สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 328 ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 ประเทศไทย โทรศัพท 0 2610 5200 โทรสาร 0 2354 5524-6 http://www.mua.go.th
ที่ปรึกษา
นายสุเมธ แยมนุน รศ.พินิติ รตะนานุกูล รศ. นพ.กําจร ตติยกวี นางแนงนอย พัวพัฒนกุล นายศิระวิทย คลี่สุวรรณ
ดําเนินการจัดทํา
นางชุลีกร กิตติกอง ฝายประชาสัมพันธ สํานักอํานวยการ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
สนับสนุนขอมูล
สถาบันอุดมศึกษาในกํากับ/ในสังกัดของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
พิมพครั้งที่ 1
เดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 จํานวนพิมพ 3,000 ฉบับ ISBN 978-616-202-255-5
เกริ่นนํา สถาบันอุดมศึกษาไทย ถือเปนแหลงรวมองคความรู ศาสตร และวิทยาการแขนงตาง ๆ ตลอดจนเปนบอเกิดแหงนวัตกรรมทางการศึกษา การวิจัย และเทคโนโลยี อีกทั้งยังเปนสถาบัน ทางวิชาการที่ใหความรูและความชํานาญในการปฏิบัติกับวิชาชีพและวิชาชีพชั้นสูง มีวัตถุประสงค เพื่อใหการศึกษา และสงเสริมงานวิจัยเพื่อสรางและพัฒนาองคความรู สรางสังคมแหงการเรียนรู และสรางกระบวนการเรียนรูที่กอใหเกิดปญญาเพื่อพัฒนาสังคม ใหอยูรวมกันอยางสันติและ มีดุลยภาพ โดยยึดหลักจริยธรรมทางวิชาการ และหลักในการใหโอกาสทางการศึกษาแกประชาชน รวมทั้งการสนับสนุนกิจกรรมของรัฐและทองถิ่น และมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดลอม โดยมีพันธกิจหลัก 4 ประการของสถาบันอุดมศึกษา ในการสอน การวิจัย การใหบริการทางวิชาการ แกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ปจจุบัน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีสถาบันอุดมศึกษาในกํากับ/ในสังกัด ทั้ง ของรัฐและเอกชน รวมวิทยาลัยชุมชน รวม 169 แหง ซึ่งสามารถจัดกลุมได ดังนี้ (1) มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ จํานวน 14 แหง (2) มหาวิทยาลัยในสังกัดของรัฐ จํานวน 65 แหง แบงเปนมหาวิทยาลัยในสังกัดของรัฐเดิม จํานวน 16 แหง มหาวิทยาลัยราชภัฏ จํานวน 40 แหง และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล จํานวน 9 แหง (3) มหาวิทยาลัยเอกชน วิทยาลัยเอกชน และสถาบันเอกชน รวม 71 แหง (4) วิทยาลัยชุมชน จํานวน 19 แหง ทั้งนี้ เพื่อใหสาธารณชนไดมีขอมูลเกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษาไทยไวใชในการสืบคน และ อางอิงเบื้องตน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงไดรวบรวมขอมูลของสถาบันอุดมศึกษา ในกํากับและในสังกัด ทั้งของรัฐและเอกชน ตลอดจนวิทยาลัยชุมชน และจัดทําเปนหนังสือ ‘สถาบัน อุดมศึกษาไทย’ ฉบับนีข้ ึ้น เพื่อใหผูอานไดใชประโยชนตอไป
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กันยายน พุทธศักราช 2553
สารบัญ หนา
มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ • • • • • • • • • • • • • •
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยพะยา มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยในสังกัดของรัฐ • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนครพนม มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยแมโจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 30 32 34 36 38 40 42 44 46 48 50 52 54 56 58 60 62 64 66 68 70 72 74 76 78
สารบัญ หนา • มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย • มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม • มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี • มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี • มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม • มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา • มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช • มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค • มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา • มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย • มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร • มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา • มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม • มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี • มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ • มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต • มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม • มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา • มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด • มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร • มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี • มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง • มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย • มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ • มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ • มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร • มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา • มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต • มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา • มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี • มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร • มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง • มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี • มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ • มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
80 82 84 86 88 90 92 94 96 98 100 102 104 106 108 110 112 114 116 118 120 122 124 126 128 130 132 134 136 138 140 142 144 146 148 150 152 154
สารบัญ หนา • • • • • •
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
มหาวิทยาลัยเอกชน • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิรน มหาวิทยาลัยเกริก มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตย มหาวิทยาลัยคริสเตียน มหาวิทยาลัยเจาพระยา มหาวิทยาลัยชินวัตร มหาวิทยาลัยเซนตจอหน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร มหาวิทยาลัยธนบุรี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย มหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ มหาวิทยาลัยนอรท-เชียงใหม มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟก มหาวิทยาลัยปทุมธานี มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยฟารอีสเทอรน มหาวิทยาลัยภาคกลาง มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยโยนก มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชธานี มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร (ประเทศไทย) มหาวิทยาลัยเวสเทิรน มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยสยาม
156 158 160 162 164 166 168 170 172 174 176 178 180 182 184 186 188 190 192 194 196 198 200 202 204 206 208 210 212 214 216 218 220 222 224 226
สารบัญ หนา • • • • • • • • •
มหาวิทยาลัยหอการคาไทย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยหาดใหญ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มหาวิทยาลัยอีสเทิรนเอเชีย มหาวิทยาลัยอีสาน มหาวิทยาลัยเอเชียน มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย
สถาบันเอกชน • • • • • • • •
สถาบันกันตนา สถาบันการเรียนรูเพื่อปวงชน สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน สถาบันเทคโนโลยีปญญาภิวัฒน สถาบันเทคโนโลยีแหงอโยธยา สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ สถาบันรัชตภาคย สถาบันอาศรมศิลป
วิทยาลัยเอกชน • • • • • • • • • • • • • • • • • •
วิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา วิทยาลัยเฉลิมกาญจนาระยอง วิทยาลัยเชียงราย วิทยาลัยเซนตหลุยส วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก วิทยาลัยดุสิตธานี วิทยาลัยตาป วิทยาลัยทองสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม วิทยาลัยนครราชสีมา วิทยาลัยนานาชาติเซนตเทเรซา วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย วิทยาลัยพิชญบัณฑิต วิทยาลัยพิษณุโลก วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ
228 230 232 234 236 238 240 242 244 246 248 250 252 254 256 258 260 262 264 266 268 270 272 274 276 278 280 282 284 286 288 290 292 294 296
สารบัญ หนา • • • • • •
วิทยาลัยราชพฤกษ วิทยาลัยลุมนํ้าปง วิทยาลัยศรีโสภณ วิทยาลัยสันตพล วิทยาลัยแสงธรรม วิทยาลัยอินเตอรเทคลําปาง
วิทยาลัยชุมชน
• วิทยาลัยชุมชนตราด • วิทยาลัยชุมชนตาก • วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส • วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย • วิทยาลัยชุมชนปตตานี • วิทยาลัยชุมชนแพร • วิทยาลัยชุมชนพังงา • วิทยาลัยชุมชนพิจิตร • วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร • วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน • วิทยาลัยชุมชนยโสธร • วิทยาลัยชุมชนยะลา • วิทยาลัยชุมชนระนอง • วิทยาลัยชุมชนสงขลา • วิทยาลัยชุมชนสตูล • วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร • วิทยาลัยชุมชนสระแกว • วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลําภู • วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี
ดัชนี
298 300 302 304 306 308 310 312 314 316 318 320 322 324 326 328 330 332 334 336 338 340 342 344 346 348
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0 2215 3555, 0 2611 7500, 0 2218 2000 โทรสาร 0 2215 4804 เว็บไซต http://www.chula.ac.th แนะนํา
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเปนสถาบันอุดมศึกษาแหงแรกในประเทศไทย ถือกําเนิดมาจาก โรงเรียนมหาดเล็กหลวงในสมัยรัชกาลที่ 5 ครั้นในสมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูห วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตงั้ เปนโรงเรียนขาราชการพลเรือนของสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูห วั ตอมาพระองคมพี ระราชประสงคใหสถานศึกษานีเ้ ปนสถาบันการศึกษาชัน้ สูง ใหการศึกษา ในวิชาการทั่วไป จึงทรงสถาปนาโรงเรียนขาราชการพลเรือนขึ้นเปนมหาวิทยาลัย พระราชทานนาม เปนอนุสรณเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั วา “จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2459 เริ่มเปดสอน 4 คณะ ไดแก คณะแพทยศาสตร คณะรัฐประศาสนศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะอักษรศาสตรและวิทยาศาสตร ปจจุบันจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเปด ทําการสอน 19 คณะ 1 สํานักงาน 1 บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัย/สถาบันการสอน 5 แหง สถาบันวิจัย 8 แหง สถาบันการศึกษาสมทบ 2 แหง ใหการศึกษาตั้งแตระดับปริญญาตรีถึงระดับปริญญาเอก โดยมีพระเกี้ยวและสีชมพูเปนสัญลักษณ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย (ขอมูล ณ วันที่ 18 สิงหาคม 2553)
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะนิติศาสตร คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี คณะรัฐศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะอักษรศาสตร วิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี
10 สถาบันอุดมศึกษาไทย
78 540 455 85 24,733 63 10,998 595 2,522 8,051
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน คน
คณะจิตวิทยา คณะทันตแพทยศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬา คณะศิลปกรรมศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะสัตวแพทยศาสตร วิทยาลัยประชากรศาสตร วิทยาลัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข
การรับสมัครเขาศึกษา
• การรับเขาศึกษาโดยวิธีรับตรงแบบพิเศษ • การรับเขาศึกษาโดยวิธีรับตรงแบบปกติ • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • การรับเขาศึกษาในหลักสูตรนานาชาติ/ภาษาอังกฤษ รายละเอียดเกี่ยวกับการรับสมัครดูไดที่ http://www.admissions.chula.ac.th หรือสอบถาม เพิ่มเติมที่ โทรศัพท 0 2218 0209-0
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ภาคฤดูรอน ระดับบัณฑิตศึกษา ภาคปกติ ภาคฤดูรอน
14,500 - 18,000 บาท 4,500 บาท 19,000 - 26,000 บาท 7,000 บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
11
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันภาษา สถาบันการขนสง สถาบันวิจัยทรัพยากรทางนํ้า สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร สถาบันไทยศึกษา สถาบันวิจัยพลังงาน สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม สถาบันวิจัยสังคม สถาบันเอเชียศึิกษา สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม 239 ถนนหวยแกว ตําบลสุเทพ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50200 โทรศัพท 0 5394 1000, 0 5394 1301, 0 5394 1302 โทรสาร 0 5321 7143 เว็บไซต http://www.cmu.ac.th
แนะนํา
มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม เป น มหาวิ ท ยาลั ย แห ง แรกที่ ท างราชการจั ด ตั้ ง ขึ้ น ในส ว น ภูมิภาคของประเทศไทย ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในสวนภูมิภาค พ.ศ. 2501 ในรัฐบาลชุด จอมพล ถนอม กิตติขจร เปนนายกรัฐมนตรี ตัง้ อยู ณ ดินแดนลานนา ซึง่ ในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 รัฐบาลชุด จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต ไดลงมติอนุมัติใหจัดตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหมขึ้น โดยกําหนด ใหเปดสอนในปการศึกษา 2507 และในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2507 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม พ.ศ. 2507 ออกประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา และใหใชตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป มหาวิทยาลัยเชียงใหมไดเริม่ เปดทําการสอนเมือ่ วันที่ 18 มิถนุ ายน พ.ศ. 2507 ในระยะเริม่ ตน ไดเปดดําเนินการสอนเพียง 3 คณะ ที่เปนรากฐานของทุกสาขาวิชา คือ คณะมนุษยศาสตร คณะสั ง คมศาสตร และคณะวิ ท ยาศาสตร ต อ มาในป พ.ศ. 2508 ได รั บ โอนกิ จ การคณะ แพทยศาสตร โรงพยาบาลมหาราชนครเชี ย งใหม มหาวิ ท ยาลั ย แพทยศาสตร มาเป น คณะ แพทยศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม ในป เ ดี ย วกั น นี้ เ องได เ ริ่ ม จั ด ตั้ ง คณะเกษตรศาสตร อี ก คณะหนึ่ง ในปการศึกษา 2511 ไดจัดตั้งคณะศึกษาศาสตร และในปการศึกษา 2513 ไดจัดตั้ง คณะวิศวกรรมศาสตร ตอมาในป พ.ศ. 2515 ไดจัดตั้งคณะเพิ่มอีก 3 คณะ คือ คณะทันตแพทย ศาสตร คณะเภสัชศาสตร และคณะพยาบาลศาสตร ในป พ.ศ. 2536 ไดตั้งคณะเศรษฐศาสตร คณะบริหารธุรกิจ และคณะอุตสาหกรรมเกษตร ในป พ.ศ. 2537 ตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร และในปการศึกษา 2549 มีการจัดตั้งคณะการสื่อสารมวลชน คณะนิติศาสตร คณะรัฐศาสตร และรัฐประศาสนศาสตร และวิทยาลัยศิลปะ สือ่ และเทคโนโลยี ดังนัน้ ปจจุบนั มหาวิทยาลัยเชียงใหม มีคณะที่ทําการเปดสอนทั้งหมด 20 คณะ 1 วิทยาลัย และ 1 บัณฑิตวิทยาลัย
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรภาคพิเศษ - หลักสูตรนานาชาติ - หลักสูตรตอเนื่อง จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
12 สถาบันอุดมศึกษาไทย
40 385 292 67 25 1 28,147 1 8,331 385 1,235 11,460
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน คน
คณะเกษตรศาสตร คณะทันตแพทยศาสตร คณะเทคนิคการแพทย คณะบริหารธุรกิจ คณะพยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะมนุษยศาสตร คณะวิจิตรศิลป คณะวิทยาศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศึกษาศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะสังคมศาสตร คณะสัตวแพทยศาสตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะการสื่อสารมวลชน คณะนิติศาสตร คณะรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี วิทยาลัยนานาชาติ บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสุขภาพ สถาบันวิจัยสังคม สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สถาบันภาษา สถาบันพิภพวิทยา สถาบันเพื่อการวิจัยและสงเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
การรับสมัครเขาศึกษา
• การสอบคัดเลือกนักเรียนในเขตพัฒนาภาคเหนือ (โควตาภาคเหนือฯ) สํานักทะเบียนและประมวลผล โทรศัพท 0 5394 3071 ตอ 108, 131-134 • โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและชุมชน - โครงการที่คณะรับตรง - โครงการที่มหาวิทยาลัยดําเนินการ (ดําเนินการโดยสํานักทะเบียนและประมวลผล โทรศัพท 0 5394 3071 ตอ 108, 131-134) • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
46,560 - 561,600 60,000 - 360,000 136,000 - 495,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
13
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยทักษิณ 140 หมู 4 ตําบลเขารูปชาง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 โทรศัพท 0 7431 7600 โทรสาร 0 7444 3965 เว็บไซต http://www.tsu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยทักษิณ มีจุดเริ่มตนจากการขยายงานออกสูสวนภูมิภาคของวิทยาลัย วิชาการศึกษา ซึ่งไดกระจายโอกาสทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาใหแกนักเรียนในสวนภูมิภาค ไดมีโอกาสศึกษาตอ จึงมีการจัดตั้งวิทยาลัยวิชาการศึกษาสงขลาขึ้น เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2511 และผลจากการพัฒนาของวิทยาลัยวิชาการศึกษา ตอมาจึงไดรับการยกฐานะขึ้นเปนมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2517 ณ จุดนี้ วิทยาลัยวิชาการศึกษาสงขลาจึงไดรับ การยกฐานะขึ้นเปนมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตสงขลา และเปนปแรกที่เปดสอน หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต 4 ป และเจริญเติบโตมาเปนลําดับ มหาวิทยาลัยไดตระหนักในหนาที่ และภาระงานดานการจัดการศึกษา เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการพัฒนา ประเทศเสมอมา ในป 2532 ไดวางแผนและขยายงานไปยังพื้นที่ในจังหวัดพัทลุง เนื่องจากพื้นที่ เดิมที่ ต.เขารูปชาง อ.เมือง จ.สงขลา มีเพียง 162 ไร ไมเพียงพอตอการรองรับการจัดตั้งคณะใหม และการเติ บ โตในอนาคต ต อ มาได เ ปลี่ ย นชื่ อ เป น มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ ภาคใต ดานการขยายงานไดดําเนินการมาอยางตอเนื่อง แตเพื่อใหการดําเนินงานและการบริหารงานทุก สวน มีความคลองตัวมากขึ้น จึงไดมีการจัดทําแผนการยกฐานะมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาค ใต เปนมหาวิทยาลัยเอกเทศ มีชื่อวา "มหาวิทยาลัยทักษิณ" พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณได ผานกระบวนการตามกฎหมายครบทุกขัน้ ตอน และไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมือ่ วันพฤหัสบดี ที่ 31 ตุลาคม 2539 มีผลบังคับใชในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2539 ซึ่งถือเปนวันสถาปนามหาวิทยาลัย ทักษิณ จนเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยทักษิณ พ.ศ. 2551 ในฐานะ มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 125 ตอนที่ 28 ก หนา 47 - 71 วันที่ 5 กุมภาพันธ 2551 พระราชบัญญัตินี้มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 6 กุมภาพันธ 2551 เปนตนไป
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
14 สถาบันอุดมศึกษาไทย
26 75 12,083 128 1,467 39 916
หนวยงาน หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะศึกษาศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา คณะศิลปกรรมศาสตร คณะเศรษฐศาสตรและบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันทักษิณคดีศึกษา วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยภูมิปญญาชุมชน สถาบันปฏิบัติการชุมชนเพื่อการศึกษาแบบบูรณาการ
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ระบบโควตา • ระบบรับตรง - วิธีทั่วไป - วิธีพิเศษ - โครงการเพชรศิลป - โครงการทายาทเกษตร - โครงการความสามารถทางดานกีฬา - โครงการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม - โครงการขยายโอกาสทางการศึกษาเพือ่ พัฒนาบุคลากรทางดานเทคโนโลยีการเกษตร - โครงการบัณฑิตคืนถิ่นตามพระราชดําริ (ครูวิทยาศาสตรคืนถิ่น) สอบถามรายละเอียดไดที่ โทรศัพท 0 7444 3975 หรือที่ http://www.tsu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี 44,000 - 137,750 ระดับปริญญาโท 46,250 - 139,500 โครงการความรวมมือ - หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต เหมาจายตลอดหลักสูตร 165,000 - หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา เหมาจายตลอดหลักสูตร 160,000 - หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู 50,000
บาท บาท บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
15
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพมหานคร 10140 โทรศัพท 0 2470 8000, 0 2427 0039 โทรสาร 0 2427 9860 เว็บไซต http://www.kmutt.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เดิมคือ "วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี" (วท.ธ.) กอตั้งเมื่อ 4 กุมภาพันธ 2503 ตอมาคณะกรรมการบริหารสภาการศึกษาไดมีมติใหวิทยาลัย เทคนิ ค ธนบุ รี รวมกั บ วิ ท ยาลั ย โทรคมนาคมและวิ ท ยาลั ย เทคนิ ค พระนครเหนื อ จั ด ตั้ ง เป น สถาบั น เทคโนโลยี มี 3 วิ ท ยาเขต และในป 2513 ได รั บ พระราชทานพระบรมราชานุญ าต ใหใชนาม "พระจอมเกลา" เปนชื่อของสถาบัน มีนามภาษาอังกฤษวา "King Mongkut's Institute of Technology" และตอมาในป 2517 ไดโอนไปเปนสวนราชการสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย เนื่องจาก วิทยาเขตทั้งสามมีประวัติ ปรัชญา และแนวทางในการจัดการศึกษาตางกัน จึงเริ่มดําเนินการ แยก 3 วิทยาเขตเพื่อจัดเปนสถาบันอุดมศึกษาอิสระ 3 แหง โดยในป 2528 รัฐสภาผานราง พ.ร.บ. ซึง่ รางโดยวิทยาเขตธนบุรี ทําใหวทิ ยาเขตธนบุรี เปนหนึง่ นิตบิ คุ คล มีอสิ ระและมีบทบาทในการบริหาร ตนเอง รวมทั้งไดเปลี่ยนชื่อเปน "สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี" (สจธ.) และเปลี่ยนสถานะ จากมหาวิทยาลัยในสังกัดของรัฐเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ และเปลี่ยนชื่อเปน "มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี" เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2541 ถือไดวาเปนมหาวิทยาลัยในสังกัดของรัฐ แหงแรกที่เปลี่ยนสภาพเปนมหาวิทยาลัยในกํากับรัฐ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
16 สถาบันอุดมศึกษาไทย
19 153 106 47 11,749 6,000 777 1,383
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตร บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม วิทยาลัยสหวิทยาการ สถาบันพัฒนาและฝกอบรมโรงงานตนแบบ
คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี คณะพลังงานสิ่งแวดลอมและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบ บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม สถาบันวิทยาการหุนยนตภาคสนาม สถาบันการเรียนรู
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ระบบโควตา ประกอบดวย โควตา 2B-KMUTT โควตาศิษยบุตร โควตาศิษยเกา โควตา สอวน. ฯลฯ • โครงการเรียนดี • คัดเลือกตรง • คัดเลือกตรงความสามารถพิเศษและทุนเพชรพระจอมเกลา ทุกประเภทดูรายละเอียดไดที่เว็บไซต http://www.kmutt.ac.th/admission หรือติดตอ หมายเลขโทรศัพท 0 2470 8146
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
42,000 - 112,200 88,000 - 280,000 140,000 - 430,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
17
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
คณะ สํานักงาน และสถาบัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 1518 ถนนพิบูลสงคราม แขวงวงศสวาง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 โทรศัพท 0 2913 2500-25 โทรสาร 0 2913 2618, 0 2913 5814, 0 2912 2057 เว็บไซต http://www.kmutnb.ac.th
แนะนํา
วันที่ 19 กุมภาพันธ พ.ศ. 2502 กระทรวงศึกษาธิการไดจดั ตัง้ โรงเรียนเทคนิคพระนครเหนือ โดยความรวมมือระหวางรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งเปนที่รูจักกันทั่วไปใน นาม “เทคนิคไทย-เยอรมัน” ตอมาโรงเรียนเทคนิคพระนครเหนือไดรบั การยกฐานะขึน้ เปน “วิทยาลัย เทคนิคพระนครเหนือ” และวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507 และในป พ.ศ. 2514 ไดรับพระราชทานนาม จากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว วา “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา” โดยมีวิทยาลัยทั้งสามแหง เปนวิทยาเขต ซึ่งวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือใชชื่อวา “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขต พระนครเหนือ” และวันที่ 19 กุมภาพันธ พ.ศ. 2529 มีประกาศพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ พ.ศ. 2528 ใหแยกสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาออกเปนสถาน ศึกษา 3 แหง เพื่อความคลองตัวในการบริหารงานของแตละสถาบัน วิทยาเขตพระนครเหนือ ใชชื่อ วา “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ” และวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2550 มีประกาศ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ พ.ศ. 2550 มีผลใหสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือเปลี่ยนสถานภาพเปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ เปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ปจจุบันมหาวิทยาลัยจัดการศึกษาตั้งแตระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวม 142 หลักสูตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553)
จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ (รวมสถาบันสมทบ) จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ - หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) - หลักสูตรของสถาบันสมทบ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
18 สถาบันอุดมศึกษาไทย
19 142 123 15 3 1 18,646 3,174 551 1,520
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตรประยุกต คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศิลปศาสตรประยุกต คณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะสถาปตยกรรมและการออกแบบ บัณฑิตวิทยาลัย คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตรนานาชาติสิรินธร ไทย-เยอรมัน สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส กาญจนาภิเษกวิทยาลัย ชางทองหลวง (สถาบันสมทบ)
การรับสมัครเขาศึกษา
• ระบบรับตรง • ระบบโควตา - ระบบรับตรง และระบบโควตาสมัครทางอินเทอรเน็ต ไดที่ http://www.admission. kmutnb.ac.th หรือสมัครที่กองบริการการศึกษา ชั้น 2 อาคาร TGGS - ระบบโควตาเรียนดี และโควตาอืน่ ๆ ทีค่ ณะ/วิทยาลัยดําเนินการเอง ใหตดิ ตอโดยตรง ที่คณะ/วิทยาลัย • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
42,500 - 87,000 บาท 53,700 - 73,700 บาท 111,700 - 291,300 บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา หลักสูตร ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
19
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 111 ถนนมหาวิทยาลัย ตําบลสุรนารี อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท 0 4422 3000 โทรสาร 0 4422 4070 เว็บไซต http://www.sut.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐแหงแรกของประเทศไทย เปนตนแบบของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐที่มีการบริหารงานในรูปแบบใหม คือ ความเปนอิสระ คลองตัว และมีประสิทธิภาพในการดําเนินงานสูง สามารถพัฒนาองคกรและระบบงานที่เหมาะ สมกับกิจการของมหาวิทยาลัย ลดขั้นตอนการทํางาน สามารถใชทรัพยากรที่มีอยูอยางคุมคาและ เกิดประโยชนสูงสุด การดําเนินการตาง ๆ สวนใหญสิ้นสุดในระดับมหาวิทยาลัย และใหมีการ ควบคุมจากหนวยงานภายนอกนอยที่สุดเทาที่จําเปน นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเปน มหาวิทยาลัยเฉพาะทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดรบั เลือกเปนมหาวิทยาลัยวิจยั ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ระดับดีมาก อันดับ 1 ของมหาวิทยาลัยของรัฐ อันดับ 2 ของประเทศ และเปน 1 ใน 9 มหาวิทยาลัย วิจัยแหงชาติ ประจําป 2553 ซึ่งเปดสอนทั้งระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา ดวยหลักสูตร ที่ทันสมัย มีความหลากหลาย โดยเนนการเรียนการสอน และการวิจัยทางดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีที่จําเปนตอการพัฒนาประเทศ การจัดการเรียนการสอนใชระบบหนวยกิตในระบบไตรภาค โดยแบงเปน 3 ภาคการศึกษา มีหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐานของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ใชเวลาใน การเรียนตามหลักสูตร 4 ป และมหาวิทยาลัยกําหนดใหมีการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ แบบเต็มเวลา หรือที่เรียกวา “สหกิจศึกษา” อยางนอย 1 ภาคการศึกษา โดยมีการติดตาม นิเทศงานและประเมินผลรวมกันอยางเปนระบบ เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูประสบการณจริงจาก การปฏิบัติงาน และมีโอกาสพัฒนาศักยภาพใหตรงตามความตองการของสถานประกอบการ ซึ่งเปนมหาวิทยาลัยแหงแรกของประเทศไทยที่ไดมีการจัดการศึกษาในลักษณะนี้ การจัดการ ศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีมุงสรางบัณฑิตใหเปนบัณฑิตสมบูรณแบบที่มีทักษะสําคัญ 4 ประการ คือ ทักษะความรู ทักษะขาวสาร ทักษะองคการ และทักษะมนุษย เพื่อเสริมสราง ใหบัณฑิตเปนคนเกง คนดี มีความสุขในชีวิต และเปนพลเมืองที่มีคุณคาตอประเทศและสังคมโลก
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
20 สถาบันอุดมศึกษาไทย
6 91 91 9,466 945 408 1,085
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร สํานักวิชาเทคโนโลยีสังคม สํานักวิชาวิทยาศาสตร
สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร สํานักวิชาแพทยศาสตร สํานักวิชาพยาบาลศาสตร
การรับสมัครเขาศึกษา
(สอวน.)
