อุดมศึกษา อนุสาร
LOGO
ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔๓๗ ประจำ�เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๗
เอกสารเผยแพร่ของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ISSN 0125-2461
‘ โตยฮีต ต๋ามฮอย
สานศิลป์ สู่ถิ่นล้านนา’ ร่วมอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย อนุสารอุดมศึกษาออนไลน์ www.mua.go.th/pr_web
สารบัญ
CONTENT
๓
ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔๓๗ ประจำ�เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๗
เรื่องเล่าอุดมศึกษา นำ� EdPEx มาใช้ในการประกันคุณภาพภายใน ปฐมนิเทศนักเรียนทุนเรียนดีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ความร่วมมือด้านการอุดมศึกษาในกรอบเอเชีย - ยุโรป
๓ ๘
เรื่องเล่าอาเซียน
๑๐
การประชุมอย่างไม่เป็นทางการ ไทย - บรูไน ครั้งที่ ๓
เรื่องพิเศษ พัฒนาผู้นำ�เยาวชนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
พูดคุยเรื่องมาตรฐาน
๑๐ ๑๕
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร
๑๘
๒๑
เหตุการณ์เล่าเรื่อง
๑๘
‘โตยฮีต ต๋ามฮอย สานศิลป์ สู่ถิ่นล้านนา’
เล่าเรื่องด้วยภาพ
๒๑
คณะผู้จัดทำ�
ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ http://www.mua.go.th pr_mua@mua.go.th www.facebook.com/ohecthailand www.twitter.com/ohec_th รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กำ�จร ตติยกวี นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ นายสุภัทร จำ�ปาทอง นายศิระวิทย์ คลี่สุวรรณ ที่ปรึกษา บรรณาธิการ นายกฤษณ์กร วงศ์ไทย กองบรรณาธิการ นางสาวปิยาณี วิริยานนท์ นางชุลีกร กิตติก้อง นายเจษฎา วณิชชากร นางปราณี ชื่นอารมณ์ นายจรัส เล็กเกาะทวด พิมพ์ที่ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๔๓๓ ๒๗๔๒
เรื่องเล่า
อุดมศึกษา
3
นำ� EdPEx มาใช้
ในการประกันคุณภาพภายใน ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา จัดการประชุมสัมมนา เรื่อง ‘แนวทางในการน�ำเกณฑ์ คุณภาพการศึกษาเพือ่ การด�ำเนินการทีเ่ ป็นเลิศมาใช้ในการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน’ เพือ่ สร้างความเข้าใจ พร้อมทัง้ แลกเปลีย่ น ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการน�ำเกณฑ์คุณภาพการ ศึกษาเพื่อการด�ำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) มาใช้ในการประกัน คุณภาพภายใน และการพัฒนาคุณภาพขององค์การทางการศึกษา ตลอดจนกระตุ้นให้สถาบันอุดมศึกษามีความตระหนักในการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาอย่างยัง่ ยืนและสามารถแข่งขันได้ทงั้ ในระดับ ชาติและนานาชาติ โดยได้รบั เกียรติจากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธาน ในพิธีเปิด ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ก�ำจร ตติ ย กวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ตระหนักถึงความส�ำคัญในการ ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของประเทศให้เป็นที่ยอมรับ ทัง้ ระดับภูมภิ าคและระดับโลก จึงได้สง่ เสริมการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาสูค่ วามเป็นเลิศตามมาตรฐานสากล โดยได้ด�ำเนินการ น�ำเกณฑ์ คุ ณ ภาพการศึ ก ษาเพื่ อ การด�ำเนิ น การที่ เ ป็ น เลิ ศ (Education Criteria for Performance Excellence: EdPEX) ซึง่ เป็นเกณฑ์มาตรฐานสากลทีไ่ ด้รบั การยอมรับในระดับ นานาชาติมาส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาน�ำไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการสถาบัน
อนุสารอุดมศึกษา
“เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษา น�ำเกณฑ์ EdPEx ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา สู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ส�ำนั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาได้ด�ำเนินการแปล ‘เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการ ด�ำเนินการที่เป็นเลิศ’ (Education Criteria for Performance Excellence) และเผยแพร่ให้สถาบันอุดมศึกษาได้น�ำไปใช้เป็น เกณฑ์ในการบริหารจัดการองค์การ และได้แปลฉบับล่าสุดปี ๒๐๑๓ - ๒๐๑๔ ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการด�ำเนินการจัดพิมพ์ เป็นรูปเล่ม เพื่อเผยแพร่เอกสารเกณฑ์ฯ ดังกล่าวไปยังสถาบัน อุดมศึกษาต่างๆ รวมทั้งน�ำมาใช้ประโยชน์ในการด�ำเนินกิจกรรม ต่างๆ ในโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ” เลขาธิการ กกอ. กล่าว
4
เลขาธิ ก าร กกอ. กล่ า วต่ อ ไปว่ า ส�ำนั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา สนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษา น�ำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (EdPEx) ไปใช้ใน การประกันคุณภาพภายใน โดยได้เชิญชวนสถาบันอุดมศึกษา หรื อ คณะวิ ช าที่ มี ผ ลการประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน ได้มาตรฐานอยู่ในระดับดีมาก หรือมีผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสามได้มาตรฐานในระดับดีมากเข้าร่วมโครงการน�ำ เกณฑ์คณ ุ ภาพการศึกษาเพือ่ การด�ำเนินการทีเ่ ป็นเลิศไปใช้ในการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ซึ่งมีคณะวิชา/สถาบันยื่นความ ประสงค์เข้าร่วมโครงการฯ ในครัง้ แรก จ�ำนวนทัง้ สิน้ ๕๔ หน่วยงาน จาก ๑๙ สถาบั น และเพื่อเป็น การขยายผลและส่งเสริ มให้
สถาบันอุดมศึกษาน�ำเกณฑ์ EdPEx ไปใช้ในการบริหารองค์การอย่าง ก้าวกระโดด เพื่อไปสู่ความเป็นเลิศทางการศึกษา ประกอบกับ คณะกรรมการการอุดมศึกษามีนโยบายสนับสนุนให้มหาวิทยาลัย พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อให้เหมาะ สมกับบริบทของแต่ละสถาบัน ภายใต้การก�ำกับดูแลของสภา สถาบัน ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จดั การประชุม สัมมนาครัง้ นีข้ นึ้ เพือ่ ชีแ้ จงให้สถาบันอุดมศึกษาหรือคณะวิชาทีส่ นใจ เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับทราบรายละเอียดของแนวทางในการน�ำ เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด�ำเนินการที่เป็นเลิศมาใช้ในการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และร่วมแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศอย่างก้าว กระโดด โดยมีก�ำหนดระยะเวลาในการด�ำเนินการคัดเลือกระหว่าง เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๗ - กรกฎาคม ๒๕๕๘ ซึง่ จะเริม่ เปิดรับสมัคร ในวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ นี้ “ทั้ ง นี้ การด�ำเนิ น งานตามโครงการดั ง กล่ า วต้ อ ง อาศั ย ผู ้ บ ริ ห ารที่ มี ค วามมุ ่ ง มั่ น จริ ง จั ง ให้ ค วามร่ ว มมื อ และ สนับสนุนทรัพยากร การด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่องและเพียงพอ ผู้รับผิดชอบหลักและบุคลากรที่ต้องเสียสละเวลา มีความรับผิด ชอบ ในการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ อย่างครบถ้วน เปิดใจ และแบ่งปัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และที่ส�ำคัญยิ่งต้องมีการติดตามและปรับปรุง คุณภาพอย่างต่อเนือ่ ง และปัจจัยส�ำคัญอีกประการ คือ ผูท้ รงคุณวุฒิ ที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์สูงมาช่วยให้ค�ำแนะน�ำ อย่างต่อเนื่อง” เลขาธิการ กกอ. กล่าว
ผู้สนใจโครงการดังกล่าว สามารถเข้าดูรายละเอียดได้ที่ http://edpex.blogspot.com/
อนุสารอุดมศึกษา
ปฐมนิเทศนักเรียนทุนเรียนดี มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ - ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา จัดการปฐมนิเทศนักเรียนทุนโครงการพัฒนา ก�ำลั ง คนด้ า นมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ (ทุ น เรี ย นดี มนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ แ ห่ ง ประเทศไทย) โดยได้ รั บ เกี ย รติ จ ากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ก�ำจร ตติ ย กวี เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เป็ น ประธานเปิ ด การปฐมนิเทศ และวิทยากร ๒ ท่าน คือ ศาสตราจารย์เจตนา นาควัชระ และ ดร.วนิดา พรมหล้า ให้เกียรติมาปาฐกถาพิเศษ ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ประเสริฐ ณ นคร ส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ก�ำจร ตติ ย กวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า การปฐมนิเทศ ผู ้ รั บทุ น ประจ�ำปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๗ ในวั น นี้ มี วั ต ถุ ประสงค์ เพื่อให้นักเรียนทุน มีความเข้าใจในสถานภาพ บทบาทหน้าที่ มีความตระหนักในการเป็นนักเรียนทุนที่ดี เพื่อท�ำหน้าที่ให้ ประสบความส�ำเร็จในการศึกษาตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ อั น จะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ตนเองและประเทศชาติ ต ่ อ ไป ดั ง นั้ น การเตรียมความพร้อมให้แก่นักเรียนทุนในเรื่องต่างๆ จะเป็น ปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนให้นักเรียนทุนสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ ในขณะที่ศึกษาเล่าเรียน เพื่อให้กลับมาสร้างคุณประโยชน์ให้แก่ สังคมประเทศ ซึ่งนับเป็นโอกาสอันดีที่นักเรียนทุนทุกคนจะได้ พบกับผู้บริหารสถาบันต้นสังกัดและผู้แทนจากส�ำนักงาน ก.พ. เพื่อร่วมให้แนวทางในการเตรียมความพร้อมส�ำหรับการศึกษา ในต่างประเทศ
5
ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ด�ำเนินโครงการ พัฒนาก�ำลังคนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ ถึงปัจจุบัน รวม ๖ ปีงบประมาณ ได้นักเรียนทุนทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ รวม ๕๖๒ คน จ�ำแนกเป็น ทุนในประเทศ ๑๒๖ ทุน และทุนต่างประเทศ ๔๓๖ ทุน ซึ่งการด�ำเนินโครงการฯ ที่ ผ ่ า นมาได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากหน่ ว ยงานทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชน หลายแห่ง ตลอดจนได้รบั ความอนุเคราะห์จากผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องอย่างดียงิ่ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการ กกอ.
