กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกัน ข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

Page 1

กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกัน ข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

โดย

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย พฤศจิกายน 2561







DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

กิตติกรรมประกาศ ในนามของสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย ขอขอบคุณ คณะทํางานในพันธกิจ DAAB ที่ อุทิศ เวลา กําลัง และสติปัญญาในการระดมสมอง ให้ความเห็น รวมถึงให้ความอนุเคราะห์สถานที่ และอํ า นวยความสะดวกในการจั ด ประชุ ม สั ญ จร เพื่ อ การจั ด ทํ า เอกสาร DAAB Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกัน เล่มนี้ รวมถึงบริษัท และ หน่วยงาน องค์กร ที่ให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือ สนับสนุนการอบรมมา ณ ที่นี้ รายนามบริษัท และองค์กรผู้ให้การสนับสนุน DAAB 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

บริษัท ช.การช่าง จํากัด (มหาชน) บริษัท วิมานสุริยา จํากัด บริษัท ซี อี เอส จํากัด บริษัท คริสเตียนีและนีลเส็น (ไทย) จํากัด (มหาชน) บริษัท เพาเวอร์ไลน์เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด (มหาชน) สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย บริษัท พาวเวอร์กริด อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คํานํานายกสมาคมที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย วงการก่อสร้างได้มีการพัฒนาก้าวหน้าไปมากทั้งในด้านเทคโนโลยีการออกแบบและวิธีการ ก่อสร้าง รวมไปถึงเทคโนโลยีด้านการบริหารโครงการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผลงานการก่อสร้าง นั้นสําเร็จออกมาอย่างมีคุณภาพถูกต้อง มั่นคง แข็งแรง ใช้ประโยชน์ได้ตามที่ต้องการ ภายใต้กรอบ เวลาและงบประมาณที่กําหนดไว้ อย่างไรก็ตามนอกเหนือจากการพัฒนาทั้งสองแล้ว วงการก่อสร้าง ยังได้พัฒนารูปแบบการดําเนินงานโครงการหรือสัญญาก่อสร้างให้เหมาะสมสอดรับกับความต้องการ ในยุคใหม่ไปด้วย รูปแบบการดําเนินการโครงการก่อสร้างดังกล่าวมีหลากหลายแบบ ตั้งแต่ DesignBid-Build, Design-Build, EPC/Turnkey, Build-Operate-Transfer และอื่น ๆ สัญญาก่อสร้างแต่ ละแบบได้กําหนดบทบาทความรับผิดชอบของเจ้าของงาน วิศวกรที่ปรึกษา และผู้รับจ้างก่อสร้างที่ แตกต่างกันออกไป ทําให้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการก่อสร้างนั้นแตกต่างกันไปด้วย ซึ่งอาจจะทําให้ เกิดข้อพิพาท ข้อเรียกร้องที่ไม่เหมือนกัน ผลกระทบในการแก้ไขข้อพิพาทและข้อเรียกร้องอาจจะทํา ให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายจํานวนมากโดยไม่จํ าเป็น สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย ได้ เล็งเห็นถึงความสําคัญในกระบวนการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาทจึงได้ตั้งคณะทํางานขึ้นมาเพื่อ เตรียมการสร้างบุคลากรและองค์ความรู้ในเรื่องนี้ เพื่อผลประโยชน์ในการพัฒนาวงการก่อสร้างของ ประเทศ เอกสาร DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยง และป้องกัน จึงเป็นผลงานชิ้นแรกที่เป็นก้าวสําคัญในการพัฒนากระบวนการป้องกันและวินิจฉัยข้อ พิพาทในวงการก่อสร้างไทย ที่ต้องการสร้างแนวทางการการแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างรวดเร็ว เพื่อการ แล้วเสร็จของโครงการก่อสร้างจะได้เป็นประโยชน์สูงสุดของการลงทุน สมาคมวิ ศ วกรที่ ป รึ ก ษาแห่ ง ประเทศไทยขอขอบคุ ณ คณะทํ า งานในพั น ธกิ จ DAAB ที่ ไ ด้ เสียสละเวลา นําความรู้ความสามารถมาจัดทําเอกสารฉบับนี้ ด้วยความเต็มใจ ดร.วิทูร เจียมจิตต์ตรง นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คํานํา เนื้ อ หาในเอกสาร DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวิ นิ จ ฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกัน ฉบับนี้ รวบรวมจาก Slides ของวิทยากรผู้บรรยาย และแก้ไขปรับปรุงจาก คู่มือ(คณะ)กรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาทเพื่อระงับข้อพิพาทในวงการก่อสร้าง ฉบับร่างเมื่อปี 2560 ซึ่งเรียบเรียงจาก Dispute Board Manual Version 1.0 มีนาคม 2555 (ค.ศ. 2012) จัดทํา โดย องค์ ก ารความร่ ว มมื อ ระหว่ า งประเทศแห่ ง ญี่ ปุ่ น (Japan International Cooperation Agency) เนื้อหาเดิมในคู่มือดังกล่าว จัดทําขึ้นเพื่อให้องค์กร หรือหน่วยงานที่ใช้ เอกสารเงื่อนไขของ สัญญา FIDIC: the General Conditions of Contract of the Multilateral Development Bank Harmonized Edition ( MDB Harmonized Edition) of the Conditions of Contract for Construction ซึ่ ง จั ด ทํ า โดย International Federation of Consulting Engineers (FIDIC) เป็ น หลัก ลักษณะโครงการจะเป็นโครงการเงินกู้ ซึ่งเนื้อหาโดยรวมคล้ายเอกสารเงื่อนไขของสัญญาฉบับ อื่น ๆ ของ FIDIC โดยเฉพาะในเรื่องของ ข้อพิพาท (Dispute) เอกสารฉบับนี้เป็นการแนะนําเบื้องต้นเกี่ยวกับ กลไกและบทบาทของ DAAB กระบวนการ ระงับและวินิจฉัย คุณสมบัติและค่าตอบแทนของคณะกรรมการ DAAB และผลลัพธ์ของการพิจารณา และวินิจฉัย DAAB โดยสังเขป หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารนี้จะอํานวยประโยชน์ให้ความรู้พื้นฐานเบื้องต้นเกี่ยวกับ คณะ กรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท (Dispute Avoidance/Adjudication Board: DAAB) ซึ่งเป็น เรื่องใหม่ในประเทศไทย ได้พอสมควร อย่างไรก็ตาม หากผู้ใช้มีข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะประการใด กรุณาแจ้งแก่สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย เพื่อดําเนินการพิจารณา แก้ไข ปรับปรุง ให้ เหมาะสมแก่การใช้งานในประเทศไทยต่อไป ด้วยความนับถือและขอบคุณยิ่ง เจตณรงค์ เชาว์ชูเดช บรรณาธิการผู้จัดทํา


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

สารบัญ เรื่อง

หน้า

กิตติกรรมประกาศ คํานํา นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย คํานํา สารบัญ 1. บทนํา 2. คณะกรรมการป้องกันและวินจิ ฉัยข้อพิพาท (DAAB) 3. กระบวนการระงับและวินิจฉัยข้อพิพาท 4 กลไกและบทบาทของ DAAB 5 ค่าตอบแทนของสมาชิก DAAB 6 ผลลัพธ์ของการพิจารณาและวินิจฉัย 7. อนุญาโตตุลาการ

ก 1 4 6 15 23 26 32

บรรณานุกรม ภาคผนวก 1 ภาคผนวก 1.1 ที่มาของข้อพิพาท และแนวทางระงับในอดีตถึงปัจจุบัน โดย อาจารย์ชํานาญ พิเชษฐพันธ์ ภาคผนวก 1.2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพืพาท โดย คุณวณิธชนันท์ วิจักขณ์สังสิทธิ์ ภาคผนวก 1.3 แนวคิดและจุดเด่นของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพืพาท โดยอาจารย์มงคล วุฒิธนากุล ภาคผนวก 1.4 ทางเลือกของการระงับข้อพิพาท มาตรฐานระดับสากล โดยคุณสาคร เครือใหม่ ภาคผนวก 2 เงื่อนไขของสัญญา FIDIC ว่าด้วยการเรียกร้อง ข้อพิพาท และอนุญาโตตุลาการ ภาคผนวก 3 ศัพท์นิยาม (Definitions) รายชื่อคณะทํางานในพันธกิจ DAAB รายนามบริษัท และองค์กร ผู้สนับสนุน DAAB  -ก


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

1. บทนํา ทางเลือกของการระงับข้อพิพาท มาตรฐานระดับสากล1 หลักการและเหตุผล เนื่องด้วยในปัจจุบันลักษณะของงานในวงการก่อสร้างและบทบาทของผู้เกี่ยวข้องทุกส่วนใน แต่ละโครงการมีความซับซ้อนมากขึ้น เพราะปัจจัยหลายประการ จึงอาจนําไปสู่ความขัดแย้งระหว่าง องค์กรและบุคคลในวงวิชาชีพ ทั้งด้านความคิดเห็นและการปฏิบัติ จนอาจก่อให้เกิดข้อพิพาทได้ง่าย ดังที่มีกรณีเกิดขึ้นบ่อยครั้งในวงการก่อสร้างทุกวันนี้ ข้อพิพาทต่างๆ ส่งผลเสียหายในวงกว้างและคิด เป็นมูลค่ามหาศาล อีกทั้งยังทาให้โครงการล่าช้าโดยใช่เหตุ จนส่งผลกระทบต่อสังคมส่วนรวมทั้ง ทางตรงและทางอ้อมอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ในอดีต เรามักคุ้นเคยกับการระงับข้อพิพาทในกระบวนการ อนุญาโตตุลาการ (Arbitration) และกระบวนการศาล แต่ก็เป็นที่ตระหนักกันอยู่ว่าไม่ได้ผลเป็นที่น่า พอใจนัก เพราะเป็นการพยายามแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุเท่านั้น ด้วยตระหนักในข้อนี้ สหพันธ์วิศวกร ที่ ป รึ ก ษานานาชาติ (International Federation of Consulting Engineers – FIDIC) จึ ง ได้ นํ า วิธีการระงับข้อพิพาทที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น กล่าวคือ ใช้กระบวนการ Dispute Avoidance/Adjudication Board (DAAB) ซึ่ ง กํ า ลั ง เป็ น ที่ ส นใจและนิ ย มนํ า มาประยุ ก ต์ ใ ช้ กั น แพร่หลายขึ้น โดยระบุในข้อสัญญาเพื่อการป้องกันและระงับปัญหาข้อพิพาทโดยผู้รู้และเข้าใจในงาน ก่อสร้างอย่างถ่องแท้ ตั้งแต่ช่วงเตรียมโครงการจนถึงระหว่างดําเนินการ บุคคลเหล่านี้จะเป็นผู้วินิจฉัย ชี้ขาดในฐานะผู้แทนของผู้ประกอบวิชาชีพ เพื่อช่วยกันกําหนดมาตรฐานในการทํางาน การตัดสินใจ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม อันจะทําให้เกิดบรรทัดฐานที่เป็นธรรมที่สุดในวงการก่อสร้าง ต่อไป ทั้งนี้เพื่อให้คู่สัญญาพึงตระหนักว่า การตัดสินใจหรือการกระทําการใดๆย่อมมีผลกระทบต่อ โครงการทั้งสิ้น จึงจําเป็นต้องให้แน่ใจว่ามีกระบวนการดําเนินงานบนพื้นฐานของความเป็นกลางและ ชอบธรรม เพื่อหลีกเลี่ยงกรณีที่คู่สัญญาต่างพยายามหาช่องทางแสวงหาประโยชน์แก่ตนเองมากที่สุด เพียงฝ่ายเดียว อันย่อมเป็นสาเหตุนําไปสู่ข้อพิพาทได้ในที่สุด ด้วยเหตุผลข้างต้น สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย (วปท.) จึงกําหนดให้ DAAB เป็นพันธกิจหลักประการหนึ่งในวาระนี้ โดยมุ่งหวังให้มีส่วนสําคัญในการช่วยลดหรือขจัดข้อพิพาทใน วงการก่อสร้างในทุกระดับและทุกประเภท ข้อพิพาทอาจเป็นเรื่องของการแตกต่างทางความเห็น ระหว่างบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย หรือตาม 1

