 1.1.1.10 สัญญา 1.1.2.1 - 1.1.2.10 ผู้เกี่ยวข้องตามสัญญาและบุคคลากร 1.1.3.1 - 1.1.3.9

วันที่ การทดสอบ ระยะเวลา และการแล้วเสร็จ

1.1.4.1 - 1.14.12 เงินและการชาระเงิน 1.1.5.1 - 1.1.5.8

งานและสินค้า

1.1.6.1 - 1.1.6.9

คานิยามอื่นๆ

รายละเอียดตามส่วนที่ 5 (Section 5) รวมถึง “รายละเอี ย ดประกอบแบบ ” “แบบ” “แผนงาน” “การประกวด ราคา” และ “แผนงานรายวัน” รายละเอียดตามส่วนที่ 4 (Section 4) รวมถึง

3-12


FIDIC RED BOOK “ผู้แทนของผู้รับจ้าง” “บุคลากรของผู้ว่าจ้าง” “บุคลากรของผู้รับจ้าง” “ผู้รับจ้างช่วง” “คณะกรรมการแก้ไขข้อพิพาท (DAB)” และ “FlDIC” ผู้เกี่ยวข้องตามสัญญาและบุคลากร บุคลากรของผู้ว่าจ้าง ผู้ว่าจ้าง

วิศวกร

1.1.3.1 - 1.1.3.9 วั น ที่ การทดสอบ ระยะเวลา และการแล้ วเสร็ จ รวมถึง: “วันเริ่มต้น" “วันเริ่มงาน” “ระยะเวลาสาหรับการก่อสร้าง” “การทดสอบเมื่อเสร็จงาน” “หนังสือรับรองการรับมอบงาน” “การทดสอบหลั ง เสร็ จ งาน” “ช่ ว งเวลาแจ้ ง ความช ารุ ด บกพร่ อ ง” “หนังสือรับรองการปฏิบัติตามสัญญา” “วัน” และ “ปี”

3-13


FIDIC RED BOOK วันที่ การทดสอบ ระยะเวลา และการแล้วเสร็จ

1.1.4.1 - 1.1.4.12 เงินและการชาระเงิน รวมถึง: “มูลค่างานตามสัญญาที่ตกลงกัน ” “ราคางานตามสัญญา” “ต้นทุน” “หนังสือรับรองการจ่ายเงินงวดสุดท้าย” บันทึกสรุปสุดท้าย สกุลเงิน ต่างประเทศ หนังสือรับรองการจ่ายเงินงวด สกุลเงินท้องถิ่น หนังสือ รับรองการชาระเงิน” “ยอดเงินรายการสารอง” “เงินประกันผลงาน” และ “หนังสือแจ้งยอดรวมจานวนเงินค่างาน” เงินและการชาระเงิน

3-14


FIDIC RED BOOK 1.1.5.1 - 1.1.5.8 งานและสินค้า รวมถึง: “เครื่องมือของผูร้ ับจ้าง” “ผลผลิต/สินค้า” “วัสดุ” “งานถาวร” “เครื่องจักร” “หน้าตัด” “งานชั่วคราว” และ “งาน” 1.1.6.1 - 1.1.6.9 คานิยามอื่นๆ รวมถึง: “เอกสารของผู้รับจ้าง” “ประเทศ” “เครื่องมือของผู้ว่าจ้าง” “เหตุ สุ ด วิ สั ย ” “กฎหมาย” “หลั ก ประกั น การปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญา” “หน่วยงานก่อสร้าง” “ไม่อาจคาดหมายได้” และ “การเปลี่ยนแปลง” งานและผลผลิต

งาน งานชั่วคราว

งานถาวร

ผลผลิต เครื่องมือผูร้ ับจ้าง

วัสดุ

โรงงาน

งานชั่วคราว

3-15


FIDIC RED BOOK ผู้รับจ้างช่วง ผู้รับจ้างช่วงที่ถูกกาหนด  ผู้รับจ้าง จะต้องไม่นางานตามสัญญาทั้งหมดไปให้ผู้อื่นรับจ้างช่วง  ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบในการกระท าและความผิ ด ของ ผู้รับจ้างช่วง ไม่จาเป็น (ระบุในสัญญาและรายการวัสดุ)

 ความยินยอม จาเป็น (ในกรณีอื่น ๆ )

 แจ้งให้ทราบล่วงหน้าเป็นระยะเวลา 28 วัน (ก่อนที่ผู้รับจ้างช่วง จะเริ่มงาน)  กาหนดหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายของผู้รับจ้างช่วงในสัญญาการ จ้างช่วง ผู้รับจ้างช่วง และผู้รับจ้างช่วงที่ถูกกาหนด ผู้รับจ้างช่วงที่ถูกกาหนด ระบุในสัญญาหรือ  วิศวกรกาหนดรายชื่อผู้รับจ้าง เป็นผู้รับจ้างช่วง ผู้รับจ้างอาจคัดค้านผู้รับจ้างช่วงที่ถูกกาหนด หาก  ผู้ รั บจ้า งช่วงไม่ มีค วามสามารถเพียงพอ ไม่ มี ท รั พยากร ต่างๆ เช่น แรงงาน วัสดุ ข้อมูล เป็นต้น หรือไม่มีความ มั่นคงด้านการเงิน  ผู้จ้างช่วงไม่ได้ระบุการชดใช้ในกรณีประมาท เลินเล่อและ ใช้วัสดุผิดข้อกาหนด หรือ  การจ้างช่วงไม่ครอบคลุม การกระทาที่ไม่ เหมาะสมของ ผู้รับจ้างและรายละเอียดการชดใช้ค่าเสียหาย

3-16


FIDIC RED BOOK ข้อกาหนดในการชาระเงินพิเศษที่นาไปใช้กับข้อกาหนดผู้รับจ้างช่วง ที่กาหนด (S-C 5.3, 5.4 และ 13.5) บุคลากรและแรงงาน  ผู้รับจ้างจะต้องทาข้อตกลงสาหรับพนักงานและแรงงานใน เรื่องผลตอบแทน ที่พักอาศัย อาหารและการเดินทาง  ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายอัตราค่าจ้างและดูแลความเป็นอยู่ของ แรงงานซึ่ ง จะต้ อ งไม่ น้ อ ยกว่ า ข้ อ ก าหนด และกฎหมาย แรงงานในท้องถิ่น  ผู้รับจ้างจะไม่ว่าจ้างหรือพยายามที่จะว่าจ้างพนักงานและ แรงงานของผู้ว่าจ้าง  ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานที่เกี่ยวข้องที่ใช้ กั บ บุ ค ลากรของผู้ รั บ จ้ า ง และก าหนดให้ บุ ค ลากรของ ผู้รับจ้างปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด (เพื่อความ ปลอดภัย)  ไม่ มี การปฏิบัติงานในหน่วยงานก่อ สร้ า งในวันหยุ ด หรื อ นอกเหนือ จากเวลาปฏิบัติงานตามปกติ ตามที่ ร ะบุไ ว้ใน ภาคผนวกของการเสนอราคา (เว้ น แต่ จ ะก าหนดไว้เ ป็น อย่างอื่น)  ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งจั ด หาที่ พั ก พร้ อ มสิ่ ง อ านวยความสะดวกที่ จาเป็น และจัดสวัสดิการให้สาหรับบุคลากรของผู้รับจ้าง  ผู้รับจ้างต้องจัดหาสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับบุคลากร ของผู้ว่าจ้าง  ผู้ รั บ จ้ า งจะไม่ อ นุ ญ าตให้ บุ ค ลากรพั ก อาศั ย ชั่ ว คราวหรื อ ถาวรภายในพื้นที่ระหว่างการดาเนินการก่อสร้าง (เว้นแต่จะ กาหนดไว้เป็นอย่างอื่น) 3-17


FIDIC RED BOOK  สุขภาพและความปลอดภัย ผู้รับจ้างจะต้องใช้การเตือน ในเรื่องการรักษาสุขภาพและ ความปลอดภัยตลอดเวลา ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ ปฐมพยาบาล และบริการ รถพยาบาล จัดให้มีเจ้าหน้าที่เพื่อป้องกันการเกิด อุบัติเหตุ ในหน่วยงานก่อสร้าง รายงานการเกิดอุบัติเหตุและบันทึก สถานะสุขภาพ และความปลอดภัยในหน่วยงานก่อสร้าง ฯลฯ  ผู้ รั บจ้า งจะต้อ งจัด บุค ลากรควบคุ ม ที่ จ าเป็นส าหรั บ ดู แ ล กิ จ กรรมในการวางแผน การจั ด การ การบริ ห าร การ ตรวจสอบ และทดสอบงาน  บุค ลากรของผู้ รั บจ้า งจะต้อ งมี ค วามรู้ ค วามสามารถและ ประสบการณ์ในแต่ละวิชาชีพที่เหมาะสม  ในบางครั้งวิศวกรอาจมีการสั่งให้ผู้รับจ้างย้ายบุคลากรของ ผู้รับจ้างในหน่วยงานก่อสร้าง รวมถึงตัวแทนของผู้รับจ้าง  หลังจากนั้นผู้รับจ้างจะต้องแต่งตั้งบุคลากรที่เหมาะสมใน การทดแทนตาแหน่งของบุคลากรที่ย้ายออกไป  ผู้รับจ้างจะต้องเก็บบันทึ กรายละเอีย ดบุคลากร อุปกรณ์ เครื่ อ งมื อ และเครื่ อ งจั กรของผู้ รั บ จ้า ง และจะต้ อ งจัดส่ ง รายละเอียดทุกเดือน  ผู้รับจ้างจะต้องใช้การเตือนที่เหมาะสมในการป้องกันการ กระทาผิดกฎหมาย การจลาจล และการไม่เชื่อฟัง ซึ่งเกิด จากบุคลากรของผู้รับจ้าง และรักษาความสงบและคุ้มครอง บุคลากร ************ 3-18


FIDIC YELLOW BOOK Conditions of Contract for Plant and Design-Build for Electrical and Mechanical Plant, and for Building and Engineering Works, Designed by the Contractor (Yellow Book) First Edition 1999 เอกสารเงื่ อ นไขสั ญ ญาเล่ ม นี้ ใช้ กั บ โครงการ ก่ อ สร้ า งโรงผลิ ต (Plant) และออกแบบรวม ก่อสร้าง สาหรับงานไฟฟ้าและเครื่องกล รวมถึงโครงการออกแบบรวม ก่อสร้างสาหรับงานอาคาร และงานด้านวิศวกรรมอื่น ๆ โดยผู้รับจ้าง ก่อสร้าง ลักษณะพื้นฐาน และการใช้งาน เอกสารเงื่ อ นไขเล่ ม นี้ แ นะน าให้ ใ ช้ ส าหรั บ งานก่ อ สร้ า งใน ลั ก ษณะออกแบบรวมก่ อ สร้ า ง (Design-build) ส าหรั บ งานระบบ ประกอบอาคาร และสัญญางานออกแบบด้านวิศวกรรม โดยผู้รับจ้าง เอกสารฉบับก่อนหน้านี้คือ Conditions of Contract for Electrical and Mechanical Works including erection on site (Yellow Book) First Edition 1963, Third Edition 1987 เกี่ยวกับงานไฟฟ้า และเครื่องกล และเน้นเรื่องการประกอบและติดตั้ง ในสนาม และConditional of Contract for Design-Build and Turnkey (Orange Book) First Edition 1995 ซึ่ ง เป็ น เงื่ อ นไขของ สั ญ ญาที่ ใ ช้ กั บ งานออกแบบรวมก่ อ สร้ า ง และสั ญ ญาจ้ า งเหมาแบบ เบ็ดเสร็จ ผู้ รั บ จ้ า งจะเป็ น ผู้ รั บ ความเสี่ ย งในด้ า นการออกแบบและ ปริมาณงาน

4-1


FIDIC YELLOW BOOK กรอบเวลาในโครงการ

การจัดเตรียมสัญญา ประเด็นสาคัญสาหรับผู้รับจ้าง  การจัดซื้อจัดจ้างตามแผนงานและเวลา  การว่าจ้างวิศวกร/บริษัท ที่ปรึกษาที่เหมาะสมและมี ประสบการณ์  ไม่ มี ก ารพั ฒ นาแบบที่ แ สดงรายละเอี ย ดเพี ย งพอ สาหรับการเตรียมการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ ผู้ว่าจ้าง  ต้องมีการจัดการทางด้านการเงินที่ ดีพอ และมีความ น่าเชื่อถือ  การจั ด การโครงการอย่ า งมี ป ระสิ ท ธภาพ (มี ก าร ตัดสินใจทันเวลา)

4-2


FIDIC YELLOW BOOK

ขั้นตอนการประกวดราคาตามสัญญา  มีการแข่งขันและตัดสินจากฐานด้านราคาและด้านเทคนิค  ผู้เข้าประกวดราคาจะต้องเสนอแนวทางการออกแบบ เพื่อ แนะน าและสามารถพิ จ ารณาความเป็ น ไปได้ ท างด้ า น เทคนิค  ระยะเวลาการประกวดราคาจะต้ อ งมี ร ะยะเวลาที่ เหมาะสมเพื่อมีการเตรียมการเพียงพอ  หลังจากมีการลงนามสัญญา ควรมีการประเมินตามเกณฑ์ ที่ผู้รับจ้างเคยเสนอ  จะต้องมีวิธีการประเมิ นที่ ชัดเจนและกาหนดเกณฑ์ การ ประเมิน สืบเนื่องจากการจัดซื้อจัดจ้างที่มีความซับซ้อน  ในบางกรณี นอกจากจะพิจารณาค่าใช้จ่ายจริงที่เกิดขึ้น แล้ว - ค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนตลอดอายุการใช้งาน (Life Cycle Cost) ให้เป็นส่วนหนึ่งที่รวมในการประกวดราคาด้วย

4-3


FIDIC YELLOW BOOK  ในโครงการที่มีความซับซ้อนการต่อรองก็เป็นกระบวนการ ที่นามาใช้ โครงสร้างของเงื่อนไขสัญญา

4-4


FIDIC YELLOW BOOK

หัวข้อและความแตกต่างจาก FIDIC เล่มสีแดง หัวข้อที่ 5 การออกแบบ 5.1 หน้าที่การออกแบบทั่วไป 5.2 เอกสารของผู้รับเหมา 5.3 พันธะของผู้รับเหมา 5.4 กฎระเบียบและเทคนิคมาตรฐาน 5.5 การฝึกอบรม 5.6 แบบก่อสร้างจริง (As-built drawings) 5.7 คู่มือการบารุงรักษา 5.8 ข้อผิดพลาดของการออกแบบ หัวข้อที่ 12 การทดสอบหลังงานแล้วเสร็จ 12.1 กระบวนการทดสอบหลังงานแล้วเสร็จ 12.2 ความล่าช้าของการทดสอบ 4-5


FIDIC YELLOW BOOK 12.3 การทวนทดสอบ 12.4 การทดสอบไม่ผ่านหลังงานแล้วเสร็จ คู่สัญญา และบทบาทและพันธะกรณีที่มีต่อกัน

ผู้ว่าจ้าง

4-6

 ให้สิทธิผู้รับจ้างในการเข้าใช้พื้นที่โครงการ  แสดงหลักฐานทางการเงินโครงการที่เหมาะสม เพื่อสร้าง ความมั่นใจต่อผู้เสนอราคา/คู่สัญญาว่า โครงการมีความ คล่ อ งตั ว ทางการเงิ น และสามารถจ่ า ยเงิ น ค่ า จ้ า งตาม สัญญา  ยินยอมให้ผู้รับจ้างเรียกร้องค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมได้ หากชาระ เงินล่าช้า หรือขอให้ขยายระยะเวลาการรับประกันความ ชารุดบกพร่อง กรณีใช้สิทธิเรียกร้อง ผู้รับจ้างจะต้องแจ้ง เป็นหนังสือทันทีที่ทราบหรือเกิดเหตุนั้น


FIDIC YELLOW BOOK ผู้รับจ้าง

วิศวกร

 ออกแบบ ก่อสร้างงานให้แล้วเสร็จ ถูกต้องครบถ้ วนตามที่ ระบุในสัญญา และแก้ไขงานที่ชารุดบกพร่อง (ถ้ามี)  จัดหาบุคลากร วัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักรกล และอุปกรณ์ ต่างๆ ทั้งที่ต้องใช้กับงานถาวร และงานชั่วคราว และการ บริการใด ๆ อีกทั้งจัดหาแบบรูปและเอกสารต่าง ๆ ที่ต้อง ใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ตามที่ระบุในสัญญา ทั้งในช่วงการ ออกแบบ ก่อสร้าง ติดตั้ง ทดสอบ และรับประกันความ ชารุดบกพร่อง  รั บผิ ดชอบทุ กด้า นที่เ กี่ยวกับการดาเนินงานตามสัญญา และอย่างครบถ้วน รวมถึงการจัดให้มีระบบความปลอดใน การทางาน มีวิธีการก่อสร้างทุกขั้นตอน เป็นต้น เพื่อให้ ได้ งานที่ถูกต้องตรงครบถ้วนตามสัญญา  รับผิดชอบการออกแบบงาน เพื่อให้ได้มาซึ่งงานที่ถูกต้อง ครบถ้วนตรงตามสัญญา  ฯลฯ  ทาหน้าที่เป็นตัวแทนผู้ว่าจ้าง  ไม่มีอานาจที่จะยอมหรือผ่อนผันให้คู่สัญญาดาเนินการใด ที่จะละเลย หรือหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบใด ๆ ตามที่ระบุในสัญญา  สามารถมอบหมายบุคลากรของตน ผู้ใดผู้หนึ่ง หรือหลาย คน ที่เหมาะสม เพื่อทาหน้าที่ในฐานะวิศวกรควบคุมงาน  สามารถออกหนังสือ เพื่อแนะนาผู้รับจ้างดาเนินการใด ๆ เท่าที่จาเป็น ระหว่างดาเนินการ และช่วงการรับประกัน 4-7


FIDIC YELLOW BOOK ความชารุ ดบกพร่ อ งตามสั ญ ญาให้แล้ วเสร็ จลุ ล่ วงไปได้ ด้วยดี (กรณีที่ไม่มีการเพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงแบบ)  พิจารณาและให้ข้อคิดเห็นงานออกแบบของผู้รับจ้าง  มี ห น้ า ที่ พิ จ ารณาและให้ ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ งานใด ๆ ที่ ผู้ รั บจ้า งอ้ า งว่า ไม่ ใช่งานตามสั ญ ญาที่ ตกลงกันไว้ และ เสนอขอให้พิจารณาเป็นงานเปลี่ยนแปลง  ทบทวน หรื อ อนุ มั ติ (หากจ าเป็ น ) บรรดาเอกสารของ ผู้รับจ้างที่ต้องดาเนินการตามที่ระบุในสัญญา เอกสารสัญญา ก) ข) ค) ง) จ) ฉ) ช) ซ)

ข้อตกลงในสัญญาจ้าง หนังสือยืนยันการว่าจ้าง ใบเสนอราคา เงื่อนไขเฉพาะ เงื่อนไขทั่วไป ความต้องการของผู้ว่าจ้าง กาหนดการหรือแผนดาเนินโครงการ และ ข้อเสนอของผู้รับจ้าง และเอกสารประกอบข้อเสนอทีใ่ ช้ เป็นส่วนหนึ่งของสัญญา ข้ อ ความใดในเอกสารสั ญ ญาจ้ า งมี ข้ อ ขั ด แย้ ง หรื อ คลุมเครือไม่ชัดเจน วิศวกรควบคุมงานจะเป็นผู้ชี้แจงหรือ ให้คาแนะนาต่อคู่สัญญา

4-8


FIDIC YELLOW BOOK ฉ) ความต้องการของผู้ว่าจ้าง  เป็ น เอกสารที่ ผู้ ว่ า จ้ า งใช้ ใ นการก าหนดความต้ อ งการ อย่ า งละเอี ย ด เพื่ อ ให้ ผู้ รั บ จ้ า งทราบ และด าเนิ น การ เพื่อให้ได้ผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ตามวัตถุประสงค์  รวมถึงเป็นเอกสารที่ จะกาหนดวิธีการตรวจวัดผลการ ปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง เพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพตรงตาม ความต้อ งการ และออกข้อ ปฏิบัติส าคั ญ ๆ ที่ ผู้ รั บจ้า ง จะต้องปฏิบัติ  ในบางกรณี อาจจะให้แบบร่างที่ มีรายละเอียดงานพอ สังเขป เพื่อกาหนดกรอบของงานที่ต้องการให้ผู้รับจ้าง ทราบ เพื่ อ น าไปใช้ ด าเนิ น การส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งต่ อ ไป เพื่อให้ได้งานตรงตามวัตถุประสงค์ ช) กาหนดการหรือแผนดาเนินโครงการ  กาหนดโดยผู้ ว่า จ้า ง และถือ เป็นส่ วนหนึ่งของเอกสาร ประกวดราคา เพื่ อ ให้ ผู้ เ สนอราคา (ผู้ รั บ จ้ า ง) ใช้ เ ป็ น ฐานข้อมูลในการจัดทาข้อเสนอให้ครบถ้วน  กาหนดการหรือแผนดาเนินโครงการ และข้อมูลใด ๆ ที่ แนบมาด้วย ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาที่คู่สัญญาต่าง ต้องยึดถือปฏิบัติต่อกัน และ  ให้ถือว่าเอกสารถามตอบ ตาราง หรือรายการ และสรุป ค่าพารามิเตอร์ด้านเทคนิคของเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ ผู้เสนอราคาหรือผู้รับจ้างทาและยื่นเสนอ เป็นส่วนหนึ่ง ของกาหนดการหรือแผนดาเนินโครงการที่ถือว่าเป็นส่วน หนึ่งของสัญญา เช่นกัน

4-9


FIDIC YELLOW BOOK ซ) ข้อ เสนอของผู้รับจ้าง และเอกสารประกอบข้อเสนอที่ใช้เป็น ส่วนหนึ่งของสัญญา  ผู้รับจ้างจะต้องแนบแบบเบื้องต้นที่ออกแบบมาพร้อมกับ การยื่นข้อเสนอ  ผู้ว่าจ้างจะกาหนดเกณฑ์ความต้องการขั้นต่าที่ใช้ในการ พิ จ ารณาและประเมิ น ข้ อ เสนอของผู้ เ สนอราคาไว้ ใ น เอกสารประกวดราคา  ข้อเสนอของผู้เสนอราคาจะต้องเสนอให้สอดคล้ อ งกับ ความต้องการของผู้ว่าจ้าง รวมทั้งต้องเสนอรายละเอียด ของงานที่สาคัญ ๆ และวิธีการดาเนินการมาด้วย กรณี ประสงค์จะเสนอต่างไปจากที่ระบุในความต้องการของ ผู้ว่าจ้าง ผู้เสนอราคาจะต้องทาเครื่องหมายระบุให้ชัดเจน และจะต้ อ งหาข้ อ สรุ ป ให้ ไ ด้ ก่ อ นที่ จ ะเข้ า สู่ ขั้ น ตอนท า สัญญาต่อไป (กรณีผู้เสนอราคารายนั้นได้รับการคัดเลือก ให้เป็นผู้ชนะการประกวดราคา และเป็นผู้รับจ้าง) เงื่อนไขที่กาหนดเฉพาะ  ความต้องการของผู้ว่าจ้าง  ข้อเสนอของผู้รับจ้าง หมายถึง บรรดาเอกสารต่า ง ๆ ที่ ผู้ รั บจ้า งใช้เ สนอมา พร้อมกับใบเสนอราคา ซึ่งจะถูกกาหนดให้ถือเป็นส่วน หนึ่งของสั ญ ญา บางเอกสารอาจถูกจัดรวมอยู่ ในแบบ เบื้องต้น  การกาหนดค่าตรวจวัดในการรับประกันงาน โดยทั่ ว ไปผู้ เ สนอราคา (ผู้ รั บ จ้ า ง) จะเสนอมาในรู ป ค่าพารามิเตอร์ของงาน ซึ่งต้องกาหนดให้ครอบคลุมงาน

4-10


FIDIC YELLOW BOOK ต่าง ๆ ตามสัญญา และค่าพารามิเตอร์เหล่านี้ จะถูกใช้ เป็นตัวชี้วัดความแล้วเสร็จและรับประกันความสมบูรณ์ ของงานที่ส่งมอบ  งวดการชาระเงิน ในที่นี้จะหมายรวมถึง รายละเอียดของงาน ค่างาน และ ระยะเวลาส่ ง มอบงานในแต่ ล ะงวด จุ ด ตรวจวั ด ความก้าวหน้างาน เงื่อนไข เป็นต้น ความต้องการของผู้ว่าจ้าง  เป็นเอกสารที่ผู้ว่าจ้างระบุความต้องการอย่างละเอี ย ด สาหรับงานเมื่อดาเนินการแล้วเสร็จ  ผู้ ว่ า จ้ า งรั บ ผิ ด ชอบทั้ ง หมด ส าหรั บ ข้ อ ผิ ด พลาด หรื อ ข้อบกพร่องที่อยู่ในความต้องการของผู้ว่าจ้าง  ผู้รับจ้างจะต้องพิจารณาความต้องการของผู้ว่าจ้างอย่าง ถี่ถ้วนภายในเวลาที่กาหนดหลังจากวันเริ่มงาน แล้วต้อง แจ้งข้อผิดพลาดหรือข้อบกพร่องเมื่อพบ  วิศวกรจะต้องประเมินข้อวินิจฉัยของผู้รับจ้าง และหากมี ความจ าเป็ น จะต้ อ งท าการออกหนั ง สื อ แจ้ ง การ เปลี่ยนแปลงงาน รายละเอียดในความต้องการของผู้ว่าจ้าง  นิ ย าม/ค าอธิ บ ายของ “สถานที่ ก่ อ สร้ า ง” (การเข้ า ถึ ง สถานที่ก่อสร้าง ความต้องการเฉพาะอย่างเพื่อพิจารณา ข้อจากัด ฯลฯ)  นิ ย าม/ค าอธิ บ ายของ “งาน” (หน้ า ที่ ตั ว แปรในการ ปฏิบัติงานตามสัญญา ความต้องการด้านคุณภาพ ฯลฯ)

4-11


FIDIC YELLOW BOOK  ความต้องการเกี่ยวกับ “เอกสารของผู้รับจ้าง”  ผู้รับจ้างรายอื่นที่สัมพันธ์กันในโครงการ ความต้องการใน การประสานงานกัน การเชื่อมต่อ (Interfacing)  การวางผัง  ใบอนุญ าตท างาน ใบอนุญ าตประกอบวิชาชีพ และใบ อนุมัติทางาน  การป้ อ งกั น สิ่ งแวดล้ อ ม (ข้ อ จ ากั ด ข้ อ บั ง คั บ ขอบเขต ฯลฯ)  การจั ด หาไฟฟ้ า น้ า ก๊ า ซ และ บริ ก ารต่ า ง ๆ ที่ อ ยู่ ใ น สถานที่ก่อสร้าง  เครื่องมือของผู้ว่าจ้าง และวัสดุจัดให้เปล่า  ความต้ อ งการเกี่ ย วกั บ “ผู้ อ อกแบบ” (ใบอนุ ญ าต ประกอบวิชาชีพ ฯลฯ)  มาตรฐานทางเทคนิค และข้อบังคับที่ผู้รับจ้างต้องปฏิบัติ ตาม  ตัวอย่างวัสดุ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่จะต้องส่ งให้วิศวกร ตรวจสอบ  ความต้องการเกี่ยวกับ “เอกสารแสดงงานก่อสร้างตาม จริง” (แบบ เนื้อหา ภาษา ฯลฯ)  ข้อกาหนดเกี่ยวกับ “คู่มือการปฏิบัติและบารุงรักษา และ คู่มืออื่นๆ” (รูปแบบ เนื้อหา ภาษา ฯลฯ)  สิ่งอานวยความสะดวกสาหรับพนักงานและแรงงาน  รูปแบบของการดาเนินการ  การทดสอบ (ความต้ อ งการที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง หมด รายละเอียด)

4-12


FIDIC YELLOW BOOK  ข้อตกลงของผู้รับจ้างเกี่ยวกับการทดสอบเมื่อเสร็จงาน  ข้อตกลงของผู้รับจ้างเกี่ยวกับการทดสอบหลังเสร็จงาน  ความต้องการอื่นที่เกี่ยวข้องกับโครงการโดยเฉพาะ การออกแบบของผู้รับจ้าง/เอกสารของผู้รับจ้าง  ความต้องการของผู้ว่าจ้าง สามารถระบุไว้ในเอกสารของ ผู้ รั บ จ้ า ง ซึ่ ง จะถู ก ส่ ง ให้ วิ ศ วกรตรวจสอบ และ/หรื อ สาหรับอนุมัติ  ยกเว้ น ระบุ ค วามต้ อ งการของผู้ ว่ า จ้ า งไว้ เ ป็ น อย่ า งอื่ น ระยะเวลาสาหรับวิศวกรในการตรวจสอบจะต้องไม่เกิน 21 วัน  การส่ งเอกสารให้วิศวกรตรวจสอบ ผู้ รั บจ้า งจะต้องส่ง หนั ง สื อ บอกกล่ า วเพื่ อ แจ้ ง ให้ ท ราบว่ า เอกสารที่ ส่ ง สอดคล้องกับสัญญา หรือมีส่วนใดที่ไม่สอดคล้อง  เอกสารของผู้ว่าจ้างจะถือว่าได้รับการอนุมัติจากวิศวกร เมื่อครบกาหนดระยะเวลาการตรวจสอบ เว้นแต่วิศวกร ได้แจ้งก่อนหน้านี้ไว้เป็นอย่างอื่น

4-13


FIDIC YELLOW BOOK ตารางเวลาการดาเนินการ

 การปฏิบัติการของงานบางส่วนจะต้องไม่เริ่มงานก่อนที่ จะครบกาหนดเวลาของการตรวจสอบ เอกสารทั้งหมด ของผู้ รั บ จ้ า งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ งานออกแบบและการ ปฏิบัติการ  การปฏิบัติงานบางส่วนจะต้องเป็นไปตามเอกสารของ ผู้รับจ้างที่ได้ถูกตรวจสอบแล้ว (และมีการอนุมัติ)  หากผู้ รั บ จ้ า งมี ค วามประสงค์ ที่ จ ะปรั บ เปลี่ ย นการ ออกแบบ หรือเอกสารที่ส่งให้ตรวจสอบก่อนหน้า จะต้อง แจ้งวิศ วกรให้ท ราบทั นที โดยขั้นตอนการพิ จารณาจะ เริ่มต้นใหม่ตั้งแต่แรก  การอนุ มั ติ หรื อ การยิ น ยอม หรื อ การตรวจสอบของ วิศวกร ไม่ทาให้ผู้รับจ้างพ้นจากความรับผิดชอบ และพ้น จากภาระผูกพันของผู้รับจ้าง

4-14


FIDIC YELLOW BOOK การทดสอบหลังเสร็จงาน  การทดสอบหลั ง เสร็ จ งาน จะต้ อ งด าเนิ น การเร็ วที่ สุ ด เท่าที่จะสามารถกระทาได้หลังจากงานหรืองานบางส่วน ส่งมอบให้ผู้ว่าจ้างแล้ว ผู้ว่าจ้างจะต้อง :  จัดหาไฟฟ้า อุปกรณ์ เชื้อเพลิง เครื่องมือ แรงงาน วัสดุ และพนักงานที่มีประสบการณ์และความเหมาะสม  ดาเนินการทดสอบหลังเสร็จงาน ตามคู่มือที่จัดทาโดย ผู้รับจ้าง  แจ้งผู้รับจ้างทราบล่วงหน้า 14 วัน หากผู้รับจ้างไม่เข้า ร่วม ผู้ว่าจ้างอาจดาเนินการทดสอบหลังเสร็จงานซึ่งจะ ถือว่าผู้รับจ้างร่วมดาเนินการด้วย และผู้รับจ้างจะต้อง ยอมรับผลว่ามีความถูกต้องแล้ว การวินิจฉัยข้อพิพาท  ระบบการวินิจฉัยข้อพิพาทในสัญญา Yellow Book ส่วน ใหญ่จะเหมือนกับ Red Book  ข้ อ ยกเว้ น : คณะกรรมการการวิ นิ จ ฉั ย ข้ อ พิ พ าท ดาเนินงานบนพื้นฐานเฉพาะกิจ:  คณะกรรมการวินิจฉัย ข้อ พิ พ าทไม่ ไ ด้ถูกแต่ง ตั้ ง ตัง้ แต่เริ่มต้นโครงการ แต่จะถูกแต่งตั้งภายหลัง  คู่สัญญานาข้อพิพาทเสนอต่อคณะกรรมการการ วินิจฉัยข้อพิพาทเท่านั้น  หลังจากที่คณะกรรมการการวินิจฉัยข้อพิพาทตัดสินแล้ว ถือเป็นที่สิ้นสุด

4-15


FIDIC YELLOW BOOK (ข้อ พิ พ าทใหม่ – คณะกรรมการการวินิจฉัย ข้อ พิ พ าท ใหม่)  กรณี ที่ ไ ม่ เ หมื อ นกั บ Red Book DAB-s ในกรณี ข อง Yellow Book ไม่คาดว่าจะมีคณะกรรมการการวินิจฉัย ข้อพิพาทที่มีผู้เชี่ยวชาญภายนอกร่วมอยู่ด้วยในขั้นตอน การวินิจฉัยข้อพิพาท ตารางเวลาการวินิจฉัยข้อพิพาท

************

4-16


FIDIC SILVER BOOK Conditions of Contract for EPC/ Turnkey Projects (Silver Book) First Edition 1999 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มนี้ใช้กับโครงการสัญญา แบบออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง/สัญญาออกแบบ รวมก่อสร้างแบบเบ็ดเสร็จโดยผูร้ ับจ้างก่อสร้าง ลักษณะพื้นฐาน และการใช้งาน เอกสารเงื่อนไขเล่มนี้ แนะนาให้ใช้สาหรับงานกระบวนการ ผลิ ต (Process) หรื อ ผลิ ต และติ ด ตั้ ง เครื่ อ งจัก รที่ ผ ลิ ต ก าลั ง (Power Plant) ภายใต้สัญญาแบบ EPC/Turnkey หน่วยงานหนึ่ง ของผู้รับจ้าง จะรับผิดชอบในการออกแบบ และดาเนินงาน (มีข้อจากัดความเสี่ยงอยู่บ้างสาหรับงานใต้ดิน เนื่องจาก สภาพไม่แน่นอนของชั้นดิน โดยบางครั้งอาจแยกคิดค่างานส่วนที่เกิน จากการคาดการณ์ไว้ในเบื้องต้น เป็นงานแบบอัตราราคาต่อหน่วย (Unit Cost) ผู้ รั บ จ้ า งจะด าเนิ น งานด้ า นวิ ศ วกรรม จั ด หา และท าการ ก่อสร้าง (Engineering, Procurement and Construction: “EPC”) : โดยจั ด หาอุ ป กรณ์ เครื่ อ งจั ก รกล และสิ่ ง อ านวยความสะดวกอย่ า ง ครบถ้วน พร้อมเปิดดาเนินงาน (เสมือน “Turn of the Key) ความเสี่ยงในการดาเนินงานภายใต้สัญญาประเภทนี้ จะถูก ผลั กให้เ ป็นภาระของผู้รับจ้า ง โดยมี ค่ า ใช้จ่ายจากผู้ว่าจ้า งที่ สูงกว่า สัญญาประเภทอื่น เอกสารสัญญาและเอกสารข้อกาหนดระบุความต้อ งการ ของเจ้าของงาน (Employer's Requirements) ตามลาดับความสาคัญ มีดังต่อไปนี้คือ (ก) สัญญาข้อตกลง 5-1


FIDIC SILVER BOOK (ข) เงื่อนไขเฉพาะ (ค) เงือ่ นไขทัว่ ไป (ง) เอกสารข้อกาหนดระบุความต้องการของเจ้าของงาน (จ) เอกสารประกอบอื่น ๆ ซึ่งรวมกันเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา ในกรณีที่มีข้อขัดแย้งในเอกสารสัญญาข้างต้น คู่สัญญาทั้ง สองฝ่ า ยจะต้องพิ จารณาหาทางแก้ไ ขปัญ หา ซึ่งอาจมี ผ ลในด้า นการ ปรับเปลี่ยนราคาตามสัญญา อนึ่ ง หากมี ข้ อ ผิ ด พลาดในเอกสารข้ อ ก าหนดระบุ ค วาม ต้องการของเจ้าของงาน ถือเป็นความเสี่ยงของผู้รับจ้างเอง และจะไม่ได้ รั บการชดเชยใด ๆ เนื่อ งจากผู้ รั บจ้างได้รับค่า ใช้จ่ายในการทบทวน ตรวจสอบข้อมูล และได้ประเมินค่าความเสี่ยงดังกล่าวไว้แล้วในราคา ตามสัญญา (Contract Price) การบริ ห ารจั ด การสั ญ ญาจะด าเนิ นการโดยผู้ ว่ า จ้ า ง หรื อ ผู้แทนของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Representative) ซึ่งได้รับการแต่งตั้ง คานิยามใหม่ คานิยามใหม่ที่แตกต่างจาก FIDIC เล่มอื่น ได้แก่ 1.1.2.4 “ ผู้ แ ท น ข อ ง ผู้ ว่ า จ้ า ง : Employer’s Representative” หมายถึงบุคคลที่ถูกระบุชื่อไว้ในสัญญาโดยผู้ว่าจ้าง หรือถูกแต่งตั้งโดยผู้ว่าจ้างภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ภายใต้หัวข้อ ย่ อ ย 3.1 (ตั ว แทนของผู้ ว่ า จ้ า ง The Employer’s Representative) ผู้ซึ่งปฏิบัติงานในนามของผู้ว่าจ้าง 1.1.4.1 “ราคาตามสั ญ ญา Contract Price” หมายถึ ง จานวนเงินตามที่ได้ตกลงกัน ตามที่ได้ระบุไว้ในสัญญา เพื่อการออกแบบ การดาเนินงาน การเสร็จสมบูรณ์ของงาน และการซ่อมแซมแก้ไขงานที่ 5-2


FIDIC SILVER BOOK ชารุดบกพร่อง รวมทั้งการจัดหรือปรับแต่งให้เรียบร้อย (ถ้ามี) เพื่อให้ เป็นไปตามสัญญา แนวคิดในการกระจายความเสี่ยง (Risk Sharing Concept) ความผิดพลาดในเอกสารข้อกาหนดระบุความต้องการของเจ้าของ งาน ข้อผิดพลาดดังกล่าวถือเป็นความเสี่ยงของผู้รับจ้างเอง และ จะไม่ ไ ด้รั บการชดเชยใด ๆ เนื่อ งจากผู้ รั บจ้างได้รั บค่า ใช้จ่า ยในการ ทบทวน ตรวจสอบข้อมูล และได้ประเมินค่าความเสี่ยงดังกล่าวไว้แล้ว ในราคาตามสัญญา (Contract Price) พันธะหน้าที่ทั่วไปในงานออกแบบ ผู้รับจ้างจะต้องทาการพิจารณาตรวจสอบเอกสารข้อกาหนด ของผู้ว่าจ้าง (รวมทั้งหลักเกณฑ์การออกแบบ และรายการคานวณ (ถ้า มี)) และรับผิดชอบในการออกแบบของงาน (the Works) รวมถึงความ ถูกต้องเที่ยงตรงในข้อกาหนดของผู้ว่าจ้างด้วย ผู้ว่าจ้างจะไม่รับผิดชอบต่อข้อผิดพลาดใด ๆ ความไม่ถูกต้อง เที่ยงตรง หรือการขาดตกบกพร่องของข้อมูลใด ๆ ที่ปรากฏในเอกสาร ข้อกาหนดของผู้ว่าจ้าง ซึ่งเป็นเอกสารส่วนหนึ่งของสัญญา และจะไม่ถือ ว่าเอกสารดังกล่าวนี้ได้แสดงความถูกต้องแม่นยาและความสมบูรณ์ของ ข้อมูลหรือข้อความใด ๆ โดยข้อมูลหรือข้อความใด ๆ ที่ผู้รับจ้างได้รับ ไม่ว่าจากผู้ว่าจ้างหรือจากที่อื่น จะไม่เป็นการปลดเปลื้องผู้รับจ้างจาก พันธะหน้าที่ใด ๆ ในงานออกแบบและการดาเนินงาน

5-3


FIDIC SILVER BOOK ข้อยกเว้น ผู้รับจ้างไม่สามารถเปลี่ยนรูปแบบ ส่วนของงาน ข้อมูล และ ข้อความตามที่ได้ระบุไว้ในสัญญา เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น เงื่อนไขสภาพความยากของงาน (Unforeseeable Difficulties) ในเงื่อนไขของสัญญานี้ จะถือว่าผู้รับจ้างได้รับข้อมูลที่จาเป็น ทั้งหมดในเรื่องของความเสี่ยง ความไม่แน่นอนและสถานการณ์อื่น ๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบหรือความเสียหายต่องาน การลงนามในสัญญา ถือ ว่าผู้รับจ้างยอมรับต่อความรับผิดชอบทั้งหมดต่ออุปสรรค ความยากของ งาน และค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่อาจคาดการณ์ได้ เพื่อดาเนินงานให้แล้ว เสร็จ ราคาตามสัญญาจะไม่มีการปรับเปลี่ยน อันเนื่องจากสาเหตุ ของความยากของงาน หรื อ ค่ า ใช้ จ่ า ยต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยมิ อ าจ คาดการณ์ได้ ซึ่งถือว่าผู้รับจ้างได้คิดรวมไว้ในราคาตามสัญญาแล้ว การปรับเปลี่ยนราคา (No Price Adjustment) ผู้รับจ้างไม่สามารถปรับเปลี่ยนราคาตามสัญญา ตามราคา เพิ่มขึ้น หรือลดลง สาหรับค่าแรงงาน สินค้า และวัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในการ ดาเนินงาน การปรับราคาดังกล่าวจะต้องคานวณโดยให้สอดคล้องกับ ข้อกาหนดในเงื่อนไขเฉพาะของสัญญา ซึ่งผู้รับจ้างจะต้องคิดเผื่อ (Price Escalation) ไว้แล้วในราคาตามสัญญา

5-4


FIDIC SILVER BOOK รูปแบบมาตรฐานของโครงการ (Typical Project Layout) สัญญาสัมปทาน e.g. BOT, BOO, BOOT

ผูร้ บ ั สัมปทาน

ภาครัฐ สัญญาว่าจ้าง วิศวกรรม จัดหา และก่อสร้าง

สัญญา Operation

e.g. Silver Book ผูร้ บ ั จ้างสัญญา

ผูร้ บ ั จ้างสัญญา

Operation

EPC/Turnkey

************

5-5



FIDIC PINK BOOK The Harmonised Multilateral Development Banks Form of Contract (Pink Book) First Edition 2005 Third Edition 2010 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มนี้จะเป็นไป ตาม FIDIC เล่ ม สี แ ดง แต่ จ ะมี ข้ อ เปลี่ยนแปลงในประเด็น ข้อกาหนดของแหล่งเงินทุน เช่นการตรวจสอบ (Audits) รายละเอียดเกี่ยวกับการว่าจ้างแรงงาน การหลีกเลี่ยงและข้อ ระวังในเรื่องคอรัปชั่น และข้อพิพาท รวมถึงเงื่อนไขข้อตกลงการอนุญาต ให้ใช้เอกสาร (Licence Agreement) ระหว่าง FIDIC และแหล่งเงินทุน เอกสารเงื่อนไขเล่มนี้เป็นมาตรฐานสากลโครงสร้างเดียวกัน กับ FIDIC ปี 1999 (เล่ ม สีแดง) ใช้หลั กการของ FIDIC ในการจัดสรร ความเสี่ ย ง สามารถปรั บแก้ไ ขได้ตามข้อ ก าหนด และความต้อ งการ เฉพาะของธนาคาร โดยมีการบริหารจัดการและลิขสิทธิ์ ซึ่งได้รับการ สงวนสิทธิ์โดย FIDIC ซึ่งจะเป็นผู้ออกใบอนุญาตให้แก่ ธนาคารเพื่อการ พัฒนาระหว่างประเทศ (MDB) ตีพิมพ์ครั้งแรกในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2548 (ค.ศ.2005) ได้รับการปรับปรุงใหม่ในเดือนมีนาคม พ.ศ.2549 (ค.ศ.2006) และตีพิมพ์ครั้งล่าสุดในเดือน มิ.ย. พ.ศ.2553 (ค.ศ.2010) ธนาคารที่มีส่วนร่วมในปัจจุบัน ได้แก่  ธนาคารโลก (IBRD)  ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งแอฟริกา (AfDB)  ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB)  ธนาคารเพื่อการพัฒนากลุ่มผู้ค้าทะเลดา (BSDB)  ธนาคารเพื่อการพัฒนาแคริบเบียน (CDB)  ธนาคารเพื่อการพัฒนาสภายุโรป (CEB)

6-1


FIDIC PINK BOOK  ธนาคารเพื่อการบูรณะและพัฒนายุโรป (EBRD)  ธนาคารเพือ่ การพัฒนาระหว่างทวีปอเมริกา (IADB) องค์กรที่มีส่วนร่วมในปัจจุบัน ได้แก่  AusAID ประเทศออสเตรเลีย  AFB ประเทศฝรั่งเศส  JICA ประเทศญี่ปุ่น  EXIM ประเทศเกาหลีใต้ แนวความคิดพื้นฐานของ MDB แนวคิดพื้นฐานคือเป็นสัญญาที่ทุกธนาคารระหว่างประเทศ ยอมรับ เป็นสัญญาที่ได้มาตรฐานสากล ครอบคลุมข้อกาหนด และความ ต้องการพิเศษ รวมถึงคามาตรฐานที่ MDB ได้บัญญัติไว้ในหมวดของ Particular Conditions รายละเอียดในเนื้อหาสามารถจาแนกเป็น ข้อกาหนดทั่วไป 1) มีคาอธิบายชี้แจงที่เป็นประโยชน์ เข้าใจง่าย และการเพิ่ม ข้อความใหม่เข้ามา รวมทั้งการปรับปรุงถ้อยคาต่างๆ และเน้นในสิ่งที่ ต้องการมากขึ้น 2) มี ก ารเปลี่ ย นแปลงในเรื่ อ งสถานะภาพของผู้ รั บ จ้ า ง ค่อนข้างมาก 3) มีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องสถานะภาพของผู้ว่าจ้างเพียง เล็กน้อย

6-2


FIDIC PINK BOOK ข้อกาหนดเฉพาะของธนาคาร ในเอกสารจะมีคุณสมบัติเป็นไปตามข้อกาหนดทั้งหมดของ MDB โดยมีข้อกาหนดเฉพาะที่สาคัญของธนาคาร ดังนี้ 1) คานิยาม และศัพท์บญ ั ญัติ 2) ความต้องการทางด้านการเงิน 3) พนักงานและคนงาน/สุขภาพและความปลอดภัย 4) บทบาทของวิศวกร 5) การเรียกร้องสิทธิของผูว้ ่าจ้าง 6) การรับประกันการปฏิบัติงาน 7) การทุจริตและฉ้อโกง 8) ผู้รับจ้างช่วงที่ได้รับการแต่งตั้ง 9) ความเป็นเจ้าของในเครือ่ งจักรและวัสดุอุปกรณ์ 10) การเริ่มดาเนินงาน 11) การก่อตั้งและประโยชน์ของคณะกรรมการข้อพิพาท ศัพท์บัญญัติที่สาคัญเฉพาะซึ่งมีการเปลีย่ นแปลงจาก FIDIC เล่มสีแดง มีดังนี้ 1) “คณะกรรมการการวินจิ ฉัยข้อพิพาท (DAB)” เปลี่ยนเป็น “คณะกรรมการข้อพิพาท (DB)” 2) “ภาคผนวกของการประมูลงาน” เปลี่ยนเป็น “ข้อมูลของ สัญญา” 3) “ผลกาไรที่เหมาะสม (Reasonable Profit)” เปลี่ยนเป็น “ผลกาไร (Profit)” 4) “Tender” มีความหมายเดียวกันกับ “Bid”  คาอธิบายชี้แจง 1) ในเงื่อนไขสัญญาทั่วไปจะระบุช่วงเวลาในการแจ้งเตือน ข้อบกพร่องของงานก่อสร้างเป็นระยะเวลา 365 วัน 6-3