อนุสารอุดมศึกษา
6
ความร่วมมือด้านการอุดมศึกษา ในกรอบเอเชีย - ยุโรป การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส ครั้งที่ ๑ เพื่อเตรียมการ ประชุมรัฐมนตรีศึกษาเอเชีย - ยุโรป ครั้งที่ ๕ [1st Senior Officials’ Meeting (SOM1) of the 5th ASEM Education Ministers’ Meeting−ASEMME5)] ซึ่ ง Ministry of Education and Science สาธารณรัฐลัตเวียเป็นเจ้าภาพจัด ระหว่างวันที่ ๑๐ - ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ โรงแรม Radisson Blu Daugava กรุงรีกา สาธารณรั ฐ ลั ต เวี ย มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ พิ จ ารณาเตรี ย มการ ด้ า นสารั ต ถะส�ำหรั บ การประชุ ม รั ฐ มนตรี ศึ ก ษาเอเชี ย -ยุ โรป ครั้งที่ ๕ (ASEMME5) ที่ก�ำหนดจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ ๒๗ - ๒๘ เมษายน ๒๕๕๘ ณ National Library of Latvia กรุ ง รี ก า สาธารณรัฐลัตเวีย โดยที่ประชุมได้หารือร่วมกันในการก�ำหนดวาระ และหัวข้อหลักของการประชุม รวมทั้งการจัดท�ำร่างถ้อยแถลง ส�ำหรับ ASEMME5 ภายใต้สาขาความร่วมมือ ๔ ด้าน ได้แก่ (๑) การประกันคุณภาพและการรับรองคุณวุฒิการ ศึกษา (Quality Assurance and Recognition) (๒) การมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมใน การจัดการศึกษา (Engaging Business and Industry in Education) (๓) การเคลื่อนย้ายที่สมดุล (Balanced Mobility)
อนุสารอุดมศึกษา
(๔) การเรี ย นรู ้ ต ลอดชี วิ ต การอาชี ว ศึ ก ษา และ ฝึกอบรม (Lifelong Learning including Vocational Education and Training) นางสาวอาภรณ์ แก่ น วงศ์ รองเลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุดมศึกษา เล่าถึงการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส ครัง้ นีว้ า่ ทีป่ ระชุมได้มกี ารน�ำเสนอสาระส�ำคัญของการประชุมสุดยอด ผู้น�ำเอเชีย - ยุโรป ครั้งที่ ๑๐ (Asia - Europe Meeting - ASEM10) ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ ๑๖ - ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ ณ กรุงมิลาน ประเทศ อิตาลี โดย ASEM10 ได้เน้นย�้ำถึงบทบาทส�ำคัญของการศึกษา ในการส่งเสริมการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน การสร้าง นวัตกรรม และการขจัดปัญหาความยากจน และเสริมสร้างความ ร่วมมือทีเ่ ข้มแข็งภายใต้ ๓ เสาหลัก ได้แก่ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม นอกจากนี้ ASEM10 ยังได้ตระหนักถึงบทบาทส�ำคัญ ของการศึกษาโดยเฉพาะอุดมศึกษา อาชีวศึกษา รวมถึงการเรียนรู้ ตลอดชี วิ ต ในการพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ASEM Summit ยังเห็นชอบให้มีการสร้างเสริมทักษะและประสบการณ์ให้เยาวชน ผ่านการจัดฝึกอบรมและการฝึกงานเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ โลกของการท�ำงานและช่วยลดปัญหาการว่างงานของเยาวชน
รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวว่า ที่ประชุม SOM1 เห็นควร พิจารณาก�ำหนดสารัตถะและหัวข้อที่จะใช้อภิปรายในระดับนโยบาย ส�ำหรับการประชุม ASEMME5 ให้สอดคล้องกับประเด็นส�ำคัญ เกีย่ วกับการศึกษา ตามทีเ่ น้นย�ำ้ โดยทีป่ ระชุมสุดยอดผูน้ �ำเอเชีย - ยุโรป ครั้งที่ ๑๐ และที่ประชุม SOM1 ได้มีการอภิปรายเกี่ยวกับผลลัพธ์ ทีค่ าดหวังต่อความร่วมมือภายใต้กรอบเอเชีย- ยุโรป การริเริม่ กิจกรรม/ โครงการทีจ่ ะด�ำเนินการร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิก เพือ่ ขับเคลือ่ น กระบวนการความร่วมมือด้านการศึกษาเอเชีย - ยุโรป ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อประเทศสมาชิก และช่วยสร้างความร่วมมือที่เข้มแข็งภายใต้ ๓ เสาหลักของ ASEM ทีป่ ระชุมยังได้พจิ ารณาทบทวนการปรับเปลีย่ น หรือเพิ่มเติมสาขาความร่วมมือที่ส�ำคัญ โดยประเทศสมาชิกส่วนใหญ่ เห็นว่าควรคงไว้ซึ่ง ๔ สาขาความร่วมมือดังกล่าว และควรให้ความ ส�ำคัญกับสาขาความร่วมมือด้านการประกันคุณภาพและการรับรอง คุณวุฒกิ ารศึกษาเป็นอันดับแรก เนือ่ งจากประเทศสมาชิกได้รว่ มกัน ด�ำเนินกิจกรรมความร่วมมือที่เป็นรูปธรรม ซึ่งจะเป็นกลไกส�ำคัญใน การน�ำไปสูก่ ารเคลือ่ นย้ายนักศึกษาและบุคลากรทีส่ มดุลระหว่างกัน และที่ ป ระชุ ม SOM1 เห็ น ควรให้ มี ก ารติ ด ตามประเมิ น ผลการ ด�ำเนินงาน รวมทั้งการเผยแพร่ข้อมูลการด�ำเนินโครงการ/กิจกรรม ความร่ ว มมื อ และผลการด�ำเนิ น งานให้ ป ระเทศสมาชิ ก ได้ ท ราบ อย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง พร้อมทั้งการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ส�ำคัญ ได้ แ ก่ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา คณาจารย์ และนั ก ศึ ก ษา ตลอดจน ภาคเอกชน ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการด�ำเนินกิจกรรม/โครงการ ความร่วมมือในกรอบ ASEM ให้มากขึน้ นอกจากนี้ ASEM Education Secretariat ยังได้รวบรวมจัดท�ำ Stocktaking Report และน�ำเสนอ รายงานผลการด�ำเนินโครงการ/กิจกรรมความร่วมมือภายใต้กรอบ เอเชีย - ยุโรป ตามมติทปี่ ระชุมรัฐมนตรีศกึ ษาเอเชีย - ยุโรป ครัง้ ทีผ่ า่ นมา โดยที่ประชุม SOM1 จะได้รวบรวมและสรุปผลการประชุมครั้งนี้ เพือ่ เป็นข้อมูลประกอบการก�ำหนดหัวข้ออภิปรายและจัดท�ำสารัตถะ ของการประชุม ASEMME5 ต่อไป “ส�ำหรับการด�ำเนินงานในกรอบความร่วมมือเอเชีย - ยุโรป ของไทย ส�ำนั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาได้ มี บ ทบาท ในการด�ำเนินกิจกรรมภายใต้สาขาความร่วมมือ ๔ ด้านมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นการเป็นเจ้าภาพจัดประชุมหรือการส่งผู้แทนเข้าร่วม ในคณะท�ำงานหรือการประชุมต่างๆ รวมถึงมีก�ำหนดจะเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุมหารือระหว่างผูแ้ ทนของประเทศเบลเยียม บรูไนดารุสซาลาม เยอรมนี และไทย เกี่ยวกับแนวทางการด�ำเนินโครงการ ASEM Work Placement Pilot Program ในระยะน�ำร่อง ในเดือนมกราคม ๒๕๕๘ ทั้งนี้ โครงการดังกล่าวเป็นความร่วมมือระหว่างภูมิภาคที่ส่งเสริม การฝึ ก ปฏิ บั ติ ใ นสถานประกอบการจริ ง และสร้ า งความเข้ า ใจ
ด้ า นความแตกต่ า งทางวั ฒ นธรรมในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา นอกจากนี้ ไ ทยยั ง เป็ น ๑ ใน ๕ ประเทศสมาชิ ก ASEM (สวีเดน เบลเยียม เกาหลี สิงคโปร์ และไทย) ที่เป็น contributing partner ในการด�ำเนินโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ‘ASEMDuo Fellowship Programme−Duo - Thailand’ เพื่อส่งเสริม ให้ เ กิ ด การเคลื่ อ นย้ า ยที่ ส มดุ ล ระหว่ า งภู มิภ าคเอเชี ย - ยุโรป” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว กรอบความร่วมมือเอเชีย - ยุโรป ประกอบด้วยสมาชิก ๕๓ ประเทศจากเอเชียและยุโรป รวมทัง้ ๒ องค์กรหลักทีเ่ กีย่ วข้อง ได้แก่ European Commission และ ASEAN Secretariat ส�ำหรับ การประชุม SOM1 ณ สาธารณรัฐลัตเวีย ในครั้งนี้มีผู้แทนจาก ประเทศสมาชิกเอเชีย - ยุโรป รวม ๘๘ คน จาก ๓๑ ประเทศ และ ๗ องค์กรที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการประชุม ได้แก่ ลัตเวีย ออสเตรีย เบลเยียม บรูไนดารุสซาลาม บัลแกเรีย กัมพูชา จีน เดนมาร์ก เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี ลาว ลิทัวเนีย มาเลเซีย มอลตา นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ฟิลิปปินส์ โปแลนด์ โปรตุเกส รัสเซีย โรมาเนีย สวีเดน สิงคโปร์ สวิตเซอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร และไทย รวมทั้ง Asia - Europe Foundation (ASEF), ASEM Education Secretariat (AES), ASEM Lifelong Learning Hub (ASEM LLL Hub) ASEAN University Network (AUN), European Association of Institutions in Higher Education (EURASHE), ASEM-DUO Fellowship Programme Secretariat และ SEAMEO Regional Centre for Higher Education and Development (SEAMEO RIHED) ทั้งนี้ อินโดนีเซีย โดย Ministry of Education and Culture เป็นเจ้าภาพ ของ ASEM Education Secretariat ระหว่างปี ๒๕๕๖ - ๒๕๕๙ ส�ำหรั บ การประชุ ม เจ้ า หน้ า ที่ อ าวุ โ ส ครั้ ง ที่ ๒ เพื่ อ เตรี ย มการประชุ ม รั ฐ มนตรี ศึ ก ษาเอเชี ย - ยุ โรป ครั้ ง ที่ ๕ [2nd Senior Officials’ Meeting (SOM2) of the 5th ASEM Education Ministers’ Meeting - ASEMME5] มีก�ำหนดจัด ในวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๘ ก่อนจัดการประชุม ASEMME5 ในวันที่ ๒๗ - ๒๘ เมษายน ๒๕๕๘ ณ กรุงรีกา สาธารณรัฐลัตเวีย