• ประเภทรับตรง - การรับนักศึกษาแพทยศาสตร และนักศึกษาพยาบาลศาสตร • ประเภทโควตา ประกอบดวย - โควตาโรงเรียน/โควตาจังหวัด - โควตาผูมีความสามารถทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี - โควตานักกีฬา - โควตาดนตรีและนาฏศิลป - โควตาเด็กดีมีคุณธรรม - โควตานักเรียนมูลนิธสิ ง เสริมโอลิมปกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตรศกึ ษา
หนวยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับนักศึกษา : ฝายรับนักศึกษา ศูนยบริการการศึกษา โทรศัพท 0 4422 3014-5 และ 0 4422 3025-6 โทรสาร 0 4422 3010 หรือดูรายละเอียดไดที่ เว็บไซต http://www.sut.ac.th/ces • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
109,300 - 113,300 87,900 147,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
21
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยบูรพา 169 ถนนลงหาดบางแสน ตําบลแสนสุข อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20131 โทรศัพท 0 3810 2222 โทรสาร 0 3839 0351 เว็บไซต http://www.buu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยบูรพา ไดพัฒนามาจากวิทยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน สถาบันแหงนี้ เปนสถาบันอุดมศึกษาแหงแรกของประเทศทีต่ งั้ ขึน้ ในสวนภูมภิ าค กําหนดใหมหี ลักสูตร 4 ป ผูส าํ เร็จ การศึกษาไดรบั ปริญญาการศึกษาบัณฑิต โดยมีพธิ สี ถาปนาขึน้ เมือ่ วันที่ 8 กรกฎาคม 2498 จึงถือวา วันที่ 8 กรกฎาคม หรือเรียกวา “วันแปดกรกฎ” ของทุกป เปนวันคลายวันสถาปนามหาวิทยาลัย ตอมาใน ป 2517 วิทยาลัยวิชาการศึกษา ไดรบั การเปลีย่ นฐานะเปนมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยพระราช บัญญัตมิ หาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ทําใหวทิ ยาลัยวิชาการศึกษาบางแสนมีฐานะเปนมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางแสน (มศว.บางแสน) เริ่มมีคณะวิชาและหลักสูตรตาง ๆ มากขึ้น ป 2533 มีฐานะเปนมหาวิทยาลัยเอกเทศ ปจจุบันมหาวิทยาลัยบูรพา มีฐานะเปนหนวยงานใน กํากับของรัฐ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา โดยมีประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 9 มกราคม 2551 อันมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 10 มกราคม 2551 เปนตนมา มหาวิทยาลัยบูรพาเปนมหาวิทยาลัยชั้นนํา มีภารกิจหลักในการผลิตบัณฑิตที่มีลักษณะ เปนผูน าํ เนนดานอุตสาหกรรมและบริการ มีความสามารถในการแขงขันภายใตคณ ุ ธรรมและจริยธรรม สงเสริมการวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อสรางองคความรูที่สอดคลองกับความตองการของสังคมและ มุงสูความเปนมหาวิทยาลัยวิจัยทั้งยังใหบริการทางวิชาการและถายทอดเทคโนโลยีแกสังคม เพื่อให เกิดสังคมฐานความรู
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553)
จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ 26 หนวยงาน จํานวนหลักสูตรทั้งหมด 63 หลักสูตร 256 สาขาวิชา - หลักสูตรปกติ 51 หลักสูตร 239 สาขาวิชา - หลักสูตรนานาชาติ 12 หลักสูตร 17 สาขาวิชา จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี 32,821 คน จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 168 คน จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท 6,380 คน จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก 882 คน จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย 2,814 คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะพยาบาลศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร คณะการจัดการและการทองเที่ยว คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะแพทยศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะวิทยาศาสตร
22 สถาบันอุดมศึกษาไทย
คณะศึกษาศาสตร คณะโลจิสติกส คณะเภสัชศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬา คณะวิทยาการสารสนเทศ คณะศิลปกรรมศาสตร
คณะการแพทยแผนไทยอภัยภูเบศร คณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร คณะอัญมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาลัยพาณิชยศาสตร วิทยาลัยวิทยาการวิจยั และวิทยาการปญญา
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • โครงการรับตรงในภาคตะวันออก • โครงการรับตรงทั่วประเทศ • โครงการพิเศษ (โครงการนักเรียนทีม่ คี วามสามารถพิเศษทัว่ ประเทศ โครงการชางเผือก ไดแก คณะวิทยาศาสตร คณะศิลปกรรมศาสตร และวิทยาลัยวิทยาศาสตรการกีฬา โครงการ ทับทิมสยาม ไดแก คณะวิทยาศาสตรการกีฬา โครงการบัณฑิตรักถิ่น ไดแก คณะพยาบาลศาสตร โครงการเพชรตะวันออก โครงการเรียนดี ไดแก มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศสระแกว โครงการขยายโอกาสทางการศึกษาในทองถิ่น ไดแก มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาลัยเขตสารสนเทศ จันทบุรี) หนวยรับเขา กองบริการการศึกษา สํานักงานอธิการบดี ชั้น 7 อาคาร ภปร. โทรศัพท 0 3810 2710, 0 3810 2643 โทรสาร 0 3874 5794 เว็บไซต http://service.buu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
45,870 - 480,000 92,000 - 387,000 300,000 - 850,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
23
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
คณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร คณะภูมิสารสนเทศศาสตร คณะเทคโนโลยีทางทะเล คณะวิทยาศาสตรและสังคมศาสตร วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ วิทยาลัยนานาชาติ
มหาวิทยาลัยพะเยา 19 หมู 2 ตําบลแมกา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000 โทรศัพท 0 5446 6666 โทรสาร 0 5446 6690 เว็บไซต http://www.pyo.nu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยนเรศวรไดตระหนักถึงความสําคัญของการกระจายโอกาสและการสราง ความเสมอภาคทางการศึกษา ไดพิจารณาจากแผนอุดมศึกษาระยะยาว (พ.ศ. 2532 - 2547) มหาวิทยาลัยจึงเขาไปใหการศึกษาในชุมชนและทองถิน่ ตามบทบาทของสถาบันอุดมศึกษา ประกอบ กับไดมกี ารเรียกรองจากประชาชนจังหวัดพะเยา ขอใหมหาวิทยาลัยเขาไปตัง้ เปนจุดกําเนิดของสถาบัน อุดมศึกษาที่เปนระบบแบบถาวร มหาวิทยาลัยนเรศวรจึงไดเสนอขอจัดตั้งวิทยาเขตสารสนเทศขึ้น ที่จังหวัดพะเยา ซึ่งคณะรัฐมนตรีไดพิจารณาใหความเห็นชอบเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2538 และ ใหใชชื่อวิทยาเขตสารสนเทศพะเยา และเริ่มจัดการเรียนการสอนตั้งแตปการศึกษา 2538 เปนตนมา มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา ไดรับการพัฒนาตอเนื่องในระยะเวลา 12 ป ทําใหเปนองคกรขนาดใหญมีนิสิตและบุคลากรจํานวนมาก และมีแนวโนมวาจะมีจํานวน เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในอนาคต จึงตองปรับปรุงระบบบริหารจัดการเพื่อเตรียมพรอมกับการยกฐานะ เปนมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคตตอไป ในคราวประชุมครั้งที่ 131 (4/2550) เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2550 ไดวางระเบียบมหาวิทยาลัยนเรศวร วาดวยการบริหารงานของมหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา พ.ศ. 2550 และไดมีมติใหเปลี่ยนชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา” เปน “มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา” หลังจากนั้น สภามหาวิทยาลัยไดเห็นชอบราง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัย พะเยา พ.ศ. .... และไดนําเสนอไปยังสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อดําเนินการ เสนอรัฐบาลและรัฐสภาเพื่อตราเปนกฎหมายตามขั้นตอน ตั้งแตวันที่ 10 เมษายน 2551 ปจจุบัน มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา ไดรับการจัดตั้งเปน มหาวิทยาลัยพะเยา ตามประกาศในราชกิจจา นุเบกษา ในวันที่ 16 กรกฎาคม 2553
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรภาคพิเศษ จํานวนนิสิตระดับปริญญาตรี จํานวนนิสิตระดับปริญญาโท จํานวนนิสิตระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
24 สถาบันอุดมศึกษาไทย
26 69 61 8 11,253 543 5 944
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
สํานักวิชาศิลปศาสตร สํานักวิชาเกษตรศาสตรและทรัพยากรธรรมชาติ สํานักวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สํานักวิชาเภสัชศาสตร สํานักวิชาแพทยศาสตร สํานักวิชาพลังงานและสิ่งแวดลอม สํานักวิชานิติศาสตร
สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักวิชาวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรการแพทย สํานักวิชาสหเวชศาสตร สํานักงานการศึกษาภาคพิเศษ
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ระบบรับตรง (ในเขตภาคเหนือตอนบน) • ระบบรับตรง (โครงการพิเศษตาง ๆ เชน โครงการสงเสริมนักเรียนผูมีความเปนเลิศ ทางดานกีฬา โครงการทายาทเกษตรกร โครงการทายาทสาธารณสุข โครงการนักเรียนเรียนดี โครงการผลิ ต นั ก ภู มิ ส ารสนเทศสู ท อ งถิ่ น โครงการผลิ ต บั ณ ฑิ ต คื น ถิ่ น โครงการผลิ ต บั ณ ฑิ ต สาธารณสุขศาสตรเพื่อภาคอุตสาหกรรม โครงการสงเสริมและใหทุนแกนักเรียนผูมีความเปนเลิศ ทางวิชาการสาขาวิชาขาดแคลน โครงการทายาทหมอเมือง โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดําริ เปนตน) รายละเอียดเพิ่มเติมที่เว็บไซต http://www.admission.pyo.nu.ac.th
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
10,000 - 20,000 บาท 12,500 - 30,000 บาท 20,000 - 50,000 บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
25
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท 0 2849 6000 โทรสาร 0 2849 6222 เว็บไซต http://www.mahidol.ac.th
แนะนํา
มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลกํ า เนิ ด ขึ้ น จากพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ แห ง พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 นับแตทรงกอตั้งโรงพยาบาลศิริราชขึ้น ใน พ.ศ. 2431 ตอมา โปรดเกลาฯ ใหเปดสอนวิชาแพทย ณ โรงพยาบาลแหงนี้ เรียกวา “โรงเรียนแพทยากร” ตัง้ แต พ.ศ. 2433 จึงนับเปนสถาบันการศึกษาขั้นสูงที่เกาแกที่สุดแหงหนึ่งของประเทศไทย มีแพทยสําเร็จ การศึกษาเปนครัง้ แรกใน พ.ศ. 2436 ตอมาโรงเรียนแพทยนไี้ ดรบั พระราชทานนามจากรัชกาลที่ 5 วา “ราชแพทยาลัย” จากโรงเรียนแพทยตอมาไดพัฒนาขึ้นเปนคณะแพทยศาสตร จัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรีแหงแรกในประเทศไทย จากนัน้ ไดจดั ตัง้ “มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร” ใน พ.ศ. 2485 ครั้นถึง พ.ศ. 2512 เมื่อไดปรับปรุงเปนมหาวิทยาลัยอยางสมบูรณแลว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล า ฯ พระราชทานนามมหาวิ ท ยาลั ย แห ง นี้ ว า “มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล” ตามพระนามาภิไธยของสมเด็จพระราชบิดา เจาฟามหิดลอดุลยเดชฯ กรมหลวงสงขลานครินทร พระบิดาแหงการแพทยแผนปจจุบันและการสาธารณสุขของไทย
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักงาน และสถาบัน
คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล คณะเทคนิคการแพทย คณะวิทยาศาสตร คณะเเพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี คณะเภสัชศาสตร คณะพยาบาลศาสตร
26 สถาบันอุดมศึกษาไทย
49 572 420 152 18,985 213 5,301 294 1,554 3,539
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน คน (เฉพาะสายวิชาการ)
คณะสาธารณสุขศาสตร คณะเวชศาสตรเขตรอน บัณฑิตวิทยาลัย คณะทันตแพทยศาสตร คณะสังคมศาสตรเเละมนุษยศาสตร คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากรศาสตร
คณะสัตวแพทยศาสตร คณะศิลปศาสตร สถาบันวิจัยประชากรและสังคม สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย สถาบันพัฒนาการอาเซียน สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู วิทยาลัยดุริยางคศิลป วิทยาลัยราชสุดา วิทยาลัยศาสนศึกษา
การรับสมัครเขาศึกษา
• ระบบโควตา ไดแก โควตาวิทยาเขต โควตาพืน้ ที่ โควตาโครงการพิเศษ โควตาโครงการ สงเสริมความถนัดทางวิชาชีพ โควตาโครงการผลิตแพทยเพือ่ ชาวชนบท ดูรายละเอียดใน http://www. mahidol.ac.th/admission/quota2011 หรือโทรศัพท 0 2849 6251-8 • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • การคัดเลือกในหลักสูตรพิเศษ ดูรายละเอียดใน http://www.mahidol.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
59,150 - 1,200,000 72,000 - 850,000 132,900 - 868,200
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
27
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะกายภาพบําบัด คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สถาบันวิจัยโภชนาการ สถาบันชีววิทยาศาสตรโมเลกุล สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว วิทยาลัยการจัดการ วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการกีฬา
มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 333 หมู 1 ตําบลทาสุด อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 โทรศัพท 0 5391 6000 โทรสาร 0 5391 6034 เว็บไซต http://www.mfu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ไดรับการสถาปนาเปนมหาวิทยาลัยของรัฐ โดยมีสถานภาพ เปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ตั้งอยูบริเวณดอยแงม ตําบลทาสุด อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ในป พ.ศ. 2539 คณะรัฐมนตรีมีมติจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาที่จังหวัดเชียงราย เพื่อเปนอนุสรณ สถานแหงความจงรักภักดีของประชาชนที่มีตอสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี โดยยกฐานะ สถาบันราชภัฏเชียงรายขึ้นเปนมหาวิทยาลัย แตไดมีการยุบสภาผูแทนราษฎรกอน ทําใหราง พระราชบัญญัตไิ มไดรบั การพิจารณา หลังจากนัน้ ในป พ.ศ. 2540 คณะรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ มอบหมายใหทบวงมหาวิทยาลัยจัดตั้งมหาวิทยาลัยแมฟาหลวงขึ้นเปนมหาวิทยาลัยใหม โดยไมยกฐานะสถาบันราชภัฏเชียงรายขึ้นเปนมหาวิทยาลัย ใชพื้นที่บริเวณดอยแงม เปนที่ตั้ง หลักของมหาวิทยาลัย และในวันที่ 19 กันยายน 2541 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงลง พระปรมาภิไธยใน พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง พ.ศ. 2541 ซึ่งไดรับการประกาศลงในราชกิจ จานุเบกษาเลมที่ 115 ตอนที่ 65 ก ใหมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2541 และเริ่มรับ นักศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2542
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย (ขอมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2553)
28 สถาบันอุดมศึกษาไทย
11 67 64 3 8,587 872 76 1,038
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
สํานักวิชาศิลปศาสตร สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง สํานักวิชาพยาบาลศาสตร ศูนยภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร
สํานักวิชาวิทยาศาสตร สํานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชานิติศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สํานักวิชาเวชศาสตรชะลอวัยและฟน ฟูสขุ ภาพ
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ระบบโควตา 17 จังหวัดภาคเหนือ • ระบบรับตรงทั่วประเทศ • โครงการรับสมัครผูมีความสามารถดีเดนทางดานกีฬา นาฏศิลป ดนตรี • โควตาพิเศษของสํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร • โควตาพิเศษของสํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ • โครงการรับตรงรวมกับมหาวิทยาลัยขอนแกน • โครงการรับตรงรวมกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ทุกระบบการรับสมัครติดตอสอบถามไดที่ สวนรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง หมายเลขโทรศัพท 0 5391 6103-5 โทรสาร 0 5391 6107 เว็บไซต http://www.mfu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
120,000 - 241,600 110,000 - 360,000 192,000 - 660,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
29
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 222 ตําบลไทยบุรี อําเภอทาศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80161 โทรศัพท 0 7538 400, 0 7567 3000 โทรสาร 0 7537 3708 เว็บไซต http://www.wu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ที่ไดรับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานชื่อวา “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ” อันเปนสรอย พระนามในสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณอคั รราชกุมารี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ เปนมหาวิทยาลัยสมบูรณแบบ (Comprehensive University) ที่จัดการเรียนการสอนครอบคลุม ทั้งดานวิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และดานสังคมศาสตร โดยพัฒนาสภาพ แวดลอมใหเปนเมืองมหาวิทยาลัยในรูปแบบ Residential University ที่มีระบบสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการแบบครบวงจร รวมทั้งสิ่งอํานวยความสะดวกอื่น ๆ เชน โรงอาหาร รานคา ไปรษณีย สถานพยาบาล สนามกีฬา และสถานที่พักผอนหยอนใจ เปนตน รวมทั้งการจัดภูมิทัศนใหมี สิ่งแวดลอมที่ดี รมรื่น เขียวสะอาด ปราศจากมลพิษ เปนแหลงเรียนรูภายใตสิ่งแวดลอมที่ดี (Green Campus) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณมีภารกิจหลัก คือ ผลิตและพัฒนากําลังคนระดับสูง ใหมมี าตรฐานทีส่ อดคลองกับความตองการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ภาคใตและของประเทศ ดําเนินการศึกษา คนควา วิจยั และพัฒนาองคความรูใ หมใหสามารถนําไปใชในการผลิตใหมคี ณ ุ ภาพ และประสิทธิภาพ เพื่อความสามารถในการพึ่งตนเองและการแขงขันในระดับนานาชาติ ใหบริการ ทางวิชาการแกหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนในดานการใหคําปรึกษา และแนะนํา การวิจยั และพัฒนาการทดสอบ การสํารวจ รวมทัง้ การฝกอบรมและพัฒนาอันกอใหเกิดการถายทอด เทคโนโลยีที่จําเปนและเหมาะสม เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของภูมิภาคและประเทศชาติ ตลอดจนอนุรกั ษและฟน ฟูศลิ ปะและวัฒนธรรมอันเปนจารีตประเพณี รวมทัง้ ศิลปะบริสทุ ธิแ์ ละศิลปะ ประยุกต เพื่อใหมหาวิทยาลัยเปนศูนยรวมของชุมชนและเปนแบบอยางที่ดีของสังคม
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
30 สถาบันอุดมศึกษาไทย
45 60 57 3 6,220 646 51 938
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
สํานักวิชาการจัดการ สํานักวิชาพยาบาลศาสตร สํานักวิชาเภสัชศาสตร สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตรและทรัพยากร สํานักวิชาสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบ สํานักวิชาสหเวชศาสตรและสาธารณสุขศาสตร
สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร สํานักวิชาแพทยศาสตร สํานักวิชาวิทยาศาสตร สํานักวิชาศิลปศาสตร สํานักวิชาสารสนเทศศาสตร
การรับสมัครเขาศึกษา
• ประเภทโควตา แบงเปน 5 ประเภท ประกอบดวย - โควตาเขตพื้นที่บริการ - โควตาผูมีผลการเรียนดีเดน - โควตานักกีฬา - โควตาผูมีความสามารถทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี - โควตาผูมีความสามารถอัจฉริยภาพทางดานวิทยาศาสตร ดูรายละเอียดไดที่เว็บไซต http://www.quota.wu.ac.th • ประเภทรับตรง ดูรายละเอียดไดที่เว็บไซต www.quota.wu.ac.th/direct • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
10,000 - 30,000 12,000 - 30,000 12,000 - 30,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
31
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1 แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 โทรศัพท 0 2329 8000 โทรสาร 0 2326 4997 เว็บไซต http://www.kmitl.ac.th
แนะนํา
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ เมือ่ พ.ศ. 2528 เปนนิตบิ คุ คล มีฐานะเปนกรม ในทบวงมหาวิทยาลัย ปจจุบนั สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดย มีวัตถุประสงคเพื่อใหการศึกษา วิจัย สงเสริม และใหบริการวิชาการทางดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และครุศาสตรอุตสาหกรรม รวมทั้งทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ ชื่อสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ประกอบดวย พระนาม “พระจอมเกลา” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดมีพระบรมราชานุญาตใหอัญเชิญพระบรม ราชลัญจกร “พระมหาพิชัยมงกุฎ” ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 เปนตราสัญลักษณประจําสถาบันฯ นับเปนมหามงคลยิ่ง สวนคําวา “เจาคุณทหาร” นั้น มีไวเพื่อ เปนอนุสรณแดทานเจาพระยาสุรวงษไวยวัฒน (วร บุนนาค) ตามที่ทานเลี่ยม พรตพิทยพยัต ทายาท ของทานไดแจงความประสงคไวในการบริจาคที่ดินซึ่งเปนที่ตั้งของสถาบันฯ ในปจจุบันสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เปดสอนในระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - ระดับปริญญาตรี - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ - ระดับบัณฑิตศึกษา จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี (วิทยาเขตชุมพร) จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย (ขอมูลเมื่อ พ.ศ. 2551)
32 สถาบันอุดมศึกษาไทย
43 157 55 54 1 102 17,852 928 3,228 465 1,806
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาลัยนาโนเทคโนโลยีพระจอมเกลาลาดกระบัง วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการขอมูล วิทยาลัยการบริหารและการจัดการ
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • โควตากีฬา ดูรายละเอียดที่ http://www.reg.kmitl.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
96,000 - 548,000 64,000 - 300,000 120,000 - 600,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
33
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตําบลลําไทร อําเภอวังนอย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170 โทรศัพท 0 3524 8000, 0 3535 4710, 0 3535 4711 โทรสาร 0 3524 8006 เว็บไซต http://www.mcu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เปนมหาวิทยาลัยสงฆแหงคณะสงฆไทย ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ 5 ไดทรงสถาปนาขึน้ ณ วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ เพือ่ เปนสถาบันการศึกษาพระไตรปฎกและวิชาชัน้ สูงสําหรับพระภิกษุ สามเณรและคฤหัสถ โดยพระราชทานนามวา มหาธาตุวิทยาลัย เมื่อปพุทธศักราช 2430 และไดเปด ดําเนินการศึกษาเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2432 ตอมาไดทรงเปลี่ยนจากมหาธาตุวิทยาลัยเปน มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรม ราชูปถัมภ เมื่อวันที่ 13 กันยายน พุทธศักราช 2439 และปพุทธศักราช 2540 พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให ตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ใหมีสถานภาพเปนนิติบุคคล และ เปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 114 ตอนที่ 51 ก ลงวันที่ 1 ตุลาคม 2540 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เปนองคกรทางพระพุทธศาสนาที่มีพันธกิจใน การผลิตบัณฑิต การวิจัยการพัฒนา การสงเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแกสังคม รวม ไปถึงการทําหนาที่ในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม สอดรับกับปณิธานในการเปนสถาบันการศึกษา พระไตรปฎกและวิชาชีพชั้นสูงสําหรับพระภิกษุ สามเณรและคฤหัสถ ที่ทําหนาที่ในการใหการบริการ ดานการศึกษาแกพระภิกษุ สามเณรและคฤหัสถ ภายใตปรัชญาของมหาวิทยาลัยทีว่ า “จัดการศึกษา พระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตรสมัยใหม พัฒนาจิตใจและสังคม”
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนิสิตระดับปริญญาตรี จํานวนนิสิตระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนิสิตระดับปริญญาโท จํานวนนิสิตระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
34 สถาบันอุดมศึกษาไทย
62 65 62 3 13,140 1,953 1,173 203 1,108
แหง หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร รูป/คน รูป/คน รูป/คน รูป/คน รูป/คน
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะพุทธศาสตร คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตร คณะสังคมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยพระพุทธศาสนาดอกกุก ประเทศเกาหลีใต มหาปญญาวิทยาลัย จังหวัดสงขลา มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาชิน จู สาธารณรัฐไตหวัน สถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงแหงเมืองแคนดี ประเทศศรีลังกา ศูนยการศึกษาพระอาจารยพรัหม ประเทศสิงคโปร วิทยาลัยพุทธศาสนาแหงสิงคโปร ประเทศสิงคโปร
การรับสมัครเขาศึกษา
รับสมัครตรงที่ฝายทะเบียนวัดผลของแตละสวนงาน เขาเว็บไซตผานเว็บไซตกลาง คือ http://www.mcu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
13,840 - 16,440 30,000 - 70,000 130,000 - 150,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
35
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 248 วัดบวรนิเวศวิหาร ถนนพระสุเมรุ แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 โทรศัพท 0 2281 6427, 0 2282 8302-3 โทรสาร 0 2281 0294 เว็บไซต http://www.mbu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ไดปฏิบัติภารกิจดานการผลิตบัณฑิต งานวิจัย งานบริการวิชาการแกชุมชน และงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พุทธศักราช 2436 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล า ฯ พระราชทานพระบรมราชานุ ญ าตให ตั้ ง วิ ท ยาลั ย ขึ้ น ในบริ เ วณ วัดบวรนิเวศวิหาร พระราชทานนามวา “มหามกุฏราชวิทยาลัย” โดยมีพระราชประสงคเพือ่ เปนทีศ่ กึ ษา เลาเรียนของพระภิกษุสามเณร ทรงอุทศิ พระราชทรัพยบาํ รุงประจําปและกอสรางสถานศึกษาวิทยาลัย แหงนี้ขึ้น ครั้นเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พุทธศักราช 2439 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดเสด็จมาเปดมหามกุฏราชวิทยาลัย พระองคทรงรับมหามกุฏราชวิทยาลัยอยูในพระบรมราชูปถัมภ และพระราชทานพระราชทรัพยสวนพระองคบํารุงประจําป อาศัยพระราชประสงคดังกลาว สมเด็จ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส จึงทรงตัง้ วัตถุประสงค เพือ่ ดําเนินกิจการของมหามกุฏ ราชวิทยาลัยขึน้ 3 ประการ คือ เพือ่ เปนสถานศึกษาของพระภิกษุสามเณร เพือ่ เปนสถานศึกษาวิทยาการ อันเปนของชาติภูมิและของตางประเทศ และเพื่อเปนสถานที่เผยแผพระพุทธศาสนา เมื่อกิจการของมหามกุฏราชวิทยาลัยไดเปดดําเนินการแลว ปรากฏวาพระวัตถุประสงค เหลานั้นไดรับผลเปนที่นาพอใจตลอดมา เพื่อจะใหพระวัตถุประสงคเหลานั้นไดผลดียิ่งขึ้น ดังนั้น ในวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2488 สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ ในฐานะที่ทรงเปน นายกกรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัย พรอมดวยพระเถรานุเถระ จึงไดทรงประกาศตั้งสถาบัน การศึกษาชั้นสูงในรูปมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาขึ้น โดยอาศัยนามวา สภาการศึกษามหามกุฏ ราชวิทยาลัย ทั้งนี้ ภายใตการบริหารของคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกวา กรรมการสภาการศึกษา มหามกุฏราชวิทยาลัย สถาบันการศึกษาแหงนี้ ไดเริ่มเปดใหการอบรมศึกษาแกภิกษุสามเณร ตั้งแตวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2489 จนถึงปจจุบัน เหตุผลที่ทําใหสมเด็จพระมหาสมณเจาฯ ทรงมีพระดําริจัดตั้งมหามกุฏราชวิทยาลัยนั้น ปรากฏในรายงานประจําปของมหามกุฏราชวิทยาลัย วาพระเถรานุเถระทั้งหลายมีความประสงคในการจัดตั้งวิทยาลัยเปนที่ฝกสอนพระปริยัติธรรม และอักขระสมัยของภิกษุสามเณรแลศิษยวัดนั้น ดวยเห็นวาธรรมเนียมในประเทศนี้ วัดทั้งหลาย เปนโรงเรียนที่ศึกษาวิชาความรูของราษฎรพลเมือง ตั้ง ตน แตเ รียนอักขระ ฝก กิริย ามารยาท ตลอดจนถึงเรียนพระปริยัติธรรม บรรดาราษฎรมีบุตรหลานก็นําเขามาฝากเปนศิษยวัด ใหเรียนวิชา ความรู จนถึงเติบใหญอุปสมบทเปนภิกษุ บางพวกก็ไดอยูไปจนเปนคณาจารยปกครองกันตอ ๆ ไป บางพวกอยูสมควรแกศรัทธาแลวก็ลาสิกขาสึกไปประกอบการหาเลี้ยงชีพของตนในทางฆราวาส มีธรรมเนียมเปนพื้นเมืองมาดังนี้
36 สถาบันอุดมศึกษาไทย
จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะศาสนาและปรัชญา คณะศึกษาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย สํานักงานประกันคุณภาพ
8 1 1 11,204 2,542 25 332
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะมนุษยศาสตร คณะสังคมศาสตร สถาบันวิจัยญาณสังวร
การรับสมัครเขาศึกษา
รับตรง โทรศัพท 0 2281 6427 และ 0 2282 8302-3 โทรสาร 0 2281 0249 ดูรายละเอียด เพิ่มเติมที่ http://www.mbu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี (บรรพชิต) ระดับปริญญาตรี (คฤหัสถ) ระดับปริญญาโท (บรรพชิต) ระดับปริญญาโท (คฤหัสถ) ระดับปริญญาเอก (บรรพชิต) ระดับปริญญาเอก (คฤหัสถ)
18,000 - 20,000 30,000 - 33,000 43,000 - 45,000 90,000 - 95,000 280,000 - 300,000 280,000 - 300,000
บาท บาท บาท บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
37
มหาวิ ท ยาลั ย ในกํ า กั บ ของรั ฐ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 50 ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0 2942 8200 โทรสาร 0 2942 8151-3 เว็บไซต http://www.ku.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเปนสถาบันอุดมศึกษาที่เปดสอนหลักสูตรทางการเกษตร แหงแรกของประเทศไทย ถือกําเนิดมาจากโรงเรียนฝกหัดครู ประถมกสิกรรม เมื่อ พ.ศ. 2460 ตอมา ไดขยายและยกฐานะขึ้นเปนวิทยาลัยเกษตรศาสตรและพัฒนาจนกระทั่งกอตั้งเปนมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร โดยพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2486 ปจจุบนั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรประกอบดวยวิทยาเขตทีเ่ ปดเรียนแลว 4 วิทยาเขต และ 1 โครงการ จัดตั้ง ไดแก วิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตกําแพงแสน วิทยาเขตศรีราชา วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร และโครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรี
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงาน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะเกษตร คณะบริหารธุรกิจ คณะประมง คณะมนุษยศาสตร คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะวนศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศึกษาศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะสังคมศาสตร คณะสัตวแพทยศาสตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร
38 สถาบันอุดมศึกษาไทย
55 363 329 34 46,798 83 9,953 1,614 6,586
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะเกษตร กําแพงแสน คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน คณะวิทยาศาสตรการกีฬา คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ คณะทรัพยากรและสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร ศรีราชา คณะวิทยาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยสิ่งแวดลอม วิทยาลัยการชลประทาน (สถาบันสมทบ) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนพรัตนวชิระ
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th หรือ http://registrar.ku.ac.th/applicant/ admission-type สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง ตามโครงการตาง ๆ ดังนี้ - โครงการสงเสริมโอกาสศึกษาตอในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรสําหรับนักเรียนจบ มัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนมัธยมศึกษาในทองถิ่น (โควตาพิเศษ) - โครงการผูมีความสามารถทางกีฬาดีเดน - โครงการวิศวกรรมศาสตรภาคพิเศษและอุตสาหกรรมเกษตรภาคพิเศษ - โครงการพัฒนา และสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พสวท.) และโครงการเรงรัดผลิตครูทางคณิตศาสตร - โครงการของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) - รับจากขาราชการตามขอตกลงระหวางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรกับกระทรวง ทบวง กรม - โครงการจัดสงนักศึกษาชาวไทยผูนับถือศาสนาอิสลามเขาเรียนตอในมหาวิทยาลัย ตาง ๆ ของกระทรวงมหาดไทย - รับจากผูจบมัธยมศึกษาตอนปลายจากตางจังหวัด เขาศึกษาในคณะวนศาสตร ศึกษารายละเอียดเพิม่ เติมไดทเี่ ว็บไซตโครงการรับตรงทีส่ าํ นักทะเบียนและประมวลผล (สามารถลิงกเขาทีค่ ณะตาง ๆ ได) http://www.registrar.ku.ac.th/direct-admission หรือ ติดตอเวลาทําการ จันทรถึงศุกร ตั้งแตเวลา 8.30 - 16.30 น. โทรศัพท 0 2942 8293-5 โทรสาร 0 2942 8020
คาใชจายในการศึกษา (เหมาจายตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
11,600 - 60,700 14,400 - 22,700 11,500 - 26,600
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
39
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแกน 123 หมูที่ 16 ถนนมิตรภาพ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40002 โทรศัพท 0 4320 2222-41 และ 0 4320 3333-52 โทรสาร 0 4320 2216 เว็บไซต http://www.kku.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยขอนแกนเปนมหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กอตัง้ ในปพทุ ธศักราช 2484 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล โดยมีรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี ไดมีนโยบายและโครงการที่จะขยายการศึกษาระดับอุดมศึกษาสู สวนภูมิภาคโดยจะจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดอุบลราชธานี แตในระหวางนัน้ ไดเกิดสงครามมหา เอเชียบูรพา จึงทําใหการจัดตัง้ มหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือยุตลิ ง จนกระทัง่ ในปพทุ ธศักราช 2503 รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปนนายกรัฐมนตรี ไดมีการทบทวนการจัดตั้งมหาวิทยาลัยนี้ อีกครั้ง และในปพุทธศักราช 2505 จึงไดมีมติใหจัดตั้งสถาบันการศึกษาชั้นสูงดานวิศวกรรมศาสตร และเกษตรศาสตรขึ้นที่จังหวัดขอนแกน และเสนอชื่อสถาบันแหงนี้เปนภาษาอังกฤษวา KHONKAEN INSTITUTE OF TECHNOLOGY มีชื่อยอวา K.I.T. เนื่องจากขณะนัน้ ยังไมมีหนวยราชการใดโดยเฉพาะ ที่จะรวบรวมความรับผิดชอบของการดําเนินการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย รัฐบาลจึงไดมีมติให สภาการศึกษาแหงชาติเปนผูรับผิดชอบ ในดานการหาสถานที่ จัดรางหลักสูตร ตลอดจนการติดตอ ชวยเหลือจากตางประเทศและกําหนดชือ่ เปน มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในปพทุ ธศักราช 2506 คณะอนุกรรมการไดตกลงเลือกบานสีฐานเปนที่ตั้งมหาวิทยาลัยในเนื้อที่ 5,500 ไร หางจากตัว เมืองขอนแกน 4 กิโลเมตร ในขณะที่มหาวิทยาลัยดําเนินการกอสรางอยูนนั้ สํานักงานจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่กรุงเทพฯ ไดรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรุนแรกขึ้นในปการศึกษา 2507 จํานวนทั้งสิ้น 107 คน โดยแยก เปนนักศึกษาเกษตรศาสตร 49 คน และวิศวกรรมศาสตร 58 คน โดยฝากเรียนที่คณะวิทยาศาสตร การแพทย มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร (มหาวิทยาลัยมหิดลในปจจุบัน) และในปพุทธศักราช 2508 คณะรัฐมนตรีมีมติใหเปลี่ยนชื่อเปน มหาวิทยาลัยขอนแกน ในปพุทธศักราช 2509 มีพระบรม ราชโองการโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยขอนแกนและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2509 ซึ่งถือเปน วันสถาปนามหาวิทยาลัย และไดยายนักศึกษาที่ฝากเรียน ไวที่คณะวิทยาศาสตรการแพทย มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร มาศึกษาที่มหาวิทยาลัยขอนแกน ในสถานที่ปจจุบัน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูล ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ และหลักสูตรภาษาอังกฤษ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงาน
40 สถาบันอุดมศึกษาไทย
29 347 304 43 31,002 119 11,339 193 1,174 10,091
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน คน
คณะเกษตรศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศึกษาศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะแพทยศาสตร คณะเทคนิคการแพทย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร คณะทันตแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะเทคโนโลยี คณะสัตวแพทยศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะศิลปกรรมศาสตร คณะนิติศาสตร วิทยาลัยนานาชาติ บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ วิทยาเขตหนองคาย ศูนยหัวใจสิริกิติ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง รายละเอียดที่เว็บไซต http://reg.kku.ac.th • การรับบุคคลเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยโดยวิธีพิเศษ และหลักสูตรโครงการพิเศษ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.kku.ac.th โทรศัพท 0 4320 2222-41 และ 0 4320 3333-52
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร นักศึกษาภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก นักศึกษาโครงการพิเศษ ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
64,000 - 224,000 60,000 - 200,000 120,000 - 300,000
บาท บาท บาท
128,000 - 500,000 112,000 - 180,000 300,000 - 415,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
41
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
2 ถนนพระจันทร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 โทรศัพท 0 2613 3333 โทรสาร 0 2224 8099 เว็บไซต http://www.tu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรกอตั้งเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2477 โดยมีชื่อเมื่อเริ่มกอตั้งวา “มหาวิ ท ยาลั ย วิ ช าธรรมศาสตร แ ละการเมื อ ง” (มธก.) และมี ชื่ อ ภาษาอั ง กฤษว า “University of Moral and Political Sciences” ถือกําเนิดจากความคิดริเริ่มของ ศาสตราจารย ดร.ปรีดี พนมยงค ผูประศาสนการ ทีม่ คี วามประสงคจะกอตัง้ มหาวิทยาลัยทีเ่ ปดกวางใหโอกาสแกสามัญชน ในการศึกษา “วิชาธรรมศาสตรและการเมือง” เพือ่ ผลิตบุคลากรทีม่ คี วามรูใ นดานกฎหมาย การเมือง การปกครอง มารับใชประเทศชาติที่เพิ่งเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปนระบอบประชาธิปไตย ผูป ระศาสนการไดเลือกวันที่ 27 มิถนุ ายน เปนวันสถาปนามหาวิทยาลัย โดยเหตุวา วันที่ 27 มิถุนายน 2475 เปนวันประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย มหาวิ ท ยาลั ย วิ ช าธรรมศาสตร แ ละการเมื อ งจึ ง ถื อ กํ า เนิด ขึ้ น มาโดยเกี่ ย วข อ งกั บ การเมื อ งและ ประชาธิปไตยมาตั้งแตตน ปรั ช ญาการศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลั ย คื อ สิ ท ธิ เ สรี ภ าพและการให โ อกาส ดั ง คํ า กล า วรายงานของศาสตราจารย ดร.ปรี ดี พนมยงค ในวั น สถาปนามหาวิ ท ยาลั ย ว า “...มหาวิทยาลัยยอมอุปมาประดุจบอนํ้า บําบัดความกระหายของราษฎร ผูสมัครแสวงหาความรู อันเปนสิทธิและโอกาส ที่เขาควรมีควรได ตามหลักเสรีภาพของการศึกษา...” มหาวิทยาลัยแหงนี้ ในตอนเริ่มตนจึงเปนมหาวิทยาลัยเปด และถือกําเนิดขึ้นมาเปนมหาวิทยาลัยของประชาชน และ จากความผันผวนทางการเมือง ในป พ.ศ. 2495 มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมืองถูกตัด คําวา “การเมือง” ออกไปเหลือเพียง “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร” และชือ่ ภาษาอังกฤษถูกเปลีย่ นเปน “Thammasat University” แตประวัติศาสตรตลอดระยะเวลาที่ผานมา ไดพิสูจนแลววาไมมีใครเอา “การเมือง” และ “Moral” ออกไปจากมหาวิทยาลัยแหงนี้ได “เหลืองของเราคือธรรมประจําจิต แดงของเราคือโลหิตอุทิศให” ยังเปนจิตวิญญาณของธรรมศาสตร ที่ทําใหมหาวิทยาลัยแหงนี้ยืนยัน อยูขางความถูกตองเสมอมา ในป พ.ศ. 2529 จากที่แตเดิมเปนมหาวิทยาลัยดานสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรไดเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ มีการเปดวิทยาเขตศูนยรังสิตเพื่อขยายการเรียน การสอนมาทางดานวิทยาศาสตร โดยเปดคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนคณะแรกและ ใหนกั ศึกษาชั้นปที่หนึง่ ไปเรียนรวมกันที่ศูนยรังสิตเปนปแรก ปจจุบัน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรมี 4 วิทยาเขต คือ ทาพระจันทร ศูนยรังสิต ศูนยลําปางและศูนยพัทยา เพื่อขยายโอกาสทางการ ศึกษาออกไปใหกวางขวางทั่วถึงยิ่งขึ้น โดยยังคงมุงมั่นที่จะรักษาไวซึ่งปณิธานและปรัชญาแตดั้งเดิม ของมหาวิทยาลัยที่มุงสรางบัณฑิตที่ไมเห็นแกตัว มีจริยธรรม รักความถูกตอง ออกมารับใชสังคม ชาวธรรมศาสตรทุกคนไมวาจะเรียนคณะใด จะอยูที่วิทยาเขตใด จึงลวนแลวแตภาคภูมิใจที่ไดกลาว วา “ฉันรักธรรมศาสตร เพราะธรรมศาสตรสอนใหฉนั รักประชาชน”
ขอมูล สถิตทิ วั่ ไป (*ขอมูล ณ วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2553 **ขอมูล ณ วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี
42 สถาบันอุดมศึกษาไทย
53 228 164 64 23,498
หนวยงาน หลักสูตร* หลักสูตร* หลักสูตร* คน**
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะนิติศาสตร คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี คณะรัฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะสังคมสงเคราะหศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร คณะแพทยศาสตร คณะสหเวชศาสตร
471 194 6,444 319 5,983
คน คน** คน** คน** คน
คณะทันตแพทยศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะศิลปกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง คณะสาธารณสุขศาสตร สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร วิทยาลัยสหวิทยาการ วิทยาลัยนวัตกรรม วิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค สถาบันภาษา สํานักบัณฑิตอาสาสมัคร
การรับสมัครเขาศึกษา
• ระดับปริญญาตรี - รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 - ระบบการคัดเลือกระบบรับตรง โดยมหาวิทยาลัยดําเนินการเอง รายละเอียดเพิ่มเติม ตองานรับเขาศึกษา ฝายบริหารงานทัว่ ไป โทรศัพท 0 2564 4440-79 ตอ 1639-1640 http://www.reg.tu.ac.th • ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยดําเนินการเอง รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.reg.tu.ac.th • ระดับปริญญาเอก มหาวิทยาลัยดําเนินการเอง รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.reg.tu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
90,280 - 288,680 60,000 - 553,590 105,000 - 750,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
43
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีควบโท จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยนครพนม 330 ถนนอภิบาลบัญชา ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดนครพนม 48000 โทรศัพท 0 4251 2511 โทรสาร 0 4251 3613 เว็บไซต http://www.npu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยนครพนม เปนมหาวิทยาลัยที่เกิดจากการหลอมรวมสถานศึกษาในจังหวัด นครพนม ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. 2548 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 122 ตอนที่ 75 ก เมือ่ วันที่ 1 กันยายน 2548 จึงมีผลใหมหาวิทยาลัยนครพนมไดรบั การยกฐานะ เปน “มหาวิทยาลัยนครพนม” ตั้งแตวันที่ 2 กันยายน 2548 โดยมาตรา 4 แหงพระราชบัญญัตินนั้ ให รวมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครพนม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาเขตนครพนม วิทยาลัยเทคนิค นครพนม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครพนม วิทยาลัยการอาชีพธาตุพนม วิทยาลัยการอาชีพ นาหวา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครพนม มาจัดตั้งเปนมหาวิทยาลัยนครพนม และใหเปน นิตบิ คุ คลและเปนสวนราชการตามกฎหมาย สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครพนม วิทยาลัยเทคนิคนครพนม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครพนม วิทยาลัยการอาชีพธาตุพนม วิทยาลัยการอาชีพนาหวา วิทยาลัยการทองเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ วิทยาลัยการบินนานาชาติ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมศรีสงคราม
44 สถาบันอุดมศึกษาไทย
17 16 11 5 2,661 379 806
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • โควตา โครงการใหทนุ การศึกษาแกนกั เรียน นักศึกษา ทีม่ คี วามสามารถพิเศษทางดาน ศิลปวัฒนธรรม และความสามารถพิเศษทางดานกีฬา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ โทรศัพท 0 4251 2511 หรือ http://www.npu.ac.th
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
8,315 - 10,815 87,500 - 250,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
45
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร 49 ถนนระแงะมรรคา ตําบลบางนาค อําเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 96000 โทรศัพท 0 7351 1174, 0 7351 1192 โทรสาร 0 7351 3886 เว็บไซต http://www.pnu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร เกิดขึ้นหลังจากที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2546 มีการอนุมัติในหลักการจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนราธิวาส และจังหวัด นครพนม โดยการหลอมรวมสถาบันการศึกษาที่มีอยูแลวในจังหวัด ซึ่งในจังหวัดนราธิวาสมีการ หลอมรวม 4 สถาบัน คือ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนราธิวาส เพื่อเปนการเพิ่มโอกาส ทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา และเพื่อใชทรัพยากรรวมกันใหเกิดประโยชนสูงสุด มีการลงทุนนอย ที่สุดเทาที่จะสามารถทําได โดยไมขัดตอปรัชญาการศึกษาและภารกิจของสถาบันการศึกษาเดิม มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทรเปนสถาบันอุดมศึกษาแหงใหมสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยเปนสถาบันอุดมศึกษาในสาขาวิชาทีเ่ ปนความ ตองการของภูมิภาคและประเทศ ทั้งจะเปนศูนยกลางการเชื่อมโยงจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษากับ ประเทศเพื่อนบาน ซึ่งมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร เปดรับสมัครนักศึกษาทุกระดับ ทั้งระดับ ปวช. ปวส. ทีเ่ ปดสอนในบริบทเดิม และระดับปริญญาตรี โดยวิธรี บั ตรง สอบคัดเลือกและแอดมิชชัน่ ตั้งแตปการศึกษา 2548
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะเกษตรศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะพยาบาลศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร
46 สถาบันอุดมศึกษาไทย
15 19 18 1 1,425 209 251
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
โครงการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • โควตา • โครงการกีฬา สอบถามรายละเอียดของขอมูลไดที่ คณะวิศวกรรมศาสตร โทรศัพท 08 6488 2616 คณะวิทยาการจัดการ โทรศัพท 0 7351 1174 ตอ 124 คณะเกษตรศาสตร โทรศัพท 0 7364 3541 โครงการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร โทรศัพท 08 6488 4388 คณะพยาบาลศาสตร โทรศัพท 0 7351 1427 สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา โทรศัพท 0 7353 2687 วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส โทรศัพท 0 7351 1192
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี
42,820 - 276,000
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
47
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยนเรศวร 99 หมู 9 ตําบลทาโพธิ์ อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท 0 5526 1000-4 โทรสาร 0 5526 1014 เว็บไซต http://www.nu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยนเรศวรแตเดิมคือวิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก ซึ่งเปนวิทยาลัยการ ศึกษาตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยวิชาการศึกษา โดยเปนวิทยาลัยการศึกษาแหงที่ 4 รองจาก ประสานมิตร ปทุมวัน และบางแสนตามลําดับ ตอมาในวันที่ 28 มิถุนายน 2517 วิทยาลัยการศึกษา ถูกยกฐานะขึ้นเปนมหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานนามใหมวา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒและพระราชทาน ความหมายกํากับวา “ศรีนครินทรวิโรฒ” (มหาวิทยาลัยที่เจริญเปนศรีสงาแกมหานคร) วิทยาลัย วิชาการศึกษาพิษณุโลกถูกยกขึ้นเปนมหาวิทยาลัย และเปนวิทยาเขต 1 ใน 8 ของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ตอมาในชวงของรัฐบาลชุดทีม่ พี ลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เปนนายกรัฐมนตรี ไดมมี ติ ยกฐานะมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลกขึน้ เปนมหาวิทยาลัยเอกเทศ โดยพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยวา “มหาวิทยาลัย นเรศวร” และตราเปน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนเรศวร 2533 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 29 กรกฎาคม 2553 ซึ่งเปนวันครบรอบ 400 ปของการเสด็จขึ้นครองราชยของสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ซึ่งทรงเปนพระมหากษัตริยที่ทรงมีพระสูติกาลและจําเริญวัยที่เมืองพิษณุโลก โดยไดกําหนดใหวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 เปนวันกําเนิดมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งเปาหมายที่จะพัฒนาไปสูความเปนมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพระดับสากลดวยการใหไดรับการ ยกยองในระดับชาติและนานาชาติ ไมวาจะเปนการผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ และ การทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรม อีกทัง้ ยังตัง้ เปาหมายใหนาํ ไปสูค วามมัน่ คงและความยืนยงของเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนสําคัญ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
48 สถาบันอุดมศึกษาไทย
46 195 21,008 125 4,424 726 3,634
หนวยงาน หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะเกษตรศาสตรฯ คณะวิศวกรรมศาสตร วิทยาลัยพลังงานทดแทน คณะพยาบาลศาสตร คณะวิทยาศาสตรการแพทย คณะสหเวชศาสตร คณะมนุษยศาสตร คณะศึกษาศาสตร วิทยาลัยนานาชาติ คณะแพทยศาสตร
คณะวิทยาศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะทันตแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร คณะนิติศาสตร คณะวิทยาการจัดการฯ คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวรพระยา
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ระบบรับตรง (โควตา) • ระบบรับตรง โครงการพิเศษตาง ๆ • คัดเลือกโดยใชคะแนนการทดสอบทางการศึกษาแหงชาติชั้นพื้นฐาน O-NET • คัดเลือกโดยการสอบของมหาวิทยาลัย ติดตอสอบถามขอมูลไดที่ งานรับเขาศึกษา กองบริการการศึกษา โทรศัพท 0 5596 8304-5 โทรสาร 0 5596 8321 หรือที่ http://www.acad.nu.ac.th/acad_admission
คาใชจายในการศึกษา (ตอปการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
20,000 - 40,000 40,000 - 100,000 50,000 - 140,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
49
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 41/20 ตําบลขามเรียง อําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 โทรศัพท 0 4375 4333 โทรสาร 0 4375 4235 เว็บไซต http://www.msu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เดิมคือวิทยาลัยวิชาการศึกษา วิทยาเขตมหาสารคาม โดย ในปการศึกษา 2511 มีหลักสูตรที่เปดสอน 2 วิชาเอก คือ วิชาเอกภาษาอังกฤษและชีววิทยา ซึ่ง นิสิตที่มาศึกษาตอในระยะแรกเปนนิสิตที่คัดเลือกจากนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีจากวิทยาลัยครู ทัว่ ประเทศ จนกระทัง่ ป พ.ศ. 2517 ไดมกี ารประกาศใชพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2517 โดยเป นการรวมวิท ยาเขตของวิท ยาลัย วิ ช าการศึ ก ษาทั้ ง หมดเป น มหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ และไดเรียกชื่อมหาวิทยาลัยและชื่อวิทยาเขตตามสถานที่ตั้งของวิทยาเขตตอทาย ดังนัน้ วิทยาลัยวิชาการศึกษา วิทยาเขตมหาสารคาม จึงเรียกเปน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม ซึ่งชื่อ ศรีนครินทรวิโรฒ เปนชื่อที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ โปรดเกลาฯ พระราชทานใหเปนมงคลนาม และพระราชทานความหมายวา “มหาวิทยาลัยที่เจริญเปนศรีสงา แกมหานคร” หลังจากที่ไดยกฐานะแลว ทางมหาวิทยาลัยยังคงรับนิสิตภาคปกติที่จบ ป.กศ. สูงเขาศึกษาตอในชัน้ ปที่ 3 โดยการสอบคัดเลือกเหมือนเดิม แตทเี่ พิม่ เขามาใหมคอื เปดสอนหลักสูตร ปริญญาตรี 4 ปเปนปแรกโดยใชวธิ กี ารสอบผานทบวงมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยไดมพี ฒ ั นาการมา ตามลําดับจนกระทัง่ สามารถดําเนินการแยกเปนมหาวิทยาลัยเอกเทศสําเร็จและใชชอื่ วา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม เมือ่ วันที่ 9 ธันวาคม 2537 ปจจุบนั มหาวิทยาลัยมหาสารคามเปดการเรียนการสอนจนถึง ระดับปริญญาเอก และมีทั้งหลักสูตรไทยและหลักสูตรนานาชาติรวม 187 หลักสูตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก
50 สถาบันอุดมศึกษาไทย
53 187 177 10 34,903 161 6,017 887
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะการบัญชีและการจัดการ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน คณะเทคโนโลยี คณะสถาปตยกรรมศาสตร-ผังเมือง-นฤมิตศิลป คณะวิทยาการสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร คณะสัตวแพทยศาสตรและสัตวศาสตร
คณะศึกษาศาสตร คณะศิลปกรรมศาสตร วิทยาลัยดุริยางคศิลป สํานักศึกษาทั่วไป คณะวิทยาศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะสิง่ แวดลอมและทรัพยากรศาสตร สถาบันวิจัยวลัยรุขเวช คณะเภสัชศาสตร คณะแพทยศาสตร
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ระบบตรง สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 4375 4235 หรือดูรายละเอียดที่ http://www.msu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
41,000 - 282,500 71,200 - 312,000 88,000 - 560,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
51
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยแมโจ 63 หมู 4 ตําบลหนองหาร อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม 50290 โทรศัพท 0 5387 3044 โทรสาร 0 5387 3042 เว็บไซต http://www.mju.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยแมโจไดพัฒนาจากโรงเรียนฝกหัดครูประถมกสิกรรมประจําภาคเหนือ เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2477 เปนสถาบันการศึกษาชั้นสูงสุดดานการเกษตรของประเทศไทย สมัยนั้นมีประวัติที่เลาขานเปนตํานานเรื่องเลาถึงเรื่องราวการบุกเบิกพัฒนาพื้นที่ดวยงานหนัก ความกันดารขาดแคลนนํ้าและดินเลว ไขปา ดวยหัวใจของนักตอสูที่อดทนเขมแข็งจนฝาฟนอุปสรรค ตาง ๆ เจริญกาวหนามาถึงปจจุบันที่แมโจมีอายุกวา 70 ป เติบโตตามพัฒนาการตามลําดับ โดย มหาวิทยาลัยเปดสอนเปนครัง้ แรกในวันที่ 7 มิถนุ ายน 2477 ใชชอื่ วา “โรงเรียนฝกหัดครูประถมกสิกรรม ประจําภาคเหนือ” สังกัดกระทรวงธรรมการ ตอจากนัน้ ไดมกี ารเปลีย่ นชือ่ เปน “วิทยาลัยเกษตรศาสตร แมโจ” สังกัดกระทรวงธรรมการ “โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเกษตร” “โรงเรียนเกษตรกรรมแมโจ” สังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตามลําดับ จนกระทั่งป 2499 ไดรับการยกฐานะเปน “วิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม” สังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และไดรบั การยกฐานะ เปน “สถาบันเทคโนโลยีการเกษตร” สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ของรัฐ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2518 ตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีการเกษตร พ.ศ. 2518 แลว และเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2525 ไดเปลี่ยนชื่อเปน “สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแมโจ” ตาม พระราชบัญญัติเปลี่ยนชื่อสถาบันเทคโนโลยีการเกษตร เปนสถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแมโจ พ.ศ. 2525 จนไดรับการจัดตั้งเปน “มหาวิทยาลัยแมโจ” เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2539 ตามพระราช บัญญัติมหาวิทยาลัยแมโจ พ.ศ. 2539
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิทยาศาสตร คณะผลิตกรรมการเกษตร คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร คณะพัฒนาการทองเที่ยว คณะเศรษฐศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํ้า
52 สถาบันอุดมศึกษาไทย
24 105 105 19,408 728 102 1,171
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ระบบโควตา (แบบจัดสรร) • ระบบรับตรง สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ กลุมภารกิจทะเบียนเรียน ประมวลผลและรับเขา สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ มหาวิทยาลัยแมโจ โทรศัพท 0 5387 3169, 0 5387 3159 โทรสาร 0 5387 3161 หรือที่ http://www.education.mju.ac.th
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา)
ระดับปริญญาตรี - ภาคปกติ - ภาคสมทบ ระดับปริญญาโท - ภาคปกติ - ภาคสมทบ ระดับปริญญาเอก ราคาเหมาจายตลอดหลักสูตร
5,650 - 9,350 9,570 - 14,050
บาท บาท
12,730 - 16,930 19,830 - 24,630 450,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
53
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม คณะสารสนเทศและการสื่อสาร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาลัยบริหารศาสตร สํานักวิจัยและสงเสริมวิชาการการเกษตร โครงการพัฒนาบานโปงอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สํานักฟารมมหาวิทยาลัย ศูนยวิจัยพลังงาน ศูนยวิจัยและพัฒนาลําไยแมโจ ศูนยวิจัยเศรษฐกิจและพยากรณทางการเกษตร
มหาวิทยาลัยรามคําแหง ถนนรามคําแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 โทรศัพท 0 2310 8600 โทรสาร 0 2310 8600 เว็บไซต http://www.ru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยรามคําแหง ไดรับการสถาปนาเปนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐมาตั้งแต พ.ศ. 2514 โดยพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยรามคําแหง พ.ศ. 2514 กําหนดใหมหาวิทยาลัย รามคําแหงเปนสถาบันการศึกษาและวิจัยแบบตลาดวิชามีวัตถุประสงคในการศึกษาวิชาการและ วิชาชีพชั้นสูง ทําการวิจัย สงเสริมวิชาการชั้นสูง และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีกระบวนวิชาที่ เปดสอนในระดับปริญญาตรี ประมาณ 2,780 กระบวนวิชา ระดับปริญญาโท 771 กระบวนวิชา ระดับปริญญาเอก 156 กระบวนวิชา ไดพัฒนาการวิชาการ การพัฒนาสังคม โดยใหสอดคลองกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ มีการเปดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีทันสมัย อันไดแก การสอนทางไกล การเรียนการสอนแบบ e-Learning การสอบดวยระบบ e-Testing การใชคอมพิวเตอรในงานดานบริหารและบริการ จนมหาวิทยาลัยไดกาวสูการเปน e-University ในระดับมาตรฐานสากล และเปดรับสมัครนักศึกษาโดยไมจํากัดจํานวน ไมมีการสอบคัดเลือก มีการจัดการเรียนการสอนแตไมบังคับใหมาเขาชั้นเรียน มีระบบการเรียนการสอนทางไกลผาน ดาวเทียมโดยใช Video Conferencing System ถายทอดสัญญาณโทรทัศน 10 ชอง นักศึกษาจาก ทุกสาขาวิทยบริการฯ ไดรับฟงการบรรยายจากอาจารยผูสอนพรอมกันในเวลาเดียวกัน นอกจากนี้ อาจารยผูสอนยังสามารถสื่อสารโตตอบกับนักศึกษาจากทุกสาขาวิทยบริการฯ ในลักษณะของการ สื่อสารสองทาง (Two Way Communication) ไดอีกดวย เนื่องจากมหาวิทยาลัยรามคําแหงมีนกั ศึกษาเปนจํานวนมาก จึงไดเสนอแกไขปญหาตอ คณะรัฐมนตรี และไดอนุมตั ใิ หมหาวิทยาลัยจัดตัง้ วิทยาเขตขึน้ จนปจจุบนั มหาวิทยาลัยไดจดั ตัง้ สาขา วิทยบริการเฉลิมพระเกียรติขนึ้ แลวใน 25 จังหวัดทัว่ ประเทศ โดยเปดทําการสอนแลว 21 จังหวัด และ ไดขยายการเรียนการสอนสูตางประเทศถึง 39 ประเทศทั่วโลก
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรประกาศนียบัตร - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงาน ม.ร.