FIDIC PINK BOOK 2) “ทุ ก ฝ่ า ยต้ อ งลงนามข้ อ ตกลงในสั ญ ญาจ้ า ง หลั ง จากที่ ผู้รับจ้างได้รับจดหมายตอบรับภายในระยะเวลา 28 วัน ยกเว้นจะมีแจ้ง เป็นอย่างอื่นในเงื่อนไขเฉพาะเจาะจง” เพื่อทาให้เกิดความกระจ่างใน ข้อตกลง  การทาให้เข้าใจง่ายขึ้น กฎหมายและภาษาในสัญญาควรทาให้เข้าใจง่ายด้วยการ ใช้ภาษาเดียวเท่านั้น  ความต้องการที่เน้นมากขึ้น “ถ้ามีฝ่ายใดทราบถึงข้อผิดพลาด บกพร่องในเอกสาร… ผู้นั้นต้องรีบแจ้งให้ทราบโดยทั่วกัน…” ดังนั้น ข้อผิดพลาด ใด ๆ ในเอกสาร ต้องได้รับการรายงาน  คาอธิบายชี้แจง รายละเอียดที่เป็นความลับเฉพาะ: ย่อหน้าใหม่ในหัวข้อที่ 1.12 ได้ให้ความกระจ่างในเรื่องของ ความต้องการของ ทั้งผู้รับจ้างและผู้ว่าจ้าง  ข้อบังคับที่เน้นมากขึ้น ข้อความที่ว่า “ไม่ว่าจะอยู่ในสถานภาพใดๆ ก็ต้องทา” ถู ก ลบออกในหั ว ข้ อ ที่ 2.2 ใบขออนุ ญ าต ใบอนุ ญ าต ประกอบวิชาชีพ และค าอนุมั ติ จึงเป็นภาระผู กพั น ที่ นายจ้างต้องปฏิบัติ  การปรับปรุงถ้อยคา “ภายใน 28 วันนับตั้งแต่วันที่ได้รับการเรียกร้องสิทธิ์หรือ เรียกร้องความต้องการ ยกเว้นแต่จะมีการระบุเป็นอย่าง อื่ น ” เป็ น ข้ อ ความที่ เ พิ่ ม เติ ม ลงในหั ว ข้ อ ที่ 3.5 การ ตั ด สิ น ใจเพื่ อ ที่ จ ะจ ากั ด ช่ ว งเวลา ที่ จ ะให้ วิ ศ วกรได้ ตัดสินใจ

6-4


FIDIC PINK BOOK  คาอธิบายชี้แจง เพิ่มคาว่า “แต่เพียงผู้เดียว (solely)” ลงในหัวข้อที่ 4.4 ผู้รับจ้างช่วง เพื่อยืนยันว่าผู้จาหน่ายวัสดุที่ไม่ได้ ทาการ ติดตั้งวัสดุนั้น ๆ จะไม่ได้รับความเห็นชอบจากวิศวกร  ข้อความเพิ่มเติมที่เป็นประโยชน์ 1) ในหัวข้อที่ 6.1 การว่าจ้างพนักงานและแรงงาน เพิ่ม ข้ อ ความว่ า “ผู้ รั บ จ้ า งได้ รั บ การสนั บ สนุ น ในการ ปฏิ บั ติ ง านโดยว่ า จ้ า งพนั ก งาน และแรงงานที่ มี คุ ณ สมบั ติ แ ละประสบการณ์ ที่ เ หมาะสม จาก ภายในประเทศ” 2) การเพิ่ ม เติ ม หั ว ข้ อ ที่ 6.2 ว่ า ด้ ว ยอั ต ราค่ า จ้ า งและ เงื่ อ นไขของแรงงาน เพื่ อ ท าให้ พ นั ก งานทราบว่ า มี ภาระผู ก พั น ที่ ต้ อ งจ่ า ยภาษี เพื่ อ น าไปสนั บ สนุ น ปรับปรุงความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 3) การเพิ่มเติมหัวข้อที่ 6.23 ว่าด้วยการบันทึกการว่าจ้าง แรงงาน ซึ่งจะเป็นประโยชน์กับ ผู้ รับจ้า งในการเก็บ บันทึกการจ้างงาน 4) เพิ่มเติมเนื้อหาของข้อย่อยใหม่ด้านล่าง ลงในหัวข้อที่ 6.12-6.22:  แรงงานเด็ก  การจ้างงานที่ต่างประเทศ  การจัดหาน้าประปา  พิธีศพ  ข้อย่อยใหม่ในหัวข้อที่ 6: 1) บุคลากรจากต่างประเทศ (6.12) 2) การจัดหาเครื่องบริโภค (6.13)

6-5


FIDIC PINK BOOK 3) การจัดหาน้าประปา (6.14) 4) มาตรการป้องกัน กาจัดปลวกและแมลง (6.15) 5) สุรา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือยาเสพติด (6.16) 6) อาวุธ และกระสุน (6.17) 7) เทศกาล และประเพณีทางศาสนา (6.18) 8) พิธีศพ (6.19) 9) ข้อห้ามการบังคับขู่เข็ญแรงงาน (6.20) 10) ข้อห้ามการใช้งานที่เป็นอันตรายกับแรงงานเด็ก (6.21) 11) บันทึกการจ้างงานของแรงงาน (6.22)  ความเท่าเทียมกันมากขึ้นของผู้รับจ้าง 1) ในรายละเอียดที่เป็นความลับ คาว่า "ผู้รับจ้าง" ถูก แทนที่ ด้วย "บุค ลากรของผู้ รั บจ้า งและผู้ ว่า จ้าง" เพื่อให้มีความเท่าเทียมกันมากขึ้น 2) ในการปฏิบัติตามกฎหมาย a) ใบขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ในปัจจุบันเป็น ความรับผิดชอบของผู้ว่าจ้าง b) “…ยกเว้นในกรณีที่ผู้รับจ้างถูกขัดขวางที่จะทา ให้ บ รรลุ ก ารปฏิ บั ติ ง านเหล่ า นี้ แ ละแสดง หลักฐานให้เห็นถึงความพยามยามตั้งใจแล้ว” 3) ในหัวข้อที่ 2.1 สิทธิในการเข้าไปในพื้นที่หน้างาน ก่อสร้าง มีเพิ่มเติมคาว่า "โดยไม่มีการขัดขวาง" เพื่อให้ผู้รับจ้างสามารถเข้าไปได้สะดวกขึ้น

6-6


FIDIC PINK BOOK  ความเท่าเทียมกันมากขึ้นของผู้ว่าจ้าง 1) โดยการเพิ่มเติมคาว่า “ต้องมีใบแจ้งเตือนโดยเร็ว ที่สุดเท่าที่จะทาได้ และไม่เกิน 28 วันหลังจากผู้ ว่ า จ้ า งได้ เ ริ่ ม ทราบ...” ลงในหั ว ข้ อ 2.5 การ เรียกร้องสิทธิ์ของผู้ว่าจ้าง ซึ่งทาให้กระบวนการ เรี ย กร้ อ งสิ ท ธิ์ ของผู้ ว่ า จ้ า งและผู้ รั บ จ้า ง มี ค วาม คล้ายคลึงกันมาก 2) อย่างไรก็ตาม ผู้ว่าจ้างมักไม่ค่อยทาการเรียกร้อง สิทธิ์  คาจากัดความ “ธนาคารและผู้กู้”  การเรียกร้อง  เอกสารประกวดราคา จะบอกเวลา สถานะและ เงื่อนไขทั่วไป  ธนาคารจะตรวจสอบการใช้เงินที่เบิกจากธนาคารของ ผู้กู้  อานาจหน้าที่ของวิศวกร - ถ้านายจ้างต้องการเปลี่ยนวิศวกร จะต้องแจ้งให้ ทราบอย่างน้อย 21 วัน - ชี้แจงอานาจหน้าที่ของวิศวกรโดยละเอียด ชัดเจน ในสิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น กรณี ผู้ ว่ า จ้ า งมี ก ารเปลี่ ย นแปลง วิศวกรเพื่อผลการขออนุมัติเกี่ยวกับการเงินและ การขอขยายเวลาจากผู้ว่าจ้าง  บทบาทของวิศวกร 1) ผู้ว่าจ้างอาจเปลี่ยน-ลดอานาจวิศวกร 2) วิศวกรต้องได้รับการยินยอมจากนายจ้า งก่อน ทางาน

6-7


FIDIC PINK BOOK  การขอขยายเวลาและค่าใช้จ่ายทีอ่ าจเพิ่มขึ้น  เหตุผ ลและข้อยกเว้นในการขอขยายเวลา วิศ วกรต้อ งตรวจสอบตามเหตุอันควรและ ความจาเป็น  รูปแบบและวิธีการเพิ่มค่าใช้จ่าย  การอนุมัติตามข้อเสนอของผู้รับจ้าง  สกุลเงินที่ต้องจ่าย 3) การตัดสินใจต้องดาเนินการภายใน 28 วัน ถ้า วิศวกรไม่ได้รายงานตามเวลาที่กาหนด  ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน - อาจมากน้อยตามที่วิศวกรกาหนด  ความเสียหายจากการทางาน - ในหัวข้อ (15.6) ในกรณีที่ผู้รับจ้างทาให้ เกิดความเสียหาย - การสมรู้ ร่ ว มคิ ด ฉ้ อ โกง ผู้ ว่ า จ้ า งอาจ พิจารณาบอกยกเลิกสัญญาได้  การคัดเลือกผู้รับจ้างช่วง - การเสนอชื่อผู้รับจ้างช่วง จะต้องมีรายชื่อ ในสัญญาของการประกวดราคางาน  ระบบการเงินของผู้ว่าจ้าง - ผู้ว่าจ้างจะต้องแจ้งให้ผู้รับจ้างทราบ กรณี ธนาคารระงับการเบิกจ่า ยตามข้อ 16.1 และ 16.2 ด้ ว ยเพื่ อ ผู้ รั บ จ้ า งจะได้ ห ยุ ด หรือเลื่อนการทางานออกไป - ผู้ ว่ า จ้ า งจะพิ จารณาระบบการเงิ น หลั กฐานทางการเงิ น เพื่ อ สามารถที่ จะ จ่ายได้ตรงต่อเวลา 6-8


FIDIC PINK BOOK  การตรวจสอบ - ผู้ ว่ า จ้ า งจะต้ อ งให้ สิ ท ธิ ผู้ รั บ จ้ า งในการ ตรวจสอบสถานะทางการเงินพอสมควร ตามสิทธิที่ควรได้รับ  การอานวยความสะดวก - ตรวจสอบดูแลตามที่ระบุในสัญญา สิทธิ ในการได้ รั บ การคุ้ ม ครองตลอดจนสิ่ ง อานวยความสะดวก ความปลอดภัย และ ความเสี่ยง  การเริ่มงาน - ความพร้อม  เงื่อนไขและข้อบังคับก่อนเริ่มงาน - ลงนามรับข้อตกลงในสัญญา - เตรียมหลักฐานทางการเงินของผู้ว่าจ้าง - ควบคุมดูแลหน้างาน - การจ่ายเงินสารองแก่ผู้รับจ้าง  สิทธิในการหยุดทางานของผู้รับจ้าง - เป็ น การป้ อ งกั น และให้ ก ารคุ้ ม ครอง เพิ่มเติมแก่ผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างมีสิทธิหยุด งาน หรือลดปริมาณงาน ถ้ า ธ น า ค า ร ระงับการเบิกจ่า ยเงินไม่ น้อ ยกว่า 7 วัน หลั ง จากที่ ผู้ รั บ จ้ า งได้ รั บ การแจ้ ง จาก ธนาคาร  สิทธิในการจัดส่งวัสดุ เมื่อเริ่มงาน เมื่อได้รับการส่งมอบสถานที่ เมื่อมีการจ่ายเงิน เมื่อผู้รับจ้างเป็นผู้จ่าย

6-9


FIDIC PINK BOOK

FREE DOWNLOAD Download Free and try the FIDIC Construction Contract MDB Harmonised June 2010 Ed eBook version http://fidic.org/node/5685 FIDIC has just released a special eBook version of the Construction Contract MDB Harmonised June 2010 Ed (the Pink book) in honour of the upcoming Multilateral Development Bank Conference in Brussels, 2-3 June 2014. The new eBook has improved interactivity which will allow you to scroll through the document easier using a navigation menu plus open referenced clauses and sub clauses in a pop up environment. You also have access to definition of all referenced terms. To correctly see this E-book, you need to open this page in an iPad/tablet environment and click on the link below: Download with your iPad/tablet the FIDIC Construction Contract MDB Harmonised June 2010 Ed eBook version. Table of Content FIDIC Construction Contract MDB Harmonised 1. 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 1.9 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14

GENERAL PROVISIONS Definitions Interpretation Communications Law and Language Priority of Documents Contract Agreement Assignment Care and Supply of Documents Delayed Drawings or Instructions Employer’s Use of Contractor’s Documents Contractor’s Use of Employer’s Documents Confidential Details Compliance with Laws Joint and Several Liability

2

THE EMPLOYER, FIDIC Construction Contract MDB Harmonised Right of Access to the Site

2.1

6-10


FIDIC PINK BOOK

2.2 2.3 2.4 2.5

Permits, Licenses or Approvals Employer’s Personnel Employer’s Financial Arrangements Employer’s Claims

3 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5

THE ENGINEER Engineer’s Duties and Authority Delegation by the Engineer Instructions of the Engineer Replacement of the Engineer Determinations

4 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8 4.9 4.10 4.11 4.12 4.13 4.14 4.15 4.16 4.17 4.18 4.19 4.20 4.21 4.22 4.23 4.24

THE CONTRACTOR, FIDIC Construction Contract MDB Harmonised Contractor’s General Obligations Performance Security Contractor’s Representative Subcontractors Assignment of Benefit of Subcontract Co-operation Setting Out Safety Procedures Quality Assurance Site Data Sufficiency of the Accepted Contract Amount Unforeseeable Physical Conditions Rights of Way and Facilities Avoidance of Interference Access Route Transport of Goods Contractor’s Equipment Protection of the Environment Electricity, Water and Gas Employer’s Equipment and Free-Issue Material Progress Reports Security of the Site Contractor’s Operations on Site Fossils

5 5.1 5.2 5.3 5.4

NOMINATED SUBCONTRACTORS Definition of “nominated Subcontractor” Objection to Nomination Payments to nominated Subcontractors Evidence of Payments

6-11


FIDIC PINK BOOK

6 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 6.7 6.8 6.9 6.10 6.11

STAFF AND LABOUR, FIDIC Construction Contract MDB Harmonised Engagement of Staff and Labour Rates of Wages and Conditions of Labour Persons in the Service of Others Labour Laws Working Hours Facilities for Staff and Labour Health and Safety Contractor’s Superintendence Contractor’s Personnel Records of Contractor’s Personnel and Equipment Disorderly Conduct

7 7.1 7.2 7.3 7.4 7.5 7.6 7.7 7.8

PLANT, MATERIALS AND WORKMANSHIP Manner of Execution Samples Inspection Testing Rejection Remedial Work Ownership of Plant and Materials Royalties

8 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 8.6 8.7 8.8 8.9 8.10 8.11 8.12

COMMENCEMENT, DELAYS AND SUSPENSION Commencement of Works Time for Completion Programme Extension of Time for Completion Delays Caused by Authorities Rate of Progress Delay Damages Suspension of Work Consequences of Suspension Payment for Plant and Materials in Event of Suspension Prolonged Suspension Resumption of Work

9

TESTS ON COMPLETION, FIDIC Construction Contract MDB Harmonised Contractor’s Obligations Delayed Tests

9.1 9.2

6-12


FIDIC PINK BOOK

9.3 9.4

Retesting Failure to Pass Firsts on Completion

10 10.1 10.2 10.3 10.4

EMPLOYER’S TAKING OVER Taking Over of the Works and Sections Taking Over of Parts of the Works Interference with Firsts on Completion Surfaces Requiring Reinstatement

11 11.1 11.2 11.3 11.4 11.5 11.6 11.7 11.8 11.9 11.10 11.11

DEFECTS LIABILITY Completion of Outstanding Work and Remedying Defects Cost of Remedying Defects Extension of Defects Notification Period Failure to Remedy Defects Removal of Defective Work Further Firsts Right of Access Contractor to Search Performance Certificate Unfulfilled Obligations Clearance of Site

12 12.1 12.2 12.3 12.4

MEASUREMENT AND EVALUATION Works to be Measured Method of Measurement Evaluation Omissions

13 13.1 13.2 13.3 13.4 13.5 13.6 13.7 13.8

VARIATIONS AND ADJUSTMENTS Right to Vary Value Engineering Variation Procedure Payment in Applicable Currencies Provisional Sums Daywork Adjustments for Changes in Legislation Adjustments for Changes in Cost

14 14.1 14.2 14.3 14.4 14.5

CONTRACT PRICE AND PAYMENT The Contract Price Advance Payment Application for Interim Payment Certificates Schedule of Payments Plant and Materials intended for the Works

6-13


FIDIC PINK BOOK

14.6 14.7 14.8 14.9 14.10 14.11 14.12 14.13 14.14 14.15

Issue of Interim Payment Certificates Payment Delayed Payment Payment of Retention Money Statement at Completion Application for Final Payment Certificate Discharge Issue of Final Payment Certificate Cessation of Employer’s Liability Currencies of Payment

15 15.1 15.2 15.3 15.4 15.5

DEFAULT OF CONTRACTOR Notice to Correct Termination by Employer Valuation at Date of Termination Payment after Termination Employer’s Entitlement to Termination for Convenience

16 16.1 16.2 16.3 16.4

DEFAULT OF EMPLOYER, FIDIC Construction Contract MDB Harmonised Contractor’s Entitlement to Suspend Work Termination by Contractor Cessation of Work and Removal of Contractor’s Equipment Payment on Termination

17 17.1 17.2 17.3 17.4 17.5 17.6

RISK AND RESPONSIBILITY Indemnities Contractor’s Care of the Works Employer’s Risks Consequences of Employer’s Risks Intellectual and Industrial Property Rights Limitation of Liability

18 18.1 18.2 18.3 18.4

INSURANCE General Requirements for Insurances Insurance for Works and Contractor’s Equipment Insurance against Injury to Persons and Damage to Property Insurance for Workers

19 19.1 19.2 19.3 19.4

FORCE MAJEURE Definition of Force Majeure Notice of Force Majeure Time of Notice Duty to Minimise Delay

6-14


FIDIC PINK BOOK

19.5 19.6 19.7

Consequences of Force Majeure Optional Termination, Payment and Release Release from Performance under the Law

20 20.1 20.2 20.3 20.4 20.5 20.6 20.7 20.8

CLAIMS, DISPUTES AND ARBITRATION Contractor’s Claims Appointment of the Dispute Adjudication Board Failure to Agree Dispute Adjudication Board Obtaining Dispute Adjudication Board’s Decision Amicable Settlement Arbitration Failure to Comply with Dispute Adjudication Board’s Decision Expiry of Dispute Adjudication Board’s Appointment

************

6-15



FIDIC GREEN BOOK Short Form of Contract (Green Book) First Edition 1999 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มนี้ เป็นเงื่อนไขสัญญา ส าหรั บ โครงการขนาดเล็ ก มี มู ล ค่ า ของงาน ป ร ะ ม า ณ ~ 0.5 million $ (15 ล้ า น บ า ท ) ระยะเวลาก่อสร้างประมาณ 6 เดือน ลักษณะพื้นฐาน และ การใช้งาน สาระสาคัญและการนาไปใช้งาน • ขอบเขตของการนาไปใช้งานเหมาะสมสาหรับโครงการที่ มีลักษณะดังนี้ - มูลค่างานโครงการประมาณ 16.50 ล้านบาท (0.5 million$) - งานโครงการไม่ซับซ้อน และมีเนื้องานซ้า ๆ กัน - ระยะเวลาดาเนินโครงการไม่นาน (ประมาณ 6 เดือน) อย่างไรก็ตาม โครงการที่มีลักษณะไม่ตรงกับเงื่อนไขข้างต้น บ้างยังสามารถนาไปใช้ได้ • สัญญาข้อตกลงฉบับนี้ - ค่อนข้างยืดหยุ่นและง่ายต่อการนาไปใช้งาน - เหมาะสาหรับงานวิศวกรรมทุกประเภทและงาน ก่อสร้างอาคาร • เหมาะสาหรับโครงการที่ออกแบบร่วมกันระหว่างผู้ว่าจ้าง และผู้รับจ้าง

7-1


FIDIC GREEN BOOK ภายใต้เงื่อนไขการแบ่งความรับผิดชอบระหว่างผู้ว่าจ้างและ ผู้รับจ้าง • วิศวกร (The Engineer) - ไม่มีปรากฏในสัญญาข้อตกลง Green Book (โดยทั่วไป ไม่จาเป็นต้องมีวศิ วกร) - อย่างไรก็ตาม หากมีเรื่องที่เกี่ยวข้อง ผู้ว่าจ้างอาจจัดให้ มีได้ • เงื่อนไขเฉพาะของสัญญา - ในสั ญ ญาข้อ ตกลงฉบับ นี้ จะไม่ มี เ งื่อ นไขเฉพาะของ สั ญ ญา แต่ ส ามารถเพิ่ ม เติ ม เงื่ อ นไขที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ รายละเอียดเฉพาะด้านหรือการพิจารณาข้อพิพาทได้ สัญญา FIDIC Green Book (1999) (หมวดย่อยที่ 1.1.1 และภาคผนวก) (a) บันทึกข้อตกลง (b) เงื่อนไขเฉพาะของสัญญา (c) เงื่อนไขทั่วไปของสัญญา (d) รายละเอียดประกอบแบบ (e) แบบแปลน (f) แบบแปลนประกวดราคาของผูร้ ับจ้าง (g) เอกสารปริมาณงาน (h) ……… (i) ………

7-2


FIDIC GREEN BOOK หมวดหลักของสัญญา FIDIC Green Book (1999) • สัญญาข้อตกลงเวอร์ชั่นนี้มีเพียง 15 หมวด (ส่วนสัญญา ข้อตกลง RB, YB และ SB มี 20 หมวด) • หมวดหลัก ดังนี้ (1) การเตรียมงานทั่วไป (2) ผู้ว่าจ้าง (3) ตัวแทนผู้ว่าจ้าง (4) ผู้รับจ้าง (5) งานออกแบบโดยผู้รับจ้าง (6) หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ว่าจ้าง (7) ระยะเวลาแล้วเสร็จของสัญญา (8) การรับมอบงาน (9) การแก้ไขข้อบกพร่อง (10) งานเพิ่ม/ลด และการ Claims (11) มูลค่างานตามสัญญาและการเบิกจ่ายค่างาน (12) การผิดสัญญา (13) ความเสี่ยงและความรับผิดชอบ (14) การประกันภัย (15) กรณีพิพาทและข้อโต้แย้ง สาระสาคัญที่มคี วามแตกต่างกันระหว่างสัญญาข้อตกลง RB, YB และ SB กับ GB ดังนี้ หมวดที่ 3 RB, YB : วิศวกร SB : คณะผู้บริหารของผูว้ ่าจ้าง GB : ตัวแทนผู้ว่าจ้าง หมวดที่ 5 RB : การแต่งตั้งผู้รับจ้างช่วง 7-3


FIDIC GREEN BOOK YB, SB : การออกแบบ GB : การออกแบบโดยผู้รับจ้าง หมวดที่ 6 RB, YB, SB : พนักงานและแรงงาน (ใน GB ไม่มีหมวดนี)้ GB : ความรับผิดชอบของผู้ว่าจ้าง (คล้าย กับ RB, YB, SB หมวด 17.3 “ความ เสี่ ย งของผู้ ว่ า จ้ า ง” แต่ มี เ นื้ อ หา ครอบคลุมกว้างกว่า) หมวดที่ 7 RB, YB, SB : โรงงาน, วัสดุ และฝีมือแรงงาน (ไม่มี หมวดนี้ใน GB แต่หมวดที่ 9 ของ GB มีการจัดการในเรื่องนี้บางส่วน) GB : ระยะเวลาแล้วเสร็จของสัญญา คล้ายกับ RB, YB, SB หมวดที่ 8) หมวดที่ 8 RB, YB, SB : การเริ่ ม งาน, ความล่ า ช้ า และการ ขยายเวลา (ตรงกับหมวดที่ 7 ของ GB) GB : การรับมอบงาน (คล้ายกับหมวดที่ 10 ใน RB, YB, SB แต่ GB กระชับ กว่าและไม่ซับซ้อน) หมวดที่ 9 RB, YB, SB : การทดสอบเมื่องานแล้วเสร็จ (ใน GB ไม่มีหมวดนี)้

7-4


FIDIC GREEN BOOK GB

:

หมวดที่ 10 RB, YB, SB : GB

:

หมวดที่ 11 RB, YB, SB : GB

:

หมวดที่ 12 RB : YB, SB : GB

:

หมวดที่ 13 RB, YB, SB :

การแก้ไขข้อบกพร่อง (คล้ายกับ RB, YB, SB หมวดที่ 7 และ 11 แต่ ขั้นตอนง่ายกว่า) การรับมอบงานของผู้ว่าจ้าง (มีอยู่ใน หมวดที่ 2 ของ GB แ ต่ วิ ธี ก า ร ปฏิบัติง่ายกว่า) งานเพิ่ม/ลด และการ Claim (คล้าย กั บ RB, YB, SB หมวดที่ 13 และ 20 แต่ขั้นตอนง่ายกว่า) หน้ า ที่ ก ารแก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ ง (ใน หมวดที่ 9 ของ GB มีบางส่วน) มู ล ค่ า ง า น ตา มสั ญญา แ ละการ เบิ ก จ่ า ยค่ า งาน (คล้ า ยกั บ RB, YB, SB หมวดที่ 14 แต่มีเนื้อหากระชับ และง่ายกว่า) วิธีการวัดและการประเมิน การทดสอบหลังจากงานแล้วเสร็จ (มี กาหนดให้ดาเนินการใน GB) การผิดสัญญา (คล้ายกับ RB, YB, SB หมวดที่ 15 และ 16 แต่ ขั้ น ตอน กระชับและง่ายกว่ามาก) งานเปลี่ยนแปลงและแก้ไขปรับปรุง (หมวดที่ 10 ใน GB มีบางส่วน) 7-5


FIDIC GREEN BOOK GB

:

หมวดที่ 14 RB, YB, SB : GB

:

หมวดที่ 15 RB, YB, SB : GB

:

ความเสี่ยงและความรับผิดชอบ (คล้ายกับ RB, YB, SB หมวดที่ 17 และ 19 แต่กระชับและง่ายกว่า) มูลค่างานก่อสร้างและการเบิกเงินค่า งาน (หมวดที่ 11 ใน GB) การประกันภัย (คล้ายกับ RB, YB, SB หมวดที่ 18 แต่กระชับและง่าย กว่า) การยกเลิกสัญญาโดยผูว้ ่าจ้าง (หมวดที่ 12 ใน GB) การแก้ปัญหาข้อโต้แย้ง (คล้ายกับ RB, YB, SB หมวดที่ 20.2-20.8 แต่ กระชับและง่ายกว่า)

หมวดที่มีเนื้อหาตรงกันระหว่างสัญญาข้อตกลง RB, YB, SB กับ GB

RB, YB, SB

GB

หมวดที่ 16

หมวดที่ 12

หมวดที่ 17

หมวดที่ 13

หมวดที่ 18

หมวดที่ 14

หมวดที่ 19

หมวดย่อยที่ 6.1 (i) และ 13.2

หมวดที่ 20

หมวดที่ 10 และ 15

7-6


FIDIC GREEN BOOK ตารางเปรียบเทียบหมวดหลักที่ตรงกันระหว่างสัญญา FIDIC GB (1999) กับ RB, YB, SB GB Clause RB

YB

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

SB

Clause 1

x

2

x

3

Not Included in the GB 3 4

x x

5

Not Included in the GB 5

x

6

Not Included in the GB

7

x

8

x

9

Not Included in the GB

10

x

11

x

12

x 12

Not Included in the GB

13

x

14

x

15

x

16

x

17

x

18 19

x x

20

x x

x

คู่สัญญา บทบาทพื้นฐาน และภาระผูกพัน ผู้ว่าจ้างจะต้อง - จัดหาสถานที่ก่อสร้างและสิทธิในการเข้าถึง [เวลาแสดงใน ภาคผนวก] - ให้ความช่วยเหลือผู้รับจ้างในการยื่นขออนุญาตหรือการ อนุมัติต่างๆ 7-7


FIDIC GREEN BOOK - ให้อานาจบุคคลกระทาการในนามผู้วา่ จ้าง - จ่ายเงินผูร้ ับจ้างภายใน 28 วันหลังจากที่ผรู้ ับจ้างได้ส่ง เอกสาร ผู้ว่าจ้างอาจจะต้อง - แต่งตั้งบริษัทหรือบุคคลกระทาการในฐานะตัวแทนผู้ ว่าจ้าง [เช่น มอบหมายหน้าที่ และอานาจ] - ออกคาสั่งการเปลี่ยนแปลง ความรับผิดชอบของผูว้ ่าจ้าง a) ถึง e) : สงคราม กบฏ (ภายในประเทศ) จลาจล (ส่งผลกระทบต่อ สถานที่ก่อสร้าง และการทางาน) การแผ่รังสี แรงดันคลื่นมหาสมุทร f) การใช้งานและครอบครองงาน g) ออกแบบส่วนใดส่วนหนึ่งของงาน (โดยผู้วา่ จ้าง) h) การปฏิบัติการของกองกาลัง (ซึ่งผู้รับจ้างทีม่ ปี ระสบการณ์ไม่สามารถ ที่จะคาดการณ์ได้) i) เหตุสุดวิสยั j) การหยุดชั่วคราว (โดยผู้ว่าจ้าง – ไม่ได้เนื่องมาจากผู้รับจ้าง) k) ความล้มเหลวต่างๆ (ของผู้ว่าจ้าง) l) อุปสรรค/เงื่อนไขทางกายภาพ (นอกเหนือจากภูมิอากาศ) ผู้รับจ้างจะต้อง - ดาเนินงาน (อย่างถูกต้อง และเป็นไปตามสัญญา) - ดาเนินการออกแบบ (ดังขอบเขตที่กาหนดในภาคผนวก) - ให้การดูแล จัดหาแรงงาน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักร (ซึ่ง วัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักร จะถือว่าเป็นทรัพย์สินของ ผู้ว่า จ้าง)

7-8


FIDIC GREEN BOOK - ยื่นรายชื่อของตัวแทนผู้รับจ้างเพื่อขอความเห็นชอบจาก ผู้ว่าจ้าง - ปฏิบัติตามคาสั่งที่ออกโดยผู้ว่าจ้าง (ในแง่การดาเนินงาน รวมทั้งการระงับงานทั้งหมดหรือบางส่วน) - ให้หลักประกันการปฏิบั ติงานตามสัญญา (ถ้ามีระบุไว้ใน ภาคผนวก) - ไม่ว่าจ้างต่อผู้รับจ้างช่วงทั้งหมดของงาน (หรือว่าจ้างต่อ ผู้รับจ้างช่วงโดยไม่ได้รับความเห็นชอบของผู้ว่าจ้าง) - เริ่มดาเนินงานในวันเริ่มต้นของงานที่ระบุและดาเนินการ อย่างรวดเร็วและแล้วเสร็จภายในเวลากาหนดแล้วเสร็จ ของงาน - จ่ายค่าชดเชยถ้างานล่าช้าโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร - แก้ไขงานบกพร่องอันเกิดจากการออกแบบของผู้รับจ้าง วัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักร หรือฝีมือแรงงานที่ไม่ได้ เป็นไป ตามสัญญา - มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบทั้ ง หมดต่ อ การดู แ ลรั ก ษางานที่ ไ ด้ ดาเนินการตั้งตาวันเริ่มต้นงานจนกระทั่งถึงวันที่ผู้ว่าจ้าง ออกใบแจ้งการรับมอบงาน - ทาให้มีผลบังคับใช้และรักษาสภาพของการประกันภัย ใน ชื่อร่วมกันของคู่สญ ั ญา (โดยครอบคลุม) - การสู ญ เสี ย และความเสี ย หายต่ อ งาน วั ส ดุ อุ ป กรณ์ เครื่องจักรของผู้รับจ้าง - ภาระผูกพันของคู่สัญญาทั้งคู่สาหรับการสูญเสียและความ เสียหายต่องาน การตายหรือการบาดเจ็บต่อบุคคลที่สาม - ภาระผู ก พั น ของคู่ สั ญ ญาทั้ ง คู่ ส าหรั บ การตายหรื อ การ บาดเจ็ บ ต่ อ บุ ค ลากรของผู้ รั บ จ้ า ง – ยกเว้ น จากการ ประมาทเลินเล่อของผู้ว่าจ้างและตัวแทนผู้ว่าจ้างต่าง ๆ 7-9


FIDIC GREEN BOOK ตัวแทนผู้ว่าจ้าง - ไม่ได้มีการกล่าวถึงวิศวกรในเงื่อนไขทั่วไปของสัญญา - ค าถามคื อ หลั งจากนั้นต่อ ไปสั ญ ญาและโครงการจะ บริหารกันต่อไปอย่างไร? ข้อสมมุติฐานพื้นฐาน : ผู้ว่าจ้างบริหารจัดการการดาเนินงานของสัญญา – อย่างไรก็ตามรายชื่อของตัวแทนผู้ว่าจ้างจะอยู่ในภาคผนวก ทางเลื อกที่ 1: ผู้ ว่า จ้า งอาจจะแต่งตั้งตัวแทน (ที่ ไ ม่ เ ป็นกลาง) – การ มอบหมายอานาจต้องเป็นที่รู้ทั่วกัน ทางเลือกที่ 2: ผู้ว่าจ้างอาจจะแต่งตั้งตัวแทน ทีเ่ ป็นกลาง และเป็นอิสระ “ เสมือน” วิศวกร พึงระลึกว่าต้องรวมเรื่องนีไ้ ว้ใน PCC คุณสมบัติทั่วไป (The simplified features) คานิยาม - ที่มีทั้งหมด 19 คาจากัดความในเล่มสีเขียว (เปรียบเทียบกับเล่ม สีแดงและเล่มสีเหลือง:58 ; เล่มสีเงิน : 52) - ผลที่ตามมาของการทาให้เรียบง่ายขึ้น เงือ่ นไข ดังต่อไปนี้ไม่ได้ กาหนดไว้(วิศวกรในหมวดอื่นๆ) “ ข้ อ ตกลงตามสั ญ ญา” “ การยื่ น ประมู ล ” “ภาคผนวกของการยื่ น ประกวดราคา” “ วิ ศ วกร” “ตั ว แทนผู้ รั บ จ้ า ง” “เวลาที่ เ ป็ น ฐาน” “ช่วงเวลาแจ้งงานบกพร่อง” “การยอมรับมูลค่าสัญญา” “ราคาตาม สั ญ ญา” “จ านวนเผื่ อ เหลื อ เผื่ อ ขาด” “หนั ง สื อ รั บ รองการจ่ า ยเงิน ” “ผลงาน” “การแยกส่วน” และอื่นๆ การเริ่มต้น

7-10

การเริ่มต้นโครงการเป็นสิ่งที่เรียบง่ายไปสู่ ขอบเขตที่ กว้างขวาง ลดจ านวน เอกสาร+ เร่ ง ขั้ น ตอนจากการเชิ ญ เข้ า ประกวดราคา ตลอดจนกระทั่งการเริ่มดาเนินงาน


FIDIC GREEN BOOK

เอกสารเบื้องต้นและการปรับใช้ เอกสารการประกวดราคา ผู้เข้าร่วมการประกวดราคา จดหมายตอบรับ ข้อตกลงตามสัญญา การแจ้งให้เริ่มงาน

เอกสารฉบับเดียวที่รวม - ข้อตกลง - ข้อเสนอ - การตอบรับ

อื่น ๆ

การเริ่มต้น

7-11


FIDIC GREEN BOOK การออกแบบ - คู่สัญญาต่างสามารถจัดหาแบบสาหรับการดาเนินงาน - โดยทั่วไปผู้ว่าจ้างจะจัดหาแบบสาหรับการดาเนินงาน - หากผู้รับจ้างจะจะจัดหาแบบ ต้องไประบุในภาคผนวก ในกรณีนี้ ต้องดาเนินตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

- คู่สัญญาที่ดาเนินการออกแบบ / จัดหาจักต้องรับผิดชอบต่อแบบ นั้น [ดูข้อย่อย 5.2 ในกรณีของ - ผู้รับจ้าง และข้อย่อย6.1(g) ในกรณีของผู้ว่าจ้าง - ผู้รับจ้างจักต้องรับผิดชอบต่อแบบประกวดราคาและแบบที่ได้ ดาเนินการออกแบบ รวมไปถึงการละเมิดสิทธิบตั รหรือลิขสิทธิ์ - ผู้ว่าจ้างจักต้องรับผิดชอบต่อข้อกาหนดรายการประกอบแบบ และแบบ [ดู ข้อ 1.1.2 , 1.1.3 และภาคผนวก] การจ่ายเงิน FIDIC Green Book มีความสะดวกและยืดหยุ่น เท่าที่วิธีการจ่ายเงินเข้า มาเกี่ยวข้อง

7-12


FIDIC GREEN BOOK การประเมินมูลค่าของผลงานได้ให้ไว้ในภาคผนวกโดยเลือกข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ - ราคาเหมารวม - ราคาเหมารวม พร้อมกับตารางราคาต่อหน่วย - ราคาเหมารวม พร้อมบัญชีแสดงปริมาณ - การวัดมูลค่าปริมาณใหม่ พร้อมกับบัญชีแสดงปริมาณการ ประกวดราคา - การชาระเงินคืนค่าใช้จ่าย ขั้นตอนการจ่ายเงิน - ผู้รับจ้างยื่นเอกสารขอเบิกเงิน (Statement) - ผู้ว่าจ้างเงินภายใน 28 วันตามจานวนเงินทีร่ ะบุในเอกสารขอเบิก เงิน หักออก: - เงินประกันผลงาน (ตามอัตราที่ให้ไว้ใน ภาคผนวก) - จานวนเงินที่ยังตกลงกันไม่ได้ / ผู้ว่าจ้างจะหักออก (ตาม เหตุผล) การจ่ายเงินงวดสุดท้าย: บัญชีสรุปมูลค่างานสุดท้ายภายใน 42 วันของ การสิ้นสุดของช่วงเวลาการแจ้งความชารุดบกพร่องหรือหลังจากการ แก้ไขงานชารุดบกพร่อง (อันไหนที่มาทีหลัง) ; การจ่ายเงิน : + 28 วัน เวลา ระยะเวลา และวันครบกาหนด เช่น จานวนวันครบกาหนด / เส้นตายภายใน 14 วัน มีระยะเวลาในการแจ้งการข้อเรียกร้อง อย่างไรก็ตาม คู่สัญญาจักต้อง แจ้ ง โดยเร็ ว ว่ า ได้ ต ระหนั ก ถึ ง กรณี ซึ่ ง อาจจะมี ผ ลกระทบท าให้ ก าร ดาเนินงานล่าช้าหรือยกข้อเรียกร้องสาหรับการจ่ายเงินเพิ่มเติม [แจ้ง เตือนเสียแต่เนิ่น ๆ] ข้อเรียกร้องและงานเปลี่ยนแปลงจักต้องนามาคานวณและยื่นภายใน 28 วัน (ของการออกคาสั่งหรือจากเหตุการณ์นั้น) 7-13


FIDIC GREEN BOOK ระยะเวลาสาหรับการแจ้งงานชารุดบกพร่องกาหนดไว้ 365 วัน การรับมอบงาน

การแก้ไขงานบกพร่อง

- หากผู้ รั บ จ้ า งแก้ ไ ขงานบกพร่ อ งไม่ แ ล้ ว เสร็ จ ภายใน ระยะเวลาที่เหมาะสม ผู้ว่าจ้างจะดาเนินงานตามความ จาเป็น โดยคิดเงินจากผู้รับจ้างต่อไป - หากงานบกพร่องไม่ได้เกิดจากผู้รับจ้าง จะถือว่าเป็นงาน เปลี่ยนแปลง (ผู้รับจ้างจะคิดเงินจากผู้รับจ้างต่อไป)

7-14


FIDIC GREEN BOOK งานเปลี่ยนแปลงและข้อเรียกร้อง สิทธิของผู้รับจ้างในการเรียกร้อง : ถ้าความรับผิดชอบของผู้ว่าจ้างคน หนึ่งคนใดเป็นผล การแจ้ง : โดยไม่รอช้า ราคา / มูลค่า จะต้องยื่นภายใน 28 วัน หากว่ า จะยั ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอี ก ดั ง นั้ น จะถื อ เป็ น งาน เปลี่ยนแปลงต่อไป ไม่มีกาหนดเส้นตายสาหรับผู้ว่าจ้างที่จะประเมินผล ยอมรับ หรือ ปฏิเสธในการยื่นของผู้รบั จ้าง ข้อพิพาท ข้อพิพาทที่ตกลงกันไม่ได้อย่างฉันท์มิตรจะต้องนาไปสู่ผู้วินิจฉัยข้อพิพาท – โดยกาหนดชื่อ/เห็นด้วยร่วมกันภายใน 14 วัน ผู้ วิ นิ จ ฉั ย ข้ อ พิ พ าทจะต้อ งส่ งค าวินิจ ฉัย ภายใน 56 วั น ของการรั บข้อ พิ พ าทในการลงมติ (หรื อ ข้อ ตกลงของผู้วินิจฉัยข้อพิพาทที่จะมี ผล – แล้วแต่กรณีใดจะเกิดทีหลัง) คู่กรณีใดๆไม่เห็นด้วยต่อคาวินิจฉัยของผู้วินิจฉัยข้อพิพาทอาจจะอุทธรณ์ ภายใน 28 วัน ในกรณีนี้ผู้ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทเพียงท่านเดียวสามารถแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง ได้ กฎระเบียบ ภาษา และสถานที่ ของการไกล่เกลี่ยจะให้ไว้ในภาคผนวก ************ 7-15



FIDIC WHITE BOOK Client/Consultant - Model Services Agreement (White Book) Third Edition 1998 Fourth Edition 2006 เอกสารเงื่อนไขสัญญาเล่มนี้เป็นเล่มพิเศษเป็น รูปแบบของข้อตกลงระหว่างผู้ว่าจ้างและที่ ปรึกษา ลักษณะพื้นฐาน และ การใช้งาน

เจ้ าของงาน

ทีป่ รึกษา

>> >> >> >> >> >>

งานศึกษา งานออกแบบ งานบริหารโครงการ งานที่ปรึกษา งานบริหารจัดการ งานอื่นๆ

8-1


FIDIC WHITE BOOK ขอบเขตการนามาใช้งาน รูปแบบข้อตกลงการให้บริการมีความเหมาะสมสาหรับ  โครงการออกแบบซึ่งมี ทีมงานออกแบบโดยเจ้าของงาน หรือ  โครงการที่ ที ม งานออกแบบโดยผู้ รั บ จ้ า ง (โครงการ ออกแบบและก่อสร้าง) รวมถึง  โครงการระหว่างประเทศ หรือ  โครงการในประเทศ ข้อย่อย 1.1.1 และข้อตกลง ก) จดหมายใด ๆ ที่เสนอโดยที่ปรึกษา ข) จดหมายใด ๆ ที่ได้รับการยอมรับจากเจ้าของงาน ค) รูปแบบข้อตกลงการให้บริการของเจ้าของงาน/ที่ปรึกษา (เงื่อนไขทั่วไปและเงื่อนไขเฉพาะของสัญญา) ง) ภาคผนวก ภาคผนวก 1: ขอบเขตของการบริการ ภาคผนวก 2: บุคลากร อุปกรณ์ สิ่งอานวยความสะดวก และบริการของที่จัดหาให้โดยจากเจ้าของงาน ภาคผนวก 3: ค่าจ้างและการจ่ายเงิน ภาคผนวก 4: ตารางเวลาสาหรับการให้บริการ เงื่อนไขเฉพาะของสัญญา เป็นสิ่งจาเป็น เพื่อที่จะกาหนดรายละเอียดเฉพาะของการ บริการ ข้อมูลโดยเฉพาะของโครงการในข้อตกลง เช่น 8-2


FIDIC WHITE BOOK ส่วนที่ 1 นิยาม ภาษา หนังสือบอกกล่าว ค่าตอบแทน ความรับผิดชอบ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท และ ส่วนที่ 2 การเปลี่ยนแปลงงานใด ๆ ข้อละเว้น และ ข้อเพิ่มเติมในเงื่อนไขทั่วไปของสัญญาตามแต่ละกรณี รูปแบบข้อตกลงการให้บริการของผู้ว่าจ้าง/ที่ปรึกษา เงื่อนไขทั่วไปมี 8 ข้อหลัก ดังนี้ 1. ข้อกาหนดทั่วไป 2. ผู้ว่าจ้าง 3. ที่ปรึกษา 4. การเริ่มงาน การเสร็จงาน การเปลี่ยนแปลงงาน การบอก เลิกสัญญา 5. การจ่ายเงิน 6. ความรับผิดชอบ 7. การประกันภัย 8. ข้อพิพาทและอนุญาโตตุลาการ คู่สัญญา เจ้าของงาน: นิติบุคคลที่วา่ จ้างที่ปรึกษา มีชื่ออยู่ในสัญญาก่อสร้างว่า “ผู้ว่าจ้าง” ที่ปรึกษา: บริษัท (อิสระ) ที่เป็นมืออาชีพหรือบุคคล (อิสระ) เจ้าของงานจะต้อง: 8-3


FIDIC WHITE BOOK  ให้ข้อมูลทั้งหมดกับที่ปรึกษาซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการ ให้ บ ริ ก าร (โดยไม่ มี ค่ า ใช้ จ่ า ยและภายในเวลาที่ เหมาะสม)  ตัดสินใจในทุกเรื่องที่อ้างถึงเจ้าของงานโดยการเขียน (ภายในเวลาที่เหมาะสม)  จั ด หาอุ ป กรณ์ แ ละสิ่ ง อ านวยความสะดวกและให้ คาปรึกษา + บุคคลากรของเจ้าของงาน ตามที่ระบุไว้ ในภาคผนวก 2  ส่งหลักฐานที่เกี่ยวกับการเตรียมการทางการเงินให้ที่ ปรึกษา (ภายใน 28 วันนับจากวันที่ได้รับคาขอของที่ ปรึกษา)  เตรียมการสาหรับการจัดหาบริการจากคนอื่น ๆ ตาม ภาคผนวก 2 เจ้าของงานจะต้องช่วยที่ปรึกษาในการ:  ได้รับ/จัดเตรียมเอกสารที่จาเป็นในการเข้าพัก การ ทางานและการออกจากประเทศ  จัดหาเส้นทางที่เข้าถึงโดยไม่มีอุปสรรค เมื่อใดก็ตามที่ จาเป็นสาหรับการให้บริการ  การนาเข้า ส่งออก และการนาของเข้า /ออกจากด่าน ศุ ล กากร ทั้ ง ส่ ว นที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ส่ ว นบุ ค คลและ สินค้าที่จาเป็นสาหรับการให้บริการ  การส่งกลับในกรณีฉุกเฉิน  การอนุญาตให้สามารถนาเข้ าเงินตราต่างประเทศที่ ได้รับของที่ปรึกษาจาก  การดาเนินการให้บริการ 8-4


FIDIC WHITE BOOK  การให้การเข้าถึงองค์กร เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลที่ จาเป็นสาหรับการให้บริการ เจ้าของงานจะต้อง:  ระบุเจ้าหน้าที่หรือบุคคลที่จะเป็นตัวแทนของเจ้าของ งาน  จ่ายเงินให้ที่ปรึกษาสาหรับการให้บริการ (ภาคผนวก 3)  จ่ายค่าชดเชยตามที่ตกลงกันไว้ ในกรณีที่จ่ายเงินล่าช้า  ไม่ระงับการจ่ายเงินใด ๆ ที่เกิดจากการที่ปรึกษา  เตรียมการให้ที่ปรึกษาได้รับการยกเว้นจากการจ่ายภาษี ต่างๆ ในประเทศ  ที่เกี่ยวกับการให้บริการ (ค่าตอบแทนสินค้านาเข้า เอกสาร เป็นต้น)  ชดใช้ค่าเสียหายให้ที่ปรึกษาต่อการเรียกร้องทีเ่ กิดขึ้น จากหรือเกี่ยวข้องกับข้อตกลง  (ยกเว้นได้รับการคุ้มครองโดยการประกันภัย) ที่ปรึกษาจะต้อง:  ดาเนินการให้บริการตามที่ระบุไว้ในภาคผนวก 1  ใช้ความชานาญ ความเอาใจใส่ และความแข็งขันในการ ทางานของภายใต้พันธะในข้อตกลง  ระบุเจ้าหน้าที่หรือบุคคลที่จะเป็นตัวแทนของที่ปรึกษา และหากจาเป็นก็อาจมีคนที่จะติดต่อประสานงานกับ ตัวแทนของเจ้าของงาน  แจ้งให้เจ้าของงานทราบ หากมีกรณีที่:  ส่ ง ผลต่ อ กระทบต่ อ ขอบเขตงาน ค่ า ใช้ จ่ า ยและ ระยะเวลาในการให้บริการ หรือ 8-5


FIDIC WHITE BOOK  เหตุ สุ ด วิ สั ย หรื อ เกิ น ขอบเขตความรั บ ผิ ด ชอบซึ่ง ที่ ป รึ ก ษาจะด าเนิ น การให้ บ ริ ก ารทั้ ง หมดหรื อ บางส่วนได้  เก็บบันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน โดยมีการระบุเวลาที่ เกี่ยวข้องและค่าใช้จ่าย (และส่งข้อมูลให้เจ้าของงาน)  พยายามขจัดการประกันภัยตามคาขอเป็นลายลักษณ์ อักษรจากเจ้าของงานซึ่งครอบคลุม:  ความรับผิดชอบสาหรับการจ่ายค่าชดเชยในกรณีที่ไม่ ทางานที่ให้บริการ  ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ/บุคคลที่ 3  ความสูญเสียและความเสียหายของทรัพย์สินของ เจ้าของงานและ  ความรับผิดชอบที่เกิดขึ้นจากการใช้ทรัพย์สินของ เจ้า ของงาน รวมทั้ งการเพิ่มขึ้นของการประกัน ต่างๆ เหล่านี้ การบริการ (Services) การบริการทั่วไป (Normal Service) การบริการทั่วไปได้อธิบายไว้ในภาคผนวกที่ 1 – เป็นส่วน หลัก/ส่วนสาคัญ ที่แสดงถึงงานและกิจกรรมของที่ปรึกษาฯ ที่สอดคล้อง กับขอบเขตของงาน การบริการเสริม (Additional Service) การบริการที่ไม่ได้อยู่ใน “การบริการทั่วไป” แต่ได้ระบุไว้ใน ภาคผนวก 1 (เช่นการเพิ่มของขอบเขตงานหรือค่าใช้จ่ายต่าง ๆ การ จัดเตรียมของการเสนอให้พิจารณาจากการบริการที่แตกต่างกันออกไป เป็นต้น) 8-6


FIDIC WHITE BOOK การบริการพิเศษ (Exceptional Service) ขอบเขตงานและค่าใช้จา่ ยอื่นๆ ที่จาเป็นต้องดาเนินการของ ที่ปรึกษาฯ ที่นอกเหนือไปจากการบริหารทั่วไปและการบริการเสริม ลิขสิทธิ์และการตีพิมพ์ (Copyright and publication)  งานออกแบบ เอกสาร สิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่ถูกจัดทาขึ้นโดยที่ ปรึกษาฯ เป็นลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญาของ ที่ ปรึกษาฯ  ผู้ ว่า จ้า งจะต้อ งได้รั บสิ ท ธิในการใช้และคัดลอกเอกสาร เฉพาะตามวัตถุประสงค์ของโครงการเท่านั้น  ที่ปรึกษาฯ อาจเผยแพร่เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการบริการ ได้เฉพาะที่ได้รับความเห็นจากผู้ว่าจ้าง สาหรับงานที่อยู่ ในช่วงระยะเวลา 2 ปี การเปลี่ยนแปลงกฏหมายและพระราชบัญญัติ (Change in legislation) ค่าตอบแทนด้านบุคลากรของที่ปรึกษาฯ และระยะเวลาแล้ว เสร็จ สามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องและเหมาะสมในกรณีที่มีการ เปลี่ยนแปลงข้อบังคับและกฎหมายที่เกี่ยวข้องของประเทศนั้น หนังสือแจ้ง/หนังสือบอกกล่าว (Notices) หนั ง สื อ บอกกล่ า วที่ ถู ก ต้ อ งใช้ ไ ด้ ภ ายใต้ ข้ อ ตกลงร่ ว มกั น จะต้องไม่อยู่รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีผลบังคับผูกพันเมื่อถึงผู้รับโดย วิ ธี ต่ า ง ๆ เช่ น การส่ ง มอบโดยตรง การส่ ง โทรสาร และจดหมาย ลงทะเบียน

8-7


FIDIC WHITE BOOK การทุจริตและการฉ้อโกง (Corruption and Fraud)  ที่ ป รึ ก ษาฯ (ตั ว แทนของบริ ษัท หรื อ พนั ก งาน) จะต้ อ ง ปฏิ บั ติ ต ามกฏระเบี ย บข้ อ กฏหมายและข้ อ บั ง คั บ ของ ภาครั ฐในการป้อ งกันการทุ จริ ตและฉ้อ โกง รวมถึงการ ปฏิบัติตามข้อตกลงในการประชุมต่อต้านการติดสิ นบน ข อ ง อ ง ค์ ก ร Organization for Economic CoOperation and Development (OECD)  ตัวแทนของที่ปรึกษาฯ จะต้องไม่รับหรือจ่ายเงิน หรือทา ข้อตกลง/สัญญาว่าจะให้ของมีค่าต่างๆ กับภาครัฐเป็นการ ติดสินบน  ที่ ปรึ กษาฯ จะต้อ งให้ลู กค้ า ทราบเป็นลายลักษณ์ อักษร ทันที ในกรณีที่มีการจ่ายเงินหรือเรียกร้องให้จ่ายเงินโดยมิ ชอบจากหน่วยงานภาครัฐ เวลาและความล่าช้า (Time and Delays) วันที่เริ่ ม ปฏิบตั ิงาน*

ระยะเวลา ระยะเวลาการ มีผลบังคับ ล่าช้า ปฏิบตั ิงาน** * กาหนดตามเงื่อนไขเฉพาะโครงการ ** กาหนดตามเงื่อนไขและเป็ นไปตาม ที่ปรึ กษาฯ ภาคผนวก 4 เพิ่มเติมขอบเขตงานให้บริ การ งานล่าช้า ได้รับ หรื อ วันที่ลงนาม หรื อด้วยเหตุจากผูว้ า่ จ้างเอง จดหมาย ในสัญญาล่าสุ ด  ที่ปรึ กษาฯ โครงการ ขยายระยะเวลา ยอมรับ ใช้วนั ที่เกิดขึ้น และรับค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมจากสัญญา

หลังสุ ด

8-8


FIDIC WHITE BOOK การเปลี่ยนแปลง (Variations) องค์กร

การขอเปลีย่ นแปลง สัญญา

เปลี่ยนแปลงสัญญาโดยจัดทา เป็นลายลักษณ์อักษร

อื่นๆ ลูกค้า

การขอให้ส่งข้อเสนอ เพิ่มเติม

การเปลี่ยนแปลง ข้อเสนอ *

* การบริการเสริม!