เอกสารเชิญ เข้าร่วมประชุมระดมสมอง เรื่องทางเลือกของการระงับข้อพิพาท มาตรฐานระดับสากล

วันพฤหัสบดีที่ 17 สิงหาคม 2560 คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

1


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

สัญญา บางกรณีไม่ใช่เป็นเพียงแค่การแตกต่างทางความคิดเห็นเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของการไม่ปฏิบัติ ตามสัญญา หรือปฏิบัติผิดไปจากที่สัญญากําหนด หรือเป็นการทําให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย ต้อง ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคลนั้น แต่ไม่ชดใช้ให้ ข้อพิพาทก็เลยเกิดขึ้น รู ป แบบของ DAAB ได้ รั บ การพิ สู จ น์ แ ล้ ว ว่ า เป็ นวิ ธี ก ารที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ ในการ หลีกเลี่ยงและแก้ไขข้อพิพาทในสัญญาโดยไม่ใช้อนุญาโตตุลาการ หรือการดําเนินคดีก่อนที่จะเสร็จสิ้น การก่อสร้าง อย่างไรก็ตามเช่นเดียวกับในแง่ของการบริหารสัญญาใด ๆ วิธีการของ DAAB ต้องได้รับ ความใส่ใจอย่างรอบคอบ และทันเวลาเพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการจัดตั้งและดําเนินการตามแนวความคิดนี้ คุณลักษณะเฉพาะของ DAAB และเหตุผลที่สําคัญในความสําเร็จคือเป็นเครื่องมือในการ ป้องกันข้อพิพาท และหากข้อพิพาทไม่สามารถป้องกันได้ ข้อพิพาทที่ถูกตัดสินใจโดย DAAB จะ สามารถดําเนินการได้โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยทั้งหมดนี้จะสามารถคงความสําคัญให้กับ ความสําเร็จของโครงการในสัญญา โดยไม่มีวิธีอื่นในการจัดการกับข้อพิพาทในสัญญาซึ่งมีคุณลักษณะ ในการป้องกันเช่นนี้ แนวคิ ดของ DAAB ถู ก ใช้โดยหน่ วยงานที่ ใช้ เงื่อ นไขของสัญญา FIDIC ตั้ ง แต่ปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) และได้มีการพัฒนาเรื่อยมา แต่ก็มีบางกรณีที่ DAAB ไม่ประสบความสําเร็จในการ หลี ก เลี่ ย งการอนุ ญ าโตตุ ล าการ และมี ก ารฟ้ อ งร้ อ งตามที่ คู่ สั ญ ญาฝ่ า ยใดฝ่ า ยหนึ่ ง ซึ่ ง ไม่ เ ข้ า ใจ แนวความคิดของ DAAB (หรือแนวคิดตามแบบฟอร์มเงื่อนไขของสัญญา FIDIC) และการดําเนินงานที่ เหมาะสม มี แ นวคิ ดเรื่อ ง "DAAB โดยเฉพาะกิจ " ซึ่ ง จัด ตั้ง ขึ้ นเฉพาะภายหลังจากที่คู่สัญญาไม่ สามารถตกลงกันได้ด้วยการประนีประนอม และพยายามสร้างฐานข้อมูลหลังจากที่มีข้อพิพาทอยู่แล้ว DAAB เฉพาะกิจนี้จะขาดคุณลักษณะที่สําคัญที่สุด ซึ่งเป็นหัวใจหลักในการป้องกันข้อพิพาท ภายใต้ หลักของ DAAB คู่สัญญาสามารถขอรับความเห็นอย่างไม่เป็นทางการของ DAAB ในการช่วยให้ สามารถยุติข้อพิพาทด้วยการเจรจา อนึ่ง DAAB เฉพาะกิจนี้มักนําไปสู่ปัญหาเนื่องจากเวลาในการ จัดตั้ง DAAB มีน้อยในการที่คู่สัญญาจะสามารถตกลงกันได้เนื่องจากความรุนแรงของข้อพิพาท จึงมีขอแนะนํามิให้ใช้ DAAB เฉพาะกิจ ด้วยเหตุผลที่ DAAB เฉพาะกิจ ไม่สามารถให้ ความช่วยเหลือคู่สัญญาในการหลีกเลี่ยงข้อพิพาทอย่างเป็นทางการได้ เนื่องจากไม่มีความคุ้นเคยใน สัญญา หรืองานในโครงการ และจะใช้เวลานานกว่าที่จะสามารถตัดสินข้อพิพาทเช่น DAAB หลัก โดยปกติจะมีใช้ DAAB เฉพาะกิจในกรณีที่การปฏิบัติงานของสัญญามีความล่าช้า หรือในกรณีที่เสร็จ สิ้นการก่อสร้าง (ซึ่งนําไปสู่ค่าใช้จ่ายในการยืดกําหนดระยะเวลาของเงินค้ําประกันสัญญาออกไปเป็น เวลานาน) และจะมีไว้สําหรับใช้ในกรณีมีข้อพิพาทเรื่องเดียวเท่านั้น หากมีการจัดตั้งขึ้นก่อนงานแล้ว เสร็จ DAAB เฉพาะกิจ จะไม่สามารถครอบคลุมในงานส่วนที่เหลือ และมักจําเป็นต้องจัดตั้ง DAAB คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

2


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

ใหม่ สํ า หรั บ ข้ อ พิ พ าทที่ จ ะมี ต่ อ ไป ซึ่ ง นํ า ไปสู่ ค วามล่ า ช้ า และค่ า ใช้ จ่ า ยที่ ไ ม่ จํ า เป็ น ในการทํ า ความคุ้นเคยกับสัญญาและงานในโครงการ นอกจากนี้ยังจะประสบปัญหาในเรื่องของการรวบรวม ข้อมูลในการหลีกเลี่ยงการอนุญาโตตุลาการ ดังนั้นคู่มือนี้จึงเหมาะสําหรับ DAAB หลักเท่านั้น



คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

3


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

2. คณะกรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท (Dispute Avoidance/Adjudication Board: DAAB) คณะกรรมการป้ อ งกั น และวิ นิ จ ฉั ย ข้ อ พิ พ าท (Dispute Avoidance/Adjudication Board: DAAB)2 เป็นสมาชิกที่สําคัญในสัญญา มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยคู่สัญญา และวิศวกรในการ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ค วามขั ด แย้ ง กลายเป็ น ข้ อ พิ พ าท หากไม่ ส ามารถหลี ก เลี่ ย งข้ อ พิ พ าทได้ DAAB จะ ตัดสินใจเกี่ยวกับข้อ พิพาทที่ มีผลผู กพั นกันระหว่ างคู่สัญญาทั้งสองฝ่ ายและวิศ วกร การตัดสินใจ จะต้องมีผลทันที แม้ว่าคู่สัญญาจะตัดสินใจส่งข้อพิพาทไปยังอนุญาโตตุลาการตามสัญญาก็ตาม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ จะต้องมีการจัดตั้ง DAAB ตั้งแต่เมื่อเริ่มต้นสัญญา ก่อนที่จะมี ข้อขัดแย้งใด ๆ และควรทํางานต่อไปจนกว่าจะมีการออกหนังสือรับรองผลงาน เมื่อระยะเวลาการ แจ้งข้อบกพร่องของงานหมดอายุแล้ว คู่สัญญาจะต้องไม่รอจนกว่าจะเกิดข้อโต้แย้งใด ๆ ก่อนที่จะมี การเริ่มดําเนินการ และจัดตั้งคณะกรรมการ ฯ สมาชิ ก DAAB ทั้ ง หมดจะได้ รั บ การคั ด เลื อ กตามข้ อ ตกลงของคู่ สั ญ ญาทั้ ง สองฝ่ า ย ค่าใช้จ่ายของ DAAB จะแบ่งกันฝ่ายละครึ่งโดยคู่สัญญา DAAB อาจเป็นบุคคลคนเดียว แต่สําหรับ สัญญาที่มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมาก แนะนําให้ใช้ DAAB 3 คน สมาชิก DAAB ควรมีประสบการณ์ เกี่ยวกับประเภทของการก่อสร้างที่เกี่ยวข้องกับสัญญาและในการบริหารสัญญาดังกล่าว DAAB ต้อง เป็นอิสระจากทั้งสองฝ่ายและไม่สามารถผูกสัมพันธ์กับทั้งสองฝ่ายหรือวิศวกร DAAB จะดําเนินงานโดยรวม ดังนี้ (1) การเข้าตรวจเยี่ยมตามกําหนดเวลาที่กําหนดไว้ ในโครงการ และ (2) ศึกษาข้อมูลที่ได้รับจากคู่สัญญาในระหว่างช่วงเวลาการตรวจเยี่ยมโครงการเป็น ระยะ ๆ สิ่งสําคัญคือ DAAB จะต้องจัดตั้งขึ้นโดยเร็วที่สุดหลังจากลงนามในสัญญา และ DAAB เริ่มต้น การเข้าตรวจเยี่ยมโครงการทันที หรือหลังจากเริ่มต้นการก่อสร้าง ณ สถานที่ก่อสร้าง ในบางครั้งคู่สัญญาอาจมีความกังวลว่าบทบัญญัติของ DAAB จะไม่เป็นไปตามกฎหมาย ของประเทศของตน ซึ่งอาจสะท้อนถึงความเข้าใจผิดเกี่ยวกับกระบวนการของ DAAB กระบวนการ ของ DAAB เป็นขั้นตอนการบริหารสัญญาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อพิพาทอย่างเป็นทางการ ซึ่งจะถูกส่งไปยัง อนุญาโตตุลาการตามเงื่อนไขของสัญญา การตัดสินใจของ DAAB ในข้อพิพาทอย่างเป็นทางการต่อ การนําเสนอนั้น จะกลายเป็นข้อสรุปและมีผลผูกพันต่อคู่สัญญา เว้นแต่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะแจ้งให้ ทราบโดยทันทีเกี่ยวกับการตัดสิน หากมีการแจ้งให้ทราบโดยทันทีกรณีข้อพิพาทจะดําเนินการต่อด้วย

2

เดิมภาษาอังกฤษใช้ คําว่า Dispute Adjudication Board: DAB (คณะกรรมการผู้วินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท)

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

4


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

วิธีการอนุญาโตตุลาการ เพื่อขอคําชี้ขาดจากอนุญาโตตุลาการที่แต่งตั้ง และเป็นขั้นตอนสุดท้ายตาม ข้อย่อย 20.6 ในเงื่อนไขของสัญญา FIDIC คู่สัญญาควรศึกษา และปรึกษาเกี่ยวกับ บทบัญญั ติแห่งข้ อบัง คับของข้ อที่ 20 กับที่ ปรึกษาทางกฎหมายของตน ก่อนจะรับคําเชิญเข้าประกวดราคา เป็นเรื่องที่เกิดได้ยากที่จะมีปัญหาใน การใช้ระบบ DAAB โดยระบบ DAAB ได้รับการตรวจสอบการใช้งานในหลายประเทศทั่วโลก ด้วย ระบบกฎหมายต่าง ๆ เช่นกฎหมายทั่วไป กฎหมายแพ่ง กฎหมายอิสลาม และระบบกฎหมายผสม อย่างไรก็ตามหากพบปัญหาทางกฎหมายขั้นพื้นฐาน คู่สัญญาควรขอคําแนะนําจากที่ปรึกษาด้าน กฎหมาย/การเงิน ทันทีก่อนที่จะรับเชิญเข้าประกวดราคา



คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

5


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

3. กระบวนการระงับและวินิจฉัยข้อพิพาท3 DB หรือ DAAB คืออะไร? - คณะทํางาน 1 หรือ 3 คนซึ่งยุติธรรม (impartial) และเป็นอิสระ (independent) - ควรจะได้รับการแต่งตั้งตั้งแต่เริ่มโครงการ - วินิจฉัยข้อพิพาท (dispute) ต่าง ๆ ในบางกรณี เมื่ อได้รั บการร้อ งขอจากผู้ ว่ า จ้ างและผู้ รับ จ้ าง DAAB อาจให้คํา แนะนํ า (advice) หรือความเห็น (opinion) ในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสัญญาและในบางกรณีอาจจะให้ คําแนะนํา (recommendation) เกี่ยวกับการพิพาทแทนที่จะเป็นคําวินิจฉัย (decision) บทบาทของ DAAB คือ การระงับข้อพิพาท (เมื่อไม่มีการนําข้อพิพาทไปดําเนินการต่อใน กระบวนการอื่น ๆ เช่น การอนุญาโตตุลาการ) หน้าที่หลักของ DAAB 1. ทําความคุ้นเคยกับรายละเอียดของโครงการและตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง (site visit) อย่างสม่ําเสมอ 2. รับทราบข้อมูลปัจจุบันเกี่ยวกับกิจกรรม ความก้าวหน้า การพัฒนา และปัญหาที่ โครงการ 3. สนับสนุนให้ฝ่ายต่าง ๆ แก้ปัญหาก่อนที่จะกลายเป็นข้อพิพาท 4. เมื่ อ เกิ ด ข้ อ พิ พ าทขึ้ น ถ้ า จํ า เป็ น จะต้ อ งจั ด การรั บ ฟั ง (hearing) พิ จ ารณา submissions ของฝ่ า ยต่ า ง ๆ ทํ า การพิ จ ารณา (deliberations) และเตรี ย มคํา วินิจฉัยตามหลักวิชาชีพและภายในเวลาที่กําหนด กระบวนการทั่วไปของ (full-term) DAAB -

แต่งตั้งคณะทํางานเมื่อเริ่มสัญญาจ้างก่อสร้าง จัดการประชุมครั้งแรก (initial meeting) ที่สถานที่ก่อสร้าง เมื่องานก่อสร้างเริ่มต้น

-

เมื่อตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้างครั้งแรก (first site visit) DAAB จะพบกับผู้ว่าจ้าง และผู้รับจ้างก่อสร้างซึ่งจะมอบสําเนาเอกสารสัญญาก่อสร้าง นอกจากนั้นจะได้สรุป

โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วีระศักดิ์ ลิขิตเรื องศิลป์

3

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

6


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

รายละเอียดของโครงการเพื่อให้ DAAB คุ้นเคยกับสภาพของงานรวมถึงแผนงาน และข้อเสนอในการทํางานของผู้รับจ้างก่อสร้าง -

ในการประชุมครั้งแรก จะมีการกําหนดเวลาในการตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้างครั้ง ต่อ ๆ มา รวมถึงกระบวนการในการสื่อสาร (communications) และการส่งข้อมูล จากทั้งสองฝ่ายไปยัง DAAB

-

ความแตกต่างของ DAAB กับ การระงับข้อพิพาทอื่น คือ DAAB พยายามจะระงับ ข้อพิพาทในระหว่างการก่อสร้าง ดังนั้น DAAB จึงจําเป็นจะต้องตอบสนองได้อย่าง ทันท่วงทีและอย่างเหมาะสม (respond promptly and intelligently)

-

ดังนั้น DAAB จะต้องได้รับแจ้งเกี่ยวกับ กิจกรรมก่อสร้าง ความก้าวหน้าและปัญหา ในลักษณะ real time

-

สมาชิ ก ของ DAAB จะต้ อ งได้ รั บ เอกสารสั ญ ญาก่ อ สร้ า งฉบั บ สมบู ร ณ์ รายงาน ความก้ า วหน้ า ของงานเป็ น ระยะ (รายเดื อ น) และสรุ ป รายงานการประชุ ม ความก้าวหน้าของโครงการ

-

โดยปกติ DAAB จะมีการตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้างทุก ๆ 3 เดือน (หรือตามที่ตกลง กัน) เพื่อรับทราบความก้าวหน้าของงาน และหารือปัญหาหรือ claim ต่าง ๆ รวมถึง ข้อกังวลต่าง ๆ ของทั้งสองฝ่าย

-

เมื่อสิ้นสุดการตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้างในแต่ละครั้ง DAAB จะจัดทํารายงานสั้น ๆ เกี่ยวกับสิ่งที่ตนได้ทําระหว่างการตรวจเยี่ยม พร้อมทั้งส่งรายงานดังกล่าวไปให้ทั้ง สองฝ่ายรวมถึงวิศวกร (Engineer) ด้วย

-

เนื่องจาก DAAB พิจารณาข้อพิพาทและ claim แบบฉับไว ทําให้จํานวนข้อพิพาท และ claim ที่ไม่ได้รับการดําเนินการมีจํานวนไม่มาก

-

ในการประชุมแต่ละครั้ง DAAB จะสอบถามเกี่ยวกับประเด็นปัญหาซึ่งอาจจะนําไปสู่ ข้อพิพาท และสอบถามเกี่ยวกับรายงานสถานะของ claim ที่มีอยู่หรือกําลังพูดคุย กันระหว่างสองฝ่าย

-

ดังนั้นทั้งสองฝ่ายจึงมุ่งเน้นในการระบุ วิเคราะห์ และแก้ไขประเด็นต่าง ๆ ตั้งแต่ต้น โดยมี DAAB คอยช่วยเหลือ

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

7


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

-

โดยข้อตกลงในสัญญา DAAB สามารถให้คําแนะนําและความเห็นที่ไม่ผูกพัน (nonbinding) ในเรื่องต่าง ๆ ที่ระบุไว้ในสัญญา

กระบวนการของ DAAB ควรจะ -

ไม่ยุ่งยาก (simple) ตรงไปตรงมา (straight-forward) ยุติธรรม (fair) มีประสิทธิภาพ (efficient)

เพื่อเอื้อต่อการนําเสนอข้อพิพาทไปยังคณะกรรมการฯ ข้อมูลในรายงานประจําเดือนที่ส่งให้ DAAB -

ข้อมูลในสัญญาที่สําคัญ คําอธิบายเกี่ยวกับงาน รายงานการทํางานและความก้าวหน้า การควบคุมคุณภาพ การสั่งเปลี่ยนแปลงงาน (variations and instructions) สถานะของ claim ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การเงิ น (financial statements) เช่ น สถานะของ payment applications, interim payment certificates (IPCs) และ payments ประเด็นซึ่งเป็นที่กังวล ข้อมูลอื่น ๆ ที่สําคัญ เช่น บุคลากร plant เหตุการณ์สําคัญต่าง ๆ การโต้ตอบเกี่ยวกับสัญญาที่สําคัญ บันทึกความก้าวหน้าโดยรูปถ่าย

Outputs ที่สาํ คัญของ DAAB -

Routine procedural notices รายงานการตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง (site visit reports) คําแนะนําหรือความเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ความช่วยเหลือที่ไม่เป็นทางการ

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

8


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

-

คําแนะนําเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นข้อพิพาท คําวินิจฉัยในประเด็นข้อพิพาท การตัดสินใจ (determination) เกี่ยวกับประเด็นข้อพิพาท

ข้อพิจารณาในขั้นตอนก่อนดําเนินการโครงการ ก่ อ นเริ่ ม ดํ า เนิ น การตามสั ญ ญานั้ น ผู้ ว่ า จ้ า งจํ า เป็ น ต้ อ งจั ด สรรค่ า ใช้ จ่ า ยสํ า หรั บ DAAB โดยรวมค่าใช้จ่ายไว้ในงบประมาณโครงการ นอกจากนี้ เพื่อให้ผู้รับจ้างทราบถึงกระบวนการ DAAB ในการจัดเตรียมเอกสารประกวด ราคา จําเป็นต้องระบุรายละเอียดของ DAAB ไว้ในเอกสารแนะนําผู้เข้าประกวดราคา (Instruction to Bidders) รวมถึงเงื่อนไขของสัญญา (Conditions of Contract) มีการชี้แจงรายละเอียดในการ ประชุมก่อนการประกวดราคา (Pre-bid Meeting) ด้วย การพิจารณาจัดเตรียมเอกสารประกวดราคา ในเอกสารประกวดราคา จําเป็นต้องให้ผู้เข้าประกวดราคาทราบถึงกระบวนการ DAAB โดย ต้องระบุรายละเอียดไว้ในเอกสารประกวดราคาดังนี้  ข้อมูลของสัญญา (Contract Data) ผู้ว่าจ้างจะต้องจัดเตรียมเอกสาร "เงื่อนไขเฉพาะ ในส่วนข้อมูลของสัญญา" ก่อนที่จะ เชิญ ผู้เสนอราคา แบบฟอร์มนี้จะให้ ข้อ มู ลที่จําเป็ นแก่ ผู้เสนอราคา ในข้อ มู ลของสั ญญาเฉพาะที่ เกี่ยวข้องกับ DAAB รวมถึงข้อมูลเฉพาะที่จําเป็น  บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา (Bill of Quantities) รวมถึงรายการเงินสํารองเผื่อ จ่าย (Provisional Sum) สําหรับค่าใช้จ่ายของ DAAB เป็นสิ่งสําคัญที่จะรวมค่าใช้จ่ายของ DAAB ไว้ในงบประมาณของโครงการ และกลไก สําคัญที่อยู่ในข้อตกลงสัญญากับผู้รับจ้าง เพื่อให้มีการเบิกจ่ายให้ผู้รับจ้าง โดยรับภาระในค่าใช้จ่าย DAAB คนละครึ่ง รายละเอียดเกี่ยวกับการจ่ายเงินรายการนี้ จะถูก ระบุ รายละเอี ยดไว้ ในการใช้ รายการเงินสํารองเผื่อจ่าย (Provisional Sum) ตามวัตถุประสงค์ การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้าง การตรวจเยี่ยมสถานที่เป็นกิจกรรมที่สําคัญที่สุดของ DAAB เนื่องจากจะสามารถป้องกัน ไม่ให้เกิดข้อพิพาทได้ การตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้างนี้จําเป็นต้องดําเนินการเป็นประจํา โดยมีช่วง ระยะเวลาอย่างน้อย 70 วัน แต่ไม่เกิน 140 วัน ระยะเวลาที่แน่นอนจะเป็นการตกลงกันระหว่าง คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

9


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

DAAB และคู่สัญญา สิ่งสําคัญคือผู้ว่าจ้าง วิศวกรและผู้รับจ้าง ทุกฝ่ายจะต้องเข้าร่วมการตรวจเยี่ยม สถานที่ก่อสร้างนี้ และอยู่ ณ สถานที่ก่อสร้างจนกว่าจะมีการส่งรายงานการตรวจเยี่ยม มีข้อแนะนํา ให้ตัวแทนของผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างผู้ซึ่งมีอํานาจในการหารือและให้ความเห็นในมติของข้อขัดแย้งใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในการตีความในสัญญาเข้าร่วมในการตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้างนี้ เมื่อ DAAB ตรวจเยี่ยมสถานที่ก่อสร้างร่วมกับคู่สัญญาและวิศวกรเพื่อดูสถาพปัจจุบัน และความคืบหน้าของงาน บริเวณที่มีปัญหาจะได้รับความสนใจพิจารณาเป็นพิเศษ เช่นสภาพทาง ธรณีวิทยา (หิน) ที่พบในการขุดเจาะอุโมงค์ เป็นต้น นอกจากนี้ DAAB ยังจะต้องเข้าร่วมหารือกับ คู่สัญญา และวิศวกรและผู้รับจ้างช่วงและผู้จําหน่ายสินค้าที่เหมาะสม ดังนั้น DAAB จะมีความคุ้นเคย และทราบความคืบหน้าในการทํางาน และ DAAB สามารถหารือกับคู่สัญญาและวิศวกรเกี่ยวกับ ประเด็นปัญหาต่าง ๆ รวมทั้งความขัดแย้งที่เกิดขึ้น และช่วยเหลือคู่สัญญาและวิศวกรในการหาทาง หลีกเลี่ยงข้อพิพาท การเลือกสมาชิก DAAB4 คู่สัญญาจะต้องแต่งตั้ง DAAB ภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในข้อมูลของสัญญา และเงื่อนไข ของสัญญาดังกล่าวข้างต้น ข้อกําหนดตามสัญญาที่สมาชิกแต่ละคนของ DAAB จะต้องปฏิบัติตามคือ  สมาชิกจะต้องมีประสบการณ์ในประเภทของงานซึ่งผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตาม สัญญา  สมาชิกจะต้องมีประสบการณ์ในการตีความเอกสารสัญญา  สมาชิกจะต้องมี ทักษะ ความชํานาญในภาษาของสัญญาสามารถสื่อสารได้ที่ กําหนดไว้ในสัญญา การเลือกสมาชิก DAAB เป็นกระบวนการที่สําคัญมาก และจําเป็นต้องได้รับความสนใจจาก ผู้บริหารระดับสูงของคู่สัญญา นอกจากนี้ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษในช่วงเริ่มงานและมีความ ต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุข้อตกลงกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยพิจารณาถึงความพร้อมใช้งานตามความ เหมาะสมและข้อตกลงในการให้บริการ