54 สถาบันอุดมศึกษาไทย
48 167 2 147 18 319,724 1,200 33,771 644 4,565
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะนิติศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร คณะศึกษาศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะรัฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปกรรมศาสตร คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย
การรับสมัครเขาศึกษา
ระดับปริญญาตรี รับสมัคร หมายเลข เว็บไซต ระดับปริญญาโท รับสมัคร หมายเลข เว็บไซต ระดับปริญญาเอก รับสมัคร หมายเลข เว็บไซต
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
สถาบันคอมพิวเตอร สถาบันวิจัยและพัฒนา สถาบันศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ สถาบันการศึกษานานาชาติ สถาบันภาษามหาวิทยาลัยรามคําแหง สถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันวิทยาศาสตรสุขภาพ ศูนยสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส สถาบันกฎหมายไทย ศูนยบม เพาะวิสาหกิจและจัดการทรัพยสนิ ทางปญญา คลินกิ เทคโนโลยี รับตรง ทางไปรษณีย ทางอินเทอรเน็ต 0 2310 8615, 0 2310 8623 โทรสาร 0 2310 8600 http://www.ru.ac.th รับตรง 0 2310 8560-5 http://www.grad.ru.ac.th รับตรง 0 2310 8566-7 โทรสาร 0 2310 8549 http://www.phd.ru.ac.th 7,410 - 8,000 45,000 - 250,000 500,000 - 700,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
55
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 114 ถนนสุขุมวิท ซอย 23 (ประสานมิตร) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท 0 2649 5000 โทรสาร 0 2258 4007 เว็บไซต http://www.swu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (อานวา สี-นะ-คะ-ริน-วิ-โรฒ) ถือกําเนิดมาจากโรงเรียน ฝกหัดครูชั้นสูง เมื่อ พ.ศ. 2492 ตอมาไดรับการยกฐานะเปนวิทยาลัยวิชาการศึกษาในป พ.ศ. 2496 และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในป พ.ศ. 2517 ตามลําดับ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนามซึ่งมีความหมายวา มหาวิทยาลัยที่เจริญเปน ศรีสงาแกมหานคร มีชื่อยอวา “มศว” (SWU) มีตราประจํามหาวิทยาลัยเปนรูปกราฟที่เขียนแทน สมการทางคณิตศาสตร “y=ex” หมายถึง ความเจริญงอกงาม ซึ่งตรงกับปรัชญาการศึกษาที่วา “การศึกษาคือความเจริญงอกงาม”
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะสังคมศาสตร คณะมนุษยศาสตร คณะศิลปกรรมศาสตร วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย สํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย
56 สถาบันอุดมศึกษาไทย
21 27 19,171 65 3,159 581 4,762
หนวยงาน หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะพยาบาลศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะทันตแพทยศาสตร คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑการเกษตร สํานักวิชาเศรษฐศาสตรและนโยบายสาธารณะ คณะศึกษาศาสตร คณะพลศึกษา วิทยาลัยนานาชาติเพื่อศึกษาความยั่งยืน ศูนยวิทยาศาสตรศึกษา สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับผานกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย (กสพท.) • ระบบสอบตรง • ระบบสอบตรงโครงการพิเศษตาง ๆ สอบถามขอมูลเพิม่ เติมไดที่ โทรศัพท 0 2649 5712-14 หรือ 0 2261 0531 หรือดูรายละเอียด ไดที่ http://admission.swu.ac.th
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา)
ระดับปริญญาตรี 4,.000 - 150,000 ระดับบัณฑิตศึกษา ดูรายละเอียดไดที่ http://admission.swu.ac.th
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
57
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหนาพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 โทรศัพท 0 2623 6115-22 โทรสาร 0 2225 7258 เว็บไซต http://www.su.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยศิลปากรเปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถือกําเนิดจากโรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัด กรมศิลปากร กอตั้งเมื่อป พ.ศ. 2476 เปดสอนวิชาจิตรกรรมและประติมากรรมใหแกขาราชการและ นักเรียนโดยมีศาสตราจารยศิลป พีระศรี (เดิมชื่อ Corrado Feroci) ประติมากรชาวอิตาเลียน เปน ผูกอตั้งโรงเรียนแหงนีข้ ึ้น และไดพัฒนาเจริญเติบโตเปนลําดับเรื่อยมา จนกระทั่งไดรับการยกฐานะ ขึ้นเปนมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2486 โดยคณะจิตรกรรมและประติมากรรม (ปจจุบันคือคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ) ไดรับการจัดตั้งขึ้นเปนคณะวิชาแรก และ ในป พ.ศ. 2498 จัดตั้งคณะสถาปตยกรรมไทย (ซึ่งตอมาไดปรับหลักสูตรและเปลี่ยนชื่อเปนคณะ สถาปตยกรรมศาสตร) และคณะโบราณคดี หลังจากนัน้ ไดจัดตั้งคณะมัณฑนศิลปขึ้นในปถัดมา ป พ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายที่จะเปดคณะวิชาและสาขาวิชาที่ หลากหลายขึ้น แตเนื่องจากวังทาพระมีพื้นที่จํากัด ไมสามารถขยายพื้นที่ได จึงไดขยายเขตการ ศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร จังหวัดนครปฐม โดยจัดตั้งคณะอักษรศาสตร คณะศึกษาศาสตร คณะวิทยาศาสตร ในป พ.ศ. 2511 พ.ศ. 2513 และ พ.ศ. 2515 ตามลําดับ ตอมาจัดตั้งคณะ เภสัชศาสตร ในป พ.ศ. 2529 และคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม (เดิมชือ่ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม) ในป พ.ศ. 2535 และเพื่อใหเปนมหาวิทยาลัยที่มีความสมบูรณทางดานศิลปะมาก ยิ่งขึ้น ไดจัดตั้งคณะดุริยางคศาสตรขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2542 มหาวิทยาลัยศิลปากรไดขยายเขตการศึกษาไปจัดตั้งวิทยาเขตแหงใหมที่จังหวัดเพชรบุรี เพื่อกระจายการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปสูภูมิภาค เมื่อป พ.ศ. 2540 โดยใชชื่อวา “วิทยาเขต สารสนเทศเพชรบุรี” โดยจัดตั้งคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีก ารเกษตร ในป พ.ศ. 2544 คณะวิทยาการจัดการในป พ.ศ. 2545 และปตอมาจัดตั้งคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และวิทยาลัยนานาชาติ เพื่อเปดหลักสูตรนานาชาติในสาขาวิชาตาง ๆ ตลอดจนขยายงานในระดับ บัณฑิตศึกษา เมื่อป พ.ศ. 2515
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ 38 จํานวนหลักสูตรทั้งหมด 196 - หลักสูตรปกติ 183 - หลักสูตรนานาชาติ 13 จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี 21,606 จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 35 จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท 2,289
58 สถาบันอุดมศึกษาไทย
หนวยงาน (ขอมูล ณ พฤษภาคม 2553) หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน (ขอมูล ณ สิงหาคม 2553) คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
114 คน 2,651 คน
คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ คณะโบราณคดี คณะอักษรศาสตร คณะศึกษาศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิทยาลัยนานาชาติ คณะวิทยาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย
คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะมัณฑนศิลป สถาบันวัฒนธรรมภูมิภาคตะวันตก คณะวิทยาศาสตร สถาบันวิจัยและพัฒนา คณะดุริยางคศาสตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • โควตาพิเศษ 28 จังหวัด ติดตอ 0 3425 5091 • โครงการรับตรง (ติดตอโดยตรงกับทางคณะ) http://www.quota.su.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
56,000 - 1,200,000 38,000 - 686,000 805,700 - 820,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
59
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและ พนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 15 ถนนกาญจนวณิชย ตําบลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท 0 7428 2000 (หมายเลขกลาง) โทรสาร 0 7421 2828 (หมายเลขกลาง) เว็บไซต http://www.psu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเปนมหาวิทยาลัยแหงแรกของภาคใต ไดดําเนินการกอตั้งขึ้น ในป พ.ศ. 2508 และในป พ.ศ. 2510 เปดรับนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตรเปนปแรก มหาวิทยาลัย ไดดาํ เนินงานมาดวยความเจริญกาวหนาและขยายโอกาสทางการศึกษาในภาคใตจาํ นวน 5 วิทยาเขต โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาสูดินแดนภาคใตเพื่อยกระดับ มาตรฐานการศึกษาของทองถิ่น และเพื่อการสนับสนุนการพัฒนาภูมิภาค เปนมหาวิทยาลัยที่มี เจตนาแตเริ่มกอตั้งที่จะใหเปนมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต โดยมุงมั่นที่จะใหสามารถปฏิบัติหนาที่ เปนศูนยกลางทางวิชาการระดับสูงเพื่อตอบสนองการพัฒนาภาคใต และเปนสถาบันที่รับใชชุมชน ไดอยางแทจริง ปรั ช ญา/ปณิ ธ านในการดํ า เนิ น งานของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร ไ ด น อ มนํ า พระราโชวาทของเจาฟามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร มาเปนศูนยรวมจารีตที่พึงยึดมั่น ที่ฝงลึกในสํานึกของจิต และความนึกคิดของบุคลากรและนักศึกษาทุก ๆ คน ที่ดําเนินรอยตามที่วา “ขอใหถือผลประโยชนสวนตัวเปนที่สอง ประโยชนของเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึง่ ลาภ ทรัพย และ เกียรติยศ จะตกมาแกทานเอง ถาทานทรงธรรมะแหงอาชีพยไวใหบริสุทธิ” ทั้งคุณคาเจตคติและ ปณิธานนี้ ไดนอ มนําและขยายผลสูก ารทํากิจกรรม การทําคุณประโยชนตอ สังคม และปฏิบตั พิ นั ธกิจ ดวยความรับผิดชอบอยางมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานของบุคลากรมาโดยตลอดและจะผูกติดอยู ควบคูกับองคกรแหงนีต้ ลอดไป
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตร/สาขาวิชาทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก/เทียบเทา จํานวนบุคลากรทั้งมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะเภสัชศาสตร คณะการจัดการสิ่งแวดลอม คณะเศรษฐศาสตร โครงการจัดตั้งสถาบันสันติศึกษา
60 สถาบันอุดมศึกษาไทย
46 314 290 24 31,627 278 4,044 157 683 10,219
คณะวิทยาศาสตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะพยาบาลศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะการแพทยแผนไทย สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝง
หนวยงาน สาขาวิชา สาขาวิชา สาขาวิชา คน คน คน คน คน คน
คณะศึกษาศาสตร วิทยาลัยอิสลามศึกษา คณะวิทยาการสื่อสาร คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะรัฐศาสตร สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา โครงการจัดตั้งคณะเทคนิคการแพทย โครงการจัดตั้งสัตวแพทยศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • การคัดเลือกนักเรียนเขาศึกษาโดยวิธีรับตรง • การสอบคัดเลือกนักศึกษาในหลักสูตรอื่น ๆ โดยคณะจัดสอบเอง หนวยงานที่รับผิดชอบการรับสมัครเขาศึกษาระดับปริญญาตรี คือ งานรับนักศึกษา กองทะเบียนและประมวลผล อาคารศูนยทรัพยากรการเรียนรู (ตึก LRC) โทรศัพท 0 7428 2245-7 โทรสาร 0 7428 2247 เว็บไซต http://www.entrance.psu.ac.th ระดับบัณฑิตศึกษา หนวยงานที่รับผิดชอบ คือ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร ชั้น 4 อาคารบริหารวิชาการรวม อ.หาดใหญ จ.สงขลา โทรศัพท 0 7442 9084, 0 7428 6981-5, 0 7428 6996 เว็บไซต http://www.grad.psu.ac.th/th/index.php หรือ e-mail : grad@group.psu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี 40,000 - 420,000 บาท ระดับบัณฑิตศึกษา คาใชจา ยในการศึกษาดูไดจาก http://www.grad.psu.ac.th/th/tuition_fee.php หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
61
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร คณะการบริการและการทองเที่ยว วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต วิทยาลัยชุมชนสุราษฎรธานี คณะแพทยศาสตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะทันตแพทยศาสตร คณะนิติศาสตร คณะวิเทศศึกษา คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 9/9 หมู 9 ถนนแจงวัฒนะ ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท 0 2504 7777 โทรสาร 0 2503 3607 เว็บไซต http://www.stou.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นภายใตแนวคิดเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยระบบเปด ซึง่ เปนความพยายามทีร่ ฐั บาลจะขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแกประชาชน ใหกวางขวางยิ่งขึ้นโดยใชทรัพยากรที่มีจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด การจัดตั้งมหาวิทยาลัยยึดหลัก การศึกษาตลอดชีวติ มีปณิธานมุง พัฒนาคุณภาพของประชาชนทัว่ ไป เพิม่ พูนวิทยฐานะแกผปู ระกอบ อาชีพและขยายโอกาสทางการศึกษาตอสําหรับผูส าํ เร็จมัธยมศึกษา เพือ่ สนองความตองการของบุคคล และสังคมดวยการจัดระบบการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งใชสื่อการสอนทางไปรษณีย วิทยุกระจาย เสียง วิทยุโทรทัศน วีซีดี เทปเสียง และสื่อปฏิสัมพันธอื่นที่ผูเรียนสามารถศึกษาไดดวยตนเอง โดย ไมตอ งเขาชัน้ เรียนตามปกติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานชือ่ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามเดิมของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 เมื่อครั้งทรงดํารงพระอิสริยยศ เปน “กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา” และพระราชทานพระบรมราชา นุญาตใหใชพระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเปนรูปพระแสงศรสามองค นํามาประกอบกับเจดียทรง พุมขาวบิณฑซึ่งเปนสัญลักษณของกรุงสุโขทัย เปนตราประจํามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2521 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดทรงลงพระปรมาภิไธย ในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยจึงกําหนดวันที่ 5 กันยายน ของทุกปเปนวันสถาปนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีโดยระบบการ ศึกษาทางไกลไดรับความสําเร็จไดรับรางวัลมหาวิทยาลัยเปดดีเดนของโลก และไดรับการยอมรับใน มาตรฐานคุณภาพการศึกษาจึงไดขยายการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาเพือ่ ตอบสนองความตองการ ของผูที่จะศึกษาตอในระดับสูงกวาปริญญาตรี โดยใชระบบการศึกษาทางไกล
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
62 สถาบันอุดมศึกษาไทย
24 52 52 165,274 2,253 5,120 112 1,286
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
สาขาวิชาศิลปศาสตร สาขาวิชาศึกษาศาสตร สาขาวิชาวิทยาการจัดการ สาขาวิชานิติศาสตร สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร สาขาวิชารัฐศาสตร สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ สาขาวิชานิเทศศาสตร สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สาขาวิชาพยาบาลศาสตร สํานักบัณฑิตศึกษา สถาบันวิจัยและพัฒนา ศูนยฝกอบรมเทคโนโลยีการพิมพแหงชาติ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยจะรับผูมีคุณสมบัติตามที่ระบุในหลักสูตรนัน้ ๆ เขาศึกษาโดยไมมีการสอบ คัดเลือก สอบถามไดที่ฝายรับนักศึกษา หมายเลขโทรศัพท 0 2504 7210
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
18,200 - 21,600 150,000 390,000 - 630,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
63
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตั้งอยูระหวางกิโลเมตรที่ 10 - 11 เลขที่ 85 ถนนสถลมารค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190 โทรศัพท 0 4535 3120, 0 4535 3122, 0 4535 3223-4 และ 0 4528 8400 ตอ 1307 โทรสาร 0 4528 8391 เว็บไซต http://www.ubu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เปนมหาวิทยาลัยที่ยกฐานะมาจาก วิทยาลัยอุบลราชธานี สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแกน ตามมติคณะรัฐมนตรี ป พ.ศ. 2533 ในรัฐบาลของ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ดวยความมุง หมายใหเปนสถาบันอุดมศึกษาแหงที่ 2 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอจาก มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยการจัดการศึกษาเนนหนักทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อตอบ สนองตอความตองการพัฒนากําลังคนของประเทศ ซึ่งกําลังมุงพัฒนาประเทศไปสูการเปนประเทศ กึ่งอุตสาหกรรม และเพื่อเปนการกระจายโอกาสทางการศึกษาใหแกประชาชนในเขตภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ไดรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งใหมหาวิทยาลัยเปนแหลงเผยแพร ความรูทางวิชาการใหแกประชาชนในทองถิ่นสามารถนําความรูที่ไดไปปรับปรุงการประกอบวิชาชีพ ของตนเองเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตใหสูงขึ้นตอไป มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเปดทําการเรียนการสอนครั้งแรกในปการศึกษา 2531 ภายใต ชื่อ “วิทยาลัยอุบลราชธานี” โดยเปดทําการสอนในสาขาวิชาเกษตรศาสตร และวิศวกรรมศาสตร มีนกั ศึกษารุนแรกจํานวน 67 คน ซึ่งฝากเรียนไวที่มหาวิทยาลัยขอนแกน เมื่อไดยกฐานะมาเปน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในปการศึกษา 2553 ไดยา ยสถานทีจ่ ดั การศึกษาจากมหาวิทยาลัยขอนแกน มาประจํา ณ สถานทีต่ งั้ ของมหาวิทยาลัยบนเนือ้ ทีป่ ระมาณ 5,228 ไร และเริม่ จัดการเรียนการสอนให แกนกั ศึกษาชัน้ ปที่ 3 ของคณะเกษตรศาสตรและคณะวิศวกรรมศาสตร ซึง่ ไดถอื เอาวันที่ 30 กรกฎาคม ของทุกปเปนวันคลายวันสถาปนามหาวิทยาลัย
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
64 สถาบันอุดมศึกษาไทย
17 92 90 2 14,118 37 185 58 1,079
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะเกษตรศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะศิลปประยุกตและการออกแบบ
คณะบริหารศาสตร คณะนิติศาสตร คณะรัฐศาสตร วิทยาลัยแพทยศาสตรและการสาธารณสุข คณะพยาบาลศาสตร
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง - รับตรงตามพื้นที่ - รับตรงตามโควตา - กลุมที่มีความสามารถพิเศษ - กลุมความรวมมือกับหนวยงานภายนอก - กลุมสงเสริมความเปนอัตลักษณของคณะ การสมัครคัดเลือกผานเว็บไซต http://www.entry.ubu.ac.th หรือสอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมที่หมายเลขโทรศัพท 0 4535 3120, 0 4535 3122, 0 4535 3223-4 และ 0 4528 8400 ตอ 1307 โทรสาร 0 4528 8391
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
73,200 - 320,000 46,000 - 204,500 90,000 - 360,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
65
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน 833 แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0 2219 3833-40 โทรสาร 0 2219 3872 เว็บไซต http://www.ptwit.ac.th
แนะนํา
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เดิมเปนวิทยาลัยชางกลปทุมวัน กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2475 ในนาม “โรงเรียนอาชีพชางกล” ตอมาไดโอนโรงเรียนอาชีพชางกลมาอยูในสังกัด กระทรวงธรรมการ พรอมชื่อโรงเรียนใหมวา โรงเรียนมัธยมอาชีพชางกล และในป พ.ศ. 2480 ไดมีการดําเนินการเชาที่ดินตรงขามสนามกีฬาแหงชาติของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ซึ่งเปนวังของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ เดิมมีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 18 ไร ไดจดั สรางอาคารเรียน 1 หลัง โรงฝกงานอีก 8 หลัง แลวยายโรงเรียนมัธยม อาชีพชางกลมาอยูทโี่ รงเรียนใหมนี้ เมือ่ วันที่ 17 พฤษภาคม 2482 ตัง้ ชือ่ โรงเรียนใหมวา “อาชีวศึกษา ชั้นสูงแผนกชางกล” เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2541 ไดยกฐานะเปนสถาบันเทคโนโลยีปทุมวันตามพระราช บัญญัตกิ ารจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พ.ศ. 2541 - ปจจุบนั สถาบัน เทคโนโลยีปทุมวันเปดสอนหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) ทั้งหมด 8 สาขาและหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) ทั้งหมด 1 สาขา
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร ศูนยภาษาและคอมพิวเตอร สํานักวิจัยและบริการวิชาการ
66 สถาบันอุดมศึกษาไทย
6 2 2 581 171
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี
99,000 - 133,300
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง สามารถดูรายละเอียดทางเว็บไซตสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน http://www.ptwit.ac.th บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
67
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 118 ถนนเสรีไทย คลองจั่น บางกะป กรุงเทพมหานคร 10520 โทรศัพท 0 2727 3000 โทรสาร 0 2374 2133 เว็บไซต http://www.nida.ac.th
แนะนํา
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ไดเริ่มกอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2509 ตาม พระราชประสงคของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ที่ทรงเห็นถึง ความจําเปนในการจัดใหมีสถาบันการศึกษาชั้นสูงดานการบริหาร เพื่อผลิตนักบริหาร นักวิชาการ ในสาขาตาง ๆ อันเปนปจจัยสําคัญที่จะพัฒนาประเทศใหมีความเจริญทัดเทียมนานาอารยประเทศ โดยในเบื้องตนไดรับความชวยเหลือจากกรมวิเทศสหการ มูลนิธิฟอรด และ Midwest Universities Consortium for International Affairs (Mucia) จัดตัง้ เปนสถาบันอิสระสมทบอยูใ นมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทําการสอนในระดับสูงกวาระดับปริญญาตรี โดยเริ่มเปดสอนสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร (โอนมา จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร) และจัดตั้งสาขาวิชาบริหารธุรกิจขึ้นใหมอีกคณะหนึง่ นอกจากนี้ได โอนงานฝกอบรมสวนหนึง่ ของสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ และงานสวนหนึง่ ของสํานักงานสถิติ แหงชาติ โดยจัดเปนการเรียนการสอนในสาขาวิชาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสาขาวิชาสถิตใิ นเวลาตอ มา ซึ่งถือไดวา สถาบันเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐแหงเดียวที่จัดการเรียนการสอนเฉพาะระดับ บัณฑิตศึกษา จากสภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันจึงไดพัฒนาหลักสูตรขึ้น ใหม ทั้งระดับปริญญาเอก และปริญญาโท และเพื่อตอบสนองความตองการของหนวยงานและ บุคลากรในหลากหลายสาขาอาชีพไดศึกษา โดยไมกระทบกับการทํางานจึงริเริ่มจัดการเรียน ตอนเย็น/วันเสาร-อาทิตย รวมทั้งไดขยายโอกาสทางการศึกษาใหกับบุคลากรในทองถิ่น โดยการจัด การเรียนระดับปริญญาโทในสวนภูมภิ าค ตัง้ แตป พ.ศ. 2535 เปนตนมา และเนือ่ งจากปจจุบนั สถาบัน การศึกษาในภูมิภาคตาง ๆ มีความพรอมมากขึ้น สถาบันจึงลดการขยายการศึกษาในสวนภูมิภาค และปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนใหเปนสากลมากขึน้ ตลอดจนปรับปรุงใหบริการทางการศึกษา การพัฒนาการใชเทคโนโลยีเพื่อใหผูเรียนและผูสนใจในการศึกษาไดเขาถึงความรูและขอมูลตาง ๆ ไดงายและสะดวกยิ่งขึ้น นอกจากนัน้ สถาบันไดพัฒนาผลงานวิจัย ทั้งการวิจัยพื้นฐานและประยุกต และการวิจัยอื่น ๆ อันเปนกิจกรรมที่สงเสริมการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ตลอดจนการให บริการวิชาการ การฝกอบรมในหลากหลายสาขา ตามความตองการของสังคม ซึง่ นับเปนการพัฒนา องคความรูใหแกบุคลากร เพื่อใหเกิดการปรับปรุง และพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนาอยางยั่งยืน
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
68 สถาบันอุดมศึกษาไทย
28 29 20 9 9,668 426 637
แหง หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
คณะ สํานักวิชา สถาบัน
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะรัฐประศาสนศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ คณะสถิติประยุกต คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย คณะภาษาและการสื่อสาร คณะนิติศาสตร
การรับสมัครเขาศึกษา
• ระดับปริญญาโท ภาคปกติ - กรณีปกติ - กรณีทุนสงเสริมการศึกษา - กรณีผูจบปริญญาตรีและมีประสบการณการทํางาน • ระดับปริญญาโท ภาคพิเศษ • ระดับปริญญาเอก หมายเลขโทรศัพท 0 2727 3365-75 เว็บไซต http://edserv.nida.ac.th/th/
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาโท ภาคปกติ 60,000 - 140,000 ระดับปริญญาโท ภาคพิเศษ 130,000 - 460,000 ระดับปริญญาโท ภาคพิเศษ ภูมิภาค 86,000 - 140,000 ระดับปริญญาโท หลักสูตรภาษาอังกฤษ/นานาชาติ 76,000 - 450,000 ระดับปริญญาเอก 400,000 - 1,400,000
บาท บาท บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
69
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี 70 หมู 4 ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 71000 โทรศัพท 0 3463 3227, 0 3463 3228 โทรสาร 0 3463 3224 เว็บไซต http://www.kru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีเมื่อแรกกอตั้งในป พ.ศ. 2516 มีชื่อวา “วิทยาลัยครู กาญจนบุรี” สังกัดกรมการฝกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ เปดรับนักศึกษารุนแรก หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) ตอมามีการแกไข พ.ร.บ.วิทยาลัยครู (ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2527) จึ ง เป ด สอนหลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ละอนุ ป ริ ญ ญาในสาขาวิ ช าชี พ อื่ น และสาขาวิ ช าชี พ ครู รวม 3 สาขา คือ สาขาวิชาการศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร และสาขาวิชาศิลปศาสตร รวมทั้ง จัดทําโครงการสมทบทางวิชาการระหวางวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรีกับสถาบันราชภัฏ กาญจนบุรีเพื่อผลิตบัณฑิตวิทยาศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชาการฝกและการจัดการกีฬา เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อวิทยาลัยครู และประกาศใชพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2538 สังกัดสํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ (สรภ.) กระทรวงศึกษาธิการ ตอมาทางสถาบันไดจัดตั้งโครงการ บัณฑิตศึกษา และเปดสอนระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต วิชาชีพครู ภาคพิเศษขึน้ ในป 2545 จัดการ เรียนการสอนในระดับปริญญาตรี รวม 5 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร สาขาวิชาศิลปศาสตร สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ และสาขาวิชาการบัญชี สถาบันโอนมาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) เนื่องจากมีการปรับ โครงสรางใหมกระทรวงศึกษาธิการ เมือ่ วันที่ 7 กรกฎาคม 2546 ตอมา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ทรงลงพระปรมาภิไธย ในพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2547 จากพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีผลใหสถาบันราชภัฏกาญจนบุรีมีฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ตั้งแตวันที่ 15 มิถนุ ายน พ.ศ. 2547 โดยในปการศึกษา 2549 มีโครงการความรวมมือทางวิชาการกับ กรมสงเสริม การปกครองทองถิ่น เปดสอนหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต และมีโครงการความรวมมือกับ สถาบันการศึกษาตางประเทศ ในป 2550 โดยการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับมหาวิทยาลัยชนชาติ กวางซี และวิทยาลัยภาษาตางประเทศตงฟาง สาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากนี้ยังมีโครงการ ความรวมมือระหวางสถาบันสงเสริมวิสาหกิจชุมชน (สสวช.) เปดสอนโครงการมหาวิทยาลัยชีวติ และ ในปการศึกษา 2551 ไดมีโครงการความรวมมือทางวิชาการกับวิทยาลัยมณฑลกวางซี สาธารณรัฐ ประชาชนจีนเพิ่มอีก 1 แหง
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
70 สถาบันอุดมศึกษาไทย
12 33 33 2,867 439
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน
จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
468 20 372
คน คน คน
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะครุศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สํานักงานบัณฑิตศึกษา
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ประเภทโควตาและทุนเพชรราชภัฏมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี • ประเภทรับตรง รับสมัครและติดตอสอบถาม ไดทสี่ าํ นักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน อาคาร 9 ชัน้ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี เว็บไซต http://www.kru.ac.th หรือ http://academic.kru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
60,800 - 116,800 85,000 300,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
71
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ 13 หมู 14 ตําบลสงเปลือย อําเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ 46230 โทรศัพท 0 4360 2033-43 โทรสาร 0 4360 2044 เว็บไซต http://www.ksu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ กอตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี “โครงการจัดตั้งสถาบัน ราชภัฏกาฬสินธุ” ในป พ.ศ. 2539 และไดยกฐานะขึ้นเปน “สถาบันราชภัฏกาฬสินธุ” ในวันที่ 21 กรกฎาคม 2544 ตอมาไดยกฐานะขึ้นเปน “มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ” ในวันที่ 15 มิถุนายน 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ เปนสถาบันอุดมศึกษาเพือ่ การพัฒนาทองถิน่ มีการบริหารงาน ประกอบดวย สํานักงานอธิการบดี และคณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มีการดําเนินงานตาม พันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย ไดแก การจัดการเรียนการสอน เพื่อแสวงหาความจริงสูความเปน เลิศทางวิชาการบนพื้นฐานของภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และภูมิปญญาสากล การพัฒนา บัณฑิต ใหเปนผูม คี ณ ุ ธรรมนําความรู ทํานุบาํ รุงศิลปะและวัฒนธรรม การสรางความเขมแข็งของผูน าํ ชุมชนในดานประชาธิปไตย คุณธรรมและการบริหารจัดการ การเสริมสรางความเขมแข็งของวิชาชีพ ครูใหมีคุณภาพไดมาตรฐาน การรวมบริการประสานภารกิจกับหนวยงานภาครัฐและเอกชน ในการ พัฒนาคนและสิ่งแวดลอม การสงเสริมสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ โดยการดําเนิน การตามพันธกิจเหลานี้มุงเนนทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล เนื่องจากเปนสถาบันอุดมศึกษาของ ทองถิ่นเพื่อการพัฒนาทองถิ่นอยางสมดุลและยั่งยืน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร
72 สถาบันอุดมศึกษาไทย
3 9 9 1,936 1,085 50 152
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• การรับสมัครนักศึกษาใหม โดยวิธีการคัดเลือก (ทุนเรียนฟรี) • การรับสมัครนักศึกษาใหม โดยวิธีการคัดเลือก (ประเภททั่วไป) ระดับปริญญาตรี (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาโท
4,000 - 7,000 88,300 - 115,200
บาท บาท
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
73
มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร 69 หมูที่ 1 ตําบลนครชุม อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร 62000 โทรศัพท 0 5570 6555 โทรสาร 0 5570 6518 เว็บไซต http://www.kpru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร เปนมหาวิทยาลัยทองถิ่นที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สากล เปนทีย่ อมรับและพึง่ พาของทองถิน่ พัฒนาสังคมใหอยูด มี สี ขุ รักวัฒนธรรมไทย ภายใตปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงและการบริหารจัดการที่ดี วิทยาลัยครูกําแพงเพชร ไดเปดรับนักศึกษารุนแรกใน ระดับ ป.กศ. เมือ่ ปการศึกษา 2519 เมือ่ ปการศึกษา 2528 ไดทาํ การเปดสอนตามหลักสูตรของสภาการ ฝกหัดครู 3 ระดับ คือ ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีครุศาสตรบัณฑิต 4 ป และระดับปริญญา ตรีครุศาสตรบัณฑิต 2 ป (หลังอนุปริญญา) ในป 2535 ไดเปลี่ยนชื่อมาเปน สถาบัน ราชภัฏ กํา แพงเพชรตามที่พ ระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนามวิทยาลัยครูวา “สถาบันราชภัฏ” ต อ มาในป 2547 พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงลงพระปรมาภิ ไธย ในพระราชบั ญ ญั ติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 จึงมีผลใหสถาบันราชภัฏกําแพงเพชรมีฐานะเปน “มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ กํ า แพงเพชร” ตั้ ง แต วั นที่ 15 มิ ถุ น ายน 2547 เป นต น มา และด ว ยจุ ด ประสงค ที่ จ ะ ขยายโอกาสทางการศึกษาสูทองถิ่นจึงจัดตั้งศูนยอุดมศึกษาแมสอดขึ้นที่ ต.แมปะ อ.แมสอด จ.ตาก เพือ่ การผลิตและพัฒนาบัณฑิตครูและบุคลากรทางการศึกษาทีม่ คี ณ ุ ภาพตามเกณฑมาตรฐาน มีความรูเพื่อพัฒนาทองถิ่น ใหคนในทองถิ่นไดรับโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาตอไป
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
74 สถาบันอุดมศึกษาไทย
12 61 61 6,815 704 326 57 192
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชรแมสอด
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
33,600 - 46,400 64,500 - 76,500 240,000
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
• ประเภทโควตา (โรงเรียนเปนผูคัดเลือก) แบงเปน 2 ประเภท ดังนี้ (1) ประเภทเรียนดีและมีความสามารถพิเศษ (2) ประเภทมีความสามารถพิเศษทางดานกีฬา/ทุนอัจฉริยภาพ • ประเภทรับตรงในเขตพื้นที่ใหบริการ • ประเภทคัดเลือกทั่วไป ติดตอสอบถามรายละเอียดไดที่ สํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร ที่อยู 69 หมู 1 ต.นครชุม อ.เมือง จ.กําแพงเพชร 62000 โทรศัพท 0 5570 6555 ตอ 1123 หรือ 0 5570 6547 หรือเว็บไซต : http://www.kpru.ac.th บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
75
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 39/1 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0 2942 6900-99 โทรสาร 0 2541 7113, 0 2541 7744 เว็บไซต http://www.chandra.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2483 เดิมเปนโรงเรียนฝกหัด ครูมัธยมแหงแรกของประเทศไทย เพื่อรองรับการผลิตครูระดับประกาศนียบัตรประโยคครูมัธยม (ป.ม.) ตั้งอยูในเขตวังจันทรเกษม บนถนนราชดําเนิน และไดยกฐานะเปนวิทยาลัยครู ตามประกาศ ของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อป พ.ศ. 2501 ปรับการเรียนการสอนจากประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ชัน้ สูง ไดยา ยจากสถานทีต่ งั้ เดิมมาอยูท ซี่ อยสังขะวัฒนะ 2 ซึง่ เปนทีต่ งั้ ปจจุบนั และใชชอื่ วา “วิทยาลัย ครูจันทรเกษม” ในป พ.ศ. 2534 ไดรับรางวัลพระราชทานสถาบันการศึกษาดีเดนระดับอุดมศึกษา จากกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทาน นามใหมเปน “สถาบันราชภัฏจันทรเกษม” ตอมาไดรับการสถาปนาเปน “มหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม” เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ปจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา เปดสอนในระดับปริญญาตรี ภาคในเวลาราชการและ นอกเวลาราชการ และเปดสอนในระดับบัณฑิตศึกษาทั้งปริญญาโทและปริญญาเอก เนนการผลิต บัณฑิตที่มีคุณลักษณะตรงตามความตองการของสังคมในทุกสถานการณ คณาจารยและบุคลากร มีการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง ตลอดจนมีการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาเทคโนโลยีและ ระบบสารสนเทศใหเปนมหาวิทยาลัยที่มีมาตรฐานสากล ไดรับการยอมรับจากสังคมอยางภาคภูมิ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
76 สถาบันอุดมศึกษาไทย
15 74 74 16,908 609 1,518 132 659
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะศึกษาศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะเกษตรและชีวภาพ บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยการแพทยทางเลือก ศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง หมายเลขติดตอ 0 2942 6900-99 ตอ 7016 หรือที่เว็บไซต http://www.chandra.ac.th • โครงการความสามารถพิเศษ โทรศัพท 0 2942 6900-99 ตอ 1304 หรือที่ เว็บไซต http//stu.chandra.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
69,600 - 92,000 120,000 - 160,000 660,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
77
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานัก และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 167 หมู 2 ตําบลนาฝาย อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 36000 โทรศัพท 0 4481 5111 โทรสาร 0 4481 5116 เว็บไซต http://www.cpru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ตั้งอยูบนที่ดินสาธารณประโยชน โคกเขาสระหงส ซึ่งองคการ บริหารสวนตําบลนาฝาย ชาวบานนาฝาย และชาวบานหวยชัน ใหสาํ หรับเปนทีต่ งั้ ของโครงการจัดตัง้ สถาบันราชภัฏชัยภูมิ โดยไดมีการเริ่มดําเนินการกอตั้ง ตั้งแตป พ.ศ. 2537 แตไดรับอนุมัติใหจัดตั้ง ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2540 ในระยะแรก คณะกรรมการดําเนินงานโครงการ จัดตั้งสถาบันราชภัฏชัยภูมิ ไดไปอาศัยวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดชัยภูมิเปนสํานักงานโครงการฯ ชั่วคราว จนสํานึกงานโครงการฯ ชั่วคราวกอสรางเสร็จจึงไดยายออกไปอยู ณ ที่ตั้งมหาวิทยาลัยใน ปจจุบันที่บริเวณโคกเขาสระหงส ตําบลนาฝาย อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ และในป พ.ศ. 2544 ไดมี พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเปน “สถาบันราชภัฏชัยภูมิ” โดยสมบูรณ ซึ่งมีผลตั้งแตวันที่ 12 กรกฎาคม 2544 มหาวิทยาลัยจึงถือวาวันดังกลาวคือ วันเกิดของมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2547 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยราชภัฏ พุทธศักราช 2547 และในวันที่ 14 มิถนุ ายน 2547 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พุทธศักราช 2547 ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา อันมีผลใหสถาบันราชภัฏชัยภูมิ ไดรับการยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จึงมีสภาพเปน นิตบิ คุ คลโดยสมบูรณ ซึง่ สามารถพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการทีเ่ ปนอิสระ มีความคลองตัว และมีเสรีภาพทางวิชาการในระดับหนึง่
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร วิทยาลัยพยาบาลพระยาภักดีชุมพล โครงการจัดการศึกษานอกมหาวิทยาลัย โครงการ อปท. โครงการมหาวิทยาลัยชีวิต
78 สถาบันอุดมศึกษาไทย
33 18 3,804 491 731 303
หนวยงาน หลักสูตร คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
64,000 - 70,000 120,000 - 150,000
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
• ประเภทโควตา • ประเภททั่วไป สอบถามรายละเอียดไดที่ โทรศัพท 0 4481 5111 ตอ 105, 102 โทรสาร 0 4481 5116 หรือที่เว็บไซต http://www.cpru.ac.th/faculty บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
79
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 80 หมู 9 ถนนพหลโยธิน ตําบลบานดู อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 โทรศัพท 0 5377 6000 โทรสาร 0 5377 6001 เว็บไซต http://www.cru.in.th
แนะนํา
จังหวัดเชียงราย ไดเสนอเรื่องขอตั้งโรงเรียนฝกหัดครูประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาตอ อธิบดีกรมการฝกหัดครู โดยเสนอใหใชที่บริเวณอางเก็บนํ้าหนองบัว ตําบลบานดู อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เปนสถานที่ในการจัดตั้งโรงเรียนฝกหัดครู เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2512 และตอมา วันที่ 29 กันยายน 2516 ไดมีการสถาปนาวิทยาลัยครูเชียงรายขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 14 กุมภาพันธ 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานชื่อสถาบันวา “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อวิทยาลัยครู เพื่อใหสอดคลองกับความหลาก หลายในการผลิตบัณฑิตของสถาบัน โดยใหสถาบันราชภัฏเชียงรายเปนสวนราชการในสํานักงาน สภาสถาบันราชภัฏ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และใหสํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ เปนนิติบุคคล มีฐานะเทียบเทากรมในกระทรวงศึกษาธิการ มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2538 โดยมี พระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ แตงตั้งใหผูชวยศาสตราจารยสุเทพ พงษศรีวัฒน ดํารงตําแหนง อธิการบดีคนแรกของสถาบันราชภัฏเชียงราย ตั้งแตวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2538 และในวันที่ 10 มิถุนายน 2547 ไดรับการยกฐานะขึ้นเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ตามพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ซึง่ ประกาศใชในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 14 มิถนุ ายน 2547 มีผลให มหาวิทยาลัยราชภัฏแตละแหงเปนนิตบิ คุ คล เปนสวนราชการ ตามกฎหมายวาดวยวิธกี ารงบประมาณ ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีผูชวยศาสตราจารย ดร.มาณพ ภาษิตวิไลธรรม ดํารงตําแหนงเปนอธิการบดีจนถึงปจจุบัน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ - หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
80 สถาบันอุดมศึกษาไทย
11 87 84 2 1 17,388 440 1,161 74 910
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน คน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบันวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยการแพทยพื้นบานและการแพทยทางเลือก
การรับสมัครเขาศึกษา
• ประเภทสมัครตรง • ประเภททั่วไป • ประเภทโควตา (เฉพาะวิทยาลัยการแพทยพื้นบานและการแพทยทางเลือก) สอบถามขอมูลเพิม่ เติมไดที่ โทรศัพท 0 5377 6118 หรือดูรายละเอียดที่ http://www.cru.in.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
36,000 - 120,000 68,000 - 150,000 235,000 - 300,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
81
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม 202 ตําบลชางเผือก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50300 โทรศัพท 0 5388 5555 โทรสาร 0 5388 5556 เว็บไซต http://www.cmru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหมไดพัฒนามาจากโรงเรียนฝกหัดครูกสิกรรมประจํามณฑล พายัพ ซึง่ สถาปนาขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2467 โดยไดมกี ารพัฒนาและปรับเปลีย่ นสถาบันโดยลําดับ เปนระยะ เวลากวา 74 ป มาแลว ปจจุบันมหาวิทยาลัยไดดําเนินการเปดสอน จํานวน 5 คณะ ไดแก คณะเทคโนโลยี การเกษตร คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และคณะวิทยาการจัดการ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาลัยแมฮองสอน วิทยาลัยนานาชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนา สถาบันภาษา ศิลปะ และวัฒนธรรม สถาบันพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีแหงเอเชีย บัณฑิตวิทยาลัย
82 สถาบันอุดมศึกษาไทย
13 88 84 4 28,606 1,136 678 118 731
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
โครงการรับตรง โครงการคุณธรรมนําความรู ประพฤติดีมีที่เรียน โครงการโควตา (เรียนดี, ความสามารถพิเศษ, บกพรองทางรางกาย) สอบคัดเลือก ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.cmru.ac.th
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
5,500 - 7,500 15,000 - 25,000 50,000
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
• • • •
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
83
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี 321 ถนนนารายณมหาราช ตําบลทะเลชุบศร อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15000 โทรศัพท 0 3642 7485-93 โทรสาร 0 3642 2610 เว็บไซต http://www.tru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี เปนสถาบันอุดมศึกษาที่เริ่มกอตั้งจากโรงเรียนลวะศรี ในป พ.ศ. 2463 และพัฒนาเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีในป พ.ศ. 2547 โดยยกฐานะเปนมหาวิทยาลัย ราชภัฏเทพสตรี (THEPSATRI RAJABHAT UNIVERSITY) ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีภารกิจหลักในการเปนสถาบันอุดมศึกษาเพือ่ พัฒนาทองถิน่ ทีเ่ สริมสรางพลังปญญาของ แผนดิน ฟนฟูพลังการเรียนรู เชิดชูภูมิปญญาทองถิ่น สรางสรรคศิลปวิทยา เพื่อความเจริญกาวหนา อยางมั่นคงและยั่งยืนของปวงชน มีสวนรวมในการจัดการ การบํารุงรักษา การใชประโยชนจาก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงคใหการศึกษา สงเสริม วิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทําการสอน วิจัยใหบริการทางวิชาการแกสังคม ปรับปรุง ถายทอดและ พัฒนาเทคโนโลยี ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ผลิตครูและสงเสริมวิทยฐานะครู
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี สํานักงานโครงการหลักสูตร รป.บ. สํานักงานโครงการหลักสูตร รป.ม.
84 สถาบันอุดมศึกษาไทย
15 10 10 11,963 1,781 1,816
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
• ภาคปกติระบบโควตาพิเศษ • ภาคปกติระบบสอบคัดเลือกโดยใชผลคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) • ภาคปกติระบบสอบคัดเลือกโดยใชผลคะแนน O-NET • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ภาคปกติระบบเพิ่มเติม • การจัดการเรียนการสอนบุคลากรประจําการ ภาคพิเศษ (กศ.บป.) กองบริการศึกษา สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี โทรศัพท 0 3642 7485-93 ตอ 26118, 26119 หรือ http://www.tru.ac.th • โครงการจัดการศึกษาสําหรับนักบริหาร โทรศัพท 0 3642 7485-93 ตอ 11112 • สํานักงานโครงการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) โทรศัพท 0 3642 748-93 ตอ 20898 • สํานักงานประสานงานบัณฑิตศึกษา โทรศัพท 0 3642 7485-93 ตอ 11111 • โครงการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) โทรศัพท 0 3642 7485-93 ตอ 26255
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
22,000 - 175,000 75,000 - 100,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
85