บริษัทที่ ปรึกษาฯ

การเปลี่ยนแปลงขอบเขต งานให้บริการของที่ปรึกษา ฯ

ที่ปรึกษาฯ จะเริ่มปฏิบตั ิงานอย่างหนึ่งอย่าง ใดได้เพิ่มเติม ก็ต่อเมือ่ ได้รับอนุมัติจาก ผู้ว่าจ้างแล้วเท่านั้น

การจ่ายเงิน (Payment) การจ่ายเงินค่าบริการทั่วไปและค่าบริการเสริม : รายละเอียด ดังภาคผนวก 3 การจ่ายเงินค่าบริการพิเศษ:  สาหรับบริการเสริม (ขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่เพิ่มขึ้น) และ อื่น ๆ  ค่าใช้จ่ายสุทธิอื่นๆ ที่เกิดขึ้นจากการให้บริการเสริมของที่ ปรึกษาฯ

8-9


FIDIC WHITE BOOK ระยะเวลาการจ่ายเงิน = 28 วัน ที่ ป รึ ก ษาส่ ง ใ บ แ จ้ ง ห นี้ เพื่อเรียกเก็บ ค่าบริการ

ระยะเวลา ล่าช้า

* หรือตามที่ระบุในเงื่อนไขเฉพาะโครงการ

กรณีมีการประกวดราคา ผู้ว่าจ้างจะแจ้งจานวนเงินให้ ทราบ

กรณีที่มีการ จ่ายเงินล่าช้าจะ ระบุในเงื่อนไข เฉพาะโครงการ

ภาระหนี้สิน (Liabilities)  ที่ปรึกษาฯ ต้องรับผิดชอบที่จะจ่ายค่าชดเชยให้กับ ผู้ว่า จ้าง หากละเลยในการปฏิบัติหน้าที่ โดยขาดทักษะการ ทางาน ขาดความรับผิดชอบ และขาดความขยันหมัน่ เพียร  ผู้ว่าจ้างจะรับผิดชอบตามที่ได้ตกลงกันต่อที่ปรึกษาฯ ใน กรณีที่พบว่าผู้ว่าจ้างละทิ้งหน้าที่ความรับผิดชอบของตัว ผู้ว่าจ้างเอง  ค่าชดเชยที่ต้องชาระจะถูกกาหนดในเงื่อนไขสัญญา  เช่ น เดี ย วกั น กั บ ระยะเวลาที่ ต้ อ งจ่ า ยค่ า ชดเชยจะถู ก กาหนดในเงื่อนไขเฉพาะโครงการ  ผู้ว่าจ้างจะต้องชดใช้ค่าเสียหาย/ค่าคุ้มครองให้ที่ปรึกษาฯ จากทุก ๆ การร้องสิทธิ์และกล่าวอ้างที่ไม่ได้เกิดจากการ กระทาของที่ปรึกษาฯ ภายใต้เงื่อนไขสัญญา (เว้นแต่กรณี ครอบคลุมจากการประกันภัย) การบอกเลิกสัญญา (Termination) 8-10


FIDIC WHITE BOOK  การบอกเลิกสัญญาจ้าง จะมีผลบังคับภายใน 56 วัน  การบอกเลิกสัญญาโดยผู้ว่าจ้าง เนื่องจากความบกพร่อง ของที่ปรึกษาฯ  ผู้ว่าจ้างจะมีหนังสือบอกกล่าวความบกพร่องตามสัญญา ของที่ปรึกษาฯ ภายใน 21 วัน  หลั ง จากเกิ ด เหตุ หากที่ ป รึ ก ษาฯ ไม่ ด าเนิ น การแก้ ไ ข ภายใน 35 วัน ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์บอกเลิกสัญญา  การบอกเลิ ก สั ญ ญาโดยที่ ป รึ ก ษาฯ เนื่ อ งจากความ บกพร่องของผู้ว่าจ้าง (การไม่ชาระเงินค่าจ้าง การสั่งให้ ชะลองานให้บริการของที่ปรึกษาฯ)  โดยให้ ที่ ป รึ ก ษามี ห นั ง สื อ บอกกล่ า วภายใน 14 วั น หลังจากเกิดเหตุบกพร่อง หากผู้ว่าจ้างไม่ได้แก้ไขภายใน 42 วัน ให้ที่ปรึกษามีหนังสือบอกกล่าวเลิกสัญญาได้ ข้อพิพาท (Disputes)  ขั้นตอนที่ 1: เมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้น ให้ตัวแทนของแต่ละ ฝ่ายไกล่เกลี่ย ระงับข้อพิพาทด้วยความจริงใจ และเป็น ธรรมภายใน 14 วัน เมื่อมีฝ่ายที่เรียกร้อง  ขั้นตอนที่ 2: (หากไม่สามารถหาข้อตกลงร่วมกันได้) แต่ ละฝ่ายจะต้องเห็นชอบร่วมกันในการจัดตั้งผู้ไกล่เกลี่ยที่ เป็นกลาง (คัดเลือกรายชื่ออนุญาโตตุลาการอิสระ) หากยังไม่สามารถตกลงกันได้ หน่วยงานกลางจะแต่งตั้งผู้ไกล่ เกลี่ยและหรือดาเนินการไกล่เกลี่ยภายใน 21 วัน หลังจากแจ้งเรื่องถึ ง หน่วยงานกลาง กฎ ข้ อ บั ง คั บ : ให้ ใ ช้ ต ามที่ ห น่ ว ยงานกลางก าหนดหรื อ ที่ กาหนดในเงื่อนไขเฉพาะโครงการ 8-11


FIDIC WHITE BOOK  ขั้นตอนที่ 3: (หากการตกลงประนีประนอมล้มเหลว) ให้ใช้ อนุญาโตตุลาการ ************

8-12


การบริหารจัดการสัญญา การบริหารจัดการสัญญา การบริ ห ารจั ด การสั ญ ญา อาจจ าแนกเป็ น หั ว ข้ อ หลั ก โดยสังเขป ได้ดังต่อไปนี้ 1. การเริ่มดาเนินการตามสัญญา 2. การควบคุมด้านการเงิน 3. การบริหารควบคุมสัญญาอย่างต่อเนื่อง 4. การรับมอบงาน ความรับผิดชอบต่อสิ่งบกพร่อง และความเสร็จสมบูรณ์ของสัญญา 5. การพิพาทโต้แย้ง การระงับข้อพิพาทโต้แย้ง และการบอกเลิกสัญญา 1. การเริ่มดาเนินการตามสัญญา 1.1 การได้รับความเห็นชอบ อนุมัติ จากผู้ว่าจ้าง (Obtaining the Approval of the Employer) ภายใต้ข้อย่อย 3.1 วิศวกรอาจจะต้องได้รับการอนุมัติ จาก ผู้ว่าจ้างก่อนที่จะดาเนินการใดๆ ข้อกาหนด สาหรับการได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าจ้างควร จะระบุไว้ในเงื่อนไขเฉพาะ ดังนั้นวิศวกรควรจะตรวจสอบถึงข้อกาหนด เหล่านี้ อย่างไรก็ตามรูปแบบ MDB (Multilateral Development Bank: ธนาคารเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ) ของสัญญาก่อสร้างจะ รวมถึงข้อกาหนดนี้ในเงื่อนไขทั่วไปด้วย หมายเหตุ: พึงระวังข้อขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ ของวิศวกร (ข้อย่อยที่ 3.5)

9-1


การบริหารจัดการสัญญา 1.2 การแต่งตั้งวิศวกรและตัวแทนวิศวกร (Appointment of the Engineer and the Engineer’s Representative) หากวิศวกรที่ระบุในสัญญาเป็น นิติบุคคล วิศวกรจะต้องแจ้ง ให้ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างทราบ โดยระบุชื่อของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งให้ เป็นตัวแทนนิติบุคคลผู้ซึ่งทาหน้าที่ในบทบาทของวิศวกร หากวิศวกรที่อยู่ในสัญญาไม่ได้ระบุเป็นตัวแทนของนิติบุคคล ดังนั้นนิติบุคคลจะต้อง (ตามข้อย่อย 3.2) แจ้งให้ผู้รับจ้าง ทราบชื่อและ ตาแหน่งของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้ง ให้เป็นตัวแทนของนิติบุคคลที่จะ ทาหน้าที่เป็นวิศวกร 1.3 อานาจหน้าที่ของวิศวกร (Engineer’s Delegation of Duties and Authorities) ข้อกาหนดทั่วไป อ านาจและหน้ า ที่ ข องวิศ วกรถู ก อ้ า งในหลายความหมาย (การได้รับเอกสาร การดาเนินการใด ๆ ) วิ ศ วกรที่ อ ยู่ ใ นสถานะที่ ถู ก มอบหมายให้ เ ป็ น ตั ว แทนของ เจ้าหน้าที่กากับดูแล (Supervision Staff) อานาจหน้าที่ของคณะผู้แทนของวิศวกรไปจนถึงผู้ช่วยของ คณะผู้แทนของวิศวกรจะต้องแจ้งให้กับผู้รับจ้างอย่างเป็นลายลักษณ์ อักษร แต่ขอบเขตของคณะผู้แทนเหล่านี้ และคณะผู้แทนย่อยที่จาเป็น ใด ๆ จะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของสัญญา อานาจหน้าที่ของวิศวกร วิศวกรถือ เป็นส่วนหนึ่งของบุคลากรของผู้ว่าจ้าง และไม่ มี การกาหนดดังกล่าวในตัวแทนของวิศวกร

9-2


การบริหารจัดการสัญญา ขอบเขตของอานาจหน้าที่ของวิศวกรนั้นมีข้อจากัด วิศวกรไม่ สามารถมอบอานาจเพื่อทาการแสดงผลการพิจารณาได้ ผู้ที่ทาหน้าที่เป็น วิศวกรจะต้องสามารถทางานเต็มเวลาใน โครงการได้ *ข้อควรจาในเรื่องข้อขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นระหว่างข้อย่อยที่ 3.1 และ 3.5 การมอบหมายให้เป็นตัวแทนเจ้าหน้าที่กากับดูแลอื่น ๆ โดยวิศวกร ในทางปฏิบัติ อานาจหน้าที่ จะต้องมีการมอบหมายให้กับ สมาชิกแต่ละคนของเจ้าหน้าที่กากับดูแลให้เป็นไปตามฟังก์ชั่นของการ กากับดูแล โดยวิศวกรจะต้อง  แต่งตั้งในนามและมอบหมายอานาจหน้าที่ให้กับพนักงาน กากับการดูแลแต่ละประเภทของวิศวกร  แจ้งให้ผู้รับจ้างทราบเป็นลายลักษณ์อักษร (สาเนาให้กับ ผู้ว่าจ้าง)  ห้ามมอบอานาจในการตัดสินใจ และวิศวกรควรจะต้อง รั ก ษาอ านาจของสั ญ ญาหลั ก (Major Contractual Authorities) (การออกใบรับรองการชาระเงิน คาสั่งการ เปลี่ยนแปลง) 1.4 การประชุมก่อนการเริ่มงาน (Pre-commencement Meeting) วิ ศ วกรควรแจ้ ง ก าหนดวั น เริ่ ม การท างาน โดยแนะน าว่ า คู่สัญญา (Parties) และวิศวกรควรมีการประชุมหารือ :

9-3


การบริหารจัดการสัญญา  บทบาทและอ านาจหน้ า ที่ ข องแต่ ล ะ สั ญ ญานิ ติ บุ ค คล (Contractual Entity)  การแต่งตั้งวิศวกร  การแต่งตั้งตัวแทนผู้ว่าจ้าง  สถานะของความพร้ อ มในการเข้า และสิ ท ธิค รอบครอง สถานที่ก่อสร้าง  ข้อกาหนดและวิธีการสาหรับการขอใบอนุญาตก่อสร้าง  สถานะของความพร้อมในการออกแบบ (การส่งมอบแบบ) สถานะและศักยภาพของผู้รับจ้างในหลักประกันสัญญา และ หลักประกันการจ่ายเงินล่วงหน้า สถานะของการประกันภัยของผู้รับจ้าง วันที่เริ่มตกลงทางาน ข้อกาหนดในด้านความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัย และการป้องกันสิ่งแวดล้อม ข้ อ ก าหนดส าหรั บ การประกั น คุ ณ ภาพและการควบคุ ม คุณภาพ สถานะของโปรแกรมการทางาน Key Dates สาหรับข้อมูล และการส่งงาน ระยะเวลาสาหรับการอนุมัติ ระยะเวลาการส่งมอบงาน ระยะยาวและปัญหาพิเศษต่าง ๆ ข้อกาหนดสาหรับรายชื่อของผู้รับจ้างรายย่อย (ผู้รับจ้างช่วง) ที่ถูกเสนอชื่อโดยผู้รับจ้าง งานและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่จัดหาโดยผู้ว่าจ้าง วิธีการวัด หนังสือ คาสัง่ การส่งมอบงานและการตอบรับ

9-4


การบริหารจัดการสัญญา ผู้รับจ้างจะต้องส่ง รายงานความก้าวหน้าประจาเดือ นแล้ ว เท่านั้น จึงจะได้รับการพิจารณาออกใบรับรองการชาระเงินระหว่างกาล (Interim payment) วิ ธี ก ารประเมิ น มู ล ค่ า ระหว่ า งกาล (Interim valuations) การรับรองและการจ่ายเงิน ขั้นตอนในการตรวจสอบความก้าวหน้าของงาน ข้อควรระวัง สถานการณ์ความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นได้พร้อมกัน 1.5 ตัวแทนของผู้รับจ้าง (Contractor’s Representative) ยกเว้นกรณี ที่ มี ชื่อ อยู่ ในสั ญ ญา ผู้ รั บจ้า งจะต้อ งส่ งชื่อ และ รายละเอี ย ดของบุ ค คลที่ ผู้ รั บ จ้ า งเสนอแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น ตั ว แทนของ ผู้รับจ้าง ให้วิศวกร “ยินยอม” ก่อนวันเริ่มงาน ตัวแทนของผู้รับจ้างจะต้องได้รับการแต่งตั้งโดยเร็วที่สุดเท่าที่ เป็นไปได้หลังจากสัญญามีผลบังคับใช้ เพื่อให้การสื่อสารมีป ระสิทธิภาพ ในช่วงเริ่มต้นของการทาสัญญา วิศวกรจะต้อง เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร:  ทั นที หลั งจากที่ สั ญ ญามีผลบังคับใช้ แจ้งให้ผู้ รั บจ้า งยื่น ข้อเสนอเป็นลายลักษณ์อักษรในการแต่งตั้งตัวแทนของ ผู้รับจ้าง  ทบทวนข้อเสนอของผู้รับจ้าง ทั้งการให้ความยินยอมหรือ ใ ห้ ค า แ น ะ น า แ ก่ ผู้ รั บ จ้ า ง ใ น ก า ร ไ ม่ ย อ ม รั บ (Unacceptability) โดยให้ ผู้ รั บ จ้ า งเสนอทางเลื อ กเพื่ อ พิจาณาต่อไป  วิศวกรไม่สามารถระงับการอนุมัติอย่างไม่มีเหตุผลได้  วิศวกรสามารถยกเลิกการยอมรับตัวแทนของผู้รับจ้างได้ โดยให้ผู้รับจ้างยื่นข้อเสนอมาใหม่

9-5


การบริหารจัดการสัญญา 1.6 วันเริ่มงาน (Commencement Date) วันที่ลงนามไม่จาเป็นต้องเป็นวันที่เริ่มงานตามสัญญา วิศวกร จาเป็นต้องออกจดหมายแจ้งวันเริ่มงาน (Notice of Commencement Date) ให้แก่ผู้รับจ้างทราบ วันเริ่มงานจะกาหนดวันเริ่มจนถึงวันสิ้นสุดของงาน หรือวันที่ ผู้รับจ้างต้องทางานแล้วเสร็จ วิศวกรต้อง  ตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า จดหมายแจ้ ง วั น เริ่ ม งานได้ ใ ห้ กั บ ผู้รับจ้างอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว  ได้รับการยืนยันจากผู้ว่าจ้างว่าสามารถปฎิบัติได้ตามข้อ ภาระผูกพันในวันเริ่มงานเพื่อ อนุมัติ การขอใบอนุญาต การเข้าหน้างาน สิทธิครอบครองที่ครอบคลุมถึง และอื่นๆ วิศวกรควรจะ  ให้คาปรึกษากับผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างก่อนที่จะมีการออก จดหมายแจ้งการเริ่มงาน  ในเวลาที่ มี ก ารออกจดหมายแจ้ ง การเริ่ ม งาน การให้ ค าแนะน าอย่ า งเป็ น ทางการต่ อ ผู้ รั บ จ้ า งถึ ง หน้ า ที่ ข อง ผู้รับจ้างที่จะต้องส่งข้อเสนอเพื่อการแต่งตั้งตัวแทนของ ผู้รับจ้าง

9-6


การบริหารจัดการสัญญา 1.7 การประกันการปฎิบัติงาน: หลักประกันสัญญา (Performance Security) ภายใน 28 วัน หลังจากได้รับจดหมายตอบรั บ (Letter of Acceptance) ผู้รับจ้างต้องจัดส่งหลักประกันสัญญาจากธนาคารหรือ สถาบันการเงินที่เป็นที่ยอมรับให้แก่ผู้ว่าจ้าง และสาเนาให้วิศวกร และ ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์ได้รับค่าชดเชยในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่สามารถปฏิบัติตาม สัญญาได้ หลักประกันสัญญาจะต้องมีผลครอบคลุมถึงระยะเวลาที่งาน เสร็จสิ้นอย่างสมบูรณ์และข้อบกพร่องต่าง ๆ ได้รับการแก้ไขแล้ว เช่น จนกว่าจะได้รับเอกสารรับรองผลงานแล้ว ในสัญญาจะต้องระบุอายุของ หลักประกันดังกล่าว หมายเหตุ: ข้อย่อย 4.2 เป็นข้อย่อยทางเลือก: อย่าลืมที่จะระบุจานวน ไว้ในภาคผนวกของเอกสารการประกวดราคา วิศวกรจะต้องช่วยเหลือผู้ว่าจ้างดังนี้  เตือนผู้รับจ้าง ถึงสิ่งที่จาเป็นอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ถึง หลักประกันสัญญาให้ตรงเวลา  ส่ งหนังสื อบอกกล่าวอย่างเป็นทางการถึงผู้ รับจ้าง หาก ผู้รับจ้างไม่ส่งหลักประกันสัญญาให้ตรงเวลา  ตรวจสอบว่าหลักประกันสัญญานั้นมีความสอดคล้องกับ สัญญาหรือไม่  ให้ ค าแนะน าแก่ ผู้ ว่ า จ้ า งถึ ง ความสอดคล้ อ งของ หลักประกันสัญญากับข้อกาหนดของสัญญา และยืนยัน การยอมรับอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรให้กับผู้รับจ้างด้วย ผู้ ว่ า จ้ า งไม่ ค วรให้ ผู้ รั บ จ้ า งเข้ า หน้ า งาน และการถื อ สิ ท ธิ ครอบครอง (Possession) สถานที่ก่อสร้างจนกว่าจะได้รับหลักประกัน สัญญาที่ได้รับการเห็นชอบแล้ว

9-7


การบริหารจัดการสัญญา วิศวกรจะต้อง:  เก็บสาเนาเอกสารหลักประกันสัญญา (ต้นฉบับต้องได้รับ เก็บรักษาไว้กับผู้ว่าจ้าง)  ไม่สามารถอนุมัติการจ่ายเงินล่วงหน้าหรือออกใบรับรอง การช าระเงิ น ระหว่ า งกาลใด ๆ ได้ จ นกว่ า หลั ก ประกั น สัญญาจะได้รับการยอมรับจากผู้ว่าจ้างก่อน  ติ ด ตามในระหว่ า งสั ญ ญาว่ า หลั ก ประกั น สั ญ ญายั ง คง มู ล ค่ า ที่ เ หมาะสมกั บ ราคาในสั ญ ญาจนกว่ า จะออก ใบรับรองการปฏิบัติงาน 1.8 หลักประกันการจ่ายเงินล่วงหน้า (Advanced Payment Security) การจ่ายเงินล่วงหน้าให้กับผู้รับจ้าง ในสัญญาจะระบุจานวน และสกุลเงิน (Amount and Currency) ตามรูปแบบ (Proforma) ของ (เอกสาร) หลักประกันการจ่ายเงินล่วงหน้าด้วย หลั ก ประกั น การจ่ า ยเงิ น ล่ ว งหน้ า ควรส่ ง มอบโดยตรงแก่ ผู้ว่าจ้างพร้อมสาเนาให้กับวิศวกร การยอมรับ หลักประกันการจ่ายเงิน ล่ ว งหน้ า เป็ น ภาระผู ก พั น ทางด้ า นสั ญ ญาของผู้ ว่า จ้ า ง โดยได้ รั บการ ช่วยเหลือจากวิศวกรในเรื่องดังกล่าว หมายเหตุ : ข้ อ ย่ อ ย 14.2 เป็ น ข้ อ ย่ อ ยทางเลื อ ก: อย่ า ลื ม ระบุ ไ ว้ ใ น ภาคผนวกของเอกสารการประกวดราคา วิศวกรจะต้อง  ตรวจสอบ โดยละเอี ย ดว่ า หลั ก ประกั น การจ่ า ยเงิ น ล่ ว งหน้ า สอดคล้ อ งกั บ รู ป แบบที่ ก าหนดไว้ ใ นสั ญ ญา (Proforma) และมีจานวน และสกุลเงินที่ถูกต้อง และให้ คาแนะนาแก่ผู้ว่าจ้างเป็นลายลักษณ์อักษร

9-8


การบริหารจัดการสัญญา  เก็บสาเนาของหลักประกันการจ่ายเงินล่วงหน้า (ต้นฉบับ ต้องได้รับเก็บรักษาไว้กับผู้ว่าจ้าง)  การอนุมัติการจ่ายเงินล่วงหน้า ในใบรับรองการชาระเงิน ระหว่างกาล (โดยปกติจะเป็นอับดับแรก) – วิศวกรต้อง ได้รับเอกสารรายการ (Statement) จากผู้ว่าจ้างเป็นลาย ลักษณ์อักษรว่าได้รับและยอมรับหลักประกันการจ่ายเงิน ล่วงหน้าแล้ว 1.9 การประกันภัย (Insurance) ในสัญญาของ FIDIC จาเป็นต้องมีการประกันภัยดังต่อไปนี้ การประกันภัยสาหรับ ก. งานและวัสดุอุปกรณ์ของผู้ว่าจ้าง ข. การได้ รั บ บาดเจ็ บ ของบุ ค คลและความเสี ย หายต่ อ ทรัพย์สิน ค. บุคลากรของผู้รับจ้าง หลักฐานที่จะต้องจัดเตรียม:  ภายในระยะเวลาที่ ร ะบุ ใ นภาคผนวกของเอกสาร ประกวดราคา สาเนาของกรมธรรม์ที่จะต้องจัดเตรียม:  เฉพาะสาหรับ ก. และ ข. ภายในระยะเวลาที่ระบุใน ภาคผนวกของเอกสารประกวดราคา การประกันค่าสินไหมทดแทนทางด้านวิชาชีพ  ใ น ก ร ณี ที่ สั ญ ญ า เ ป็ น แ บ บ ผู้ รั บ จ้ า ง อ อ ก แ บ บ ( Contractor Design) ส่ ว น ส า คั ญ ห ลั ก ข อ ง ง า น จ าเป็ น ต้ อ งมี ก ารประกั น ค่ า สิ น ไหมทดแทนทางด้า น วิชาชีพ

9-9


การบริหารจัดการสัญญา ผู้ รั บจ้า งต้อ งส่ งหลั กฐานและสาเนากรมธรรม์ (Copies of Policies) ให้ผู้ว่าจ้างโดยตรง การประกั น จะต้ อ งเป็ น ไปตามข้ อ ก าหนดของสั ญ ญาเป็ น สาคัญ ผู้ว่าจ้างจะแจ้งให้วิศวกรทราบว่าการประกันของผู้รับจ้างมี ความสอดคล้องหรือไม่ เพื่อ:  การยินยอมปฏิบัติตาม: วิศวกรสามารถอนุญาตให้ผลงาน ที่ ด า เ นิ น ก า ร ( Allow the Works to Proceed) แ ล ะ รับรองสิทธิการชาระเงินใด ๆ ภายใต้สัญญาสาหรับการ ประกัน  การไม่ยินยอมปฏิบัติตาม: วิศวกรสามารถออกใบแจ้งให้ ผู้รับจ้างทราบถึงข้อกาหนดในการแก้ไขข้อบกพร่อง วิศวกร  ไม่สามารถระงับการทางานใด ๆ แต่ฝ่ายเดียว ด้วยเหตุผล ว่าไม่มีหลักฐานการประกันภัย  ให้คาแนะนาแก่ผู้ว่าจ้างในงานซึ่งได้เริ่มก่อนได้รับหลักฐาน การประภัย และวิศวกรไม่มีอานาจที่จะยับยั้งการเริ่มงาน ได้ (ขึ้นอยู่กับผู้ว่าจ้างที่จะเลือกว่าควรทาเช่นไร)  ติดตามตรวจสอบว่าผู้รับจ้างมีการประกัน เพียงพอตาม ข้อกาหนดของสัญญาหรือไม่ 1.10 รายละเอียดของราคาจ้างเหมา (Breakdown of Lump Sum) วิศวกรต้องให้ผู้รับจ้างนาส่งรายละเอียดของราคาจ้างเหมา ภายใน 28 วันนับจากวันเริ่มงาน

9-10


การบริหารจัดการสัญญา ราคาต่อหน่วยและราคาสาหรับงานใหม่หรืองานที่มีความ แตกต่างควรมาจากราคาต่อหน่วยและราคาในสัญญาที่มีงานคล้ายกัน การมี ร ายละเอี ย ดของราคาต่ อ หน่ ว ยและราคาของ ผู้รับจ้าง จะเป็นเครื่องมือที่จาเป็นในการจัดทาราคาต่อหน่วยและราคา สาหรับงานใหม่หรืองานที่มีความแตกต่างได้ อย่างไรก็ตาม [ในสัญญาออกแบบรวมก่อสร้าง P&D-B ข้อ ย่ อ ย 14.1] “ปริ ม าณใด ๆ หรื อ ข้ อ มู ล ราคาซึ่ ง อาจจะก าหนดไว้ ใ น ตารางเวลาสามารถใช้เพื่อวัตถุประสงค์ตามที่ระบุไว้ในตารางเวลาและก็ อาจจะไม่เหมาะสมสาหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ” 1.11 การอนุมตั ิและใบอนุญาตตามกฎหมาย (Statutory Approvals and Permits) วิศวกรต้องให้คาปรึกษากับผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างในการระบุ การอนุมัติและวิธีการ สาหรับ:  การขออนุญาตเข้าและพักอาศัยของแรงงานต่างด้าว  การนาเข้าวัสดุ โรงผลิต เครื่องจักร และอุปกรณ์ รวมถึง วิธีการสาหรับการนาเข้าที่ไม่เสียภาษี  การเตรี ย มงานโดยทั่ ว ไปหรื อ ในส่ ว นของหน้ า งาน โดยเฉพาะ  การก่อสร้างสานักงานชั่วคราวของผู้รับจ้าง และอื่น ๆ  ในการใช้งานอุปกรณ์เครื่องจักรสาหรับการก่อสร้างของ ผู้รับจ้าง  การย้ายสาธารณูปโภคที่จาเป็นต่าง ๆ  การควบคุมและการเบี่ยงเบนการจราจร แผนการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างควรคานึงถึงเวลาที่ใช้ในการ ขออนุมัติและใบอนุญาตตามกฎหมายด้วย 9-11


การบริหารจัดการสัญญา วิศวกรแจ้งให้ผู้ว่าจ้างทราบหากสาเหตุการล่าช้าเกิดจากการ กระทาที่ผิดพลาดของผู้ว่าจ้างเอง ซึ่งผู้ว่าจ้างต้องรับผิดชอบต่อการได้รับ อนุมัติและใบอนุญาตตามกฎหมาย โดยสามารถให้ผู้รับจ้างเรียกร้องขอ ขยายระยะเวลาแล้วเสร็จ และ/หรือเรียกร้องค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมได้ หมายเหตุ:  มีความแตกต่างหลายประการระหว่างประเภทต่าง ๆ ของ สัญญาที่เกี่ยวข้องในเรื่องความรับผิดชอบ  ความรั บ ผิ ด ชอบที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การได้ รั บ การอนุ มั ติ ใบอนุญาต ควรกาหนดไว้ในสัญญาอย่างชัดเจน 1.12 แผนการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง (Contractor’s Programme) ผู้รับจ้างจะต้องส่งรายละเอียดเวลาของแผนการปฏิบัติงาน ให้กับวิศวกรหลังจากได้รับหนังสือให้เริ่มงาน โปรแกรม:  รายละเอี ย ดและความเข้ า ใจในงานจะเป็ น สิ่ ง แรกที่ จะ แสดงให้เห็นถึงความสามารถของผู้รับจ้าง  เป็นฐานส าหรั บการติดตามความก้า วหน้า ของผู้ รั บจ้ า ง และการวางแผนของผู้ว่าจ้าง/วิศวกร สาหรับกิจกรรมและ หน้าที่ในความรับผิดชอบ  เป็นฐานอ้างอิงสาหรับการกาหนดระยะเวลาของวิศวกรใน การเรียกร้องการขยายระยะเวลาของผู้รับจ้างเมื่อเกิดการ หยุดชะงักหรือความล่าช้าของงาน

9-12


การบริหารจัดการสัญญา แผนการปฏิบัติงานจะแสดงให้เห็นถึง  ลาดับของการทางาน เอกสารของผู้รับจ้าง การจัดซื้อจัด จ้าง การผลิตและการสร้างนอกสถานที่ การจัดส่ง การ ก่อสร้าง การติดตั้ง และการทดสอบ  ขั้ น ตอนของการท างานโดยค านึ ง ถึ ง ระยะเวลาในการ ดาเนินการในการได้รับอนุมัติ  รายละเอี ย ดของงานจัดท าโดยผู้ รั บจ้า งช่วงที่ ไ ด้รั บ การ คัดเลือก  รายละเอียดทั่วไปของวิธีการที่นามาใช้  การประมาณบุคลากรและอุปกรณ์ของผู้รับจ้างซึ่งใช้ ใน งานเพื่อให้งานแล้วเสร็จภายในเวลาที่กาหนด สัญญาที่ FIDIC จาเป็นต้องมี  ผู้รับจ้างส่งแผนการปฏิบัติงานภายใน 28 วันนับจากวัน เริ่มงาน  การเตรี ย มรายละเอี ย ดของแผนการปฏิ บั ติ ง าน เช่ น ผู้ รั บจ้า งอาจต้อ งใช้โ ปรแกรมในการค านวณเพื่ อ แสดง เส้นทางวิกฤต (Critical path) วิศวกรต้อง  ให้หนังสือบอกกล่าวแก่ผู้รับจ้างภายใน 21 วัน ถึงวิธีการ ของแผนการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามสัญญา  ไม่ ใ ห้ ค วามเห็ น ในรายละเอี ย ดผลส าเร็ จ ของงาน (Attainability) (เพียงแต่รับทราบและออกใบรับเท่านั้น) (Acknowledge Receipt)

9-13


การบริหารจัดการสัญญา 1.13 กระแสเงินสดของผู้รับจ้าง (Contractor’s Cash Flow) ผู้ รั บ จ้ า งส่ ง ประมาณการของการจ่ า ยเงิ น (Estimate of Payments) ภายใต้สัญญาภายใน 42 วันหลังจากวันเริ่มงาน ด้วยการ ปรับปรุงแก้ไขประมาณการรายไตรมาส เหล่านี้เพื่อ:  เพื่อเป็นข้อมูลของวิศวกรเท่านั้น(ไม่ผูกพัน)  มี ประโยชน์มาก: ส าหรั บผู้ว่า จ้างเกิดความมั่นใจในการ ลงทุน สาหรับวิศวกรในการตรวจสอบความก้าวหน้า วิศ วกรให้การสนับสนุนต่อ ผู้ว่าจ้า งในการส่ ง การประมาณ ราคา:  ขึ้ น อยู่ กั บ การประมาณการรายเดื อ นที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ กิจกรรมและอัตราการผลิต  แยกรายละเอียดมูลค่าของผลงานที่ตั้งใจว่าจะแล้วเสร็จ จากการชาระเงินอื่นๆ คาจากัดความ 1.1.4.2 “ราคาตามสัญญา (Contract Price)” หมายความ ถึงราคาที่ กาหนดไว้ในข้อย่อย 14.1 (ราคาตามสัญญา) และรวมถึงการปรับเปลี่ยน ไปตามสัญญา

9-14


การบริหารจัดการสัญญา กระแสเงินสดเป็นปัญหาสาคัญสาหรับการประกวดราคาเมื่อ มีการคานวณราคาที่ประกวด กระแสเงินสดเชิงลบอาจจะมีราคาที่มีนัยสาคัญต่อผลกระทบ ที่เพิ่มขึ้น ดังที่ผู้รับจ้างจะต้องแบกรับความเสี่ยงทางการเงินสูง กระแสเงินสดเชิงบวกอาจมีผลทาให้ราคาในประกวดลดลง ซึ่งเป็นที่น่าพอใจของผู้ว่าจ้าง สิ่งสาคัญ: ปัจจัยหลักของเงินทุนหลักสาหรับการทางานคือการจ่ายเงิน ของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Payments) วิธีการที่เป็นไปได้สาหรับการรักษากระแสเงินสดเชิงบวกของ ผู้รับจ้าง:  การจ่ายเงินล่วงหน้า  การชาระเงินระหว่างกาลที่บ่อยเพียงพอ  การจ่ า ยเงิ น ส าหรั บ ค่ า จั ด ส่ ง (บางส่ ว น) ของโรงผลิ ต (เครื่องจักร) และวัสดุที่มีไว้สาหรับการทางาน  การกาจัด และ/หรือ ลดความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยน  ค่าเผื่อการปรับเปลี่ยน 1 4. ก า ร เ ข้ า แ ล ะ ก า ร ถื อ ค ร อ ง สิ ท ธิ ห น้ า ง า น

9-15


การบริหารจัดการสัญญา 1.14 การเข้าและการถือครองสิทธิหน้างาน (Access to and Possession of Site) ข้อย่อย 2.1 : “ ผู้ว่าจ้างอาจให้สิทธิผู้รับจ้างในการเข้าและ การถือครองสิทธิในทุกส่วนของหน้างานภายในเวลา (หรือครั้ง) ที่ระบุไว้ ในภาคผนวกของเอกสารประกวดราคา... ...หากไม่ได้มีการระบุเวลา...ผู้ว่าจ้างอาจให้สิทธิในการเข้า และการถือครองสิทธิเป็นจานวนครั้งเท่าที่ผู้รับจะสามารถ ดาเนินงานตามแผนการปฏิบัติการได้...” ความล่าช้าในการเข้าและการถือครองสิทธิหน้างาน เป็นเหตุ ทั่วไปที่ผู้รับจ้างจะทาการเรียกร้องขอขยายเวลาในการเสร็จสิ้นของงาน ก่อนที่จะมีการออกหนังสือแจ้งวันเริ่มงาน วิศวกรต้องสอบถามผู้ว่าจ้าง ว่ามีเหตุผลใดๆ ที่อาจส่งผลกระทบความสามารถของผู้ว่าจ้างที่จะมอบ สิทธิในการเข้าและการถือครองสิทธิหน้างาน ดังนั้น หากระบุถึงจานวนครั้ง ได้ถู กระบุไว้ในสัญญา วิศวกร ควรให้คาแนะนาแก่ผู้ว่าจ้างในสัญญาข้อผูกมัดนี้ หากสัญญาไม่ได้ระบุถึงจานวนครั้ง วิศวกรควรพิจารณาบน พื้นฐานของแผนการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างที่ส่งมาครั้งแรก:  การตีความเมื่อผู้รับจ้างต้องการที่จะเข้าและการถือครอง สิ ท ธิหน้า งาน ของบางส่ วนหรื อ ทั้ ง หมด และได้รั บการ ยืนยันจากผู้รับจ้าง  ให้คาแนะนาต่อผู้ว่าจ้างถึงจานวนวันที่ผู้ว่าจ้างควรจะให้ เข้าและการถือครองสิทธิหน้างานทั้งหมดหรือบางพื้นที่ ของหน้างาน

9-16


การบริหารจัดการสัญญา 1.15 การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) ภายใต้เงื่อนไขทั่วไป ผู้รับจ้างต้องมีระบบประกันคุณภาพ ซึ่ง:  ต้องมีวิศวกรเป็นผู้ตรวจสอบ  ไม่มีข้อกาหนดเฉพาะที่ผู้รับจ้างจะต้องเสนอระบบให้กับ วิศวกร อย่างไรก็ตาม ผู้รับจ้างต้องส่งรายละเอียดข้อมูลเอกสารของ ทุก "ขั้นตอนและเอกสารการปฏิบัติงาน” แก่วิศวกรเพื่อเป็นข้อมูลก่อน ในช่วงของการออกแบบหรือช่วงเริ่มการก่อสร้าง โดยครอบคลุ ม เอกสารและขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง าน การ ประกันคุณภาพ QA และการควบคุมคุณภาพ QC บ่อยครั้งที่เงื่อนไขเฉพาะของสัญญา ระบุให้ผู้รับจ้างจัดส่ ง ระบบการประกั น คุ ณ ภาพในเวลาที่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ นช่ ว งเริ่ ม สั ญ ญา เพื่ อ ให้ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบจากวิ ศ วกรก่ อ น และบางที อ าจระบุ ใ ห้ บรรยายลักษณะของข้อกาหนดในระบบนั้น เป็นข้อกาหนดทั่วไปที่ผู้รับจ้างจะต้องกาหนดให้มีผู้จัดการ ฝ่ายควบคุมคุณภาพประจาเต็มเวลาที่หน่วยงานก่อสร้าง ระบบการประกันคุณภาพต้องแสดง ผังองค์กร และขั้นตอน ส าหรั บ ระบบควบคุ ม คุ ณ ภาพ ตั ว อย่ า ง มาตรฐาน และ หลั ก เกณฑ์ ปฏิบัติ การสุ่มเก็บตัวอย่าง อุปกรณ์ และอื่น ๆ ผู้รับจ้างจะต้องจัดส่งเอกสารควบคุมคุณภาพสาหรับผลการ ทดสอบวัสดุต่างๆ นาเสนอผลการทดสอบที่ได้จากการวิเคราะห์ ผลการ ทดสอบตามปกติ ตัวอย่างของอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่ทา ต้องมีแบบฟอร์มร้องขอให้วิศวกรทาการตรวจสอบและทดสอบและหรือ ตรวจวัดช่วงงานที่เสร็จสมบูรณ์ การกระตุ้นเตือน: การบันทึกโดยปราศจากข้อสงสัย เพื่อให้ เป็นไปตามข้อกาหนดในสัญญา

9-17


การบริหารจัดการสัญญา หลั งจากที่ วิศ วกรได้ท าการตรวจสอบเอกสารการควบคุ ม คุณภาพที่ผู้รับจ้างนาเสนอและพึงพอใจกับเอกสารแล้ว ซึ่งจะมีผลต่อ การยอมรับในงานที่ผู้รับจ้างทาและรับรองการจ่ายเงินโดยวิศวกร 1.16 การส่งแบบประกอบสัญญา (Issuing Contract Drawings) โดยทั่วไป แบบในชุดเอกสารการประกวดราคา จะใช้เพื่อการ ประกวดราคาเท่านั้น สัญญาออกแบบรวมก่อสร้าง (Plant & D-B Contract ): สัญญาสาหรับงานโรงงานและออกแบบก่อสร้าง ปกติจะระบุ ในเงื่อนไขเฉพาะ (Particular Conditions) ว่าวิศวกรจะต้อง จัดส่งแบบประกอบสัญญา 2 ชุด และแบบที่จะส่งตามมาใน ภายหลังให้กับผู้รับจ้าง สัญญาก่อสร้าง (ออกแบบโดยผู้ว่าจ้าง) (Construction Contract): วิ ศ วกรจะต้อ งได้ รั บ แบบจากผู้ ว่า จ้า งโดยไม่ มี ค่าใช้จ่าย เรื่ อ งที่ มี ก ารพิ จ ารณาบ่ อ ยครั้ ง : ขอบเขตของงานในแบบ ประกวดราคา การส่งแบบล่าช้า ทาให้มีการเรียกร้องค่าใช้จ่าย แบบควร จะต้องจัดส่งไม่เกินวันเริ่มงาน วิศวกรควรจะ :  ก่อนวันแจ้งให้เริ่มงาน แบบควรจัดส่งไม่เกินวันที่เริ่มงาน ต้องมีความชัดเจนในรายละเอียดของแบบ ก) มีการจัดเตรียมภาษาที่ใช้ในสัญญา ข) เป็นเอกสารที่มีความเหมาะสม และแยกโดยชื่อและ ตัวเลขอ้างอิง อนุมัติเพื่อการก่อสร้าง ค) ในการส่งมอบให้ผู้ว่าจ้างจะต้องมีตัวเลขที่จาเป็น

9-18


การบริหารจัดการสัญญา  ประกอบไปด้วยใบนาส่งแบบจากผู้ว่าจ้างให้วิศวกรเป็น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร แบบทุ ก แผ่ น มี ก ารแยกชื่ อ และสิ่ ง ที่ อ้างอิงได้  ขึ้นอยู่กับการได้รับจากผู้ว่าจ้าง พร้อมที่จะส่งให้ ผู้รับจ้าง ตามจานวนที่ต้องการ 1.17 มีการจดบันทึกสภาพอากาศ (Meteorological Records) ผู้รับจ้างควรที่จะ:  ทาความเข้าใจว่าจะต้องมีการจัดเตรียมข้อมูล เกี่ยวกับ สภาพอากาศในโครงการของแต่ละวันที่ทาการก่อสร้าง  ตลอดระยะเวลาที่ มี ก ารขอขยายเวลาการก่ อ สร้ า ง (Extension of Time: EoT) เพื่อให้สามารถทางานให้แล้ว เสร็จได้ ยกเว้นแต่ว่า สภาพอากาศไม่ดี มีความผิดปกติ  มีการจัดเก็บรายละเอียดของสภาพอากาศ  ผู้รับจ้างต้องจัดเตรียมข้อมูลเป็นรายเดือน เพื่อส่งให้กับ วิศวกร และวิศวกรควรมีการเฝ้าติดตามการทางานของ ผู้รับจ้างว่าได้ปฏิบัติตามและดาเนินงานโดยเริ่มตั้งแต่วัน เริ่มงาน 1.18 รายงานของผู้รับจ้าง (Contractor’s Reports) ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งจดบั น ทึ ก จ านวนคนงาน และเครื่ อ งมื อ เครื่องจักร  ต้องมีการจดบันทึกเริ่มต้นตั้งแต่วันเริ่มงาน รายละเอียดที่ จาเป็น เพื่อสะดวกในการประเมินการอ้างสิทธิเรียกร้อง และการเปลี่ยนแปลง

9-19


การบริหารจัดการสัญญา  ผู้รับจ้างต้องจัดส่งเอกสารในแต่ละเดือนจนกว่าจะมีการ ออกเอกสารใบรับงานให้กับงานที่ทาทั้งหมดในรูปแบบ การขออนุมัติโดยวิศวกร โดยแสดงรายละเอียดจานวน ผู้ รั บ จ้ า งในแต่ ล ะรายและผู้ รั บ จ้า งช่ ว งแสดงจานวนคน และเครื่ อ งมื อ แต่ ล ะประเภทตามสั ญ ญาที่ ต้ อ งใช้ ใ น โครงการ  วิ ศ วกรจะไม่ เ ชื่ อ ในข้ อ มู ล ที่ ผู้ รั บ จ้ า งจั ด ส่ ง มาทั้ ง หมด จะต้องทาการสุ่มตรวจก่อน หากพบว่าการสุ่มตรวจบันทึก แล้วมีความเห็นไม่ตรงกันกับรายละเอียดที่ผู้รับจ้างจัดส่ง มา วิศวกรควรทาดังนี้  แจ้ ง กั บ ผู้ รั บ จ้ า งในสิ่ ง ที่ ไ ม่ เ ห็ น ด้ ว ย โดยท าเป็ น ลาย ลักษณ์อักษร  ได้มีการพูดคุยกับผู้รับจ้าง และให้มีความเห็นตรงกันใน การแก้ไขบันทึก  หากผู้ รั บ จ้ า งไม่ ส ามารถที่ จ ะชี้ แ จงเหตุ ผ ลที่ จ ะจัดส่ ง บันทึ กและไม่ เ ห็นด้วยที่ จะปรั บแก้บันทึ กนั้น วิศ วกร จะต้ อ งยื น ยั น สิ่ ง ที่ ไ ม่ เ ห็ น ด้ ว ยด้ ว ยการท าบั น ทึ ก ถึ ง ผู้รับจ้างและสาเนาให้กับผู้ว่าจ้าง รายงานความก้าวหน้ารายเดือนของผู้รับจ้าง  ผู้รับจ้างต้องจัดส่งรายงานความก้าวหน้ารายเดือนให้กับ วิศวกรภายใน 7 วัน หลังจากวันสุดท้ายของแต่ละเดือน  วิศวกรสามารถระงับการอนุมัติการเบิกจ่ายเงินชั่วคราว ในส่วนที่ผู้รับจ้างได้มีการระบุเอาไว้จนกว่าผู้รับจ้างจะ จัดส่งรายงานความก้าวหน้ารายเดือนในช่วงเวลานั้น  ตอนเริ่มต้น ควรแนะนาหรือเตือนให้ผู้รับจ้างปฏิบัติตาม พันธะที่ได้ตกลงกันไว้