Slides โดย คุณวิมลรัตน์ ยงชัยตระกูล

4

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

10


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

เมื่อสมาชิก DAAB ได้รับการแต่งตั้งแล้ว จะต้องมีข้อตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร ระหว่างผู้ว่า จ้าง ผู้รับจ้าง รวมถึงสมาชิก DAAB แต่ละราย ข้อตกลงนี้เรียกว่า "ข้อตกลงบุคคลสามฝ่าย (ข้อตกลง ไตรภาคี) ข้อตกลงนี้รวมถึงรูปแบบของข้อตกลง และเงื่อนไขข้อตกลงของคณะกรรมการป้องกันและ วินิจฉัยข้อพิพาท รวมถึงระเบียบขั้นตอนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในเงื่อนไขของสัญญา ซึ่งสมาชิก DAAB แต่ ละคนจะแยกกันทําความคุ้นเคยกับเอกสารสัญญาโดยเร็วที่สุด และเริ่มต้นการตรวจเยี่ยมสถานที่ ก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

11


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

12


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

ข้อเสนอเบื้องต้นของ วปท. ในการคัดเลือกสมาชิก DAAB คุณสมบัตขิ องผูเ้ ข้ารับการคัดเลือกเพื่ออบรมเป็นคณะกรรมการ ป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท (DAAB: Dispute Avoidance Adjudication Board)5 1. คุณสมบัติด้านการศึกษา และประสบการณ์ 1.1 วุฒิการศึกษาขั้นต่ํา ระดับปริญญาตรีในสาขาใดสาขาหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1.1.1 สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ 1.1.2 สาขาวิศวกรรมศาสตร์ 1.1.3 สาขานิติศาสตร์ 1.1.4 สาขาอื่นๆ ซึ่งได้ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการที่สมาคมฯ แต่งตั้ง 1.2 ประสบการณ์ด้านการทํางาน 1.2.1 สํ า หรั บ สาขาสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ แ ละสาขาวิ ศ วกรรมศาสตร์ ได้ ป ระกอบ วิชาชีพ ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้าง ซึ่งประกาศเป็นวิศวกรรมควบคุม และสถาปัตยกรรมควบคุมตามเกณฑ์ของสภาวิชาชีพ อย่างน้อย 15 ปี หรือ มี ประสบการณ์อื่นที่ได้รับการรับรองจากสมาคมฯ 1.2.2 สําหรับสาขานิติศาสตร์ มีประสบการณ์งานในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง และ/หรือ ……………………………………………………. 1.2.3 สําหรับสาขาอื่นๆ (ตามข้อ 1.1.4) หรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้ส่งรายละเอียดต่อ คณะกรรมการที่สมาคมฯ แต่งตั้ง 2. คุณสมบัติส่วนบุคคล บุคลิกภาพ และศีลธรรม มีข้อกําหนดคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ 2.1 มีสัญชาติไทย 2.2 อายุไม่ต่ํากว่า 35 ปีบริบูรณ์ 2.3 เป็นสมาชิกสภาวิชาชีพ 2.4 ไม่เคยรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดจําคุก เว้นแต่โทษสําหรับความผิดที่ทําโดย ประมาทหรือความผิดลหุโทษ 2.5 ไม่เคยมีประวัติถูกไล่ออก จากบริษัทเอกชนหรือรัฐวิสาหกิจ หรือราชการ 2.6 ไม่เป็นผู้ที่อยู่ระหว่างถูกสั่งให้พักราชการ ให้พักงาน หรือถูกตรวจสอบจากเหตุร้องเรียน ใด ๆ ณ ขณะยื่นคุณสมบัติ 5

โดย คุณเรืองศักดิ์ สุภาจรรยาวัฒน์

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

13


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

2.7 ไม่เป็นผู้ไร้ความสามารถ เสมือนไร้ความสามารถ หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ 2.8 ยินยอมปฎิบัติตามข้อกําหนดและข้อบังคับสมาคมฯ ว่าด้วยการชี้ขาดข้อพิพาทเกี่ยวกับ การปฎิบัติหน้าที่ในฐานะคณะกรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท 3. ได้รับการอบรมในหลักสูตรซึ่งประกาศโดย วปท. ดังจะแจ้งให้ทราบต่อไป



คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

14


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

4. กลไกและบทบาทของ DAAB6

6

โดย ดร. มาลัย ชมภูกา

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

15


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

16


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

17


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

18


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

19


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

20


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

21


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

22


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

5. ค่าตอบแทนของสมาชิก DAAB รายละเอียดเรื่องค่าตอบแทนสมาชิก DAAB จะต้องระบุไว้ในเงื่อนไขของสัญญา โดยทั่วไปการ ชําระเงินจะกระทําโดยผู้รับจ้างและผู้รับจ้าง คนละครึ่ง โดยการใช้ยอดเงินจากรายการสํารองเผื่อจ่าย (Provisional Sum) ในบั ญ ชี แ สดงปริ ม าณวิ ส ดุ แ ละราคา (Bill of Quantities: BOQ) สํ า หรั บ ค่าตอบแทน และค่าใช้จ่ายที่สมเหตุสมผลตามที่ได้ตกลงร่วมกัน

ข้อเสนอค่าตอบแทนของสมาชิก DAAB เบื้องต้น7

7 โดย ดร.อภิรตั น์ ประทีปอุษานนท์

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

23


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

24


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

 คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

25


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

6. ผลลัพธ์ของการพิจารณาและวินิจฉัย8

8

โดยอาจารย์มงคล วุฒิธนากุล

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

26


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

27


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

28


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

29


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

30


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

31


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

7. อนุญาโตตุลาการ การอนุญาโตตุลาการในข้อพิพาทด้านการก่อสร้างจะมีค่าใช้จ่ายสูง ใช้ระยะเวลานาน และ เป็นเหตุแห่งความบาดหมางของคู่สัญญาในการดําเนินการโครงการให้สัมฤทธิ์ผล นอกจากนี้ยังเป็นข้อ บาดหมางต่อความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ว่าจ้างกับผู้รับจ้างก่อสร้าง เมื่อใดก็ตามที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ จําเป็นที่จะมีการใช้อนุญาโตตุลาการ

การอนุญาโตตุลาการ9 (Arbitration) 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอนุญาโตตุลาการ (1) อนุญาโตตุลาการคืออะไร? อนุญาโตตุลาการ คือ วิธีการระงับข้อพิพาทที่คู่กรณีตกลงกันเสนอข้อพิพาทที่เกิดขึ้นแล้วหรือที่จะ เกิดขึ้นในอนาคตให้บุคคลภายนอกซึ่งเรียกว่า อนุญาโตตุลาการ ทําการพิจารณาชี้ขาด โดยคู่กรณี ผูกพันที่จะปฏิบัติตามคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ (2) อนุญาโตตุลาการมี่ประเภท? อนุญาโตตุลาการ แบ่งได้หลายประเภท ดังนี้ 1) อนุญาโตตุลาการในศาลกับอนุญาโตตุลาการนอกศาล 1.1) อนุญาโตตุลาการในศาล คือ กรณีที่คู่กรณีซึ่งมีคดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลตกลงกันให้ มี อ นุ ญ าโตตุ ล าการชี้ ข าดได้ โดยความเห็ น ชอบของศาล (มาตรา 210-220 และ 222 ประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง) แต่วิธีนี้ไม่เป็นที่นิยมเพราะเมื่อมีคดีขึ้นไปสู่ศาลแล้ว คู่ความมักไม่ ต้องการให้บุคคลอื่นมาช่วยชี้ขาดให้ แต่ต้องการให้ศาลตัดสินคดีนั้นมากกว่า 1.2) อนุญาโตตุลาการนอกศาล คือ กรณีที่คู่กรณีตกลงกันเสนอข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการ พิจารณาชี้ขาด โดยไม่ได้ฟ้องคดีต่อศาล ซึ่งอาจตกลงกันไว้ล่วงหน้าก่อนมีข้อพิพาทหรืออาจตกลงกัน ภายหลังจากทีม่ ีข้อพิพาทแล้วก็ได้ การอนุญาโตตุลาการส่วนใหญ่ในนานาประเทศรวมทั้งประเทศไทยนั้นเป็นการอนุญาโตตุลาการนอก ศาล ซึ่งจะอยูภ่ ายใต้บังคับของ พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 2) อนุญาโตตุลาการเฉพาะกิจกับอนุญาโตตุลาการโดยสถาบัน 2.1) อนุญาโตตุลาการเฉพาะกิจ (Ad Hoc Arbitration) เป็นกรณีที่คู่พิพาทดําเนินการระงับข้อพิพาท ตามวิธีอนุญาโตตุลาการด้วยตนเอง กล่าวคือ โดยตั้งอนุญาโตตุลาการและกําหนดวิธีพิจารณาต่างๆ เอง และให้อนุญาโตตุลาการชี้ขาดข้อพิพาทของตน 9

สุเทพ พงษ์พิทักษ์ https://www.facebook.com/Suthep.Pongpitak/posts/831776466873331

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

32


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

2.2) อนุญาโตตุลาการโดยสถาบัน (Institutional Arbitration) เป็นกรณีที่คู่พิพาทตกลงระงับข้อ พิพาทกันโดยใช้บริการของสถาบันอนุญาโตตุลาการ ซึ่งสถาบันดังกล่าวนี้อาจเป็นสถาบันที่ตั้งขึ้นมา เพื่อให้บริการด้านอนุญาโตตุลาการโดยเฉพาะ สําหรับประเทศไทย เช่น สถาบันอนุญาโตตุลาการของ สํานักงานศาลยุติธรรม สภาอนุญาโตตุลาการของหอการค้าแห่งประเทศไทย ส่วนในต่างประเทศ เช่น สถาบั น อนุ ญ าโตตุ ล าการของสภาหอการค้ า ระหว่ า งประเทศ (International Chamber of Commerce - ICC) สมาคมอนุ ญ าโตตุ ล าการของสหรั ฐ อเมริ ก า (American Arbitration Association - AAA) หรืออาจเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรเฉพาะด้านที่ให้บริการกับสมาชิกและ/หรือผู้ที่ เกี่ยวข้อง สําหรับประเทศไทย เช่น อนุญาโตตุลาการของสํานักงาน ก.ล.ต. อนุญาโตตุลาการของ สมาคมตลาดตราสารหนี้ ไ ทย ส่ ว นในต่ า งประเทศ เช่ น อนุ ญ าโตตุ ล าการของ NASD 3) อนุญาโตตุลาการในประเทศกับอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ 3.1) อนุญาโตตุลาการในประเทศ เป็นกระบวนการระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการในประเทศใด ประเทศหนึ่ง ไม่ว่าคู่กรณีจะมีสัญชาติใด 3.2) อนุญาโตตุลาการต่างประเทศ เป็นกระบวนการระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการที่ดําเนินการ ภายนอกประเทศ ไม่ว่าคู่กรณีจะมีสัญชาติใด (3) ทําไมจึงต้องใช้หรือต้องมีกระบวนการอนุญาโตตุลาการ? สาเหตุที่ต้องมีหรือใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการก็เนื่องมาจากเหตุผล ดังต่อไปนี้ 1) ความรวดเร็ว เนื่องจากการฟ้องคดีต่อศาลนั้นมีขั้นตอนมากและคู่ความยังสามารถอุท ธรณ์ ฎีกาต่อไปได้ทําให้ เสียเวลามาก แต่กระบวนการอนุญาโตตุลาการจะสิ้นสุดรวดเร็วและไม่มีขั้นตอนยุ่งยาก 2) ความยุ่งยากและสลับซับซ้อนของคดี เนื่องจากโดยปกติผู้ที่เป็นอนุญาโตตุลาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอนุญาโตตุลาการที่คู่กรณีเลือกมักจะ เป็ น ผู้ ที่ มี ค วามรู้ มี ค วามเชี่ ย วชาญในเรื่ อ งที่ พิ พ าทเป็ น อย่ า งดี ทํ าให้ เ ข้ า ใจเรื่ อ งที่ พิ พ าทและ พยานหลักฐานต่างๆได้รวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้การชี้ขาดข้อพิพาททําได้รวดเร็วและยุติธรรม ในขณะที่ถ้า เป็ น การดํ า เนิ นคดี ใ นศาลคู่ ค วามไม่ ส ามารถเลื อ กผู้ พิ พ ากษาที่ มีค วามเชี่ ย วชาญในเรื่ อ งนั้ น ๆมา พิจารณาคดีให้ตนได้ ซึ่งก็ต้องมีการใช้พยานผู้เชี่ยวชาญมาเบิกความ ทําให้การพิจารณาคดีเป็นไป อย่างยากลําบากและล่าช้า และอาจมีปัญหาในการรับฟังพยานหลักฐาน เพราะต้องขึ้นอยู่กับว่าพยาน ผู้เชี่ยวชาญเบิกความอธิบายได้ชัดเจนถูกต้องมากน้อยเพียงใด 3) การรักษาชื่อเสียงและความลับ เนื่ อ งจากหลั ก การพิ จ ารณาคดี ข องศาลต้ อ งทํ า โดยเปิ ด เผย ประชาชนทั่ ว ไปสามารถเข้ า ฟั ง การ พิจารณาของศาลได้ สื่อมวลชนก็อาจรับฟังและนําเสนอข่าวได้ง่าย ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อภาพพจน์ทาง ธุรกิจและการรักษาความลับของคู่กรณี เว้นแต่ว่าจะมีการพิจารณาคดีเป็นการลับ ซึ่งก็จะมีเป็นบาง คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย 33