7
อนุสารอุดมศึกษา
เรื่องเล่า
อาเซียน
8
การประชุมอย่างไม่เป็นทางการ
ไทย - บรูไน ครั้งที่
๓
ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดการประชุม อย่ า งไม่ เ ป็ น ทางการระหว่ า งผู ้ บ ริ ห ารส�ำนั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษากับผู้บริหารกรมการอุดมศึกษา กระทรวงการศึกษา บรูไนดารุสซาลาม ครั้งที่ ๓ เมื่อวันที่ ๑๗ - ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ โรงแรมอมารี วอเตอร์ เ กท กรุ ง เทพฯ โดยคณะ ผู ้ แ ทนฝ่ า ยไทย ประกอบด้ ว ย นางสาวอาภรณ์ แก่ น วงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา หัวหน้าคณะ ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และผู้แทน จากส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ส่วนคณะผู้แทนฝ่าย บรูไน ประกอบด้วย Dr. Hjh Anita Binurul Zahrina binti POKL WDSS Hj Awg Abd Aziz รองปลัดกระทรวงการศึกษา หัวหน้าคณะ Hjh Anis Faudzulani binti Hj Dzulkiflee อธิบดีกรมอุดมศึกษา ผู้แทนจาก Institut Teknologi Brunei และ Universiti Brunei Darussalam และเจ้าหน้าที่จากกระทรวงการศึกษา อนุสารอุดมศึกษา
การจัดประชุมครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ร่วมหารือ แนวทางการด�ำเนินกิจกรรมความร่วมมือทางวิชาการที่เป็น ผลสืบเนื่องจากข้อตกลงร่วมกันในการประชุม ครั้งที่ ๒ ซึ่งทั้ง สองฝ่ายได้เห็นชอบกิจกรรมที่จะด�ำเนินการร่วมกันในด้านการ แลกเปลี่ยนนักศึกษา โครงการพัฒนาฐานข้อมูลดัชนีการอ้างอิง วารสารส�ำหรับประเทศในกลุ่มอาเซียน (ASEAN Citation Index : ACI) ข้อตกลงการด�ำเนินความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่างกันภายใต้กจิ กรรมการแลกเปลีย่ นนักศึกษาและบุคลากร และการท�ำวิจยั ร่วม รวมทัง้ การแลกเปลีย่ นนักศึกษาฝึกงานและ การพัฒนาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา ทั้ ง นี้ ฝ่ า ยไทยและฝ่ า ยบรู ไ นได้ แ ลกเปลี่ ย น ข้อมูลนโยบายและทิศทางการพัฒนาการศึกษาระหว่างกัน รวมถึงนโยบายการพัฒนาการศึกษาระดับอาชีวศึกษาของไทย ซึ่ ง ฝ่ า ยบรู ไ นได้ แ สดงความสนใจที่ จ ะมี ค วามร่ ว มมื อ กั บ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นอกจากนี้ ผู้แทน Universiti Brunei Darussalam ได้น�ำเสนอข้อมูลความ ร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาไทย รวมถึงการให้ทุนการศึกษา แก่นักศึกษาต่างชาติ เพื่อเป็นการเพิ่มจ�ำนวนนักศึกษาต่างชาติ ในประเทศบรูไนดารุสซาลาม นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เปิดเผยหลังการประชุมว่า ฝ่ายไทยและฝ่ายบรูไน เห็ นชอบร่ ว มกั น ที่ จะส่งนัก ศึก ษาแลกเปลี่ยนระหว่างกัน ใน โครงการ ASEAN International Mobility for Students (AIMS) Programme โดยจะมีการหารือรายละเอียดในการ ประชุมประเมินผลโครงการ AIMS (AIMS Review Meeting)
ซึ่งบรูไนดารุสซาลามจะเป็นเจ้าภาพระหว่างวันที่ ๒ - ๓ ธันวาคม ๒๕๕๗ และฝ่ า ยบรู ไ นจะเสนอชื่ อ ผู ้ แ ทนร่ ว มเป็ น กรรมการ ในคณะกรรมการบริหารโครงการ ASEAN Citation Index (ASEAN Citation Index Steering Committee) ทั้ ง สองฝ่ า ยยั ง ได้ เห็นชอบให้มีการจัดการประชุมน�ำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา ระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาระหว่ า งไทยกั บ บรู ไ นดารุ ส ซาลามตามที่ ฝ่ายไทยเสนอ โดยฝ่ายไทยรับจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ครั้งที่ ๑ ภายหลังเสร็จสิ้นการประชุม ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาได้น�ำคณะผู้แทนบรูไนไปศึกษาดูงาน ณ สถาบัน อุดมศึกษาจ�ำนวน ๔ แห่ง ได้แก่ (๑) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศูนย์ความเป็นเลิศ ด้ า นเทคโนโลยี ป ิ โ ตรเคมี แ ละวั ส ดุ คณะผู ้ แ ทนบรู ไ นได้ เข้ า พบ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทยิ ์ รองอธิการบดี และหารือ กับศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ ซึ่งฝ่ายบรูไน แสดงความสนใจด้านปิโตรเลียมและเทคโนโลยีทเี่ กีย่ วข้อง ศูนย์ความ เป็นเลิศฯ จึงเสนอให้ฝา่ ยบรูไนมาศึกษาดูงานในโอกาสหน้า ณ โรงงาน ต้นแบบ จังหวัดสระบุรี (๒) มหาวิทยาลัยมหิดล คณะผู้แทนบรูไนได้เข้าพบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรกิจ นาทีสุวรรณ รองอธิการบดี เพื่อร่วมสร้าง ความร่วมมือด้านการพัฒนาและการวิจัยร่วมกัน (๓) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ และ (๔) มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา ซึ่งฝ่ายบรูไนแสดงความประสงค์ที่จะสร้าง ความคุ้นเคยกับมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งสองแห่ง รวมทั้งร่วมกันสร้าง รากฐานความร่วมมือระหว่างกันในอนาคต
9
อนุสารอุดมศึกษา
เรื่อง
พิเศษ
10
พัฒนาผูน ้ �ำ เยาวชนเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน
ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดโครงการ ‘การพัฒนาผู้น�ำเยาวชน เพื่อสร้างความตระหนักถึงผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน’ ซึ่งเป็นการขยายผล สัมฤทธิ์จากการด�ำเนินโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับประเทศสมาชิกอาเซียน เปิดโลกทัศน์ ของนักศึกษาไทยในภาพรวมและสร้างทัศนคติทเี่ หมาะสมเพือ่ รองรับการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ทั้งนี้ เห็นควรพัฒนานักศึกษาที่ผ่านการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับประเทศ สมาชิกอาเซียน โดยมีวัตถุประสงค์ในการสร้างเครือข่ายผู้น�ำเยาวชนเพื่อใช้เป็นกลไกน�ำความรู้ และประสบการณ์เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนถ่ายทอดสู่เพื่อนนักศึกษา พร้อมทั้งสร้างความ เข้าใจ ทัศนคติ และความตระหนักถึงผลกระทบจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่มีต่อการศึกษา การท�ำงาน และการด�ำรงชีวติ แก่นกั ศึกษา ตลอดจนเห็นความส�ำคัญและประโยชน์ของการเตรียม ความพร้อมในการเข้าสู่สังคมพหุวัฒนธรรมและความร่วมมือทางวิชาการที่ใกล้ชิดยิ่งขึ้นกับ กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา และการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ สามารถแข่งขันได้ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก อนุสารอุดมศึกษา