9-20


การบริหารจัดการสัญญา  แจ้งรายละเอียดซึ่งไม่เห็นด้วยเป็นลายลักษณ์อักษรถึงผู้ รับจ้าง และแจ้งให้ผู้รับจ้างส่งบันทึกข้อมูลที่ถูกต้องใหม่ 1.19 หลักเกณฑ์และดัชนีในการปรับเปลี่ยนราคา (Price Adjustment Formula and Indices) สัญญา FIDIC ได้จัดเตรียม: กรณีที่ข้อสัญญาเกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจาก การเปลี่ยนกฎหมายของประเทศ กรณีการเปลี่ยนแปลงราคาในสัญญา ไม่ควรมีการปรับเปลี่ยนอะไรในส่วนของประเด็นที่เพิ่มหรือราคาค่าแรง ที่ลดลง ค่าวัสดุ หรือ สิ่งอื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับราคาที่ต้องใช้ในการ ปฏิบัติงาน หรือ : หลักเกณฑ์ด้วยวิธีที่ดูจานวนเงินที่ต้องชาระให้ผู้รับจ้างต้อง ปรับเปลี่ยน สาหรับราคา ค่าแรง ค่าวัสดุ ที่เพิ่มขึ้น หรือลดลง เช่น  (S-CI 13.8 + Appendix to Tender)  หมายเหตุ : ข้ อ ย่ อ ยนี้ เป็ น ข้ อ ย่ อ ยส าหรั บ เผื่ อ เลื อ ก (Fallback Sub-Clause!) ผู้ว่าจ้าง : ให้คานิยามของค่าสัมประสิทธิ์หรือระดับความแตกต่า งใน การให้หลักเกณฑ์ ที่มาจากแหล่งต่างๆ ค่าใช้จ่ายที่มีอยู่ในตารางของ การปรับพื้นฐานข้อมูล สาหรับแต่ละสกุลเงิน (Appendix to Tender) หรือ ให้เป็นหน้าที่ของผู้รับจ้างในขณะทาการประกวดราคา ใน เรื่องของค่าสัมประสิทธิ์ และที่มาของข้อมูล ในสถานการณ์ที่ผู้รับจ้างไม่สามารถทางานทั้งหมดให้เสร็จ ตามเวลาที่กาหนด ค่าตัวคูณในการปรับเปลี่ยนสาหรับการปฏิบัติงาน

9-21


การบริหารจัดการสัญญา หลังจากช่วงเวลาทาให้เสร็จสมบูรณ์ จาเป็นต้องมีการกาหนดค่าที่ใช้ ปฏิบัติได้ของเดือนในช่วงที่สิ้นสุดเวลาของการทาให้เสร็จสมบูรณ์ 1.20 การเห็นชอบสาหรับผู้รับจ้างช่วง (Consent for Subcontractors) สัญญา FIDIC ได้กาหนดไว้ว่า :  ผู้รับจ้างต้องได้รับความเห็นชอบจากวิศวกรในระหว่างการ จัดจ้างผู้รับจ้างช่วง (ไม่รวมถึงผู้จัดหาวัสดุ สิ่งของ หรือ แรงงานและรายชื่อผู้รับจ้างช่วง)  ผู้รับจ้างต้องไม่จ้างผู้รับจ้างช่วงทางานให้ทั้งหมด หรือ ต้ อ งไม่ จ้ า งผู้ รั บ จ้ า งช่ ว งเกิ น กว่ า ร้ อ ยละที่ ก าหนดไว้ ใน มูลค่าของราคาในสัญญา  เงื่อนไขเฉพาะอาจต้องการให้วิศวกรแจ้งกับผู้ว่าจ้างในการ เห็ น ชอบส าหรั บ การใช้ผู้ รั บ จ้า งช่ วงตามมู ล ค่ า ที่ ร ะบุไ ว้ ข้ า งต้ น ก่ อ นที่ วิ ศ วกรจะสามารถให้ ก ารเห็ น ชอบต่ อ ผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างต้องแจ้งวันเริ่มงานของผู้รับจ้างช่วง ให้วิศวกรทราบ ไม่น้อยกว่า 28 วัน ก่อนวันเริ่มงาน ผู้รับจ้างต้องนาเสนอสัญญาของผู้รับจ้างช่วง เป็นลายลักษณ์ อักษร และ วิศวกรต้องจัดส่งเอกสาร รวมทั้งรายละเอียดของผู้รับจ้าง ช่วง และขอบเขตของงานที่จะทา ในการนาเสนอผู้รับจ้างช่วง ที่จะมีการเตรียมงาน และวัสดุ นอกพื้นที่โครงการฯ วิศวกรควรจะต้อง:  ตรวจเยี่ยมสถานที่เตรียมงานของผู้รับจ้างช่วง  ร้องขอให้ผู้รับจ้าง ประสานงาน รวมถึง การมีส่วนร่วมใน การเข้าเยี่ยมชมของผู้รับจ้าง

9-22


การบริหารจัดการสัญญา  ความรับผิดชอบของวิศวกรที่มีต่อสัญญาย่อยที่ถูกเสนอ คือ:  ร้องขอให้ผู้รับจ้างจัดเตรียมข้อมูล  ตรวจเยี่ยมส่วนงานฝ่ายผลิตต่าง ๆ (ถ้าจาเป็น)  ในกรณีที่จาเป็น วิศวกรต้องร้องขอให้ผู้รับจ้างเพิ่มเติม การขอรับอนุญาต (การขอเพิ่มเติมดังกล่าวควรจะต้องมี เหตุผลอันสมควร)  วิศวกรจะต้องระบุเหตุผลเป็นลายลักษณ์อักษรในการ อนุญ าตหรื อ ระงับการเห็นชอบหากความรั บผิ ดชอบ ดั ง กล่ า วเป็ น อ านาจหน้ า ที่ ข องวิ ศ วกรตามที่ ร ะบุ ใ น สัญญา  ในกรณีที่อานาจหน้าที่ดังกล่าวไม่ได้เป็นของวิศวกรตาม ทีระบุในสัญญา ให้วิศวกรออกหนังสือคาแนะนาให้กับ ผู้ ว่ า จ้ า งและให้ ผู้ ว่ า จ้ า งเขี ย นข้ อ ตกลงก่ อ นการให้ อนุญาตหรือระงับการเห็นชอบจากผู้รับจ้าง ข้อจากัดของมูลค่างานของสัญญาย่อย สัญญาของ FIDIC ได้นิยามคาว่าผู้รับจ้างช่วงไว้ว่า “บุคคล ใด ๆ ที่ ถูกเสนอชื่อในสัญญาเป็นผู้รับจ้างช่วง หรื อ บุค คลใด ๆ ที่ ถูก แต่งตั้งเป็นผู้รับจ้างช่วงเพื่องานส่วนใดส่วนหนึ่ง” ผู้ รั บ จ้ า งช่ ว งที่ ไ ด้ รั บ การระบุ แ ละคั ด เลื อ กจะรวมอยู่ ใ นค า นิยามนี้ ผู้ รั บ จ้ า งไม่ จ าเป็ น ต้ อ งได้ รั บ ค ายิ น ยอมส าหรั บ การจั ด หา ผู้ผลิต/ผู้จัดจาหน่ายวัสดุต่างๆ วิศวกรไม่ควรจะทาการตัดสินใจใด ๆ ที่จะก่อให้เกิดการฝ่า ฝืนหรือผิดสัญญาของผู้รับจ้างสาหรับงานสัญญาย่อยต่าง ๆ

9-23


การบริหารจัดการสัญญา 1.21 ผู้รับจ้างช่วงที่ได้รับการระบุ และคัดเลือก (Nominated Subcontractors) ผู้รับจ้างช่วงที่ได้รับการระบุและคัดเลือก:  เป็นผู้รับจ้างช่วงที่ได้รับการระบุและคัดเลือกโดยผู้ว่าจ้าง หรือถูกกาหนดแล้วจากผู้รับจ้าง  เป็นงานพิเศษเฉพาะทางที่ผู้รับจ้างไม่สามารถดาเนินการ หรื อ ไม่ ไ ด้ รั บ การอนุ ญ าตให้ ท างานตามที่ ไ ด้ ร ะบุ ไ ว้ ใ น สัญญา ดังนั้นเงินเผื่อจ่ายของงานดังกล่าวจะต้องถูกรวมไว้ ในสั ญ ญา ซึ่ ง ค่ า ใช้ จ่ า ยหลั ก ไม่ ไ ด้ อ ยู่ ใ นการควบคุ ม ของ ผู้รับจ้าง วิศวกรต้องอ่านข้อสัญญาเฉพาะต่างๆที่เกี่ยวข้องกับผู้รับจ้าง ช่วงที่ได้รับการระบุและคัดเลือกในด้านต่างๆ อันได้แก่:  คานิยาม  เงื่อนไขสาหรับข้อคัดค้านของผู้รับจ้าง  ข้อเรียกร้องต่างๆของสัญญาย่อย  เงื่อ นไขส าหรั บค่ า สิ นไหมทดแทนของผู้ รั บจ้า งช่ว งของ ผู้รับจ้าง  การชาระเงินให้กับผู้รับจ้างช่วง  ข้อกาหนดต่างๆ สาหรับหลักฐานการชาระเงิน  หน้าที่ความรับผิดชอบในการประสานงาน  เงื่อนไขสาหรับการเพิ่มราคาของผู้รับจ้าง ถ้ามีการระบุชื่อของผู้รับจ้างช่วง วิศวกรควรจะต้องปรึกษา กับผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างช่วงดังกล่าวในช่วงเริ่มต้นของสัญญาเพื่อ:

9-24


การบริหารจัดการสัญญา  ให้ ท ราบว่ า จะไม่ มี ปั ญ หาเกิ ด ขึ้ น จากการไม่ เ ต็ ม ใจของ ผู้รับจ้างช่วงที่จะต้องทาตามข้อกาหนดของสัญญาสาหรับ ค่าสินไหมทดแทนของผู้รับจ้าง  ให้ทราบว่าผู้รับจ้างช่วงมีทรัพยากร ประสบการณ์ และ ความสามารถที่ จะปฏิบัติงานตามสัญญาย่อยที่ไ ด้รับให้ เป็นไปตามข้อกาหนดต่างๆในแผนงานของผู้รับจ้าง  และเพื่อให้คาปรึกษากับผู้รับจ้าง ถ้าเงินเผื่อจ่ายได้ถูกรวมไว้ในสัญญาแต่ไม่มีการระบุชื่อของ ผู้รับจ้างช่วง วิศวกรควรจะต้องปรึกษากับผู้ว่าจ้างเพื่อที่จะให้ทราบว่า:  ข้อกาหนดใด ๆ สาหรับการเชิญ การขออนุญาต และการ ประเมินการยื่นประกวดราคาของงานดังกล่าว จะต้องอยู่ ภายในเงินเผื่อจ่าย และ/หรือ โดยผู้รับจ้างช่วงนั้น  ให้คาแนะนาแก่ผู้รับจ้างสาหรับขั้นตอนต่างๆที่จะนามาใช้ สาหรับการแต่งตั้งผู้รับจ้างช่วงที่จะเข้ามาปฏิบัติภายใต้เงิน เผื่อจ่าย และข้อกาหนดต่าง ๆ ในส่วนที่ผู้รับจ้างจะเข้ามา เกี่ยวข้องในขั้นตอนนั้น ๆ 1.22 การปฏิบัติตามกฎหมายท้องถิ่น (Compliance with Local Law) วิศวกรจะต้องสืบค้นให้แน่ใจตั้งแต่ช่วงเริ่มงานว่ามีกฎหมาย ท้องถิ่น ระเบียบข้อบังคับ ข้อบัญญัติใด ๆ ที่เข้ามาควบคุมการบริหาร จัดการของสัญญา และในการเข้ามาครอบครองงานต่าง ๆ เมื่องานแล้ว เสร็จ ปัญหาต่าง ๆ อาจจะเกิดขึ้น เมื่อข้อกาหนดของกฎหมายที่ บังคับใช้ขัดแย้งกับเงื่อนไขของสัญญา

9-25


การบริหารจัดการสัญญา ถ้าเงื่อนไขของสัญญาและกฎหมายท้องถิ่นไม่มีความขัดแย้ง กัน ดังนั้นเงื่อนไขอ้างอิงทั้งคู่ควรจะต้องถูกทาให้เป็นที่พึงพอใจควบคู่กัน ไป 1.23 หลักเกณฑ์ของแหล่งที่มาและสัญชาติ (Rules of Origin and Nationality) วิ ศ วกรต้ อ งตรวจสอบว่ า ผู้ ว่ า จ้ า งมี ห ลั ก เกณฑ์ เ ฉพาะใด ๆ สาหรับ:  แหล่งที่มาของวัสดุและเครื่องจักรต่างๆ  เครื่องมือและพาหนะที่จะถูกจัดเตรียมภายใต้สัญญาที่จะ เป็นทรัพย์สินของผู้ว่าจ้าง  สัญชาติของบุคลากรของผู้รับจ้าง ณ ช่วงเริ่มต้นของสัญญา วิศวกรต้อง:  มีความรู้และเข้าใจกับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ  เตือนผู้รับจ้างให้คานึงถึงหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เหล่านั้น  จัดทาขั้นตอนในการบันทึกการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับ หลักเกณฑ์นั้น ๆ  แน่ใจว่าเอกสารการปฏิบัติงาน สอดคล้อง เป็นที่ยอมรับ ได้รับการจัดเตรียมก่อนการเบิกจ่ายเงิน 1.24 การเตรียมการเริ่มงานของผู้รับจ้าง (Contractor’s Mobilisation) บ่ อ ยครั้ ง ในช่ ว งแรกของสั ญ ญาที่ ผู้ รั บ จ้ า งจะร้ อ งขอต่ อ ผู้ว่าจ้างในเรื่องที่ยังไม่สามารถทาตามข้อผูกมัดได้ครบถ้วน

9-26


การบริหารจัดการสัญญา  วิศวกรจะช่วยตัดสินใจในการประเมินผลงานของผู้รับจ้าง ในกรณีที่เกิดความล่าช้าตามภารผูกพันของผู้รับจ้างเอง หรือถ้า ผู้รับจ้างมีการเริ่มงานที่เพียงพอ  ดังนั้นเป็นสิ่งสาคัญที่วิศวกรต้องจัดเก็บบันทึกประจาวัน ของการเตรียมงานของผู้รับจ้าง 1.25 ความปลอดภั ย การรั ก ษาความปลอดภั ย และการป้ อ งกั น อันตรายจากสภาพแวดล้อม (Safety, Security and Protection of the Environment) FIDIC กาหนดให้ผู้รับจ้างจัดเตรียมสิ่งของต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ ความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัย และการป้องกันอันตรายจาก สภาพแวดล้อม สั ญ ญาไม่ ไ ด้ ร ะบุ เ ฉพาะเจาะจงให้ ผู้ รั บ จ้ า งในการส่ ง ขอ อนุญาตแผนหรือขั้นตอนต่างๆสาหรับความปลอดภัยและการป้องกัน อันตรายจากสภาพแวดล้อม อย่างไรก็ตาม เงื่อนไขเฉพาะและ/หรือ ข้ อ ก าหนดก็ อ าจจะรวมเงื่ อ นไขต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความปลอดภั ย ข้างต้นเข้าไปด้วย ผู้ รั บ จ้ า งมี ภ าระความรั บ ผิ ด ชอบที่ จ ะได้ ม าซึ่ ง ข้ อ มู ล ของ กฎหมายและขั้นตอนของประเทศนั้นๆ และต้องทาตามกฎหมายที่ถูก บังคับใช้อยู่ วิศวกรจะต้องตรวจสอบว่าผู้รับจ้างทาตามกับเงื่อนไขต่างๆ ข้างต้น วิศวกรควรจะ:  ตรวจสอบว่ า ผู้ รั บ จ้ า งได้ รั บ ข้ อ มู ล ของกฎหมายที่ ถู ก นามาใช้

9-27


การบริหารจัดการสัญญา  หากผู้รับจ้างเริ่มต้นทากิจกรรมการก่อสร้างก่อนที่จะมีการ จัดเตรียมข้อมูลดังกล่าว วิศวกรจะต้องปรึกษาหารือกับ ผู้ว่าจ้างเพื่อที่จะระบุและให้ได้มาซึ่งข้อมูลนั้นๆ  ตรวจติดตามว่าผู้รับจ้างปฏิบัติหน้าที่เป็นไปตามข้อกาหนด ตามเอกสารสัญญาและกฎหมายท้องถิ่น  ตรวจสอบว่ า ผู้ รั บ จ้ า งมี ก ารจั ด เตรี ย มอุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น อันตรายส่วนบุคคลให้กับบุคลากรตามความเหมาะสมของ งานที่เกี่ยวข้อง ความปลอดภัยของคณะผู้ทางานของวิศวกร ขณะที่ ค วามปลอดภั ย ของทุ ก คนที่ ห น้ า งานเป็ น ความ รับผิดชอบของผู้รับจ้าง วิศวกรจะต้องดูแลความปลอดภัยของบุคลากร ของตน ซึ่งวิศวกรควรจะ:  แน่ใจว่าผู้รับจ้างได้มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกันอันตราย ส่วนบุคคลให้กับบุคลากรของวิศวกร  แน่ใจว่าผู้รับจ้างได้มีการจัดเตรียมและดูแลรักษาชุดปฐม พยาบาลเบื้องต้นและอุปกรณ์ดับเพลิง  จัดทาบันทึกข้อความเพื่อแจ้งให้พนักงานทราบ 1.26 บันทึกประจาวันและบันทึกเหตุการณ์ (Diaries and Events Log) บันทึกประจาวัน วิศวกรและพนักงานผู้ควบคุมงานต้องเก็บบันทึกประจาวัน ของผู้รับจ้างและกิจกรรมงานก่อสร้าง บันทึกเหตุการณ์ วิศ วกรต้อ งเก็บบั นทึ กเหตุ การณ์ ต่า งๆที่ เ กิด ขึ้น ตามล าดั บ ความส าคั ญ ของเหตุการณ์ บันทึ กดังกล่ า วจะเป็นเอกสารอ้ า งอิ ง ที่ มี

9-28


การบริหารจัดการสัญญา ประโยชน์และสามารถนามาใช้ในการเขียนรายงานความก้าวหน้าของ งานและใช้สาหรับทบทวน เรียกร้องต่างๆของผู้รับจ้าง 2. การควบคุมด้านการเงิน 2.1 บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities and Unit Prices) BOQ คือ บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา ราคาที่กาหนดใน BOQ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ปริมาณที่กาหนดไว้ใน BOQ เป็นการประมาณการสาหรับ งานแต่ละประเภท ซึ่งปริมาณอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ คาอธิบายของรายการที่อยู่ใน BOQ มีวัตถุประสงค์เพื่อการ อธิบาย ไม่ควรแก้ไขหรือใช้แทนคาอธิบายที่กาหนดไว้ในข้อกาหนดทาง เทคนิค และแบบก่อสร้าง BOQ จะต้องใช้ร่วมกับเอกสารคาอธิบาย (Preambles) และ วิธีการวัดปริมาณงาน วิธีการวัดปริมาณงาน ควรจะอธิบายครอบคลุมถึงงานและ กิจกรรมสาหรับแต่ละรายการใน BOQ การพิ จารณาของวิศวกรสาหรับวิธี การกาหนดราคา BOQ ควรอ้างอิงจากเอกสารประกวดราคาเพื่อเป็นเกณฑ์อ้างอิงในรายการ BOQ 2.2 จานวนเงินเผื่อจ่าย (Provisional Sum) สั ญ ญา FIDIC ระบุ ว่ า เงิ น เผื่ อ จ่ า ย วิ ศ วกรสามารถเขี ย น ข้อกาหนดสาหรับผลิตภัณฑ์ วัสดุ และการบริการที่ส่งมอบ  โดยผูร้ ับจ้าง (ผูร้ ับจ้างเป็นผู้รับเงินตามที่ระบุไว้ตาม เอกสาร Contract Provisions for Variations)

9-29


การบริหารจัดการสัญญา  โ ด ย ผู้ รั บ จ้ า ง ช่ ว ง ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร ร ะ บุ แ ล ะ คั ด เ ลื อ ก (Nominated Subcontractor) (ผู้รับจ้างเป็นผู้รับเงินตาม จานวนเงินของผู้ รั บ จ้า งช่ว ง รวมกับค่ า ดาเนินการและ กาไรของผู้รับจ้าง ซึ่งคานวณจากอัตราที่ระบุไว้ใน BOQ หรือภาคผนวกของเอกสารประกวดราคา 2.3 การเปลี่ยนแปลง (Variations) ในโครงการก่อสร้างจะมีการเปลี่ยนแปลงข้อกาหนดเบื้องต้น ระหว่างที่ดาเนินงานก่อสร้าง ดังนี้  ผู้ว่าจ้างมีความต้องการเปลี่ยนแปลงข้อกาหนด  วิศวกรควรให้ความเห็นที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง ข้อกาหนดเบื้องต้น  เพื่อแก้ไขข้อมูลซึ่งผิดพลาดที่ออกให้ผู้รับจ้างให้ถูกต้อง วิศวกรมีอานาจสั่งการเปลี่ยนแปลงภายใต้สัญญาเท่านั้น แต่ ไม่สามารถสั่งการเปลี่ยนแปลงสัญญา (Variation of the Contract) ซึ่ง สามารถเปลี่ยนแปลงโดยผู้เกี่ยวข้องในสัญญาเท่านั้น ผู้รับจ้างไม่สามารถจะดาเนินงานเปลี่ยนแปลงจนกว่าจะได้รบั การสั่งการหรือมอบหมายจากวิศวกร ซึ่งงานเปลี่ยนแปลงหมายถึง  สั ญ ญาก่ อ สร้ า ง: การเปลี่ ย นแปลงงานใดๆ ซึ่ ง ระบุ ใ น ข้ อ ก าหนด และแบบก่ อ สร้ า ง หรื อ ล าดั บ ขั้ น ตอนการ ทางาน หรือระยะเวลาในการก่อสร้าง  สั ญ ญาออกแบบรวมก่ อ สร้ า ง (Plant & Design-Build Contract): การเปลี่ ย นแปลงใด ๆ ในงานตามเอกสาร ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง เ จ้ า ข อ ง ง า น (Employer’s Requirement)

9-30


การบริหารจัดการสัญญา ใ น ส่ ว น ข อ ง ค า สั่ ง ก า ร ข อ ง วิ ศ ว ก ร (EI: Engineer’s Instruction) วิศวกรควรที่จะ:  แจ้งผู้รับจ้างถึงหลักการในส่วนของการจ่ายเงิน  หรือแจ้งว่างานเปลี่ยนแปลงนั้นให้เป็นไปตามการจ่ายเงิน แบบรายการงานรายวัน (Daywork)  วิศวกรอาจสั่งเปลีย่ นแปลงงานที่จาเป็นได้ โดยมีอานาจ ตามสัญญาที่จะสั่งให้ผรู้ บั จ้างปฏิบัติตามดังต่อไปนี้  เพิ่ม หรือ ลด ปริมาณงาน  ยกเลิกงาน  เปลี่ยนแปลงลักษณะหรือคุณภาพงาน  เปลี่ยนแปลงระดับ ตาแหน่ง และ/หรือ ขนาด ในส่วน ของงานใดๆ  ทางานเพิ่มตามความจาเป็นเพื่อให้งานสาเร็จลุล่วง  เปลี่ ย นแปลงล าดั บ ขั้ น ตอน หรื อ ระยะเวลาของการ ก่อสร้าง/ปฏิบัติงานในส่วนของงานใดๆ

9-31


การบริหารจัดการสัญญา การเห็นชอบเบื้องต้นจากผู้ว่าจ้าง (Employer’s Pre-approval) จะต้องแสดงให้เห็นว่ามีการเห็นชอบเบื้องต้นจากผู้ว่าจ้างใน การขอเปลี่ ย นแปลง (Caveats demonstrate) ยกเว้ น ในกรณี ที่ ค่าใช้จ่ายไม่สูงมาก หรือ กรณีเร่งด่วน ถึงแม้ว่าวิศวกรจะมีอานาจตาม สัญญาก็ตาม ผู้ ว่ า จ้ า งสามารถบอกปั ด การเปลี่ ย นแปลง หากผู้ ว่ า จ้ า ง พิจารณาว่าไม่จาเป็น หรือไม่เหมาะสม ผู้รับจ้างสามารถคิดค่าใช้จ่ายจากวิศวกร แต่ไม่สามารถคิด จากเจ้าของโครงการ ในกรณีที่วิศวกรไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขของสัญญา การปฏิบัติตามเงือ่ นไขของผู้รับจ้าง ผู้ รั บจ้า งต้อ งปฏิบัติตามงานเปลี่ ย นแปลงที่ ถูกกาหนดโดย วิศวกร ยกเว้น  ถ้ า ผู้ รั บ จ้ า งรู้ ว่ า ไม่ ส ามารถจั ด หาวั ส ดุ ไ ด้ ทั น ตามที่ ง าน เปลี่ยนแปลงระบุไว้  ในสัญญาออกแบบรวมก่อสร้าง (Plant & D-B Contract) งานเปลี่ ย นแปลงจะลดความปลอดภั ย หรื อ ความ เหมาะสมของงาน หรื อ มี ผ ลกระทบต่ อ ระยะเวลา รับประกัน (Schedule of Guaranties) เมื่อได้รับการแจ้ง วิศวกรจะยกเลิก ยืนยัน หรือเปลี่ยนแปลง งานเพิ่มลด การเปลี่ยนแปลงหลังจากงานก่อสร้างแล้วเสร็จ งานเปลี่ยนแปลงสามารถกระทาหลังจากที่ได้ออกหนังสือการ ครอบครองงาน (Taking-over Certificate: TOC) ได้หรือไม่ ?

9-32


การบริหารจัดการสัญญา (โดยหลั ก การแล้ ว เมื่ อ ออก TOC แล้ ว ไม่ ส ามารถออก เอกสารเปลี่ยนแปลงงานเพิ่มลดได้) การตี ค วามโดย FIDIC กล่ า วว่ า เมื่ อ ออก TOC แล้ ว ไม่ สามารถออกเอกสารเปลี่ยนแปลงงานเพิ่มลดได้ แต่วิศวกรอาจอนุมัติ การเปลี่ยนแปลงงานที่เสนอโดยผู้รบั จ้าง หากวิศวกรได้ขอให้ยื่นข้อเสนอ ก่อนที่จะออก TOC 2.4 การประเมินค่างานเปลี่ยนแปลง (Valuation of Variation) หลักการโดยทัว่ ไปของวิธีการประเมินค่างานเปลี่ยนแปลง เพิ่มลด ข้อกาหนด หรือเงื่อนไข (Contract provisions) สาหรับการ ประเมินค่างานเปลี่ยนแปลงเพิ่มลดใช้กับทุกการเปลี่ยนแปลงของราคา ต่อหน่วย การกาหนดราคาต่อหน่วยสาหรับรายการใหม่ของงาน หรือ ตามการปรับเปลี่ยนตามราคาในสัญญา (Contract Price) ที่ได้รับการ ยอมรับ หลักการของการประเมินค่า มีดังต่อไปนี้  งานเปลี่ยนแปลงคิดจาก อัตราและราคาตามสัญญา  ถ้ า สั ญ ญาไม่ ไ ด้ ร ะบุ อั ต ราและราคาที่ แน่ ชั ด ส าหรั บการ เปลี่ยนแปลงงาน ให้ใช้อัตราและราคาอื่นที่อยู่ในสัญญา เป็นฐานในการประเมิน  นอกเหนือจากนี้ ให้ใช้อัตราหรือราคาที่เหมาะสม ที่ได้รับ การยอมรับจากทุกฝ่าย โดยผ่านการหารือกับวิศวกร ในกรณีที่ไม่สามารถตกลงกันได้ วิศวกรจะกาหนดอัตราและ ราคา รวมทั้งแจ้งให้ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างทราบ

9-33


การบริหารจัดการสัญญา ก่อนที่อัตราและราคาจะถูกเห็นชอบ หรือเป็นที่ตกลง วิศวกร ควรกาหนดอัตราชั่วคราวเพื่อใช้สาหรับรับรองการจ่ายเงินงวดงานให้กับ ผู้รับจ้าง (On-account Payments) ถ้าการเปลี่ยนแปลงงานเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากความผิดพลาด หรือการละเมิดสัญญาโดยผู้รับจ้าง ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง ซึ่งรวมถึงค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นด้วย การปรับเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณงาน อาจมีการปรับอัตราใหม่สาหรับรายการใน BOQ ที่ปริมาณ งานมากกว่า หรือน้อยกว่าของปริมาณที่กาหนดไว้ใน BOQ ต้นฉบับตาม ร้อยละซึ่งกาหนดไว้ ในกรณีดังต่อไปนี้  ปริมาณของรายการมีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า ร้อยละ 10 จากปริมาณที่ระบุใน BOQ ต้นฉบับ  ปริ ม าณงานที่เปลี่ย นแปลงคูณ ด้วย อั ตราต่อหน่วยที่ได้ ก าหนดไว้ ส าหรั บ รายการที่ มี ป ริ ม าณงานเกิ น ร้ อ ยละ 0.01 ของยอดรวมของมูลค่าตามสัญญา  การเปลี่ ย นแปลงปริ ม าณจะมี ผ ลโดยตรงต่ อ ต้ น ทุ น ต่ อ หน่วยของรายการที่มากกว่า ร้อยละ 1  รายการนี้ไม่ได้ถูกระบุไว้ในสัญญาว่าเป็นรายการที่มี อัตรา คงที่ กรณีที่มีการลดปริมาณ ผู้รับจ้างสามารถปรับอัตราราคาต่อ หน่วยให้สูงขึ้นได้ ผู้รับจ้างต้องมีหลักฐานเพื่อยืนยัน เรื่องดังต่อไปนี้ เช่น การ เรียกร้องสิทธิ์ การทบทวนปริมาณที่เกิดขึ้นจริงว่ามากกว่าหรือน้อยกว่า ที่ประเมินไว้ มูลค่างานที่เปลี่ยนแปลงตามสั ญญา ถ้ามีการยืนยันด้วย

9-34


การบริหารจัดการสัญญา หลั ก ฐาน ราคาต่ อ หน่ วยที่ ก าหนดขึ้ น มาใหม่ ส ามารถถู ก นามาใช้ กับ ทั้งหมด แต่จะลดลง การเปลี่ยนแปลงมูลค่าในสัญญา การเปลี่ยนแปลงมูลค่าในสัญญาที่อาจไม่เป็นการเหมาะสม ในทางปฏิบัติ โดยการปรับอัตรา BOQ หรือกาหนดอัตราใหม่ โดยควรใช้ แนวทางที่เป็นที่ยอมรับ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงอาจเกิดมาจาก  การเปลี่ยนข้อกฎหมาย  ค่ารวมของมูลค่าจากการเปลี่ยนแปลงสูงเกินกว่าร้อยละ ของค่าสัญญาทีไ่ ด้กาหนดไว้  ข้อตกลงอื่นๆ เช่น ค่าใช่จ่ายที่ยืดเยื้อระหว่างการต่ออายุ งาน ข้ อ ตกลงของการอ้ า งสิ ท ธิ์ โ ดยผู้ รั บ จ้ า ง ข้ อ ตกลง สาหรับการยกเลิกงาน 2.5 งานเปลี่ยนแปลงเพิ่มลด (Variation Orders) การเปลี่ยนแปลงงานควรจัดทาและประเมินโดยวิศวกร งานเปลี่ ย นแปลงเพิ่ ม ลดอาจไม่ จ าเป็ น (นอกเหนื อ จาก เอกสารการเปลี่ยนแปลงที่เขียนขึ้นโดยวิศวกร) การอนุมัติเปลี่ยนข้อกาหนดในโครงการ เป็นกลไกที่นิยมใช้ เพื่อเป็นแนวทางในการตรวจสอบ ผู้ว่าจ้างบางรายอาจต้องการให้มีการ อนุมัติงานเปลี่ยนแปลงเพิ่มลดในโครงการ กระบวนการขออนุมัติเพื่อที่จะนาเสนอต่อผู้ว่าจ้าง และออก เอกสารให้ผู้รับจ้าง เพื่อสรุปและนาเสนอรายการงานเปลี่ยนแปลงเพิ่ม ลดทั้งหมด ในรายงานความก้าวหน้าของวิศวกร และรายงานความเสร็จ สมบูรณ์

9-35


การบริหารจัดการสัญญา วิศวกรไม่จาเป็นต้องจัดเตรียมและออกเอกสารอนุมั ติการ เปลี่ยนข้อกาหนดในโครงการสาหรับงานปรับปรุงเล็กน้อย ข้ อ แนะน า วิ ศ วกรอาจรวบรวมข้ อ เปลี่ ย นแปลงเล็ ก น้ อ ย ดั ง กล่ า วจากหลายกลุ่ ม งานในระหว่ า งที่ โ ครงการอยู่ ร ะหว่ า งการ ดาเนินงาน วิ ศ วกรต้ อ งรวบรวมและบั น ทึ ก รายการอนุ มั ติ เ ปลี่ ย น ข้อกาหนดในโครงการ รายละเอียดประกอบด้วย  เลขที่เอกสารการอนุมัติการเปลี่ยนแปลงข้อกาหนด หัวข้อ และมูลค่ารวม  วันที่ส่ง/เสนอให้กับผู้ว่าจ้าง  วันที่ได้รับการอนุมัติจากผู้ว่าจ้าง  วันที่มีการมอบหมายให้กับผู้รับจ้าง  สรุปมูลค่าของทุกการอนุมัติการเปลี่ยนแปลงข้อกาหนด 2.6 วิศวกรรมคุณค่า (Value Engineering) ผู้รับจ้างอาจส่งมอบแบบข้อเสนอให้กับวิศวกรในเวลาใดก็ได้ เพื่อกระตุ้นการแข่งขัน การรับรองของวิศวกรถือเป็นสิ่งที่จาเป็น ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งแสดงการค านวณก าไรและการประหยั ด ค่าใช้จ่าย หากต้อ งมี การเปลี่ ย นแปลงการออกแบบ ผู้ รั บจ้า งอาจไม่ ต้ อ งการลงรายละเอี ย ดการออกแบบ การรั บ รองสามารถท าได้โ ดย พิจารณาจากเบื้องต้น ในกรณีมีการรับรอง การเปลี่ยนแปลงที่นาเสนอมาอาจถือ เป็นข้อเปลี่ยนแปลงที่กาหนดโดยวิศวกร

9-36


การบริหารจัดการสัญญา 2.7 รายการงานรายวัน (Daywork) วิศวกรสามารถเขียนข้อกาหนดการเปลี่ยนแปลงในรายการ งานรายวัน (การจ่ายเงินคิดจากอัตราและราคาในตารางงานรายวัน ซึ่ง ขึ้นกับบันทึกการทางานรายวันของผู้รับจ้าง) ผู้รับจ้างอาจพยายามใช้ทรัพยากรมากเกินความจาเป็น (นอก เสี ย จากว่ า วิ ศ วกรสามารถยื น ยั น ได้ ) ควรมุ่ ง เน้ น การพิ สู จ น์ ก ารใช้ ทรัพยากรจากบันทึกประจาวันของทรัพยากรอื่นๆ วิศวกรต้องมั่นใจว่า งานรายวันและปริ ม าณทรั พ ยากรมี การควบคุ ม ดูแล มี การส่ งบันทึ ก ประจาวัน และได้รับการลงนามโดยวิศวกร ในกรณีที่ไม่มีแผนงานรายวันระบุในสัญญา การจ่ายเงินแบบ รายวันจะไม่สามารถทาได้ (ส่วนเพิ่มเติมสัญญาอาจใช้ได้เพื่อเพิ่มตาราง งานรายวันในสัญญา) วิศวกรสามารถจัดให้มีทางานเปลี่ยนแปลงสาหรับงานเล็ก ๆ เพื่อปฏิบัติในรายการงานรายวันในกรณีที่ไม่มีอัตรากาหนดใน BOQ เนื่องจากไม่มีการจูงใจสาหรับผู้รับจ้าง วิศวกรควรมุ่งเน้นการ กาหนดอัตราและราคาสาหรับงานที่เพิ่มขึ้น 2.8 การวัดปริมาณงาน (Measurement of Works) ส า หรั บสั ญ ญ าที่ ต้ อ ง วั ดปริ ม าณ ง าน (As-measured Contract) การเบิกงวดงานให้กั บผู้ รั บจ้า งโดยทั่ วไปจะขึ้น กั บการวั ด ประเมินปริมาณงานรายเดือน โดยใช้อัตราและราคาที่กาหนดใน BOQ ในกรณีสัญญาของ FIDIC วิศวกร  เป็นผู้ตรวจวัดงาน  เขียนรายงานส่งให้กับผู้รับจ้าง

9-37


การบริหารจัดการสัญญา ข้อแนะนา วิศวกรและผูร้ ับจ้างควร  ทาการตรวจวัดงานร่วมกัน  ตกลงล่วงหน้าสาหรับวิธีที่จะใช้ในการคานวณสาหรับการ วัดค่าจากแบบหรือบันทึก 2.9 การประเมินอาคารและวัสดุสาหรับงาน (Variation of Plant and Materials for the Works) ผู้ รั บจ้า งสามารถอ้ า งสิท ธิ์ขอเบิกงวดงาน ร้ อ ยละ 80 ของ มูลค่าอาคารและวัตถุดิบที่ส่งมอบไปยังหน้างาน ซึ่งอาคารและวัตถุดิบที่ จะต้องถูกใช้ไปในงาน แต่ยังไม่ได้ถูกใช้จริง (จานวนมูลค่าที่ได้รับรองนี้ จะถูกหักออกในงวดงานถัดไป) วัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้าง วิ ศ วกรต้ อ งศึ ก ษาสั ญ ญาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เงิ น ส ารองอย่ า ง ละเอียด รายการที่เกี่ยวข้องของอาคารและวัต ถุดิบควรถูกรวมไว้ใน ภาคผนวกของเอกสารประกวดราคา (นอกเหนือจากนี้ ถือว่าไม่ต้องทา) 2.10 เอกสารของผู้รับจ้าง (Contractor’s Statements) สัญญาก่อสร้าง: การจ่ายเงินงวดให้แก่ผู้รับจ้างจะขึ้นกับ การ ประเมินผลงานรายเดือนของปริมาณงาน โดยใช้อัตราและราคาที่ระบุใน BOQ สัญญาที่วัดปริมาณงานบางสัญญาอาจให้มีการจ่ายเงินตาม ตารางการทางาน หากไม่มีตารางทางานดังกล่าวระบุในสัญญา การจ่าย เงินงวดต้องจ่ายแบบรายเดือนตามปริมาณงานที่ทาจริง

9-38


การบริหารจัดการสัญญา โดยทั่ ว ไปสั ญ ญาที่ วั ด ปริ ม าณงานต้ อ งการให้ ผู้ รั บ จ้ า งส่ ง เอกสารเบิกงวดงานรายเดือนให้กับวิศวกร ซึ่งเอกสารนี้จะต้องแสดง จานวนเงินรวมของรายการต่างๆจนถึงสิ้นเดือนนั้น เอกสารรายเดื อ นของผู้ รั บ จ้ า ง (Contractor’s Monthly Statement) ควรส่งพร้อมกับ  เอกสารประกอบที่จาเป็นสาหรับวิศวกรในการตรวจสอบ ปริมาณที่เรียกจ่าย  รายงานความคืบหน้าการทางานรายเดือนของผู้รับจ้า ง เป็นรายงานสาหรับช่วงเวลาที่เกี่ยวข้องกับ Statement Contractor’s Statement ต้องส่งเป็นแบบฟอร์มที่มีการ รับรองจากวิศวกร โดยมีวัตถุประสงค์ เพือ่ ให้มีการติดตามและตรวจสอบได้ 2.11 หนังสือรับรองการจ่ายงวดงาน: ข้อกาหนดทั่วไป (Interim Payment Certificates: General Requirement: IPC) ภายใน 28 วันหลังจากวิศวกรได้รับหนังสือขอเบิกงวดงาน จากผู้รับจ้างควรดาเนินการทาหนังสือรับรองการจ่ายงวดงาน (IPC) ซึ่งมี การคานวณยอดเงินที่สามารถจ่ายให้แก่ผู้รับจ้างในงวดนั้นๆและส่งให้แก่ ผู้ว่าจ้างได้ โดยมีสิ่งที่ต้องเตรียมประกอบดังนี้ ก) หลั ก ประกั น สั ญ ญา ( Performance Security) ที่ ถู ก ยอมรั บ โดยผู้ ว่ า จ้ า งแล้ ว ถ้ า ผู้ รั บ จ้ า งไม่ มี ห ลั ก ประกั น สัญญาวิศวกรก็จะไม่มีการออกหนังสือรับรองการจ่ายงวด งาน (IPC) ข) ถ้ายอดเงินสุทธิน้อยกว่ายอดเงินขั้นต่าของการจ่า ยงวด งานซึ่ ง ถู ก ระบุ ไ ว้ แ ล้ ว ในเอกสารผนวกพร้ อ มใบเสนอ

9-39


การบริหารจัดการสัญญา ประกวดราคา ดังนั้นวิศวกรจะไม่ออกคาสั่งผูกมัดใดๆใน หนังสือรับรองการจ่ายงวดงาน (IPC) จนกว่าจะมีหนังสือ รับรองการรับมอบงาน (Taking-over Certificate) ค) ผู้รับจ้างจะต้องเตรียมรายงานความก้าวหน้าประจาเดือน แนบมาด้วย

ในกรณีของการจ่ายเงินล่าช้าผู้รับจ้างจะใช้สิทธิ Financing Charge (ไม่มีการประกาศเป็นทางการหรือไม่ต้องมีหนังสือรับรองและ กระบวนการณ์เรียกร้องใดๆ) ถ้าวิศวกรไม่ทาหนังสือรับรองการจ่ายงวดงานตามกรอบเวลา ที่ ก าหนด ผู้ รั บ จ้ า งท าหนั ง สื อ แจ้ ง เร่ ง ด าเนิ น การภายใน 21 วั น ใน ระหว่ า งนั้ น ผู้ รั บ จ้ า งอาจจะเลื่ อ นแผนงานหรื อ ลดอั ต ราการท างาน จนกระทั่งได้รับ IPC หรือมีหลักฐานว่าจะได้ค่างวดงานภายใน 21 วัน การกระทาดังกล่าวอาจจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมและหรือทาให้ โครงการล่าช้าซึ่งผู้ว่าจ้างอาจจะเรียกค่าเสียหายกับวิศวกรตามมา หากวิศวกรไม่สามารถออก IPC ภายใน 56 วันหลังจากได้รับ การหนังสือของเบิกงวดงานและเอกสารประกอบจากผู้รับจ้างครบถ้วน แล้ว ผู้รับจ้างมีสิทธิในการบอกเลิกสัญญาได้ ถ้าผู้รับจ้างทางานตามเงื่อนไขต่างๆของสัญญาและผลการ ทดสอบงานเป็นที่พอใจแล้ว วิศวกรจะต้องไม่ดึงหนังสือรับรองการจ่าย เงินงวดงานของผู้รับจ้างโดยไม่มีเหตุอันควร แต่หากผลการทดสอบ 9-40


การบริหารจัดการสัญญา ปรากฏว่ า งานยั ง มี ข้ อ บกพร่ อ งอยู่ ดั ง นั้ น มู ล ค่ า งานในการแก้ ไ ข ข้อบกพร่องที่เหมาะสมจะถูกนาไปคานวณไว้ในงวดงานถัดไปหลังจากที่ ผู้รับจ้างได้แก้ไขงานเรียบร้อยแล้ว ถ้างานก่อสร้างยังไม่เสร็จสมบูรณ์หรือมีข้อบกพร่อง วิศวกร ควรจะพิจารณาดังต่อไปนี้  ข้อบกพร่องของงาน (Defect) นั้นสามารถแก้ไขได้หรือไม่  ถ้าแก้ไขไม่ได้ก็ไม่สามารถออกหนังสือรับรองการจ่ายเงิน  มูลค่าของงานแก้ไขข้อบกพร่องที่เหมาะสม ถ้าผู้รับจ้างมีข้อบกพร่องของงาน (Defect) หลายรายการ (ที่ ยังไม่ได้มาแก้ไข) วิศวกรสามารถใช้ดุลพินิจในการหักเงินตามมูลค่างาน ในสัญญาจนกว่าผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างรายนั้นจะถูกปรับปรุงให้ ดีขึ้น การแก้ไข และ/หรือการปรับหนังสือขอเบิกเงินงวดงานของ ผู้รับจ้าง วิศวกรต้องดาเนินการดังนี้  ต้องทาเครื่องหมายแสดงการเปลี่ยนแปลงให้ชัดเจน  ต้ อ งได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากผู้ รั บ จ้ า งหรื อ ตั ว แทนของ ผู้รับจ้างก่อนออก IPC  ถ้าผู้รับจ้างไม่ยอมรับ ต้องแจ้งผู้ว่าจ้าง (เป็นทางการ) ถึง เหตุผลที่ ผู้รับจ้างไม่ยอมรับการแก้ไขและปรับแก้หนังสือ ขอเบิกงวดงานทีผ่ ู้รับจ้างเสนอมา การปรับราคางาน (Price Adjustment) ราคางานตามสัญญาทั้งจากงานเพิ่ม และงานลดสามารถปรับ ได้ โดยขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงข้อกฎหมายเรื่องราคากลางในแต่ละ ประเทศ

9-41


การบริหารจัดการสัญญา วิ ศ วกรควรรั บ รองค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เ พิ่ ม ขึ้ น หรื อ ลดลงดั ง กล่ า ว หลังจากการตรวจสอบรายละเอียดของการตั้งเบิกแล้ว ผู้ รั บจ้า งจะเสนอมูลค่ างานเพิ่ม ในขณะที่ผู้ว่าจ้า งจะเสนอ มูลค่างานลดให้พิจารณา โดยทั่วไปการปรับราคาจะไม่ถูกยอมรับหากการเปลี่ยนแปลง กฎหมายเกิ ด ขึ้ น หลั ง จากเวลาก า หนดเสร็ จ ของงาน (Time for Completion) ยกเว้นงานเปลี่ย นแปลงที่ มีคาสั่งออกมาระหว่างเวลา ก าหนดเสร็ จของงาน หรื อ ช่ ว งระหว่า งการแจ้ ง ข้อ บกพร่ อ งของงาน (Defect) ในสัญญามาตรฐาน FIDIC ได้มีการบรรจุสูตรในการปรับราคา (Price Adjustment Formula) เพื่ อ ให้ ผู้ รั บ จ้ า งสามารถปรั บ ราคา สาหรับงานเปลี่ยนแปลงในส่วนค่าแรงและค่าวัสดุไว้ ผู้รับจ้างจาเป็นที่จะต้องส่งเอกสารขออนุมัติการปรับราคา และวิศวกรจะทาการตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆแต่ละหัวข้อ เป็น ต้น ถ้าผู้รับจ้างทางานทั้งหมดไม่เสร็จตามกาหนดเวลาแล้วเสร็จ ของงาน ตั ว คู ณ ปรั บ ค่ า (Adjustment Multiplier) ส าหรั บ งานที่ ดาเนินการไปแล้วหลังจากกาหนดแล้วเสร็จของงาน จะต้องครอบคลุม มูลค่างานที่เหมาะสมถึงเดือนที่อยู่ในช่วงระหว่างกาหนดเวลาแล้วเสร็จ ของงานสิ้นสุด การชาระคืนเงินชาระล่วงหน้าในสัญญา (Repayment of Advance Payment) เงินชาระล่วงหน้าในสัญญาจะต้ องถูกชาระคืนแก่ผู้ว่าจ้างใน ระหว่างการปฏิบัติงาน โดยการหักเงินออกจากค่างวดงานแต่ละงวด ใน สัญญาจะระบุเวลาในการเริ่มหักเงินเพื่อชาระคืน ระบุยอดเงินที่จะหัก แต่ละงวดและระบุเวลาที่จะหักเงินคืนทั้งหมด 9-42