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คดีเท่านั้น แต่หลักการดําเนินกระบวนพิจารณาของการอนุญาโตตุลาการนั้นกระทําเป็นความลับ เฉพาะคู่ ก รณีแ ละผู้ ที่ เกี่ยวข้ องเท่า นั้ นที่มีสิ ท ธิ เข้ าร่ วมการพิจ ารณา บุ ค คลภายนอกไม่ มีโอกาสรู้ ข้อเท็จจริงโดยตรง จึงไม่รู้ว่าคู่กรณีมีข้อพิพาทกันหรือไม่ หรือมีกันอย่างไร จึงเป็นการรักษาชื่อเสียง ของคู่พิพาทและความลับทางธุรกิจของคู่กรณีได้เป็นอย่างดี 4) การรักษาความสัมพันธ์ระหว่างคู่พิพาท เนื่องจากแนวทางการพิจารณาคดีของศาลนั้นเป็นการต่อสู้คดีกัน ทําให้คู่กรณีมีความรู้สึกเป็นศัตรูกัน อีกทั้งยังใช้เวลาต่อสู้กันยาวนาน เพราะคดีสามารถอุทธรณ์ ฎีกาต่อไปได้ ซึ่งส่งผลเสียต่อความสัมพันธ์ ทางธุรกิจ แต่กระบวนการอนุญาโตตุลาการนั้นเป็นการระงับข้อพิพาทที่เปิดโอกาสให้คู่กรณีพบปะ เจรจาปัญหาที่พิพาทกันโดยตรง บรรยากาศในการพิจารณามีลักษณะเป็นกันเอง ไม่เคร่งเครียด อีก ทั้งไม่มีระบบที่ให้คู่กรณีโต้แย้งเอาแพ้ชนะกัน จึงสามารถรักษาความสัมพันธ์ระหว่างคู่พิพาทซึ่งอยู่ใน วงการธุรกิจ ที่ส่วนใหญ่จะต้องคบค้าและประกอบธุรกิจกันต่อไปอีกในอนาคต (4) กฎหมายอนุญาโตตุลาการกับกระบวนการอนุญาโตตุลาการของสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย ในการดํ า เนิ น กระบวนการอนุ ญ าโตตุ ล าการของสมาคมนั้ น จะต้ อ งนํ า กฎหมายว่ า ด้ ว ย อนุญาโตตุลาการ ซึ่งได้แก่พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 มาใช้ด้วย ทั้งนี้ เป็นไปตาม ประกาศคณะกรรมการสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย เรื่อง การอนุญาโตตุลาการ ข้อ 2 2. ขั้นตอนการดําเนินกระบวนพิจารณาโดยวิธีอนุญาโตตุลาการของสมาคม (1) ผู้มีสิทธิเสนอคําร้อง ได้แก่ สมาชิกสมาคมและคู่พิพาทกับสมาชิก (2) ข้อพิพาทที่สามารถเข้าสู่กระบวนการอนุญาโตตุลาการ ต้องเป็นข้อพิพาทที่เกิดจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการซื้อขายตราสารหนี้ระหว่างสมาชิก หรือสมาชิกกับ ลูกค้า (3) วิธีการเสนอข้อพิพาท ให้ยื่นคําร้องเสนอข้อพิพาท (Statement of Claim) ต่อสมาคมตามแบบที่สมาคมกําหนด (3.1) ในกรณีที่คําร้องไม่ครบถ้วนหรือไม่ชัดเจน สมาคมจะแจ้งให้ผู้ร้องแก้ไขให้เรียบร้อยภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับหรือควรได้รับการแจ้งจากสมาคม (3.2) ในกรณีที่คําร้องถูกต้องครบถ้วน สมาคมจะส่งสําเนาคําร้องพร้อมเอกสารหลักฐานต่างๆ ไปยัง คู่พิพาทอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อให้ยื่นคําคัดค้าน (Statement of Defence) ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับ สําเนาคําร้องเสนอข้อพิพาท คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย 34


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

(4) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (Mediation) ในกรณีที่มีคู่พิพาทฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งประสงค์จะให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการคนใด คนหนึ่งของสมาคม ก่อนเข้ากระบวนการอนุญาโตตุลาการ สมาคมจะมีหนังสือแจ้งให้คู่พิพาทอีกฝ่าย ทราบเพื่อให้ตอบรับภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากสมาคม - หากคู่พิพาทไม่ตอบรับภายในเวลาที่กําหนด สมาคมจะดําเนินกระบวนการอนุญาโตตุลาการต่อไป - หากตอบรับกลับมาแล้วดําเนินการไกล่เกลี่ยสําเร็จให้ทําสัญญาประนีประนอมยอมความและให้ คู่พิพาทลงลายมือชื่อในสัญญาดังกล่าว แต่ถ้าไกล่เกลี่ยไม่สําเร็จก็ให้นําเรื่องกลับเข้าสู่กระบวนการ อนุญาโตตุลาการต่อไป (5) การแต่งตั้งและคัดค้านอนุญาโตตุลาการ (5.1) การแต่งตั้งอนุญาโตตุลาการ (Appointment of arbitrator) ให้มีอนุญาโตตุลาการ 3 คนเป็นผู้ชี้ขาด ประกอบด้วย บุคคลที่คณะกรรมการสมาคมเลือกจากบัญชี รายชื่ออนุญาโตตุลาการของสมาคมทําหน้าที่เป็นประธาน จํานวน 1 คน และบุคคลซึ่งคู่พิพาทแต่งตั้ง อีกฝ่ายละ 1 คน ซึ่งจะมาจากบัญชีรายชื่ออนุญาโตตุลาการของสมาคมหรือไม่ก็ได้ (5.2) การคัดค้านอนุญาโตตุลาการ (Challenge of arbitrator) คู่พิพาทอาจยื่นหนังสือคัดค้านการตั้งอนุญาโตตุลาการได้ ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยในความเป็น อิสระหรือความเป็นกลาง ภายใน 15 วันนับแต่รู้หรือควรรูถ้ ึงเหตุนั้น แต่ต้องก่อนวันที่ อนุญาโตตุลาการสั่งปิดการพิจารณา (6) การพิจารณา คณะอนุ ญ าโตตุ ล าการต้ อ งทํ า คํ า ชี้ ข าด (Award) ให้ เ สร็ จ ภายใน 180 วั น นั บ แต่ วั น ที่ แ ต่ ง ตั้ ง อนุญาโตตุลาการคนสุดท้าย เว้นแต่คู่พิพาทจะตกลงกันเป็นอย่างอื่น (7) ค่าตอบแทนและค่าใช้จ่าย ให้คู่พิพาทชําระ ดังนี้ (7.1) ค่าธรรมเนียม ในอัตรา 1% ของทุนทรัพย์ที่เรียกร้อง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท (7.2) ค่าตอบแทนอนุญาโตตุลาการ ใช้อัตราผันแปรตามทุนทรัพย์ที่เรียกร้อง ดังนี้ ไม่เกิน 500,000 บาท อัตรา 2.5% แต่ไม่ต่ํากว่า 10,000 บาท 500,001 บาท – 1,000,000 บาท อัตรา 2.0% แต่ไม่ต่ํากว่า 12,500บาท 1,000,001 บาท – 5,000,000 บาท อัตรา 1.5% แต่ไม่ต่ํากว่า 20,000 บาท 5,000,001 บาท – 10,000,000 บาท อัตรา 1.0% แต่ไม่ต่ํากว่า 75,000 บาท 10,000,001 บาท – 50,000,000 บาท อัตรา 0.5% แต่ไม่ต่ํากว่า 100,000 บาท คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

35


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

มากกว่า 50,000, 000 บาท อัตรา 250,000 บาท อนึ่งในการคํานวณ ถ้าคํานวณได้เป็นเศษให้ปัดเศษขึ้นจนเต็มจํานวน (8) การวางเงินประกัน ให้คู่พิพาทวางเงินประกันค่าธรรมเนียมและค่าตอบแทนอนุญาโตตุลาการตามจํานวนที่คณะกรรมการ สมาคมกํ า หนด ภายใน 15 วั น นั บ แต่ ส มาคมแต่ ง ตั้ ง ประธานคณะอนุ ญ าโตตุ ล าการ ทั้ ง นี้ คณะ อนุญาโตตุลาการอาจเรียกให้คู่พิพาทวางเงินประกันเพิ่มเติมได้ตามที่เห็นสมควร (9) การขอยุติกระบวนการอนุญาโตตุลาการ ไม่ว่าเวลาใดๆนับแต่วันเสนอข้อพิพาทจนถึงก่อนคณะอนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาด คู่พิพาทฝ่ายใดฝ่าย หนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายร่วมกัน อาจยื่นคําร้องขอให้ยุติกระบวนการอนุญาโตตุลาการได้ โดยผู้ยื่นคําร้องมี หน้าที่ชําระค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น หรือในกรณีที่คู่พิพาทร่วมกันคําร้องให้กําหนดผู้ที่มี หน้าที่ชําระค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายมาด้วย



คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

36


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

บรรณานุกรม  ชํานําญ พิเชษฐพันธ์ และ คณะ, การบริหาร สัญญาจ้างที่ปรึกษางานก่อสร้าง (MANAGING CONSTRUCTION CONTRACT AGREEMENT), กรุงเทพ: เฟิสท์ ออฟเซท (2559)  ชํานําญ พิเชษฐพันธ์ และ คณะ, การบริหารข้อเรียกร้องและข้อพิพาทในโครงการก่อสร้าง (CONSTRUCTION CLAIM & DISPUTE MANAGEMENT), กรุงเทพ: เฟิสท์ ออฟเซท (2560)  Brian Totterdill: FIDIC Users Guide: Thomas Telford 2001  DRBF: Construction Dispute Review Board Manual: McGraw Hill 1996  Gwyn Owen: Introduction to Fidic Dispute Adjudication Board Provisions, Conditions of Contract For Construction, FIDIC 1999. June 2003  FIDIC: Conditions of Contract for Construction 1999 Edition  FIDIC: General Conditions of Contract of the Multilateral Development Bank Harmonized Edition (MDB Harmonized Edition)  FIDIC: The FIDIC Contracts Guide: 2000  Gwyn Owen: Introduction to Fidic Dispute Adjudication Board Provisions, Conditions of Contract for Construction, FIDIC 1999. June 2003  Japan International Cooperation Agency: Dispute Board Manual, Version 1.0, JICA March 2012



คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

37


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

ภาคผนวก 1 ภาคผนวก 1.1 ทีม่ าของข้อพิพาท และแนวทางระงับในอดีตถึงปัจจุบัน โดย อาจารย์ชํานาญ พิเชษฐพันธ์

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

38


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

39


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

40


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

41


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

42


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

43


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

44


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

45


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

46


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

47


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

48


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

ภาคผนวก 1.2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพืพาท โดย คุณวณิธชนันท์ วิจักขณ์สังสิทธิ์

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

49


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

50


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

51


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

52


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

53


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

54


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

ภาคผนวก 1.3 แนวคิดและจุดเด่นของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพืพาท โดยอาจารย์มงคล วุฒิธนากุล

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

55


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

56


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

57


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

58


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

59


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

60


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

61


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

ภาคผนวก 1.4 ทางเลือกของการระงับข้อพิพาท มาตรฐานระดับสากล โดยคุณสาคร เครือใหม่

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

62


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

63


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

64


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

65


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

66


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

67


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

ภาคผนวก 2 เงือ่ นไขของสัญญา FIDIC ว่าด้วยการเรียกร้อง ข้อพิพาท และอนุญาโตตุลาการ10 20. 20.1

การเรียกร้อง ข้อพิพาท และอนุญาโตตุลาการ (Claims, Disputes and Abitration) การเรียกร้องของผู้รับจ้าง (Contractor’s Claims) หากผู้รับจ้างมีความเห็นว่า อาจจะขอขยายต่อเวลาการก่อสร้างและหรือเพิ่มค่าจ้างก่อสร้าง ภายใต้สัญญานี้ ผู้รับจ้างต้องมีหนังสือด่วนที่สุดแจ้งผู้ว่าจ้างในเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อการ เรียกร้องค่าชดเชยภายในเวลาไม่มากกว่า 28 วัน นับแต่วันที่ผู้รับจ้างรู้เหตุหรือควรจะรู้เหตุ ของสถานการณ์นั้น หากผู้รับจ้างบกพร่องไม่แจ้งการเรียกร้องค่าชดเชยในช่วงเวลาดังกล่าว ก็จะไม่มีสิทธิ์ขยาย ระยะเวลาก่อสร้างออกไปและไม่อาจขอค่าชดเชยเพิ่มได้ และผู้ว่าจ้างจะตัดขาดไม่รับผิด การชดเชยค่าใช้จ่าย เว้นแต่เรื่องต่อนี้ของข้อย่อย 20.1 จะนํามาบังคับใช้ ผู้รับจ้างจะต้องแจ้งเป็นหนังสืออื่นตามที่ระบุไว้ในสัญญาและหลักฐานในการเรียกร้อง ค่าชดเชย ทั้งหมดนี้จะต้องมีส่วนเกี่ยวกับสถานการณ์ ผู้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งเก็ บรั ก ษาบั น ทึ ก ประวั ติ เ หตุ ก ารณ์ ซึ่ ง มี ส่ ว นสํ า คั ญ และจํ า เป็ น เพื่ อ การ เรียกร้องค่าชดเชยจากเหตุการณ์ที่เกิดอยู่ในพื้นที่โครงการหรือที่อื่น ซึ่งผู้ว่าจ้างยอมรับว่า เป็นจริง ปราศจากการรับผิดของผู้ว่าจ้าง ภายหลังที่ผู้ว่าจ้างได้รับหนังสือแจ้งภายใต้หัวข้อ 20.1 นี้ เฝ้าติดตามการเก็บรักษาบันทึกประวัติและสั่งให้ผู้รับจ้าง เก็บบันทึกประวัติเพิ่มเติม แต่ผู้รับจ้างต้องยินยอมให้ผู้ว่าจ้างเข้าตรวจสอบบันทึกประวัติได้และอาจส่งสําเนาบันทึก ประวัตินี้ให้แก่ผู้ว่าจ้าง

10

FIDIC® Conditions of Contract for Construction: for Building and Engineering Works 1999

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

68


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

ภายในเวลา 42 วัน ผู้รับจ้างเริ่มตระหนัก (หรือได้ตระหนักแล้ว) กับการเกิดเหตุการณ์หรือ สถานการณ์นี้ในการเรียกร้องค่าชดเชย หรือภายในระยะเวลาอื่น ผู้รับจ้างอาจจะนําเสนอ และได้รับการเห็นชอบจากผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างจะส่งรายละเอียดพร้อมหลักฐานการเรียกร้องการชดเชยให้ผู้ว่าจ้างในการขยาย เวลาก่อสร้างและค่าชดเชยเพิ่มเติม หากเหตุการณ์หรือสถานการณ์การเรียกร้องนี้เกิดขึ้น อย่างต่อเนื่องต่อไป (ก) รายละเอียดการเรียกค่าชดเชยค่าจ้างนี้ จะถูกพิจารณาการจ่ายค่าจ้างงวด (ข) ผู้รับจ้างยังคงส่งค่าชดเชยค่าจ้างเพิ่มทบต้นทุกเดือนและระยะขยายเวลาเพิ่มทบต้นทุก เดือน ตามที่ผู้ว่าจ้างเรียกขอ (ค) ผู้รับจ้างต้องส่งหนังสือฉบับสุดท้ายในการเรียกร้องการชดเชย ภายใน 28 วัน หลังจาก เหตุการณ์หรือสถานการณ์สิ้นสุดลง หรือภายในระยะเวลาช่วงอื่นที่ผู้รับจ้างเสนอและ ผู้ว่าจ้างเห็นชอบในการดําเนินการดังกล่าวข้างต้น ภายใน 42 วัน ภายหลังได้รับการเรียกร้องค่าชดเชยหรือได้รับหลักฐานเพิ่มเติมสนับสนุน การเรียกร้องค่าชดเชยที่ผ่านมา หรือภายในระยะเวลาอื่นซึ่งผู้ว่าจ้างนําเสนอและได้รับ ความเห็นชอบจากผู้รับจ้าง ผู้ว่าจ้างจะอนุมัติหรือไม่อนุมัติพร้อมด้วยข้อคิดเห็น ผู้ว่าจ้าง อาจจะเรียกร้องหลักฐานเพิ่ม หนังสือรับรองการจ่ายงวดค่าจ้างแต่ละฉบับจะต้องรวมรายการการเรียกร้องค่าชดเชยที่ ค้างจ่าย ซึ่งเกิดขึ้นอย่างมีนัยแห่งเหตุผลตามสัญญา เว้นแต่จนกว่าหลักฐานที่ประกอบการ เบิกมีความเพียงพอต่อการชดเชย ผู้รับจ้างมีสิทธิ์ขอเรียกร้องค่าชดเชยงานส่วนนั้น ผู้ว่าจ้างจะดําเนินการตามข้อย่อย 3.5 (Determinations) เพื่อตกลงหรือกําหนด (i) การ ต่ ออายุ (ถ้า มี ) ของระยะเวลาที่ เสร็จ สิ้น (ก่อ นหรื อหลั ง หมดอายุ ) ตามข้อ ย่อยข้ อ 8.4 (Extension of Time for Completion) และ/หรือ (ii) การชําระเงินเพิ่มเติม (ถ้ามี) ซึ่ง ผู้รับจ้างมีสิทธิตามสัญญา ข้อกําหนดของข้อย่อยนอกเหนือจากข้อย่อยอื่น ๆ ที่อาจใช้กับการเรียกร้อง หากผู้รับจ้าง ไม่ปฏิบัติตามข้อกําหนดนี้หรือข้อย่อยอื่นที่เกี่ยวกับการเรียกร้องใด ๆ การต่อเวลาและ/ หรือการชําระเงินเพิ่มเติมใด ๆ จะคํานึงถึงขอบเขต (ถ้ามี) ซึ่งความล้มเหลวได้ป้องกันหรือมี อคติในการตรวจสอบ ยกเว้นกรณีที่ข้อเรียกร้องดังกล่าวได้รับการยกเว้นตามวรรคสองของ ข้อย่อยนี้ คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย 69


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

20.2

การแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย ข้ อ พิ พ าท: คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย (DAAB) (Appointment of the Dispute Adjudication Board, DAAB) ข้อ พิพ าททั้ งปวงต้ องตัด สินโดย คณะกรรมการวินิจ ฉั ย ตามข้อ ย่อ ย 20.4 (Obtaining Dispute Adjudication Board Decision) คู่กรณีต้องแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยภายใน 28 วันภายหลังฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดได้แจ้งเป็นหนังสือให้อีกฝ่ายหนึ่งตามข้อย่อย 20.4 คณะกรรมการวินิจฉัย จะประกอบด้วยบุคคลตามเอกสารแนบผนวกในเอกสารประกวด ราคา จํานวน 1 คน หรือ 3 คน จากบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม (กรรมการ) หากจํานวน กรรมการไม่ได้ระบุไว้หรือคู่กรณีไม่เห็นด้วย ก็ให้คณะกรรมการวินิจฉัย มีกรรมการ 3 คน ถ้าคณะกรรมการวินิจฉัย มีกรรมการ 3 คน ให้คู่กรณีแต่ละฝ่ายเสนอกรรมการฝ่ายละคน โดยความเห็นชอบของคู่กรณี คู่กรณีจะปรึกษากับกรรมการทั้ง 2 นี้ และแต่งตั้งกรรมการ คนที่ 3 ให้เป็นประธานคณะกรรมการวินิจฉัย อย่างไรก็ดี ถ้ารายชื่อกรรมการมีการระบุไว้ในสัญญา กรรมการ 3 คน ของคณะกรรมการ วินิจฉัยต้องคัดเลือก และแต่งตั้งจากบัญชีรายชื่อนี้ เว้นแต่กรรมการนั้นไม่สามารถหรือไม่ เต็มใจที่จะรับการแต่งตั้งเป็นกรรมมการคณะกรรมการวินิจฉัย ข้อตกลงของคู่กรณีหรืออย่างหนึ่งอย่างใดของกรรมการทั้งหมดหรืออย่างหนึ่งอย่างใดของ กรรมการแต่ละคน ต้องกระทําตามข้อกําหนดของเงื่อนไขข้อตกลงทั่วไปของข้อพิพาท ตามที่ระบุไว้ในเอกสารภาคผนวกและได้มีการแก้ไขตามความเห็นชอบของทั้ง 2 ฝ่ายแล้ว ข้ อ ตกลงเรื่ อ งค่ า ตอบแทนของคณะกรรมการและตั ว กรรมการแต่ ล ะคน และให้ ร วม ค่ าตอบแทนของผู้ เชี่ยวชาญผู้ใ ห้ คําปรึ กษาต่ อคณะกรรมการวิ นิจฉั ย กรณี ต้องมีค วาม เห็นชอบพร้อมกัน ณ เวลาที่มีการแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัย คู่กรณีต้องจ่ายค่าตอบแทน คนละครึ่ง ทุกเวลาตามที่คู่กรณีได้ตกลงกันไว้ คู่กรณีอาจจะขอความเห็นรวมในเรื่องพิพาท คู่กรณี ไม่ อาจขอคําปรึกษาจากคณะกรรมการวินิจฉัยในเรื่องใด ๆ โดยไม่ได้รับความเห็นชอบจาก คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