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 172 ถนนอิสรภาพ แขวงวัดกัลยาณ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600 โทรศัพท 0 2890 1801 โทรสาร 0 2890 2290 เว็บไซต http://www.dru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรเี ดิมคือโรงเรียนฝกหัดครูสตรีอาชีวศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา เปดทําการสอนเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ตอมาในป พ.ศ. 2504 ไดเปลี่ยนชื่อเปนโรงเรียนฝกหัดครูธนบุรี มีนโยบายที่จะผลิตครูระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) เชนเดียวกับโรงเรียนฝกหัดครูอนื่ ๆ และในป 2519 ไดรบั การยกฐานะใหเปนวิทยาลัยครูธนบุรี สามารถผลิตครูไดถึงระดับปริญญาตรี ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนวิ ท ยาลั ย ครู เมื่อ วันที่ 14 กุม ภาพันธ พ.ศ. 2535 ต อ มาพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสถาบันราชภัฏเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏ มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเปนสถาบันอุดมศึกษามีภาระหนาที่หลักในการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษาโดยเนนคุณภาพ มุงมั่นจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีความงอกงาม ทางปญญา แสวงหาความรูอยางตอเนื่อง เปนบัณฑิตคุณภาพ เปนนักวิชาชีพที่ดี พัฒนาและ สรางเสริมการวิจัยใหเปนเครื่องมือสําคัญในการเรียนรู สรางองคความรูและพัฒนางานในหนาที่ ทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรมและใหบริการทางวิชาการเพือ่ การเรียนรูร ะดับอุดมศึกษา ในกลุม มหาวิทยาลัย ที่เนนการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีและพัฒนาสังคม
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
86 สถาบันอุดมศึกษาไทย
17 43 42 1 5,300 371 408 236
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะวิทยาการจัดการ สถาบันวิจัยและพัฒนา
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โครงการบัณฑิตศึกษา
• รับสมัครรับตรง โทรศัพท 0 2890 1801 ตอ 6012-6014 หรือ http://www.dru.ac.th • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
9,050 - 19,500 17,900 - 30,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
87
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 85 ถนนมาลัยแมน อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000 โทรศัพท 0 3426 1021-36 โทรสาร 0 3426 1048 เว็บไซต http://www.npru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมเริม่ ตัง้ เปน “โรงเรียนสตรีฝกหัดครูนครปฐม” เมือ่ พ.ศ. 2479 รับเฉพาะนักเรียนหญิง เปดสอนชั้นฝกหัดครูประชาบาล และใน พ.ศ. 2503 ไดเปดรับนักเรียน ฝ ก หั ด ครู ช าย โดยให เรี ย นร ว มกั บ นัก เรี ย นฝ ก หั ด ครู ห ญิ ง เริ่ ม เป ด สอนระดั บ ประกาศนี ย บั ต ร วิชาการศึกษา (ป.กศ.) เริ่มงานโครงการฝกครูชนบท จากนัน้ ในป 2511 เปลี่ยนชื่อเปนโรงเรียน ฝกหัดครูนครปฐม ตอมาเปดรับนักเรียนครูตามโครงการผลิตครูประโยคครูปฐม (ป.ป.) เมื่อ วันที่ 16 มกราคม 2513 เปลี่ยนชื่อเปนวิทยาลัยครูนครปฐม และเปดสอนระดับประกาศนียบัตร วิชาการศึกษาชั้น (ป.กศ.สูง) วิทยาลัยครูนครปฐมซึ่งไดรับฐานะใหเปนวิทยาลัยครูไดเพียง 5 ป ไดมีการปรับปรุงโครงสรางและขยายบทบาทออกไปอยางกวางขวางโดยเปดสอนระดับปริญญาตรี (ค.บ.) หลั ก สู ต ร 2 ป เป ด โครงการอบรมครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาประจํ า การ (อคป.) รุนที่ 1 ในป 2521 และ พ.ศ. 2523 เริ่มเปดสอนหลักสูตรปริญญาตรี 4 ป ตอมาในป 2527 ไดมีการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 ดังนัน้ ในป 2528 ทางวิทยาลัยครู นครปฐมไดเปดสอนระดับอนุปริญญาสายวิชาการอื่น (อ.วท. และ อ.ศศ.) เปนปแรกมี 5 สาขาวิชา เอก แยกเปนสายศิลปศาสตร 2 สาขาวิชาเอก และสายวิทยาศาสตร 3 สาขาวิชาเอก ตอจากนัน้ ก็เปดถึงระดับปริญญาตรี และเปดโครงการการศึกษาสําหรับบุคลากรประจําการ (กศ.บป.) ระดับ ปริญญาตรีและอนุปริญญาเปนปแรก ในป พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน นามวิ ท ยาลั ย ครู ทั่ ว ประเทศและเปลี่ ย นชื่ อ เป น “สถาบั น ราชภั ฏ ” เมื่ อ วั นที่ 14 กุ ม ภาพั นธ 2535 ตอจากนัน้ ในป พ.ศ. 2547 ไดเปลี่ยนเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏตาม พ.ร.บ. มหาวิทยาลัย ราชภัฏ พ.ศ. 2547 ที่มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 15 มิถุนายน 2547 และดําเนินการปรับปรุงและ สรางหลักสูตรสําหรับเปดสอนในปการศึกษา 2549 พรอมทัง้ ปรับปรุงโครงสรางหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานของ สกอ.
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
88 สถาบันอุดมศึกษาไทย
24 16 16 15,818 342 297 4 600
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะพยาบาลศาสตร สํานักงานบัณฑิตศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม สถาบันวิจัยและพัฒนา
การรับสมัครเขาศึกษา
รั บ สมั ค รแบบรั บ ตรงเข า มหาวิ ท ยาลั ย โดยจะมี ก ารสอบคั ด เลื อ กในบางหลั ก สู ต ร ติดตอสํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน โทรศัพท 0 3426 1021 ตอ 766 หรือ 720
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
8,000 - 35,000 20,000 - 25,000 60,000
บาท บาท บาท
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
89
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 340 ถนนสุรนารายณ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท 0 4427 2828 โทรสาร 0 4424 4739 เว็บไซต http://www.nrru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมามีตนกําเนิดจากโรงเรียนฝกหัดครูมูลกสิกรรม จังหวัด นครราชสีมา ในชวงแรกเปดสอนหลักสูตรประโยคครูมูลสามัญ (ป.) และประโยคครูประกาศนียบัตร จังหวัด (ว.) ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนโรงเรียนฝกหัดครูประกาศนียบัตร จังหวัดนครราชสีมา โรงเรียน ฝกหัดครูมูลโนนสูง และโรงเรียนฝกหัดครูนครราชสีมา ตามลําดับ และในป 2502 ไดรับการยก ฐานะเปนวิทยาลัยครูนครราชสีมา และปรับเปลี่ยนฐานะเปนสถาบันราชภัฏนครราชสีมา สามารถ เปดสอนระดับที่สูงกวาปริญญาตรี ในป พ.ศ. 2537 จนกระทั่งเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2547 ไดรับการยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จนกระทั่งปจจุบันมหาวิทยาลัยไดทําการ เปดสอนตั้งแตระดับปริญญาตรี จนถึงปริญญาเอกรวม 11 หลักสูตร 55 สาขาวิชา
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553)
จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ 13 จํานวนหลักสูตรทั้งหมด 11 - หลักสูตรปกติ 11 จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี 20,750 จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 734 จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท 907 จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก 64 จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย 869
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะครุศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันวิจัยไมกลายเปนหินและทรัพยากรธรณี
90 สถาบันอุดมศึกษาไทย
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร 55 สาขาวิชา คน คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
7,000 - 8,000 9,500 - 15,000 35,000
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
• ประเภทโควตา ไดแก เพชรราชภัฏนครราชสีมา เรียนดี กิจกรรมเดน พิเศษ (ฐานะ ครอบครัวยากจน) • ประเภท สอบคัดเลือกทั่วไป (รับตรง) โทรศัพท 0 4427 2828 ตอ 1550, 1511 เว็บไซต http://www.nrru.ac.th บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
91
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช 1 ถนนนครศรีธรรมราช-นบตํา (ทางหลวงหมายเลข 4016) หมู 4 ตําบลทางิ้ว อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80280 โทรศัพท 0 7537 7712 โทรสาร 0 7537 7770 เว็บไซต http://www.nstru.ac.th
แนะนํา
เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2547 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระปรมาภิไธยในราง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราชไดรับการยกฐานะ เปน “มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช” อยางเต็มภาคภูมิ ภายใตบทบัญญัตแิ หงพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ไดกําหนดจุดยืน วัตถุประสงคและพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ไวในมาตรา 7 และมาตรา 8 ดังนี้ ใหมหาวิทยาลัยเปนสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ที่เสริมสรางพลังปญญาของแผนดิน ฟนฟูพลังการเรียนรู เชิดชูภูมิปญญาของทองถิ่น สรางสรรค ศิลปวิทยา เพื่อความเจริญกาวหนาอยางมั่นคงและยั่งยืนของปวงชน และมีสวนรวมในการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุล โดยมี จุดประสงค ใหการศึกษา สงเสริมวิชาการและวิชาชีพชัน้ สูง ทําการสอน การวิจยั ใหบริการทางวิชาการ แกสังคม ปรับปรุง ถายทอด และพัฒนาเทคโนโลยี ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครูและสงเสริม วิทยฐานะครู
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
92 สถาบันอุดมศึกษาไทย
11 52 52 9,772 437 117 13 585
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• ประเภทรับตรง • ประเภทคัดเลือกทั่วไป โทรศัพท 0 7539 2043 เว็บไซต http://www.nstru.ac.th ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
52,000 - 118,300 80,000 - 100,000 600,000
บาท บาท บาท
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คาใชในการศึกษาตลอดหลักสูตร
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
93
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค 398 หมูที่ 9 ถนนสวรรควิถี ตําบลนครสวรรคตก อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค 60000 โทรศัพท 0 5621 9100, 0 5621 9129 โทรสาร 0 5688 2523 เว็บไซต http://www.nsru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรคเริม่ กอตัง้ เมือ่ 14 สิงหาคม 2465 ชือ่ เดิมคือ โรงเรียนฝกหัด ครูมูลกสิกรรม ประจํามณฑลนครสวรรค เปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา สังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ บริเวณที่ดินตําบลนครสวรรคตก ซึ่งเปนที่ตั้ง มีเนื้อที่ประมาณ 108 ไร 3 งาน 52 ตารางวา พื้นที่บริเวณตําบลหนองกรด 16 ไร บริเวณเขาแรดที่ กรมราชทัณฑมอบใหในสวนมหาวิทยาลัยครองอยูประมาณ 160 ไร อยูในการรางอุทธรณประมาณ 100 ไร และบริเวณที่ชาวบานบุกรุกอีกประมาณ 300 ไร และไดรับอนุญาตใหใชที่ดินของกองทัพบก 500 ไร เพื่อขยายวิทยาเขตยานมัทรีพยุหะคีรี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครสวรรค เ ป น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาท อ งถิ่ น โดยมี พันธกิจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 คือ จัดการศึกษาวิชาการและวิชาชีพ ชั้นสูง ทําการวิจัย สงเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ บริการทางวิชาการแก สังคม ปรับปรุง ถายทอด และพัฒนาเทคโนโลยี ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ผลิตและพัฒนา ครูและบุคลากรทางการศึกษา ปจจุบันมหาวิทยาลัยเปดสอนตั้งแตระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอก รวม 5 คณะวิชา
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปริญญาตรีปกติ - หลักสูตรปริญญาตรีนานาชาติ - หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต - หลักสูตรปริญญาโท - หลักสูตรปริญญาเอก จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
94 สถาบันอุดมศึกษาไทย
16 69 57 1 1 8 2 11,652 1,049 343 81 685
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง โทรศัพท 0 5621 9100, 0 5621 9129 ตอ 1151, 1153, 3222 เว็บไซต http://regis.nsru.ac.th/entrance • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th หรือ http://regis.nsru.ac.th/Admissions สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
22,400 - 188,000 80,000 - 120,000 220,000 - 390,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
95
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะครุศาสตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา 1061 ซอยอิสรภาพ 15 ถนนอิสรภาพ แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600 โทรศัพท 0 2473 7000-49 โทรสาร 0 2466 6006 เว็บไซต http://www.bsru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา เปนสถาบันการศึกษาทีไ่ ดกอ ตัง้ มาครบ 114 ป คํ า ว า “บ า นสมเด็ จ เจ า พระยา” เกิ ด จากพระราชดํ า ริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจาอยูห วั รัชกาลที่ 5 ทีจ่ ะตัง้ โรงเรียนแบบ public school ของอังกฤษ โดยโปรดใหจดั ตัง้ คณะกรรมการ เพื่อดําเนินการเรื่องนี้ ที่ประชุมเห็นวาจวนของสมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ซึ่งพระยาสีหราชเดโชชัย หลานปูของสมเด็จเจาพระยาฯ ไดนอมเกลาฯ ถวายไวตั้งแตป พ.ศ. 2433 เปนทีก่ วางขวางใหญโตเห็นสมควร จัดตัง้ เปนโรงเรียนใหชอื่ วา “โรงเรียนราชวิทยาลัย” แตชาวบานนิยม เรียกวา “โรงเรียนฟากขะโนน” หรือ “โรงเรียนบานสมเด็จเจาพระยา” ตอมาไดเปลีย่ นชือ่ เปน “โรงเรียน ฝกหัดครูฝงตะวันตก” สําหรับผลิตครูที่มีคุณภาพเพื่อสอนในหัวเมือง และไดเปลี่ยนชื่อไปอีกเปน “โรงเรียนฝกหัดอาจารยตะวันตก” “โรงเรียนฝกหัดอาจารยบานสมเด็จเจาพระยา” และ “โรงเรียน ฝกหัดครูบานสมเด็จเจาพระยา” ตามลําดับ จนกระทั่ง พ.ศ. 2501 โรงเรียนฝกหัดครูบานสมเด็จ เจาพระยาไดรับการยกฐานะเปนวิทยาลัยครูบานสมเด็จเจาพระยา เปดสอนในระดับปริญญาตรี และรวมกลุมกับวิทยาลัยครูกลุมนครหลวง 6 แหง ภายใตชื่อ “สหวิทยาลัยรัตนโกสินทร” ตอมา วันที่ 14 กุมภาพันธ 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชือ่ “วิทยาลัยครู” วิทยาลัยครูบา นสมเด็จเจาพระยา จึงไดรบั พระราชทานนาม ใหมวา “สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา” สามารถจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกในสาขาวิชาตาง ๆ ได ปจจุบันสถาบันราชภัฏทั่วประเทศไดรับการยกฐานะเปน มหาวิทยาลัยราชภัฏ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 จึงไดเปลี่ยนชื่อเปน “มหาวิทยาลัยราชภัฏ บานสมเด็จเจาพระยา” ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
96 สถาบันอุดมศึกษาไทย
14 81 81 31,126 1,853 5,183 83 545
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิทยาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย สํานักโรงเรียนสาธิต สถาบันวิจัยและพัฒนา
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • การรับตรง ติดตอศูนยรับนิสิตใหม โทรศัพท 0 2473 7000-49 ตอ 1998, 1716 โทรสาร 0 2466 6006 เว็บไซต http://www.bsru.net หรือ http://www.bsru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
60,800 - 144,800 46,800 - 144,000 660,000 - 900,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย
97
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย* 439 ถนนจิระ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย 31000 โทรศัพท 0 4461 1221 โทรสาร 0 4461 2858 เว็บไซต http://www.bru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมยไดเริ่มตนกอตั้งเปน “วิทยาลัยครูบุรีรัมย” ดวยความตองการ ของทางราชการและประชาชนจังหวัดบุรีรัมย เพื่อสนองความตองการของประเทศชาติที่กําลัง ขาดแคลนครู วิทยาลัยครูบุรีรัมยไดเริ่มกอตั้งเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2514 ไดเปดรับนักศึกษา ครั้งแรกในปการศึกษา 2515 โดยเปดสอนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) ใน ปการศึกษา 2516 วิทยาลัยไดเปดสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.ชั้นสูง) ทั้งภาคปกติและภาคคํ่า ในป พ.ศ. 2519 วิทยาลัยครูบุรีรัมยไดรับการยกฐานะใหเปนวิทยาลัยครู ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 มีการเปดสอนตามหลักสูตรใหมของสภาฝกหัดครู ซึ่ง เปลี่ยนจากระบบ 3 ภาคเรียน มาเปนระบบ 2 ภาคเรียน ในปการศึกษา 2521 วิทยาลัยครูบุรีรัมยได เปดสอนระดับปริญญาตรี 2 ปหลัง (ค.บ.) เปนรุนแรก โดยเปดสอนภาคปกติ 6 วิชาเอก คือ ภาษา อังกฤษ ภาษาไทย สังคมศึกษา พลศึกษา ศิลปศึกษา และวิทยาศาสตรทั่วไป และไดเปดระดับ ปริญญาตรี 2 ปหลัง ใหกบั ครูประจําการในวันเสาร-อาทิตย โดยเรียกวา “โครงการอบรมครูประจําการ” (อคป.) ในปการศึกษาตอมาไดเปดศูนยใหการศึกษาสําหรับศูนยประจําการทีโ่ รงเรียนรอยเอ็ดวิทยาลัย จังหวัดรอยเอ็ด วิ ท ยาลั ย ครู บุ รี รั ม ย ได เป ด หลั ก สู ต รครุ ศ าสตรบั ณฑิ ต (ค.บ.) 4 ป ครั้ ง แรก เมื่ อ ป การศึกษา 2524 และเปดสอนหลักสูตรใหมในระดับ ป.กศ.ชั้นสูง อีก 3 วิชาเอก ตอมาในป การศึกษา 2527 มีการขยายฐานการศึกษาไปเปน “เทคนิคการอาชีพ” ไดเปดสอนเทคนิคการ อาชีพระดับ ป.กศ.ชั้นสูง หลายสาขา ป พ.ศ. 2527 วิทยาลัยครูบุรีรัมยจึงเปดสอนวิชาการอื่น เพิ่ ม เติ ม ทั้ ง ในระดั บ อนุ ป ริ ญ ญาและปริ ญ ญาตรี ห ลายสาขาวิ ช า และปริ ญ ญาที่ ผู เรี ย นได รั บ จะมี 3 สาขา คือ ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) และวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) ปการศึกษา 2538 ไดมีพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏขึ้นมาใชแทนพระราชบัญญัติ วิทยาลัยครู “วิทยาลัยครูบุรีรัมย” จึงเปลี่ยนชื่อเปน “สถาบันราชภัฏบุรีรัมย” และสามารถเปดสอน ได ถึ ง ระดั บ ปริ ญ ญาเอก สถาบั น ราชภั ฏ บุ รี รั ม ย ไ ด ข ยายฐานการศึ ก ษา โดยเป ด โปรแกรม ตาง ๆ ซึ่งเปนที่ตองการและจําเปนตอการพัฒนาทองถิ่น และไดเปดสอนในระดับปริญญาโท ในสาขาวิชาบริหารการศึกษา สาขาสังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา สาขาหลักสูตรและการสอน สาขา บริหารธุรกิจ สาขาวิจัยและการพัฒนาทองถิ่น และสาขารัฐประศาสนศาสตร ในป พ.ศ. 2547 มีพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏขึ้นมาใชแทนพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ สถาบันราชภัฏ บุรีรัมยยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย มีฐานะเปนนิติบุคคล การดําเนินการตามภารกิจ มีความคลองตัวมากขึ้น ปจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏเปดการเรียนการสอนจนถึงระดับปริญญาเอก ดูขอมูลและรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.bru.ac.th
98 สถาบันอุดมศึกษาไทย
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
• ประเภทรับตรง • การสอบคัดเลือก สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 4461 1221 หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.bru.ac.th
แผนที่
*อางอิงขอมูลจากเว็บไซต http://www.bru.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย
99
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 9 ถนนแจงวัฒนะ บางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรศัพท 0 2544 8000 โทรสาร 0 2522 6605 เว็บไซต http://www.pnru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครไดรบั การสถาปนาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัวในนาม “โรงเรียนฝกหัดอาจารย” สังกัดกระทรวงธรรมการ ทําหนาที่ผลิตครูเพื่อรองรับ การขยายตัวของการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน เปดทําการสอนเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2435 เปนสถานศึกษาดานการฝกหัดครูแหงแรกของประเทศไทย มีมิสเตอรกรีนรอด ชาวอังกฤษ เปน อาจารยใหญคนแรก โดยมีที่ตั้งครั้งแรกอยูในบริเวณโรงเลี้ยงเด็ก ตําบลสวนมะลิ ถนนบํารุงเมือง จากนัน้ ไดยายไปสถานที่ตั้งไปอีกหลายแหง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 กระทรวงศึกษาธิการ ไดยกฐานะโรงเรียนฝกหัดครูพระนครขึน้ เปน “วิทยาลัยครูพระนคร” เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง) ตอมาในป พ.ศ. 2517 ไดเปดหลักสูตรประโยคครูอุดมศึกษา (ป.อ.) โดยใชหลักสูตรของวิทยาลัยวิชาการศึกษา โดยรับผูสําเร็จ ป.กศ.สูง หรืออนุปริญญา หลักสูตร 2 ป หลังจากนัน้ ในวันที่ 14 กุมภาพันธ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯ พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” เปนชื่อสถาบันการศึกษาในสังกัดกรมการฝกหัด ครู กระทรวงศึกษาธิการ ทั้งยังไดพระราชทานตราพระราชลัญจกรใหเปนตราสัญลักษณประจํา สถาบันราชภัฏ และเมื่อไดประกาศใชพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2538 วิทยาลัยครูพระนคร จึงเปลี่ยนชื่อเปน “สถาบันราชภัฏพระนคร” ตอมาในวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 สถาบันราชภัฏพระนครมีสภาพเปนนิติบุคคลในนามของ “มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร” เพื่อปฏิบัติภารกิจสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาทองถิ่น เพื่อพัฒนาประเทศชาติของเราใหเจริญ มั่นคงตอไป
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ (ปริญญาโท) จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
100 สถาบันอุดมศึกษาไทย
11 73 72 1 8,592 633 824 137 824
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะวิทยาการจัดการ วิทยาลัยการฝกหัดครู
การรับสมัครเขาศึกษา
คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาลัยพุทธศาสตรและปรัชญา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ประเภทรับตรงที่มหาวิทยาลัย • ประเภทโควตาจัดสรรจากสถานศึกษา • ประเภทคัดเลือกจากความสามารถทางวิชาการ ประเภทผูบําเพ็ญประโยชนตอสังคม และประเภทความสามารถพิเศษ สถานที่ติดตอ : สํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เลขที่ 9 ถนนแจงวัฒนะ บางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรศัพท 0 2544 800 ตอ 1414, 1415, 2156, โทรสาร 0 2522 6605 หรือทางเว็บไซต http://www.pnru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
48,000 - 72,000 100,000 - 140,000 570,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 101
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 96 ถนนปรีดีพนมยงค ตําบลประตูชัย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 โทรศัพท 0 3532 2076-9 โทรสาร 0 3524 2708 เว็บไซต http://www.aru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีพัฒนาการมาจาก “โรงเรียนฝกหัดครูเมือง กรุงเกา” โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชทานพระราชทรัพยจํานวน 30,000 บาท ใหกระทรวงธรรมการกอสรางโรงเรียนฝกหัดครูเมืองกรุงเกา เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2448 ตั้งอยูที่หลังพระราชวังจันทรเกษม จัดสอนวิชาสามัญอนุโลมตามหลักสูตรมัธยมศึกษา 1-2-3 แตเพิ่มวิชาครู คัดเลือกนักเรียนตามหัวเมืองในมณฑลมาฝกหัดครู เพื่อสงไปสอนโรงเรียน ตาง ๆ ในมณฑล โรงเรียนฝกหัดครูเมืองกรุงเกา ไดเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการยายสถานที่เรียนเรื่อยมา เริ่มเปดสอนหลักสูตรครูมูลใน พ.ศ. 2458 ยายสถานศึกษาไปอยูในกรมทหารที่หัวแหลมแยกเปน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนฝกหัดครูชายและฝกหัดครูสตรี ใน พ.ศ. 2479 จนถึงป พ.ศ. 2484 โรงเรียน ฝกหัดครูชายยายไปที่โรงเรียนประตูชัยในปจจุบัน โรงเรียนฝกหัดครูสตรียายไปอยูตําบลหอรัตนไชย ป 2509 โรงเรียนฝกหัดครูชายไดยายมาอยูทปี่ จจุบนั นี้ และรวมโรงเรียนสตรีฝกหัดครูมาเปนวิทยาลัย ครูพระนครศรีอยุธยาในป พ.ศ. 2511 และไดเปลี่ยนมาเปนสถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตามลําดับ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
102 สถาบันอุดมศึกษาไทย
8 47 47 5,175 228 529 11 578
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คณะวิทยาการจัดการ สถาบันอยุธยาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • โครงการทุนอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต สถานที่ติดตอ กองบริการการศึกษา อาคารสํานักงานอธิการบดี หมายเลขโทรศัพท 0 3524 1196, 0 3532 2076-9 ตอ 1237-1240 เว็บไซต http://www.aru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
56,000 - 75,200 50,200 - 75,200 360,200 - 380,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 103
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 156 หมู 5 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท 0 5526 7001-2 โทรสาร 0 5526 7089 เว็บไซต http://www.psru.ac.th
แนะนํา
ปจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามมีสถานที่เรียน 2 แหง คือ สวนวังจันทน ซึ่งเปน ที่ตั้งของคณะครุศาสตร สํานักศิลปะและวัฒนธรรม สํานักงานประสานงานการจัดการบัณฑิตศึกษา และสวนทะเลแกว เปนที่ตั้งของคณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สํานัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักงานมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา สํานักงาน อธิการบดี กองกลาง กองบริการการศึกษา กองบริหารงานบุคคล กองนโยบายและแผนงาน กองพัฒนานักศึกษา ศูนยการศึกษาพิเศษ ศูนยภาษาและคอมพิวเตอร สถาบันวิจัยและพัฒนา และหอพักนักศึกษาหญิง ซึ่งในอนาคตสวนทะเลแกว จะเปนศูนยรวมการจัดการศึกษาหลักของ มหาวิทยาลัยฯ
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบันวิจัยและพัฒนา
104 สถาบันอุดมศึกษาไทย
14 65 65 12,132 507 101 16 695
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ประเภทคัดเลือก (โควตา) และประเภทความสามารถพิเศษ • ประเภทสอบคัดเลือกทั่วไป (รับตรง) โทรศัพท 0 5526 7050, 0 5526 7101 เว็บไซต http://www.psru.ac.th หรือ http://reg.psru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
83,000 - 115,000 58,000 266,400 - 286,400
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 105
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 38 หมู 8 ตําบลนาวุง อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000 โทรศัพท 0 3249 3300 โทรสาร 0 3249 3308 เว็บไซต http://www.pbru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เริ่มกอตั้งครั้งแรกจากการเปนโรงเรียนฝกหัดครูกสิกรรม ที่ตําบลอูเรือ จังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2469 และเมื่อป 2476 ไดยายมาอยูที่พระราม ราชนิเวศน (วังบานปน) ตําบลบานหมอ อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ตอมาไดรับการยกฐานะเปน โรงเรียนฝกหัดครูมูล โรงเรียนฝกหัดครูเพชรบุรี วิทยาลัยครูเพชรบุรี สถาบันราชภัฏเพชรบุรี และ ป 2547 ไดรับการยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปจจุบนั มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เนนอัตลักษณโดดเดนในสาขาการศึกษา (วิชาชีพครู) การทองเที่ยว การอาหารและเทคโนโลยี (ดูรายละเอียดไดจากเว็บไซต http://www.pbru.ac.th) เปดสอนระดับปริญญาตรี 61 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 13 หลักสูตร ไดแก 1) สาขาวิชา การบริหารการศึกษา 2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 3) สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน 4) สาขา วิชายุทธศาสตรการพัฒนา 5) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 6) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร 7) สาขา วิชาการจัดการทั่วไป 8) สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 9) สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน 10) สาขาวิชาเกษตรและอุตสาหกรรมเพื่อการพัฒ นา 11) สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 12) สาขาวิ ช าคอมพิ ว เตอร เพื่ อ การศึ ก ษา 13) สาขาวิ ช าเทคโนโลยี ยุ ท ธศาสตร ส ารสนเทศ และปริ ญ ญาเอก 3 หลั ก สู ต ร ได แ ก 1) สาขาวิ ช ายุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นา 2) สาขาวิ ช า การจัดการเทคโนโลยี 3) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศคุณภาพ ในการดําเนินงานจัดการศึกษา จะมุงมั่นในดานมาตรฐานและคุณภาพ ซึ่งผานการประเมินผลการประกันคุณภาพ จากคณะ กรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับดีมาก และนักศึกษาไดรับรางวัลระดับประเทศ หลายรางวัล อาทิ รางวัลชนะเลิศการเขียนแผนธุรกิจ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี 3 ปซอน (ป 2551 - 2553) ในป 2554 มหาวิทยาลัยกําหนดจะเปดสอนหลักสูตรที่สนอง ตอความตองการของทองถิ่น ไดแก หลักสูตรอาหารและสุขภาพ แพทยแผนไทย การขนสง (Logistic) การเปนผูประกอบการ ธุรกิจการคาระหวางประเทศ และหลักสูตรนานาชาติ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัย ภาคภูมใิ จในการผลิตบัณฑิตทีม่ ี “คุณธรรม นําความรู คํา้ ชูสงั คม” และเมือ่ สําเร็จแลวมีงานทําทีม่ นั่ คง
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
106 สถาบันอุดมศึกษาไทย
11 61 60 1 8,013 396 837 124 520
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ประเภทโควตา กลุมที่ 1 ผูสมัครที่มีผลการเรียนดี กลุมที่ 2 ผูสมัครที่มีความสามารถพิเศษ เปนที่ยอมรับ และไดรับรางวัลยกยองชมเชย ดานกีฬาดนตรี ศิลปะ และการแสดง • ประเภททั่วไป รายละเอียดทางเว็บไซต http://pbru.ac.th/mis/admission.jsp
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
68,000 - 144,000 76,000 - 120,000 318,000 - 390,000 24,000 - 28,000
บาท บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 107
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ 83 หมู 11 ตําบลสะเดียง อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ 67000 โทรศัพท 0 5671 7100 โทรสาร 0 5671 7110 เว็บไซต http://www.pcru.ac.th
แนะนํา
เมื่อป พ.ศ. 2514 นายจํารูญ ปยัมปุตระ ผูวาราชการจังหวัดเพชรบูรณ รวมกับ พอคา ประชาชน และสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ ไดทําหนังสือถึงรัฐมนตรีวาการ กระทรวงศึกษาธิการ ขอจัดตั้งวิทยาลัยครูขึ้น กระทรวงศึกษาธิการพิจารณาแลวอนุมัติใหสราง วิทยาลัยครูขึ้นที่จังหวัดเพชรบูรณ โดยประกาศตั้งเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2516 และไดแตงตั้ง ให นายนอย สีปอ อาจารยเอกวิทยาลัยครูพิบูลสงคราม พิษณุโลก มารักษาราชการในตําแหนง อาจารยใหญ วิทยาลัยครูเพชรบูรณ ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2516 และไดรับนักศึกษารุนแรก ในปการศึกษา 2519 โดยรับผิดชอบการศึกษาในเขตจังหวัดเพชรบูรณและจังหวัดพิจิตร ตอมา ในป พ.ศ. 2535 กรมการฝกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ ไดนําความกราบบังคับทูลพระกรุณา ขอพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระองคทานทรงพระกรุณาโปรดเกลา โปรดกระหมอม พระราชทานนามวา “สถาบันราชภัฏ” แกวทิ ยาลัยครู 36 แหง วิทยาลัยครูเพชรบูรณ จึงมีชื่อใหมวา “สถาบันราชภัฏเพชรบูรณ” ซึ่งตองปรับเปลี่ยนสภาพไปตามพระราชบัญญัติสถาบัน ราชภัฏ มาตรา 7 คือ ใหสถาบันราชภัฏเปนนิติบุคคล มีฐานะเปนกรมในกระทรวงศึกษาธิการ และ เปนสถาบันการศึกษาและวิจัยเพื่อพัฒนาทองถิ่น มีวัตถุประสงคใหการศึกษาทางวิชาการและ วิชาชีพชั้นสูง ทําการวิจัย ใหการบริการทางวิชาการแกสังคม ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครู สงเสริมวิทยฐานะครู และบุคลากรประจําการ และในป พ.ศ. 2538 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดลงพระปรมาภิไธยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เริ่มใชพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏใหไว เมื่ อ วั น ที่ 25 มกราคม 2553 ต อ มาพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมี พระราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา “โดยที่เปนการสมควรจัดตั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏขึ้นแทน สถาบันราชภัฏ ใหไว ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2547 เปนปที่ 59 ในรัชกาลปจจุบัน ตราเปน พระราชบัญญัติ เรียกวา “พระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547” ดวยพระมหากรุณาธิคณ ุ แหงองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทําให “สถาบันราชภัฏเพชรบูรณ” ยกฐานะเปน “มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบูรณ” นับตั้งแตบัดนัน้ เปนตนมา
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
108 สถาบันอุดมศึกษาไทย
10 34 34 6,992 404 431 221
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
• รอบสิทธิพิเศษ • รอบทัว่ ไป หมายเลขโทรศัพทติดตอ 0 5671 7119 โทรสาร 0 5671 7120 เว็บไซต http://academic.pcru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
60,000 - 120,000 68,000 - 100,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 109
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 21 หมูที่ 6 ถนนเทพกระษัตรี ตําบลรัษฎา อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 โทรศัพท 0 7624 0475-7 โทรสาร 0 7621 1778 เว็บไซต http://www.pkru.ac.th
แนะนํา
“มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต” เดิมชื่อวา “วิทยาลัยครูภูเก็ต” ไดรับการสถาปนาขึ้น เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2514 ซึ่งตรงกับวันเฉลิมฉลองครบ 25 ป การครองราชยในพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว ตอมาในวันที่ 14 กุมภาพันธ พ.ศ. 2535 วิทยาลัยครูภูเก็ตไดเปลี่ยนชื่อเปน “สถาบันราชภัฏภูเก็ต” ตามที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน นามวิทยาลัยครูวา “สถาบันราชภัฏ” จนเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา ใหสถาบันราชภัฏทัว่ ประเทศ เปลีย่ น สถานภาพเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏ เปนนิติบุคคลและมีอิสระคลองตัวในการบริหารจัดการในดาน ตาง ๆ ไดดีกวาเดิม มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตเปนแหลงความรูและที่พึ่งของทองถิ่น รวมทั้งเพิ่มขีดความ สามารถในการจัดแขงขันทางการศึกษาไดอยางกวางขวางยิ่งขึ้น มีพันธกิจหลักในการสรางโอกาส ทางการศึกษาสรางระบบการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทีม่ คี ณ ุ ภาพและมีประสิทธิภาพ สรางองค ความรูเพื่อเพิ่มความเขมแข็งใหกับชุมชนทองถิ่น
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูล ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งหมด
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร
110 สถาบันอุดมศึกษาไทย
6 57 56 1 15,189 383 404 25 475
คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สํานักงานบัณฑิตศึกษา
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • โควตา • โควตาทั่วไป • โควตาความสามารถพิเศษระดับภาค หรือประเทศ • คัดเลือกทั่วไป • โครงการ “ทุนอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต” สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 7652 3242, 0 7624 0475-7 ตอ 108, 08 1891 2240 เว็บไซต http://www.pkru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท (ภาคพิเศษ) ระดับปริญญาเอก (ภาคพิเศษ)
64,400 - 313,450 120,000 505,000 - 600,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 111
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม* 80 ถนนนครสวรรค ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000 โทรศัพท 0 4372 2118-9 โทรสาร 0 4372 2117 เว็บไซต http://www.rmu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม กอตั้งเมื่อ พ.ศ. 2473 ในสมัยที่ขุนประสงคจรรยาเปน ศึกษาธิการ และขณะนัน้ สถาบันอยูในฐานะโรงเรียนประถมวิสามัญในระยะแรก และใน พ.ศ. 2498 โรงเรียนเปลี่ยนฐานะเปนโรงเรียนฝกหัดครูมหาสารคาม และสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการ ศึกษา (ป.กศ.) ตอมาเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2505 โรงเรียนฝกหัดครูมหาสารคามไดยกฐานะเปน วิทยาลัยครูมหาสารคาม และขยายการศึกษาถึงระดับประกาศนียบัตรวิทยาการศึกษาชั้นสูง ตอจากนัน้ ไดขยายการเรียนการสอนจนถึงระดับปริญญาตรี (ครุศาสตรบัณฑิตและสาขาวิทยาการอืน่ ) ซึ่งเปนการขยายฐานทางวิทยาการ เพื่อสนองความตองการของประชาชนในทองถิ่น ในสมัยนัน้ เปดสอนสาขาวิชาการศึกษา สาขาวิชาศิลปศาสตร และสาขาวิชาวิทยาศาสตร ทัง้ ในระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี ป พ.ศ. 2535 วิทยาลัยครูไดรับพระราชทานนามวา “สถาบันราชภัฏ” วิทยาลัยครู มหาสารคามจึงเรียกชื่อใหมเปนสถาบันราชภัฏมหาสารคาม ตาม พ.ร.บ.สถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 และหลังจากนัน้ สถาบันราชภัฏยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ราชภัฏ พ.ศ. 2547 สงผลใหสถาบันราชภัฏมหาสารคามเปลีย่ นเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ตั้งแตวันที่ 15 มิถุนายน 2547 เปนตนมา ปจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเปดสอนในระดับ ปริญญาตรีจนถึงระดับปริญญาเอก และมีการศึกษาทัง้ ภาคปกติ เรียนวันจันทร - ศุกร และภาคพิเศษ เรียนวันเสาร-อาทิตย สามารถดูขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://www.rmu.ac.th
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง
112 สถาบันอุดมศึกษาไทย
การรับสมัครเขาศึกษา
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ โทรศัพท 0 4372 2118-9 หรือดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.rmu.ac.th
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
แผนที่
*อางอิงขอมูลจากเว็บไซต http://www.rmu.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย 113
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 133 ถนนเทศบาล 3 ตําบลสะเตง อําเภอเมือง จังหวัดยะลา โทรศัพท 0 7322 7151 โทรสาร 0 7322 7131, 0 7322 7125 เว็บไซต http://www.yru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา กอตั้งเปนโรงเรียนฝกหัดครู เมื่อป พ.ศ. 2477 ตอมาในป พ.ศ. 2518 ยกฐานะเปนวิทยาลัยครูยะลา และในป พ.ศ. 2535 ไดรับพระราชทานนามวา สถาบัน ราชภัฏยะลา จากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว หลังจากนัน้ ไดรับการยกฐานะเปนมหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2547 มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ยะลาเป น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ มี ภ ารกิ จ ในการผลิ ต บั ณฑิ ต และ พัฒนาสังคมดังปรัชญาที่วา “เปนสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาทองถิ่นจังหวัดชายแดนภาคใต โดย มุง เนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมคี ณ ุ ภาพชีวติ ดวยกระบวนการทางการศึกษา กระบวนการพัฒนา องคความรูพื้นฐานการบูรณาการศาสตรสากลและภูมิปญญาทองถิ่น” และกําหนดวิสัยทัศนที่วา “มุงสูองคกรคุณภาพ เสริมสรางสังคมสมานฉันท สืบสานภูมิปญญาไทย วิจัยและพัฒนาทองถิ่น” ดังนัน้ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาจึงดําเนินงานจัดการศึกษาใหไดคุณภาพและประสิทธิภาพเปนที่ ยอมรับเชื่อถือของทองถิ่นและสังคมสวนรวม
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิทยาการจัดการ คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและการเกษตร สถาบันวิจัยและพัฒนาชายแดนภาคใต
114 สถาบันอุดมศึกษาไทย
7 40 40 7,286 242 232 440
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
• รับตรง • โควตา - ประเภทนักเรียนที่เรียนดี - ประเภทนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ ติดตอ กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โทรศัพท 0 7322 7151 ตอ 1002, 1020 เว็บไซต http://web.yru.ac.th/~eduservice/
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับปริญญาโท
6,500 - 9,000 14,000 - 17,000 16,000 - 25,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 115
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด 113 หมู 12 ตําบลเกาะแกว อําเภอเสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด 45120 โทรศัพท 0 4355 6001-8 โทรสาร 0 4355 6009 เว็บไซต http://www.reru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ดไดดาํ เนินการจัดตัง้ ทีบ่ ริเวณโคกทุง ปะ ตําบลเกาะแกว อําเภอ เสลภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2540 บนพื้นที่ 961 ไร 1 งาน 30 ตารางวา ซึ่งอยูบน เสนทางถนนสายรอยเอ็ด-โพนทอง กิโลเมตรที่ 26 มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด เปน 1 ใน 5 โครงการ สถาบันราชภัฏเพิ่มในระยะแรกของสํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ กระทรวงศึกษาธิการ ในระหวาง ปงบประมาณ 2540 - 2542 โดยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2540 หลังจากนั้นไดมีประกาศพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งเปนสถาบันราชภัฏรอยเอ็ด ลงใน ราชกิจจานุเบกษา เลม 118 ตอนที่ 59 ก เมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม 2544 และมีประกาศพระราชกฤษฎีกา จัดตัง้ เปนมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด เมือ่ วันที่ 14 มิถนุ ายน 2547 ตามลําดับ ปจจุบนั มหาวิทยาลัย ราชภัฏรอยเอ็ดเปดการเรียนการสอนใหแกนกั ศึกษาจนถึงระดับปริญญาโท รวม 28 หลักสูตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูล ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553)
จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร วิทยาลัยการศึกษา วิทยาลัยการจัดการ วิทยาลัยนิติรัฐศาสตร วิทยาลัยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันวิจัยและพัฒนา สถาบันจัดการความรู
116 สถาบันอุดมศึกษาไทย
11 28 28 3,816 659 273 107
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
45,200 - 46,000 72,000 390,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 117
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
• รับตรง • ทุนการศึกษา ทุนมหาวิทยาลัย ประเภททุนผลการเรียนดี ทุนความสามารถพิเศษ และ ทุนเพชรราชภัฏรอยเอ็ด ติดตอสอบถามไดที่ สํานักวิชาการและประมวลผล โทรศัพท 0 4355 6001-8 ตอ 120, 130 หรือ 0 4355 6013 หรือที่เว็บไซต http://www.reru.ac.th
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร 422 ถนนมรุพงษ ตําบลหนาเมือง อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000 โทรศัพท 0 3853 5426-8, 0 3881 0301 โทรสาร 0 3851 1010 เว็บไซต http://www.rru.ac.th
แนะนํา
เดิมใชชอื่ วาโรงเรียนฝกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัด เปดสอนหลักสูตรครูประกาศนียบัตร จังหวัด (ครู ว.) หลังจากนัน้ ไดเปดสอนหลักสูตรครูประชาบาล (ป.ป.) และเปลี่ยนชื่อเปนโรงเรียน สตรีฝกหัดครูฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2493 เปดสอนหลักสูตรครูมลู และ พ.ศ. 2494 เปดสอนหลักสูตรฝกหัด ครูประถม (ป.ป.) ซึง่ เปนการเปดสอนนักเรียนฝกหัดครู ป.ป. หญิง เปนครัง้ แรกในสวนภูมภิ าคของไทย ในป พ.ศ. 2498 มีการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร โดยใชหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) แทนหลักสูตร ป.ป. โดยรับนักเรียนชายเขาเรียนดวย จึงเปลีย่ นชือ่ “โรงเรียนสตรีฝก หัดครูฉะเชิงเทรา” เปน “โรงเรียนฝกหัดครูฉะเชิงเทรา” สังกัดกรมการฝกหัดครู และในวันที่ 1 ตุลาคม 2513 โรงเรียน ฝกหัดครูฉะเชิงเทราไดรบั การสถาปนาเปน “วิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา” เปดสอนถึงระดับประกาศนียบัตร วิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง) ทั้งภาคปกติและภาคคํ่า ตอมาใน พ.ศ. 2518 ไดมีการประกาศ พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 จึงไดรับการยกฐานะตามพระราชบัญญัติใหสามารถผลิตครู ไดถงึ ระดับปริญญาตรีและใหมภี ารกิจอืน่ ๆ คือ การคนควาวิจยั ทํานุบาํ รุงศาสนาและศิลปวัฒนธรรม การสงเสริมวิทยฐานะครูและการอบรมครูประจําการ จึงไดมีการอบรมครูประจําการ (อ.คป.) ขึ้น โดยไดเปดสอนตั้งแตป พ.ศ. 2522 จนถึง พ.ศ. 2530 ตอมาในวันที่ 14 กุมภาพันธ 2535 วิทยาลัยครู ฉะเชิงเทราไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานนามวิทยาลัยครู ฉะเชิงเทราวา “สถาบันราชภัฏฉะเชิงเทรา” และในป พ.ศ. 2541 สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟา กัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ประทานนามสถาบันราชภัฏฉะเชิงเทราวา “สถาบัน ราชภั ฏ ราชนคริ นทร ” ตามคํ า ขอประทานนามของอธิ ก ารบดี โดยมติ ข องสภาประจํ า สถาบั น หลังจากนัน้ ในวันที่ 10 มิถุนายน 2547 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตรา “พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547” สถาบันราชภัฏราชนครินทรจึงไดรับการ ยกขึน้ เปนมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร เปดสอนในระดับปริญญาเอก ปริญญาโท และปริญญาตรี
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
118 สถาบันอุดมศึกษาไทย
13 41 41 3,936 759 382 47 344
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะครุศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย
สถาบันพัฒนาคุณภาพครู สถาบันวิจัยและพัฒนา ศูนยศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น ศูนยเศรษฐกิจพอเพียง
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • ทุน (ทุน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ทุนเรียนดี ทุนความสามารถพิเศษ) ดูรายละเอียดที่ http://www.academic.rru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
7,800 - 10,500 100,000 350,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 119