การบริหารจัดการสัญญา การช าระคื นเงิน ช าระล่ ว งหน้ า ในสั ญ ญา จะท าให้ จ านวน หลักประกันสาหรับเงินชาระล่วงหน้าในสัญญา (ข้อที่ 1.8) ลดลงตามไป ด้วย ซึ่งวิศวกรควรดาเนินการดังนี้  อนุมัติการชาระเงินล่วงหน้าในสัญญา โดยผ่านทาง IPC  หั ก เงิ น จากค่ า งวดใน IPC เพื่ อ มาช าระคื น เงิ น ช าระ ล่วงหน้าในสัญญา  แจ้ ง ผู้ ว่ า จ้ า งแต่ ล ะครั้ ง ที่ มี ก ารหั ก เงิ น ช าระล่ ว งหน้ า ใน สัญญาออกจากค่างวดงานถึงจานวน หลักประกันสาหรับ เงินชาระล่วงหน้าในสัญญาที่ลดลง การหักเงินประกันผลงาน (Deductions for Retention) เงินประกันผลงาน จะถูกหักโดยผู้ว่าจ้างจากเงินค่างวดของ ผู้รับจ้าง ซึ่ง  หักใน IPC โดยหักเป็นร้อยละ ตามที่ระบุในภาคผนวกของ เอกสารประกวดราคา (Appendix to Tender)  หักไปเรื่อยๆจนกระทั่งถึงจานวนสูงสุด (ถ้ามี) ตามที่ระบุ ในภาคผนวกของเอกสารประกวดราคา ส่วนใหญ่จะระบุในภาคผนวกของเอกสารประกวดราคา ให้ หักร้อยละ 10 ของค่างวดงานแต่ละงวด และสะสมไม่เกินร้อยละ 5 ของมู ล ค่ า งานตามสั ญ ญา ซึ่ ง วิ ศ วกรจะต้ อ งท าการตรวจสอบให้ สอดคล้องกับเงื่อนไขดังกล่าว การจ่ายเงินประกันผลงานคืนผู้รับจ้าง (Payment of Retention Money) วิศวกรที่จะรับรองการจ่ายเงินประกันผลงานคืนผู้รับจ้างใน กรณีนี้

9-43


การบริหารจัดการสัญญา  จ่ า ยคื น ร้ อ ยละ 50 ของเงิ น ประกั น ผลงานเมื่ อ ผู้ รั บ จ้า ง ได้รั บ ”หนังสื อ รั บรองการรั บมอบงาน (TOC) ของงาน ทั้งหมด”  ถ้าผู้รับจ้างได้รับ TOC บางส่วนของงานทั้งหมด วิศวกรจะ คานวณจ่ายคืนตามสัดส่วนของงานที่ผู้รับจ้างได้รับ TOC เมื่ อ สิ้ น สุ ด ระยะเวลาการรั บ ประกั น ความเสี ย หาย (DNP) วิศ วกรจะต้องทาหนังสือรั บรองการจ่ายเงินประกันผลงานคืน โดยมี ข้อพิจารณาดังนี้  ถ้ายังเหลืองานที่ยังไม่ได้แก้ไขหลังจากสิ้นสุด ระยะเวลา การรั บ ประกั น ความเสี ย หาย วิ ศ วกรจะต้ อ งระงั บ การ รับรองการจ่ายเงินประกันผลงานคืนเท่ากับจานวนมูลค่า งานที่เหลือ  ถ้ า มี ง านหลายส่ ว นและแต่ ล ะส่ ว นมี ร ะยะเวลาการ รับประกันความเสียหายแตกต่างกัน แล้วมีงานส่วนใดที่ ได้ รั บ TOC และสิ้ น สุ ด ระยะเวลาการรั บ ประกั น ความ เสียหายแล้ว วิศวกรก็สามารถคานวณสัดส่วนเพื่อจ่ายเงิน ประกันผลงานคืนให้ผู้รับจ้างได้ การรับรองดังกล่าวจะต้องทาภายใต้ IPCs ไม่ว่าจะแยกจ่าย หรือจ่ายร่วมกับงวดงานอื่นๆ ก็ตาม (ถึงแม้ว่าจะจ่ายเงินประกันผลงาน คืนแล้ว) ก็ไม่ทาให้สัญญาเป็นอันสิ้นสุด จนกว่าวิศวกรจะลงชื่อรับรองใน หนังสือรับรองการปฏิบัติตามสัญญา (Performance certificate) และ ส่งให้ผู้ว่าจ้างเรียบร้อย การรั บ รองการจ่ า ยเงิ น ประกั น ผลงาน(กรณี แ บ่ ง จ่ า ยตาม สัดส่วน) ไม่เป็นเงื่อนไขให้ต้องจ่ายเงินประกันผลงานคืนทั้งหมด (ส่วนที่ เหลื อ วิ ศ วกรจะท าหนั ง สื อ รั บ รองจ่ า ยให้ ทั น ที เ มื่ อ สิ้ น สุ ด ระยะเวลา รับประกันผลงาน)

9-44


การบริหารจัดการสัญญา หลักประกันเงินประกันผลงาน (Security for Retention Money) ในบางสั ญ ญาการจ่า ยเงินประกันผลงานคืนจะเกิดขึ้นเมื่อ ผู้รับจ้างนาหนังสือค้าประกันเงินประกันผลงานมาแลก และผู้ว่าจ้าง ยอมรับรับหนังสือค้าประกันเงินประกันผลงานแล้ว โดยมีรายละเอียด ดังนี้  ในกรณีที่งานก่อสร้างมี TOC และ DNP หลายส่วน โดยที่ มีบางส่วนได้รับ TOC และสิ้นสุด DNP แล้ว วิศวกรจะต้อง ท าหนังสื อรับรองให้ล ดมู ลค่าของหนังสือค้าประกันเงิน ประกันผลงานลงอย่างเหมาะสม หรือให้จ่ายเงินประกัน ผลงานคืนให้ผู้รับจ้างอย่างเหมาะสม  หรื อ หลั ง จากได้ อ อก TOC ของงานทั้ ง หมดแล้ ว ก็ ต าม วิศวกรจะต้องทาหนังสือรับรองการคืนหนังสือค้าประกัน เงินประกันผลงาน 2.12 การจ่ายงวดงาน (Interim Payments)  สัญญามาตรฐานของ FIDIC ระบุให้ผู้ว่าจ้างต้องจ่ายเงินค่า งวดภายใน 56 วันหลังจากวิศวกรได้รับเอกสารขอเบิกค่า งวดงาน (โดยไม่คานึงถึงวันที่วิศวกรออก IPC)  ผู้ ว่ า จ้ า งจะต้ อ งจ่ า ยเงิ น เต็ ม จ านวนที่ ร ะบุ ใ น IPC ให้ ผู้รับจ้าง โดยไม่สนใจถึงข้อโต้แย้งใด ๆ ที่ผู้ว่าจ้างอาจจะมี กับผู้รับจ้างจนการเรียกร้องดังกล่าวได้รับการตกลงหรือ นามาคิดคานวณเสร็จ

9-45


การบริหารจัดการสัญญา 2.13 การจ่ายเงินงวดงานล่าช้า (Delay Payments)  เป็นภาระผูกพันตามสัญญาที่ผู้ว่าจ้างจะต้องจ่ายเงินค่า งวดงานภายในเวลาและเต็มจานวน และยังกาหนดสิทธิให้ ผู้รับจ้างสามารถเรียกเก็บค่าดอกเบี้ยได้ หากผู้ว่าจ้างไม่ จ่ายเงินตามเวลาและเต็มจานวน ผู้รับจ้างมีสทิ ธิ์ที่จะ  กรณีการชาระเงินไม่เป็นไปตามกาหนด: หยุดงานหรือลด อัตราการทางานลง(หลังจากได้ทาหนังสือแจ้งแล้ว ) และ ผู้ว่าจ้างจะต้องให้ผู้รับจ้างขยายเวลาและ/หรือเพิ่มมูลค่า งานได้  กรณีครบกาหนดชาระเงินแล้วแต่ไม่จ่ายเงินให้ผู้รับจ้าง: ผู้รับจ้างสามารถบอกเลิกสัญญาได้ (หลังจากได้ทาหนังสือ แจ้งอย่างเหมาะสมแล้ว)  เพื่ อ หลี กเลี่ ย งผลกระทบจากการจ่า ยเงินงวดงานล่ า ช้ า วิศวกรควรจะ  ตระหนักถึงบทบัญญัติแห่งสัญญาสาหรับการชาระเงินตรง เวลา  เมื่ อ ออกหนั ง สื อ รั บ รองการจ่ า ยเงิ น ให้ แ จ้ ง ผู้ ว่ า จ้ า งให้ ทราบกาหนดการจ่ายเงินด้วย  บอกให้ผู้ว่าจ้างแจ้งกลับให้ทราบ เมื่อจ่ายเงินให้ผู้รับจ้าง แล้ว  ติดตามสถานการณ์จ่ายเงินค่างวดงาน (จนกว่าผู้รับจ้าง ได้รับเงิน)  แจ้ ง ให้ ผู้ ว่ า จ้ า งทราบทั น ที หากการเตรี ย มเอกสารการ จ่ายเงินยังไม่ดาเนินการใน 7 วันก่อนถึงกาหนดการชาระ

9-46


การบริหารจัดการสัญญา และแจ้งให้ทราบถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามสัญญาหาก ไม่ดาเนินการ ดอกเบี้ย (Interest)  ผู้ว่าจ้างต้องจ่ายดอกเบี้ยในกรณีที่จ่ายเงินล่าช้าตามอัตรา ที่กาหนดไว้ในสัญญา ดอกเบี้ยนี้ถือว่าเป็นผลมาจากการ ละเมิดสัญญาของผู้ว่าจ้างเอง ผู้รับจ้างมีสิทธิคิดดอกเบี้ย โดยไม่ต้องแจ้งเป็นหนังสือหรือมีใบรับรองใด ๆ สาหรับ หนังสือรับรองดอกเบี้ยของวิศวกร  ผู้รับจ้างอาจจะรวมดอกเบี้ยในเอกสารตั้งเบิก  วิศวกรไม่ควรทาหนังสือรับรองดอกเบี้ยให้ผู้รับจ้างจนกว่า จะมีการทาหนังสือเรียกร้องดอกเบี้ยจากผู้รับจ้าง  ถ้ า ผู้ รั บ จ้ า งรวมดอกเบี้ ย ไว้ ใ นเอกสารตั้ ง เบิ ก วิ ศ วกรมี หน้าที่รับรองความถูกต้อง และแก้ไขดอกเบี้ยให้สอดคล้อง ใน IPC เท่านั้น  เว้นแต่การจ่ายดอกเบี้ยนั้นจะเป็นสิ่งผิดกฎหมาย หรือไม่มี ผลบังคับภายใต้สัญญา ความผิดของผู้ว่าจ้างในการจ่าย ดอกเบี้ยดังกล่าวเป็นการละเมิดสัญญา เรื่องนี้เหมือนกับ ผลกระทบตามสัญญากรณีจ่ายค่างวดช้าหรือไม่จ่ายเงิน ใดๆภายใต้สัญญา [ดูหัวข้อย่อยที่ 16.1 และ 16.2] 2.14 การประมาณมูลค่างานเพื่อปิดโครงการ  วิศวกรจะต้องติดตามดูแลประเมินมูลค่างานจนเสร็จสิ้น ของแต่ ล ะสั ญ ญาตลอดทั้ ง สั ญ ญา (จะต้ อ งแจ้ ง เตื อ น ผู้ว่าจ้างไม่ให้เกิดสถานการณ์ค่าใช้จ่ายบานปลาย) แนะนา ว่าการประเมินมูลค่าจะต้องอัพเดททุกสถานการณ์ต่อไปนี้  ทุกครั้งที่มคี าสั่งงานเปลีย่ นแปลงเกิดขึ้น 9-47


การบริหารจัดการสัญญา  ทันทีหลังจากออก IPC  เป็นพันธะสัญญาของผู้ว่าจ้างที่จะต้องจ่ายค่าดาเนินงาน ของผู้ รั บจ้า ง: ผู้ รั บจ้า งต้อ งการความมั่ นใจว่า ผู้ ว่า จ้ า งมี แหล่งเงินทุนที่จะจ่ายเพิ่มเติมในพันธะสัญญานี้ 2.15 การบริหารปริมาณงาน: บัญชีแสดงปริมาณงาน (Bill of Quantities: BOQ) ปริ ม าณงานของต้ น ฉบั บ BOQ ของสั ญ ญาก่ อ สร้ า ง FIDIC (ประเภท As measured contract –สัญญาที่ต้องมาวัดอีกครั้งตามที่ ก่อสร้างจริง) ยึดตามการออกแบบ ปริมาณเหล่านี้ถูกประมาณเอาไว้ ดังนั้นวิศวกรจะต้องไม่เชื่อมั่นใน BOQ ดังกล่าวเมื่อ  ปริมาณเหล่านั้นได้ประมาณขึ้นมาจากแบบเบื้องต้น เพื่อ วัตถุประสงค์ในการประกวดราคา  ปริ ม าณต้ น ฉบั บ อาจจะท าขึ้ น มาตามข้ อ ก าหนดในการ ออกแบบซึ่งอาจจะเปลี่ยนไปแล้วตอนที่เตรียม BOQ  เกิดเงื่อนไขที่ไม่คาดฝันในหน่วยงานก่อสร้าง  การถอดปริมาณงาน (Quantity Take-offs) วิศวกรควรจะหาพนักงานถอดปริมาณงานให้เร็วที่สุดเท่าที่ ทาได้ เพื่อ  ถอดปริมาณงานจากแบบที่ได้รับมาหรือแบบก่อสร้างที่ส่ง ให้ผู้รับจ้าง เพื่อยืนยันหรือแก้ไขปริมาณงาน  ในกรณี ที่ ป ริ ม าณงานใน BOQ มี ค วามแตกต่ า งอย่ า งมี นัยสาคัญจากแบบก่อสร้าง รีบหารือกับผู้ว่าจ้างและทีม ผู้ออกแบบเพื่อแก้ปัญหา

9-48


การบริหารจัดการสัญญา  ในกรณีที่ยอมรับว่าปริมาณงานตาม BOQ มีความแตกต่าง จากแบบก่อสร้างจริง ก็ต้องออกคาสั่งงานเปลี่ยนแปลงให้ ผู้รับจ้าง บัญชีแสดงปริมาณงาน: ติดตามแนวโน้มของปริมาณงาน (Monitoring Quantity Trends) ผลลัพธ์ของปริมาณงานสุดท้ายแล้ว อาจจะไม่ตรงกับ BOQ ฉบับเริ่ ม แรก เพราะการเปลี่ ย นแปลงแบบก่อ สร้ า ง มี เ หตุการณ์ ที่ ไม่ คาดคิดในการก่อสร้าง เป็นต้น การติดตามแนวโน้มของปริมาณงานจะให้ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของ ปริมาณงานสุดท้าย วิศวกรจะต้อง  ติ ด ตามแนวโน้ ม ของปริ ม าณงานทุ ก ครั้ ง ที่ ง าน มี ความก้าวหน้า  ในกรณี ที่ มี งานเพิ่ม ต้อ งตรวจสอบว่ามี งานลดในส่วนที่ เกี่ยวข้องกันหรือไม่  ในกรณีที่ยอมรับว่ามีงานเปลี่ยนแปลงจริง ก็ต้องออกคาสั่ง งานเปลี่ยนแปลงให้ผู้รับจ้าง 2.16 การติดตามและรายงานผลความก้าวหน้าของงาน (Monitoring & Reporting Works Progress Percentage of Progress) วิธีการที่ดีที่สุดในการติดตามความก้าวหน้าในงานก่อสร้างคือ การประเมินจากจากมูลค่างานที่แล้วเสร็จ  ในกรณี สั ญ ญาก่อ สร้ า ง(ทั่ วไปของ FIDIC): ติดตามจาก มูลค่างานที่แล้วเสร็จแต่ละรายการใน BOQ และเวลาการ ทางาน

9-49


การบริหารจัดการสัญญา  ในกรณีสัญญาออกแบบรวมก่อสร้าง ของ FIDIC (Plant & Design-Build Contract) กั บ แผนของราคาเหมารวม : ติดตามจากมูลค่างานรวมที่ประเมินเป็นร้อยละของการ แล้วเสร็จของงานตามราคางานนั้นๆ มูลค่าของงานที่แล้วเสร็จและมูลค่าของงานตามสัญญาควร แยกสิ่งเหล่านี้ออกจากกัน (ไม่เอามูลค่าต่อไปนี้มาคานวณความก้าวหน้า ของงาน) คือ  มูลค่าเงินเบิกจ่ายล่วงหน้า หรือ การชาระคืน  มูลค่าเงินประกันผลงาน  มูลค่าที่เกิดจากการปรับราคาในสัญญาให้สูงขึ้น เช่นจาก การเตรี ย มการส าหรั บ สิ่ ง ต่ า งๆ การขึ้ น -ลงของราคา กฎหมายเปลี่ยนแปลง การละเลยงาน เป็นต้น  มู ล ค่ า จากการปักหลั ก ของผู้ รั บจ้ า ง(เพื่ อ เตรี ย มท างาน) ยกเว้นว่า มี ร ายการงานดังกล่ า วอยู่ ใน BOQ หรื อ อยู่ ใน แผนมูลค่างาน  มูลค่าการขยายราคาระหว่างการขยายเวลา  มูลค่างานรวมชั่วคราวเพื่อกรณีฉุกเฉิน  มูลค่าที่รวมภาษีเข้าไปแล้ว งานเปลี่ ย นแปลงจะมี ค าสั่ ง ออกมาและงานเปลี่ ย นแปลง เหล่านั้นถูกรวมเข้าไปใน BOQ: มูลค่าของงานในสัญญา = มูลค่าของ BOQ ที่ปรับแก้แล้ว มูลค่าของงานในสัญญาคือเป้าหมายที่เคลื่อนที่ตลอดเวลา ดั ง นั้ น มั น ไม่ เ พี ย งพอที่ จ ะรายงานความก้ า วหน้ า ของงานโดยอาศั ย ความสัมพันธ์ของมูลค่างานตามสัญญาต้นฉบับ เพราะมันเป็นตัวชี้วัดที่ ไม่น่าเชื่อถือว่างานจะเสร็จ

9-50


การบริหารจัดการสัญญา มูลค่าของงานที่เสร็จ = มูลค่างานครั้งก่อน + มูลค่างานที่ ตามมาภายหลัง แผนภูมิความก้าวหน้า (Progress Chart) ความก้าวหน้าของงานถูกวางเทียบกับแผนงานและแผนการ เงิ น ที่ ผู้ รั บ จ้ า งเสนอไว้ ใ นตอนแรกของสั ญ ญา ดั ง นั้ น ควรที่ จ ะปรั บ แผนงานและแผนการเงินใหม่ให้สอดคล้องกับแผนแก้ไขที่ผู้รับจ้างเสนอ มาใหม่ด้วย แผนภูมิความก้าวหน้าของงานประกอบด้วยกราฟมูลค่างาน และกราฟมูลค่างานที่ดาเนินการไปแล้ว ซึ่งถูกเขียนขึ้นบนมาตราส่วน เวลาเดิ ม ที่ ร ะบุ วั น แล้ ว เสร็ จ ของงาน และนอกจากนั้ น ยั ง จะแ สดง ระยะเวลาที่ขยายออกไป กราฟความก้าวหน้าของงานจริงจะถูกเขียนจากมูลค่างานที่ แล้วเสร็จช่วงปลายเดือนของแต่ละเดือน ซึ่งทาให้สามารถเปรียบเทียบ กับแผนงานได้ 2.17 การเพิ่มสัญญาและการแก้ไขสัญญา (Contract Addenda and Amendments)  วิศ วกรไม่สามารถเปลี่ยนแปลงส่วนใด ๆ ของสัญญาได้ (จะท าได้ก็เ พี ย งเขียนข้อ ตกลงระหว่า งคู่สั ญญาเท่านั้น) บางครั้งการเพิ่มสัญญาต้องมีสถาบันเงินทุนมาร่วมเซ็นชื่อ ยินยอมด้วย  การออกเอกสารเพิ่ ม สั ญ ญานั้ น มี ค วามแตกต่ า งกั น ไป ขึ้นกับผู้ว่าจ้างและหรือข้อปฏิบัติของสถาบันเงินทุน  เริ่มแรกของสัญญา วิศวกรจะต้องตรวจดูว่ามีข้อบัญญัติใด ก าหนดกระบวนการที่ จ ะเปลี่ ย นแปลงสั ญ ญา หากไม่

9-51


การบริหารจัดการสัญญา วิศวกรจะต้องร่วมกับผู้ว่าจ้างในการสร้างความต้องการ และกระบวนการณ์นั้นขึ้นมา 3. การบริหารควบคุมสัญญาอย่างต่อเนื่อง 3.1 คาสั่งการของวิศวกร (Engineer’s Instructions) คาสั่งการ ที่มอบหมายโดยวิศวกรต้องเป็น “ลายลักษณ์อักษร (in Writing) ... โดยใช้แบบฟอร์มมาตรฐาน (A Standard Format) คาสั่งการด้วยวาจา ณ ภาคสนาม (Site) ...  ควรจากัดการใช้เฉพาะในกรณีที่ “ฉุกเฉิน” เท่านั้น  วิศวกรต้องออกคาสั่งการให้เป็น “ลายลักษณ์อกั ษร” ใน เวลาต่อมา หากผู้รับจ้าง (the Contractor) ได้ ยืนยันคาสั่งนั้น เป็นลาย ลักษณ์อักษร ภายใน 2 วันหลังจากคาสั่งด้วยวาจา และวิศวกร “ไม่ได้ โต้แย้ง (Contradict) ภายใน 2 วันทาการที่ได้รับเอกสารข้างต้น (ดังนั้น) ให้ถือว่าคาสั่งด้วยวาจานั้นเป็น “คาสั่งการของวิศวกร” ผู้ช่วยของวิศวกร ที่มีอานาจในการออกคาสั่งการแทนวิศวกร ได้ จะต้องได้รับมอบอานาจอย่างเป็น “ลายลักษณ์อักษร” 3.2 การประชุมติดตามความก้าวหน้าเป็นประจา (Regular Progress Meetings) ความถี่ในการประชุม (ช่วงระยะเวลา) เพียงพอและเหมาะสม ตามความจาเป็นแห่งสัญญา เช่น ทุกเดือนต้องไม่ต่ากว่าเดือนละ 1 ครั้ง (Monthly Progress Meetings) ต้องมีผู้แทน “คู่สัญญา (the Parties)” เข้าร่วมในการประชุม นั้น ๆ วิศวกร เป็นประธาน (Chair) และบันทึกการประชุม

9-52


การบริหารจัดการสัญญา ผู้เข้าร่วมการประชุมต้องเป็นผู้ที่สามารถจะแจ้งรายงาน และ มีอานาจในการตัดสินใจ ในกรณีต่างๆ สามารถสั่งการและมอบหมาย (Delegate) ให้เกิดการดาเนินการที่จาเป็น วิศวกร ควรเป็นผู้จัดทาร่าง วาระการประชุม และแจกจ่ายไป ถึงผู้ ว่า จ้า ง (the Employer) และผู้ รั บจ้า ง (the Contractor) รวมถึง ขอให้แต่ละฝ่ายแจ้ง “วาระอื่นๆ” ที่ต้องการให้เพิ่มเติม (ถ้ามี) การประชุมระหว่าง “วิศวกร” กับ “ผู้รับจ้าง” อาจต้องมี ความถี่มากกว่า “ประชุมประจารายเดือน” ซึ่งจะเป็นการเหมาะสมกว่า เช่น ทุกสัปดาห์โดยสัมพันธ์ (Coincide) กับกาหนดระยะเวลาที่ ผู้รับ จ้างจะต้องจัดส่งแผนงาน (Work Schedules) บันทึกการประชุม (Minutes of Meetings - MOM)  ไม่ใช่เป็นการสื่อสารหรือข้อตกลงแห่งสัญญา  ไม่เป็น “คาสั่งการ” ทางการแต่อย่างใด (NOT Formal Instructions) ที่จะต้องออกเป็นลายลักษณ์อักษร  อาจเป็นการบันทึกไว้แสดง “เจตนา” (Intent) ที่ต้องการ สื่อสาร แต่ ... การสื่ อ สาร (ที่ เ ป็ น ทางการ) ต้ อ งจั ด ท าเป็ น “ลายลั กษณ์ อักษร”

3.3 การต่ออายุหลักประกันและการประกัน (Continuing Validity of Securities and Insurance)

9-53


การบริหารจัดการสัญญา หนังสือค้าประกันสัญญา (ผลงาน) (Performance Security) ดารงให้อายุการรับประกันของหนังสือค้าประกันยังคงมีผล บั ง คั บ จนกว่ า จะมี ก ารออกหนั ง สื อ รั บ รองผลงาน (Performance Certificate)  ตรวจสอบ อายุการค้าประกัน  หากมีการขยายระยะเวลาแล้วเสร็จของสัญญา  ต้ อ งแจ้ ง “ผู้ ว่ า จ้ า ง” ให้ ร้ อ งให้ “ผู้ รั บ จ้ า ง” ขยาย ระยะเวลาการประกัน และนาส่ง หนังสือค้าประกันที่ได้ ขยายระยะเวลาแล้ว และ  ช่ ว ย “ผู้ ว่ า จ้ า ง” ในการร่ า งหนั ง สื อ สั่ ง การให้ “ผู้รับจ้าง” ดาเนินการ จัดทาและนาส่ง “หนังสือค้า ประกัน” ที่มีอายุการรับประกันที่ถูกต้อง ต้องระบุ “มูลค่า” ของการรับประกัน  ในภาคผนวกของ เอกสารการประกวดราคา (the Appendix to Tender) เป็นจานวนที่ แน่นอน (Fixed Amount) หรือกาหนดเป็น ร้อยละ หรือ (%) ของมูลค่า สัญญา (The Accepted Contract Amount) มู ล ค่ า สั ญ ญา (Contract Price) ถู ก ก าหนดให้ ต้ อ งมี ก าร ปรับเปลี่ยนตามเงื่อนไขแห่งสัญญา เช่น เมื่อ  วาระของสัญญามีการเปลี่ยนแปลง  มีการเปลี่ยนขอบข่ายของงานตามสัญญา (the Works)  มีการเรียกร้องค่าจ้างหรือค่าชดเชย (Claims)  มี ก ารเปลี่ ย นแปลงของปริ ม าณงาน (Quantities of Works) ที่ได้ดาเนินการ  มีการปรับ(เปลี่ยน) อื่นๆ หนังสือประกันการจ่ายค่าจ้างล่วงหน้า

9-54


การบริหารจัดการสัญญา ต้องถูกยืดเหนี่ยวไว้จนกว่า ค่าจ้างล่วงหน้าที่จ่าย ได้รับการ จ่ายคืน (Repaid) หรือถูกคานวนหักจากค่าจ้างตามความก้าวหน้าของ งาน หากค่าจ้างล่วงหน้า ได้ถูกหักเพิ่มขึ้นตามการจ่ายค่าจ้างตาม ความก้าวหน้า (the Engineer’s IPC) มูลค่าของหลักประกัน อาจลดลง โดยลาดับตามสัดส่วน จนกว่าค่าจ้างล่วงหน้าจะถูกหักจนครบจานวน วิศวกรต้อง  คอยตรวจสอบอายุความ การรั บประกันของหนังสือค้า ประกัน  แจ้ง “ผู้ว่าจ้าง” ให้สั่งให้ “ผู้รับจ้าง” ต้องขยายอายุ และ นาส่ง หนังสือค้าประกัน  ช่วย “ผู้ว่าจ้าง” ในการร่างหนังสือ สั่งการให้ “ผู้รับจ้าง ดาเนินการ จัดทาและนาส่ง “หนังสือค้าประกัน” ที่มีอายุ การรับประกันที่ถูกต้อง การประกันภัย (Insurance) คู่สัญญาฝ่ายใด ๆ สามารถเป็น ผู้ทา(เอา)ประกัน โดยเป็น ผู้ขอและดารงสภาพการประกันไว้ หากต้ อ งออกกรมธรรม์ เ พื่ อ ให้ เ ป็ น การประกั น (Joint Insured) ร่วมกัน จะต้องให้ มีผลคุ้มครองด้วยการออกกรมธรรม์แยกกัน เสมือนการแยกการทาประกัน กรมธรรม์อาจมีการจ่ายชดเชย เพิ่มเติมต่อประกันร่วม ผู้ ท าประกันต้อ งส่ งมอบหลั กฐานให้อี กฝ่ า ยหนึ่ง อั นเป็นที่ แสดงช่วงเวลาที่ กรมธรรม์ นั้นมี ผ ลคุ้ ม ครอง รวมทั้ งส าเนากรมธรรม์

9-55


การบริหารจัดการสัญญา ภายในกาหนดเวลาที่ระบุไว้ใน ภาคผนวกของเอกสารประกวดราคา (Appendix to Tender) ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สามารถที่จะแก้ไขเงือ่ นไขการประกัน โดย ไม่ได้รับความยินยอมจาก อีกฝ่ายหนึ่ง หากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด บิดพริ้วไม่ดาเนินการและดารงสภาพ คุ้ ม ครอง หรื อ ไม่ ส่ ง มอบส าเนากรมธรรม์ ใ ห้ อี ก ฝ่ า ยตามเงื่ อ นไขการ ประกัน อี กฝ่ า ยหนึ่งสามารถท าการ ชาระค่ า ธรรมเนีย มที่ ต้อ งชาระ (Due) ได้ และฝ่ายที่ผิดเงื่อนไขจะต้องชาระคืน (Reimburse) ให้ทั้งหมด ผู้ ข อเอาประกั น ต้ อ งท าการประกั น ภั ย ต่ อ สภาพของงาน สิ่งก่อสร้าง วัสดุและอุปกรณ์ รวมทั้งเอกสารของ “ผู้รับจ้าง” ในมูลค่าไม่ ต่ ากว่ า “ค่ า ท าการก่ อ สร้ า งเหมื อ นใหม่ ” รวมทั้ ง ค่ า รื้ อ ถอนต่ า ง ๆ ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ และกาไร โดย ต้องมีผลคุ้มครองตลอดจนกว่า วัน เสร็จสิ้นสัญญา (Time of Completion) ผู้ทา(เอา)ประกัน ต้อง  ทาประกัน เครื่องจักรอุปกรณ์ของ ผู้รับจ้างในมูลค่าที่ไม่ น้อยกว่า มูลค่าที่ต้องเปลี่ยนแทนทั้งหมด รวมถึงการขน ย้ายลาเลียงถึงสถานที่ก่อสร้าง  ประกันความเสียหายให้กับแต่ละฝ่าย ต่อความเสียหาย การบาดเจ็ บ การเสี ย ชี วิ ต ที่ อ าจเกิ ด กั บ ทรั พ ย์ สิ น ทาง กายภาพใดๆ (เพิ่ ม จากการประกั น ภั ย ต่ อ อุ ป กรณ์ เครื่องจักร ข้างต้น)  ผู้รับจ้าง ดารงสภาพความคุ้มครองแห่งการประกันภัยนี้ ต่ อ ความเสี ย หาย อั น เกิ ด จากและในระหว่ า งการ ด าเนิ น งานของผู้ รั บ จ้ า ง จนถึ ง วั น ที่ อ อกหนัง สื อ รั บรอง ผลงาน (Performance Certificate) หากไม่ได้ระบุเป็นอย่างอื่นใด “ผู้รับจ้าง” ต้อง

9-56


การบริหารจัดการสัญญา  ท าประกันให้ คุ้ ม ครองต่อ ความสู ญ เสีย ความเสี ยหาย การบาดเจ็ บ การเสี ย ชี วิ ต ที่ อ าจเกิ ด กั บ ทรั พ ย์ สิ น ทาง กายภาพใดๆ  ด าเนิ น การและด ารงสภาพความคุ้ ม ครองแห่ ง การ ประกันภัยนี้ ในการเรียกร้อง จากการเกิด ความสูญเสีย ความเสี ย หาย รวมทั้ ง ค่ า ใช้ จ่ า ยต่ า งๆ ที่ เ กิ ด จาก การ บาดเจ็บ การป่วยหรือตาย ของลูกจ้างและพนักงานของ “ผู้รับจ้าง”  FIDIC แนะน าให้ ป รึ ก ษาหารื อ กั บ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการ ประกันภัย ให้ช่วยดูแลการจัดทาสัญญาการประกันภัย ผู้ว่าจ้าง/วิศวกร ต้อง  ตรวจตรา (Monitor) ให้ ผู้ รั บ จ้ า งด ารงรั ก ษาสภาพการ คุ้มครองและกรมธรรม์การประกันภัย  กาหนดให้ “ผู้รับจ้าง” ส่งหลักฐานกรมธรรม์ประกันภัย ของ “ผู้ รั บ จ้ า งเหมาช่ ว ง” ในกรณี ที่ ก รมธรรม์ ข อง “ผู้รับจ้าง” ไม่ได้คุ้มครองถึงอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บของ ลูกจ้างหรือพนักงานของ “ผู้รับจ้างเหมาช่วง”  กาหนดให้ผู้รับจ้างจัดส่ง สาเนากรมธรรม์ใหม่ และหรือ กรมธรรม์ ที่ ไ ด้ ต่อ อายุ ค วามคุ้ ม ครองแล้ วให้ กั บผู้ ว่า จ้า ง ก่ อ นที่ ก รมธรรม์ เ ดิ ม หรื อ ก่ อ นหน้ า นั้ น จะสิ้ น สุ ด ความ คุ้มครอง 3.4 การตรวจสอบจานวนลูกจ้างพนักงาน และเครื่องจักรอุปกรณ์ ของ “ผู้รับจ้าง” (Verification of Contractor’s Personnel and Equipment)

9-57


การบริหารจัดการสัญญา รายการบั น ทึ ก จ านวนพนั ก งานลู ก จ้ า งและเครื่ อ งจั ก ร อุปกรณ์ของ “ผู้รับจ้าง” ที่ใช้ในการทางานตามสัญญา มีความสาคัญต่อ การประเมินความก้าวหน้าของการทางาน การก ากั บ ให้ ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งจั ด ท าและจั ด ส่ ง รายงาน ความก้าวหน้าเป็นประจา เป็นสิ่งที่จาเป็น เช่น ในแต่ละเดือน หรือ แต่ ละสัปดาห์ การตรวจสอบเพียงจากรายงานของผู้รับจ้าง – ไม่เพียงพอ ให้เชื่อถือ วิศวกรควรต้องมีผู้ช่วยที่ทาการ สุ่มตรวจ (Spot Checks) ที่ หน้างาน (Site) จานวนบุคลากร แรงงานและเครื่องจักรเครื่องมือที่ใช้ ทางานภายใต้สัญญานี้ เท่านั้น 3.5 ตัวอย่างและการทดสอบวัสดุ ฝีมืองานช่าง และสิ่งก่อสร้าง (Sample and Testing of Materials, Workmanship and Plant) ภายใต้ข้อตกลงสัญญา FIDIC กาหนดให้  ผู้รับจ้างต้องตกลงร่วมกับวิศวกร ในกาหนดการทดสอบ งาน ได้แก่ สถานที่ เวลา ส าหรั บการทาสอบที่เป็นการ เฉพาะ ต่อการทดสอบวัสดุ ทดสอบฝีมือ และผลงานส่วน ต่างๆของสัญญา  เมื่อวิศวกรต้องการเข้าร่วมตรวจตราการทดสอบ วิศวกร ต้ อ งแจ้ ง ต่ อ ผู้ รั บ จ้ า งเป็ น การล่ ว งหน้ า ไม่ น้ อ ยกว่ า 24 ชั่วโมง  ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งเป็ น ผู้ ท า หนั ง สื อ แจ้ ง ก าหนดการทดสอบ (Prior Notice) ต่อวิศวกร และขอความเห็นชอบต่อเวลา และสถานที่ และ/หรือการยืนยันที่จะเข้าร่วมตรวจตรา การทดสอบจากวิศวกร

9-58


การบริหารจัดการสัญญา การจัดหาวัสดุตัวอย่างและค่าใช้จ่ายการทดสอบ เป็นภาระ และต้นทุนของผู้รับจ้าง หากวิศวกรกาหนดให้ต้องใช้ตัวอย่างในประเภทหรือจานวน ที่นอกเหนือเพิ่มเติม จากในสัญญา อาจต้องมีกระบวนการ “เพิ่มเติม/ ปรับแก้ (Variation)” “ตัวอย่าง” ที่ส่งทดสอบต้องมีการ ติดป้ายบอกรายละเอียด (Labelled) ที่มา คุณลักษณะ และวัตถุประสงค์การใช้ เช่น “ตัวอย่าง เพื่อทดสอบ” ผู้ รั บจ้า งและวิศ วกรต้อ ง ตกลงเป็นการล่ วงหน้า เกี่ย วกั บ สถานที่และเวลาของการทดสอบที่ต้องการทั้งหมด วิศวกรอาจออกคาสั่งการ (Instruction) ให้ผู้รับจ้าง ทาการ ทดสอบเพิ่ ม เติ ม หรื อ การเปลี่ ย นแปลง สถานที่ ท าการทดสอบ หรื อ รายละเอียดขั้นตอนวิธีการทดสอบ  หากผลทดสอบที่ได้แสดงความสอดคล้องตามสัญญาแล้ว ผลของการออกค าสั่ ง การทดสอบเพิ่ ม เติ ม อาจท าให้ ผู้รับจ้างเรียกร้องค่าจ้างเพิ่มหรือ ขอขยายระยะเวลาของ สัญญาออกไป  แต่หากผลทดสอบ ไม่เป็นไปตามสัญญา ผู้รับจ้างต้องเป็น ผู้รับผิดชอบในการทดสอบซ้าหรือทดสอบเพิ่ม ตามสัญญา และไม่สามารถเรียกร้องการขยายระยะเวลาสัญญา หากผู้ แ ทนวิ ศ วกร ไม่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มตรวจตราการทดสอบ ผู้รับจ้างอาจดาเนินการทดสอบต่อไป และถื อว่าวิศวกรยอมรับผลการ ทดสอบเหล่านั้นว่าถูกต้องแล้ว 3.6 การตรวจงาน การทดสอบ และการยอมรับ (Work Inspection, Testing & Acceptance)

9-59


การบริหารจัดการสัญญา แบบฟอร์มมาตรฐาน ควรถูกใช้เพื่อการบันทึก กิจกรรมการ ตรวจงาน การทดสอบ และการยอมรับ แบบฟอร์ ม มาตรฐาน ควรมาจากการตกลงยอมรั บ โดย วิศวกรและผู้รับจ้าง ร่วมกัน หากต้ อ งใช้ แ บบฟอร์ ม กั บ กิ จ กรรมหลายกิ จ กรรมที่ ต้ อ ง ดาเนินการ โดยลาดับต่อเนื่องกัน ต้องให้วิศวกรตรวจงานและรับรอง รวมทั้งยินยอม ลงในบันทึก ก่อนที่ผู้รับจ้างจะเริ่มดาเนินการกิจกรรมใน ลาดับต่อไป ผู้รับจ้างต้องทาหนังสือแจ้งถึงวิศวกร ให้ทาการตรวจสอบ หรือทดสอบ หรือตรวจวัดงาน เมื่อมีส่วนงานที่แล้วเสร็จ ก่อนที่ จะทา การกลบหรือปิดบังงานดังกล่าวทาให้พ้นจากการมองเห็น วิศวกรต้องทาการตรวจสอบ ทดสอบ หรือวัดผลงานที่ทาแล้ว โดยไม่มีการชะลอโดยมีเหตุอันควร (หรือ แจ้งโดยทันที หากไม่ต้องการที่ จะไปตรวจสอบตามที่ได้มีการแจ้งให้ทราบแล้วจากผู้รับจ้าง) ถ้าหากผู้รับจ้างทาการกลบหรือปิดงานส่วนนั้นไปแล้ว โดยไม่ แจ้ง ให้ทราบ วิศวกรสามารถสั่งให้ผู้รับจ้างขุดหรือเปิดหน้างานเพื่อให้ วิศวกรทาการตรวจสอบ และเป็นภาระค่าใช้จ่ายทั้งหมดของผู้รับจ้างเอง หากว่า ผู้รับจ้างได้แจ้งก่อนกลบปิดงานส่วนนั้น แต่ภายหลัง งานส่วนที่ยังไม่ได้กลบปิดถูกพบว่า  ไม่ เ ป็ น ไปตามสั ญ ญา (NOT in Accordance with) ผู้ รั บจ้า งต้องรับผิดชอบ ท าการขุด เปิดและแก้ไขงานที่ กลบปิดไปแล้ว ให้ถูกต้องเป็นไปตามสัญญา  ไม่ ต รงกั บ สั ญ ญา (Non Conformance) วิ ศ วกรต้ อ ง ออกคาสั่งให้แก้ไข (Notice to Correct) และสั่งให้ ผู้รับ จ้ า งท าการแก้ ไ ข โดยภาระค่ า ใช้ จ่ า ยให้ อ ยู่ ใ นความ รับผิดชอบของผู้รับจ้าง

9-60


การบริหารจัดการสัญญา

3.7 ผลงานที่รับไม่ได้ การแจ้งความบกพร่อง และการแก้ไขงาน บกพร่อง (Unacceptable Works, Notifying Defects & Remedies) ถ้าผลการตรวจสอบแล้วพบ งาน วัสดุ สิ่งก่อสร้างหรือฝีมือ การงาน บกพร่อง หรือไม่เป็นไปตามสัญญา วิศวกรอาจปฏิเสธไม่ยอมรับ (Reject) งานส่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใด หรื อ ทั้ ง หมด โดยออกหนั ง สื อ แจ้ ง (Notice) ไปยังผู้รับจ้าง พร้อมทั้งระบุเหตุผลแห่งการปฏิเสธการรับงาน ส่วนนั้น การใช้แบบฟอร์มาตรฐานจะช่วยให้วิศวกรมีความสะดวกใน การจัดทาและเก็บบันทึก (Record-Keeping) การรับงานบกพร่อง โดยการหักค่าจ้าง ในบางสั ญ ญา ยิ น ยอมให้ มี ก ารรั บ งานที่ บ กพร่ อ งไม่ ม าก (Minor Defects) โดย การจ่ า ยค่ า จ้ า งในอั ต ราลดลง (Reduced Payment) หรือ โดยการหักค่าจ้าง (Payment Deduction) ในบางสัญญา ไม่มีข้อตกลงยินยอมดังข้างต้น วิศวกรสามารถ แนะนา “การยอมรั บงานบกพร่ อง” ตามกลไกการเจรจายอมให้หัก ค่ า จ้ า ง (Negotiated Payment Reductions) ซึ่ ง ท าได้ โ ดย การท า ข้อตกลงเป็นลายลักษณ์อักษรระหว่าง ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้าง การแก้ไขงานที่บกพร่อง ผู้รับจ้าง ต้องปฏิบัติตามสัญญา ตามคาสั่งให้แก้ไขงาน ให้ ถูกต้องตรงตามสัญญา ภายในเวลาที่เหมาะสม (within Reasonable Time) หรือต้องดาเนินการแก้ไขโดยทันที หากเป็นกรณีเร่งด่วน

9-61


การบริหารจัดการสัญญา ถือ เป็นความผิ ดบกพร่ อ งของผู้รั บจ้า งที่ ไ ม่ส ามารถท าการ แก้ไขตามคาสั่งให้แก้ไข ผู้ว่าจ้างอาจสั่งให้ผู้อื่นดาเนินการแก้ไขแทนผู้ รั บจ้า ง ทั้ งนี้ค่ า ใช้จ่า ยทั้ งหมดตกเป็นภาระต้ นทุ นของ ผู้ รั บจ้า ง โดย วิศวกรเป็นผู้ประเมินและตรวจสอบค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้สาหรับแก้ไข วิ ศ วกรต้ อ ง แจ้ ง ผู้ ว่ า จ้ า งให้ ต ระหนั ก ในการด าเนิ น การ ดังกล่าว ผู้ว่าจ้างสามารถ บอกเลิกสัญญา จ้างหากผู้ว่าจ้างไม่สามารถ ทาการแก้ไขงานที่ถูกปฏิเสธ (Rejection) ให้แล้วเสร็จภายใน 28 วัน ที่ วิศวกรมีคาสั่งให้แก้ไขงาน วิศวกรควร (Recommended) ต้องแจ้งต่อผู้ว่าจ้างอย่างเป็น ทางการ ถึง “การบอกเลิกสัญญา” ก็ต่อเมื่อผู้รับจ้าง ไม่สามารถปฏิบัติ ตามสัญญา ในข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อ บ่อยครั้งหรือต่อเนื่องกัน อัน เป็นการแสดงถึงผลกระทบต่อการใช้งาน (the Work) ของผู้ว่าจ้างและ สาธารณชน หรือส่งผลกระทบต่อความปลอดภัย 3.8 การปรับปรุงแผนงานและกระแสเงินสด (Programme and Cash Flow Revisions) การปรับปรุงแผนงาน (Works Programme Revisions) เมื่อเริ่มต้นดาเนินการตามสัญญา ผู้รับจ้างต้องส่งแผนงาน (A Programme) ที่ ส อดคล้ อ งสั ม พั น ธ์ กั บ ความต้ อ งการและเงื่ อ นไข ข้อตกลงสัญญา โดยไม่จาเป็นต้องได้รับความยินยอม (Consent) จาก วิศวกร ผู้รับจ้างต้องจัดทาและส่งแผนงาน (Programme) ที่มีการ ปรับปรุง  เมื่อเกิดความล่าช้าผิดไปจากแผนฯ ที่ปรับปรุงฉบับก่อน หน้า หรือพบว่าระยะเวลาแล้วเสร็จต้องขยายออกไปจาก ที่กาหนดในสัญญา 9-62


การบริหารจัดการสัญญา  เมื่อมีข้อเสนอแนวทางวิธีการที่จะเร่งการดาเนินการให้ แล้ ว เสร็ จ เร็ ว กว่ า แผนงานฉบั บ ดั้ ง เดิ ม (Original Programme) ภายใต้ข้อ ตกลงตามสั ญ ญาของ FIDIC กาหนดให้ผู้ รั บ จ้ า ง ต้องปรับปรุงแผนงาน เมื่อ  พบว่ า แผนงาน ฉบั บ ก่ อ นไม่ ถู ก ต้ อ งหรื อ ไม่ ต รงกั บ ความก้าวหน้าที่แท้จริงหรือต่างไปจากความข้อผูกมัดของ ผู้รับจ้าง (Contractor’s Obligations)  วิ ศ วกรมี ค าสั่ ง แจ้ ง ให้ ผู้ รั บ จ้ า งปรั บ ปรุ ง เนื่ อ งจากพบว่ า ผู้ รั บจ้า งไม่ ส ามารถปฏิบัติตามสัญ ญา หรื อ พบความผิด ผลาดไม่ถูกต้องในแผนงาน  ไม่จาเป็นต้องมีความยินยอมของวิศวกรในการปรับปรุง แผนงาน ถ้ า วิ ศ วกรมี ค วามเห็ น ขัด แย้ ง ต่ อ การปรั บ ปรุ ง แผนงานนั้น วิศวกรควรแจ้งให้ผู้รับจ้างทราบและขอให้แก้ไขปรับปรุงแผนงานและส่ง แผนงานที่ปรับปรุงแล้ว เพื่อใช้อ้างอิงภายหลัง และเป็นการหลีกเลี่ยง ปัญหาการพิพาทในที่สุด วิ ศ ว ก ร อ า จ โ ต้ แ ย้ ง แ ผ น เ ร่ ง รั ด ง า น ข อ ง ผู้ รั บ จ้ า ง เมื่อพบว่า  ก่อให้ภาระเพิ่มขึ้น ต่อ ผู้ว่าจ้าง มากกว่าแผนงานดั้งเดิม (Original Programme) เว้ น แต่ ผู้ ว่ า จ้ า งไม่ มี ข้ อ ขั ด ข้ อ ง ซึ่งควรแสดงเป็นลายลักษณ์อักษร (in Writing) หรือ  ส่งผลทาให้ต้นทุนค่าใช้จ่ายของผู้ว่าจ้างเพิ่มสูงขึ้น 3.9 ความล่าช้าของงานของผู้รับจ้าง (Contractor’s Slow Progress) 9-63


การบริหารจัดการสัญญา

การแก้ไขงานเพื่อให้ทันกับกาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ ภายใต้สัญญา FIDIC เมื่อพบว่า ผู้รับจ้างจะไม่สามารถทางาน ให้เสร็จได้ตามกาหนด (TOC) และมีอัตราความก้าวหน้าของงาน  ที่ล่าช้ามาก (too slow) เกินกว่าจะทาได้ทันกาหนด  ล่าช้าและอาจยิ่งล่าช้าเพิ่มขึ้น ห่างจากแผนงานปัจจุบัน อย่างมาก  ดังนั้น วิศวกร สามารถสั่งการให้ผู้รับจ้างปรับปรุงและส่ง แผนงานที่ปรับปรุงแล้ว รวมถึงข้อเสนอปรับปรุงวิธีการทางานที่จะใช้ เพื่อเร่งรัดความก้าวหน้า จัดทาแผนงานใหม่ ให้ทันกาลและสอดคล้อง ตามสัญญา (TOC) ด้วยต้นทุนค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้าง ต้องนาเอาข้อเสนอปรับปรุงเทคนิควิธีการทางานที่ได้เสนอ แล้ ว นั้ น ไปสู่ ก ารปฏิ บั ติ ซึ่ ง อาจต้ อ งเพิ่ ม จ านวนชั่ ว โมงท างาน โดย ค่าใช้จ่ายที่เกิดหรือเพิ่มขึ้นนั้น ไม่สามารถที่จะเรียกค่าจ้างเพิ่มได้ ถ้าขั้นตอนการทางานเหล่านั้น เป็นเหตุให้ผู้ว่าจ้างมีค่าใช้จ่าย เพิ่มมากขึ้น ผู้ว่าจ้างสามารถเรียกร้องค่าใช้จ่ายเหล่านั้นคืนจากผู้รับจ้าง โดย กระบวนการเรียกค่ าเสี ยหาย ผ่ า นช่อ งทางแนวปฏิบัติการเรียก ค่าเสียหาย (Claims Provisions) ที่เปิดไว้ และถือเป็นส่วนเพิ่มเติมจาก ค่ า เสี ย หายจากความล่า ช้า ของงาน อี กทั้ งต้อ งรวมถึงค่าจ้า งเพิ่มเติม เนื่ อ งจากการก ากั บ ตรวจตราการท างาน (Additional Supervision Costs) แนวปฏิบัติการเรียกค่าเสียหายต้องกาหนดให้ ผู้ว่าจ้างหรือ วิศวกรส่งหนังสือแจ้งการเรียกค่าเสียหายพร้อมรายละเอียดจาเพาะกรณี ที่ทาให้เกิดความเสียหาย – ค่าใช้จ่ายเพิ่มต่อผู้รับจ้าง โดยเร็วเท่าที่จะ ดาเนินการได้