70


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

ทุกเวลาตามที่คู่กรณีได้ตกลงกันไว้ คู่กรณีอาจแต่งตั้งบุคคลที่มีความเหมาะสมหรือเปลี่ยน บุคคล (หรือตําแหน่งที่ว่างลง) แทนกรรมการคณะกรรมการวินิจฉัย เว้นแต่ได้ตกลงเป็นอื่น การแต่งตั้งจะมีผลการปฏิบัติหน้าที่ หากว่ากรรมการทํางานหย่อนสมรรถภาพ (แก่) หรือ เกิดตาย พิการ ลาออกหรือเมื่อหมดหน้าที่ การแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัย คนใหม่ให้ เป็นไปตามระเบียบเดิมโดยแต่งตั้งจากบุคคลที่ได้คัดสรรตามที่ทั้ง 2 ฝ่ายตกลงยินยอมตาม หัวข้อย่อย 20.2 นี้ การแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยใหม่แทนคณะกรรมการวินิจฉัยที่ถูกถอดถอนโดยการ เห็นชอบทั้ง 2 ฝ่ายเท่านั้น ไม่ใช่เป็นฝ่ายกระทําของฝ่ายผู้ว่าจ้างหรือผู้รับจ้าง การแต่งตั้ง คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย ใหม่ แ ทนคณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย ที่ กํ า ลั ง จะหมดวาระ จะให้ คณะกรรมการวินิจฉัยผู้ครบวาระได้ให้คําวินิฉัยเสียก่อนตามข้อย่อย 20.4 (Obtaining Dispute Adjudication Board’s Decision) เว้ น แต่ ข้ อ พิ พ าทอื่ น ได้ อ้ า งถึ ง กรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัย ในขณะนั้นตามข้อย่อย 20.4 ซึ่งข้อพิพาทนั้นได้กําหนดวันที่ ให้ กรรมการคณะกรรมการวินิจฉัยผู้นั้นต้องให้คําวินิจฉัยนั้นด้วยต่อข้อพิพาทเหล่านี้ 20.3

การไม่ปฏิบัติตามคําวินิฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัย (Failure to Agree DAAB) เงื่อนไขดังต่อไปนี้จะมีผลการบังคับใช้ (ก) คู่กรณีไม่ตกลงในการแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัย ตามวันที่ระบุไว้ในวรรคแรกของ ข้อย่อย 20.2 (ข) คู่ ก รณี ใ ดไม่ เ สนอชื่ อกรรมการคณะกรรมการวิ นิ จฉั ย (เพื่ อ การแต่ ง ตั้ ง) ตามวันที่ กําหนดไว้ (ค) คู่กรณีไม่ตกลงเห็นชอบการแต่งตั้งกรรมการคนที่ 3 (ประธานกรรมการ ตามวันที่ระบุ ไว้ (ง) คู่ ก รณี ไ ม่ ต กลงเห็ น ชอบในการแต่ ง ตั้ ง กรรมการคณะกรรมการวิ นิจ ฉั ย หรื อ แทน กรรมการที่ว่างลงภายใน 42 วัน นับแต่วันที่คณะกรรมการ 3 คน หรือกรรมการที่ หย่อนสมรรถภาพการทํางาน ตาย พิการ ลาออก หรือยกเลิกการแต่งตั้ง ดังนั้นการแต่งบุคคลหรือที่มีนามระบุไว้ในเอกสารแนบผนวกในเอกสารประกวดราคา ตาม การร้องขอคู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด หรือทั้ง 2 ฝ่าย ในการแต่งตั้งเป็นกรรมการคณะกรรมการ วินิจฉัย การแต่งตั้งครั้งนี้จะเป็นผลสรุปครั้งสุดท้าย คู่กรณีทั้งคู่ต้องจ่ายค่าตอบแทนกันคน ละครึ่งในการแต่งตั้งกรรมการบุคคล หรือกรรมการจากบัญชีรายชื่อ

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

71


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

20.4

การรับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัย (Obtaining DAAB’s Decision) หากข้อพิพาทใด ๆ เกิดขึ้นระหว่างคู่กรณีจากข้อสัญญา หรือจากการปฏิบัติงาน รวมถึงข้อ พิพาทจากการรับรองใด ๆ การวินิจฉัย คําสั่ง ความเห็น หรือการประเมินของผู้ว่าจ้ าง คู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด อาจอ้างถึงข้อพิพาทเป็นหนังสือส่งถึงคณะกรรมการวินิจฉัยเพื่อกา รวินิฉัย พร้อมสําเนาถึงผู้ว่าจ้างและคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง การดําเนินการดังกล่าวให้ระบุอ้าง ถึงตามข้อย่อย 20.4 นี้ สําหรับคณะกรรมการวินิจฉัย มีคณะกรรมการ 3 คน คณะกรรมการวินิจฉัยเสมือนหนึ่ง ได้รับการฟ้องร้อง ณ วันที่ประธานคณะกรรมการวินิจฉัยได้รับเรื่องการฟ้องร้องนั้น คู่ ก รณี ต้องจัดหาข้อ มูล เอกสารส่ งให้ค ณะกรรมการวิ นิจฉัย ทันที และเข้าตรวจสอบใน สถานที่โครงการและต้องอํานวยความสะดวกตามความเหมาะสมตามที่คณะกรรมการ วินิจฉัยร้องขอ เพื่อวัตถุประสงค์ในการตัดสินคําวินิจฉัยข้อพิพาท คณะกรรมการวินิจฉัยจะ ไม่กระทําตนเสมือนหนึ่งว่าเป็น อนุญาโตตุลาการ (Arbitrator) ภายในเวลา 84 วัน นับแต่วันได้รับคําฟ้องหรือภายในระยะเวลาอื่นตามที่คณะกรรมการ วินิจฉัยจะเห็นชอบตามคู่กรณี คณะกรรมการวินิจฉัยจะตัดสินคําวินิจฉัยอย่างมีเหตุผลและ ต้องระบุได้ให้คําวินิจฉัย ตามข้อย่อยนี้ 20.4 นี้ คําวินิจฉัยจะมีผลผูกพันธ์คู่กรณีทันที เว้น แต่จะมีการประนีประนอมจนได้ข้อยุติ หรือมีคําตัดสินเป็นหนังสือตามข้างล่างนี้ หรือมีการ ยกเลิกสัญญา หรือการไม่ยอมรับคําวินิจฉัย ผู้รับจ้างยังรับผิดชอบก่อสร้างต่อไปตามสัญญา หากคู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่ยอมรับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัย ภายใน 28 วัน ภายหลังได้รับคําวินิจฉัย คู่กรณีจะมีหนังสือแจ้งให้คู่สัญญาอีกฝ่ายว่าไม่ยอมรับคําวินิจฉัย หากคณะกรรมการวินิจฉัย ไม่มีคําวินิจฉัยภายใน 84 วัน (หรือตามจะตกลงกันเป็นอื่น) ภายหลังได้รับคําฟ้อง กรณีนี้ภายใน 28 วันของการให้คําวินิจฉัย ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดของ คู่กรณีจะมีหนังสือแจ้งให้อีกฝ่ายหนึ่งว่าไม่ยอมรับคําวินิจฉัย

ในเหตุการณ์หนึ่งเหตุการณ์ใด หนังสือการไม่ยอมรับคําวินิจฉัยต้องอ้างถึงข้อย่อย 20.4 นี้ และจะตั้ ง เรื่ อ งพิ พ าท เรื่ อ งการไม่ ย อมรั บ คํ า วิ นิ จ ฉั ย เว้ น แต่ จ ะได้ ร ะบุ ไ ว้ ข้ อ ย่ อ ย 20.7 (Failure to Comply with Dispute Adjudication Board’s Decision) และข้ อ ย่ อ ย 20.8 (Expire of Dispute Adjudication Board’s Appointment) ไม่ว่าฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย 72


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

มีสิทธิ์ดําเนินการทางอนุญาโตตุลาการ เว้นแต่ต้องมีหนังสือการไม่ยอมรับคําวินิจฉัยตามข้อ ย่อย 20.4 นี้ หากคณะกรรมการวินิจฉัยได้มีคําวินิจฉัยข้อพิพาทให้แก่คู่กรณี แต่ไม่มีหนังสือแจ้งการไม่ ยอมรับคําวินิจฉัยจากคู่กรณีภายใน 28 วัน หลังจากได้รับคําวินิจฉัย ดังนั้นคําวินิจฉัยจะ เป็นข้อยุติและข้อผูกพันต่อคู่กรณี 20.5

ข้อยุติการประนีประนอม (Amicable Settlement) เมื่อใดที่มีหนังสือไม่ยอมรับคําวินิจฉัยตามข้อย่อย 20.4 คู่กรณีต้องพยายามให้มีข้อยุติข้อ พิพาทด้วยการเจรจาประนีประนอมก่อนจะมีการฟ้องร้องทางอนุญาโตตุลาการ แต่อย่างไร ก็ ดี เว้น แต่ คู่ก รณียิ นยอม มิ ฉ ะนั้น การฟ้ องร้อ งทางอนุญาโตตุ ล าการจะดําเนิ น การได้ ภายหลัง 56 วัน หลังจากมีหนังสือไม่ยอมรับคําวินิจฉัย ถึงแม้ว่าจะไม่มีการพยายามที่จะหา ข้อยุติด้วยการเจรจาประนีประนอม

20.6

อนุญาโตตุลาการ (Arbitration) ข้อพิพาทใด ๆ ที่มีคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัย ยังไม่มีข้อยุติและข้อผูกพันโดยจะมี การหาข้อยุติด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการสากล (ก) ข้อพิพาทจะสรุปข้อยุติด้วยวิธีการอนุญาโตตุลาการตามระบบหอการค้าสากล (ข) ข้อพิพาทจะยุติด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการแบบ 3 คน ซึ่งการแต่งตั้งตามข้อบังคับเหล่านี้ และ (ค) การอนุญาโตตุลาการ จะดําเนินการโดยใช้ภาษาตามที่ระบุไว้ข้อย่อย 1.4 (Law and Language) ตุลาการต้องมีอํานาจในการเริ่มต้น ตรวจทานและแก้ไข หนังสือรับรองใด ๆ การพิจารณา วินิจฉัย คําสั่ง ความเห็น หรือการประเมินของผู้ว่าจ้าง ถ้าการวินิจฉัยของคณะกรรมการ วินิจฉัย ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับข้อพิพาท จะไม่มีการกีดกันผู้ว่าจ้างเมื่อถูกเรียกให้เป็นพยาน และให้หลักฐานก่อนมีการพิจารณาอนุญาโตตุลาการในเรื่องใด ๆ อันเกี่ยวเรื่องข้อพิพาท ไม่ว่าคู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดมีข้อจํากัดในการดําเนินการอนุญาโตตุลาการ เพื่อเป็นหลักฐาน ข้อโต้แย้ง ก่อนมีคณะกรรมการวินิจฉัย เพื่อประกอบพิจารณาคําวินิจฉัย หรือการไม่ยอมรับ ในหนังสือไม่ยอมรับคําวินิจฉัย คําวินิจฉัยใด ๆ ของคณะกรรมการวินิจฉัย จะกลายเป็น หลักฐานในขบวนการอนุญาโตตุลาการ

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

73


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

ขบวนการอนุญาโตตุลาการอาจจะดําเนินการก่อนหรือหลังงานก่อสร้างแล้วเสร็จ พันธะ ของคู่กรณี ผู้ว่าจ้าง และคณะกรรมการวินิจฉัย จะต้องไม่เปลี่ยนแปรด้วยเหตุผลในระหว่าง ขบวนการอนุญาโตตุลาการ 20.7

การไม่ ปฏิบัติตามคํ าวินิ จฉั ยของคณะกรรมการวินิจฉัย (Failure to Comply with DAAB’s Decision) ในเหตุผลดังต่อไปนี้ (ก) ไม่ว่าคู่กรณีใดได้มีหนังสือ ไม่ยอมรับคําวินิจฉัย ภายในระยะเวลาที่ระบุไว้ในข้อย่อย 20.4 (Obtaining Dispute DAAB’s Decision) (ข) เรื่องสืบเนื่องซึ่งยุติแล้วกับผลของคณะกรรมการวินิจฉัยแล้ว และ (ค) คู่สัญญาไม่ปฏิบัติตามคําวินิจฉัย ดังนั้น คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง โดยไม่กระทบกับสิทธิ์กับคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง หากไม่ปฏิบัติต่อการ อนุ ญ าโตตุ ล าภายใต้ ข้ อ ย่ อ ย 20.6 (Arbitration) ข้ อ ย่ อ ย 20.4 (Obtaining Dispute Adjudication Board’s Decision) และข้อย่อย 20.5 (Amicable Settlement) จะไม่ใช้ บังคับกับการอ้างอิงนี้

20.8

การหมดอายุ ก ารแต่ ง ตั้ ง กรรมการคณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย (Expiry of DAAB’s Appointment) หากการพิพาทเกิดขึ้นระหว่างคู่กรณีซึ่งเกี่ยวข้องกับสัญญาจ้างหรือเกิดจากงานก่อสร้าง และไม่ มี ค ณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย ไม่ ว่ า จะเป็ น เหตุ ผ ลจากการหมดอายุ ข องการแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการวินิจฉัย หรือยกเว้น (ก) ข้ อ ย่ อ ย 20.4 (Obtaining DAAB’s Decision) และข้ อ ย่ อ ย 20.5 (Amicable Settlement) จะไม่นํามาบังคับใช้และ (ข) การพิพาทอาจจะเป็นผลทางตรงในการฟ้องร้องอนุญาโตตุลาการ ตามข้อย่อย 20.6 (Arbitration)



คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

74


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

ภาคผนวก 3 ศัพท์นิยาม (Definitions) 1.