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี 41 หมู 5 ถนนรักศักดิ์ชมูล ตําบลทาชาง อําเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี 22000 โทรศัพท 0 3931 9111 โทรสาร 0 3947 1067 เว็บไซต http://www.rbru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี เปนสถาบันอุดมศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดตั้งครั้งแรกในฐานะ “วิทยาลัยครูจันทบุรี” เมื่อวันที่ 15 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2515 บริ เวณที่ เป น สวนบ า นแก ว พระราชฐานส ว นพระองค ข องสมเด็ จ พระนางเจารําไพพรรณี พระบรมราชินใี นรัชกาลที่ 7 โดยพระองคพระราชทานใหกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อจัดตั้งเปนวิทยาลัยครูจันทบุรี สีประจํามหาวิทยาลัย คือ สีชมพู-เขียว เปดสอนครั้งแรกในระดับ ประกาศนียบัตรชั้นสูงในป พ.ศ. 2515 ตอมาในป พ.ศ. 2518 ไดเปดสอนระดับปริญญาตรี สาขา วิชาการศึกษา ตาม พ.ร.บ.วิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 จนกระทั่งป พ.ศ. 2528 จึงใหเปดสอนสาขา วิทยาศาสตรและสาขาศิลปศาสตร ในป พ.ศ. 2528 วิทยาลัยครูจันทบุรีไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหอัญเชิญ พระนามาภิไธยของสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณีฯ เปนนามของวิทยาลัยวา “วิทยาลัยรําไพพรรณี” ตอมาในป พ.ศ. 2536 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดพระราชทานชื่อใหมใหแกวิทยาลัยครู ทัว่ ประเทศ คือ “สถาบันราชภัฏ” จึงมีผลทําใหวทิ ยาลัยรําไพพรรณีมฐี านะเปน สถาบันราชภัฏรําไพพรรณี และเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2547 มีการประกาศใช พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทําใหสถาบัน ราชภัฏรําไพพรรณีเปลี่ยนสถานะเปน “มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี” ทําหนาที่ในฐานะสถาบัน อุดมศึกษาเพื่อพัฒนาทองถิ่น เสริมสรางพลังปญญาของแผนดิน ฟนฟูพลังการเรียนรู เชิดชูพลัง ของแผนดิน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักงานตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ ระดับปริญญาตรี - หลักสูตรปกติ ระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
120 สถาบันอุดมศึกษาไทย
15 55 44 11 5,227 312 72 589
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะครุศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและอัญมณีศาสตร คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะอัญมณีศาสตรฯ สถาบันวิจัยพัฒนา
การรับสมัครเขาศึกษา
รับสมัครตรง สามารถหาขอมูลเพิม่ เติมไดทเี่ ว็บไซตของมหาวิทยาลัย http://www.rbru.ac.th และเขาสูระบบบริการการศึกษา หรือสอบถามขอมูลทางโทรศัพท 0 3947 1070 หรือ 0 3931 9111 ตอ 8401, 8402
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
7,000 - 10,000 19,000 - 28,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 121
มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง 119 หมู 9 ถนนลําปาง-แมทะ ตําบลชมพู อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง 52100 โทรศัพท 0 5423 7399 ตอ 4819, 3819 โทรสาร 0 5423 7388 เว็บไซต http://www.lpru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง กอตัง้ เมือ่ วันที่ 9 มิถนุ ายน 2514 เดิมคือ “วิทยาลัยครูลาํ ปาง” ที่ผลิตครูเพียงอยางเดียว หลังจากนัน้ ไดมีการปรับเปลี่ยนทั้งโครงสรางและการบริหารจัดการที่แสดง ใหเห็นความกาวหนาจวบจนปจจุบัน เหตุการณเปลี่ยนแปลงที่สําคัญเกี่ยวกับการจัดการศึกษา คือ เปดการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง) ระดับปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร ตามลําดับ เรื่อยมา ในป พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดพระราชทานนามวิทยาลัยครูใหม ใหเปน “สถาบันราชภัฏ” วิทยาลัยครูลาํ ปางจึงเปลีย่ นเปนสถาบันราชภัฏลําปาง ตามพระราชบัญญัติ สถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 ซึ่งไดเปดโอกาสใหสอนในระดับที่สูงกวาระดับปริญญาตรีได หลังจากนัน้ ในป 2542 เปดสอนระดับปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา เปนการ เปดสอนระดับบัณฑิตศึกษาสาขาแรกของสถาบัน และสถาบันไดกาวสูการเปลี่ยนแปลงสําคัญที่สุด เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และไดประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา มีผลใหสถาบันราชภัฏลําปางเปลี่ยนเปน “มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง” ตั้งแตวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงานและสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
122 สถาบันอุดมศึกษาไทย
10 45 45 7,191 450 528 523
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาศาสตร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร
การรับสมัครเขาศึกษา
• ประเภทรับตรง • ประเภทสอบคัดเลือกทั่วไป รายละเอียดเพิ่มเติมดูไดจาก http://www.lpru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี 4 ป ระดับปริญญาโท 5 ป ระดับปริญญาเอก 2 ป
44,000 - 52,000 55,000 - 60,000 85,000 - 95,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 123
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 234 ถนนเลย-เชียงคาน อําเภอเมือง จังหวัดเลย 42000 โทรศัพท 0 4283 5224-8 โทรสาร 0 4281 1143 เว็บไซต http://www.lru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เดิมใชชื่อวา วิทยาลัยครู เปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ในสังกัดของสํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ กระทรวงศึกษาธิการ ไดสถาปนาขึน้ เมือ่ วันที่ 29 กันยายน 2516 โดยทําการกอสราง ณ บริเวณทุงขุมทอง อยูระหวางหลักกิโลเมตรที่ 4 - 5 จากจังหวัดเลย ไปยังอําเภอเชียงคาน ในป พ.ศ. 2519 เปดรับนักศึกษารุน แรกหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ปก.ศ.) มีนกั ศึกษา 640 คน อาจารย 47 คน และป พ.ศ. 2520 ไดเปดสอนระดับประกาศนียบัตร การศึกษาชั้นสูง (ปก.ศ.ชั้นสูง) มีนกั ศึกษา 500 คน ในป พ.ศ. 2521 - 2522 เริ่มรับนักศึกษาตาม โครงการฝกอบรมครูและบุคลากรประจําการ (อคป.) รุนแรกจํานวน 252 คน ป พ.ศ. 2523 เริ่ม รับนักศึกษาระดับปริญญาตรีครัง้ แรก ตัง้ แตปก ารศึกษา 2529 โครงการ (อคป.) ไดเปลีย่ นเปนโครงการ จัดการศึกษาสําหรับบุคลากรประจําการ (กศ.บป) ป พ.ศ. 2531 ไดเปดระดับปริญญาโท 3 สาขาวิชา ป พ.ศ. 2538 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานชือ่ สถาบันราชภัฏใหแก วิทยาลัยครู จึงไดเปลีย่ นชือ่ เปนสถาบันราชภัฏเลย ตอมาในป พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานชื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏ จึงใชชื่อนี้มาจนถึงปจจุบัน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
124 สถาบันอุดมศึกษาไทย
10 7 7 7,969 653 846 92 786
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะวิทยาการจัดการ สถาบันวิจัยและพัฒนา
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
5,000 - 6,000 62,500 - 88,000 228,000 - 350,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 125
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
• รับสมัครรอบรับตรง ผานโรงเรียน • รับสมัครรอบทั่วไป โทรศัพท 0 4283 5224-8, 0 4281 1143 เว็บไซต http://www.lru.ac.th
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ 1 หมู 20 ถนนพหลโยธิน กม. 48 ตําบลคลองหนึง่ อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 13180 โทรศัพท 0 2529 0674-7 โทรสาร 0 2529 2580 เว็บไซต http://www.vru.ac.th
แนะนํา
สมเด็จพระราชปตจุ ฉา เจาฟาวไลยอลงกรณ กรมหลวงเพชรบุรรี าชสิรนิ ธรทรงมีพระเมตตา ตอการศึกษาของกุลสตรีไทย จึงประทานอาคารพรอมที่ดินประมาณ 4 ไร ใหกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งโรงเรียนฝกหัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ปจจุบัน คือ เลขที่ 153 ถนนเพชรบุรี แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 เดิมบานและที่ดินเปนของ พระยาแพทยพงษาวิสุทธาธิบดี (สุน สุนทรเวช) โดยยายนักเรียนฝกหัดครู และนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนปลาย (ม.7 - 8) มาจากโรงเรียนเบญจมราชาลัย อาจารยใหญคนแรก คือ อาจารยนิลรัตน บรรณสิทธิ์วรสาสน โรงเรียนใชชื่อยอวา “พ” เปนสัญลักษณ และ สีเขียว เปนสีประจําโรงเรียน เนื่องจากเปนสีประจําวันประสูติของพระองค 1 ตุลาคม พ.ศ. 2513 ไดเปลี่ยนชื่อเปนวิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ และพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ รับวิทยาลัยไวในพระบรมราชูปถัมภ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 ตอมาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พุทธศักราช 2547 และไดประกาศ ในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ยังผลใหสถาบันราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภไดยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ตั้งแตวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2547
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
126 สถาบันอุดมศึกษาไทย
14 55 55 12,886 838 450 606
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ วิทยาลัยสหวิทยาการเพื่อการพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันวิจัยและพัฒนา
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • ทุนวไลยอลงกรณ • โครงการสงเสริมความสามารถพิเศษ โทรศัพท 0 2529 0674-7 (ตอ 122 123), 0 2529 3598, 0 2909 1432 เว็บไซต http://www.vru.ac.th/ และ http://acad.vru.ac.th/
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
56,500 - 210,500 120,000 - 200,000 350,000 - 600,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 127
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะสํานักวิชาและสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 319 ถนนไทยพันทา ตําบลโพธิ์ อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 33000 โทรศัพท 0 4564 3600-6 โทรสาร 0 4564 3607 เว็บไซต http://www.sskru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ หรือชื่อเดิมเรียกวา สถาบันราชภัฏศรีสะเกษ เปนหนึง่ ในหาสถาบันราชภัฏที่ตั้งขึ้นใหมโดยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2540 และประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2547 เปนมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ที่จัดตั้งขึ้น เพื่อตอบสนองความตองการศึกษาตอระดับอุดมศึกษาของประชาชน ซึ่งเปนทรัพยากรที่มีคุณคา ในการพัฒนาประเทศ มีวัตถุประสงคใหการศึกษาวิชาการ และวิชาชีพชั้นสูง ทําการวิจัย ใหบริการ ทางดานวิชาการแกสังคม ปรับปรุง ถายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครูและสงเสริมวิทยฐานะครู มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มีวิสัยทัศนที่ตองการจะใหสถาบันเปนแหลงความรูและ ที่พึ่งของทองถิ่นและภูมิภาค เสริมสรางคุณภาพคน ครอบครัว ชุมชน สังคมไทยใหเขมแข็ง ยั่งยืน และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศตอไปในอนาคต
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553)
จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ 29 จํานวนหลักสูตรทั้งหมด 48 จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี 6,604 จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 1,214 จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท 265 จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย 242
128 สถาบันอุดมศึกษาไทย
หนวยงาน หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร
ประเภททุนเรียนดี-ความสามารถพิเศษ ประเภทโควตา (รับตรง) ประเภททั่วไป ประเภทโควตา สําหรับนักศึกษาที่มีความพิการ ประเภททุนเรียนฟรี นักศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ประเภททุนพระราชทานนักศึกษาตางชาติ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ งานบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ ศรีสะเกษ หมายเลขโทรศัพท 0 4563 3578 หรือ 0 4564 3600 ตอ 1101-4 หมายเลขโทรสาร 0 4564 3607 หรือทางเว็บไซต http://www.sskru.ac.th • • • • • •
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
40,000 - 60,000 80,000 - 120,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 129
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 680 หมู 11 ถนนนิตโย ตําบลธาตุเชิงชุม อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท 0 4297 0021 โทรสาร 0 4297 0022 เว็บไซต http://www.snru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ตั้งอยูหางจากตัวเมืองไปทางจังหวัดอุดรธานี ระยะทาง 6 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 612 ไร เดิมเปนที่ดินของกระทรวงกลาโหมและของกรมตํารวจ ซึ่งเคย เปนที่ตั้งของโรงเรียนพลตํารวจภูธร 4 จังหวัดสกลนคร แตไดยุบไปรวมกับภาคอื่น ตอมากระทรวง มหาดไทยไดใชสถานที่กอสรางศาลากลาง จังหวัดสกลนคร การกอสรางตัวอาคารไดเสร็จสิ้น เมื่อ พ.ศ. 2506 แตยังใชไมได กระทรวงมหาดไทยไดเปลี่ยนโครงการไปสรางศาลากลางจังหวัดใหม ทีบ่ ริเวณศูนยราชการในปจจุบนั กระทรวงศึกษาธิการจึงไดขอทีด่ นิ และสิง่ กอสรางเพือ่ ตัง้ เปนโรงเรียน ฝกหัดครู ซึง่ ฯพณฯ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตน อดีตนายรัฐมนตรีไดมบี ญ ั ชาใหมอบทีด่ นิ และสิง่ กอสราง ใหกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งเปนโรงเรียนฝกหัดครู “โรงเรียนฝกหัดครูสกลนคร” จึงไดถือกําเนิดขึ้น เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2507 โดย เริ่มดําเนินการตั้งแตปการศึกษา 2507 เปดรับนักศึกษารุนแรกจํานวน 70 คน และฝากเรียนไวกับ วิทยาลัยครูใกลเคียง ตอมากิจการของวิทยาลัยไดเริ่มเจริญกาวหนาขึ้นเรื่อย ๆ มีการรับนักศึกษา เพิ่มขึ้น มีครูอาจารยเพิ่มมากขึ้น กระทรวงศึกษาธิการจึงยกฐานะขึ้นเปน “วิทยาลัยครูสกลนคร” เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2513 และวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2538 เปลี่ยนเปน “สถาบันราชภัฏ สกลนคร” ตาม พ.ร.บ.สถาบันราชภัฏ และเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2547 สถาบันราชภัฏสกลนคร ไดรับการยกฐานะเปน “มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร” จนถึงปจจุบัน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
130 สถาบันอุดมศึกษาไทย
11 15 15 11,372 803 821 131 295
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิทยาการจัดการ
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันภาษา ศิลปะ และวัฒนธรรม สถาบันวิจัยและพัฒนา
การรับสมัครเขาศึกษา
• โครงการรับตรง เรียนดี กีฬาดี กิจกรรมดี คนดี • สอบทั่วไประดับปริญญาตรี ดูรายละเอียดไดที่ http://academic.snru.ac.th/ • โครงการบัณฑิตวิทยาลัย (ป.โท, ป.เอก) ดูรายละเอียดไดที่ http://grad.snru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
40,000 - 50,000 40,000 - 52,000 68,000 - 330,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 131
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ถนนกาญจนวนิช ตําบลเขารูปชาง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 โทรศัพท 0 7433 6933 โทรสาร 0 7432 4221 เว็บไซต http://www.skru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเปนสถาบันอุดมศึกษาที่เกาแกที่สุดแหงหนึ่งของภาคใต เริ่มตนขึ้นในป พ.ศ. 2462 เมื่อธรรมการมณฑลนครศรีธรรมราช ไดจัดตั้งโรงเรียนฝกหัดครูมณฑลขึ้น ตอมาในป พ.ศ. 2476 เลิกการแบงเขตการปกครองเปนมณฑล โรงเรียนฝกหัดครูมณฑลเปลี่ยนเปน โรงเรียนฝกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัด เมือ่ ป พ.ศ. 2477 โดยรับนักเรียนทีเ่ รียน ป.6 และไดยกฐานะ เปนวิทยาลัยครูสงขลา เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 วิทยาลัยครูสงขลาเปดสอนถึงระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร ในป พ.ศ. 2518 โดยรับ นักศึกษาทีเ่ รียนจบ ป.กศ. สูง หรือครูประจําการทีไ่ ดรบั วุฒิ พ.ม. เขาศึกษาตอ 2 ป ผูส าํ เร็จการศึกษา จะไดรับวุฒิครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) และ พ.ศ. 2527 รัฐบาลไดประกาศใชพระราชบัญญัติ วิทยาลัยครู ใหวิทยาลัยครูทําหนาที่ผลิตครูและเปดสอนวิชาชีพ วิทยาลัยครูสงขลาจึงไดผลิตครู ระดับปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต และบัณฑิตหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพอืน่ ๆ ตามความตองการ และความจําเปน ตอมาเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรง พระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนาม “ราชภัฏ” แทนชือ่ วิทยาลัยครูทวั่ ประเทศและเปลีย่ นชือ่ เปน สถาบันราชภัฏสงขลา และ ป พ.ศ. 2547 ไดรับการยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553)
จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ 21 จํานวนหลักสูตรทั้งหมด 9 - หลักสูตรปกติ 9 จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี 19,068 จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 222 จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท 412 จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย (อาจารย) 352
132 สถาบันอุดมศึกษาไทย
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิทยาการจัดการ คณะศิลปกรรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันวิจัยและพัฒนา สถาบันพัฒนาคุณภาพและระบบบริหาร สถาบันพัฒนาการศึกษาพิเศษ
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
การรับสมัครเขาศึกษา
• ประเภทโควตา • รับตรง (สอบคัดเลือก) เว็บไซต htpp://www.skru.ac.th และ http://www.Regis.skru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
60,000 - 98,000 108,000 - 120,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 133
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 295 ถนนราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทรศัพท 0 2244 5000 โทรสาร 0 2243 0457 เว็บไซต http://www.dusit.ac.th
แนะนํา
พ.ศ. 2477 - 2480
โรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือน (วังกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ)์ กองอาชีวศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงธรรมการ พ.ศ. 2480 - 2484 โรงเรียนการเรือนวังจันทรเกษม (วังจันทรเกษม) กองอาชีวศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงธรรมการ พ.ศ. 2484 - 2504 โรงเรียนการเรือนพระนคร (สวนสุนนั ทา) กองโรงเรียนฝกหัดครู กรมสามัญศึกษา กระทรวงธรรมการ พ.ศ. 2504 - 2538 วิทยาลัยครูสวนดุสิต กองโรงเรียนฝกหัดครู (กองการฝกหัดครู) กรมการฝกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2538 - 2547 สถาบันราชภัฏสวนดุสิต สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2547 - ปจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิทยาการจัดการ คณะพยาบาลศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
134 สถาบันอุดมศึกษาไทย
15 71 71 17,864 2,288 53 21 1,931
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ โรงเรียนการทองเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ โรงเรียนการเรือน สถาบันวิจัยและพัฒนา สถาบันภาษา ศิลปะ และวัฒนธรรม
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ระบบรับตรง (รอบโควตาพิเศษ) ประเภทความสามารถทางวิชาการ ความสามารถพิเศษ และนักเรียนดีเดน (ผูบําเพ็ญประโยชนตอสังคม) • ระบบรับตรง (รอบสอบคัดเลือก) โทรศัพท 0 2244 5555, 0 2244 5920 http://www.dusit.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
136,000 - 247,000 142,400 - 230,000 684,000 - 810,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 135
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 1 ถนนอูทองนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทรศัพท 0 2160 1019, 0 2160 1000 โทรสาร 0 2160 1010 เว็บไซต http://www.ssru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา เดิมคือ “โรงเรียนสวนสุนนั ทาวิทยาลัย” ที่กระทรวง ธรรมการจัดเปนสถานศึกษา เมือ่ วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 และยกฐานะเปนวิทยาลัยครูสวนสุนนั ทา เมือ่ ป พ.ศ. 2501 ตอมาไดรบั พระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เปน “สถาบันราชภัฏ สวนสุนนั ทา” เมื่อป พ.ศ. 2535 จนกระทั่งเปลี่ยนเปน “มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา” เมื่อวันที่ 15 มิถนุ ายน 2547 ปจจุบนั มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา เปดสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ทั้งภาคปกติและภาคพิเศษ มีหลักสูตรที่หลากหลายใหนักศึกษาไดเลือกเรียน มากกวา 50 สาขาวิชา นอกจากนี้ยังมีวิทยาลัยนานาชาติและวิทยาลัยการจัดการ นักศึกษาสามารถ เลือกเรียนไดทงั้ ทางออนไลนและ e-Learning มหาวิทยาลัยไดจดั บริการระบบอินเทอรเน็ต อินทราเน็ต และระบบ Wire-less campus รับรองทุกจุดของมหาวิทยาลัยและมีระบบฐานขอมูล (Data base system) ทางวิชาการและงานวิจัยเพื่อการสืบคนแบบออนไลน ที่เปนภาษาอังกฤษ 14 ฐาน ในปการศึกษา 2548 เปนตนมา มหาวิทยาลัยไดทําขอตกลงและความรวมมือทางวิชาการ กับหนวยงานตาง ๆ เชน ไดมีความรวมมือพัฒนาบุคลากรกับภาครัฐและธุรกิจเอกชน อาทิ บริษัท กันตนากรุป จํากัด (มหาชน) MK Restaurants โรงเรียนธุรกิจการอาหารไทยและนานาชาติ กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น อบจ. จังหวัดระนอง เปนตน นอกจากนี้ ยังไดทําความรวมมือ ดานวิชาการและการเรียนการสอนกับมหาวิทยาลัยในตางประเทศทั้งในเอเชีย ยุโรป อเมริกา และ ออสเตรเลีย ไดจดั การศึกษาแบบสองปริญญา หรือ Two-degree Program กับ Yunan Normal University ตกลงความรวมมือทางวิชาการกับ Tin Jin Normal University, Tin Jin Chinese Traditional Medicine University เปนตน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
136 สถาบันอุดมศึกษาไทย
21 22 20 2 18,421 463 851 161 1,232
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะครุศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ สํานักศิลปะและวัฒนธรรม สถาบันวิจัยและพัฒนา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
การรับสมัครนักศึกษา
ระดับปริญญาตรี • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • โควตา (โควตาทุนเพชรสุนนั ทา โควตาวิชาการ โควตาความสามารถพิเศษ) • สอบคัดเลือกประเภทรับตรง สอบถามขอมูลไดทกี่ องบริการการศึกษาและงานประชาสัมพันธ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนนั ทา โทรศัพท 0 2160 1000, 0 2160 1023-4, และ 0 2160 1027-8 หรือที่ http://www.ssru.ac.th ระดับบัณฑิตศึกษา • ประเภทสอบคัดเลือกประเภทรับตรง ระดับบัณฑิตศึกษา สอบถามขอมูลไดที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนนั ทา โทรศัพท 0 2160 1174-6 หรือที่ http://www.grad.ssru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
81,000 - 217,000 50,000 - 225,000 427,000 - 710,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 137
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี 272 หมู 9 ตําบลขุนทะเล อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี 84100 โทรศัพท 0 7735 5629 โทรสาร 0 7735 5468 เว็บไซต http://www.sru.ac.th
แนะนํา
ในป พ.ศ. 2516 ไดมีการจัดตั้ง “วิทยาลัยครูสุราษฎรธานี” โดยเปดสอนในสาขาวิชา ครุศาสตร หลังจากนัน้ พ.ศ. 2528 ไดเพิ่มการเรียนการสอนในสาขาอื่น ๆ นอกจากครุศาสตร และ ไดรวมกับกลุมวิทยาลัยครูทางภาคใต 5 แหง จัดตั้ง “สหวิทยาลัยทักษิณ” โดยมีสํานักงานของ สหวิทยาลัยครูอยูท วี่ ทิ ยาลัยครูสรุ าษฎรธานี ตอมาในวันที่ 14 กุมภาพันธ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อ “วิทยาลัยครู” มีผลให “วิทยาลัยครู สุราษฎรธานี” เปลีย่ นชือ่ เปน “สถาบันราชภัฏสุราษฎรธานี” และยกฐานะเปน “มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎรธานี” ตั้งแตป พ.ศ. 2547 เปนตนมา ตรามหาวิ ท ยาลั ย เป น รู ป วงรี ส องวงล อ มตราพระราชลั ญ จกรของพระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัว ที่พระราชทานใหแกมหาวิทยาลัยราชภัฏ ภายในวงรีดานบนเปนอักษรภาษาไทย เขียนวา “มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี” ดานลางเปนอักษรภาษาอังกฤษเขียนวา “SURATTHANI RAJABHAT UNIVERSITY”
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
138 สถาบันอุดมศึกษาไทย
40 58 57 1 19,419 736 1,440 14 789
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิทยาการจัดการ คณะพยาบาลศาสตร
คณะนิติศาสตร วิทยาลัยนานาชาติการทองเที่ยว สถาบันวิจัยและพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
• ประเภทคัดเลือกทั่วไป • ประเภทสอบคัดเลือกภูมิศาสตรภาคใต สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 7735 5629 หรือ เว็บไซต http://www.sru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
58,000 - 411,300 84,000 - 140,000 506,000 - 566,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 139
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร 186 หมูที่ 1 ถนนสุรินทร-ปราสาท อําเภอเมือง จังหวัดสุรินทร 32000 โทรศัพท 0 4404 1591 โทรสาร 0 4404 1591 เว็บไซต http://www.srru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทรไดรับการสถาปนาเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2519 เดิมใช ชื่อวา “วิทยาลัยครูสุรินทร” เปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา สังกัดกรมการฝกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ และเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อวิทยาลัยครู และการประกาศใชพระราชบัญญัติสถาบัน ราชภัฏ เมือ่ วันที่ 24 มกราคม 2538 มีผลใหวทิ ยาลัยครูสรุ นิ ทร เปลีย่ นชือ่ เปน “สถาบันราชภัฏสุรนิ ทร” ตอมาเมือ่ วันที่ 10 มิถนุ ายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ไดพระราชทานพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยใหสถาบันราชภัฏทุกแหงมีสถานภาพเปนมหาวิทยาลัยและ เปนนิติบุคคล สถาบันราชภัฏสุรินทร จึงมีสถานภาพเปน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร เปนสถาบัน อุดมศึกษาเพื่อพัฒนาทองถิ่น ที่เสริมสรางพลังปญญาของแผนดิน ฟนฟูพลังการเรียนรู เชิดชู ภูมปิ ญ ญาของทองถิน่ สรางสรรคศลิ ปวิทยา เพือ่ ความเจริญกาวหนาอยางมัน่ คงและยัง่ ยืนของปวงชน มีสวนรวมในการบํารุงรักษาการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมอยางสมดุลและ ยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงคใหการศึกษา สงเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทําการสอนและวิจัย ให บริการทางวิชาการแกสงั คม ปรับปรุง ถายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทํานุบาํ รุงศิลปะและวัฒนธรรม ผลิตครูและสงเสริมวิทยฐานะครู
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
140 สถาบันอุดมศึกษาไทย
10 72 72 11,234 2,592 671 115 273
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ประเภทรับตรง (โควตา) • ประเภทสอบคัดเลือกทั่วไป • โครงการกีฬาฟุตบอลประเพณี ระหวางมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทรและมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร หมายเลขโทรศัพท 0 4404 1620 และ 0 4452 0843 เว็บไซต http://admsurin.srru.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี 4 ป ระดับปริญญาตรี 5 ป ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
37,000 - 50,000 41,000 - 65,000 70,000 - 90,000 300,000 - 350,000
บาท บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 141
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะครุศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิทยาการจัดการ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบันวิจัยและพัฒนา
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง* 46 หมู 3 ตําบลจอมบึง อําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี 70150 โทรศัพท 0 3226 1790 โทรสาร 0 3226 1078 เว็บไซต http://www.mcru.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง เดิมมีชื่อวา “วิทยาลัยหมูบานจอมบึง” เริ่มกอตั้ง เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2497 โดยกอตั้งตามแนวคิด “วิทยาลัยหมูบาน” เพื่อแกปญหาการขาดแคลน ครูในชนบทที่ตองการพัฒนา เพื่อปลูกฝงนักศึกษาครูใหรักอาชีพครู รูจักปฏิบัติตนในการเขาสังคม โดยอยูรวมกันแบบประชาธิปไตย และเพื่อเปนศูนยกลางในการศึกษาของทองถิ่นใกลเคียง โดย ระยะแรกไดเปดสอนหลักสูตร 5 ป รับนักศึกษาทุนจากถิ่นทุรกันดารทั่วประเทศซึ่งสําเร็จการศึกษา ชั้น ป.7 เขาศึกษา เมื่อสําเร็จการศึกษาจะไดรับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ตอมาในป 2513 กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศยกฐานะวิทยาลัยหมูบ า นจอมบึงเปนวิทยาลัยครูหมูบ า นจอมบึง และ ไดเริ่มเปดสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง หลักสูตรปริญญาตรี 2 ป และ 4 ป ตาม หลักสูตรของสภาการฝกหัดครู ซึ่งผูที่จบการศึกษาจะไดรับวุฒิปริญญาครุศาสตรบัณฑิต และหลัง จากนัน้ วิทยาลัยไดขยายการศึกษาโดยการเปดสอนสาขาวิชาการอื่นจากระดับอนุปริญญาไปจนถึง ระดับปริญญาตรี จนกระทั่งในปการศึกษา 2535 วิทยาลัยครูทั่วประเทศ ไดเปลี่ยนชื่อเปน “สถาบัน ราชภัฏ” วิทยาลัยครูหมูบานจอมบึงจึงเปลี่ยนชื่อเปน สถาบันราชภัฏหมูบานจอมบึง และตอจากนัน้ สถาบันราชภัฏไดรับการยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ปจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง ไดทําการเปดสอนตั้งแตระดับปริญญาตรี จนถึงระดับปริญญาโท
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาลัยศาสตรและเทคโนโลยี คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร โครงการบัณฑิตศึกษา สถาบันวิจัยและพัฒนา
142 สถาบันอุดมศึกษาไทย
การรับสมัครเขาศึกษา
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 3226 1790 หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.mcru.ac.th
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
แผนที่
*อางอิงขอมูลจากเว็บไซต http://www.mcru.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย 143
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี* 64 ถนนทหาร ตําบลหมากแขง อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 โทรศัพท 0 4221 1040-59 โทรสาร 0 4224 1418 เว็บไซต http://www.udru.ac.th
แนะนํา
มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อุ ด รธานี เดิ ม ชื่ อ ว า “โรงเรี ย นฝ ก หั ด ครู ก สิ ก รรมมณฑลอุ ด ร” กอตัง้ เมือ่ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 เปดสอนหลักสูตรครูประกาศนียบัตรมณฑล รับนักเรียนชาย ที่ จ บประถมศึ ก ษาปที่ 4 เข า ศึกษาต อ อีก 2 ป ต อ มาได เปลี่ ย นชื่ อ เป น “โรงเรี ย นฝ ก หั ด ครู มณฑล” เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรครูมูล ในป พ.ศ. 2473 ทางการไดจัดตั้งโรงเรียนฝกหัด ครูสตรีประกาศนียบัตรมณฑลอุดรขึ้น รับนักเรียนสตรีที่สอบไลไดชั้นประถมศึกษา เขาเรียนตอ ในหลักสูตรประกาศนียบัตรมณฑล ป พ.ศ. 2477 ไดเปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรจังหวัด (ว.) โดยรับนักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หรือประโยคครูประชาบาล (ป.บ.) เขาศึกษาตออีก 2 ป และเปดรับนักเรียนชายเขาเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรจังหวัด ภายหลังการเปลี่ยนแปลง การปกครองแผนดิน พ.ศ. 2475 โรงเรียนฝกหัดครูมณฑลอุดรไดเปลี่ยนชื่อใหมและโอนยาย หลายครั้งเปน “โรงเรียนฝกหัดครูจังหวัดอุดรธานี” “โรงเรียนฝกหัดครูประกาศนียบัตร จังหวัด อุดรธานี” “โรงเรียนฝกหัดครูอุดรธานี” และในป พ.ศ. 2501 ยายโรงเรียนสตรีฝกหัดครูอุดรธานี มารวมกับโรงเรียนฝกหัดครูอุดรธานี และใหใชชื่อเรียกรวมกันวา “โรงเรียนฝกหัดครูอุดรธานี” กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศยกฐานะโรงเรียนฝกหัดครูอุดรธานีเปน “วิทยาลัยครูอุดรธานี” เมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ พ.ศ. 2503 พรอมกับเปดสอนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ชั้นสูง (ป.กศ.สูง) หลังจากนัน้ พ.ร.บ.วิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 กําหนดใหวิทยาลัยครูอุดรธานีเปน สถาบันอุดมศึกษา เปดสอนถึงระดับปริญญาตรีและเปดสอนนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขา ครุศาสตร หลักสูตรสภาการฝกหัดครู พ.ศ. 2519 ทําใหเกิดคณะวิชาครุศาสตร คณะวิชาวิทยาศาสตร คณะวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯ พระราชทานชื่อ “สถาบันราชภัฏ” ใหกับวิทยาลัยครูทั่วประเทศ วิทยาลัยครูอุดรธานี เปลีย่ นเปนสถาบันราชภัฏอุดรธานี และในวันที่ 10 มิถนุ ายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 สงผลใหสถาบันราชภัฏอุดรธานี ไดรับการยกฐานะและปรับเปลี่ยนสถานภาพเปน “มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี” ตั้งแตวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 เปนตนมา
144 สถาบันอุดมศึกษาไทย
คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาศาสตร คณะเทคโนโลยี สํานักงานโครงการบัณฑิตวิทยา สถาบันวิจัยและพัฒนา วิทยาเขตบึงกาฬ
การรับสมัครเขาศึกษา
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ โทรศัพท 0 4221 1040 59 หรือที่ http://www.udru.ac.th
แผนที่
*อางอิงขอมูลจากเว็บไซต http://www.udru.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย 145
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ 27 ถนนอินใจมี ตําบลทาอิฐ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ 53000 โทรศัพท 0 5541 6601-20 และ 0 5541 1096 โทรสาร 0 5541 1296 และ 0 5541 6020 เว็บไซต http://www.uru.ac.th
แนะนํา
มหาวิท ยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ กอตั้งเมื่อ วันที่ 1 สิง หาคม 2479 ในที่ดิน ราชพัส ดุ ตําบลทาอิฐ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ มีชื่อเรียกวา “โรงเรียนฝกหัดครูประกาศนียบัตร จังหวัด อุตรดิตถ” เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตร (ว.) และประกาศนียบัตร ครูประชาบาล (ป.ป.) ในป พ.ศ. 2485 ไดเปลี่ยนชื่อเปน “โรงเรียนฝกหัดครูอุตรดิตถ” และเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2511 ไดยกฐานะเปน “วิทยาลัยครูอุตรดิตถ” ตอมาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯ พระราชทานชื่อ “สถาบันราชภัฏ” แทนวิทยาลัยครู เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ 2535 จึ ง เปลี่ ย นชื่ อ เป น สถาบั น ราชภั ฏ อุ ต รดิ ต ถ และได ท รงมี พ ระมหากรุ ณาธิ คุ ณ โปรดเกล า ฯ ลง พระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2547 มีผลใหสถาบันราชภัฏทั่วประเทศไดกาวสูการเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏ จึงใชชื่อเปนมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุตรดิตถ เปดสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก มีหลักสูตรไทยและหลักสูตร นานาชาติรวม 71 หลักสูตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะเกษตรศาสตร วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาเขตแพร วิทยาเขตนาน
146 สถาบันอุดมศึกษาไทย
10 71 70 1 9,643 846 582 46 778
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
60,000 - 96,000 69,000 - 100,000 300,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 147
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
• โควตา - โควตารับตรง - โควตาความสามารถพิเศษ • สอบคัดเลือก สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ หมายเลขโทรศัพท 0 5541 6601-20 ตอ 1613, 1614, 1624 วิทยาเขตแพร 0 5458 4094 วิทยาเขตนาน 0 5477 3453
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี* 2 ถนนราชธานี ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทรศัพท 0 4535 2000-29 โทรสาร 0 4531 1472 เว็บไซต http://www.ubru.ac.th
แนะนํา
มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อุ บ ลราชธานี เป น มหาวิ ท ยาลั ย อุ ด มศึ ก ษา ซึ่ ง ตั้ ง อยู ในจั ง หวั ด อุบลราชธานี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ปจจุบันเปดสอนระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และระดับปริญญาโท โดยเปนการจัดการศึกษาและบริการวิชาการแกชมุ ชนในเขตจังหวัด อุบลราชธานี ยโสธร อํานาจเจริญ ศรีสะเกษ (บางสวน) และบุคลากรในจังหวัดและประเทศใกลเคียง มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ไดพัฒนาและยกฐานะมาเปนลําดับ จากการจัดตั้งโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในป 2485 จนเปดโรงเรียนฝกหัดครูอุบลราชธานีขึ้นในป 2490 จัดการเรียนการสอนหลักสูตร “ประกาศนียบัตรจังหวัด” หลักสูตรประโยคครูมูล หลักสูตร “ประโยค ครูประถม” (ป.ป.) หลักสูตร “ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา” (ป.กศ) ตามลําดับ ในป พ.ศ. 2501 ยกฐานะเปนวิทยาลัยครูอุบลราชธานี เปดสอนถึงระดับ ป.กศ.สูง และ เปดสอนหลักสูตรประโยคครูประถม (ป.ป) ในป 2510 จนกระทั่งป 2517 ไดเปดสอนระดับปริญญาตรี ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 ตอมาในป 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรง พระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนามใหมใหเปน “สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี” และตัง้ แตป 2540 เรื่อยมาไดเปดสอนระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู และหลักสูตร ปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา สาขาพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน สาขาวิจัยและ ประเมินผลการศึกษา สาขาสังคมศาสตรเพือ่ การพัฒนา และสาขาการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) ตามลําดับ หลังจากนัน้ ในป 2547 สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี ไดยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก
148 สถาบันอุดมศึกษาไทย
29 82 18,727 177 942 106
หนวยงาน หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะครุศาสตร คณะเกษตรศาสตร คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะนิติศาสตร วิทยาลัยแพทยแผนไทยและแพทยทางเลือก บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟตแวร สถาบันวิจัยและพัฒนา ศูนยแมนํ้าโขงศึกษา
การรับสมัครเขาศึกษา
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ สํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี โทรศัพท 0 4535 2000 ตอ 1110 หรือดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.ubru.ac.th
แผนที่
*อางอิงขอมูลจากเว็บไซต http://www.ubru.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย 149
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ* 2 ถนนนางลิ้นจี่ แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท 0 2287 9600, 0 2286 3991-5 โทรสาร 0 2286 3596 เว็บไซต http://www.rmutk.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เปนมหาวิทยาลัยทีม่ ปี รัชญามุง เนนผลิตบัณฑิต ใหมีความเจนจัดทางวิชาการ และมีคุณสมบัติที่จําเปนตามลักษณะวิชาชีพพรอมที่จะทํางาน และ ปรับปรุงตนเองใหมีความกาวหนาทันตอวิวัฒนาการทางเทคโนโลยี รวมทั้งปลูกฝงความมีระเบียบ วินัย มีคุณธรรม และมีความรับผิดชอบในจรรยาวิชาชีพและตอสังคม นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมี เปาหมายทีจ่ ะสรางมหาวิทยาลัยใหมบี รรยากาศแหงการเรียนรู สรางบัณฑิตและบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพ พรอมดวยคุณธรรมและจริยธรรม และเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรเปนสถานประกอบการ ปจจุบนั มหาวิทยาลัยเปดสอนระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ทัง้ หลักสูตรภาษาไทย และ หลักสูตรนานาชาติ สามารถดูขอมูลและรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.rmutk.ac.th
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2552) จํานวนคณะ หนวยงานและสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ - หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร วิทยาลัยนานาชาติ (International College)
150 สถาบันอุดมศึกษาไทย
27 61 55 5 1
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร
• โควตาโรงเรียนเครือขาย (MOU) • โควตาทั่วไป • รับตรง (สมัครทางอินเตอรเน็ต และดวยตนเอง) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ สํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน สอบถาม เพิ่มเติม โทรศัพท 0 2287 9625 และ 0 2287 9600 ตอ 2123 (ในเวลาราชการ) หรือที่ http://www. rmutk.ac.th
แผนที่
*อางอิงขอมูลจากเว็บไซต http://www.rmutk.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย 151
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 43 หมู 6 ตําบลบางพระ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20110 โทรศัพท 0 3835 8137 โทรสาร 0 3834 1808-7 เว็บไซต http://www.rmutto.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกเปนมหาวิทยาลัยดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 ไดกําหนด ใหรวมกลุมวิทยาเขต ในสังกัดจํานวน 4 วิทยาเขต ไดแก วิทยาลัยเขตจันทบุรี วิทยาเขตจักรพงษ ภูวนารถ วิทยาเขตบางพระ วิทยาเขตอุเทนถวาย มีการจัดการศึกษาทัง้ ระดับปริญญาโท ปริญญาตรี และระดับตํ่ากวาปริญญาตรีในสาขาวิชาชีพตาง ๆ กระจายอยูตามวิทยาเขตในสังกัดทั้ง 4 แหง ตามความเชี่ยวชาญเฉพาะของแตละวิทยาเขต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกเปนผูนํา ในการจัดการศึกษาวิชาชีพ พัฒนาคุณภาพกําลังคนสูมาตรฐานสากลบนพื้นฐานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี เพิ่มขีดความสามารถเชิงการแขงขันสูการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของสังคม มีจุดประสงคเพื่อการสรางโอกาสทางการศึกษาวิชาชีพ บนพื้นฐานดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพพรอมเขาสูความเปนระดับมืออาชีพพัฒนาศักยภาพในการสรางงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมสูการผลิต การบริการที่สามารถถายทอด และสรางมูลคาเพิ่มใหแกประเทศตอไป
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรระดับปริญญาตรี - หลักสูตรระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะเกษตรศาสตรและทรัพยากรธรรมชาติ คณะเทคโนโลยีสังคม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร
152 สถาบันอุดมศึกษาไทย
9 54 50 4 11,232 55 437
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
• รับตรง โควตา - วิทยาเขตจันทบุรี โทรศัพท 0 3930 7268 โทรสาร 0 3930 7274 เว็บไซต http://www.chan.rmutto.ac.th - วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ โทรศัพท 0 2692 2360-4 โทรสาร 0 2277 3693 เว็บไซต http://www.cpc.rmutto.ac.th - วิทยาเขตบางพระ โทรศัพท 0 3835 8137 โทรสาร 0 3834 1808-9 เว็บไซต http://www.rmutto.ac.th - วิทยาเขตอุเทนถวาย โทรศัพท 0 2252 7029 โทรสาร 0 2252 7580 เว็บไซต http://www.uthen.rmutto.ac.th • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6
คาใชจายในการศึกษา (ตอปการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
16,000 - 42,600 15,400 - 21,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 153
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตําบลคลองหก อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท 0 2549 3013, 0 2549 3019 โทรสาร 0 2577 2357 เว็บไซต http://www.rmutt.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลเปนสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาทีใ่ หบริการการ ศึกษาและผลิตทรัพยากรมนุษยที่มีคุณคาใหกับสังคมไทยเปนระยะเวลายาวนาน นับยอนจากการ สถาปนาในนาม “วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา” วันที่ 27 กุมภาพันธ 2518 เปนวันที่พระราช บัญญัติ “วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา” ไดถกู ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และมีผลบังคับใช เพือ่ ผลิตครูอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรี ใหการศึกษาทางดานอาชีพทัง้ ระดับตํา่ กวาปริญญาตรี ระดับ ปริญญาตรี และประกาศนียบัตรชัน้ สูง ทําการวิจยั สงเสริมการศึกษาทางดานวิชาชีพและใหบริการทาง วิชาการแกสงั คม วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาไดพฒ ั นาระบบการเรียนการสอนใหไดมาตรฐาน การศึกษาที่มีคุณภาพและศักยภาพ มีความพรอมในหลาย ๆ ดาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน ชื่อใหมวา “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” ในวันที่ 15 กันยายน 2531 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 และประกาศในราชกิจจานุเบกษาใชบังคับเปนกฎหมายตั้งแตวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2548 ใหมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อยูภายใตการกํากับดูแลของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
154 สถาบันอุดมศึกษาไทย
15 128 124 4 24,645 362 1,183 41 1,007
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร วิทยาลัยการแพทยแผนไทย
คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปกรรมศาสตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันวิจัยและพัฒนา
การรับสมัครเขาศึกษา
rmutt.ac.th
• ระบบโควตา • ระบบสอบตรงโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ โทรศัพท 0 2549 4990-2 หรือดูรายละเอียดที่ http://www.