ส�ำนั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา คั ด เลื อ ก สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาไทยที่ มี นั ก ศึ ก ษาได้ รั บ คั ด เลื อ กให้ เข้ า ร่ ว ม โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างสถาบันอุดมศึกษาไทยกับ สถาบันอุดมศึกษาในกลุ่มประเทศอาเซียน ทั้งโครงการที่ได้รับ การสนับสนุนจากส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ โครงการแลกเปลี่ ย นที่ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น โดยหน่ ว ยงานอื่ น ๆ และสถาบันอุดมศึกษาที่ตั้งอยู่ตามแนวชายแดนติดกับประเทศ เพื่ อ นบ้ า น ซึ่ ง มี ก ารด�ำเนิน กิจกรรมทางวิช าการและการแลก เปลี่ยนทางวัฒนธรรมกับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศสมาชิก อาเซียน ให้เสนอชื่อนักศึกษาจ�ำนวน ๕ คน เพื่อเข้าร่วมการอบรม เชิงปฏิบัติการ ประกอบไปด้วยนักศึกษา ๒ กลุ่ม คือ (๑) นักศึกษา ที่เคยเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับสถาบันอุดมศึกษา ในประเทศสมาชิกอาเซียน และ (๒) นักศึกษาที่เป็นผู้น�ำในการ ท�ำกิจกรรมนักศึกษาประเภทต่างๆ อาทิ สมาชิกสโมสรนักศึกษา ค่ายพัฒนาชนบท และคัดเลือกอาจารย์จ�ำนวน ๑ คน โดยต้องเป็น อาจารย์ทมี่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบงานกิจกรรมนักศึกษา หรืออาจารย์ทมี่ ี ความรูเ้ ชีย่ วชาญเกีย่ วกับประเทศสมาชิกอาเซียน เป็นทีป่ รึกษากลุม่ นักศึกษาที่เข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ ทั้งนี้ สกอ. ได้ประชุม ร่ ว มกั บ อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาที่ไ ด้รับ มอบหมายจากแต่ล ะสถาบั น เพื่อซักซ้อมบทบาทของอาจารย์ในการท�ำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา การออกแบบกิ จ กรรมที่ นั ก ศึ ก ษาจะน�ำไปขยายผล และให้ ความร่ ว มมื อ ในการด�ำเนิ น กิ จ กรรมในระหว่ า งการอบรมเชิ ง ปฏิบัติการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการและผลที่คาดหวัง จากการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระหว่ า งวั น ที่ ๑๓ - ๑๖ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๗ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ‘การพัฒนาผู้น�ำเยาวชนเพื่อสร้างความตระหนักถึงผลกระทบของ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน’ ณ สีดา รีสอร์ท จังหวัดนครนายก เพื่ อ ให้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ ประชาคมอาเซี ย นแก่ นั ก ศึ ก ษาจ�ำนวน ๒๐๐ คน และอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา จ�ำนวน ๔๐ คน รวมทั้ ง จั ด กิ จ กรรมให้ นั ก ศึ ก ษาท�ำงานร่ ว มกั น เพื่ อ สร้ า งมิ ต รภาพ และเครื อ ข่ า ย จั ด ระดมสมองเพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาร่ ว มกั น ร่างค�ำแถลงของนักศึกษาแสดงความคิดเห็นถึงสิ่งที่นักศึกษา พึ ง กระท�ำเพื่ อ เตรี ย มรั บ มื อ กั บ การเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น และระดมสมองออกแบบกิจกรรมขยายผลสู่เพื่อนนักศึกษา โดยได้รับเกียรติจากนางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด และ วิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องอาเซียน ได้แก่ ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ รองผูอ้ �ำนวยการบริหารส�ำนักงานเลขานุการเครือข่ายมหาวิทยาลัย อาเซียน อาจารย์อัครพงษ์ ค�่ำคูณ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ. ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี ผู้อ�ำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ และ ผศ. ดร.ปราณี ทิ พ ย์ รั ต น์ จากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้เกียรติมาให้ ความรู้เพื่อปูพื้นฐานให้นักศึกษาที่เข้าอบรม
นางสาวอาภรณ์ แก่ น วงศ์ รองเลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ซึ่งมีบทบาทโดยตรงในการผลิตบัณฑิตเพื่อเป็น ก�ำลั ง ในการขั บเคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ประเทศจึ ง ต้ อ งวางรากฐาน ส�ำหรับกลุ่มเยาวชน เพื่อให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็น สมาชิกอาเซียนในอนาคต และสามารถใช้ประโยชน์จากการเปิด กว้างของตลาดแรงงานในการท�ำงานข้ามพรมแดนได้ จึงได้ริเริ่ม โครงการแลกเปลีย่ นนักศึกษาไทยและอาเซียน ในปี ๒๕๕๕ โดยให้ ทุนระยะสั้นเพื่อให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีไปศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษาประเทศสมาชิกอาเซียน ๑ ภาคการศึกษา หรือไปเข้าร่วม สหกิจศึกษาหรือไปฝึกงานอย่างน้อย ๑ เดือน ให้นักศึกษาระดับ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาไปศึ ก ษา ท�ำวิ จั ย ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาประเทศ สมาชิกอาเซียน นักศึกษาที่เคยได้รับโอกาสเข้าร่วมโครงการ แลกเปลีย่ นฯ ในอาเซียน ไม่วา่ จะได้รบั การสนับสนุนจากแหล่งใดๆ ก็ตามควรน�ำประสบการณ์มาขยายผลหรือแบ่งปันในวงกว้าง เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนประชาคมอาเซียน สอดคล้องตามหลักการของอาเซียนที่ให้เยาวชนเป็นศูนย์กลาง “ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาประสงค์ จะเห็นนักศึกษาซึ่งเป็นศูนย์กลางการพัฒนาว่ามีแนวคิดอย่างไร เพื่อเตรียมรับมือกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และต้องการให้ ผู ้ บ ริ ห ารการศึ ก ษาสนั บ สนุ น ในประเด็ น ใดบ้ า ง การด�ำเนิ น โครงการที่ผ่านมาจะเป็นมุมมองจากผู้บริหารโดยไม่ทราบความ ต้องการของนักศึกษา จึงอาจไม่สอดคล้องกับความต้องการ ของนักศึกษา ค�ำแถลงของนักศึกษาจะเป็นมุมมองที่สะท้อน ความต้ อ งการของนั ก ศึ ก ษา ส�ำนั ก งานคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษาจะน�ำค�ำแถลงของนั ก ศึ ก ษาเสนอต่ อ ผู ้ บ ริ ห าร การศึกษา เพื่อพิจารณาความเป็นไปได้ที่จะให้การสนับสนุน และใช้ค�ำแถลงเป็นแนวทางพัฒนาโครงการให้สอดรับกับ ความต้ องการของนั ก ศึ ก ษา นอกจากการร่างค�ำแถลงแล้ว นักศึกษายังมีโอกาสสร้างเครือข่ายกับเพื่อนนักศึกษาจากต่าง สถาบันและต่างภูมิภาค เพื่อร่วมกันคิดโครงการที่จะด�ำเนินการ ร่วมกัน โครงการที่มีศักยภาพและสามารถน�ำไปสู่การปฏิบัติ ได้จริงจะได้รบั งบประมาณสนับสนุนจากส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาเพือ่ ให้น�ำไปขยายผล และส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาจะท�ำการติดตามผลต่อไป” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว
11
เราเชื่อมั่นในพลังของเยาวชนที่จะเป็นก�ำลังส�ำคัญ ในการพั ฒ นาประเทศ โดยตั้ ง อยู ่ บ นพื้ น ฐานของการสร้ า ง ความสมานฉั น ท์ การกระชั บ ความร่ ว มมื อ และการเคารพ ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรมระหว่างกัน พลังสร้างสรรค์เพื่ออนาคตไทยในเวทีอาเซียน
อนุสารอุดมศึกษา
แถลงการณ์ผู้แทนเยาวชนไทย: พลังสร้างสรรค์เพื่ออนาคตไทยในเวทีอาเซียน 12
เรา ผู้แทนเยาวชนไทย ได้เข้าร่วมการอบรมโครงการ พัฒนาผู้น�ำเยาวชน เพื่อสร้างความตระหนักถึงผลกระทบของการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ ๑๓ - ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ จังหวัดนครนายก
เล็งเห็นความจ�ำเป็นในการพัฒนาเยาวชนไทยให้เป็นคน ที่มีคุณภาพ มีความรับผิดชอบ ประกอบด้วยคุณธรรมและจริยธรรม ในการด�ำเนินชีวติ พร้อมทัง้ มีความเข้าใจและรูเ้ ท่าทันการเปลีย่ นแปลง ที่จะเกิดขึ้นทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก
รับทราบด้วยความยินดีในความพยายามของรัฐสมาชิก ของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ที่ จ ะเร่ ง สร้ า งความร่ ว มมื อ ในภู มิ ภ าคเพื่ อ การรวมประชาคม ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ตามที่บัญญัติในกฎบัตรอาเซียน โดยเฉพาะการ จัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคม - วัฒนธรรมอาเซียน
ในการนี้ จึงเรียกร้องให้รัฐบาล สถาบันอุดมศึกษา และ เยาวชนให้ความส�ำคัญกับการเตรียมความพร้อมอย่างเต็มที่ทั้งใน ด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถแสดง บทบาทน�ำในอาเซียนภายหลังการรวมประชาคมได้อย่างแท้จริง
ตระหนั ก ถึ ง ผลกระทบของการเข้ า สู ่ ป ระชาคม อาเซียน ซึ่งเป็นทั้งโอกาสของไทยในการแสดงบทบาทน�ำในสาขา ที่ ป ระเทศไทยมี ศั ก ยภาพและความท้ า ทายจากการแข่ ง ขั น ทางเศรษฐกิจ การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ แรงงาน การลงทุน และประชาชนในภูมิภาค ในฐานะที่ เราเป็ น อนาคตของประเทศและเป็ น พลเมืองของอาเซียน เราเชือ่ มัน่ ในพลังของเยาวชนทีจ่ ะเป็นก�ำลัง ส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการสร้าง ความสมานฉันท์ การกระชับความร่วมมือ และการเคารพความ แตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรมระหว่างกัน อนุสารอุดมศึกษา
รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยำ�้ เตือนหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของรัฐบาลในการ สร้าง พัฒนา และบ�ำรุงรักษาโครงสร้างสาธารณูปโภคพืน้ ฐานทาง เศรษฐกิจภายในประเทศและตามแนวพรมแดน เพื่อรองรับการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเชื่อมโยงอาเซียนด้านกายภาพ (ASEAN Physical Connectivity) ก�ำหนดมาตรการป้องกันและจัดการกับผลกระทบ ด้านลบที่เกิดจากความไม่สมดุลของข้อตกลงการค้าเสรีอาเซียน การเคลื่ อ นย้ า ยของบุ ค ลากรวิ ช าชี พ และแรงงานข้ า มชาติ ที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ประกอบการไทย โดยเฉพาะธุรกิจ ขนาดกลาง ขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน เรี ย กร้ อ งให้ ภาคประชาชนสามารถจั ด ท�ำ การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมที่เป็นอิสระ โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ก่อนน�ำผลเข้าสู่การเจรจาระดับประเทศและระหว่างประเทศ สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารจั ด การและป้ อ งกั น ผลกระทบ ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มทั้ ง ในระดั บ ประเทศและระหว่ า งประเทศ อย่างจริงจัง โดยจัดให้มกี ารท�ำประชาพิจารณ์เพือ่ รับฟังความเห็น ของประชาชน ชุมชนท้องถิ่น และชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม น�ำไปสู่ การเป็นส่วนหนึ่งในการก�ำหนดนโยบาย เสนอให้ มี ก ารพั ฒ นาหลั ก สู ต รการศึ ก ษาใน ประเทศไทยให้ มี คุ ณ ภาพและเป็ น มาตรฐานสากล รวมถึ ง การปรับปฏิทินการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปิด - ปิดภาค การศึกษาในกลุม่ ประเทศสมาชิกอาเซียน เพือ่ อ�ำนวยความสะดวก ในการเคลื่อนย้ายนักศึกษา ให้ความส�ำคัญ ในการดูแล รักษา ปกป้อง ส่งเสริม และเคารพในสิทธิของเยาวชน ชุมชน ผูด้ อ้ ยโอกาส คนไร้สญ ั ชาติ เด็ก สตรี คนพิการ และกลุ่มชาติพนั ธุ์ ในการด�ำรงไว้ซงึ่ อัตลักษณ์ การก�ำหนดวิถีของตนเอง เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เรี ย กร้ อ งให้ รั ฐ บาลจั ด สรรงบประมาณด้ า น การศึกษา และเพิ่มกองทุนการศึกษาเพื่อให้เยาวชนที่ขาดโอกาส ทางการศึกษา มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และเพียงพอ สนั บ สนุ น การเรี ย นการสอนวิ ช าภาษาอั ง กฤษ เพื่ อ ใช้ ใ นการสื่ อ สาร และภาษาอาเซี ย นในสถาบั น การศึ ก ษา ทุ ก ระดั บ รวมถึ ง การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถของครู ส อนภาษา อั ง กฤษ บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา และนั ก ศึ ก ษาที่ จ ะประกอบ วิชาชีพครูในอนาคต โดยจัดให้มีการประเมินคุณภาพผู้ประกอบ วิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบ ตระหนั ก ว่ า รั ฐ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การส่ ง เสริ ม คุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกสาขาอาชีพ โดยต้องจัดสรร ทรั พ ยากรและสวั ส ดิ ก ารให้ กั บ ประชาชนอย่ า งเหมาะสม และเพียงพอ ให้ ค วามส�ำคั ญ กั บ การสร้ า งนวั ต กรรมเพื่ อ รองรั บ การเคลื่อนย้ายของนักศึกษาและประชาชนในอาเซียน โดยการ จัดท�ำระบบบริการประชาชนแบบครบวงจร (One - stop Service) การจัดท�ำบัตรเอกสิทธิ์ (Smart Pass) เพื่อให้สามารถเข้าถึง การบริ ก ารสาธารณะ ระบบขนส่ ง มวลชน และแหล่ ง เรี ย นรู ้ อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ ค วามส�ำคั ญ กั บ การอ�ำนวยความสะดวก ด้านวีซ่า โดยขอให้รัฐบาลประเทศสมาชิกอาเซียนละเว้นวีซ่า ส�ำหรับนักศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงประชาชน ทั่วไปในอาเซียน
13
อนุสารอุดมศึกษา
สถาบันอุดมศึกษา ตระหนักถึงพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษาในการ ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทางวิชาการ มีจรรยาบรรณ ในวิ ช าชี พ มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมในการด�ำเนิ น ชี วิ ต และมี ความรับผิดชอบต่อชุมชนที่สถาบันอุดมศึกษาตั้งอยู่ รวมไปถึง ความรับผิดชอบต่อสังคมในระดับภูมิภาค เรียกร้องให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาหลักสูตรการ ศึกษาให้มคี วามเป็นมาตรฐานสากล พร้อมเพิม่ หลักสูตรนานาชาติ (International Course) และวิชาอาเซียนศึกษา (ASEAN Studies) เพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานและ ขยายโอกาสในการเคลือ่ นย้ายบุคลากรวิชาชีพของไทยในอาเซียน ส่งเสริมให้เยาวชนมีทศั นคติในการเป็นผูป้ ระกอบการ (entrepreneur) และมีความสามารถในการบริหารจัดการ ทางการเงิน (Financial Literacy) เพื่อรองรับการขยายตัวของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษาระหว่างสถาบัน อุดมศึกษาในอาเซียน โดยการจัดโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา การฝึกอบรม การฝึกงาน การประชุม สัมมนา และงานวิจัยร่วมในสาขาที่มหาวิทยาลัยที่มีศักยภาพและ มีความสนใจร่วมกัน สนับสนุนทุนการศึกษา ทั้งทุนระยะสั้น ทุนระยะยาว ทุนแลกเปลี่ยนทางวิชาการ และทุนแลกเปลี่ยนด้านวัฒนธรรม เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสสร้างเสริมประสบการณ์ผ่านการเดินทาง ในประเทศอาเซียน จั ด ตั้ ง ศู น ย์ อ าเซี ย นศึ ก ษาในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา เพือ่ ให้เป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้ เผยแพร่ขอ้ มูลด้านวิชาการและ ผลงานวิจัยเกี่ยวกับอาเซียน
เยาวชน
14
ให้ ค วามส�ำคัญ ต่อการสร้างทัศนคติในด้านบวก มีความเข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรมทั้งของตนเอง และผู้อื่น ซึ่งจะช่วยให้เกิดความเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่าง มีความเห็นใจต่อผู้ที่ด้อยกว่าและไม่ยึดติดกับความภูมิใจในชาติ หรือวัฒนธรรมของตนจนกลายเป็นการลดค่าผู้อื่น สร้ า งความตระหนั ก รู ้ ใ นความเป็ น อาเซี ย น ผ่านการท�ำกิจกรรมร่วมกันระหว่างนักศึกษา เช่น การจัดตั้ง เครื อ ข่ า ยนั ก ศึ ก ษาภายในประเทศไทยและในกลุ ่ ม ประเทศ อาเซียน การจัดตั้งชมรมอาเซียน (ASEAN Club) ในสถาบัน การศึกษา การจัดกิจกรรมอาสาสมัครเพื่อให้ความรู้กับชุมชน ในเรื่องเกี่ยวกับอาเซียน
อนุสารอุดมศึกษา
เ ป ิ ด โ อ ก า ส ก า ร เรี ย น รู ้ ป ร ะ เ ท ศ เ พื่ อ น บ ้ า น ในอาเซี ย น ทั้ ง ทางด้ า นประวั ติ ศ าสตร์ โบราณคดี สั ง คม ศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ผ่านกิจกรรมเชิงวิชาการ เช่น การจัดเวทีเสวนาระหว่างสถาบันการศึกษาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในประเด็นอาเซียน การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในประเทศอาเซียน การแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์ผ่านงานวรรณกรรม ศิลปะ รวมถึงสื่อสังคมออนไลน์ ให้การรับรองโดยผูแ้ ทนเยาวชนไทยผูเ้ ข้าร่วมการอบรม โครงการพัฒนาผู้น�ำเยาวชน เพื่อสร้างความตระหนักถึงผลกระทบ ของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ จังหวัดนครนายก
พูดคุยเรื่อง
มาตรฐาน
15
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร จากฉบับที่แล้ว ‘อนุสารอุดมศึกษา’ ได้น�ำความรู้เกี่ยวกับ การจัดท�ำ Diploma Supplement น�ำเสนอให้ทา่ นผูอ้ า่ นทราบ ในภาพรวม ทั้งความหมาย พัฒนาการ และประโยชน์ของ Diploma Supplement ตลอดจนการด�ำเนินการในประเทศไทยและทิศทางในการด�ำเนินการ ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาจัดท�ำ Diploma Supplement แล้ว ฉบับนี้ ‘อนุสารอุดมศึกษา’ มีสาระความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน ระดับหลักสูตร มาน�ำเสนอให้ผู้อ่านทราบ รายละเอียดดังนี้
อนุสารอุดมศึกษา
16
ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง นโยบายและแนว ปฏิบตั ใิ นการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๓๙ จัดท�ำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษาของ สถาบันอุดมศึกษาระดับคณะวิชาและระดับสถาบัน แต่ละสถาบัน อาจมี ก ารพั ฒ นาระบบและกลไกตามลั ก ษณะหรื อ สภาพการ ของตนเอง โดยอยู ภ ายใต้ ห ลั ก การส�ำคั ญ สามประการ คื อ การให้เสรีภาพทางวิชาการ (Academic Freedom) ความมีอสิ ระ ในการด�ำเนินการของสถาบัน (Institutional Autonomy) และความพร้ อ มของสถาบั น ที่ จ ะรั บ การตรวจสอบคุ ณ ภาพ จากภายนอกตามหลักการของความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability) ทบวงมหาวิทยาลัยท�ำหน้าที่พัฒนาระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ โดยก�ำหนดหลักการและแนวปฏิบัติ ให้สถาบันอุดมศึกษาน�ำไปปรับปรุงหรือพัฒนาเพิ่มเติมให้เหมาะ สมกับสถาบัน แล้วทบวงมหาวิทยาลัยจะจัดให้มีกลไกการตรวจ สอบและประเมินผลระบบประกันคุณภาพของสถาบันในระดับ คณะวิ ช าและสถาบั น เพื่ อ น�ำไปสู ่ ก ารรั บ รองมาตรฐานระดั บ คณะวิชาในระยะแรกของการรับรองก่อน และมีแผนที่จะจัดตั้ง ส�ำนั ก งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาขึ้ น เป็ น หน่วยงานในก�ำกับของทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มีผลบังคับใช้ คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๔๓ ได้มีมติเห็นชอบกับระบบประกันคุณภาพการศึกษาที่ทบวง มหาวิทยาลัยเสนอ ซึ่งเป็นที่มาของประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่องระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๕ สาระส�ำคัญของประกาศฉบับนี้ ระบุให้ทบวงมหาวิทยาลัยสนับสนุนและส่งเสริมสถาบันอุดมศึกษา จัดท�ำระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามภารกิจหลัก ของสถาบันอุดมศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้ง ให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาจากภายใน หรือโดยหน่วยงาน ต้ น สั ง กั ด ที่ มี ห น้ า ที่ ก�ำกั บ ดู แ ลสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา เพื่ อ เตรี ย ม ความพร้อมส�ำหรับการประเมินคุณภาพจากภายนอก หลังจากด�ำเนินการตามประกาศฉบับปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ระยะหนึ่ง สกอ. จึงได้จัดท�ำกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับ อุ ด มศึ ก ษา พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยสาระยั ง คงไว้ ต ามประกาศทบวง มหาวิทยาลัยฯ ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๔๕ แต่เพิ่มเติมให้มีคณะกรรมการ ชุดหนึ่ง คือ คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถาน ศึกษา ระดับอุดมศึกษา เรียกโดยย่อว่า “คปภ.” ซึ่งแต่งตั้งโดย
อนุสารอุดมศึกษา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ท�ำหน้าที่ก�ำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบตั ติ า่ งๆ เพือ่ ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาการ ด�ำเนินงานเกีย่ วกับการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา วาง ระเบียบ ออกข้อบังคับและประกาศทีเ่ กีย่ วข้องกับมาตรฐานในการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา เสนอแนะวิธี การตรวจสอบและประเมินผลระบบและกลไกการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในของแต่ละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาและคณะวิชา จนในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ กระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ แทนฉบับเดิม โดยรวมการประกันคุณภาพภายในและภายนอก ของการศึกษาทุกระดับไว้ในฉบับเดียวกัน และคงก�ำหนดให้มี คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาท�ำหน้าที่ หลัก ๒ ประการ คือ (๑) วางระเบียบหรือออกประกาศก�ำหนด หลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการประกันคุณภาพภายในระดับ อุดมศึกษา เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการประกันคุณภาพ ภายในระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการ อุดมศึกษา และ (๒) เสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การศึกษาแก่สถานศึกษา โดยน�ำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายใน และภายนอกไปปรับปรุงคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการ ก�ำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดจัดให้มกี ารติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาอย่างน้อยหนึง่ ครัง้ ในทุกสามปี และแจ้งผลให้สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้พฒ ั นาระบบ และกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ได้จัดท�ำคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษามาแล้ว ๒ ฉบับ คือ ฉบับที่ใช้ในปีการศึกษา ๒๕๕๐ และปีการศึกษา ๒๕๕๓ พร้อมพัฒนาระบบฐานข้อมูล ด้านการประกันคุณภาพ (CHE QA Online) เป็นฐานข้อมูล กลาง เพื่อใช้ประโยชน์เชิงนโยบายและการส่งเสริมสนับสนุนการ พัฒนาคุณภาพอุดมศึกษา ตลอดจนอ�ำนวยความสะดวกให้กับ สถาบันอุดมศึกษาในการด�ำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ผ่านทางระบบออนไลน์ และเมื่อได้ใช้คู่มือการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ มาระยะเวลาหนึ่ง คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ได้มขี อ้ เสนอ แนะให้มีการปรับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับ อุดมศึกษารอบใหม่ โดยให้มีการด�ำเนินการตั้งแต่ระดับหลักสูตร คณะ และสถาบัน เพือ่ ให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็นแนวทางในการ ด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตัง้ แต่ปกี ารศึกษา ๒๕๕๗
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ในการประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๕๗ ได้มีมติเห็นสมควรให้ น�ำระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายใน ระดับคณะและ สถาบัน ตามที่คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา (คปภ.) เสนอ เป็นเพียงแนวทาง (Guideline) ให้สถาบันอุดมศึกษาใช้ในการจัดท�ำระบบการประกันคุณภาพ ภายในของแต่ ล ะสถาบั น โดยสถาบัน อุด มศึก ษาสามารถน�ำ ไปก�ำหนดเกณฑ์ของตนเองได้ ภายใต้การก�ำกับดูแลของสภา สถาบันอุดมศึกษา ให้ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา น�ำระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ไปทดลองน�ำร่องกับหลักสูตรที่มีประกาศกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับสาขาวิชาแล้วจ�ำนวนหนึ่งตามความสมัครใจ แล้วน�ำผลการ ด�ำเนินการน�ำร่องมาเสนอต่อ กกอ. เพือ่ พิจารณาต่อไป ทัง้ นี้ ยังไม่มี การขึ้นทะเบียนหลักสูตรในช่วงการทดลองน�ำร่อง คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาได้ แ สดงความกั ง วล ต่อจ�ำนวนหลักสูตรที่มีการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันกว่า ๑๐,๐๐๐ หลักสูตร เกรงว่าไม่สามารถด�ำเนินการได้ทัน ในฐานะ ที่ ก�ำกั บ ดู แ ลงานด้ า นมาตรฐานการจั ด การศึ ก ษาของสถาบั น อุดมศึกษา เห็นควรให้ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่งด�ำเนินการตามความเห็นของ กกอ. ในการน�ำระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ไปทดลองน�ำร่องกับ หลักสูตรที่มีประกาศกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับสาขาวิชาแล้ว จ�ำนวนหนึ่งตามความสมัครใจ ในขณะเดียวกันควรเร่งด�ำเนินการ ชี้แจงและสร้างความเข้าใจระบบและกลไกในการประกันคุณภาพ ภายในระดับคณะและสถาบัน ที่พัฒนาขึ้นกับสถาบันอุดมศึกษา เพื่อน�ำไปพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ของแต่ละสถาบันต่อไป การด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในระดับหลักสูตรที่ สกอ. น�ำร่องกับหลักสูตรที่มีประกาศ กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ สาขาวิ ช าแล้ ว จ�ำนวนหนึ่ ง ตามความสมัครใจนั้น จะน�ำไปสู่การปรับปรุงระบบการประกัน คุ ณ ภาพภายในระดั บ หลั ก สู ต รให้ มี ค วามเหมาะสมยิ่ ง ขึ้ น โดยหลักการแล้วระบบนี้จะให้คณาจารย์ในสาขาวิชาเดียวกัน ท�ำหน้าที่เป็นผู้ประเมิน Peer Review ที่ดูแลกันเองในแต่ละ สาขาวิชาและน�ำไปสูก่ ารพัฒนาคุณภาพมาตรฐานในสาขาวิชานัน้ ๆ ในขณะเดี ย วกั น สกอ. ได้ มี ก ารจั ด ตั้ ง เครื อ ข่ า ย การประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา (C - IQA) ทีท่ �ำงานกัน อย่างเข้มแข็ง สร้างความร่วมมือและให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน การด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาระหว่างสถาบันอุดมศึกษา ในแต่ละเครือข่ายมากกว่า ๕ ปีแล้ว สกอ. ควรพัฒนาให้เครือข่าย การประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา สามารถท�ำหน้าที่ ผู้ประเมินคุณภาพระดับหลักสูตรของสถาบันในเครือข่ายเดียวกัน ซึ่งจะสามารถด�ำเนินการได้ครบทุกหลักสูตรที่เปิดสอนในสถาบัน อุดมศึกษาภายในเครือข่ายเดียวกันได้ภายในสามปี ตามที่ก�ำหนด ไว้ในกฎกระทรวง ระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน ระดั บ อุดมศึกษาของ สกอ. ที่ก�ำหนดเป็นนโยบายมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ สกอ. ได้ ด�ำเนิ น การประเมิ น ระบบประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาภายในของสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ มหาวิทยาลัยมีอสิ ระ ในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพฯ ของตนเอง ซึ่งจะส่งเสริม ให้ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษามี ค วามเข้ ม แข็ ง และพั ฒ นาขึ้ น มาภายใต้ บริบทของแต่ละสถาบัน ซึ่งจะสอดคล้องกับมติ กกอ.ในครั้งนี้ ดังนัน้ จึงควรด�ำเนินการควบคูก่ นั ไประหว่างการประเมินระบบการ ประกันคุณภาพของสถาบัน และระบบการประเมินคุณภาพระดับ หลักสูตรโดยคณาจารย์ในศาสตร์เดียวกัน
17
อ้างอิงจาก หนังสือชีวิตราชการ ชีวิตมาตรฐาน ดร.วราภรณ์ สีหนาท เนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗
อนุสารอุดมศึกษา
เหตุการณ์
เล่าเรื่อง
โตยฮีต ต๋ามฮอย 18
สานศิลป์ สู่ถิ่นล้านนา ‘โตยฮี ต ต๋ า มฮอย สานศิ ล ป์ สู ่ ถิ่ น ล้ า นนา’
งานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ ๑๕ เป็นงานใหญ่ประจ�ำปี ของชาวอุดมศึกษาในการส่งเสริมและสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย ทีม่ คี วามหลากหลายตามภูมภิ าคต่างๆ ทัว่ ประเทศ ซึง่ มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวและมีเสน่ห์อยู่ภายในตัวเองที่จะดึงดูดให้ผู้คนได้สัมผัส ทัง้ ด้านนาฏศิลป์ คีตศิลป์ และวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยพายัพได้รบั มอบหมายจากส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ให้เป็น เจ้าภาพจัดงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ ๑๕ ระหว่างวันที่ ๓๑ ตุลาคม - ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ มหาวิทยาลัยพายัพ และเวที กิจกรรม Promenada Resort Mall Chiang Mai จังหวัดเชียงใหม่ ซึง่ มีกจิ กรรมทีน่ า่ สนใจมากมาย อาทิ การแสดงนาฏศิลป์ ดนตรีไทย ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน ศิลปะการแสดงเชิงชาติพันธุ์วรรณนา ที่หาชมยาก จากผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศไม่น้อยกว่า ๘๐ สถาบัน นอกจากนี้ ยังมีการจ�ำหน่ายอาหารและสินค้า OTOP ของกลุ่มแม่บ้านในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดใกล้เคียง โดยเปิด โอกาสให้นิสิต นักศึกษา และสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ได้มี โอกาสแลกเปลีย่ นและพัฒนางานด้านศิลปวัฒนธรรมนาฏศิลป์และ คีตศิลป์ร่วมกันอีกด้วย อนุสารอุดมศึกษา
ในพิธีเปิดงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ ๑๕ ‘โตยฮีต ต๋ามฮอย สานศิลป์ สูถ่ นิ่ ล้านนา’ ในวันเสาร์ที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เต็มเปี่ยมไปด้วยชุดการแสดงนาฏศิลป์ ทั้งดนตรีอีสาน จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม การแสดงร�ำเทพอ�ำนวยพรจาก มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง การแสดงโนราจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ สุ ร าษฎร์ ธ านี การแสดงหุ ่ น คนนาฏกรรมร่ ว มสมั ย วิ ล าศลั ก ษณ์ ศุ ภ ฤกษ์ เ บิ ก อมรจากมหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย วเฉลิ ม พระเกี ย รติ การแสดงแสงแห่งความหวัง : LIGHT OF HOPE จากมหาวิทยาลัย ศิลปากร การแสดงชุด ‘ปิตยิ นิ ดี จุมสะหลีศรีนครพิงค์’ จากวิทยาลัย นาฏศิลปเชียงใหม่ บทสรรเสริญ ‘ฉ�่ำชื่นใจด้วยสายใยอันร่มเย็น’ จากมหาวิทยาลัยพายัพ และการแสดงชุด ‘แก้วสะหรีทิพยะดุริยา นาฏตการ’ จากสถาบั น อุ ด มศึ ก ษากลุ ่ ม ภาคเหนื อ ซึ่ ง เป็ น ชุ ด การแสดงที่ ต ระการตาในงานพิ ธี เ ปิ ด ที่ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ าก รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธี
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวในการเปิดงานศิลปวัฒนธรรม อุดมศึกษา ครั้งที่ ๑๕ ‘โตยฮีต ต๋ามฮอย สานศิลป์ สู่ถิ่นล้านนา’ ว่ า งานศิ ล ปวั ฒ นธรรมอุ ด มศึ ก ษาเป็ น กิ จ กรรมที่ ส�ำนั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ด�ำริขนึ้ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็น การส่ ง เสริ ม และสื บ สานศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทยอั น เต็ ม ไปด้ ว ย ความหลากหลายตามภูมภิ าคต่างๆ ทัว่ ประเทศ และเป็นกิจกรรมหนึง่ ทีเ่ ปิดโอกาสให้สถาบันอุดมศึกษาได้ผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนการเป็น เจ้าภาพ เพื่อท�ำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม อันจะน�ำไปสู่การอนุรักษ์ สืบสานและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมไทย ให้เข้มแข็งยิ่งๆ ขึ้นไป อีกทั้งยังเป็นการสนับสนุนให้นิสิต นักศึกษา ที่ มี ค วามสนใจและชื่ น ชอบงานด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมได้ มี พื้ น ที่ ในการแสดงออกและท�ำกิจกรรมร่วมกัน “ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยพายัพที่ได้ให้การสนับสนุนและรับเป็นเจ้าภาพจัด งานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๑๕ ด้วยความมุง่ มัน่ และตัง้ ใจ อย่างเต็มที่ และขอแสดงความยินดีเนื่องในโอกาสครบรอบ ๔๐ ปี แห่งการก่อตั้งมหาวิทยาลัยพายัพ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกชน แห่งแรกของประเทศไทย รวมถึงขอขอบคุณสถาบันอุดมศึกษา กลุม่ ภาคเหนือ ผูท้ รงคุณวุฒิ ตลอดจนหน่วยงานทุกภาคส่วนทีร่ ว่ ม ผนึกก�ำลังสร้างงานทีม่ คี ณ ุ ค่า เปิดดินแดนล้านนาต้อนรับประชาคม ชาวอุดมศึกษาทั่วประเทศ” เลขาธิการ กกอ. กล่าว
ส�ำหรั บ งานศิ ล ปวั ฒ นธรรมอุ ด มศึ ก ษา ครั้ ง ที่ ๑๖ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยมติคณะกรรมการส่งเสริม และประสานงานการจัดงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ในการประชุม ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ได้อนุมัติให้ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย เป็ น เจ้ า ภาพจั ด งาน ‘วิ ศิ ษ ฏศิ ล ปิ น สรรพศิ ล ป์ ส โมสร’ ซึ่ ง เป็ น งานเฉลิ ม ฉลองในโอกาสที่ ส มเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงเจริญพระชนมายุ ครบ ๖๐ พรรษา ในปี ๒๕๕๘ โดยรวมงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๑๖ และงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๔๒ ไว้ดว้ ยกัน ก�ำหนด จัดงานระหว่างวันที่ ๑๕ - ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ณ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินเป็นประธานเปิดงาน ในวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ได้ส่งมอบตราสัญลักษณ์เจ้าภาพงานศิลปวัฒนธรรม อุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๑๖ ให้รองศาสตราจารย์ธนิต ธงทอง รองอธิการบดี ปฏิบตั กิ ารแทนอธิการบดีในภาระหน้าทีด่ า้ นกิจการนิสติ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย พร้อมทัง้ กล่าวว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจะได้ร่วมกับสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาทุ ก แห่ ง จั ด กิ จ กรรมเทิ ด พระเกี ย รติ แ ละร่ ว มร้ อ ยใจ ถวายพระพรแด่ พ ระองค์ ท ่ า นอย่ า งยิ่ ง ใหญ่ แ ละสมพระเกี ย รติ เพื่ อ เป็ น การเฉลิ ม ฉลองในโอกาสทรงเจริ ญ พระชนมายุ ค รบ ๖๐ พรรษา ในปี ๒๕๕๘