9-64


การบริหารจัดการสัญญา หากมีข้อเสนอเปลี่ยนวิธีการทางานเพื่อเร่งรัดความก้าวหน้า ของงาน ที่อาจก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นแก่ผู้ว่าจ้าง วิศวกรต้องออก หนังสื อ แจ้งที่ จะ Claim ถึงผู้ รั บจ้า งในทั นที และติดตามดาเนินการ เรียกร้องค่าเสียหายพร้อมรายละเอียดจาเพาะกรณี ที่ทาให้ผู้ว่าจ้างต้อง มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ชั่วโมงการทางานที่เพิ่มขึ้น (Increased Working Hours) แม้นว่าจะมีกลไกที่กาหนดให้ผู้รับจ้างต้องรับภาระค่าใช้จ่ายที่ ต้องจ่ายให้วิศวกร เนื่องจากงานติดตามตรวจตราที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งรัด งาน ยั ง คงจ าเป็ น และส าคั ญ อย่ า งยิ่ ง ที่ ต้ อ งจั ด ท าบั น ทึ ก หลั ก ฐาน (Protocol) เพื่อ  ภาระงานเพิ่มเติมที่เกินไปกว่าขอบเขตปกติของทีมงาน ติดตามตรวจตราของวิศวกร  อัตราค่าตอบแทนวิศวกรในกรณีล่วงเวลา และอัตรากาลัง บุคคลากรของวิศวกรที่ต้องมากขึ้น  ต้องมีแนวปฏิบัติ (Procedures) ที่ใช้เป็นกลไกในการจ่าย ค่าธรรมเนียมส่วนเพิ่มให้กับวิศวกร  หากแนวปฏิบัติ ไม่ได้รบั การปฏิบัติตาม จงทาให้ถูกต้อง ผู้ว่าจ้างอาจหักเงินค่าจ้างจากของผู้รับจ้าง เพื่อจ่ายให้วิศวกร กรณีที่เงินที่จ่ายค่าจ้างมาจากแหล่งเดียวกัน กรณีที่ผู้วา่ จ้างไม่สามารถหักจากเงินค่าจ้าง จากแหล่งที่มา ของเงินที่เดียวกัน ให้  วิศวกรส่งเอกสารเรียกเก็บเงินถึงผู้ว่าจ้าง แล้ว  ผู้ว่าจ้างส่งเอกสารเรียกเก็บเงินไปยังผู้รับจ้าง  เมื่อผู้ว่าจ้างได้รับเงินจากผู้รับจ้างแล้วจึงจ่ายให้กับวิศวกร

9-65


การบริหารจัดการสัญญา กลไกนี้เป็นการเรียกค่าเสียหาย(ค่าใช้จ่ายส่วนที่เพิ่มมา) จาก ผู้รับจ้าง (Employer’s Claim against Contractor) 3.10 การหยุดงาน (Works Suspensions) การหยุดงาน 2 แบบ

การหยุดงาน (Works Suspensions) โดยคาสั่งของวิศวกร ภายใต้ข้อตกลงสัญญา FIDIC เปิดให้  วิ ศ วกร เมื่ อ ใดที่ สั่ ง ให้ ผู้ รั บ จ้ า งหยุ ด งาน ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ ง รับผิดชอบในการดูแลสภาพงาน จัดเก็บ ป้องกันและรักษา ให้พ้นจากการเสื่อมสภาพ ความเสียหาย หรือสูญหาย  โดย วิศวกรไม่จาเป็นต้องบอกเหตุผลที่สั่งให้หยุดงาน และ หรือระยะเวลาที่ต้องหยุดงาน ในคาสั่งให้ผู้รับจ้างหยุดงาน (ข้อเท็จจริง – เหตุผลมีเพียงพอต่อการออกคาสั่งให้หยุด งาน) ไม่ได้มีการแนะแนวไว้ว่าสถานการณ์หรือเงื่ อนไขแบบใดที่ วิศวกรควรหรือสามารถที่จะสั่งให้ผู้รับจ้างหยุดงาน วิศวกรควรจะใช้อานาจ (Power) ก็ต่อเมื่อ

9-66


การบริหารจัดการสัญญา  เป็นความจาเป็นจริงๆ (Absolutely Necessary) เพราะ อาจทาให้ผู้รับจ้างขอเพิ่มค่าจ้างหรือขอขยายเวลาของ สัญญา  เป็ น ความประสงค์ ของผู้ ว่า จ้ า ง สั่ ง ให้ ด าเนิน การ ทั้ ง นี้ ขึ้ น กั บ เหตุ ผ ลสนั บ สนุ น ซึ่ ง วิ ศ วกรควรให้ ผู้ ว่ า จ้ า งออก ค าสั่ ง การ ให้ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร รวมถึ ง แจ้ ง ให้ ผู้ว่าจ้างให้รับทราบถึงผลที่จะตามมาของการสั่งหยุดงาน ที่ขาดเหตุผลที่หนักแน่นพอ และต้องขอให้ผู้ว่าจ้างยืนยัน คาสั่งให้หยุดงาน อีกด้วย ถ้าการสั่งหยุดงานเป็นเวลาต่อเนือ่ งเกินกว่า 84 วัน ผู้รับจ้าง อาจส่งหนังสือร้องขออนุญาต ภายใน 28 วัน หากวิศวกรยังไม่อนุญาตให้ต่ออายุภายในกาหนดเวลาข้างต้น ผู้รับจ้างอาจจะ  ทาหนังสือถึงวิศวกร โดยถือว่างานส่วนนั้นให้ถูกปล่อยละ ไว้ หากส่วนงานที่ถูกหยุดไปนัน้ เป็นเพียงส่วนหนึ่ง  ทาหนังสือขอบอกเลิกสัญญา (Terminate) หากการหยุด งานนั้นมีผลต่องานทั้งหมด ผู้รับจ้างอาจเลือกที่จะปล่อยให้การถูก สั่งให้หยุดงานดาเนิน ต่อไป อย่างไม่มีกาหนด และเรียกร้องขอขยายสัญญาและเรียกค่าจ้าง เพิ่ม การหยุดงาน (Works Suspensions) โดยความประสงค์ของผู้รับจ้าง หาก  วิศวกรไม่สามารถรับรองให้จ่ายค่าจ้าง ให้กับผู้รับจ้าง หรือ  ผู้ว่าจ้างไม่สารถจ่ายค่าจ้าง เมื่อถึงกาหนดเวลา 9-67


การบริหารจัดการสัญญา ผู้รับจ้างสามารถชะลอการดาเนินงานหรือหยุดงานได้ ต้องจ่ายค่าจ้างที่ได้รับการรับรองแล้วให้กับผู้รับจ้าง อ้างอิง (S-Cl 14.3) การที่ผู้วา่ จ้างจ่ายค่าจ้างไม่ครบ (Underpayment):  ไม่ทาให้ผรู้ ับจ้างยกเป็นข้ออ้างในการหยุดงาน  วิศวกรควรแนะนาผู้ว่าจ้างถึงความเสี่ยง ซึ่งรวมถึงการขอ บอกเลิกสัญญา โดยผู้รับจ้าง

9-68


การบริหารจัดการสัญญา 3.11 ข้อเรียกร้อง- การเรียกร้องของผู้รับจ้าง วงจรของการเรียกร้อง

คู่กรณีเรียกร้องอะไรได้บ้าง?

9-69


การบริหารจัดการสัญญา โครงสร้างของการเรียกร้อง

กรอบเวลาของการเรียกร้อง (ผู้รับจ้าง)

กรอบเวลาของการเรียกร้อง (ผู้รับจ้าง-ผลต่อเนื่อง)

9-70


การบริหารจัดการสัญญา หากผู้รับจ้าง: พิจารณาแล้วว่ามีสิทธิที่จะขอต่อระยะเวลาการแล้วเสร็จของ งานและ/หรือขอรับเงินเพิ่มเติม ผู้รับจ้างจะต้องแจ้งไปยังวิศวกรชี้แจง เหตุการณ์หรือสถานการณ์เพื่อการเรียกร้องภายใน 28 วันหลังจากที่ ตระหนักถึงหรือควรจะได้ตระหนักถึงเหตุการณ์หรือสถานการณ์ดังกล่าว หากการร้องเรียนมิได้กระทาภายใน 28 วัน ผู้รับจ้างจะไม่ได้ รั บ สิ ท ธิ ใ นการขยายระยะเวลา และ/หรื อ การพิ จ ารณาให้ ไ ด้ รั บ เงิน เพิ่มเติมใด ๆ และผู้ว่าจ้างจะพ้นจากภาระดังกล่าว ดูข้อย่อย 20.1! แจ้งให้วิศวกรทราบเพื่อ:  ตรวจสอบหลักการของการเรียกร้อง  ตรวจสอบหรือบันทึกเพื่อการสงวนสิทธิในการเรียกร้อง วิศวกรจะดาเนินการเมือ่ ได้รับข้อเรียกร้องดังนี้:  ตรวจสอบบันทึกดังกล่าวของผู้รับจ้าง  อาจสั่งการให้ผู้รับจ้างจัดเก็บบันทึกเพื่อเป็นหลักฐานใน การเรียกร้อง  อื่น ๆ นอกเหนือจากการพิจารณาฐานเวลาที่ 28 วัน โดย ไม่อยู่ในดุลพินิจของวิศวกร การแจ้งล่าช้าจะหมายถึงข้อ เรียกร้องจะไม่ได้รับการยอมรับ ถ้าเป็นเหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่อการเรียกร้องอย่างต่อเนื่อง:  รายละเอียดการเรียกร้องจะได้รับการพิจารณาเป็นระยะ  ผู้ รั บจ้า งจะต้อ งระบุอ ธิบายสถานการณ์ ดังกล่ า วในการ เรียกร้องครั้งแรก  ผู้รับจ้างจะต้องส่งรายละเอียดในแต่ละเดือน แจ้งถึงความ ล่าช้าสะสมหรือจานวนข้อเรียกร้องต่าง ๆ

9-71


การบริหารจัดการสัญญา  ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งยื่ น เสนอข้ อ เรี ย กร้ อ งภายใน 28 วั น หลังจากการสิ้นสุดของผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์หรือ สถานการณ์ดังกล่าว  การขอยึดระยะเวลาในช่วงนี้ ผู้ รั บจ้า งจะต้องได้รับการ ยินยอมและอนุมัติจากวิศวกร การเรียกร้องของผู้ว่าจ้าง (Claims – Employer’s Claims) [ข้อย่อย 2.5] หากผู้ว่าจ้างพิจารณาว่ามีสิทธิที่จะชาระเงินใด ๆ หรือขยาย ระยะเวลาการแจ้งข้อบกพร่อง (Defects Notification Period: DNP) :  ผู้ว่าจ้างหรือวิศวกรจะแจ้งให้ผู้รับจ้างทราบเป็นพิเศษทันที  แจ้งให้ผู้รับจ้างทราบทันทีหลังจากที่ผู้ว่าจ้างตระหนักถึง เหตุการณ์หรือสถานการณ์เพื่อการเรียกร้องดังกล่าว  แจ้ ง ให้ ท ราบเกี่ ย วกั บ การขยายเวลา DNP ก่ อ นครบ กาหนดระยะเวลาดังกล่าว  จะต้ อ งระบุ ร ายละเอี ย ดพื้ น ฐานของการเรี ย กร้ อ งและ รวมถึงการพิจารณารายละเอียดต่าง ๆ  วิศวกรจะพิจารณาตามข้อตกลงหรือเพื่อการกาหนดให้แน่ ชัด 3.12 เอกสาร การตัดสิน และการประเมินข้อเรียกร้อง (Documentation, Determination & Evaluation of Claims) เอกสารการเรียกร้อง (Documentation of Claims) เอกสารการเรียกร้องจะต้องได้รับการเก็บรักษา และแยกแต่ ละเรือ่ งและทุกการเรียกร้อง: 9-72


การบริหารจัดการสัญญา  เมื่อมีการเสนอข้อเรียกร้อง วิศวกรควรตอบสนองโดยไม่ ชักช้า  หากผู้ว่าจ้างหรือผู้รับจ้างมีข้อพิพาทในการตัดสินใจ และ ขอให้มีการตัดสินโดยคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท (DAB) จาเป็นที่จะต้องส่งเอกสารที่เกีย่ วข้องกับการ เรียกร้องทั้งหมดเพือ่ การพิจารณา  หากผู้ว่าจ้างหรือผู้รับจ้างไม่พอใจกับการตัดสินใจของ DAB และจาเป็นต้องเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการก็ มีความจาเป็นที่จะต้องส่งเอกสารทั้งหมด วิศวกรจะต้องรักษาและคัดแยกเอกสารการร้องเรียน ดังนี้:  แยกเรื่องเรียกร้องทันทีที่ได้รับเอกสาร  คัดแยกเรื่องเรียกร้องโดยแยกเรื่องและกากับหมายเลข เพื่อการอ้างอิงถึง ชื่อเรื่องการเรียกร้อง/หมายเลขในการ โต้ตอบและจัดเก็บเอกสาร  ในกรณี ที่ เ รื่ อ งเรี ยกร้ องไม่มี ความชัดเจนให้จัดเก็บเรื่อง เรี ย กร้ อ งนั้ น อยู่ ใ นกลุ่ ม ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น (เอกสารดั ง กล่ า ว สามารถโอนไปยังเอกสารกลุ่มใช้งานเมื่อการเรียกร้องมี การชี้ชัด)  เก็บรักษาเรื่องเรียกร้องแต่ละเรื่องที่เกี่ยวข้องกันให้เป็นชุด วิธีการในการตัดสิน วิธีการในการตัดสินข้อเรียกร้องของผู้รับจ้างหรือของผู้ว่าจ้าง จะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน วิศวกรจะให้คาปรึกษาแก่ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างโดยมีความ พยายามที่จะบรรลุในข้อตกลงสาหรับการแก้ปัญหาของการเรียกร้อง

9-73


การบริหารจัดการสัญญา หากตกลงกั น ไม่ ไ ด้ วิ ศ วกรจะต้ อ งมุ่ ง มั่ น ในวิ ถี แ ห่ ง ความ ยุติธรรม วิศวกรจะแจ้งแก่ทั้งสองฝ่ายในแต่ละข้อตกลงหรือการตัดสิน โดยมีข้อมูลสนับสนุนเฉพาะ การเรียกร้องของผู้รับจ้าง:  ไม่ได้ส่งในเวลาที่กาหนด: ไม่ยอมรับ  ส่งตามเวลา: ภายใน 42 วัน หลังจากได้รับการเรียกร้อง หรือรายละเอียดเพิ่มเติมใด ๆ ของการเรียกร้องก่อนหน้า (หรื อ ภายในระยะเวลาอื่น ๆ เช่นวิศ วกรอาจเสนอและ ผู้รับจ้างยอมรับ) วิศวกรจะต้องตอบรับต่อการเรียกร้อง  วิศวกรอาจขอรายละเอียดเพิ่มเติม แต่จะต้องให้การตอบ รับบนหลักการของการเรียกร้องภายในระยะเวลาดังกล่าว ผู้ว่าจ้าง: ไม่มีกาหนดระยะเวลา แต่เพื่อความเหมาะสมใน การตอบรับภายในช่วงเวลา 42 วันเช่นเดียวกัน ในแต่ละใบรับรองการจ่ายเงินงวด (IPC) จะต้องรวมจานวน เงินสาหรับการเรียกร้องต่าง ๆ ตามที่ได้รับการเห็นชอบหรือตามการ ตัดสิน จนกว่ารายละเอียดสรุปความที่ให้มามีข้อมูลเพียงพอที่ จะ พิสูจน์ถึงเรียกร้อง ผู้รับจ้างจึงจะมีสิทธิที่จะรับเงินเฉพาะส่วนที่สามารถ ยืนยันได้ แต่ละฝ่ายจะยอมรับในข้อตกลงหรือการพิจารณา เว้นแต่ว่า จะมีการแก้ไขในกระบวนการระงับข้อพิพาท

9-74


การบริหารจัดการสัญญา หลักการและจานวนปริมาณการเรียกร้อง (Principle and Quantum) คาตัดสินของวิศวกรจะขึ้นอยู่กับรายละเอียดที่ส่งมา แต่ไม่ จากัดอยู่เพียงเท่านั้น โดยที่ วิ ศ วกรจะต้ อ งสั่ ง จ่ า ยเงิ น โดยค านึ ง ถึง สถานการณ์ ที่ เกี่ยวข้องดังนั้นวิศวกรจะต้องพิจารณาถึงเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่พงึ ตระหนัก รายละเอียดของการเรียกร้องจะต้องรวมถึง:  รายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและอื่น ๆ ที่เป็นข้อ เรียกร้อง  หลักการตามสัญญาเพือ่ การเรียกร้อง  หลักฐานการพิสูจน์ด้วยเอกสารสนับสนุนในเรือ่ งของของ จานวน (เวลาหรือเงิน) - จานวนค่าเรียกร้อง วิศวกรจะต้อง:  ตรวจสอบสิทธิ์ในหลักการของการเรียกร้อง (หากไม่ สามารถเรียกร้อง จะต้องแจ้งแก่ให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง)  หากมีสิทธิ์ จะต้องแจ้งให้ฝ่ายที่เรียกร้อง ก่อนที่จะประเมิน ปริมาณของการเรียกร้องในกรณีที่กาลังจะหมดระยะเวลา การเรียกร้อง หากจาเป็นต้องการรายละเอียดมากขึ้น  มีการสงวนสิทธิ์ตามสัญญาในหลักการของการเรีย กร้อง และการประเมินปริมาณของการเรียกร้อง  เรื่องที่จาเป็นที่จะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ว่าจ้าง จะต้อง นาเสนอการตัดสินในข้อเรียกร้อง โดยเขียนแสดงเหตุผล และรายละเอียดตามความคิดเห็น - เว้นแต่ก่อนหน้านี้จะมี การตกลงของแต่ละฝ่ายแล้ว

9-75


การบริหารจัดการสัญญา การครบกาหนดการให้คาปรึกษา (Due Consultation) การให้คาปรึกษาจากวิศวกรแก่ฝ่ายที่เกี่ยวข้องเป็นข้อกาหนด ในสัญญา (ความถูกต้องของการพิจารณาของวิศวกรอาจเป็นเหตุแห่งข้อ โต้แย้งหากไม่ได้รับการหารือ) ในการประเมิ นการเรี ย กร้ อ ง วิ ศ วกรจะต้ อ งปรึ ก ษาหารื อ (โดยมีบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร) ทั้งกับผู้รับจ้างและผู้ว่าจ้าง ก่อนที่จะ ทาการตัดสิน วัตถุประสงค์ และลาดับความสาคัญจะต้องได้รับการตกลง จากทั้งสองฝ่าย เพื่อหลีกเลี่ยงกรณีพิพาทในภายหลัง วิศวกรควรพยายามที่ จะเข้ า ถึ ง การพิ จ ารณา ในข้ อ ตกลงของทั้ ง สองฝ่ า ย (ภายใต้ บั น ทึ ก ข้อตกลงของทั้งสองฝ่าย) หากวิศวกร:  ไม่สามารถบรรลุข้อตกลงในระหว่างการให้คาปรึกษาแล้ว วิ ศ วกรจะต้ อ งท าการตั ด สิ น ด้ ว ยความเป็ น ธรรมและ สมเหตุสมผล  หากไม่สามารถนาทั้งสองฝ่ายเข้าร่วมปรึกษาหารือ วิศวกร จะต้องนาเสนอ (เป็นลายลักษณ์อักษร) การประเมินข้อ เรี ย กร้ อ งให้ทั้ งสองฝ่ ายทาความตกลงหรือให้ความเห็น โดยแนะนาว่าครบกาหนดการให้คาปรึกษา และจะนาผล การประเมินเข้าสู่กระบวนการพิจารณาตัดสิน ขีดจากัดอานาจหน้าที่ของวิศวกร (Limits of the Engineer’s Authority) ข้อกาหนดอาจจาเป็นต้องให้วิศวกร (บันทึกเป็นลายลักษณ์ อั ก ษร) ได้ รั บ การอนุ มั ติ จ ากผู้ ว่ า จ้ า ง ก่ อ นที่ จ ะอนุ ญ าตให้ ผู้ รั บ จ้ า ง

9-76


การบริหารจัดการสัญญา ดาเนินการ เช่น การขยายระยะเวลาแล้วเสร็จของงาน (EOT) หรือสิทธิ การจ่ายเงินเพิ่ม อันเป็นผลทาให้เพิ่มราคาของสัญญา วิศวกรจะต้องเตรียมและเสนอการประเมินการเรียกร้องที่ ขอให้ผู้ว่าจ้างอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อนาไปสู่ข้อตัดสิน การประเมินผลจะนาเสนอภายใต้จดหมายนาส่งไปยังเจ้าของ งาน และสาเนาไปยังผู้รับจ้าง (ยกเว้นผลการประเมิน) หากผู้ว่าจ้าง:  ปฏิเสธการอนุมัติ ผู้รับจ้างจะต้องทราบถึงภาระหน้าที่ของ วิศวกร  ได้รับการอนุมัติ วิศวกรจะต้องแจ้งแก่ผู้รับจ้างและสาเนา ถึงผู้ว่าจ้าง หากผู้ว่าจ้างยังคงปฏิเสธการอนุมัติ วิศวกรสามารถ:  แจ้ ง แก่ ผู้ ว่ า จ้ า งให้ อ นุ มั ติ โดยให้ ค าปรึ ก ษาว่ า เป็ น การ ตัดสินของผู้ว่าจ้าง หรือ  ให้ ค าแนะน าแก่ ผู้ รั บ จ้ า งว่ า เขาไม่ ส ามารถที่ จ ะท าการ ตัดสินตรวจสอบ  ผู้ รั บจ้า งสามารถเข้า สู่ กระบวนการภายใต้การระงับข้อ พิพาท

9-77


การบริหารจัดการสัญญา 3.13 ความล่าช้า การขยายระยะเวลาการแล้วเสร็จของงาน และการ เรียกร้องค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม (Delays, Extention of time for Completion & Claims for Additional Costs) ความสาเร็จของงานภายในระยะเวลา หากผู้รับจ้างไม่สามารถทางานให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา แล้วเสร็จของงาน ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายเงินเพื่อเป็นสินไหมทดแทนเพื่อ ความเสียหายแก่ผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหาย ในกรณี ที่ผู้รับจ้างไม่สามารถดาเนินงานให้แล้วเสร็จตามกาหนดการเป้าหมาย สาคัญ แม้ว่าการทางานจะไม่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กาหนด ผู้รับ จ้างยังคงมีหน้าที่ปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จ เว้นแต่ผู้ว่าจ้างจะเลิกสัญญา และ ผู้ว่าจ้างจะต้องจ่ายเงินแก่ผู้รับจ้างสาหรับงานที่ได้ ดาเนินการไป แล้ว หากความล่าช้าของการแล้วเสร็จของงานอยู่นอกเหนือการ ควบคุมของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างมีสิทธิ์ขอรับการขยายระยะเวลาการแล้ว เสร็จของงาน วิศวกรจะต้องพิจารณา การเรียกร้องของผู้รับจ้างในเรื่องการ พิจารณาจานวนวันที่ขอขยายระยะเวลา จะต้ อ งระมั ด ระวัง ในขณะการประกวดราคา ในเรื่ อ งการ ประเมิ นการขอขยายระยะเวลาการแล้ วเสร็ จของงาน เมื่ อ ชนะการ ประกวดราคาแล้ว จะไม่สามารถถอนตัวได้ ความล่าช้าโดยไม่มีเหตุผลโดยวิศวกรในการตอบสนองต่อ การเรียกร้องขอขยายระยะเวลาการแล้วเสร็จของงาน สามารถปลด เปลื้ อ งภาระของผู้ รั บ จ้ า งจากการด าเนิ น งานให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายใน ระยะเวลาแล้วเสร็จของงาน 9-78


การบริหารจัดการสัญญา เหตุสาหรับการขยายระยะเวลา สิ ท ธิในการขอขยายระยะเวลาการแล้ วเสร็จของงาน เมื่ อ เส้ นทางวิกฤตในการแล้วเสร็จของงานได้รับผลกระทบ เหตุแห่งการ ขยายระยะเวลาจะรวมถึง:  ค าสั่ ง เปลี่ ย นแปลงงาน (ยกเว้ น ส่ ว นเป็ น ผลมาจากการ ผิดพลาดของผู้รับจ้าง)  การเพิ่มของปริมาณงาน  ปั ญ หาจากแบบล่ า ช้ า (ยกเว้ น งานที่ รั บ ผิ ด ชอบการ ออกแบบโดยผู้รับจ้าง)  ปัญหาจากการเข้าและครอบครองสถานที่กอ่ สร้างล่าช้า  ปั ญ หาจากสภาพภู มิ อ ากาศที่ ไ ม่ พึ ง ประสงค์ ใ นสถานที่ ก่อสร้าง  อื่น ๆ วิธีการเรียกร้องขอขยายระยะเวลา ผู้รับจ้างจาเป็นต้อง:  ส่งข้อเรียกร้องสาหรับการขอขยายระยะเวลาการแล้วเสร็จ ของงานภายในระยะเวลาที่ ก าหนดในสั ญ ญา โดยส่ ง หนั ง สื อ เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรถึ ง วิศ วกร ภายใน 28 วั น หลังจากที่ผู้รับจ้างเริ่มตระหนักถึงเหตุการณ์ที่ควรได้รับ การเรียกร้อง  ส่ ง รายละเอี ย ดเฉพาะเกี่ ย วกั บ เหตุ แ ห่ ง การขอขยาย ระยะเวลาไปยังวิศวกรภายใน 42 วันหลังจากที่ผู้รับจ้าง เริ่มตระหนักถึงเหตุที่เกิดขึ้น หากเหตุ ก ารณ์ มี ผ ลกระทบอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและผู้ รั บ จ้ า งไม่ สามารถส่ ง รายการสรุ ป ความฉบั บ สุ ด ท้ า ย (การเรี ย กร้ อ ง) (Final 9-79


การบริหารจัดการสัญญา Particular) ผู้รับจ้างมีสิทธิในการขอขยายระยะเวลาโดยส่งรายการสรุป ความระหว่างงวดงาน (Interim Particular) ในช่วงเวลาที่เป็นรายเดือน เมื่ อ ได้ รั บ รายการสรุ ป ความระหว่ า งงวดงาน วิ ศ วกรจะ กาหนดการขยายระยะเวลาชั่วคราว เมื่ อ ได้ รั บ รายการสรุ ป ความฉบั บ สุ ด ท้ า ย (ผู้ รั บ จ้ า งจะส่ ง ภายใน 28 วันหลังจากผลกระทบของเหตุการณ์ให้สูงขึ้นเพื่อเรียกร้องได้ สิ้ นสุ ด) วิศ วกรจะกาหนดระยะเวลาที่จะขยายรวมโดยจะไม่ มีผลลด จานวนวันที่ขอขยายในระหว่างกาล ผู้รับจ้าง:  เพื่อแสดงให้เห็นว่าเกิดความล่าช้าทาให้งานไม่แล้วเสร็จ ภายในระยะเวลา  จะต้องลดความล่าช้าหรือการหยุดชะงักในขอบเขตและ แนวทางปฏิบัติและให้อยู่ในการควบคุม ระยะเวลาที่ขยายจะถูกกาหนดโดยวิศวกรจากรายการสรุป ความที่ส่งมาโดยผู้รับจ้างและจากบันทึกหลักฐานข้อมูลของเหตุการณ์ ต่างๆ (Contemporary Record) วิ ศ วกรต้ อ งปรึ ก ษาผู้ รั บ จ้ า งและผู้ ว่ า จ้ า ง (เพื่ อ ที่ จ ะบรรลุ ข้อตกลงก่อนที่จะทาการกาหนด) ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการขยายระยะเวลา ผู้รับจ้างอาจเรียกร้องค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากความล่าช้าในแง่ ของเงินสารองซึ่งขึ้นอยู่กับสาเหตุ:  ค่า ใช้จ่า ยทางตรงของการส ารองทรั พ ยากรในสนามซึ่ ง ได้รับผลกระทบจากความล่าช้าในช่วงเวลาแห่งความล่าช้า นั้น  ค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้าง ที่เกิดจากการยืดเวลาเป็นเวลานาน

9-80


การบริหารจัดการสัญญา  ค่าใช้จ่ายเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับการขยายระยะเวลาใน รายการทั่วไปของ BOQ ซึ่งที่ไม่ได้รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายของ ผู้รับจ้าง ความรับผิดชอบต่อความล่าช้าส่งผลกระทบต่อสิทธิในค่าใช้จ่าย (Responsibility for Delay affects Entitlement to Cost) เมื่อมีการประเมินข้อเรียกร้องในเรื่องการขอขยายระยะเวลา จาเป็นจะต้องพิจารณาในความรับผิดชอบถึงสิทธิ์ของ ผู้รับจ้างในอันที่ จะได้รับการขยายเวลา และการขอค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม โดยทั่วไปสาเหตุของความล่าช้าคือ:  ผลเนื่องมาจากผู้รับจ้างทั้งหมด (ผู้รับจ้างไม่มีสิทธิ)  ผลเนื่ อ งมาจากผู้ ว่ า จ้ า งทั้ ง หมด(ผู้ รั บ จ้ า งได้ สิ ท ธิใ นการ ขยายเวลาและราคาที่ขอเพิ่ม)  ผลมาจากทั้งสองฝ่าย (ผู้รับจ้างได้สิทธิในการขยายเวลาแต่ สิทธิในราคาที่ขอเพิ่มได้รับการจากัด)  เป็นกลาง (ผู้รับจ้างได้สิทธิในการขยายเวลาแต่ไม่มีสิทธิใน ราคาที่ขอเพิ่ม) สาหรับการเรียกร้องฉบับเดียวที่เกิดขึ้นจากหลายเหตุการณ์ วิศวกรควรแยกความแตกต่างในส่วนของสิทธิที่จะขอขยายระยะเวลาให้ อยู่ภายในประเภท (ข) (ค) และ (ง) ความแตกต่ า งดั ง กล่ า วจะช่ ว ยให้ ก ารประเมิ น ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ ผู้รับจ้างอาจมีสิทธิในการขอคืน ความล่าช้าเกิดขึ้นพร้อมกัน (ค) โดยหลักการแล้ว (Industrial Opinion): สาหรับความล่าช้า ที่เกิดพร้อมกัน จะไม่ได้รับสิทธิในค่าใช้จ่ายร่วมกับการขยายระยะเวลา

9-81


การบริหารจัดการสัญญา อย่ า งไรก็ ต าม วิ ศ วกรมี ห น้ า ที่ ที่ จ ะต้ อ งใช้ ดุ ล พิ นิ จ อย่ า ง ยุติธรรมเพื่อให้ผู้รับจ้างมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่าย วิศวกรไม่ควรมาตรการ รุนแรง (หากเหตุแห่งความล่าช้าสามารถแบ่งให้กับทั้ง สองฝ่ายได้เท่า ๆ กัน ผู้รับจ้างจะไม่ได้รับสิทธิในการขอเงินเพิ่ม แต่หากขบวนการไม่ เอื้ออานวย และผู้รับจ้างมีความสามารถที่จะดาเนินการได้เอง ผู้รับจ้างก็ มีสิทธิโดยชอบที่จะขอค่าใช้จ่ายทางตรงเพิ่ม) สภาพภูมิอากาศที่เลวร้ายอันไม่พึงประสงค์ (ง) สาเหตุของความล่าช้านี้เป็นความเสี่ยงร่วมกันของผู้ว่าจ้าง และผู้รับจ้าง โดยผู้รับจ้างมีสิทธิที่จะได้รับการขยายเวลา แต่จะไม่ได้รับ ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ในทานองเดียวกันในกรณีของความล่าช้าที่เกิดจากหน่วยงาน ที่ รั บผิ ดชอบ ผู้ รั บจ้า งมี สิ ท ธิที่ จะได้รั บการขยายเวลา แต่ จะไม่ ไ ด้รั บ ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากระยะเวลาที่ขยาย ค่ า ใช้ จ่ า ยของผู้ รั บ จ้ า งที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เกิ ด ในช่ ว งระยะเวลาของ ความล่าช้าหรือเกิดขึ้นในช่วงที่ได้รับการขยายระยะเวลา ข้อเสนอของผู้รับจ้างเกี่ยวกับ ร้อยละของค่าใช้จ่ายในสนาม ร้อยละของค่าใช้จ่ายในสานักงาน ร้อยละของค่าความเสี่ยงและกาไร สามารถดูได้จากเอกสารดังต่อไปนี้:  เอกสารประกวดราคาของผู้รับจ้าง  รายละเอียดของราคาเหมารวมและอัตราราคาต่อหน่วยที่ ผู้รับจ้างเสนอในขณะเริ่มสัญญา

9-82


การบริหารจัดการสัญญา กาไรที่ลดลง หลักการของการเรียกร้องโดยผู้รับจ้างสาหรับกาไรที่ลดลง อันเนื่องมาจากการขยายระยะเวลาในสัญญา จะเช่นเดียวกับหลักการใน การเรียกร้องค่าใช้จ่าย และสามารถได้รับการประเมินขึ้นอยู่กับสูตรที่ กล่าวไว้ข้างต้น โดยร้อยละของกาไร จะแทนค่าด้วยร้อยละของค่าใช้จา่ ย ก่อนการพิจารณาข้อเรียกร้อง วิศวกรจะต้องตรวจสอบดังนี้:  ไม่มีบทบัญญัติในสัญญาในการจากัดสิทธิของผู้รับจ้างที่จะ เรียกคืนค่าใช้จ่ายเท่านั้น ซึ่งจะไม่รวมการสูญเสียกาไร  ไม่มีข้อ จากัด ภายใต้กฎหมายในสัญญาว่าด้วยสิทธิของ ผู้รับจ้างในการเรียกคืนกาไรที่หายไป หากสั ญ ญาหรื อกฎหมายของสั ญญาตามสิท ธิที่ กาหนดขึ้น ภาระจากการพิ สู จน์แล้ วเป็นของผู้ รั บจ้า งแต่ฝ่ า ยเดีย ว วิศ วกรจะให้ ผู้รับจ้างแสดงหลักฐานตาม (1) หรือ (2) ดังนี:้ 1. หากในเอกสารประกวดราคาของผู้รับจ้างได้แสดงผลกาไร ไว้แล้ว ผู้รับจ้างไม่ได้รับสิทธิที่จะเรียกร้องอั ตรากาไรที่สูงกว่าที่แสดงใน การประกวดราคา 2. หากผลกาไรไม่ได้ระบุไว้ในเอกสารประกวดราคา ผลการ ตรวจสอบบัญชีย้อนหลัง 5 ปีของผู้รับจ้างจะสามารถแสดงให้เห็นถึงร้อย ละของผลกาไรในสัญญาที่คล้ายคลึงกัน ค่าใช้จ่ายที่ได้รับการชดเชย (Overhead Recovery) หากได้รับการขยายระยะเวลาพร้อมกับ ราคาที่เพิ่มขึ้น โดย ราคางานในสัญญาที่เพิ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงหรือจากการวัดปริมาณ งานจริ ง ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จะได้ รั บ การชดเชยค่ า ใช้ จ่ า ยตามหลั ก การ โดย ค่าใช้จ่าย (รวมถึงกาไร) ที่ได้รับจากงานเพิ่มจะถูกหักจากราคางานที่ เพิ่มจากราคางานในสัญญาขณะที่ประกวดราคา

9-83


การบริหารจัดการสัญญา การเรียกร้องค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมไม่เกี่ยวข้องกับการขยายเวลาก่อสร้าง การขยายระยะเวลาการก่อสร้าง ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องสิทธิใน การขอรับเงินค่าจ้างเพิ่ม หากผู้รับจ้างมีค่าใช้จ่ายเพิ่มอันเป็นผลมาจากเหตุแห่งสัญญา ผู้รับจ้างมีสิทธิจะได้รับเงินจากผู้ว่าจ้าง แม้ว่าเหตุการณ์นั้นจะไม่มีผลเมื่อ งานแล้วเสร็จ (No Effect upon Completion) ค่าใช้จ่ายที่เรียกคืนได้จะได้รับการประเมินโดยวิศวกร โดย ประยุกต์ใช้หลักการเดียวกันที่ใช้ในการประเมินค่าใช้จ่ายสาหรับงานที่ ได้รับการต่ออายุสัญญา 3.14 สินไหมทดแทนเพื่อความเสียหาย และเงินรางวัล (Liquidated Damages and Bonus) สินไหมทดแทนเพื่อความเสียหาย จากความล่าช้า (Liquidated Damages for Delay) หากผู้รับจ้างไม่สามารถทางานหรือส่วนของงานให้แล้วเสร็จ ภายในระยะเวลาแล้ วเสร็ จ ของงานตามที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นสั ญ ญา ผู้ รั บ จ้ า ง จะต้องจ่ายค่าความเสียหายตามที่ได้ตกลงในสัญญาแก่ผู้ว่าจ้าง ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานตามที่ระบุไว้ในภาคผนวกการ ประกวดราคาโดยมีการปรับแก้ส่วนที่ได้รับการขยายเวลา ความเสียหายนี้คือ ความเสียหายจากการล่าช้าของงาน (หรือ อาจเรี ย กว่า สิ นไหมทดแทนเพื่ อ ความเสี ย หาย) และได้ถูกระบุไ ว้ใน ภาคผนวกของเอกสารประกวดราคา (ร้อยละของราคาในสัญญาต่อวัน ในสกุลเงิน หรือสัดส่วนตามที่ได้ระบุไว้ในการจ่ายเงิน ซึ่งระบุเป็นร้อยละ ในราคาสัญญา) ในสัญญา FIDIC: ผู้ รั บ จ้ า งจะจ่ า ยค่ า สิ น ไหมทดแทนแก่ ผู้ ว่ า จ้ า งในกรณี เ กิ ด ความล่าช้า 9-84


การบริหารจัดการสัญญา หากได้ออกหนังสือการครอบครองงานแล้ว เบี้ยปรับรายวัน สาหรับความล่าช้าของงานในส่วนที่เหลือจะได้รับการลดลง การก าหนดเบี้ ย ปรั บ รายวั น ที่ ล ดลงจะไม่ มี ผ ลต่ อ จ านวน สินไหมทดแทนความเสียหายสูงสุด โดยปราศจากอคติ ผู้ ว่ า จ้ า งจะลดจ านวนเงิ น ค่ า สิ น ไหม ทดแทนความเสียหาย การจ่ายเงินหรือการลดค่าสินไหมทดแทนความเสียหายจะ มิได้ลดภาระผูกพันจากเงื่อนไขในสัญญา ดังนั้น: ไม่ใช่หน้าที่หรือดุลยพินิจของวิศวกรในการพิจารณาความ เสียหายจากการล่าช้าของงาน การช าระค่ า สิ น ไหมจากความล่ า ช้ า ในงานเป็ น พั นธะของ ผู้รับจ้าง เมื่อถึงกาหนดระยะเวลา เป็นดุลยพินิจของผู้ว่าจ้างที่จะลด ค่าสินไหมแก่ผู้รับจ้างหรือไม่ เฉพาะกรณีที่สั่งเป็นลายลักษณ์อักษรโดยผู้ว่าจ้าง วิศวกรจึง จะหักเงินค่าสินไหมในระหว่างการจ่ายเงินงวด ในบางเงื่อนไขเฉพาะจะระบุให้ผู้รับจ้างได้รับเงินรางวัลใน กรณีที่ทางานแล้วเสร็จก่อนเวลาที่กาหนด (ปกติจะขึ้นอยู่กับช่วงเวลาระหว่างวันที่แล้วเสร็จของงานและ วันหมดอายุของเวลาเสร็จสิ้นของงาน) ในการนี้ อ าจยากในการตี ค วามเนื่ อ งจากความล่ า ช้ า ใน ความก้าวหน้าของงาน ผู้รับจ้างอาจมีสิทธิ์ขอขยายระยะเวลาการทางาน เป็นเรื่องยาก หากผู้รับจ้างเสนอแผนเร่งรัดงานเพื่อให้ ได้เงิน รางวัล การทาเช่นนั้นจะได้ผลที่เหมาะสมหรือไม่?

9-85


การบริหารจัดการสัญญา จะไม่ยากในการประเมินการขอต่อระยะเวลาก่อสร้าง หากมี เงินรางวัลเป็นเป้าหมาย 4. การรับมอบงาน ความรับผิดชอบต่อสิ่งบกพร่อง และความเสร็จสมบูรณ์ของสัญญา 4.1 การแล้วเสร็จและการรับมอบงานจ้าง (Completion and Taking-Over)

การทดสอบเมือ่ เสร็จงาน ถ้าหากล่าช้าเกินควรโดยฝ่ายต่างๆดังนี้

9-86


การบริหารจัดการสัญญา การทดสอบเมื่อเสร็จงาน ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ เ มื่ อ การทดสอบเมื่ อ เสร็ จ งานไม่ ผ่ า น (รวมถึ ง การที่ ไ ด้ ท ดสอบตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ต้ น ไปแล้ ว ด้ ว ย) ซึ่ ง วิ ศ วกรอาจจะ ตัดสินใจดังนี้คือ:  สั่งให้มีการทดสอบเพิ่มเติมหรือ  ปฏิเ สธไม่ รั บรองงานจ้า งทั้ งหมด(หรื อ บางส่ วนของงาน จ้าง) หรือ  การออกหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้าง

9-87


การบริหารจัดการสัญญา การรับมอบงานจ้าง เมื่ อ วิ ศ วกรได้ รั บ หนั ง สื อ เพื่ อ ขอส่ ง มอบงานจากผู้ รั บ จ้ า ง เพื่อให้ผู้ว่าจ้างออกหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้าง

4.2 การออกหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้าง (Taking-Over Certificate) เมื่ อ งานจ้ า งทั้ ง หมด หรื อ บางส่ ว นของงานจ้ า งแล้ ว เสร็ จ ผู้รับจ้างทาเรื่องร้องขอโดยออกเป็นหนังสือบอกกล่าวถึงวิศวกรเพื่อให้ ออกหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้าง ก่อนการออกหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้าง วิศวกรต้อง ตรวจสอบเบื้องต้นว่างานทั้งหมดอยู่ในเงื่อนไขที่น่าพอใจ  ถู ก ต้ อ งตามพั น ธะข้ อ ก าหนดตามกฎหมาย (Statutory Requirements) ของการรับมอบงานจ้าง  งานตามสัญญาจ้างได้ผ่านการทดสอบเมื่อเสร็จงานแล้ว (ถ้ามี)  ผู้ รั บ จ้ า งได้ส่ ง แบบก่ อ สร้ า งจริ ง (หากจ าเป็ น ) และคู่ มื อ ปฏิบัติการและบารุงรักษา (ถ้ามี) เมื่อผู้รับจ้างได้ทาเรื่องร้องขอไปแล้ว วิศวกรต้องปฏิบัติหน้าที่ ภายในเวลาที่ได้กาหนดไว้แล้ว

9-88


การบริหารจัดการสัญญา การออกหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้างสาหรับงานจ้างทั้งหมด (Taking-Over Certificate for the whole of the Works) วันที่กาหนดไว้ในการออกหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้าง เป็นวันเดียวกับวันที่งานแล้วเสร็จ /การรับมอบงานจ้างสาหรับงานจ้าง ทั้งหมดในวันดังกล่าวให้ถือจากการที่ปฏิบัติตามรายละเอียดดังนี้:  ความรับผิดชอบสาหรับการดูแลและบารุงรักษางานจ้าง ถูกถ่ายโอนให้กับผู้ว่าจ้าง  การบังคับใช้ประกันภัยสิ้นสุดลง  เงิ น ประกั น ผลงาน/เงิ น กั ก บางส่ ว นถู ก จ่ า ยคื น ให้ กั บ ผู้รับจ้าง  เริ่มต้นนับเวลาสาหรับการยื่นรายงานของงานที่เสร็จแล้ว ของผู้รับจ้าง วันที่งานแล้วเสร็จตามที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือรับรองนั้น ถือเป็น วันซึ่งผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์ที่จะระบุว่าการทาให้งานคงค้างที่สร้างความเสียหาย จากการล่าช้าของงานต้องแล้วเสร็จก่อนวันครบกาหนดช่วงเวลาการแจ้ง ความบกพร่อง วิศวกรจะต้องดาเนินการภายใน 28 วันหลังจากได้รับหนังสือ บอกกล่าวรับมอบงานของผู้รับจ้าง โดย:  ออกหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้าง ระบุวันที่งานจ้าง แล้วเสร็จตามสัญญา หรือ  ออกค าสั่ ง ถึ ง ผู้ รั บ จ้ า ง ระบุ ง านที่ ต้ อ งการให้ แ ล้ ว เสร็ จ ทั้งหมดโดยผู้รับจ้าง ก่อนที่จะออกหนังสือรับรองการรับ มอบงานจ้าง หากวิ ศ วกรไม่ ด าเนิ น การดั ง กล่ า วภายใน 28 วั น หลั ง จาก ได้ รั บ หนั ง สื อ บอกกล่ า วส่ ง มอบงานจากผู้ รั บ จ้ า ง และงานจ้ า งได้ ท า

9-89


การบริหารจัดการสัญญา ถูกต้องตามสัญญา หนังสือรับรองการรับมอบงานจ้างก็ควรจะถือว่าได้ ออกให้เรียบร้อยแล้วในวันสุดท้ายของช่วงเวลา 28 วัน ตามขั้นตอนต่า งๆของการรับมอบงานจ้างทั้งหมด วิศ วกร อาจจะออกหนังสือรับรองงานบางส่วนดังนี้:  หมวดของงานใดๆซึ่งได้แยกระบุเวลาสาหรับการแล้วเสร็จ ของงานไว้ต่างหากโดยระบุไว้ในสัญญา (ในภาคผนวกของ เอกสารประกวดราคา) ในกรณีที่ผู้รับจ้างระบุไว้เพื่อจะใช้ งานบางส่วนนี้ หรือ  บางส่วนของงานถาวร โดยขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้ว่าจ้าง เพียงฝ่ายเดียว หรือ  บางส่วนของงานถาวรซึ่งผู้ว่าจ้างได้เลือกไว้แล้วว่าจะใช้ งานนั้นตามลาดับการแล้วเสร็จของงาน (อื่น ๆ เช่น การ ตรวจวัดเฉพาะงานที่ได้กาหนดไว้ในสัญญาหรือได้ตกลง กับผู้รับจ้าง) งานบางส่วนที่ได้รับมอบงานไปแล้วนั้น ในวันที่เริ่มใช้งานครั้ง แรกและนับจากนั้นไปในแต่ละวัน:  ความรับผิดชอบสาหรับการดูแลและการบารุงรักษาของ งานส่วนนั้นเป็นของผู้ว่าจ้าง  พันธะของผู้รับจ้างก่อนที่จะทาการทดสอบเมื่อเสร็จงาน ให้รับประกันผลงานส่วนสุดท้ายด้วย วั น ที่ ง านแล้ ว เสร็ จ ตามที่ ไ ด้ แ จ้ ง ไว้ ใ นหนั ง สื อ รั บ รองนั้ น สาหรับงานส่วนนี้ให้ถือว่าวันที่แจ้งไว้เป็นวันที่ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์คิดค่าความ เสียหายจากความล่าช้าต่อวัน แล้วนามาลดมูลค่าของงานส่วนนั้นตาม สัดส่วน ระยะเวลาการแจ้งข้อบกพร่องให้เริ่มต้นนับสาหรับงานส่วน นั้น