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
59,320 - 383,220 72,000 - 198,100 850,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 155
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 399 ถนนสามเสน แขวงวชิระพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทรศัพท 0 2282 9009 โทรสาร 0 2282 9009 เว็บไซต http://www.rmutp.ac.th
แนะนํา
สืบเนื่องจากแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2545 ที่มุงมั่นกระจายอํานาจการบริหารจัดการสูสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อใหสถานศึกษา ของรัฐ ดําเนินการโดยอิสระ และมีความคลองตัวในการบริหารจัดการภายใตการกํากับดูแลของ สภาสถานศึกษา ดังนั้นสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลจึงไดปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติฉบับเดิม และยกรางเปนพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดทรงลงพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2548 และไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2548 และ มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 19 มกราคม 2548 โดยมีการรวมวิทยาเขต จัดตั้งเปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลจํานวน 9 แหง ประกอบดวย 1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 3. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 4. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 7. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 8. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 9. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
156 สถาบันอุดมศึกษาไทย
13 90 89 1 619 10,260 536 329 736
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบ สถาบันวิจัยการพัฒนา
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • การรับสมัครตรงโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร หมายเลขติดตอ 0 2282 9009 ตอ 6301-6304 และเว็บไซต http://admis.rmutp.ac.th • การรับสมัครโควตานักกีฬา หมายเลขติดตอ 0 2282 9009 ตอ 6051- 6054 และเว็บไซต http://std.offpre.rmutp.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
71,500 - 200,000 150,000 - 250,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 157
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร 96 หมู 3 ถนนพุทธมณฑล สาย 5 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท 0 2889 4585-7, 0 2441 6000 ตอ 2005 โทรสาร 0 2889 4585-7, 0 2441 6000 ตอ 2004 หรือ 0 2889 4588 เว็บไซต http://www.rmutr.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร เปน 1 ใน 9 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ที่ไดรับการจัดตั้งเปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล โดยมีวัตถุประสงคใหเปนมหาวิทยาลัย สายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่สามารถจัดการศึกษาวิชาการ และวิชาชีพชั้นสูง ที่เนนการปฏิบัติ ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และ เอก เพื่อรองรับการศึกษาตอของผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบัน อาชีวศึกษาเปนหลัก รวมถึงใหโอกาสแกผูเรียนจากวิทยาลัยชุมชน และการศึกษาขั้นพื้นฐานในการ ศึกษาตอวิชาชีพระดับปริญญาตรี อยูภ ายใตการกํากับดูแลของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ประกอบดวย 4 พื้นที่ไดแก พื้นที่ศาลายา พื้นที่บพิตรพิมุข จักรวรรดิ พื้นที่ วังไกลกังวล และวิทยาลัยเพาะชาง
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - ปริญญาตรี - ปริญญาโท - ปริญญาเอก จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี คณะอุตสาหกรรมการโรงแรมและการทองเที่ยว คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร วิทยาลัยเพาะชาง วิทยาลัยพลังงานและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนรัตนโกสินทร วิทยาลัยบัณฑิตนวัตกรรมการจัดการราชมงคลรัตนโกสินทร
158 สถาบันอุดมศึกษาไทย
32 55 52 2 1 10,213 127 16 915
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง และโควตา ติดตอสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม สํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียนอาคาร 2 ชัน้ 1 โทรศัพท 0 2441 6054-56 (เบอรตรง) หรือ 0 2441 6000, 0 2889 4585 ตอ 2304-2305 เว็บไซต http://grade.rmutr.ac.th/puy.html
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
24,000 - 36,000 150,000 210,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 159
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 128 ถนนหวยแกว อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50300 โทรศัพท 053 921444 โทรสาร 053 213183 เว็บไซต http://www.rmutl.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เดิมคือ วิทยาลัย สังกัดกรมอาชีวศึกษา จัดการ ศึกษาทางดานอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ศิลปกรรม และเกษตรกรรม มากวา 50 ป ในเขตภาค เหนือมีการพัฒนามาเปนลําดับ ดังนี้ 27 กุมภาพันธ 2518 ไดยกฐานะเปนวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา มีฐานะเปน กรม สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาถึงระดับปริญญาตรี 15 กันยายน 2531 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกลา โปรดกระหมอม พระราชทานนามวา “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” 18 มกราคม 2548 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มีพระบรมราชโองการ โปรดเกลาโปรด กระหมอม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ใหสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล 9 แหง โดยมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เปน 1 ใน 9 มหาวิทยาลัย ประกอบดวย 6 เขตพื้นที่ กับ 1 สถาบัน คือ เขตพื้นที่ภาคพายัพ เชียงใหม เขตพื้นที่นาน เขตพื้นที่ เชียงราย เขตพื้นที่ลําปาง เขตพื้นที่ตาก เขตพื้นที่พิษณุโลก และสถาบันวิจัยและฝกอบรมการเกษตร ลําปาง
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ
160 สถาบันอุดมศึกษาไทย
6 106 105 1 18,302 62 1,981
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ประเภทโควตา • ประเภทรับตรง สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 5392 1444 ตอ 1234 หรือที่เว็บไซต http://www.entrance.rmutl.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
60,000 - 200,000 60,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 161
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 1 ถนนราชดําเนินนอก ตําบลบอยาง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 โทรศัพท 0 7431 7100 โทรสาร 0 7432 2531 เว็บไซต http://www.rmutsv.ac.th
แนะนํา
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2548 และไดประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2548 มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลศรี วิ ชั ย เกิ ด จากการรวมหน ว ยงานในกลุ ม ภาค ใต ข องสถาบั น เทคโนโลยี ร าชมงคล 5 หน ว ยงานเดิ ม คื อ วิ ท ยาเขตภาคใต จั ง หวั ด สงขลา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง จังหวัดตรัง วิทยาเขตนครศรีธรรมราช อําเภอทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช คณะเกษตรศาสตรนครศรีธรรมราช อําเภอทุงใหญ จังหวัดนครศรีธรรมราช และวิทยาเขตศรีวิชัย อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ปจจุบันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลศรีวิชัย มีพื้นที่ดําเนินการใน 4 จังหวัด คือ สงขลา นครศรีธรรมราช ตรัง และชุมพร โดย มีสํานักงานอธิการบดีตั้งอยู จังหวัดสงขลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยเปนสถาบัน อุดมศึกษาดานวิชาชีพและเทคโนโลยี มีวัตถุประสงคใหการศึกษา สงเสริมวิชาการและวิชาชีพ ชั้นสูงที่เนนการปฏิบัติ ทําการสอน ทําการวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ ใหบริการทางวิชาการในดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแกสังคม ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และอนุรักษสิ่งแวดลอมโดย ใหผูสําเร็จอาชีวศึกษามีโอกาสในการศึกษาตอดานวิชาชีพเฉพาะทางระดับปริญญาเปนหลัก
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการประมง คณะเกษตรศาสตร
162 สถาบันอุดมศึกษาไทย
18 54 54 15,190 1,348
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน
คณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีการจัดการ วิทยาลัยรัตภูมิ วิทยาลัยการโรงแรมและการทองเที่ยว วิทยาลัยเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมและการจัดการ สถาบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี
54,000 - 98,000
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 163
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
• รับตรง ดูรายละเอียดไดที่ http://www.rmutsv.ac.th/admission54 หรือ โทรศัพท 0 7431 7143 • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • โควตา ดูรายละเอียดไดที่ เว็บไซตของแตละคณะ หรือ โทรศัพท 0 7431 7143
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 60 หมูที่ 3 ถนนสายเอเซีย (กรุงเทพฯ-นครสวรรค) ตําบลหันตรา อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 โทรศัพท 0 3570 9103 โทรสาร 0 3570 9104 เว็บไซต http://www.rmutsb.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ เปนหนึ่งในเกามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล ซึง่ ไดรบั การสถาปนาเปนมหาวิทยาลัย เมือ่ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 มีฐานะเปนสถาบัน อุดมศึกษาของรัฐ ภายใตการกํากับดูแลของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สังกัดกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร มี พื้ นที่ จั ด การศึ ก ษา 4 แห ง คื อ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลสุ ว รรณภู มิ ศูนยหันตรา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนยวาสุกรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลสุวรรณภูมิ ศูนยนนทบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนยสุพรรณบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิเลือกตนลีลาวดีสุวรรณภูมิ เปนตนไมประจํา มหาวิทยาลัย ซึ่งมีความทนทานตอทุกฤดูกาลยิ่งมีอายุยืนยาวยิ่งมีคุณคา ลีลาวดีสุวรรณภูมิ มีดอก สีเหลืองทองกลิ่นหอมจรุงใจ จึงหมายความวา ชาวสุวรรณภูมิทุกคนจะมีความอดทน มีความดีงาม มีคุณคา ประดุจตนลีลาวดีสุวรรณภูมิ และกําหนดสีทองเปนสีประจํามหาวิทยาลัยตามความหมาย ของสุวรรณภูมิ ซึ่งหมายถึง แผนดินทอง หรือดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ มั่งคั่ง เจริญรุงเรือง มีคาประดุจทองคํา วิสัยทัศนของมหาวิทยาลัย คือ มุงเนนความเปนเลิศดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พัฒนาคน ดานวิชาชีพสูมาตรฐานสากล และเสริมสรางสังคมใหมีคุณภาพอยางยั่งยืน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
164 สถาบันอุดมศึกษาไทย
24 45 45 2,194 9,815 274 1,029
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร คณะศิลปศาสตร สถาบันวิจัยและพัฒนา
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง โดยมหาวิทยาลัย แบงออกเปน 2 ระบบ คือ - โควตาวิชาการ โควตากีฬาและกิจกรรม - ประเภทสอบคัดเลือก สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ สํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน โทรศัพทและ โทรสาร 0 3570 9103 ตอ 3908 เว็บไซต http://www.rmutsb.ac.th • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
61,600 - 101,000 180,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 165
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 744 ถนนสุรนารายณ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท 0 4423 3000 โทรสาร 0 4423 3052 เว็บไซต http://www.rmuti.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเกิดขึน้ ตามพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล พ.ศ. 2548 โดยที่มาตรา 36 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 บัญญัติให สถานศึกษาของรัฐทีจ่ ดั การศึกษาระดับปริญญาเปนนิตบิ คุ คล เพือ่ ใหสถานศึกษาของรัฐดําเนินกิจการ ไดโดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหารและการจัดการทีเ่ ปนของตนเอง มีความคลองตัว มีเสรีภาพ ทางวิชาการและอยูภายใตการกํากับดูแลของสภามหาวิทยาลัย ดังนัน้ สมควรจัดตั้งมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล จํานวน 9 แหง แทนสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเปนหนึง่ ในจํานวนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 แหง เปนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐทีเ่ นนดานวิชาชีพและเทคโนโลยี มีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหการศึกษา สงเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงที่มุงเนนการปฏิบัติ ทําการสอน ทําการวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ ให บ ริ ก ารทางวิ ช าการ ด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม โดยใหผูสําเร็จการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและสามัญศึกษามีโอกาสศึกษาตอดานวิชาชีพเฉพาะทาง จนถึงระดับปริญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานประกอบดวย 5 วิทยาเขต กระจายอยู ทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ประกอบดวย ศูนยกลางมหาวิทยาลัยฯ นครราชสีมา วิทยาเขตขอนแกน วิทยาเขตกาฬสินธุ วิทยาเขตสุรินทร วิทยาเขตสกลนคร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรทั้งขาราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย
166 สถาบันอุดมศึกษาไทย
12 116 116 18,551 326 1,118
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยศาสตร คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีสังคม คณะเกษตรศาสตรและเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีการจัดการ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี คณะทรัพยากรธรรมชาติ
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ระบบโควตา • ระบบรับตรง หนวยงานรับผิดชอบ การรับสมัคร - ศูนยกลางมหาวิทยาลัยฯ นครราชสีมา โทรศัพท 0 4423 3067 http://www.basr.rmuti.ac.th - วิทยาเขตขอนแกน โทรศัพท 0 4323 7492 http://www.kkc.rmuti.ac.th - วิทยาเขตกาฬสินธุ โทรศัพท 0 4381 1128 http://www.ksc.rmuti.ac.th - วิทยาเขตสุรินทร โทรศัพท 0 4451 1022 http://www.surin.rmuti.ac.th - วิทยาเขตสกลนคร โทรศัพท 0 4277 1460 http://www.skc.rmuti.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
70,000 - 154,000 140,000 - 200,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 167
มหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 119 ถนนพระราม 4 เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท 0 2249 5132-6 (สายตรง), 0 2350 3500 ตอ 1582-1588 โทรสาร 0 2240 1516, 0 2249 6274 เว็บไซต http://www.bu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่มีชื่อเสียงและเกาแกที่สุดแหงหนึ่ง ในประเทศไทย เปดดําเนินการสอนตั้งแต พ.ศ. 2505 เปนตนมา ดวยปณิธานอันแนวแนของอาจารย สุรัตน และอาจารยปองทิพย โอสถานุเคราะห ที่ตองการกอตั้งสถาบันการศึกษาที่เปนแหลงรวม ความรู เพื่อพัฒนาบัณฑิตยุคใหมใหมีคุณภาพ มีความคิดสรางสรรค พรอมดวยความรูทาง ดานวิชาการและทักษะในการปฏิบัติ ซึ่งจะเปนกําลังสําคัญของประเทศชาติตอไปในอนาคต จากจุดเริ่มตนจนถึงวันนี้รวมระยะเวลาได 49 ป มหาวิทยาลัยไดมีบทบาทหลักในการสรางบัณฑิต ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก หลักสูตรภาษาไทยและหลักสูตรนานาชาติ ปจจุบันมหาวิทยาลัยกรุงเทพมุงสูการเปนมหาวิทยาลัยสรางสรรค โดยเนนการพัฒนาบัณฑิตใหมี ความคิดสรางสรรค และใหมีจิตวิญญาณของความเปนผูประกอบการเพื่อสามารถดํารงชีวิตอยาง มีความสุขและประสบความสําเร็จในสังคมอุตสาหกรรมเชิงสรางสรรค เศรษฐกิจเชิงสรางสรรค และ เศรษฐกิจยุคใหม มหาวิทยาลัยกรุงเทพมี 2 วิทยาเขต คือ วิทยาเขตกลวยนํ้าไท เปนสถานที่เรียนของ นักศึกษาภาคปกติชั้นปที่ 3 และชั้นปที่ 4 วิทยาลัยนานาชาติ และนักศึกษาภาคพิเศษทุกชั้นป รวมทัง้ นักศึกษาปริญญาโท และปริญญาเอก วิทยาเขตรังสิตเปนสถานทีเ่ รียนของนักศึกษาภาคปกติ ชั้นปที่ 1 และชั้นปที่ 2 สวนนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ คณะนิเทศศาสตร คณะศิลปกรรมศาสตร และคณะวิศวกรรมศาสตร เรียนที่วิทยาเขตรังสิตทุกชั้นป
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ (สายวิชาการ) จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
168 สถาบันอุดมศึกษาไทย
17 54 44 10 26,992 1,865 21 1,577
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบัญชี คณะนิเทศศาสตร คณะมนุษยศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะศิลปกรรมศาสตร วิทยาลัยนานาชาติ
ระดับปริญญาตรี • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • โดยการทดสอบคัดเลือกและคัดเลือกพิเศษในโครงการตาง ๆ ที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับบัณฑิตศึกษา • โดยการสอบคัดเลือกและคัดเลือกพิเศษที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สอบถามขอมูลเพิม่ เติมที่ ฝายรับสมัครนักศึกษา โทรศัพท 0 2249 5132-6, 0 2350 3500 ตอ 1582-1588 หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://admission.bu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรภาษาไทย) ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรนานาชาติ) ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
237,820 - 392,000 316,XXX - 420,XXX 158,510 - 281,000 1,047,540
บาท บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 169
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี 16/10 หมู 2 ถนนเลียบคลองทวีวัฒนา แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10170 โทรศัพท 0 2800 6800-5 และ 0 2431 5387 โทรสาร 0 2800 6806 เว็บไซต http://www.bkkthon.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี (มกธ.) หรือ Bangkok Thonburi University (BTU) เดิมคือ “วิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี” (วกธ.) เริ่มกอตั้งเมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2545 ตามเจตนารมณของ ดร.บังอร เบ็ญจาธิกลุ อธิการบดี ทีเ่ ล็งเห็นถึงความสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ และสนองศรัทธาของชุมชน ความปรารถนาของทานผูปกครอง ศิษยเกาพณิชยการกรุงเทพและ โพลีเทคนิคพณิชยกรุงเทพ ตลอดจนเยาวชนและประชาชนทั่วภูมิภาคในการสืบสานสูการศึกษาใน ระดับอุดมศึกษาทีส่ มบูรณแบบภายใตปณิธานทีจ่ ะใหสถาบันการศึกษาเปนทีร่ วมองคความรูว ชิ าการ แขนงตาง ๆ และบุคลากรที่มีความสามารถเชี่ยวชาญดานการศึกษา โดยจัดการศึกษาที่เปดโอกาส ใหบุคคลไดมีโอกาสศึกษาตอระดับอุดมศึกษาเพื่อพัฒนากําลังคนใหมีความรูความสามารถควบคู กับการมีคุณธรรม จรรยาบรรณในวิชาเรียน และดํารงตนใหเปนประโยชนตอสังคม ประเทศชาติ ตามปรัชญาแหงสถาบันที่วา “สรางปญญา พัฒนาคน ฝกฝนคุณธรรม” มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี มีสถานทีท่ าํ การตัง้ อยู 2 แหง สถานทีส่ ะดวกตอการคมนาคมทัง้ ทางรถยนตและรถโดยสารประจําทาง อีกทั้งแวดลอมดวยหนวยงานราชการตาง ๆ ดังกลาวเปนปจจัยที่เอื้ออํานวยใหการดําเนินงาน ตามภารกิจหลักของสถาบันลุลวงไปดวยดี “มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุร”ี ไดรบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ ผานการอนุมตั จิ ากรัฐมนตรีวา การกระทรวงศึกษาธิการ (นายจุรนิ ทร ลักษณวิศษิ ฏ) ใหเปลีย่ นประเภท สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจาก “วิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี” เปน “มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี (มกธ.) หรือ Bangkok Thonburi University (BTU)” ในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ตลอดระยะเวลานับแต ก อ ตั้ ง สถาบั น จาก “วิ ท ยาลั ย กรุ ง เทพธนบุ รี ” ถึ ง “มหาวิ ท ยาลั ย กรุ ง เทพธนบุ รี ” ในป จ จุ บั น สถาบันการศึกษาแหงนี้ไดดําเนินงานตามภารกิจหลักในฐานะสถาบันอุดมศึกษาทั้ง 4 ประการ โดยดํารงไวซึ่งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดําเนินงานอยางตอเนื่อง ประกอบดวยภารกิจ ดานการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคม และดานการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม จนเปนที่ยอมรับของชุมชน สังคมและประเทศชาติ ทั้งมุงมั่นที่จะพัฒนาการ เปนสถาบันทีก่ า วนําการศึกษาใหครอบคลุมทัว่ ถึงประชาชนทุกภูมภิ าคบนพืน้ ฐานของความเทาเทียม กันและเทาทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกสืบไป
170 สถาบันอุดมศึกษาไทย
จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะรัฐศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะบัญชี คณะพยาบาลศาสตร คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรม
22 28 28 7,496 25 1,597 106 518
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
สอบถามขอมูลไดทมี่ หาวิทยาลัย โทรศัพท 0 2800 6800-5 และ 0 2431 5387 ดูรายละเอียด เพิ่มเติมไดที่ http://www.bkkthon.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
197,000 - 495,600 127,000 - 150,600 595,600
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 171
มหาวิทยาลัยเอกชน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553)
มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิรน 749/1 ถนนชยางกูร ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทรศัพท 0 4528 3770-2 โทรสาร 0 4528 3773 เว็บไซต http://www.umt.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิรน มีประวัติอันยาวนานในการทุมเทใหกับ การจัดการศึกษาแกเยาวชนในเขตจังหวัดอุบลราชธานีและพื้นที่ใกลเคียง ดวยความมุงมั่นที่จะ พัฒนาทรัพยากรมนุษยของชาติ โดยเริ่มกอตั้งโรงเรียนโปลีเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในป พ.ศ. 2526 เพื่อเปดสอนระดับอาชีวศึกษา ตอมาในป พ.ศ. 2542 ไดขยายการจัดการศึกษาไปสูระดับ อุดมศึกษาและใชชอื่ วา “วิทยาลัยโปลีเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ซึง่ นับแตการกอตัง้ วิทยาลัย ไดปฏิบตั พิ นั ธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา คือ การผลิตบัณฑิต การวิจยั การบริการวิชาการแกสงั คม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมไดอยางสมบูรณครบถวน บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาไดประกอบ วิชาชีพรับใชสังคมและประเทศชาติอยางมีคุณภาพ มีคุณธรรม และจากการที่วิทยาลัยโปลีเทคนิค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพัฒนาการอยางรวดเร็ว มีคุณภาพเปนที่ยอมรับของชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ วิทยาลัยจึงไดรับอนุญาตใหเปลี่ยนประเภทเปนมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยี อีสเทิรนในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2552 พรอมกับวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยที่มุงสูความเปน มหาวิทยาลัยชั้นนําในระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิรนจัดใหมีบรรยากาศ สภาพพื้นที่ซึ่งเอื้อตอ การเรียนการสอน โดยมีหอ งเรียน หองบรรยาย หองปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร และหองปฏิบตั กิ ารวิชาชีพ ทีท่ นั สมัย รวมถึงมีหอ งสมุดทีเ่ ปนแหลงการเรียนรูใ หแกนกั ศึกษา นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังมีความ รวมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาในตางประเทศ เชน University Sains Malaysia, Malaysia Northern Michigan University, U.S.A. Marketing lnstitute of Singapore Training Centre, Singapore มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิรนมีความมุงมั่นที่จะเปนสถาบันอุดมศึกษา ชั้นนําและเปนศูนยกลางในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของภูมิภาคเอเชียที่ผลิตบัณฑิตและ สรางองคความรูดานการบริหารจัดการทางสังคม เทคโนโลยีและสหวิทยาการตาง ๆ เพื่อตอบสนอง ตอการผลิตบัณฑิตที่มีความเปนมืออาชีพอยางมีประสิทธิภาพ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
172 สถาบันอุดมศึกษาไทย
14 20 19 1 2,584 215 191 32 160
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะการบัญชี คณะนิติศาสตร คณะรัฐศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
210,500 - 337,600 150,000 - 168,900 450,000 - 550,900
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 173
มหาวิทยาลัยเอกชน
• รับตรง ดูรายละเอียดไดที่เว็บไซต http://www.umt.ac.th
มหาวิทยาลัยเกริก 43/1111 ถนนรามอินทรา เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรศัพท 0 2552 3500-9 โทรสาร 0 2552 3513 เว็บไซต http://www.krirk.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเกริก เปดดําเนินการครั้งแรกที่อาคารราชดําเนิน เมื่อป พ.ศ. 2495 โดย ดร.เกริก มังคละพฤกษ (พ.ศ. 2458 - 2521) มีจดุ มุง หมายในการตัง้ มหาวิทยาลัยฯ ในระยะแรกเพือ่ ดําเนิน การเรียนการสอนดานภาษาอังกฤษเพียงอยางเดียว เนื่องจากทานเปนผูมีความสามารถเปนพิเศษ ในดานภาษาอังกฤษ ทัง้ ในดานการเรียนการสอนและประสบการณจากการทํางาน ซึง่ มุง ใหนกั ศึกษา ไดมีความรูในหลักภาษาและสามารถใชภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพ สวนชื่อของสถาบันฯ ตามที่ทางการอนุญาตในขณะนัน้ คือ "โรงเรียนภาษาและวิชาชีพ" แตคนทั้งหลายรูจักชื่อโรงเรียน ในนามโรงเรียนอาจารยเกริกตลอดมา ตอมาในป 2512 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติการ จัดตั้งวิทยาลัยเอกชน ซึ่งอนุญาตใหภาคเอกชนจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โรงเรียนเกริก วิทยาลัยจึงไดยื่นเรื่องขอจัดตั้งเปนวิทยาลัยเอกชน เปดดําเนินการสอนใชชื่อวา "วิทยาลัยเกริก" ซึ่ง มีการบริหารงานที่แยกจากโรงเรียนเกริกวิทยาลัย และไดรับอนุญาตจากทบวงมหาวิทยาลัยใหจัดตั้ง วิทยาลัยเอกชนไดตามกฎหมาย เมือ่ วันที่ 28 พฤษภาคม 2509 ซึง่ ถือไดวา เปนกลุม ของวิทยาลัยเอกชน กลุมแรกในประเทศไทย และในปเดียวกันนั้นเอง วิทยาลัยฯ ไดรับอนุมัติใหเปดสอนหลักสูตร ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจและคณะเศรษฐศาสตร และในป 2516 ปริญญาของมหาวิทยาลัยฯ ไดรบั การรับรองมาตรฐาน มีศกั ดิแ์ ละสิทธิเทียบเทามหาวิทยาลัยของรัฐทุกประการ โดยเหตุทวี่ ทิ ยาลัยเกริก มี ค วามต อ งการที่ จ ะมุ ง เน น ในการจั ด การศึ ก ษาด า นการจั ด การเป น หลั ก จึ ง ได รั บ อนุ มั ติ จ าก ทบวงมหาวิทยาลัย ใหยกฐานะเปนสถาบันเทคโนโลยีสังคม (เกริก) ตั้งแตวันที่ 15 กันยายน 2530 สถาบันเทคโนโลยีสังคม (เกริก) ไดเปดสอนหลักสูตรทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ในหลายสาขาวิชาและดวยความพรอมในทุก ๆ ดาน เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ 2538 ไดรับอนุญาตจาก ทบวงมหาวิทยาลัยใหยกฐานะเปน "มหาวิทยาลัยเกริก" ตั้งแตนนั้ เปนตนมา
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
174 สถาบันอุดมศึกษาไทย
17 30 29 1 3,014 229 77 468
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะนิเทศศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะนิติศาสตร วิทยาลัยสื่อสารการเมือง สถาบันภาษา
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
180,000 - 240,000 140,000 - 200,000 560,000 - 620,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 175
มหาวิทยาลัยเอกชน
• สมัครดวยตนเอง • สมั ค รทางอิ น เทอร เน็ต ซึ่ ง นัก ศึ ก ษาสามารถกรอกใบสมั ค รและเข า สู ร ะบบได ที่ เว็บไซต http://www.krirk.ac.th • สมัครทางไปรษณีย โทรศัพท 0 2973 6731 และ 0 2973 6735 หรือ 0 2970 5820 ตอ 112, 113
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 1761 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (พัฒนาการ) 0 2320 2777, 0 2321 6930 (รมเกลา) 0 2904 2222 โทรสาร 0 2720 4677 เว็บไซต http://www.kbu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สถาปนาขึ้นโดยคณะผูบริหารการศึกษาที่มีเจตนาอันแนวแน ในการรวมพัฒนาประเทศ ดวยการแบงเบาภาระของรัฐดานการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากร มนุษยใหมีความรูความสามารถในทักษะดานตาง ๆ เพื่อใหสามารถประกอบอาชีพและเปน กําลังสําคัญตอการพัฒนาประเทศ จึงไดจัดตั้งวิทยาลัยเกษมบัณฑิตขึ้นในป พ.ศ. 2530 ตอมาในป พ.ศ. 2535 ทบวงมหาวิทยาลัยไดอนุญาตใหวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เปลี่ยนประเภทเปนมหาวิทยาลัย เกษมบัณฑิต ป พ.ศ. 2546 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตขยายการเติบโตในการบริหารงาน และรองรับ จํานวนนักศึกษาทีเ่ พิม่ ขึน้ ทุกป จึงจัดตัง้ วิทยาเขตแหงใหม คือ วิทยาเขตรมเกลา ซึง่ มีพนื้ ทีก่ วา 100 ไร ตั้งอยูบนถนนรมเกลา ตัดกับถนนรามคําแหง โดยมุงเนนสภาพแวดลอมที่ดี อาคารเรียน และ อุปกรณการเรียนการสอนทีท่ นั สมัย พรอมหอพักและสิง่ อํานวยความสะดวกครบครันสําหรับนักศึกษา ตลอดระยะเวลากวาทศวรรษทีม่ หาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตดําเนินการจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท จนถึงระดับปริญญาเอกในปจจุบนั นับเปนความกาวหนาของมหาวิทยาลัยอีกระดับหนึง่ ที่จะขยายแหลงวิทยาการความรูใหแกสังคมมากขึ้น
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
176 สถาบันอุดมศึกษาไทย
43 45 40 5 9,792 341 45 850
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะนิเทศศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย
คณะนิติศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะจิตวิทยา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • สมัครตรงไดที่ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตทัง้ ทีว่ ทิ ยาเขตพัฒนาการและวิทยาเขตรมเกลา • นักเรียนที่อาศัยอยูตางจังหวัดสามารถรับใบสมัครไดที่ศูนยรับสมัครของมหาวิทยาลัย ทั่วประเทศ • ดาวนโหลดใบสมัครจากเว็บไซตของมหาวิทยาลัยโดยไมเสียคาใชจายใด ๆ ทั้งสิ้น ที่ http://www.kbu.ac.th สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ โทรศัพท 0 2320 2777 และ 0 2321 6930 (พัฒนาการ) และโทรศัพท 0 2904 2222 (รมเกลา)
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
150,780 - 254,590 150,000 - 250,000 384,000 - 480,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 177
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยคริสเตียน 144 หมู 7 ตําบลดอนยายหอม อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000 โทรศัพท 0 3422 9480-97 โทรสาร 0 3422 9499 เว็บไซต http://www.christian.ac.th
แนะนํา
มูลนิธิแหงสภาคริสตจักรในประเทศไทยไดรับอนุญาตจากทบวงมหาวิทยาลัยใหจัดตั้ง “วิทยาลัยคริสเตียน” เมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2526 ตอมาทบวงมหาวิทยาลัยไดรับรองวิทยฐานะ และอนุญาตใหมหาวิทยาลัยคริสเตียนเปดสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตเปนหลักสูตรแรก และไดเปดรับนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตรุน แรก ในปการศึกษา 2527 โดยมีทตี่ งั้ ชัว่ คราว ที่อาคารหมอบรัดเลย ในโรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน กรุงเทพมหานคร ตอมาในป 2536 สภาวิทยาลัยคริสเตียนไดรบั อนุมตั ใิ หจดั ซือ้ ทีด่ นิ ทีต่ าํ บลดอนยายหอม อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม และดําเนินการกอสรางแลวเสร็จในปการศึกษา 2539 และเปดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี เพิ่มขึ้นอีก 8 หลักสูตร ในปการศึกษา 2539 และ 2541 ไดเปดสอนหลักสูตรระดับปริญญาโท ตอมาในวันพุธที่ 15 สิงหาคม 2544 ไดรับใบอนุญาตจากทบวงมหาวิทยาลัย ใหเปลี่ยนประเภท เปนมหาวิทยาลัย และในปการศึกษา 2546 ไดเปดสอนหลักสูตรนานาชาติที่ใชภาษาอังกฤษเปนสื่อ ในการสอนตลอดหลักสูตร คือ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการใชภาษาอังกฤษเปน ภาษาทีส่ อง ซึง่ ตอมาปรับแกเปนสาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเปนภาษาทีส่ อง ในปการศึกษา 2547 ไดเปดสอนหลักสูตรระดับปริญญาเอกในปการศึกษา 2549 ไดรับอนุมัติใหเปดสอนหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษานอกสถานที่ตั้งแหงแรก ตอจากนั้นเปดสอนหลักสูตรภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยี มัลติมีเดียที่เนนสาขาวิชาดานสุขภาพ อุตสาหกรรมบริการ บัญชีและบริหารธุรกิจ ซึ่งตรงกับ ความตองการของสังคม รวม 26 หลักสูตร ประกอบดวยหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่สอนเปน ภาษาไทย และหลักสูตรนานาชาติ/สองภาษา หลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับ ปริญญาเอก เพือ่ ขยายเครือขายการจัดการศึกษาและรวมกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร นานาชาติใหมีมาตรฐานในระดับสากล มหาวิทยาลัยคริสเตียนไดรับอนุมัติใหตกลงความรวมมือ ทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยในตางประเทศรวม 37 แหงใน 17 ประเทศ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะวิชา สถาบัน สํานักและศูนย จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ/สองภาษา จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
178 สถาบันอุดมศึกษาไทย
22 26 22 4 2,925 136 217 465
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะพยาบาลศาสตร คณะการจัดการและการบัญชี วิทยาลัยนานาชาติ สถาบันกรุงเทพคริสตศาสนศาสตร
คณะสหเวชศาสตร คณะมัลติมีเดียและดิจิทัลอารต บัณฑิตวิทยาลัย
ระดับปริญญาตรี • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • โครงการโควตาการศึกษาและสิทธิพิเศษของมหาวิทยาลัยคริสเตียน • การคัดเลือกโดยตรงมหาวิทยาลัยคริสเตียน • การเทียบรายวิชาและโอนหนวยกิตจากสถาบันการศึกษาอื่น • การเขาศึกษาปริญญาที่สอง ระดับบัณฑิตศึกษา • การคัดเลือกโดยมหาวิทยาลัยคริสเตียน ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.christian.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี (ปกติ/ภาษาไทย) ระดับปริญญาตรี (นานาชาติ) ระดับปริญญาโท (สังคมศาสตร/มนุษยศาสตร) ระดับปริญญาโท (พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต) ระดับปริญญาเอก (ภาคพิเศษ/ภาษาไทย) ระดับปริญญาเอก (ภาคพิเศษ/นานาชาติ)
301,600 506,300 250,700 312,000 709,200 864,800
บาท บาท บาท บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 179
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยเจาพระยา 13/1 หมู 6 ตําบลหนองกรด อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค 60240 โทรศัพท 0 5633 4236 และ 0 5633 4714 โทรสาร 0 5633 4719 เว็บไซต http://www.cpu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเจาพระยา กอตั้งขึ้นโดยคุณพอจรูญ และคุณแมหทัย ศิริวิริยะกุล และคณะ ผูบริหารโรงเรียนในเครือ “วิริยาลัย” รวมกับคณะผูบริหารในกลุมบริษัทธุรกิจในเครือกวา 20 บริษัท รวมทัง้ ผูบ ริหารระดับสูงในวงงานราชการและธุรกิจเอกชน และนักวิชาการระดับชาติ เพือ่ สนองศรัทธา ของชุมชนและความปรารถนาของผูปกครอง ศิษยเกาชาววิริยาลัย ตลอดจนเยาวชนและประชาชน ทั่วภูมิภาค ในการมุงสืบสานสูการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่สมบูรณแบบจากรากฐานเดิมในการ ผลิตทรัพยากรบุคคล ระดับอนุปริญญาของโรงเรียนในเครือ “วิริยาลัย” คือ โรงเรียนพณิชยการ วิรยิ าลัยนครสวรรค และโรงเรียนเทคโนโลยีธรุ กิจวิรยิ าลัยนครสวรรค ซึง่ มีจาํ นวนนักศึกษากวา 4,500 คน และเปนโรงเรียนรางวัลพระราชทานระดับอุดมศึกษาแหงแรกของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน ทั่วประเทศ มหาวิทยาลัยเจาพระยา ตั้งอยูในอาณาจักรวิริยาลัย-เมืองมหาวิทยาลัยเจาพระยา ในบริเวณใกลเคียงโรงเรียนเทคโนโลยีธุรกิจวิริยาลัยนครสวรรค
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะนิติศาสตร คณะรัฐศาสตร คณะศิลปศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
180 สถาบันอุดมศึกษาไทย
22 12 12 1,122 61 27 146
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับสมัครตรง สอบถามขอมูลเพิม่ เติม โทรศัพท 0 5633 4236, 0 5633 4714 หรือ http://www.cpu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
140,000 - 178,000 120,000 - 130,000 390,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
มหาวิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 181
มหาวิทยาลัยชินวัตร 99 หมู 10 ตําบลบางเตย อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี 12160 โทรศัพท 0 2599 0000 โทรสาร 0 2599 3350-51 เว็บไซต http://www.siu.ac.th
แนะนํา
มหาวิ ท ยาลั ย ชิ น วั ต ร ก อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 26 ธั น วาคม 2543 ด ว ยปณิ ธ านของ พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร ที่ตองการสรางมหาวิทยาลัยนานาชาติ มุงเนนใหเด็กไทยมีความรู ความสามารถทัดเทียมนานาประเทศ เพื่อการแขงขันในเวทีโลก โดยเนนการเรียนการสอนแบบ Life Long Learning พรอมดวยวิสัยทัศนที่ตองการเปนมหาวิทยาลัยที่เนนการวิจัย เพื่อนําไปสูการพัฒนา ประเทศในอนาคต
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
School of Management School of Technology Liberal Arts & Language Center
182 สถาบันอุดมศึกษาไทย
3 11 11 143 109 94
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 2599 0000 หรือ 0 2650 6011-2 หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.siu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี (รวมคาหอพัก) ระดับปริญญาโท
811,505 285,500
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
มหาวิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 183
มหาวิทยาลัยเซนตจอหน 1110/5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0 2938 7058-65 โทรสาร 0 2512 2275 เว็บไซต http://www.sju.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยเซนตจอหน ไดรับอนุมัติจัดตั้งจากทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2532 ใหจัดการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี นับเปนวิทยาลัยเอกชนอันดับที่ 26 ตอมาไดรับอนุญาต ใหเปดสอนในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ตามลําดับ และไดรบั อนุญาตใหเปลีย่ นประเภทจาก “วิทยาลัย” เปน “มหาวิทยาลัย” เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2539 ภายใตการกํากับดูแลของสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามพระราชบัญญัตสิ ถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 แกไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 หลักสูตรการศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยเซนตจอหน เปนหลักสูตรที่สรางขึ้นเพื่อใหครบถวนสมบูรณ ในการที่จะรองรับระบบการศึกษา ที่คณะผูบริหาร มหาวิทยาลัยรับผิดชอบ นับตั้งแตระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษาและระดับ อาชีวศึกษา ระดับอนุปริญญาประเภทประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหลายสาขาวิชา ซึ่งสามารถ สอบคัดเลือกเขาศึกษาตอในระดับปริญญาบัณฑิตไดทงั้ สิน้ ทัง้ นี้ เพือ่ อํานวยประโยชนใหแกนกั เรียน นักศึกษาของโรงเรียนกลุมเซนตจอหน และ/หรือบุคคลภายนอกที่มีความศรัทธาและไววางใจ การจัดระบบการบริหารการศึกษาของผูบริหารสถาบันการศึกษาแหงนี้ จุดมุงหมายที่สําคัญที่สุด คือ เปนการตอบสนองเจตนารมณอันแนวแนของผูบริหารการศึกษากลุมเซนตจอหนที่ปรารถนาจะมี สวนรวมในการสรางสรรคและอํานวยประโยชนแกสังคม โดยเปาหมายสูงสุดที่เปนรูปธรรม คือ ความตั้งใจที่จะจัดการศึกษาใหถึงระดับอุดมศึกษาที่มีอํานาจประสาทปริญญาตามหลักสากลได 3 ระดับชั้น คือ ปริญญาบัณฑิต ปริญญามหาบัณฑิต และปริญญาดุษฎีบัณฑิต
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะนิเทศศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร
184 สถาบันอุดมศึกษาไทย
คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร
23 11 11 1,330 134 110 46 217
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี - 4 ป - 4 ป เทียบโอน (ภาคกลางวัน) - 4 ป เทียบโอน (ภาคคํ่า) - 5 ป (ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ และ ปริญญาโท MBA) ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
165,000 - 390,000 115,000 - 215,000 124,000 - 215,000 375,350 - 380,000
บาท บาท บาท บาท
98,000 - 160,000 บาท 393,000 - 450,000 บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 185
มหาวิทยาลัยเอกชน
• การรับโดยตรง (นักศึกษามาติดตอที่มหาวิทยาลัย) ติดตอแผนกรับสมัคร อาคาร 2 ชั้น 1 สําหรับการสมัครดวยตนเองตองยื่นใบสมัคร และเอกสารตาง ๆ • การรับโดย Internet ของมหาวิทยาลัยเซนตจอหน ติดตอรายละเอียดและสั่งพิมพไดโดยไมเสียคาใชจายไดจาก http://www.sju.ac.th • การรับนอกสถานที่ การออกแนะแนวการศึ ก ษาในงานตลาดนั ด อุ ด มศึ ก ษา สถาบั น การศึ ก ษา และ โรงเรียนตาง ๆ • การรับโดยการใหทุนตาง ๆ มหาวิทยาลัยเซนตจอหนเปนผูกําหนด ติดตอแผนกรับสมัคร มหาวิทยาลัยเซนตจอหน อาคาร 2 ชั้น 1 วันจันทร - วันศุกร เวลา 08.00 - 19.00 น. วันเสาร เวลา 08.00 - 17.00 น. และวันอาทิตย เวลา 09.00 - 16.00 น. โทรศัพท 0 2938 7058-65 ตอ 301-3 เว็บไซต http://www.sju.ac.th
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 140 ถนนเชื่อมสัมพันธ แขวงกระทุมราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530 โทรศัพท 0 2988 3655, 0 2988 3666 โทรสาร 0 2988 4040 เว็บไซต http://www.mut.ac.th
แนะนํา
“มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร” (มทม.) หรือ “Mahanakorn University of Technology” (MUT) ไดรับอนุมัติใหจัดตั้งขึ้นในนามของ “วิทยาลัยมหานคร” เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2533 บนเนือ้ ทีป่ ระมาณ 98 ไร ติดกับแนวถนนเชือ่ มสัมพันธ เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร โดยระยะแรก เปดดําเนินการสอนเพียงหนึ่งคณะ คือ คณะวิศวกรรมศาสตร นับแตเริ่มเปดดําเนินการสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครไดขยายการเรียนการสอน ไปในสาขาวิชาตาง ๆ เพิ่มขึ้นโดยลําดับ โดยมุงเนนความเปนเลิศทางวิชาการและการจัดการเรียน การสอนอย า งมี คุ ณ ภาพ ป จ จุ บั น มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ม หานครเป ด ดํ า เนิ น การสอนใน คณะวิศวกรรมศาสตร ระดับปริญญาเอก ปริญญาโท และปริญญาตรี คณะสัตวแพทยศาสตร ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับปริญญาเอก ปริญญาโท และปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาตรี ซึง่ ในอนาคต จะขยายการเรียนการสอนในสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เปนประโยชนตอสังคมและประเทศชาติตอไป