19
อนุสารอุดมศึกษา
งานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา งานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษาถือก�ำเนิดขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริม และสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย ซึ่งเต็มไปด้วยความหลากหลายอยู่ตามภูมิภาค ต่างๆ ทัว่ ประเทศ ซึง่ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและมีเสน่หอ์ ยูภ่ ายในตัวเองทีจ่ ะดึงดูด ให้ผคู้ นได้สมั ผัสทัง้ ด้านนาฏศิลป์ คีตศิลป์ และวิจติ รศิลป์ เดิมใช้ชอื่ ว่า ‘งานส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรมทบวงมหาวิทยาลัย’ (ครั้งที่ ๑ - ๕) ซึ่งต่อมาเมื่อมีการปรับ โครงสร้างของส่วนราชการทบวงมหาวิทยาลัยให้เป็นส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษาในสั ง กั ด ของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร จึ ง ได้ เ ปลี่ ย นมาเป็ น ชื่ อ ‘งานส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา’ ตั้งแต่ ครั้งที่ ๖ และเปลี่ยนเป็น ‘งานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา’ จนถึงปัจจุบัน
20
ครั้งที่ ๑ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างวันที่ ๒๗ - ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๔๒ สถาบัน ครั้งที่ ๒ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ ๑ - ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๖๑ สถาบัน ครั้งที่ ๓ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ ๑๑ - ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๕๙ สถาบัน ครัง้ ที่ ๔ มหาวิทยาลัยศิลปากร (พระราชวังสนามจันทร์) ‘ศิลปะ นาฏยลีลา ลักษณาศิลปากร’ จังหวัดนครปฐม ระหว่างวันที่ ๒๕ - ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๔ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๖๑ สถาบัน ครั้งที่ ๕ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ‘ภูมิปัญญาพื้นบ้าน สืบสานพัฒนาไทย’ จังหวัดนครศรีธรรมราช ระหว่างวันที่ ๒๔ - ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๖ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๖๓ สถาบัน ครัง้ ที่ ๖ มหาวิทยาลัยศิลปากร (พระราชวังสนามจันทร์) ‘ศิลปะ นาฏยธร ศิลปากร วรวัฒนา’ จังหวัดนครปฐม ระหว่างวันที่ ๑๘ - ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๗๕ สถาบัน ครั้งที่ ๗ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ‘ออนซอน ศิลป์ ศรีมอดินแดง’ จังหวัดขอนแก่น ระหว่างวันที่ ๒๕ - ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๗ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๔๕ สถาบัน ครั้งที่ ๘ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ‘ศิลป์ ล้านนา ปูจาแม่ฟ้าหลวง’ จังหวัดเชียงราย ระหว่างวันที่ ๑๓ - ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๕๐ สถาบัน ครั้งที่ ๙ มหาวิทยาลัยบูรพา ‘วัฒนธรรมทุกภาค ทุกศาสนา สร้างปัญญาชน’ จังหวัดชลบุรี ระหว่างวันที่ ๒๕ - ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๘๓ สถาบัน ครั้งที่ ๑๐ มหาวิทยาลัยศิลปากร (พระราชวังสนามจันทร์) ‘ศิลปะ ศิลปิน ศิลปากร’ จังหวัดนครปฐม ระหว่างวันที่ ๗ - ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๙๖ สถาบัน ครั้งที่ ๑๑ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ‘นาฏดุริยศิลป์ ณ ถิ่นล้านนา’ จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างวันที่ ๑๙ - ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๙๒ สถาบัน ครั้งที่ ๑๒ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ‘เทิดไท้องค์เอกอัครศิลปิน’ จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างวันที่ ๙ - ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๕๔ สถาบัน ครั้งที่ ๑๓ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ‘รวมดวงใจถวายแม่ของแผ่นดิน’ จังหวัดสงขลา ระหว่างวันที่ ๑๒ - ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ จ�ำนวนสถาบันที่เข้าร่วมงาน ๕๘ สถาบัน ครั้งที่ ๑๔ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ‘ฮีตฮอยศิลป์ ถิ่นตักสิลา’ จังหวัดมหาสารคาม ระหว่างวันที่ ๒๕ - ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ จ�ำนวนสถาบันทีเ่ ข้าร่วมงาน ๗๖ สถาบัน
อนุสารอุดมศึกษา
เล่าเรื่อง
ด้วยภาพ
21
วันเสาร์ที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทานของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยมี คณะผู้บริหารระดับสูง ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เข้าร่วมในพิธีถวายผ้าพระกฐิน พระราชทาน ณ วัดเจ็ดยอด ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย โดยมียอดเงินกฐินรวม ๑,๕๙๔,๒๓๑ บาท ทั้งนี้ เพื่อสืบสาน วัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของพุทธศาสนิกชนในการท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา อนุสารอุดมศึกษา
๗ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๗ - รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ก�ำจร ตติ ย กวี เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา พร้อมด้วยนางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมบันทึกวีดิทัศน์อาศิรพาทถวายพระพรชัยมงคล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ โดยมี พลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วย นายกฤษณพงศ์ กีรติกร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ พลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการ เข้าร่วมด้วย
22
๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๗ - พลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วย นายกฤษณพงศ์ กีรติกร และพลเอก สุ ร เชษฐ์ ชั ย วงศ์ รั ฐ มนตรี ช ่ ว ยว่ า การกระทรวง ศึกษาธิการ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมทั้งผู้บริหารองค์กรหลักและหน่วยงานในก�ำกับ ของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ร่ ว มให้ ก ารต้ อ นรั บ พลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรั ฐ มนตรี ในโอกาสเป็ น ประธานการประชุ ม คณะหั ว หน้ า ส่ ว นราชการระดั บ กระทรวงหรื อ เที ย บเท่ า ครั้ ง ที่ ๒/๒๕๕๗ ณ กระทรวงศึกษาธิการ อนุสารอุดมศึกษา
๑๗ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๗ นายกฤษณพงศ์ กีรติกร รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เป็ น ประธานการ ประชุมคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา (ก.พ.อ.) ครั้ ง ที่ ๔/๒๕๕๗ ณ ห้ อ งประชุ ม ศาสตราจารย์ วิจิตร ศรีสอ้าน ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา
๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ - นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมหารือเกี่ยวกับ แนวทางความร่วมมือและการให้ทุนการศึกษากับผู้บริหารและ เจ้าหน้าที่จาก Queensland University of Technology ประเทศออสเตรเลีย ณ ห้องประชุมพันเอกอาทร ชนเห็นชอบ (๑)
23
๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ - นายสุภัทร จ�ำปาทอง ผู ้ ช ่ ว ยเลขาธิ ก ารคณะกรรมการการ อุดมศึกษา และนายสุนทร อรุณานนท์ชัย ประธาน กรรมการเทสโก้ โลตัส และประธานมูลนิธิเทสโก้ เพือ่ ไทย ร่วมกันมอบทุนการศึกษาโครงการทุนการศึกษา เทสโก้ โลตั ส เพื่ อ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย และหนั ง สื อ แสดงความยิ น ดี แ ก่ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ประเสริฐ ณ นคร ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
อนุสารอุดมศึกษา