9-90


การบริหารจัดการสัญญา การออกหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้าง รูปแบบของหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้าง (Form of Taking-Over Certificate) หนังสือรับรองการรับมอบงานจ้างอาจจะเป็นดังนี้คือ:  เอกสารที่เขียนถึงผู้รับจ้างอย่างเรียบง่าย เพื่อรับรองการ รับมอบงาน  ผู้ รั บจ้า งบางรายมี รูปแบบมาตรฐานของหนังสือ รับรอง ของตนเอง วิ ศ วกรควรปรึ ก ษากั บ ผู้ ว่ า จ้ า งในการก าหนดรู ป แบบของ หนังสือรับรองการรับมอบงานจ้างไว้ใช้งาน ในกรณี ที่ ง านค้ า งและ/หรื อ การแก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ งได้ ถู ก ยอมรับให้งานแล้วเสร็จในระหว่างช่วงเวลาแจ้งความบกพร่อง รายการ อุปสรรคของแต่ละงานและการแก้ไขข้อบกพร่องควรจะนามาอ้างไว้ใน หนังสือรับรองการรับมอบงานจ้างและเอกสารแนบ 4.3. การตรวจงานเมื่องานแล้วเสร็จและรายการอุปสรรค (Inspection at Completion & the Snagging List) การบันทึกรายการงานแล้วเสร็จหรืองานที่บกพร่องมิได้มีการ กาหนดไว้เป็นมาตรฐานเพื่อการแก้ไขให้ถูกต้องทั้งก่อนหรือหลังจากที่ได้ ออกหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรายการที่แสดงใน ใบคาขอให้ออกหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้างของผู้รับจ้าง วิศวกร จะต้องปฏิบัติดังนี้คือ  ส่ ง หนั ง สื อ บอกกล่ า วถึ ง ผู้ รั บ จ้ า งเพื่ อ เตรี ย มพร้ อ มให้ ตรวจสอบงานจ้างในเวลาใกล้เคียงหรือตรงกับวันที่ ผู้รับ จ้างได้แจ้งไว้ว่างานจะแล้วเสร็จและพร้อมให้ตรวจรับมอบ งาน

9-91


การบริหารจัดการสัญญา  เชิญผู้ว่าจ้างให้มีส่วนร่วมในการตรวจสอบงาน  ก่อนการตรวจสอบงานแต่ละครั้ง ให้เตรียมรายการงานคง ค้างที่จะต้องทาให้แล้วเสร็จหรือระบุรายการงานบกพร่อง ที่ต้องได้รับการแก้ไขให้ถูกต้อง หากรายการงานคงค้างและ/หรือรายการงานบกพร่องมีมาก เกิ น กว่ า ที่ จ ะยอมรั บ เพื่ อ ออกหนั ง สื อ รั บ รองการรั บ มอบงานจ้ า งได้ วิศวกรจะต้องออกหนังสือบอกกล่าวถึงผู้รับจ้ างเพื่อแจ้งให้ทราบว่ายังมี รายการงานคงค้างและ/หรือรายการงานบกพร่องที่จะต้องทาการแก้ไข ให้ถูกต้องก่อนที่จะออกหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้าง 4.4 รายงานของงานที่เสร็จแล้วของผู้รับจ้าง (Contractor’s Statement at Completion) ภายใน 84 วัน หลังจากได้รับการออกหนังสือรับรองการรับ มอบงานจ้างสาหรับงานจ้างทั้งหมด ผู้รับจ้างจะต้องจัดส่งรายงานของ งานที่เสร็จแล้วพร้อมกับเอกสารประกอบที่แสดงรายละเอียดต่างๆอย่าง ครบถ้วน โดยยื่นเอกสารในรูปแบบที่ได้รับอนุมัติจากวิศวกร:  มูลค่าของงานทั้งหมดที่แล้วเสร็จตามสัญญาขึ้นกับวันที่ งานได้เสร็จสิ้นตามที่แจ้งไว้ในหนังสือรับรองการรับมอบ งานจ้าง  รวมงานเพิ่มอื่นๆซึ่งผู้รับจ้างพิจารณาว่าได้ส่งงานนั้นๆตาม กาหนด  การประมาณราคามูลค่างานเพิ่มอื่นๆที่ผู้รับจ้างพิจารณา ว่ า เป็ น งานที่ ต้ อ งท าภายใต้ สั ญ ญา ด้ ว ยการแสดงการ ประมาณราคาของงานเพิ่มแยกไว้ต่างหาก

9-92


การบริหารจัดการสัญญา หากผู้ รั บ จ้ า งไม่ ข อเรี ย กร้ อ ง ตามสิ ท ธิ์ ที่ ค วรจะได้ ไว้ ใ น รายงานของงานที่ แล้ วเสร็จ ผู้ รั บจ้า งก็อ าจจะไม่ ไ ด้รั บค่ า จ้า งจากข้อ เรียกร้องนั้น ๆ 4.5 หนังสือรับรองการจ่ายเงินงวดงานที่แล้วเสร็จ (Interim Payment Certificate at Completion) หนังสือรับรองการจ่ายเงินงวดงานที่แล้วเสร็จของวิศวกร (Engineer’s IPC at Completion) ตามสัญญาของFIDIC: ภายใน 28 วันหลังจากได้รับรายงาน ของงานที่ แล้ วเสร็ จจากผู้รั บจ้า ง วิศ วกรจะต้อ งรั บรองแก่ผู้ ว่า จ้างว่า เงินงวดงานซึ่งได้ตรวจทานนั้นเป็นไปอย่างยุติธรรมตามเวลาที่กาหนด แม้ ว่ า รายงานของงานที่ แ ล้ ว เสร็ จ ของผู้ รั บ จ้ า ง จะ ประกอบด้ ว ย “การประมาณราคามู ล ค่ า งานเพิ่ ม อื่ น ๆซึ่ ง ผู้ รั บ จ้ า ง พิ จารณาว่า เป็นงานที่ ต้อ งทาภายใต้สั ญ ญา” หนังสื อ รั บรองการจ่าย เงินงวดงานจะต้องได้รับการรับรองเฉพาะงวดงานที่วิศวกรตรวจทาน แล้วพบว่าเป็นงานที่แล้วเสร็จพร้อมให้ตรวจรับตามเวลาที่กาหนดให้ ผู้รับจ้างเท่านั้นและงวดงานอื่นๆที่มีสิทธิ์จะสามารถเบิกได้ตามนี้ ก) ณ วันที่งานแล้วเสร็จตามที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือรับรองนั้น ข) หลั ง จากวั น ที่ ง านแล้ ว เสร็ จ ตามที่ ไ ด้ แ จ้ ง ไว้ ใ นหนั ง สื อ รับรองนั้น ต้ อ งมี ก ารประมาณการเผื่ อ ไว้ โดยผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งรวม รายละเอียดต่างๆของการประมาณราคางานอื่นๆที่พิจารณาว่าเป็นส่วน ของงานจ้ า ง โดยจะแจ้ ง ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานคงค้ า งที่ อ าจอยู่ ใ นความ รับผิดชอบดังกล่าวมาแล้วนี้แกผู้ว่าจ้างรับทราบ

9-93


การบริหารจัดการสัญญา ผู้รับจ้างอาจบรรจุประเด็นที่ใช้เป็นข้ออ้างเพื่อขอเรียกร้อง และ/หรือข้อพิพาทไว้ในรายงาน วิศ วกรอาจไม่ เ ห็นด้วยกับผู้ รั บจ้า งในยอดเงินที่แสดงไว้ใน เอกสารการประมาณราคางานเพิ่ม วิศวกรไม่มีความจาเป็นที่จะต้องจัดการกับเรื่องนี้ในขณะออก หนังสือรับรองการจ่ายเงินงวดงานที่แล้วเสร็จ (โดยแสดงรายละเอียดให้ ผู้ว่าจ้างเห็นการประมาณการเบิกจ่ายเงินของงานงวดสุดท้ายที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง) วิศ วกรจะส่ งงบการเงิน เสริม เพิ่ มเติมในรายงานของงานที่ เสร็จแล้ว พร้อมกันหรือเร็วที่สุดหลังจากออกหนังสือรับรองการจ่า ย เงินงวดงานที่แล้วเสร็จให้แก่ผู้ว่าจ้าง ในรายงานของวิ ศ วกรนั้ น ก็ ค วรจะแสดงรายละเอี ย ดที่ ไ ด้ ประมาณการเบิ ก จ่ า ยเงิ น ของงานงวดสุ ด ท้ า ยซึ่ ง ผู้ ว่ า จ้ า งจะต้ อ ง รั บ ผิ ด ชอบในการจ่ า ยให้ กั บ ผู้ รั บ จ้ า ง รวมถึ ง แสดงรายละเอี ย ดอื่ นๆ ดังต่อไปนี้:  การจ่ายค่างวดงาน ตามงานที่ผู้รับจ้างได้ทาเสร็จ  การจ่ายค่างวดงาน ซึ่งงานนั้นได้รับรู้กันแล้วว่าจะเป็นงาน เพิ่มที่ผู้รับจ้างต้องทาให้เสร็จ  การประมาณมูลค่าของงานคงค้างที่ยังไม่ได้ดาเนิน การ และข้อเรียกร้องและข้อพิพาทที่ยังไม่ยุติ  สิทธิของผู้ว่าจ้าง (ถ้ามี) เพื่อชะลอความเสียหาย 4.6 ช่วงเวลาแจ้งความบกพร่อง (Defects Notification Period) ในสัญญาของ FIDIC: ช่วงเวลาแจ้งความบกพร่อง(DNP) เป็น ช่วงเวลาสาหรับการแจ้งความบกพร่อง ตามที่แจ้งไว้ในภาคผนวกของ เอกสารประกวดราคา (โดยทั่วไป 12 เดือน แต่ก็นานกว่านั้นได้):

9-94


การบริหารจัดการสัญญา  ให้นับจากวันที่งานแล้วเสร็จ ซึ่งเป็นวันที่ได้รับการรับรอง งาน ตามวันที่ได้กาหนดไว้ในหนังสือรับรองการรับมอบ งานจ้างทั้งหมด  ในกรณี ที่ จ ะออกหนั ง สื อ รั บ รองการรั บ มอบงานจ้ า ง มากกว่าหนึ่งฉบับ การออกหนังสือควรลาดับวันที่ของการ ออกหนังสือรับรองนั้นไว้อย่างชัดเจน ‘ช่ ว งเวลาแจ้ ง ความบกพร่ อ ง’ จะเน้ น ข้ อ ก าหนดในการ บริหารจัดการ ในการสารวจเพื่อแจ้งเตือนความบกพร่องของงานให้มี ประสิทธิภาพ มากกว่าที่จะเป็นความรับผิดชอบโดยผู้รับจ้างเท่านั้น

4.7 งานคงค้างแล้วเสร็จและการแก้ไขข้อบกพร่อง (Completion of Remaining Works and Rectification of Defects) ผู้รับจ้างจะต้อง:  หากหนังสือรับรองการรับมอบงานจ้างได้ออกให้ผู้รับจ้าง พร้อมกับรายการอุปสรรคต่างๆแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องแก้ไข งานตามหัวข้อในรายการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่ เหมาะสมตามค าสั่ ง ของวิ ศ วกรที่ อ อกให้ กั บ ผู้ รั บ จ้ า ง

9-95


การบริหารจัดการสัญญา ระหว่างช่วงเวลาแจ้งความบกพร่อง เพื่อสามารถส่งมอบ งานเหล่านั้น  แก้ ไ ขความบกพร่ อ งต่ า ง ๆ ซึ่ ง ได้ แ จ้ ง จากวิ ศ วกรหรื อ ตัวแทนของผู้ว่าจ้าง ณ วันที่หรือก่อนช่วงเวลาแจ้งความ บกพร่องหมดอายุ เป้าหมายเมื่อหมดช่วงเวลาแจ้งความบกพร่องคือ จะต้องส่ง มอบงานจ้างแก่ผู้ว่าจ้างตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา ยกเว้นจากการ เสื่อมสภาพไปเองตามกาลเวลาและถูกทาให้เสียหาย 4.8 การตรวจสอบงานและการแจ้งความบกพร่อง (Inspections and Notification of Defects) การตรวจสอบงานจ้างที่จาเป็นต้องทาในระหว่างช่วงเวลา แจ้งความบกพร่องได้แก่  ตรวจสอบ (และหากจาเป็นต้องตรวจวัด) งานคงค้างที่ทา เสร็จแล้วในช่วงเวลาแจ้งความบกพร่อง  ตรวจว่ า ข้ อ บกพร่ อ งต่ า ง ๆ ที่ ไ ด้ แ จ้ ง ไว้ แ ล้ ว ในรายการ อุ ปสรรคที่ แนบท้ า ยหนังสื อ รั บรองการรั บมอบงานจ้ า ง ได้รับการตรวจรับว่าได้แก้ไขแล้ว  ระบุข้อบกพร่องที่ปรากฏในช่วงเวลาแจ้งความบกพร่อง เมื่อผู้รับจ้างได้รับแจ้งข้อบกพร่องที่ถูกระบุไว้ในช่วงเวลาแจ้ง ความบกพร่อง ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามคาสั่งที่ให้แก้ไขข้อบกพร่อง เหล่านั้น คาสั่งที่ออกโดยวิศวกรควรระบุเวลาที่ผู้รับจ้างจะต้องแก้ไข ข้อบกพร่องตามที่ได้รับแจ้ง (รายงานอาจจะมีผลกระทบกับการแก้ไข ข้อบกพร่องของผู้ว่าจ้าง หากผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตามคาสั่ง)

9-96


การบริหารจัดการสัญญา วิศวกรและผู้รับจ้างควรจะแต่งตั้งผู้ที่จะตรวจสอบงานและ ผู้ที่จะแจ้งข้อบกพร่องให้กับผู้รับจ้าง โดยถือว่าวิศวกรจะเป็นผู้ตรวจสอบ ในลาดับแรก การตรวจสอบระหว่างช่วงเวลาแจ้งความบกพร่องนั้น ควรจะ ร่วมกันตรวจพร้อมกันโดยวิศวกร ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้าง ตารางการวางแผนของการตรวจสอบควรจะเหมาะสมกับ ชนิดและประโยชน์ใช้สอยของงานนั้นๆ วิศวกรควรปฏิบัติดังนี้:  วางแผนการตรวจสอบในช่วงเวลาปกติและในช่วงเวลาที่ วิกฤต(โดยตั้งเป้าว่าการตรวจสอบครั้งสุดท้ายควรจะใช้ เวลาไม่ช้ากว่าช่วงเวลาแจ้งความบกพร่องจะหมดอายุ)  ให้แจ้งวัน เวลาและระยะเวลาในแต่ละการตรวจสอบให้ ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้าง ทราบล่วงหน้าอย่างเหมาะสม  ระหว่างการตรวจสอบต้องได้รับความตกลงจากทุกฝ่าย ซึ่งได้ร่วมกันตรวจสอบและเห็นด้วยว่าข้อบกพร่องเหล่านี้ เป็นความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง (อาจเกิดการเห็นแย้ง การเจรจา ในการระบุว่าข้อบกพร่องไม่ใช่ความรับผิดชอบ ของผู้ รั บ จ้ า ง หรื อ เกิ ด จากการเสื่ อ มสภาพไปเองตาม กาลเวลาและถูกทาให้เสียหาย)  ติดตามการตรวจสอบแต่ล ะครั้ ง แจ้งข้อ บกพร่ อ ง/ออก ค าสั่ งให้ผู้ รั บจ้า งที่ รั บผิ ด ชอบต่อ ข้อ บกพร่ อ งนั้ น ในการ เร่งรัดให้ทาการแก้ไขงานให้เสร็จภายในเวลาที่กาหนด

9-97


การบริหารจัดการสัญญา 4.9 ค่าใช้จ่ายของการแก้ไขข้อบกพร่องและความเสียหาย (Costs of Rectifying Defects and Damage) ผู้รับจ้างไม่ตอ้ งรับภาระในค่าใช้จ่ายในสิ่งต่อไปนี้: ก) จากการเสื่ อ มสภาพไปเองตามกาลเวลาและถู ก ท าให้ เสียหาย ข) ความบกพร่องอันเนื่องมาจากการออกแบบผิดพลาดโดย มิได้ดาเนินการโดยผู้รับจ้าง ค) ความบกพร่องที่ไม่ได้เกิดจาก/หรือไม่มีเหตุผลให้เชื่อว่า เป็นความผิดของผู้รับจ้างในช่วงเวลาแจ้งความบกพร่อง ผู้ว่าจ้างอาจเลือกแนวทางการแก้ไขความบกพร่องหรือความ เสียหายที่ไม่ได้อยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับจ้างโดย:  คาขอที่ออกโดยผู้ว่าจ้าง(หรือโดยวิศวกรผู้เป็นตัวแทนของ ผู้ว่าจ้าง) เพื่อให้ผู้รับจ้างทาการแก้ไขงานที่มีข้อบกพร่อง ซึ่งจาเป็นที่จะต้องได้รับการยินยอมจากผู้รับจ้างและมีการ เห็นพ้องต้องกันของทุกฝ่ายในเงื่อนไขการชาระเงินในงาน เพิ่มนี้  ผู้ว่าจ้างแยกการแก้ไขงานที่มีข้อบกพร่องเหล่านี้ออกจาก สัญญา โดยผู้ว่าจ้างแก้ไขงานเองหรือโดยให้ผู้รับจ้างราย อื่นดาเนินการแทน หากมีการโต้แย้งเกิดขึ้น ไม่ว่าข้อบกพร่องนั้นจะมีสาเหตุมา จากผู้ รั บ จ้ า งหรื อ ไม่ ก็ ตาม ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งดาเนิน การตามค าสั่ งของ วิศวกรดังต่อไปนี:้  ค้นหาสาเหตุของข้อบกพร่องนั้น  หากผลลัพธ์ของการตรวจสอบแสดงว่าข้อบกพร่องนั้นเป็น ความรับผิดชอบของผู้รับจ้างแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องรับภาระ ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมและการค้นหาตรวจสอบ (อาจ

9-98


การบริหารจัดการสัญญา รวมถึงค่าใช้จ่ายของผู้ว่าจ้างและ/หรือการมีส่วนร่วมของ วิศวกร)  หากสาเหตุของข้อบกพร่องนั้นไม่เป็นความรับผิดชอบของ ผู้รับจ้างแล้ว ผู้รับจ้างจะมีสิทธิ์ที่จะได้รับการชาระเงิน 4.10 การแก้ไขงานอย่างไม่มีประสิทธิภาพในช่วงเวลาแจ้งความ บกพร่อง (Remedies for Non-Performance in DNP) ผู้รับจ้างจะต้อง:  ท าการแก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ งของงานคงค้ า งภายในเวลาที่ เหมาะสมในระหว่า งช่วงเวลาแจ้งความบกพร่ อ ง: หาก ผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตาม ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินให้กับผู้รับ จ้างรายอื่นเพื่อให้ทางานแทน  ทาการแก้ไขข้อบกพร่องตามที่ได้รับแจ้งด้วยค่าใช้จ่ายของ ผู้ รั บจ้า งเอง แต่หากไม่ ทาตามที่ไ ด้รับแจ้งนั้นหรือไม่ทา ภายในเวลาที่ เ หมาะสม: ผู้ ว่ า จ้ า งมี สิ ท ธิ์ ที่ เ อางานแก้ไ ข กลับคืนมาจากผู้รับจ้าง โดยค่าใช้จ่ายทั้งหมดจะเป็นของ ผู้ว่าจ้าง หากผู้รับจ้างจะใช้สิทธิ์ตามปรกติที่มีอยู่เพื่อขอเบิกเงินค่าจ้าง สาหรับงานคงค้างซึ่งทาเสร็จแล้ว ผู้ว่าจ้างก็มีสิทธิ์ที่จะรับเงินค่าจ้างส่วน นี้คืนจากผู้รับจ้าง เพื่อนาไปใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างผู้รับจ้างราย อื่ น ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมาท างานแทน วิ ศ วกรจะตรวจสอบงานและ ค่าใช้จ่าย พร้อมกับกันเงินส่วนนี้เพื่อใช้เป็นส่วนลดจากค่าใช้จ่ายของ ผู้ว่าจ้างด้วย

9-99


การบริหารจัดการสัญญา 4.11 การขยายช่วงเวลาแจ้งความบกพร่อง (Extension of Defects Notification Period) สั ญ ญา FIDIC มี เ นื้ อ หา ‘การขยายช่ ว งเวลาแจ้ ง ความ บกพร่อง’ ดังนี้: “ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์ …..ในการขยายช่วงเวลาแจ้งความบกพร่อง ของงานหรือหมวดงาน ตามความจาเป็นที่จะต้องขยาย เมื่อพบว่างาน หมวดงานหรือรายการที่สาคัญของอุปกรณ์นั้น (กรณีนี้อาจจะเกิดขึ้นได้ ทั้ งในช่วงเวลาแจ้ งความบกพร่ อ ง และหลั งจากการรั บมอบงาน) ไม่ สามารถใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ ตามต้องการด้วยสาเหตุที่เกิดจาก ความบกพร่องหรือความเสียหาย” หั ว ข้ อ นี้ จ ะถู ก น ามาใช้ ก็ ต่ อ เมื่ อ งานไม่ ส ามารถใช้ ไ ด้ ต าม วั ต ถุ ป ระสงค์ เ นื่ อ งจากเกิ ด ความบกพร่ อ งหรื อ ความเสี ย หายอั น เนื่องมาจากการทางานผิดพลาดของผู้รับจ้าง หากงานบางหมวด งานส่ วนใดส่วนหนึ่งหรื ออุปกรณ์ ของ โครงการไม่สามารถใช้ได้ตามเวลาที่กาหนดไว้อย่างแน่นอนแล้ว ดังนั้น จึงควรจะขยายช่วงเวลาแจ้งความบกพร่องของช่วงเวลานั้นๆออกไป (โดยปรกติจะมีการจากัดเวลาไว้อย่างเหมาะสม) 4.12 การทดสอบเพิ่มเติม (Further Tests) การทดสอบเมื่อเสร็จงานเป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องดาเนินการให้ ประสบความสาเร็จ (เป็นสิ่งที่จาเป็นต้องทาเพื่อจะได้การออกหนังสือ รั บ รองการรั บ มอบงานจ้ า ง) และหากว่ า มี ก ารท างานในการแก้ ไ ข ข้อ บกพร่ อ งเกิดขึ้นภายหลั งจากที่ ไ ด้มี การทดสอบประสิท ธิภาพการ ท างานไปแล้ ว อาจเกิดผลกระทบกับประสิ ท ธิภาพการท างานนั้นได้ ดังนั้นวิศวกรอาจมีความจาเป็นจะต้องทาการทดสอบดังกล่าวซ้าตามที่ ได้กาหนดไว้ในสัญญา

9-100


การบริหารจัดการสัญญา งานอาจไม่ได้รับการยอมรับจนกว่าการทดสอบซ้าจะได้ผล เป็นที่น่าพอใจ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการทดสอบซ้าจะรับภาระโดยฝ่ายที่ รับผิดชอบต่อค่าใช้จ่ายในการแก้ไขข้อบกพร่อง 4.13 การรับมอบงานขั้นสุดท้าย (Final Acceptance of Works) สัญญาFIDICระบุว่า: “ผลการดาเนินงานที่เป็นพันธะของผู้รับจ้างจะไม่ได้รับการ พิ จ ารณาให้ ไ ด้ ก ารยอมรั บ ว่ า งานนั้ น แล้ วเสร็ จจนกว่ า วิ ศ วกรได้อ อก หนังสือรับรองการปฏิบัติตามสัญญาให้กับผู้รับจ้างแล้ว ...” และ “เพียงหนังสือรับรองการปฏิบัติตามสัญญา เท่านั้น ที่จะถือ ว่าเป็นการรับมอบงาน” 4.14 หนังสือรับรองการปฏิบัติงานตามสัญญา (Performance Certificate) วิศวกรต้องออกหนังสือรับรองการปฏิบัติงานตามสัญญาโดย มีแนวทางดังต่อไปนี้:  ภายใน 28 วัน หลั งจากการหมดอายุ ของช่วงเวลาแจ้ง ความบกพร่องของงาน หรือ  ถ้าช่วงเวลาแจ้งความบกพร่องของงานแตกต่างกันในแต่ ละส่ ว นของงาน ให้ อ อกหนั ง สื อ รั บ รองการปฏิ บั ติ ต าม สัญญาภายใน 28 วันหลังจากการหมดอายุของช่วงเวลา แจ้งความบกพร่องของงานล่าสุด หรือ  ทันทีหลังจากที่ผลงานใดได้รับคาสั่งจากวิศวกรที่ได้ตรวจ รับการทางานเสร็จสิ้นเป็นที่น่าพอใจและผ่านการทดสอบ

9-101


การบริหารจัดการสัญญา และผู้รับจ้างได้ส่งมอบเอกสารทั้งหมดที่กาหนดให้ผู้ว่าจ้าง ตามสัญญา หนั ง สื อ รั บ รองอาจจะเป็ น จดหมายที่ เ รี ย บง่ า ย ระบุ วั น ที่ กาหนด การรับรองงานของวิศวกร ซึ่งเป็นวันที่ผู้รับจ้างเสร็จสิ้นภาระ หน้าที่ภายใต้สัญญา อย่ า งไรก็ ต าม ข้ อ ความที่ ป รากฏในหนั ง สื อ รั บ รองการ ปฏิบัติงาน ต้องเกี่ยวกับการดาเนินงานเสร็จสิ้นของผู้รับจ้างตามภาระ ผูกพันของเขาเท่านั้น และไม่มีข้อความเป็นเท็จ ภายใต้หัวข้อ 'ไม่บรรลุผลตามภาระผูกพัน' หลังจากที่ได้ออก หนังสือรับรองการปฏิบัติงานแล้ว แต่ละฝ่ายยังต้องรับผิดชอบต่อการ ปฏิบัติตามภาระผูกพันที่ยังไม่ได้ดาเนินการในขณะนั้น และเพื่อการนี้ให้ ถือว่าสัญญายังคงมีผลบังคับใช้ ตัวอย่างเช่น:  การปรับพื้นที่เมื่องานก่อสร้างแล้วเสร็จของผู้รับจ้าง  การส่งบันทึกสรุปของผูร้ ับจ้าง  การชาระเงินงวดสุดท้ายของผูว้ ่าจ้าง การออกหนังสือรับรองการปฏิบัติงานไม่ใช่เงื่อนไขที่ผู้รับจ้าง ต้องรอในการใช้สิทธิเบิกเงินจากส่วนที่คงค้างของเงินประกันผลงาน/เงิน กัก 4.15 การปรับพื้นที่เมื่องานก่อสร้างแล้วเสร็จ (Clearance of Site) เมื่อได้รับหนังสือรับรองการปฏิบัติงานตามสัญญา ผู้รับจ้าง จะต้องขนย้ายเครื่องจักร อุปกรณ์ วัสดุส่วนเกิน ซากปรักหักพัง เศษขยะ และงานชั่วคราวต่างๆออกไปจากโครงการ หากรายการเหล่านี้ยังไม่ได้ถูกขนย้ายออกไปจากโครงการ ภายใน 28 วันหลั งจากที่ผู้ ว่า จ้า งได้รับสาเนาของหนั งสื อรับรองการ

9-102


การบริหารจัดการสัญญา ปฏิบัติงานตามสัญญา ผู้ว่าจ้างอาจจะขายหรือกาจัดรายการต่าง ๆ ที่ยัง เหลืออยู่ ผู้ ว่ า จ้ า งมี สิ ท ธิ ที่ จ ะได้ รั บ เงิ น (จ่ า ยโดยผู้ รั บ จ้ า ง) ซึ่ ง เป็ น ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการประสานงานเพื่อขายหรือจาหน่ายรายการ ต่าง ๆ ที่ยังเหลืออยู่ โดยค่าใช้จ่ายส่วนนี้จะหักจากเงินคงค้างที่จะจ่าย ให้กับผู้รับจ้าง 4.16 บันทึกสรุปของผู้รับจ้าง (Contractor’s Final Statement) ภายใน 56 วันหลังจากได้รับหนังสือรั บรองการปฏิ บั ติงาน ผู้ รั บ จ้ า งต้ อ งส่ ง บั น ทึ ก สรุ ป ฉบั บ ร่ า งให้ แ ก่ วิ ศ วกรพร้ อ มกั บ เอกสาร ประกอบตามรูปแบบที่ได้รับอนุมัติจากวิศวกรดังนี้:  มูลค่างานทั้งหมดที่ได้ทาตามสัญญาแล้ว  มู ล ค่ า ของงานเพิ่ ม ซึ่ ง ผู้ รั บ จ้ า งพิ จ ารณาว่ า เป็ น งานที่ เกี่ยวข้องกับงานตามสัญญา ในกรณีที่วิศวกรไม่เห็นด้วย หรือไม่สามารถตรวจสอบส่วน หนึ่งส่วนใดของบันทึกสรุปฉบับร่าง ผู้รับจ้างจะต้องส่งข้อมูลเพิ่มเติม ตามที่ วิศวกรต้องการ และท าการแก้ไ ขในฉบับร่างตามที่ได้ตกลงกัน ระหว่างวิศวกรและผู้รับจ้าง จากนั้นผู้รับจ้างต้องจัดส่งบันทึกสรุปตามที่ ได้ตกลงกันถึงวิศวกรเพื่อขออนุมัติต่อไป 4.17 การปฏิบัติตามสัญญาของของผู้รับจ้าง (Contractor’s Discharge) เมื่อส่งบันทึกสรุป ผู้รับจ้างจะต้องส่งรายการชาระหนี้สินใน บันทึกสรุป โดยให้แสดงมูลค่าเต็มและงวดสุดท้ายของยอดเงินทั้งหมดที่ เกี่ยวข้องกับผู้รับจ้าง

9-103


การบริหารจัดการสัญญา ถึ ง แม้ ผู้ รั บ จ้ า งไม่ มี ค วามต้ อ งการที่ จ ะแสดงรายการช าระ หนี้สิ นเพื่ อ ยื นยั นถึงการจ่ายเงินของผู้ ว่า จ้า งและการคื นหลักประกัน สัญญา แต่ผู้รับจ้างควรจะดาเนินการดังกล่าว 4.18 หนังสือรับรองการจ่ายเงินงวดสุดท้าย (Final Payment Certificate) ภายใน 28 วั น หลั ง จากได้ รั บ บั น ทึ ก สรุ ป ของผู้ รั บ จ้ า งและ ได้รับถ้อยแถลงเพื่อขอยุติข้อพิพาททั้งหมดของผู้รับจ้าง วิศวกรจะออก หนังสือรับรองการจ่ายเงินงวดสุดท้ายถึงผู้ว่าจ้างโดยระบุดังนี้:  จานวนเงินงวดสุดท้ายทีจ่ ะจ่ายให้ผู้รับจ้าง  ยอดเงิ น ที่ ค รบก าหนด หลั ง จากปรั บ จ านวนเงิ น จาก ยอดเงินทั้งหมดที่ได้จ่ายไปแล้ว และสาหรับยอดเงินรวมที่ ผู้รับจ้างมีสิทธิได้รับภายใต้สัญญา ในกรณีที่ผู้รับจ้างยังไม่ได้นาหนังสือรับรองการจ่ายเงินงวด สุดท้ายมาใช้ภายในเวลาที่กาหนดและ/หรือยังไม่ได้ส่งถ้อยแถลงเพื่อขอ ยุติข้อพิพาททั้งหมด วิศวกรก็จะต้องแจ้งให้ผู้รับจ้างจัดส่ง หากผู้รับจ้างไม่จัดส่งภายใน 28 วัน วิศวกรจะออกหนังสือ รับรองการจ่ายเงินงวดสุดท้ายสาหรับยอดเงินความเหมาะสม 4.19 การจ่ายเงินงวดสุดท้าย (Final Payment) ผู้ว่าจ้างจะจ่ายเงินงวดสุดท้ายให้กับผู้รับจ้างภายใน 56 วัน หลังจากวันที่ได้รับหนังสือรับรองการจ่ายเงินงวดสุดท้ายจากวิศวกร อ้างถึงหัวข้อย่อยต่างๆดังนี้คือ 14.7 การจ่ายเงิน (Payment) 14.10 รายงานของงานที่ เ สร็ จ แล้ ว (Statement at Completion)

9-104


การบริหารจัดการสัญญา 14.11 การขอหนังสือรับรองการจ่ายเงินงวดสุดท้าย (Application for Final Payment Certificate) 14.12 การขอยุติข้อพิพาท (Discharge) 14.13 การออกหนังสือรับรองการจ่ายเงินงวดสุดท้าย (Issue of Final Payment Certificate) 5. การพิพาทโต้แย้ง การระงับข้อพิพาทโต้แย้ง และการบอกเลิกสัญญา 5.1 กรณีพิพาทและการแก้ไขปัญหาข้อพิพาท (Disputes and Dispute Resolution) คาว่า “กรณีพิพาท (Disputes)” ไม่ได้นยิ ามศัพท์ไว้ใน เอกสาร FIDIC Condition of Contract ปี ค.ศ.1999 (แต่ได้เพิ่มนิยามไว้แล้วใน DBO: Design build and Operate Project)

ฉบับ

9-105


การบริหารจัดการสัญญา

คาตัดสินของคณะกรรมการวินิจฉัยตัดสินข้อพิพาท (อนุญาโตตุลาการ): (Dispute Adjudication Board’s Decision, DAB) การยื่นหนังสือขอให้วินิจฉัยข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการ ให้ ถือว่ามีผลเมื่อประธานอนุญาโตตุลาการได้รับหนังสือดังกล่าว อนุญาโตตุลาการ ควรต้องให้คาตัดสินชี้ขาดที่เหมาะสมต่อ ผู้รับจ้างและผู้ว่าจ้างภายใน 84วัน หลังจากได้รับหนังสือดังกล่าว คาตัดสินของอนุญาโตตุลาการถือว่าเป็นผลและข้อผูกพันตาม สัญญายังคงดาเนินต่อไปถ้าทั้งฝ่ายผู้รับจ้างและผู้ว่าจ้างไม่ยื่นหนังสือ ปฏิเสธคาตัดสินของอนุญาโตตุลาการต่อฝ่ายอื่นภายใน 28วัน การเจรจาไกล่เกลี่ย (Amicable Settlement) กรณีที่มีการยื่นหนังสือปฏิเสธคาตัดสินของอนุญาโตตุลาการ ต่อฝ่ายอื่น คู่กรณีทั้งสองฝ่ายควรพยายามตกลงกันเองให้ได้ก่อนที่จะเข้า สู่กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท กระบวนการไกล่ เ กลี่ ย ข้อ พิ พ าทอาจจะเริ่ ม หลั งจากได้ ยื่ น หนังสือปฏิเสธคาตัดสินของอนุญาโตตุลาการไปแล้ว 56 วัน (ถึงแม้จะไม่ มีความพยายามตกลงกันเองก่อนเลยก็ตาม)

9-106


การบริหารจัดการสัญญา กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นความต้องการเมื่อคู่กรณี ฝ่ายหนึ่งปฏิเสธคาตัดสินของอนุญาโตตุลาการและคู่กรณี ทั้งสองฝ่ายไม่ สามารถตกลงกันได้ คณะกรรมการวินิจฉัยตัดสินข้อพิพาท (อนุญาโตตุลาการ) (Dispute Adjudication Board, DAB) ถ้ า ใ น สั ญ ญ า มี ก า ร ร ะ บุ ถึ ง ก า ร จั ด ตั้ ง ก ร ร ม ก า ร อนุญาโตตุลาการ ควรประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้  จานวนกรรมการ  ที่มาของกรรมการ  วิธีการแต่งตั้งกรรมการ  วิธีการเปลี่ยนตัวกรรมการ  เงื่อนไขทั่วไปของการวินิจฉัยและตัดสินข้อพิพาท ต้อง เป็นข้อ ตกลงที่ ย อมรั บกันทั้ งฝ่ ายคู่กรณีทั้ งสองและฝ่าย คณะกรรมการอนุญาโตตุลาการ  วิธีการแจ้งเรื่องพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการและการรับคา วินิจฉัยตัดสินจากอนุญาโตตุลาการ โ ด ย ทั่ ว ไ ป มี ก ร ร ม ก า ร 3 ค น ใ น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร อนุญาโตตุลาการ แต่สาหรับสัญญาขนาดเล็กก็อาจมีเพียง 1คน การแต่งตั้งกรรมการทั้ง 3 คนนี้ กรรมการที่มาจากผู้รับจ้าง และผู้ว่าจ้างจะต้องได้รับการยินยอมจากอีกฝ่ายหนึ่ง ส่วนกรรมการที่ เหลืออีก 1 คน (ซึ่งจะถูกแต่งตั้งให้เป็นประธานกรรมการด้วย) จะต้อง ได้รับการยินยอมจากทั้งสองฝ่ายและจากกรรมการทั้งสองคนแรก ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างจะต้องรับภาระค่าใช้จ่ายต่างๆฝ่ายละ ครึ่งหนึ่งสาหรับคณะกรรมการอนุญาโตตุลาการ โดยวิศวกรที่ปรึกษามี หน้าที่รับรองการเบิกค่าใช้จ่ายดังกล่าว 9-107


การบริหารจัดการสัญญา การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (Arbitration) กรณีที่ผู้รับจ้างไม่ยอมรับคาตัดสินชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ หรืออนุญาโตตุลาการไม่สามารถให้คาตัดสินได้ภายใน 84 วัน ฝ่ายที่ไม่ ยอมรับควรต้องยื่นหนังสือปฏิเสธคาตัดสินของอนุญาโตตุลาการต่อฝ่าย อื่นภายใน 28 วัน คู่กรณีทั้งสองฝ่ายควรพยายามตกลงกันเองให้ได้ก่อนที่จะเข้า สู่กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท(ซึ่งจะเริม่ หลังจากยื่นหนังสือปฏิเสธคา ตัดสินต่อฝ่ายอื่นไปแล้ว 56 วัน) คู่ ก รณี ทั้ ง สองฝ่ า ยจะไม่ ต้ อ งการกระบวนการไกล่ เ กลี่ ย นอกจากว่ า ฝ่ า ยใดฝ่ า ยหนึ่ ง ยื่ น หนั ง สื อ ปฏิ เ สธค าตั ด สิ น ของ อนุญาโตตุลาการต่อฝ่ายอื่นภายใน 28 วัน นับจากวันที่ได้รับแจ้งผลการ ตัดสิน กาหนดช่วงเวลาของกระบวนการวินิจฉัยข้อพิพาท แต่งตั้งอนุญาโตตุลาการ ภายใน 28 วัน นับจากวันเริ่มงาน ตามสัญญา อนุญาโตตุลาการให้คาตัดสินข้อพิพาทภายใน 84 วัน นับจาก วันที่ได้รับแจ้งขอให้วินิจฉัยข้อพิพาท การยื่นหนังสือปฏิเสธคาตัดสินของอนุญาโตตุลาการต่อฝ่าย อื่นภายใน 28 วัน นับจากวันที่ได้รับแจ้งผลการตัดสินข้อพิพาท กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทจะเริ่มหลังจากคู่ กรณี ฝ่ า ย หนึ่งยื่นหนังสือปฏิเสธคาตัดสินของอนุญาโตตุลาการต่อฝ่ายอื่นเป็นเวลา 56 วัน

9-108


การบริหารจัดการสัญญา กาหนดช่วงเวลาของกระบวนการวินิจฉัยข้อพิพาท

ลาดับการเกิดกรณีพพิ าท ยังไม่มเี หตุใดๆ เริ่มมีสัญญาณบอกเหตุ มีความขัดแย้งทีเ่ ป็นอุปสรรคในการดาเนินงาน ระดับความขัดแย้งมากขึ้น ไม่สามารถตกลงกันได้ อนุญาโตตุลาการวินิจฉัยตัดสิน ไม่พอใจในในคาตัดสิน ฝืนยอมรับคาตัดสิน หรือ เกิดความขัดแย้งต่อไป (เกิดความเสียหายทั้งเรื่องเวลาและ ทรัพย์สิน)

9-109


การบริหารจัดการสัญญา 5.2 การหยุดงานชั่วคราวและการยกเลิกสัญญา (Suspension and Termination) ตามสัญญา FIDIC คู่สญ ั ญาทั้งสองฝ่ายมีสทิ ธิ์ยกเลิกสัญญา ตามเงื่อนไขดังนี้

5.3 การยกเลิกสัญญาโดยผู้ว่าจ้างเนื่องจากความผิดของผู้รับจ้าง (Termination by Employer arising from Contractor’s Default) ผู้ว่าจ้างมีสิทธิย์ กเลิกสัญญาเมื่อผู้รับจ้างกระทาข้อใดดังนี้ 1. มีภาระหนี้สินมากจนไม่สามารถชาระได้ 2. กลายเป็นบุคคลผูล้ ้มละลาย 3. ให้สินบน ของขวัญ และผลตอบแทน 4. ไม่สามารถจัดการความปลอดภัยในระดับที่ยอมรับได้ 5. ไม่สามารถเริ่มงานได้ตามสัญญา 6. ละทิ้งงาน 7. ไม่สามารถเร่งงานได้ตามแผน 8. ไม่สามารถดาเนินการตามคาสั่งหรือปรับปรุงแก้ไขงาน 9. ไม่ปฏิบตั ิตามหน้าที่ภายใต้สัญญา 10. นางานทั้งหมดไปให้ผู้อนื่ ดาเนินการแทน 9-110


การบริหารจัดการสัญญา สัญญา FIDIC ไม่ได้ระบุให้วิศวกรออกใบรับรองการยกเลิก สัญญาจากผู้ว่าจ้าง ผู้ว่าจ้างควรยื่นหนังสือแจ้งยกเลิกสัญญาแก่ผู้รับจ้างไม่น้อย กว่า 14 วัน ก่อนวันยกเลิกสัญญา ยกเว้นกรณีผู้รับจ้างกระทาข้อ 1, 2 หรือ 3 ผู้ว่าจ้างควรปรึกษานักกฎหมายก่อนยื่นหนังสือแจ้งยกเลิก สัญญา ถ้ า ผู้ ว่ า จ้ า งได้ ยื่ น หนั ง สื อ แจ้ ง ยกเลิ ก สั ญ ญาแก่ ผู้ รั บ จ้ า งไป แล้วแต่ต้องการถอนการแจ้งยกเลิก คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายอาจตกลงกันให้ หนังสือแจ้งยกเลิกดังกล่าวไม่มีผล หรืออาจตกลงกันให้หนังสือดังกล่าว ยังไม่มีผล การดาเนินงานหลังจากที่ผู้ว่าจ้างทาการยกเลิกสัญญาจ้างกับ ผู้รับจ้างเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ผู้ว่าจ้างดาเนินงานต่อให้เสร็จด้วยตัวเองหรือให้ผู้รับจ้างราย อื่นดาเนินงานต่อโดยอาจใช้สิ่งของและสิ่งอานวยความสะดวกที่เหลืออยู่ จากผู้รับจ้างรายเดิม (โดยวิศวกรต้องสั่งการห้ามผู้รับจ้างรายเดิมขนย้าย สิ่งของหรือสิ่งอานวยความสะดวกออกไป กรณีนี้ผู้ว่าจ้างอาจต้องให้ศาล มีคาสั่งบังคับต่อผู้รับจ้างเดิมด้วย) สิ่ ง ของหรื อ สิ่ ง อ านวยความสะดวกดั ง กล่ า วควรคื น ให้ ผู้รับจ้างรายเดิมเมื่อผู้ว่าจ้างออกหนังสือแจ้งการคืนให้แล้วซึ่งควรจะเป็น หลังจากที่งานแล้วเสร็จ ผู้ ว่ า จ้ า งมี สิ ท ธิ์ ใ ห้ ผู้ รั บ จ้ า งประสานการมอบหมายงานต่ อ ให้กับผู้เกี่ยวข้องหรือผู้รับจ้างช่วง วิศวกรจะต้องสรุปยอดเงินค่างวดทีผ่ ู้รับจ้างควรได้รับ ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์อายัดค่างวดงานไว้จนกระทั่งสิ้นสุดช่วงเวลา การเก็บงานที่บกพร่องและค่าเสียหายต่างๆได้ถูกประเมินไว้แล้ว

9-111


การบริหารจัดการสัญญา เมื่องานแล้วเสร็จ ผู้รับจ้างมีสิทธิ์จะรับเงินค่างวดงานส่วนที่ เหลือหลังจากหักค่าความเสียหายต่างๆแล้ว 5.4 การยกเลิกสัญญาโดยผู้รับจ้างเนื่องจากความผิดของผู้ว่าจ้าง (Termination by Contractor arising from Employer’s Default) ผู้รับจ้างมีสทิ ธิ์ยกเลิกสัญญาเมื่อผู้ว่าจ้างกระทาข้อใดดังนี้ 1. ไม่สามารถชาระเงินค่างวดงานให้แก่ผู้รับจ้าง 2. กลายเป็นบุคคลผูล้ ้มละลายหรือมีภาระหนี้สินมาก 3. หลังจากการหยุดงานชั่วคราวเกิน 84 วันแล้วผู้ว่าจ้างยังไม่ สามารถอนุญาตให้ทางานต่อได้ภายใน 28 วัน หลังจากที่ ผู้รับจ้างร้องขอ 4. ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลงบางส่วนในสัญญา 5. ไม่สามารถแสดงให้เห็นว่าบริหารด้านการเงินได้ 6. โอนภาระผูกพันตามสัญญาไปให้แก่บุคคลที่สามโดย ปราศจากความยินยอมจากผู้รับจ้างก่อน 7. วิศวกรที่ปรึกษาไม่สามารถออกใบรับรองการจ่ายเงินค่า งวดงานให้ แ ก่ ผู้ รั บ จ้ า งภายใน 56 วั น หลั ง จากได้ รั บ เอกสารขอเบิกเงินค่างวดงาน เมื่อเหตุการณ์เกิดดังนี้แล้ว ผู้รับจ้างอาจจะยื่นหนังสือยกเลิก สั ญ ญาต่อผู้ว่าจ้า งล่ วงหน้าไม่ น้อ ยกว่า 14 วัน ยกเว้นกรณี ตามข้อ 2 หรือ 3 สามารถยกเลิกสัญญาได้ทันที การที่ผู้รับจ้างบอกเลิกสัญญา ไม่กระทบต่อสิทธิอ์ ื่นใดที่พึงมี ตามสัญญา ถ้ า ผู้ รั บ จ้ า งได้ ยื่ น หนั ง สื อ แจ้ ง ยกเลิ ก สั ญ ญาแก่ ผู้ ว่ า จ้ า งไป แล้วแต่ต้องการถอนการแจ้งยกเลิก คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายอาจตกลงกัน ให้

9-112


การบริหารจัดการสัญญา หนังสือแจ้งยกเลิกดังกล่าวไม่มีผล หรืออาจตกลงกันให้หนังสือดังกล่าว ยังไม่มีผล การดาเนินงานหลังจากที่ผู้รับจ้างทาการยกเลิกสัญญาจ้างกับ ผู้ว่าจ้างเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ผู้รับจ้างหยุดงานที่เหลือทั้งหมด ยกเว้นอาจได้รับคาสั่ งให้ กระทาการเพื่อความปลอดภัยต่อชีวิต ทรัพย์สิน และเนื้องานที่ทาไว้แล้ว ผู้รับจ้างส่งมอบเอกสาร วัสดุอุปกรณ์และสิ่งต่างๆซึ่งได้รับเงิน ค่างวดมาแล้วให้แก่ผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างเคลื่อนย้ายเครื่องจักรกลและสิ่งอานวยความสะดวก ทั้งหมดออกไปจากสถานที่ก่อสร้าง ผู้ว่าจ้างคืนหลักประกันสัญญา แก่ผู้รับจ้าง วิศวกรจะประเมินจานวนเงินค่าผลงาน(หลังหักค่าใช้จ่ายที่พงึ มีสิทธิ์หักแล้ว)ที่ ผู้ว่าจ้างพึงจ่ายแก่ผู้รับจ้างดังนี้  ค่าผลงานทีไ่ ด้ผ่านการตรวจรับแล้ว  ค่าโรงปฏิบัติงานและวัสดุอุปกรณ์ที่ได้ส่งมอบให้ผู้ว่าจ้าง แล้ว  ค่าใช้จ่ายอื่นที่เหมาะสม  ค่ารือ้ ย้ายสิ่งก่อสร้างชั่วคราวและเครือ่ งจักรกลจากสถานที่ ก่อสร้างไปยังสถานที่เก็บของผู้รับจ้าง  ค่าส่งพนักงานและคนงานกลับถิ่นที่อยู่ ผู้ว่าจ้างพึงจ่ายค่าสูญเสียกาไรหรือค่าเสียหายอื่น ๆเนื่องจาก การยกเลิกสัญญานี้ให้แก่ผู้รับจ้าง

9-113


การบริหารจัดการสัญญา 5.5 การยกเลิกสัญญาเนื่องจากเหตุสดุ วิสัย (Termination resulting from Force Majeure) การยกเลิ กสั ญ ญาอาจจะเกิดขึ้นโดยคู่สั ญญาฝ่ า ยหนึ่งเพื่อ ป้องกันปัญหาเนื่องจากเหตุสุดวิสัย ฝ่ายบอกเลิกสัญญาต้องแจ้งอีกฝ่ายภายใน 14 วัน หลังจาก เกิดเหตุสุดวิสัย หนังสือแจ้งยกเลิกสัญญาควรมีการระบุถึงเหตุแห่งการยกเลิก สัญญาตามข้อตกลงในสัญญา คู่ สั ญ ญาฝ่ า ยหนึ่ ง ฝ่ า ยใดอาจยื่ น หนั ง สื อ ยกเลิ ก สั ญ ญาถ้ า ช่ ว งเวลาการป้ อ งกั น แก้ ไ ขเหตุ ก ารณ์ เ กิ น กว่ า 84 วั น หรื อ ช่ ว งเวลา รวมกันเกินกว่า 140 วัน กรณีที่เกิดเหตุสุดวิสัยหลายครั้ง (หนังสือแจ้ง ยกเลิกสัญญาดังกล่าวจะมีผลหลังจากได้ยื่นไปแล้ว 7 วัน) หลังจากได้รับการแจ้งยกเลิกสัญญา  ผู้รับจ้างหยุดงานที่เหลือทั้งหมด ยกเว้นอาจได้รับคาสั่งให้ กระทาการเพื่อความปลอดภัยต่อชีวิต ทรัพย์สิน และเนื้อ งานที่ทาไว้แล้ว  ผู้รับจ้างส่งมอบเอกสาร วัสดุอุปกรณ์และสิ่งต่างๆซึ่งได้รับ เงินค่างวดมาแล้วให้แก่ผู้ว่าจ้าง  ผู้ รั บ จ้ า งเคลื่ อ นย้ า ยเครื่ อ งจั ก รกลและสิ่ ง อ านวยความ สะดวกทั้งหมดออกไปจากสถานที่ก่อสร้าง  ผู้ว่าจ้างคืนหลักประกันการปฏิบัติงานแก่ผู้รับจ้าง วิศวกรจะเป็นผู้ตัดสิน และผู้ว่าจ้างจะต้องจ่ายแก่ผู้รับจ้า ง (หลังจากการหักตามสิทธิของผู้ว่าจ้างภายใต้สัญญา)