FIDIC หมายถึ ง สมาพั น ธ์ ผู้ ว่ า จ้ า งที่ ป รึ ก ษาสากล (Federation International des Ingenieur Conseil หรือ The International Federation of Counselling)

2.

JICA หมายถึง องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (Japan International Cooperation Agency)

3.

คณะกรรมการป้องกันและวินิจฉัยข้อพิพาท (กปพ): คณะกรรมการวินิจฉัย: (Dispute Avoidance/ Adjudication Board: DAAB, Dispute Adjudication Board: DAAB or DB) หมายถึงบุคคลหนึ่งหรือบุคคล 3 หรือ 5 คน (จํานวนเลขคี่) ซึ่งระบุอยู่ในเงื่อนไขของ สัญญา FIDIC ตามข้อย่อย 20.2 (การแต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัย: DAAB) หรือข้อย่อย 20.3 (Failure to Agree DAAB)

4.

สัญญา (Contract) หมายถึงสัญญาข้อตกลง (Contract Agreement) หนังสือตอบตกลง หนัง สื อเสนอราคา (Letter of Tender) เงื่ อนไขสั ญญานี้ ข้ อกํา หนด (Specifications) แบบก่อสร้าง แผนงาน (Schedule) และเอกสารที่จะเกิดขึ้นภายหลัง (ถ้ามี) ซึ่งจะระบุไว้ ในสัญญาข้อตกลงในหนังสือตอบข้อตกลง

5.

สัญญาข้อตกลง (Contract Agreement) หมายถึงสัญญาข้อตกลงตามอ้างถึงตามข้อย่อย 1.6 ของเงื่อนไขของสัญญา FIDIC

6.

หนังสือสนองรับ (ตอบตกลง) (Letter of Acceptance) หมายถึงหนังสือตอบตกลงอย่าง เป็นทางการ ลงนามโดยผู้ว่าจ้างของหนังสือเสนอราคา (Letter of Tender) ให้รวมถึง หนังสือแนบผนวก หนังสือบันทึกข้อความ รวมกันเป็นข้อตกลงและได้มีการลงนามของ คู่สัญญา หากไม่มีหนังสือตอบตกลง ก็หมายถึงสัญญาข้อตกลงและวันที่ที่ออกหนังสือ หรือ วันที่ได้รับหนังสือตอบตกลงให้หมายถึงวันที่ลงนามสัญญาข้อตกลง

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

75


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

7.

หนังสือเสนอราคา (Letter of Tender) หมายถึงหนังสือเสนอราคาที่ผู้รับจ้างจัดทําขึ้นได้ ลงนามแล้วเสนอไว้ให้ผู้ว่าจ้าง

8.

ข้อกําหนด (Specification) หมายถึงเอกสารข้อกําหนดเพื่อการก่อสร้าง ซึ่งแนบอยู่ใน สัญญา รวมถึงเอกสารเพิ่มเติม และแก้ไข เอกสารข้อกําหนดใช้เป็นข้อกําหนดประกอบการ ก่อสร้างในโครงการ

9.

แบบก่อสร้าง (Drawings) หมายถึงแบบก่อสร้างของงานโครงการแนบอยู่ในสัญญาและให้ รวมถึงแบบก่อสร้างเพิ่มเติม และแก้ไข ซึ่งออกโดยผู้ว่าจ้างตามเงื่อนไขของสัญญา

10.

แผนงาน (Schedule)) หมายถึงเอกสารแผนงานที่ผู้รับจ้างจัดทําขึ้นและแนบเสนอกับ หนังสือเสนอราคาและได้รวมอยู่ในสัญญา แผนงานอาจรวมบั ญชี ปริมาณงาน (Bill of Quantity) ข้อมูล รายการบัญชีและอัตราราคาต่อหน่วยและหรือราคางาน

11.

เอกสารประกวดราคา (Tender) หมายถึงหนังสือเสนอราคาและเอกสารอื่นที่ผู้รับจ้าง จัดทําขึ้นและเสนอต่อผู้ว่าจ้าง ซึ่งแนวรวมอยู่ในสัญญา

12.

เอกสารแนบผนวกในเอกสารประกวดราคา (Appendix to Tender) หมายถึง แผ่นของ เอกสารจัดทําขึ้นแนบเป็นเอกสารส่วนหนึ่งของหนังสือเสนอราคา (Letter of Tender)

13.

บั ญ ชี ปริ ม าณงาน ( Bill of Quantity, BOQ) และตารางแผนงานการทํ า งานรายวั น ( Day Work Schedule) หมายถึงเอกสารตามอ้างถึงข้างต้น ซึ่งประกอบอยู่ในเอกสารแผนงาน

14.

สถานที่ก่อสร้าง พื้นที่ก่อสร้าง พื้นที่โครงการ (Site) หมายถึงพื้นที่ที่จะทําการก่อสร้าง สิ่งก่อสร้างถาวร ซึ่งจะเป็นพื้นที่ที่เครื่องมือ และวัสดุต่าง ๆ ถูกนําเข้ามาเพื่อการก่อสร้าง และพื้นที่อื่นที่กําหนดไว้ในสัญญาให้เป็นพื้นที่ก่อสร้าง

15.

คู่สัญญา (Party) หมายถึงผู้ว่าจ้างหรือผู้รับจ้างก่อสร้าง (Contractor/ผู้รับเหมา) ตาม บริบทของตัวสัญญา

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

76


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

16.

ผู้ว่าจ้าง (Employer) หมายถึงบุคคลหรือนิติบุคคล ที่เป็นผู้ว่าจ้าง ตามระบุไว้ในเอกสาร แนบผนวกในเอกสารประกวดราคา (Appendix to Tender) และให้รวมถึง ผู้มีอํานาจตาม กฎหมาย

17.

ผู้รับจ้าง (Contractor/ผู้รับเหมา) หมายถึงบุคคลหรือนิติบุคคล ที่เป็นผู้รับจ้าง ตามที่ระบุ ในเอกสารแนบผนวกในเอกสารประกวดราคา (Appendix to Tender) และให้รวมถึงผู้มี อํานาจตามกฏหมาย

18.

วิ ศ วกร (Engineer) หมายถึ ง บุ ค คลซึ่ง ได้ไ ด้รั บแต่ง ตั้ง จากผู้ ว่ า จ้ างให้ ปฎิ บัติห น้า ที่ เ ป็ น วิศวกรเพื่อวัตถุประสงค์ของสัญญาที่ระบุอยู่ในเอกสารแนบผนวกในเอกสารประกวดราคา หรือบุคคลอื่นซึ่งมีการแต่งตั้งเป็นครั้งคราวของผู้ว่าจ้าง และแจ้งให้ผู้รับจ้างทราบ

19.

ผู้แทนของผู้ว่าจ้าง (Employer’s Representative) หมายถึงบุคคลซึ่งได้ได้รับแต่งตั้งจาก ผู้ว่าจ้างตามสัญญาที่ระบุ หรือได้รับการแต่งตั้งเป็นครั้งคราวจากผู้ว่าจ้าง เพื่อปฏิบัติหน้าที่ แทนผู้ว่าจ้าง

20.

ผู้แทนของผู้รับจ้าง (Contractors Representatives) หมายถึงบุคคลที่ผู้รับจ้างระบุใน สัญญา หรือบุคคลที่ผู้รับจ้างแต่งตั้งเป็นครั้งคราว เพื่อปฏิบัติหน้าที่แทนผู้รับจ้าง

21.

บุคลากรของผู้ว่าจ้าง (Employer Personnel) หมายถึงผู้ว่าจ้าง หรือผู้ช่วย และบุคลากร อื่น ๆ คนงานหรือลูกจ้างของผู้ว่าจ้างและ ผู้แทนของผู้ว่าจ้างและบุคลากรอื่น ที่แจ้งให้แก่ ผู้รับจ้าง โดยผู้ว่าจ้างหรือผู้แทนของ ผู้ว่าจ้างว่าเป็นบุคลากรของผู้ว่าจ้าง

22.

บุ ค ลากรของผู้ รั บ จ้ า ง (Contractors Personnel) หมายถึ ง ผู้ แ ทนของผู้ รั บ จ้ า งและ บุคลากรทั้งหมดของผู้รับจ้างซึ่งปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่งาน ซึ่งรวมถึงบุคลากรคนงานและ ลูกจ้างอื่นของผู้รับจ้าง และบุคลากรของผู้รับจ้างช่วงทุกรายและผู้อื่นของผู้รับจ้างที่ทํางาน ก่อสร้างให้แก่ผู้รับจ้าง

23.

ผู้รับจ้างช่วง (Subcontractors) หมายถึงบุคคลที่ถูกระบุชื่อเป็นผู้รับจ้างช่วงสัญญาหรือ เป็นบุคคลอื่นที่ผู้รับจ้าง แต่งตั้งให้เป็นรับจ้างช่วงงานก่อสร้างบางส่วน ให้รวมถึงผู้มีอํานาจ เป็น ผู้รับจ้างช่วงตามกฎหมาย 

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

77


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

รายชื่อคณะทํางานในพันธกิจ DAAB 1. คุณนิวัฒน์ 2. อาจารย์ชํานาญ 3. ดร.อภิรัตน์ 4. คุณสง่า 5. คุณสาคร 6. รศ. ดร. สุพจน์ 7. คุณศศิภัณร์ 8. คุณวณิธชนันท์ 9. คุณวิมลรัตน์ 10.รศ. ดร. วีระศักดิ์ 11.ดร. วุฒิชัย 12.คุณเรืองศักดิ์ 13.ดร. มาลัย 14.คุณมงคล 15.คุณธนาวดี 16.คุณชัยชาญ 17.คุณกฤติ 18. คุณเจตณรงค์

ธัญปิตินันทน์ พิเชษฐพันธ์ ประทีปอุษานนท์ ลิ้มธงชัย เครือใหม่ เตชวรสินสกุล เหมบุตร วิจักขณ์สังสิทธิ์ ยงชัยตระกูล ลิขิตเรืองศิลป์ พรรณเชษฐ์ สุภาจรรยาวัฒน์ ชมภูกา วุฒิธนากุล จันฤทธิศาล อึ๊งศรีวงศ์ ภาษิต เชาว์ชูเดช

ประธานคณะทํางาน ที่ปรึกษา คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางานและเลขานุการ คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางานและบรรณาธิการ

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

78


DAAB: Dispute Avoidance/Adjudication Board กลไกการวินิจฉัย หลีกเลี่ยงและป้องกันข้อพิพาทในงานวิศวกรรมก่อสร้าง

รายนามบริษัท และองค์กร ผูส้ นับสนุน DAAB 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

บริษัท ช.การช่าง จํากัด (มหาชน) บริษัท วิมานสุริยา จํากัด บริษัท ซี อี เอส จํากัด บริษัท คริสเตียนีและนีลเส็น (ไทย) จํากัด (มหาชน) บริษัท เพาเวอร์ไลน์เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด (มหาชน) สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย บริษัท พาวเวอร์กริด อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด

ในนามของสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย ขอขอบพระคุณ บริษัท และองค์กรดังรายนาม ข้างต้นเป็นอย่างสูง ในความอนุเคราะห์ สนับสนุน DAAB มา ณ ที่นี้

คณะทํางานในพันธกิจ DAAB สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

79


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.