9-114


การบริหารจัดการสัญญา 5.6 ผู้วา่ จ้างยกเลิกสัญญาตามต้องการ (Employer’s Termination for Convenience) ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์บอกเลิกสัญญาได้ทุกเวลาตามความต้องการ โดยยื่นหนังสือแจ้งยกเลิกสัญญาต่อผู้รับจ้าง การยกเลิกสัญญาจะมีผลเมื่อครบ 28 วันนับหลังจากวันที่ ผู้รับจ้างได้รับหนังสือแจ้งยกเลิกสัญญาจากผู้ว่าจ้าง หรือเมื่อผู้รับจ้าง ได้รับคืนหลักประกันสัญญาจากผู้ว่าจ้างแล้ว ผู้ว่าจ้างไม่สามารถบอกเลิกสัญญาเพื่อปฏิบัติงานที่เหลือต่อ เองหรือให้ ผู้รับจ้างรายอื่นต่อ พึงเข้าใจถึงพันธะผูกพันที่ยังคงมีผลจากการยกเลิกสัญญา เนื่องจากเหตุสุดวิสัย ผู้รับจ้างอาจพิจารณาว่าผู้ว่าจ้างพึงจ่ายค่าเสียหายต่างๆที่เกิด จากการยกเลิกสัญญานี้ให้แก่ผู้รับจ้าง 5.7 เงินค่างวดกับการยกเลิกสัญญา (Payment on Termination)

************

9-115



ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา

10-1


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา

10-2


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา

10-3


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา กรณีศึกษาที่ 1 เหตุสุดวิสัย การเพิ่มลดงาน และความเป็นธรรม โครงการขนาดใหญ่โครงการหนึ่งในประเทศเพื่อนบ้าน เป็น สัญญาออกแบบวิศวกรรม จัดหารวมก่อสร้าง จ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (EPC: Engineering Procurement and Construction Contract) ค่า งานในสัญญาเป็นแบบเหมาจ่าย (Lump Sum Fixed Price Turn Key Basis) ผู้ รั บ จ้ า งก่ อ สร้ า งออกแบบรายละเอี ย ดเองจากแบบประกอบ สั ญ ญ า (Tender Drawings) แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ ว่ า จ้ า ง (Employer’s Requirements) ระหว่างก่อสร้าง เกิดเหตุแผ่นดินไหวในพื้นที่ใกล้เคียง1 แม้ว่า เหตุแผ่นดินไหวจะมิได้ทาความเสียหายแก่โครงการ แต่เนื่องจากเป็น โครงการขนาดใหญ่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งมีอานาจดูแล กังวลต่อความ ปลอดภัยของโครงสร้าง จึงมีหนังสือแจ้งถึงเจ้าของโครงการ และ ผู้รับ จ้างก่อ สร้า งให้พิจารณา ทบทวนการออกแบบใหม่ จากการทบทวน และทาการศึกษาเพิ่มเติม ที่ปรึกษาโครงการ ตลอดจนถึงหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องจึงมีข้อสรุปลงความเห็นว่า โครงสร้างของอาคารในโครงการ ควรได้รับการพิจารณาแก้ไขเพิ่มอัตราส่วนความปลอดภัยแก่โครงสร้าง เพื่อความมั่นใจ และมีความปลอดภัยที่สูงขึ้น (แม้ว่าเดิม โครงสร้างจะ สามารถรั บ แรง และมี ค วามปลอดภั ย สามารถทนต่ อ สภาพของ แผ่นดินไหวได้ในระดับหนึ่งแล้วก็ตาม) กล่าวโดยสรุปก็คือ มีมติให้เพิ่ม อัตราส่วนความปลอดภัยแก่โครงสร้งมากขึ้น ในการนี้จึงทาให้ต้องมีการออกแบบใหม่ โครงสร้างมีขนาด ใหญ่ขึ้น มีการเสริมเหล็กมากขึ้น ผลที่ตามมาก็คือ มีการจ้างที่ ปรึกษาให้ ทาการศึกษา ทบทวนเพิ่มเติม มีการออกแบบใหม่ โครงสร้างมีขนาด ใหญ่ ขึ้น ค่ า ก่อ สร้ างสูงขึ้น ระยะเวลาการก่อสร้ างมากขึ้น ท าให้ต้อง เร่งรัดงานก่อสร้างให้ทันตามกาหนดในสัญญา (โดยเหตุที่ว่า หากงาน 1

แผ่นดินไหวที่อำเภอพำน พ.ศ. 2557 https://th.wikipedia.org/wiki/แผ่นดินไหวที่อำเภอพำน_พ.ศ._2557

10-4


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา ล่าช้า ตามข้อตกลงในสัญญาสัมปทาน จะเกิดความเสียหาย มีค่าปรับ จานวนมหาศาล) สิ่ ง ที่ ต ามมาคื อ ผู้ รั บ จ้ า งก่ อ สร้ า งขอเพิ่ ม ค่ า งาน (Cost of Change) จากการเปลี่ยนแปลง (Variation Order) โดยให้เหตุผลในการ เปลี่ ย นแปลงงานว่ า เกิ ด จากเหตุ สุ ด วิ สั ย เกิ ด ค่ า งานที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ดังต่อไปนี้ 1) ค่าใช้จ่ายในการศึกษา ออกแบบเพิ่มเติม โดยที่ปรึกษา 2) มี ค่ า ใช้ จ่ า ยในมู ล ค่ า งานจากขนาดของโครงสร้ า งที่ มี ก าร เปลี่ยนแปลง 3) มี ค่ า ใช้ จ่ า ยในการเร่ ง รั ด งานให้ ทั น ตามก าหนดในสั ญ ญา สัมปทาน (มีความเกี่ยวเนื่องกับอีกสัญญาหนึ่ง) จากที่ ก ล่ า วข้ า งต้ น โดยที่ ผู้ ว่ า จ้ า ง (เจ้ า ของโครงการ) ประกอบด้วยผู้ลงทุนหลายราย การพิจารณาประเมินค่าใช้จ่ ายที่เพิ่มขึ้น เพื่อความโปร่งใส ทั้งฝ่ายเจ้าของ และผู้รับจ้างก่อสร้างจึงจาเป็นต้องหา ที่ ป รึ ก ษ า อิ ส ร ะ (Independent Professional, Independent Engineer) มาทาการประเมินมูลค่างานที่เพิ่มมากขึ้น บทเรียนจากกรณีศึกษานี้คือ 1) ที่ปรึกษาต้องมี ความเป็นธรรมในการประเมินมูลค่างานที่ เพิ่มมากขึ้น การทางานจะต้องทาด้วยความเป็นธรรม มีอิสระ จากทั้ ง ฝ่ า ยเจ้ า ของงาน และผู้ รั บ จ้ า งก่ อ สร้ า ง โดยไม่ คานึงถึงส่วนได้ ส่วนเสียของทั้งสองฝ่าย การทางานทาด้วย จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ (Code of Practice) 2) สาเหตุจากเหตุสุดวิสัย ที่ปรึกษาจาเป็นจะต้องสรุป ทบทวน เหตุการณ์ จากบันทึก หนังสือโต้ตอบ บันทึกประชุม รายงาน ต่างๆ เพื่อประเมินและรายงานถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

10-5


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา สรุป ในกรณีศึกษานี้ ได้แสดงให้เห็นถึงความสาคัญในเงื่อนไขทัว่ ไปของสัญญา ในหัวข้อดังต่อไปนี้ 1) ความถูกต้องเป็นธรรม 2) มาตรฐานการทางาน 3) การเปลี่ยนแปลงงานและค่าใช้จ่าย 4) เหตุสุดวิสัย กรณีศึกษาที่ 2 ความรับผิดของที่ปรึกษา ในข้ อ สั ญ ญาจ้ า งที่ ป รึ ก ษาได้ ก ล่ า วถึ ง เรื่ อ งมาตรฐานการ ทางาน บุคลากรของที่ปรึกษา ตลอดจนถึงการปฏิบัติงานของที่ปรึกษา ในบางครั้งการส่งบุคลากรของที่ปรึกษาเข้าทางานไม่ครบตามที่ได้มีข้อ สัญญากันไว้ ในเรื่องนี้ มีตัวอย่างสัญญาต่างประเทศฉบับหนึ่งเขียนไว้ ดังนี้ PENALTIES AND DEDUCTIONS In the event the Consultant fails to provide personnel and elements required by the Contract documents, the cost of these items shall be deducted from its dues plus payment of a fine of one percent of the value of the items in default provided that it shall not exceed ten percent of the Contract value.

กล่าวคือ หากที่ปรึกษาส่งบุคลากรเข้าทางานไม่ค รบตามที่ ระบุไว้ในสัญญา ที่ปรึกษาจะถูกหักเงินค่าจ้างตามจานวนบุคลากรที่ส่ง มาไม่ ค รบ นอกจากนี้ยั งมี บทปรั บอี กจานวนหนึ่ง ฉะนั้นจึงเป็นเรื่ อ ง สาคัญในการเสนอบุคลากรเข้าทางานในโครงการ ในโครงการของทางราชการบางโครงการ กรณี ที่ มี ก าร เปลี่ยนตัวบุคลากร แม้จะมีเหตุจาเป็น เช่นบุคลากรลาออกจากบริษัท แล้ว หรือถึงแก่กรรมแล้วก็ตาม ในข้อสัญญาก็จะมีบทปรับเช่นกัน จึง เป็นเรื่องจาเป็นของที่ปรึกษาจะต้องศึกษาข้อสัญญาอย่างรอบคอบ

10-6


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา ในบางโครงการหากพิสูจน์ได้ว่า ความเสียหายของโครงการ เกิดจากที่ปรึกษา ก็จะมีบทปรับเช่นกัน ดังตัวอย่างสัญญาฉบับหนึ่งดังนี้ LIABILITY 1. The Consultant shall be liable to pay compensation for the direct loss or damaged caused to the Employer arising out of or in connection with the Agreement if a breach of Clause 5.1 [OBLIGATIONS OF THE CONSULTANT] is established against him. 2. The Consultant shall in no event have any liability under or in relation to this Agreement (including any breach thereof) or Services for any indirect or consequential damages of any nature whatsoever such as but not limited to damages arising out of or pertaining to loss of use of property, loss of profits or other revenue, interest, loss of product, increased expenses or business interruption, however the same may be caused, or by reasons or circumstances not attributable to the Consultant or which are beyond the reasonable control of the Consultant.

จะเห็ น ได้ ว่ า ที่ ป รึ ก ษาจะต้ อ งปฏิ บั ติ ง านด้ ว ยความถู กต้อ ง ละเอียดรอบคอบ มีมาตรฐาน มิฉะนั้นก็จะต้องมีความรับผิดตามสัญญา ทางออกหนึ่งคือที่ปรึกษาจะต้องทาประกันทางวิชาชีพ (Professional Indemnity Insurance) เพื่ อ ประกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น หรื อ เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติงานของที่ปรึกษา กรณีศึกษาที่ 3 ความไม่เข้าใจในเงื่อนไขสัญญาจ้างก่อสร้าง หน้าที่หลักของที่ปรึกษาในการบริหารการก่อสร้างก็คือการ บริ ห ารงานก่ อ สร้ า งให้ เ ป็ น ไปตามแบบ เงื่ อ นไขเอกสารสั ญ ญาจ้ า ง ก่อสร้าง ที่ปรึกษาจาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ในรายละเอียดของ เอกสารดังกล่าวอย่างครบถ้วนโดยละเอียด สิ่งซึ่งที่ปรึกษาพึงกระทาเมื่อ

10-7


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา ได้รับเอกสารเงื่อนไขสัญญาจ้างก่อสร้างมาก็คือ ต้ อ ง อ่ า น อ ย่ า ง ครบถ้วน มีความเข้าใจ และในระหว่างการบริหารสัญญานั้น ต้องมีความ เข้าใจอย่างต่อเนื่องถึงการอ้างอิงในรายละเอียดของแต่ละข้อในสัญญาที่ เกี่ ย วข้ อ ง กรณี ที่ เ อกสารมี ข้ อ ขั ด แย้ ง ที่ ป รึ ก ษามี ห น้ า ที่ ที่ จ ะต้ อ งหา ข้อสรุป บนความถูกต้อง ตามวัตถุประสงค์และเจตนารมณ์ของโครงการ ด้วยความเป็นธรรม กรณี ศึ ก ษาในเรื่ อ งความไม่ เ ข้ า ใจในเงื่ อ นไขสั ญ ญาจ้ า ง ก่อสร้างนี้ ได้แก่การตีความเนื้อหาในแต่ละข้อของสัญญา ตัวอย่างเช่น เหตุใดจึงนับว่าเป็นเหตุสุดวิสัย เหตุใดไม่ใช่ การที่ฝนตกชุกในจังหวัด ระนอง หรือจังหวัดตราด เป็นเหตุให้ผู้รับจ้างก่อสร้างอ้างว่าไม่สามารถ ทาการก่อสร้างให้ทันตามระยะเวลาในสัญญา จะถือเป็นเหตุสุ ดวัสั ย ไม่ ไ ด้ เพราะจังหวัดดังกล่ า วเป็น จัง หวั ดฝนตกชุ กอยู่ แล้ ว หากมี การ เรียกร้องจากผู้รับจ้างก่อสร้าง ที่ปรึกษาย่อมสามารถระงับข้อเรียกร้อง ดังกล่าวได้ อี ก กรณี ห นึ่ ง คื อ การใช้ แ บบมาตรฐาน หรื อ ข้ อ ก าหนด มาตรฐานในงานก่อสร้าง ที่ปรึกษาจาเป็นต้องพิจารณาในเงื่อนไขเฉพาะ ว่า เมื่ อ ใช้แบบ หรื อ ข้อ กาหนดดังกล่ า วแล้ว มี ข้อ กาหนดเฉพาะให้มี ทางเลือกสาหรับการก่อสร้างในสถานที่ก่อสร้างเฉพาะแห่งไว้ว่าอย่างไร เช่น มีโครงสร้างมีเสาเข็มสาหรับบริเวณที่ก่อสร้างซึ่งเป็นดินอ่อน หรือ เป็นฐานรากแผ่สาหรับบริเวณที่ก่อสร้างเป็นดินแข็ง หรือบนภูเขาที่เป็น หิน ต่างๆ เหล่านี้มีระบุไว้ในเอกสารอย่างไร มีเงื่อนไขการจ่ายเงิน และ รายการบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคาอย่างไรบ้าง กรณีที่สัญญาเป็นสัญญาเหมาจ่าย หากปริมาณงานที่ก่อสร้าง จริงมากหรือน้อยกว่าในรายการบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา จะมี วิธีการเบิกจ่ายเงินอย่างไร ซึ่งในกรณีนี้ ปริมาณงานที่มากกว่าที่ระบุไว้ ผู้รับจ้างก่อสร้างย่อมไม่สามารถขอเบิกเงินเพิ่มได้ ในทางกลับกัน กรณีที่

10-8


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา ปริมาณงานน้อยกว่าที่ระบุ ผู้รับจ้างก็ย่อมมีสิทธิที่จะได้รับเงินจานวน เต็มตามที่ระบุไว้ในรายการบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา แต่ในความ เป็นจริงสาหรับงานราชการบางแห่ง หน่วยงานราชการไม่ยอมให้เบิกเงิน เต็ ม ตามจ านวนราคาเหมาจ่ า ย ซึ่ ง ไม่ เ ป็ น ธรรม และไม่ เ ป็ น ไปตาม หลั ก การของสั ญ ญาเหมาจ่ า ย ซึ่ ง เกิ ด ปั ญ หาข้ อ พิ พ าท และเกิ ด การ ร้องเรียนกันเสมอ สาหรับงานราชการ อีกประเด็นหนึ่งที่สาคัญก็คือ การระบุ คุณสมบัติวัสดุก่อสร้าง เมื่อมีการประกวดราคา หรือขอใช้วัสดุเทียบเท่า อื่นซึ่งไม่ตรงกับที่ระบุไว้ในแบบหรือข้อกาหนด มักมีข้อร้องเรียนจากผู้ เสียผลประโยชน์อยู่เนืองๆ ประเด็นนี้ ที่ปรึกษานอกจากจะต้องมีความ เข้าใจในเงื่อนไขสัญญาจ้างก่อสร้างแล้ว ยังมีความจาเป็นต้องศึกษาและ ทาความเข้าใจในระเบียบปฏิบัติ อื่ นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่นระเบียบสานัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างอีกด้วย เพื่อที่จะ พิจารณาได้ว่าวัสดุประเภทใด ชนิดใดสามารถเทียบเท่าได้ หรือไม่ได้ กรณีศึกษาที่ 4 การขัดแย้งกันของแบบ ในงานก่อสร้าง สิ่งหนึ่งที่พบกันบ่อยคือปัญหาในความขัดแย้ง ของแบบ และเอกสารประกอบสั ญ ญาฉบั บ อื่ น เช่ น ข้ อ ก าหนด (Specifications) บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) หรือแม้กระทั่งแบบขัดแย้งกันเอง ในเอกสารข้ อ ก าหนดของโครงการหนึ่ ง ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงาน รัฐวิสาหกิจ เขียนไว้ในบทแรก เรื่องขอบเขตของงาน ระบุไว้ดังนี้ “วัตถุประสงค์ของเอกสารสัญญา วัตถุประสงค์ของเอกสารสัญญา เพื่อให้งานก่อสร้าง สาเร็จลุล่วงสมบูรณ์ตามเงื่อนไข โดยผู้รับจ้างจะต้อง จัดเตรียมแรงงานคน วัสดุ เครื ่อ งมือ และอุป กรณ์ท่ี

10-9


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา จาเป็น ในงานก่อ สร้า ง ตลอดจน การขนส่งเพื่อให้ งานสาเร็จลุล่วงเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของเอกสาร สัญญา เอกสารสั ญ ญาซึ่ ง มี อ ยู่ ห ลายฉบั บ ดั ง กล่ า วแล้ วนี้ เกี่ยวข้องกันหมดเสมือนหนึ่ง เป็นฉบับเดียวกัน แต่ แยกออกเป็นส่วนเพื่อสะดวกในการใช้งาน ดังนั้นสิ่ง ใดก็ตามที่เอกสารสัญญาฉบับหนึ่งฉบับใดระบุ ให้ถือ ว่าเอกสารสั ญญาฉบับอื่ นก็มี วัต ถุประสงค์ เ ช่ น นั้ น ด้ ว ย ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ง านได้ แ ล้ ว เสร็ จ สมบู ร ณ์ ต าม วัตถุประสงค์ของการออกแบบ โดยผู้ว่าจ้างเป็น ผู้ วินิจฉัย ในกรณี ที่ มี ข้ อ ความคลาดเคลื่ อ น ค าอธิ บ ายที่ ไ ม่ ชัดเจน ข้อผิดพลาด ข้อบกพร่องหรือข้อขัดแย้งกันเอง ในระหว่างเอกสารสัญญาฉบับหนึ่งฉบับใด ผู้รับจ้า ง จะต้อ งแจ้งผู้ ค วบคุ ม งานเป็น ลายลั กษณ์ อั กษรโดย ทั น ที เพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ให้ เ ป็ น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง สัญญา การที่ ผู้ รั บ จ้ า งตี ค วามหมายเองโดยพลการ ย่ อ ม หมายความว่าผู้รับจ้างยินดีรับผิดชอบในผลเสี ยหายอื่น อันอาจเกิดจากการตีความหมายนั้นทั้งหมด” “ความคลาดเคลื่ อ น ความขาดตกบกพร่ อ งหรื อ ความผิ ด พลาด ในแบบแปลนและรายการละเอี ย ด ประกอบแบบก่อสร้าง2 ผู้รับจ้างพึงตระหนักว่าแบบแปลนและรายการละเอียด ประกอบแบบก่อสร้างมีขึ้นเพื่อช่วยอานวยความสะดวก คาเรียกของข้อกาหนด (Specifications) อาจเรียกได้หลายคาตามแต่หน่วยงาน เช่น รายการประกอบแบบ รายการ ละเอียดประกอบแบบก่อสร้าง ข้อกาหนดทางเทคนิค ฯลฯ เป็นต้น 2

10-10


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา ให้ กั บ ผู้ รั บ จ้ า งเท่ า นั้ น ผู้ ว่ า จ้ า งประสงค์ จะให้ ผู้ รั บจ้ าง ด าเนิ น การทุ ก อย่ า งที่ จ าเป็ น ในการก่ อ สร้ า งตามที่ ไ ด้ กาหนดไว้ในเอกสารประกวดราคา และผู้รับจ้างจะต้อง ด าเนิ น งานตามวั ตถุ ป ระสงค์ ที่ ไ ด้ ร ะบุ ไ ว้ใ นแบบแปลน และรายการละเอียดประกอบแบบก่อสร้าง ผู้รับจ้างจะต้องไม่ใช้ค วามคลาดเคลื่อน ความขาดตก บกพร่ อง หรื อความผิ ดพลาดต่ างๆ ในแบบแปลนหรื อ รายการละเอียดประกอบแบบก่อสร้าง เป็นข้ออ้างในการ เรียกร้องขอค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมจากผู้ว่าจ้าง สาหรับสิ่งก่อสร้างหรือ อุปกรณ์สาธารณูปโภคใต้ดินที่ ได้ระบุไว้ในแบบแปลนแล้ว แม้จะมีความคลาดเคลื่อน เกี่ยวกับมิติ ตาแหน่ง หรือรูปแบบไปบ้าง ผู้รับจ้างจะต้อง รับผิดชอบค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมเอาเอง ซึ่งค่าใช้จ่าย เป็ น ของผู้ รั บ จ้ า งทั้ ง สิ้ น โดยไม่ มี สิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ งขยาย ระยะเวลาการก่อสร้างแต่อย่างใด หากผู้รับจ้างตรวจพบความคลาดเคลื่อน ความขาดตก บกพร่ อง หรื อความผิ ดพลาดต่างๆ ในแบบแปลน หรื อ รายการละเอียดประกอบแบบก่อสร้าง ผู้รับจ้างจะต้อง แจ้งให้ผู้ควบคุมงานทราบเป็นลายลักษณ์อักษร พร้อมทั้ง จัดส่งแบบแปลนแก้ไข ในการนี้ ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติ ตามคาตัดสินของผู้ควบคุมงานโดยไม่บิดพลิ้ว” “ลาดับความสาคัญของเอกสารสัญญา หากมีข้อขัดแย้งในเอกสารสัญญา ให้ถือสัญญาเป็นหลัก หากมี ข้ อ ขั ด แย้ ง ในงานด้ า นเทคนิ ค ให้ ถื อ ล าดั บ ความสาคัญที่กาหนดไว้ข้างล่างนี้เป็นหลัก เว้นแต่ ผู้ ควบคุมงานจะวินิจฉัยเป็นอย่างอื่น ลาดับความสาคัญของเอกสารสัญญามีดังนี้ 10-11


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา ลาดับแรก เ อ ก ส า ร สั ญ ญ า จ้ า ง (Contract Agreement) ลาดับสอง เงื่อนไขจาเพาะของสัญญา ลาดับสาม เงื่อนไขทั่วไปของสัญญา ลาดับสี่ รายการละเอียดประกอบแบบก่อสร้าง ลาดับห้า แบบแปลน ลาดับหก รายละเอียดตามมาตรฐานที่อ้างอิง หากมีสัญญาเพิ่มเติมหรือข้อตกลงเพิ่มเติม หรือมีการ แก้ ไ ขรายละเอี ย ดในแบบแปลนและรายการละเอี ย ด ประกอบแบบก่อสร้างให้สอดคล้องกับสภาพจริงในสนาม ซึ่ ง ผู้ รั บ จ้ า งยอมรั บ ให้ ถื อ ล าดั บ ความส าคั ญ สู ง กว่ า ที่ กาหนดไว้ข้างต้น แบบรายละเอียดหรือแบบขยายให้มี ลาดับความสาคัญสูงกว่าแบบแปลนทั่วไป” ใ น เ อ ก ส า ร FIDIC White Book, Client/Consultant Model Service Agreement ก็มีข้อความกล่าวไว้ดังนี้ AGREEMENT EFFECTIVE The Agreement is effective from the date of receipt by the Consultant of the Client’s letter of acceptance of the Consultant’s proposal or the date of the latest signature necessary to complete the formal Agreement, if any, whichever is the later.”

ความหมายคือ “การมีผลบังคับใช้ในข้อตกลง ข้อตกลงมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ที่ปรึกษาได้รับหนังสือลง นามยอมรับข้อเสนอของที่ปรึกษา หรือวันที่ลงนามล่าสุด จากลูกค้า (ผู้ว่าจ้าง) ในการดาเนินการข้อตกลงอย่างเป็น ทางการ แล้วแต่ว่าวันใดจะเกิดขึ้นภายหลัง”

10-12


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา กล่าวคือ จะถือเอกสารฉบับหลังสุดที่มีการลงนามยอมรับใน ข้อตกลงเป็นสาคัญ สรุปความได้ว่า หากมีความขัดแย้งกันของแบบ หรือเอกสาร อื่นใด ให้พิจารณาถึงวัตถุประสงค์ ความต้องการในงานเป็นหลัก เอกสาร ที่มีการลงนามยอมรับกันฉบับล่าสุดถือเป็นเอกสารที่มีความสาคัญที่สุด เมื่อพบข้อขัดแย้งในเอกสาร จาเป็นต้องมีหนังสือแจ้งให้เจ้าของงาน ผ่าน ที่ ป รึ ก ษา เพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย หรื อ หาข้ อ สรุ ป จากผู้ มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ (เช่ น ผู้ออกแบบ ให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนและถูกต้อง) อย่างไรก็ดี ในส่วนของความผิดหลง คลาดเคลื่อนจากความ เป็นจริง ที่ปรึกษาย่อมต้องใช้ดุลยพินิจ พิจารณาตามมาตรฐานวิชาชีพ ตีความและตัดสินโดยแจ้งเป็นหนังสือต่อผู้รับจ้าง และเจ้าของงานให้ เป็นหลักฐานชัดเจน กรณีศึกษาที่ 5 ค่าปรับที่ปรึกษา แม้ ว่ า ในสั ญ ญาจ้ า งที่ ป รึ ก ษาบริ ห ารงานก่ อ สร้ า ง จะมิ ไ ด้ กล่าวถึงบทปรับที่ปรึกษา แต่ในความเป็นจริง มักจะมีค่าปรับที่ปรึกษา ในสัญญาจ้างที่ปรึกษา กรณีศึกษานี้จะนาเสนอรายละเอียดของค่าปรับ ที่ปรึกษา เพื่อเป็นข้อพึงปฏิบัติต่อไป แต่ เ ดิ ม ในประเทศไทย สมั ย แรกเริ่ ม ที่ มี ก ารจ้ า งที่ ป รึ ก ษา ที่ปรึกษาส่วนใหญ่จะเป็นชาวต่างชาติ ซึ่งรัฐบาลไทยจ้างให้เป็นที่ปรึกษา งานในโครงการขนาดใหญ่ มีการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ซึ่งยังไม่มีใน ประเทศไทย การใช้ เ ทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ ใ นขณะนั้ น จะถื อ ว่ า เป็ น “Professional – Technology - Know-how 3 ” จ า เ ป็ น ต้ อ ง ใ ช้

3

Know-how https://en.wikipedia.org/wiki/Know-how , https://th.wikipedia.org/wiki/โนว์ฮำว

10-13


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา ความสามารถ ประสบการณ์ เป็นพิเศษ ฉะนั้นในสัญญาจะไม่มีบทปรับ สาหรับที่ปรึกษา ต่อมา จากการศึกษา การเรียนรู้ และประสบการณ์ ที่ปรึกษา ไทยเริ่มมีความรู้ ประสบการณ์ ความชานาญมากขึ้น มีบริษัทที่ปรึกษา ของไทยเพิ่ ม มากขึ้ น โครงการภาครั ฐ มี ม ากขึ้ น ภาครั ฐ เริ่ ม เล็ ง เห็ น ความสาคัญในระยะเวลาการเริ่มงานโครงการให้ทันตามความจาเป็นใน การพัฒนา จึงเริ่มมีบทปรับที่ปรึกษา โดยมีข้อความในระเบียบสานัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม4 และ สัญญาจ้างที่ปรึกษาภาครัฐโดยมีข้อความ ดังนี้ ข้ อ ๑๓๔ การท าสั ญ ญาหรื อ ข้ อ ตกลงเป็ น หนั ง สื อ นอกจากการจ้างที่ปรึกษาให้กาหนดค่าปรับเป็นรายวันใน อัตราตายตัวระหว่างร้อยละ ๐.๐๑ - ๐.๒๐ ของราคา พั ส ดุ ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ มอบ เว้ น แต่ ก ารจ้ า งซึ่ ง ต้ อ งการ ผลสาเร็จของงานทั้งหมดพร้อมกัน ให้กาหนดค่าปรับเป็น รายวั นเป็ นจ านวนเงิ นตายตั วในอั ตราร้ อยละ ๐.๐๑ ๐.๑๐ ของราคางานจ้างนั้น แต่จะต้องไม่ต่ากว่าวันละ ๑๐๐ บาท ส าหรั บ งานก่ อ สร้ า งสาธารณู ป โภคที่ มี ผลกระทบต่อการจราจร ให้กาหนดค่าปรับเป็นรายวันใน อั ตราร้ อ ยละ ๐.๒๕ ของราคางานจ้า งนั้น แต่อ าจจะ กาหนดขั้นสูงสุดของการปรับก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ ที่ กวพ. กาหนด

ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี วำ่ ด้วยกำรพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม www.mfa.go.th/main/contents/files/bulletin-20120703101342-304475.doc 4

10-14


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา ในการทาสัญญาจ้างที่ปรึกษา หากส่วนราชการเห็น ว่ า ถ้ า ไม่ ก าหนดค่ า ปรั บ ไว้ ใ นสั ญ ญาจะเกิ ด ความ เสียหายแก่ทางราชการ ให้ส่วนราชการผู้จัดทาสัญญา ก าหนดค่ า ปรั บ เป็ น รายวั น ในอั ต ราหรื อ จ านวนเงิ น ตายตัวในอัตราร้อยละ ๐.๐๑ - ๐.๑๐ ของราคางาน จ้างนั้นได้ตามความเหมาะสมและจาเป็น การกาหนดค่าปรับตามวรรคหนึ่งและวรรคสองในอัตราหรือ เป็นจานวนเงินเท่ า ใด ให้อ ยู่ ในดุล พิ นิจของหัวหน้า ส่ ว นส่ ว น ราชการ โดยค านึ ง ถึ ง ราคาและลั ก ษณะของพั ส ดุ ซึ่ ง อาจมี ผลกระทบต่อ การที่ คู่ สั ญ ญาของทางราชการจะหลี กเลี่ ย งไม่ ปฏิบัติตามสัญญา หรือกระทบต่อการจราจร หรือความเสียหาย แก่ทางราชการ แล้วแต่กรณี ในกรณี ก ารจั ด หาสิ่ ง ของที่ ป ระกอบกั น เป็ น ชุ ด ถ้ า ขาด ส่วนประกอบส่วนหนึ่งส่วนใดไปแล้วจะไม่สามารถใช้การได้โดย สมบูรณ์ แม้คู่สัญญาจะส่งมอบสิ่งของภายในกาหนดตามสัญญา แต่ยังขาดส่วนประกอบบางส่วน ต่อมาได้ส่งมอบส่วนประกอบที่ ยังขาดนั้นเกินกาหนดสัญญา ให้ถือว่าไม่ได้ส่งมอบสิ่งของนั้นเลย ให้ปรับเต็มราคาของทั้งชุด ในกรณี ที่ การจัดหาสิ่งของคิดราคารวมทั้งค่าติดตั้งหรือ ทดลองด้วย ถ้าติดตั้งหรือทดลองเกินกว่ากาหนดตามสัญญาเป็น จานวนวันเท่าใด ให้ปรับเป็นรายวันในอัตราที่กาหนดของราคา ทั้งหมด เมื่อครบกาหนดส่งมอบพัสดุตามสัญญาหรือข้อตกลง ให้ ส่วนราชการรีบแจ้งการเรียกค่าปรับตามสัญญาหรือข้อตกลง 10-15


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา จากคู่สัญญา และเมื่อคู่สัญญาได้ส่งมอบพัสดุให้ส่วนราชการ บอกสงวนสิทธิ์การเรียกค่าปรับในขณะที่รับมอบพัสดุนั้นด้วย หรือในสัญญาจ้างที่ปรึกษาภาครัฐ สัญญาหนึ่ง5 มีข้อความ บทปรับที่ปรึกษาในฐานะผู้รับจ้าง ดังนี้ ๙. ค่าปรับ ในกรณี ที่ ผู้ รั บ จ้ า งผิ ด สั ญ ญาอั น เนื่ อ งมาจากไม่ ส ามารถ ปฏิ บั ติ ง านให้ ส าเร็ จ ลุ ล่ วงไปตามระยะเวลาที่ สิ้ นสุ ดสั ญ ญาที่ กาหนดไว้ ผู้รับจ้างยินยอมให้ผู้ว่าจ้างปรับเป็นรายวันในอัตรา ร้อยละ ๐.๑๐ ของราคาค่าจ้าง จนกว่าผู้รับจ้างจะปฏิบัติงาน เสร็จสิ้นตามสัญญา ในสัญญาสากลบางสัญญาก็อาจมีบทปรับที่ปรึกษาในกรณีส่ง รายงานล่าช้า ดังนี้ PENALTY The Consultant agrees that should it fail to submit each report within the time specified in Clause 3.2 of this Contract, the Consultant shall compensate the Client the penalty at the amount of X,XXX Baht (______________ Baht) for each report and each day of delay in case of such delay arise from fault of the Consultant, however the total penalty to be paid by the Consultant shall not exceed ten percent (10%) of the total Service Fees. For consider such penalty Consultant has right to declare causation of such delay to the Client and the Client shall send the consideration and penalty or

ข้อกำหนดของงำน (Term of Reference: TOR) กำรจ้ำงที่ปรึ กษำเพื่อประเมิน กองทุนปรับโครงสร้ำงกำรผลิตภำคเกษตรเพื่อเพิ่มขีด ควำมสำมำรถกำรแข่งขันของประเทศ http://www2.oae.go.th/FTA/PDF/news/TOR.pdf 5

10-16


ตัวอย่างการใช้งานและกรณีศึกษา extend submission period (as the case may be) to the Consultant.

นอกจากนี้ ในระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ยังมีบทลงโทษที่ปรึกษาในฐานะ ผู้ ทิ้งงาน ตามหลักเกณฑ์การลงโทษผู้ทิ้งงาน ดังนี้ ที่ปรึกษาที่มีผลงานบกพร่อง/ผิดพลาด/ก่อ ให้เกิด ความเสียหายอย่างร้ายแรง ข้อ ๑๔๕ ตรี ในกรณีการจ้างที่ปรึกษาหรือการจ้าง ออกแบบและควบคุมงาน หากตรวจสอบแล้วปรากฏ ว่า ผลจากการปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าวมีข้อบกพร่อง ผิดพลาด หรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการ อ ย่ า ง ร้ า ย แ ร ง ใ ห้ หั ว ห น้ า ส่ ว น ร า ช ก า ร เ ส น อ ปลัดกระทรวงเพื่อพิจารณาให้คู่สัญญานั้นเป็นผู้ทิ้งงาน การพิจารณาสั่งให้คู่สัญญาเป็นผู้ทิ้งงานตามวรรคหนึ่ง ให้นาความในข้อ ๑๔๕ ทวิ วรรคสาม วรรคสี่ วรรคห้า และวรรคหก มาใช้บังคับโดยอนุโลม จากตัวอย่างที่กล่าวมา ที่ปรึกษาจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้ ความรู้ ความสามารถ ตลอดจนถึ ง มาตรฐานการท างาน หลั ก การ ปฏิบัติงานที่ดีในการประกอบวิชาชีพให้ได้ผลงานที่ดีที่สุด ตรงตามเวลา ระยะเวลาการให้บริการของที่ปรึกษา ในข้อตกลงตามสัญญาที่ได้ตกลง กันไว้ 

10-17



ภาคผนวก สารบัญของเอกสารเงื่อนไข FIDIC เล่มสีแดง เล่มสีเหลือง และเล่มสีเงิน FIDIC เล่มสีแดง 1 General Provision 1.1 Definitions 1.2 Interpretation 1.3 Communications 1.4 Law and Language 1.5 Priority of Documents 1.6 Contract Agreement 1.7 Assignment 1.8 Care and Supply of Documents

1.9 Delayed Drawings or Instructions

1.10 Employees Use of Contractor's Documents

1.11 Contractor*ร Use of Employer's Documents

1.12 Confidential Details 1.13 Compliance with Laws 1.14 Joint and Several Liability

FIDIC เล่มสีเหลือง

FIDIC เล่มสีเงิน

1 General Provision

1 General Provision

1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8

1.1 Definitions 1.2 Interpretation 1.3 Communications 1.4 Law and Language 1.5 Priority of Documents 1.6 Contract Agreement 1.7 Assignment 1.8 Care and Supply of Documents 1.9 Errors in the Employer’s Requirements 1.10 Employees Use of Contractor's Documents 1.11 Contractor*ร Use of Employer's Documents 1.12 Confidential Details 1.13 Compliance with Laws 1.14 Joint and Several Liability

Definitions Interpretation Communications Law and Language Priority of Documents Contract Agreement Assignment Care and Supply of Documents 1.9 Errors in the Employer’s Requirements 1.10 Employees Use of Contractor's Documents 1.11 Contractor*ร Use of Employer's Documents 1.12 Confidential Details 1.13 Compliance with Laws 1.14 Joint and Several Liability

2 The Employer 2.1 Right of Access to the Site 2.2 Permits, Licences or Approvals 2.3 Employer's Personnel 2.4 Employer's Financial Arrangements 2.5 Employer's Claims

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

3 The Engineer 3.1 Engineer's Duties and Authority 3.2 Delegation by the Engineer 3.3 Instructions of the Engineer 3.4 Replacement of the Engineer 3.5 Determinations

A-1


ภาคผนวก FIDIC เล่มสีแดง

FIDIC เล่มสีเหลือง

FIDIC เล่มสีเงิน

4 The Contractor 4.1 Contractor's General Obligations 4.2 Performance Security 4.3 Contractor's Representative 4.4 Subcontractors 4.5 Assignment of Benefit of Subcontract 4.6 Co-operation 4.7 Setting Out 4.8 Safety Procedures 4.9 Quality Assurance 4.10 Site Data 4.11 Sufficiency of the Accepted Contract Amount 4.12 Unforeseeable Physical Conditions 4.13 Rights of Way and Facilities 4.14 Avoidance of Interference 4.15 Access Route 4.16 Transport of Goods 4.17 Contractor's Equipment 4.18 Protection of the Environment 4.19 Electricity, Water and Gas 4.20 Employer's Equipment and Free-Issue Material 4.21 Progress Reports 4.22 Security of the Site 4.23 Contractor's Operations on Site 4.24 Fossil

4 The Contractor 4.1 Contractor's General Obligations 4.2 Performance Security 4.3 Contractor's Representative 4.3 Subcontractors 4.5 Nominated Subcontractor 4.6 Co-operation 4.7 Setting Out 4.8 Safety Procedures 4.9 Quality Assurance 4.10 Site Data 4.11 Sufficiency of the Accepted Contract Amount 4.12 Unforeseeable Physical Conditions 4.13 Rights of Way and Facilities 4.14 Avoidance of Interference 4.15 Access Route 4.16 Transport of Goods 4.17 Contractor's Equipment 4.18 Protection of the Environment 4.19 Electricity, Water and Gas 4.20 Employer's Equipment and Free-Issue Material 4.21 Progress Reports 4.22 Security of the Site 4.23 Contractor's Operations on Site 4.24 Fossil

4 The Contractor 4.1 Contractor's General Obligations 4.2 Performance Security 4.3 Contractor's Representative 4.4 Subcontractors 4.5 Nominated Subcontractor 4.6 Co-operation 4.7 Setting Out 4.8 Safety Procedures 4.9 Quality Assurance 4.10 Site Data 4.11 Sufficiency of the Accepted Contract Amount 4.12 Unforeseeable Physical Conditions 4.13 Rights of Way and Facilities 4.14 Avoidance of Interference 4.15 Access Route 4.16 Transport of Goods 4.17 Contractor's Equipment 4.18 Protection of the Environment 4.19 Electricity, Water and Gas 4.20 Employer's Equipment and Free-Issue Material 4.21 Progress Reports 4.22 Security of the Site 4.23 Contractor's Operations on Site 4.24 Fossil

5

5 Design 5.1 General Design Obligations 5.2 Contractor’s Documents 5.3 Contractor’s Understanding

5 Design 5.1 General Design Obligations 5.2 Contractor’s Documents 5.3 Contractor’s Understanding

Nominated Subcontractors 5.1 Definition of "nominated Subcontractor" 5.2 Objection to Nomination 5.3 Payments to nominated Subcontractors

A-2


ภาคผนวก FIDIC เล่มสีแดง 5.4 Evidence of Payments

6 Staff and Labour 6.1 Engagement of staff and Labour 6.2 Rates of Wages and Conditions of Labour 6.3 Persons in the Service of Employer 6.4 Labour Laws 6.5 Working Hours 6.6 Facilities for staff and Labour 6.7 Health and Safety 6.8 Contractor's Superintendence 6.9 Contractor's Personnel 6.10 Records of Contractor's Personnel and Equipment 6.11 Disorderly Conduct

Plant, Materials and Workmanship 7.1 Manner of Execution 7.2 Samples 7.3 Inspection 7.4 Testing 7.5 Rejection 7.6 Remedy Work 7.7 Ownership of Plant and Materials 7.8 Royalties

FIDIC เล่มสีเหลือง 5.4 Technical Standards and Regulations 5.5 Training 5.6 As-Built Documents 5.7 Operation and Maintenance Manuals 5.8 Design Error

FIDIC เล่มสีเงิน 5.4 Technical Standards and Regulations 5.5 Training 5.6 As-Built Documents 5.7 Operation and Maintenance Manuals 5.8 Design Error

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

7

8

Commencement, Delay and Suspension 8.1 Commencement of Works 8.2 Time for Completion 8.3 Programme 8.4 Extension of Time for Completion

A-3


ภาคผนวก FIDIC เล่มสีแดง 8.5 Delays Caused by Authorities 8.6 Rate of Progress 8.7 Delay Damages 8.8 Suspension of Work 8.9 Consequences of Suspension 8.10 Payment for Plant and Materials in Event of Suspension 8.11 Prolonged Suspension 8.12 Resumption of Work

9 TESTS ON COMPLETION 9.1 Contractor*ร Obligations 9.2 Delayed Tests 9.3 Retesting 9.4 Failure to Pass Tests on Completion

10

10.1 10.2 10.3 10.4

EMPLOYER'S TAKING OVER Taking Over of the Works and Sections Taking Over of Parts of the Works Interference with Tests on Completion Surfaces Requiring Reinstatement

11 DEFECTS LIABILITY 11.1 Completion of Outstanding Work and Remedying Defects 11.2 Cost of Remedying Defects 11.3 Extension of Defects Notification Period 11.4 Failure to Remedy Defects 11.5 Removal of Defective Work 11.6 Further Tests 11.7 Right of Access 11.8 Contractor to Search 11.9 Performance Certificate 11.10 Unfulfilled Obligations

A-4

FIDIC เล่มสีเหลือง

FIDIC เล่มสีเงิน

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

10

Ditto

EMPLOYER'S TAKING OVER 10.1 Taking Over of the Works and Sections 10.2 Taking Over of Parts of the Works 10.3 Interference with Tests on Completion

Ditto

Ditto


ภาคผนวก FIDIC เล่มสีแดง

FIDIC เล่มสีเหลือง

FIDIC เล่มสีเงิน

11.11 Clearance of Site

12

MEASUREMENT AND EVALUATION 12.1 Works to be Measured 12.2 Method of Measurement 12.3 Evaluation 12.4 Omissions

VARIATIONS AND ADJUSTMENTS 13.1 Right to Vary 13.2 Value Engineering 13.3 Variation Procedure 13.4 Payment in Applicable Currencies 13.5 Provisional Sums 13.6 Daywork 13.7 Adjustments for Changes in Legislation 13.8 Adjustments for Changes in Cost

12 TEST AFTER COMPLETION 12.1 Procedure for Test after Completion 12.2 Delayed Test 12.3 Retesting 12.4 Failure to Pass Tests after Completion

12 TEST AFTER COMPLETION 12.1 Procedure for Test after Completion 12.2 Delayed Test 12.3 Retesting 12.4 Failure to Pass Tests after Completion

13

14 CONTRACT PRICE AND PAYMENT 14.1 The Contract Price 14.2 Advance Payment 14.3 Application for Interim Payment Certificates 14.4 Schedule of Payments 14.5 Plant and Materials intended for the Works 14.6 Issue of Interim Payment Certificates 14.7 Payment 14.8 Delayed Payment 14.9 Payment of Retention Money 14.10 Statement at Completion 14.11 Application for Final Payment Certificate 14.12 Discharge 14.13 Issue of Final Payment Certificate

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

A-5


ภาคผนวก FIDIC เล่มสีแดง

FIDIC เล่มสีเหลือง

FIDIC เล่มสีเงิน

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

14.14 Cessation of Employer's Liability

14.15 Currencies of Payment

15

TERMINATION BY EMPLOYER 15.1 Notice to Correct 15.2 Termination by Employer 15.3 Valuation at Date of Termination 15.4 Payment after Termination 15.5 Employer's Entitlement to Termination

16 SUSPENSION AND TERMINATION BY CONTRACTOR 16.1 Contractor's Entitlement to Suspend Work 16.2 Termination by Contractor 16.3 Cessation of Work and Removal of Contractor's Equipment 16.4 Payment on Termination

17

RISK AND RESPONSIBILITY 17.1 Indemnities 17.2 Contractor's Care of the Works 17.3 Employer'ร Risks 17.4 Consequences of Employer's Risks 17.5 Intellectual and Industrial Property Rights 17.6 Limitation of Liability

18 INSURANCE 18.1 General Requires for Insurances 18.2 Insurance for Works and Contractor's Equipment

A-6


ภาคผนวก FIDIC เล่มสีแดง 18.3 Insurance against Injury to Persons and Damage to Property

FIDIC เล่มสีเหลือง

FIDIC เล่มสีเงิน

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

Ditto

18.4 Insurance for Contractor's Personnel

19 FORCE MAJEURE

19.1 Definition of Force Majeure

19.2 Notice of Force Majeure 19.3 Duty to Minimise Delay 19.4 Consequences of Force Majeure 19.5 Force Majeure Affecting Subcontractor 19.6 Optional Termination, Payment and Release 19.7 Release from Performance under the Law

20

CLAIMS, DISPUTES AND ARBITRATION

20.1 Contractor's Claims 20.2 Appointment of the

20.3 20.4

20.5 20.6 20.7

20.8

Dispute Adjudication Board Failure to Agree Dispute Adjudication Board Obtaining Dispute Adjudication Board'ร Decision Amicable Settlement Arbitration Failure to Comply with Dispute Adjudication Board's Decision Expiry of Dispute Adjudication Board's Appointment

A-7



แหล่งความรู้เพิ่มเติม 1. เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ FIDIC http://fidic.org/

2. ความรู้เกี่ยวกับเอกสารสัญญาสากล https://web.facebook.com/groups/1482987825330326/ 3. สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย http://www.ceat.or.th/

4. Introduction to Construction Contract http://www.rangson.com/contract.htm 5. Key Word for Google Search: FIDIC, ความรู้เรื่องสัญญา FIDIC


บรรณานุกรม ชำนำญ พิเชษฐพันธ์ และ กัมพล กิตติพงษ์พัฒนำ, สัญญำจ้ำงที่ปรึกษำ บริหำรกำรก่อสร้ำง, นนทบุรี: เฟิสท์ ออฟเซท (1993) 2559 Axel V. J. & Gotz S. H, FIDIC - A Guide for Practitioners, Springer-Verlag Berlin Heidelberg (2010) FIDIC, Conditions of Contract for Construction, for Building and Engineering Works, Designed by the Employer (Red Book 1999), First Edition 1999 FIDIC, Conditions of Contract for Plant and Design-Build for Electrical and Mechanical Plant, and for Building and Engineering Works, Designed by the Contractor (Yellow Book), First Edition 1999 FIDIC, Conditions of Contract for EPC/ Turnkey Projects (Silver Book), First Edition 1999 FIDIC, Conditions of Contract for Construction, MDB Harmonised Edition for Building and Engineering Works, Designed by the Employer (Pink Book), Third Edition 2010



เอกสารเงื่อนไขของสัญญา สากล FIDIC FIDIC Conditions of Contract

TEAM Consulting Engineering and Management Co., Ltd.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.