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะสัตวแพทยศาสตร
186 สถาบันอุดมศึกษาไทย
18 หนวยงาน 34 หลักสูตร 34 หลักสูตร 6,944 คน 950 คน 86 คน 730 คน
คณะบริหารธุรกิจ สํานักสงเสริมการวิจัยและนวัตกรรม สํานักนวัตกรรมดานซอฟตแวร
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.mut.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
167,000 - 595,000 76,000 - 150,000 100,000 - 270,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
มหาวิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 187
มหาวิทยาลัยธนบุรี 29 เพชรเกษม 110 แขวงหนองคางพลู เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 10160 โทรศัพท 0 2809 0823-7 โทรสาร 0 2809 0829, 0 2809 0832 เว็บไซต http://www.thonburi-u.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยธนบุรี ไดรับอนุญาตใหเปดดําเนินการสอนระดับปริญญาตรี ตั้งแตป 2541 มีชื่อเดิมวา “วิทยาลัยเทคโนโลยีธนบุรี” ปจจุบันดําเนินการสอนระดับปริญญาตรี 5 คณะวิชา คือ คณะวิศวกรรมศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ คณะการจัดการทองเทีย่ วและบริการ เปดสอนระดับปริญญาโท 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต (MBA) และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (MSIT) ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู (ป.บัณฑิต) ซึ่งทุกหลักสูตรไดผาน การปรับปรุงหลักสูตรทุก ๆ 4 ป เพื่อใหทุกวิชามีความทันสมัยสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีและการบริหารสมัยใหม มีคณะกรรมการกํากับมาตรฐานโดยมาจากสถาบันทีม่ ชี อื่ เสียงของ รัฐบาลเพือ่ ดูแลกํากับการเรียนการสอนใหเปนไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา นอกจากนี้ สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดใหการรับรองหลักสูตรทุกหลักสูตรโดยผูสําเร็จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยธนบุรีมีศักดิ์และสิทธิเทียบเทากับผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบันของรัฐทุกประการ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร คณะการจัดการทองเที่ยวและบริการ บัณฑิตวิทยาลัย
188 สถาบันอุดมศึกษาไทย
17 13 13 2,700 241 55 353
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • โครงการนักศึกษาทุนเรียนดี ติดตอ : โทรศัพท : 0 2809 0823-7 เว็บไซต : http://www.thonburi-u.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
110,000 - 180,000 100,000 - 120,000
บาท บาท
มหาวิทยาลัยเอกชน
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 189
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย 110/1-4 ถนนประชาชื่น แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท 0 2954 7300 โทรสาร 0 2580 9605 เว็บไซต http://www.dpu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ถือกําเนิดตามเจตนารมณอนั แนวแนของ ดร.ไสว สุทธิพทิ กั ษ และอาจารยสนัน่ เกตุทตั ทีว่ า “เราจะทํางานดานการศึกษา เพือ่ ประโยชนแกสงั คมและประเทศชาติ” จากปณิธานอันทรงคุณคานี้ “มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย” จึงไดถือกําเนิดขึ้นในวงการศึกษาไทย ในป พ.ศ. 2511 ปจจุบัน ตั้งอยูริมคลองประปา ถนนประชาชื่น บนเนื้อที่กวา 100 ไร โดยมีอาคารเรียน และอาคารปฏิบัติการทางการเรียนการสอนที่ทันสมัย รวมทั้งสิ่งอํานวยความสะดวกในรูปแบบที่เอื้อ ประโยชนตอนักศึกษาอยางสมบูรณแบบ ภายใตสภาพแวดลอมที่สวยงามและรมรื่น เปาหมายหลักของมหาวิทยาลัยคือการพัฒนาและเสริมศักยภาพนักศึกษาใหสําเร็จการ ศึกษาเปนบัณฑิตทีม่ คี วามสามารถ และความพรอมในการกาวสูก ารทํางานในสภาพแวดลอมปจจุบนั ทีม่ กี ารแขงขันสูงขึน้ โดยเชือ่ วาหัวใจของการศึกษา คือ คุณภาพการเรียนการสอน ดังนัน้ มหาวิทยาลัย จึงมุง เนนการนําความรูจ ากหองเรียนสูก ารปฏิบตั งิ านจริง พรอมสรางศักยภาพและความเชีย่ วชาญใน ทุก ๆ ดาน โดยจัดตั้งศูนยนวัตกรรมการเรียนการสอนขึ้น เพื่อจัดการดานกระบวนการเรียนการสอน ของอาจารย วิธกี ารและเครือ่ งมือทีจ่ ะทําใหนกั ศึกษาอยากเรียนรูแ ละสนุกกับการเรียน รวมถึงประกัน คุณภาพ ซึ่งมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตยเปนสถาบันแหงแรกที่ไดรับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน ระบบ ISO 9001-2008 ทุกระบบ ทุกคณะ และทุกหนวยงานในองคกร นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยัง จัดตั้งศูนยเตรียมความพรอมเพื่อการทํางาน เสริมทักษะการเรียนรูดานภาษาอังกฤษ ดานไอที ดานธุรกิจ และดานทักษะการสื่อสารและการพัฒนาบุคลิกภาพ เพื่อสรางบัณฑิตให “ทํางานได” ปจจุบัน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตยเปดสอนในระดับปริญญาตรี ทั้งภาคปกติและภาคคํ่า ระดับ ปริญญาโท ปริญญาเอก และหลักสูตรนานาชาติ โดยมี รศ. ดร.วรากรณ สามโกเศศ เปนอธิการบดี
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
190 สถาบันอุดมศึกษาไทย
48 83 74 9 25,072 3,538 113 1,222
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร คณะนิติศาสตรปรีดี พนมยงค คณะศิลปกรรมศาสตร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยจีน
คณะการบัญชี คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันภาษา DPUIC (DPU International College)
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
200,000 - 280,000 124,000 - 160,000 450,000 - 550,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 191
มหาวิทยาลัยเอกชน
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • การรับตรงโดยมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย โทรศัพท 0 2954 7300 ตอ 520 • การรับตามโครงการกีฬา โทรศัพท 0 2954 7300 ตอ 206
มหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ 6/999 ซอยพหลโยธิน 52 แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร 10220 โทรศัพท : 0 2972 7200 โทรสาร : 0 2972 7751 เว็บไซต : http://www.northbkk.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ กอตั้งขึ้นจากปณิธานและความมุงมั่นในการผลิตบัณฑิต และมหาบัณฑิตที่มีความรูความสามารถ เปนคนเกง คนดี และเชี่ยวชาญในสาขาอาชีพตาง ๆ มีความเพียบพรอมทั้งในดานวิชาการ คุณธรรม และจริยธรรม รวมทั้งนําความรูดานเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย ผนวกกั บ ความสามารถทางภาษาต า งประเทศมาประยุ ก ต ใ ช ไ ด อ ย า งเหมาะสม เปนพลเมืองที่มีคุณภาพรับใชสังคมไดตอไป มหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ เปดดําเนินการสอน ใน 2 วิทยาเขต ไดแก วิทยาเขตสะพานใหม ตั้งอยูบนถนนพหลโยธิน สะพานใหม-ดอนเมือง กรุงเทพมหานคร วิทยาเขตรังสิต ตั้งอยู ณ กิโลเมตรที่ 6 ถนนรังสิต-นครนายก (คลอง 3) จังหวัด ปทุมธานี เปดสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ในหลากหลายสาขาวิชา พรอมดวยสิง่ อํานวยความสะดวกครบครันทีค่ อยใหบริการแกนกั ศึกษา อาทิ หอพักนักศึกษาชาย-หญิง Wireless Internet Network หองสมุดอิเล็กทรอนิกส หองมัลติมีเดีย หองปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร หองปฏิบัติการแมคอินทอช หองออดิทอเรียม หองปฏิบัติการทางภาษา หองปฏิบัติการระบบ เครือขายคอมพิวเตอร CISCO หองปฏิบัติการระบบการจัดฐานขอมูลคอมพิวเตอร ORACLE รวมถึงศูนยกีฬาในรมขนาดมาตรฐาน สามารถรองรับการจัดกิจกรรมของนักศึกษา และการแขงขัน กีฬาประเภทตาง ๆ ทั้งในระดับสากลและระดับนานาชาติ ทั้งนี้ เพื่อเสริมสรางประสบการณชีวิต และพัฒ นาให นัก ศึกษามีบุคลิกภาพที่ดี มีสุขภาพที่แ ข็ง แรงทั้ง ร า งกายและจิต ใจ เป ด โอกาส ทางการเรียนรู และสามารถปรับตัวใหเขากับสังคมไดในอนาคต สมดังปรัชญาที่วา “วิชาการ เปนเลิศ เชิดชูคุณธรรม กาวนําเทคโนโลยี”
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
192 สถาบันอุดมศึกษาไทย
9 หนวยงาน 17 หลักสูตร 17 หลักสูตร 3,136 คน 117 คน 310 คน 55 คน 214 คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • การรับตรง : สมัครไดที่ แผนกแนะแนวการศึกษา โทรศัพท 0 2972 7200 ตอ 140-144 การรับตรงโครงการทุนนักกีฬา : ประเภทบุคคล และประเภททีม อาทิ ยูโด เทควันโด ฟุตบอล : สมัครไดที่ แผนกวินัยและกีฬา โทรศัพท 0 2972 7200 ตอ 146, 190 • การรับตรงโครงการทุนประวัตริ งุ เรือง : รับสมัครนักศึกษาทีเ่ รียนดี แตขาดแคลนทุนทรัพย สมัครไดที่ เขตพื้นที่การศึกษาทุกจังหวัด หรือโทรศัพท 0 2972 7200 ตอ 144 • การรับตรงโครงการทุนเรียนดี : รับสมัครนักศึกษาที่มีผลการเรียนดี สมัครไดที่ แผนกแนะแนวการศึกษา โทรศัพท 0 2972 7200 ตอ 140-144 สนใจขอมูลเพิ่มเติมสอบถามรายละเอียดไดที่ โทรศัพท 0 2972 7200 ตอ 140-144 หรือ http://www.northbkk.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
140,200 - 216,100 49,000 - 70,000 135,000 - 189,000 390,000 - 500,000
บาท บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 193
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยนอรท-เชียงใหม 169 หมู 3 ตําบลหนองแกว อําเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม 50230 โทรศัพท 0 5381 9999 โทรสาร 0 5381 9998 เว็บไซต http://www.northcm.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยนอรท-เชียงใหม ไดเริ่มกอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2542 ดวยแรงบันดาลใจของ อาจารยณรงค ชวสินธุ ผูกอตั้ง ภายใตปรัชญาที่วา “การให เปนความสุขที่แทจริง การสรางและ การพัฒนาเสมอดวยการใหการศึกษาไมม”ี อาจารยณรงคเปนคนเชียงใหมโดยกําเนิด มีความมุงมัน่ และตั้งใจที่จะทดแทนคุณแผนดินเกิด ดวยการกอตั้งมหาวิทยาลัยนอรท-เชียงใหม กอปรกับตั้งใจ ใหเปนมหาวิทยาลัยเอกชนแหงแรกของประเทศไทยที่เปดหลักสูตรสาขาการจัดการการพาณิชย อิเล็กทรอนิกส (e-Commerce Management) ระดับปริญญาตรี ในคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยไดรบั ใบอนุญาตจากทบวงมหาวิทยาลัยใหเปดดําเนินการจัดการเรียนการสอน ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี เมือ่ วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2542 โดยอาจารยณรงค ชวสินธุ ผูก อ ตัง้ เปน ผูร บั ใบอนุญาต ในปการศึกษาแรกมีนกั ศึกษาจํานวน 165 คน ใน 2 คณะ ไดแก คณะวิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมไฟฟา และคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการการ พาณิชยอเิ ล็กทรอนิกส สาขาวิชาการบัญชี สําหรับในปการศึกษา 2544 มหาวิทยาลัยไดเปดสาขาเพิม่ คือ สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ และโครงการดําเนินการสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร และวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มีนกั ศึกษาทัง้ ภาคปกติและภาคสมทบ จํานวน 383 คน มหาวิทยาลัยมีเปาหมายเพือ่ มุง เนนการผลิตบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ภาพออกสูส งั คม ทัง้ นี้ เพือ่ ตอบสนอง ตอความตองการของสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมหาวิทยาลัยยังใหความสําคัญ ตอการปูพนื้ ฐานและสรางจิตสํานึกใหบณ ั ฑิตมีความพรอมและใฝใจในการริเริม่ ตลอดจนเปนเจาของ กิจการของตนเอง เพื่อพัฒนาทองถิ่นสังคมและประเทศชาติ โดยใหความสําคัญที่คุณลักษณะของ บัณฑิต ซึ่งจะตองเปนผูที่รูจริง ทําเปน เกงเทคโนโลยี ภาษาดี มีมนุษยสัมพันธ รวมงานกับผูอื่น ไดอยางมีความสุข มีความคิดริเริ่ม สรางสรรค มีภาวะผูนํา มีคุณธรรม และศีลธรรมจรรยา
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก
194 สถาบันอุดมศึกษาไทย
13 25 25 1,615 25 305 87
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร คณะนิติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท (ตลอดหลักสูตร) ระดับปริญญาเอก
17,000 - 40,000 84,450 - 125,000 55,000 - 75,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 195
มหาวิทยาลัยเอกชน
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • โควตาภาคเหนือ • เทียบโอน โทรศัพท 0 5381 9999 หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.northcm.ac.th
มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด 1458 ถนนเพชรเกษม ตําบลชะอํา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท 0 3252 0789 โทรสาร 0 3244 2324 เว็บไซต http://www.stamford.edu
แนะนํา
วิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด จัดตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2539 ณ Palm Hills Golf Resort อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ประเทศไทย ตอมาในป พ.ศ. 2543 วิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด ไดประสานความรวมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยนานาชาติชิลเลอร ประเทศสหรัฐอเมริกา และ ไดรบั อนุญาตจากทบวงมหาวิทยาลัย เปลีย่ นชือ่ เปนวิทยาลัยนานาชาติชลิ เลอร-แสตมฟอรด จากนัน้ ในปพุทธศักราช 2546 วิทยาลัยนานาชาติชิลเลอร-แสตมฟอรด ไดรับการยกฐานะโดยไดรับอนุญาต จากทบวงมหาวิทยาลัยใหเปลี่ยนประเภทสถาบันจากวิทยาลัย เปนมหาวิทยาลัยนานาชาติชิลเลอรแสตมฟอรด และเพื่อกอใหเกิดโอกาสในดานความรวมมืออยางกวางขวาง มหาวิทยาลัยจึงไดขอ เปลี่ยนชื่อจากมหาวิทยาลัยนานาชาติชิลเลอร-แสตมฟอรด เปนมหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด และไดรับอนุญาตโดยกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อปพุทธศักราช 2547 จากประสบการณในการผลิตบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ภาพมานานกวา 14 ป มหาวิทยาลัยนานาชาติ แสตมฟอรดชวยนักศึกษาในการเตรียมความพรอมไปสูการแขงขันของโลก ดวยการเรียนการสอน ในระบบการศึกษาที่ทันสมัยพรอมทั้งความรูที่ไดรับทั้งภายในและภายนอกหองเรียน มหาวิทยาลัย นานาชาติแสตมฟอรด “กรุงเทพแคมปส” ตั้งอยูบนถนนมอเตอรเวย กม.2 ใกลสถานีรถไฟฟา สายแอรพอรตลิงค (Airport Link) เปดดําเนินการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ภาคภาษาอังกฤษ และปริญญาโท ภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ภายในมหาวิทยาลัยพรั่งพรอมไปดวยสิ่งอํานวย ความสะดวกที่ทันสมัย ตลอดจนกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูที่หลากหลายสําหรับนักศึกษาไทยและ นานาชาติ ซึ่งเปนสังคมการเรียนรูแบบสากลอยางแทจริง
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
196 สถาบันอุดมศึกษาไทย
20 9 5 4 499 256 140
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี Stamford Business School
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรปกติ) ระดับปริญญาตรี (นานาชาติ) ระดับปริญญาโท
26,000 - 36,500 42,500 - 44,850 33,000 - 55,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 197
มหาวิทยาลัยเอกชน
• รับสมัครตรง (มีการสอบวัดระดับความรูพื้นฐานภาษาอังกฤษเพียงอยางเดียว หรือ มีการสอบความถนัดดานอื่น ๆ ตามเงื่อนไขของแตละสาขาวิชา) • สถานที่สมัคร - กรุงเทพมหานคร แคมปส 16 ถนนมอเตอรเวย กม. 2 เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท 0 2769 4000 โทรสาร 0 2769 4099 - หัวหินแคมปส 1458 ถนนเพชรเกษม อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท 0 3244 2322 โทรสาร 0 3244 2324 เว็บไซต http://www.stamford.edu
มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟก 195 หมู 3 ตําบลมวกเหล็ก อําเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี 18180 โทรศัพท 0 3672 0777 โทรสาร 0 3672 0764 เว็บไซต http://www.apiu.edu
แนะนํา
มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟก พัฒนามาจากโรงเรียนพยาบาล โรงพยาบาล มิ ช ชั่ น ซึ่ ง เป น สถาบั น การศึ ก ษาที่ ไ ด ก อ ตั้ ง ขึ้ น โดยมิ ช ชั่ น นารี ค ณะเซเว น ธ เ ดย แ อดเวนดิ ส ท มีวัตถุประสงคเพื่อใหความชวยเหลือในดานการรักษาพยาบาล การฟนฟูและการสงเสริมสุขภาพ แกประชาชน โดยจัดตัง้ โรงพยาบาล สถานีอนามัย โรงเรียนพยาบาลขึน้ ทัว่ ไปในประเทศตาง ๆ ทัว่ โลก ในป พ.ศ. 2484 โรงพยาบาลมิชชั่นไดขออนุญาตเปดโรงเรียนพยาบาลเพื่อผลิตพยาบาลสําหรับ ใหบริการแกผูปวยในโรงพยาบาลมิชชั่น แตเปดสอนไดไมนานก็ตองปดเนื่องจากสงครามโลก ครั้งที่ 2 ไดเปดทําการสอนอีกครั้ง เมื่อ พ.ศ. 2490 ณ เลขที่ 430 ถนนพิษณุโลก กรุงเทพมหานคร ซึ่งอยูในบริเวณเดียวกับโรงพยาบาลมิชชั่น ในป พ.ศ. 2529 โรงเรียนพยาบาลโรงพยาบาลมิชชั่น ไดรับอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัย จัดตั้งเปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในนาม “วิทยาลัยมิชชั่น” โดยเปดดําเนินการคณะพยาบาลศาสตรเปนคณะแรก และดําเนินการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาล ศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปริญญาตรี 4 ป สาขาวิชาพยาบาลศาสตร เปนหลักสูตรแรก เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2552 วิทยาลัยไดรับอนุมัติเปลี่ยนชื่อและประเภทเปนมหาวิทยาลัย โดยใชชอื่ ภาษาไทยวา มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟก (ม.น.อ.) ชือ่ ภาษาอังกฤษวา Asia-Pacific International University (A.I.U.)
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะพยาบาลศาสตรมิชชั่น คณะศึกษาศาสตรและจิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและมนุษยศาสตร คณะศาสนศึกษา
198 สถาบันอุดมศึกษาไทย
6 15 3 12 927 14 187
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• โครงการรับตรง • สอบถามขอมูล และสมัครทางไปรษณียไดที่ - สํานักรับนักศึกษาและทะเบียน มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟก 195 หมู 3 ตําบลมวกเหล็ก อําเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี 18180 โทรศัพท 0 3672 0758 หรือ 0 3672 0777 ตอ 1112, 1114, 1116, 1120 โทรสาร 0 3672 0764 - คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟก 430 ถนนพิษณุโลก แขวงสี่แยกมหานาค เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทรศัพท 0 2280 8243-6 โทรสาร 0 2280-8247 ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
191,675 - 413,625 190,080 - 276,120
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 199
มหาวิทยาลัยเอกชน
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
มหาวิทยาลัยปทุมธานี 140 หมู 4 ถนนติวานนท ตําบลบานกลาง อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท 0 2975 6999 โทรสาร 0 2979 6728 เว็บไซต http://www.ptu.ac.th
แนะนํา
มหาวิ ท ยาลั ย ปทุ ม ธานี เป น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชน ได รั บ อนุ ญ าตให จั ด ตั้ ง ตาม พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในนาม “วิทยาลัยปทุมธานี” เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และไดรับอนุญาตใหเปลี่ยนประเภทเปน “มหาวิทยาลัยปทุมธานี” เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 โดย ดร.ชนากานต ยืนยง เปนผูรับใบอนุญาตจัดตั้ง โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเปนการขยายโอกาสใหแกเยาวชนในจังหวัดปทุมธานีและพื้นที่ใกลเคียงใหมีโอกาสศึกษาตอ ในระดับอุดมศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเปนการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศใหเพียบพรอมดวยความ เปนเลิศทางวิชาการ มีทักษะขั้นสูงในการประกอบอาชีพและกอปรดวยจริยธรรมในการดําเนินชีวิต อันจะเปนการพัฒนาประเทศชาติตอไป นับแตการกอตั้งวิทยาลัยปทุมธานี ไดปฏิบัติพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมไดอยาง สมบูรณครบถวน บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาจากสถาบันแหงนี้ ไดประกอบสัมมาวิชาชีพรับใชสังคม และประเทศชาติอยางมีคณ ุ ภาพ และกอปรดวยคุณธรรม นํามาซึง่ ความภาคภูมใิ จของคณาจารยและ ผูบริหารสถาบันเปนอยางยิ่ง ปจจุบัน มหาวิทยาลัยปทุมธานีเปดสอนในระดับปริญญาตรี 10 คณะ 18 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 7 หลักสูตร ระดับปริญญาเอก 6 หลักสูตร และระดับประกาศนียบัตร บัณฑิต 2 หลักสูตร
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
200 สถาบันอุดมศึกษาไทย
15 31 31 4,238 296 919 232 315
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะนิติศาสตร คณะรัฐศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะบัญชี คณะสาธารณสุขศาสตรและสิ่งแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง ติดตองานแนะแนวและประชาสัมพันธ โทรศัพท 0 2975 6999 ตอ 0
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
167,450 - 340,000 125,000 - 200,000 420,000 - 550,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 201
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยพายัพ 272 หมู 2 ถนนเชียงใหม-ลําปาง ตําบลสันพระเนตร อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม โทรศัพท 0 5385 1478, 0 5324 1255 โทรสาร 0 5324 1983 เว็บไซต http://www.payap.ac.th
แนะนํา
สภาคริสตจักรในประเทศไทยมีความมุงมั่นมากวา 50 ป ที่จะจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา ของคริสเตียนขึ้น แตความตั้งใจดังกลาวตองหยุดชะงักลงดวยสาเหตุหลายประการ ตอมาในป พ.ศ. 2512 เมื่อรัฐบาลออกพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการจัดการการศึกษาระดับอุดมศึกษาของเอกชน โดยอนุญาตใหเอกชนจัดตั้งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาได สภาคริสตจักรในประเทศไทย จึงรื้อฟนแนวความคิดที่จะจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาขึ้นในป พ.ศ. 2513 โดยจะยกฐานะของสถาบัน การศึกษาเดิม คือ โรงเรียนพยาบาลผดุงครรภและอนามัยแมคคอรมิค และโรงเรียนพระคริสตธรรม แมคกิลวารี ขึ้นเปนสถาบันอุดมศึกษา จึงไดแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการจัดตั้งวิทยาลัยเอกชน ของสภาคริสตจักรในประเทศไทย เปนผูดําเนินการในเรื่องนี้ จนกระทั่งไดรับอนุญาตจากรัฐบาลให จัดตั้งวิทยาลัยพายัพ ในป พ.ศ. 2517 และตอมาไดรับอนุญาตใหเปลี่ยนประเภทจากวิทยาลัยเปน “มหาวิทยาลัย” ในป พ.ศ. 2527 นับเปนมหาวิทยาลัยเอกชนแหงแรกของประเทศไทย
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะศิลปศาสตร คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะบัญชี การเงินและการธนาคาร คณะวิทยาศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะนิติศาสตร คณะพยาบาลศาสตรแมคคอรมิค คณะบริหารธุรกิจ คณะเภสัชศาสตร วิทยาลัยดุริยศิลป บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยพระคริสตธรรมแมคกิลวารี
202 สถาบันอุดมศึกษาไทย
12 32 24 8 5,884 455 924
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรไทย) ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรนานาชาติ) ระดับปริญญาโท (หลักสูตรไทย) ระดับปริญญาโท (หลักสูตรนานาชาติ)
217,350 - 777,950 377,350 - 449,350 147,100 - 181,500 119,300 - 215,900
บาท บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 203
มหาวิทยาลัยเอกชน
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • การรับสมัครนักศึกษา โดยเขารวมในโครงการสอบคัดเลือกนักเรียนในเขตพัฒนา 3 ภาค - ภาคเหนือ เขารวมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขารวมกับมหาวิทยาลัยขอนแกน - ภาคใต เขารวมกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร • การรับสมัครนักศึกษา โดยการรับตรงของมหาวิทยาลัยพายัพ สอบถามไดที่สํานักประชาสัมพันธและการรับนักศึกษา โทรศัพท 0 5385 1478 ตอ 240 และ 241 โทรสาร 0 5324 1983 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.payap.ac.th
มหาวิทยาลัยฟารอีสเทอรน 120 ถนนมหิดล ตําบลหายยา อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50100 โทรศัพท 0 5320 1800-4 โทรสาร 0 5320 1810 เว็บไซต http://www.feu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยฟารอีสเทอรน แหงที่ 1 ตั้งอยูใจกลางเมืองเชียงใหม ภายในมหาวิทยาลัย ประกอบดวยอาคารเรียนทันสมัย 5 ชั้น 3 อาคาร อาคารหอประชุมขนาดใหญ 300 ที่นงั่ และ 700 ทีน่ งั่ สํานักวิทยบริการ หองโสตทัศนูปกรณ หองปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร หองปฏิบตั กิ ารทางภาษา สนามกีฬาอเนกประสงค ศูนยอาหารและลานจอดรถ ตอมาไดขยายตัวเพื่อรองรับจํานวนนักศึกษา ดวยการเปดมหาวิทยาลัยฟารอีสเทอรน วิทยาเขตใหม ถนนวงแหวน หางจากมหาวิทยาลัย ฟารอีสเทอรนแหงแรกเพียง 15 นาที ตั้งอยูเลขที่ 333 หมู 3 ตําบลสันผักหวาน อําเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม 50230 โทรศัพท 0 5333 3777 ภายในบริเวณประกอบดวย อาคารเรียน หอประชุม และสนามกีฬา
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะนิเทศศาสตร คณะบริหารรัฐกิจ
204 สถาบันอุดมศึกษาไทย
21 18 18 1,997 672 28 173
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • โควตาภาคเหนือ สามารถสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 5320 1800-4 ตอ 0 และเว็บไซต http://www.feu.ac.th ระดับปริญญาตรี ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับปริญญาโท
171,000 - 246,300 28,000 - 30,000 115,000 - 150,800
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 205
มหาวิทยาลัยเอกชน
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
มหาวิทยาลัยภาคกลาง* มหาวิทยาลัยกลาง ตู ปณ. 1 ปณ.สวรรควิถี อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค 60001 โทรศัพท 0 5680 1629 หรือ 0 5680 1822-4 (ตอ 124) โทรสาร 0 5680 1821 เว็บไซต http://www.tuct.ac.th
แนะนํา
วิ ท ยาลั ย ภาคกลางเป น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชนที่ อ ยู ภ ายใต ก ารกํ า กั บ และดู แ ล ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ไดรับใบอนุญาตจัดตั้งเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ พ.ศ. 2529 ตั้งอยู 932/1 หมู 9 ต.นครสวรรคตก อ.เมือง จ.นครสวรรค วิทยาลัยภาคกลางจัดตั้งขึ้น เพื่อเปดโอกาสทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของเยาวชนในเขตภาคกลางและภาคเหนือ และ เพื่อแบงเบาภาระดานการจัดการการศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐ นักการศึกษาของจังหวัด 2 ทาน คือ ดร.โสภิต สถิรางกูร และ อ.สุรีย สถิรางกูร จึงไดจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ชื่อ “วิทยาลัยภาคกลาง” ขึ้นที่จังหวัดนครสวรรค จากการเริ่มตนเพียงคณะวิชาเดียวคือ คณะบริหารธุรกิจ ในปการศึกษา 2529 ตอ จากนั้น วิทยาลัยภาคกลางไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง จนถึงป 2537 วิทยาลัยภาคกลาง ได เ พิ่ม คณะวิช าที่เปดสอนเพิ่มขึ้น จนในปจจุบันมีทั้ง สิ้น 5 คณะวิช า 9 สาขาวิช า และใน ป 2539 ไดจัดตั้งบัณฑิตมหาวิทยาลัยเพื่อเปดการสอนในระดับปริญญาโท หลักสูตรบริหาร ธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) ในป 2540 เปดสอนหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (MPA) และ ในป 2551 เปดสอนระดับปริญญาเอกในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา จนกระทัง่ ในวันที่ 31 ตุลาคม 2545 ไดรับอนุมัติใหเปลี่ยนสถานภาพเปน “มหาวิทยาลัยภาคกลาง”
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน คณะบัญชี คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะเศรษฐศาสตร
206 สถาบันอุดมศึกษาไทย
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง ติดตอสอบถามเพิ่มเติมที่ โทรศัพท 0 5680 1629 หรือ 0 5680 1822-4 ตอ 124 หรือ ติดตอดวยตนเองที่มหาวิทยาลัยทุกวัน ไมเวนวันหยุดราชการ หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.tuct.ac.th
คาใชจายในการศึกษา
ระดับปริญญาตรี (เหมาจายตอปการศึกษา) ระดับปริญญาโท (เหมาจายตลอดหลักสูตร) ระดับปริญญาเอก (เหมาจายตลอดหลักสูตร)
18,000 - 24,000 120,000 400,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
มหาวิทยาลัยเอกชน
แผนที่
่*อางอิงขอมูลจากเว็บไซต http://www.tuct.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย 207
มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 199/19 ถนนมิตรภาพ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000 โทรศัพท 0 4322 2959-61 โทรสาร 0 4322 6823-4 เว็บไซต http://www.neu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่เนน การผลิตบัณฑิตใหมีความรูความสามารถ มีคุณธรรม สามารถนําความรู และประสบการณใชใน การประกอบอาชีพไดดวยหลักจริยธรรม คุณธรรม และยึดถือหลักการเศรษฐกิจพอเพียง มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สนับสนุนสงเสริมการศึกษา คนควา วิจัย และ ใหบริการทางวิชาการแกชุมชน โดยเฉพาะอยางยิ่งชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยการ เชื่อมโยงความรูและวิชาการเขากับชุมชน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะวิศวกรรมศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะนิติศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย
208 สถาบันอุดมศึกษาไทย
28 28 4,508 228 229 215
หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 199/19 ถนน มิตรภาพ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000 โทรศัพท 0 4322 2959-61 โทรศัพทเคลื่อนที่ 08 1871 5468 โทรสาร 0 4322 6823-4 เว็บไซต http://www.neu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
119,500 - 179,500 62,450 - 103,950 329,500 - 400,000
บาท บาท บาท
มหาวิทยาลัยเอกชน
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 209
มหาวิทยาลัยโยนก 444 ถนนวชิราวุธดําเนิน ตําบลพระบาท อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง 52000 โทรศัพท 0 5426 5170-6 โทรสาร 0 5426 5184 เว็บไซต http://www.yonok.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยโยนก เปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหงแรกของจังหวัดลําปาง เปดใหบริการ การศึกษาเมือ่ ปการศึกษา 2531 มีบณ ั ฑิตทีม่ หาวิทยาลัยไดผลิตออกไปรับใชสงั คมในระดับปริญญาตรี และปริญญาโทแลวมากกวา 5,500 คน ในระดับปริญญาตรี มีการเรียนการสอน 3 คณะ 11 สาขา วิชา ไดแก คณะบริหารธุรกิจ คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร คณะวิทยาศาสตรสุขภาพและ เทคโนโลยี และหลักสูตรบริหารธุรกิจนานาชาติ (BBA, International Program) ระดับปริญญาโท มีหลักสูตรทีเ่ ปดสอน คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (MEd) และหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (MPA) มหาวิทยาลัยโยนกมุงเนนการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ ดวยกระบวนการเรียนรูที่ใหผูเรียน เปนศูนยกลาง ฝกทักษะ และพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาใหเปนบัณฑิตทีค่ ดิ เปน ทําเปน มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม และมีจิตสํานึกสาธารณะ มหาวิทยาลัยมีภูมิทัศนที่สวยงาม มีสิ่งอํานวยความสะดวกทางการศึกษาที่ทันสมัย คือ ระบบอินเทอรเน็ตไรสายทั่วทั้งบริเวณมหาวิทยาลัย มีหอพักใหบริการภายในมหาวิทยาลัยที่สะดวก สะอาด และปลอดภัยดวยระบบคียการด รวมถึงสนามฟุตบอล สนามไดรฟกอลฟ สระวายนํ้า ที่เปด ใหบริการแกบคุ ลากร นักศึกษาและประชาชนทัว่ ไปไดใชประโยชนในการเสริมสรางสุขภาพของตนเอง
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ (ระดับปริญญาตรี 11 ปริญญาโท 3) - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
210 สถาบันอุดมศึกษาไทย
32 15 14 1 659 23 126
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร คณะวิทยาศาสตรสุขภาพและเทคโนโลยี
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง โทรศัพท 0 5426 5170-6 ตอ 135 หรือ http://www.yonok.ac.th/admit
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร 198,435 - 238,435 246,435 128,775 - 139,275
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 211
มหาวิทยาลัยเอกชน
ระดับปริญญาตรี - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ ระดับปริญญาโท
มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 เมืองเอก ถนนพหลโยธิน ตําบลหลักหก อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท 0 2791 5500-10 โทรสาร 0 2997 2394 เว็บไซต http://www.rsu.ac.th
แนะนํา
มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต เป น มหาวิ ท ยาลั ย เอกชนที่ มี ค วามมุ ง มั่ น ในการผลิ ต บั ณ ฑิ ต ในสาขาวิชาที่ตรงกับความตองการในการพัฒนาประเทศ ไมวาจะเปนดานวิทยาศาสตรสุขภาพ ดานวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยี ดานสถาปตยกรรมศาสตรการออกแบบ รวมทั้งทางดาน มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร โดยไดตั้งปณิธานไววา “เราจะสรางเยาวชนและคนรุนใหม ใหเปน บัณฑิตที่เพียบพรอมดวยวิทยาการและเพียบพรอมดวยจริยธรรม” การจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยรังสิต ใหความสําคัญในการลงมือฝกภาค ปฏิบัติทั้งในอาคารฝกปฏิบัติ หองทดลองปฏิบัติการ รวมทั้งฝกการทํางานกับสถานประกอบการจริง ในรูปแบบสหกิจศึกษา โดยความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรม และสถานประกอบการที่เกี่ยวของ โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมีอาคารปฏิบัติการอยางครบวงจร อาทิ สตูดิโอคอมเพล็กซ ซึ่งมีทั้งโรงถาย ภาพยนตร โรงฉายภาพยนตร หองอัดเสียงแบบครบวงจร อาคารปฏิบัติการวิทยาศาสตรสุขภาพ ซึง่ จะเปนศูนยรวมเครือ่ งมืออุปกรณทางวิทยาศาสตรสขุ ภาพอยางครบครัน หองปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร ที่ทันสมัย หองปฏิบัติการทางวิศวกรรมศาสตร พรอมใหนักศึกษาไดใชอยางเพียงพอ เปนตน ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนปจจัยเกื้อหนุนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยรังสิตในภาพรวม อยางเปนรูปธรรม
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
วิทยาลัยแพทยศาสตร คณะทันตแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะเทคนิคการแพทย
212 สถาบันอุดมศึกษาไทย
67 114 107 7 22,928 1,856 252 2,229
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะบัญชี คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการบริการ
คณะกายภาพบําบัด คณะการแพทยแผนตะวันออก คณะวิทยาศาสตร คณะทัศนศาสตร คณะเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปะและการออกแบบ คณะดิจิทัลอารต คณะสถาปตยกรรมศาสตร
วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม คณะนิติศาสตร คณะเศรษฐศาสตร วิทยาลัยดนตรี วิทยาลัยนานาชาติ คณะศึกษาศาสตร สถาบันการบิน สถาบัน Chinese Business School สถาบันรัฐประศาสนศาสตร สถาบันการทูตและการตางประเทศ
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ระบบรับตรง • ทุนความสามารถพิเศษดานกีฬา สอบถามขอมูลเพิ่มเติมที่ โทรศัพท 0 2991 5500-10 หรือที่ http://www.rsu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
196,200 - 4,200,000 150,000 - 300,000 160,000 - 700,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 213
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต 306 ซอยลาดพราว 107 เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 โทรศัพท 0 2375 4480-6 โทรสาร 0 2375 4489 เว็บไซต http://www.rbac.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต ถือกําเนิดขึ้นภายใตความมุงมั่นอันแนวแนของอาจารยประชุม รัตนเพียร อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ และอาจารยวิจิตรา รัตนเพียร ที่ตองการ จะพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทีก่ อปรดวยความรู ความสามารถในอันทีจ่ ะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนา ประเทศตอไป จึงไดเริ่มกอตั้งโรงเรียนดุสิตพณิชยการ ในป พ.ศ. 2505 ในยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิ โรงเรียนพณิชยการสีลม ในป พ.ศ. 2508 บนถนนสีลม โรงเรียนรัตนพณิชยการ ในป พ.ศ. 2523 ที่ถนนลาดพราว ซอย 107 โรงเรียนนันทนวรวิทย ในป พ.ศ. 2532 และโรงเรียนดุสิตพณิชยการ นนทบุรี ในป พ.ศ. 2537 ดวยความมุงมั่นในการจัดการศึกษา จึงไดรับอนุญาตใหจัดตั้งวิทยาลัยรัตนบัณฑิต จากทบวงมหาวิทยาลัยในวันที่ 18 ธันวาคม 2540 นอกจากนี้ ในวันที่ 24 มิถุนายน 2546 ทบวง มหาวิทยาลัยไดอนุมัติใหจัดตั้งมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต และใหความเห็นชอบในการรวมกิจการ เขากับวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สงผลใหมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต เปนสถาบันการศึกษาที่มีความ มั่นคงเปนปกแผนในการจัดการศึกษาใหไดรับมาตรฐานสากล จึงเปนความภาคภูมิใจของผูกอตั้ง ผูบริหาร และคณาจารยอยางสูงสุด ที่มีโอกาสจัดการศึกษาอยางครบถวนตั้งแตระดับอนุบาล ถึงระดับอุดมศึกษา
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
214 สถาบันอุดมศึกษาไทย
25 31 29 2 11,151 367 23 643
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะนิติศาสตร คณะบัญชี คณะวิศวกรรมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • รับโดยการเทียบโอนผลการเรียน • รับผานโครงการพิเศษ เชน นักกีฬา นักดนตรี ศิลปน เปนตน สามารถสมัครไดที่ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต 306 ซอยลาดพราว 107 เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร โทรศัพท 0 2375 4480-6 ตอ 107 หรือ http://www.rbac.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
196,000 - 213,300 86,200 - 114,200 470,600
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 215
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยราชธานี 261 ถนนเลี่ยงเมือง อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทรศัพท 0 4531 9900 โทรสาร 0 4531 9911 เว็บไซต http://www.rtu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยราชธานี เปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหงแรกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนลาง ไดรับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการใหเปลี่ยนสถานะเปนมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2546 มหาวิทยาลัยราชธานีมีความมุงมั่นที่จะผลิตบัณฑิตที่มีมาตรฐานทางวิชาการและ วิชาชีพในสาขาวิชาตาง ๆ เพื่อเสริมสรางการพัฒนากําลังคนที่มีความเปนสากล เพื่อเปนฐานของ การพัฒนาองคความรูและเทคโนโลยีในประเทศ ดวยศักยภาพของคณะผูบริหารและคณาจารย ที่มีความมุงมั่นพัฒนามหาวิทยาลัยราชธานี ใหเปนมหาวิทยาลัยที่มีความเปนเลิศทางวิชาการและ การวิจัย เพื่อสรางองคความรูใหมที่สงเสริม สรางสรรค และประยุกตภูมิปญญาทองถิ่นอันทรง คุณคายิ่ง เพื่อเพิ่มความรูและชี้นําสังคม ตลอดจนสนองความตองการดานกําลังคนของประเทศ มหาวิทยาลัยราชธานี มุง มัน่ ในการผลิตบัณฑิตใหมคี วามรูท างวิชาการ และความสามารถ ในการปฏิบัติ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การนําความรูใหม ๆ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชในการพัฒนา สังคมและเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งการพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานอยูในสาขาวิชาตาง ๆ ใหมี โอกาสเพิ่มพูนความรูและศักยภาพ ทั้งในระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา มีจรรยาบรรณ ของวิชาชีพและรับผิดชอบตอตนเองและตอสังคม
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553) จํานวนหนวยงาน จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
216 สถาบันอุดมศึกษาไทย
7 18 18 3,388 668 384 26 225
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะพยาบาลศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะนิติศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
130,000 - 540,000 108,000 - 216,000 400,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 217
มหาวิทยาลัยเอกชน
สมัครไดโดยตรงที่ สํานักทะเบียน มหาวิทยาลัยราชธานี โทรศัพท 0 4531 9900 ตอ 118
มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล 84 หมู 4 ตําบลบานเกาะ อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท 0 4420 3778-84 โทรสาร 0 4420 3785 เว็บไซต http://www.vu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล เปนมหาวิทยาลัยเอกชนแหงแรกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดรับอนุญาตใหจัดตั้งในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2527 ในนาม “วิทยาลัยวงษชวลิตกุล” และดวยความ มุงมั่นพัฒนาการศึกษาสูมาตรฐานของอุดมศึกษา ในปการศึกษา 2537 จึงไดรับอนุญาตจากทบวง มหาวิทยาลัยใหเปลี่ยนประเภทเปน “มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล” ผลิตบัณฑิตเพื่อออกไปพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมในหลากหลายสาขาวิชาทัง้ ในระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ครอบคลุ ม ทั้ ง การศึ ก ษาสายวิ ท ยาศาสตร แ ละสั ง คมศาสตร ด ว ยหลั ก ปรั ช ญาการศึ ก ษาที่ ว า “จริยธรรม นําปญญา” และมุงหวังใหบัณฑิตมีคุณสมบัติพึงประสงค คือ ขยัน ซื่อสัตย ประหยัด อดทน มีนํ้าใจ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศึกษาศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร
218 สถาบันอุดมศึกษาไทย
23 34 34 2,808 593 210 172 323
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง สอบถามรายละเอียดไดที่ โทรศัพท 0 4420 3778-84 ตอ 125 • ทุนยกเวน ทุนกีฬา ทุนราชประชานุเคราะห ทุนเรียนดี ทุนอธิการบดี ทุนมูลนิธิวงษ ชวลิตกุล ทุนศิลปวัฒนธรรม ทุนอาจารยมุข วงษชวลิตกุล สอบถามรายละเอียดไดที่ โทรศัพท 0 4420 3778-84 ตอ 101 ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
16,000 - 47,500 31,460 - 36,250 53,000 - 80,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 219
มหาวิทยาลัยเอกชน
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา)
มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร (ประเทศไทย) 143 หมู 5 ตําบลสามพระยา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท 0 3245 6161-8 โทรสาร 0 3245 6169 เว็บไซต http://www.webster.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร เปนมหาวิทยาลัยอเมริกันแหงแรกแหงเดียวที่ขยายโอกาส ทางการศึกษามาตั้งแคมปสอยูในประเทศไทย โดยใชมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนเดียวกัน จากมหาวิทยาลัยเว็บสเตอร สหรัฐอเมริกา เว็บสเตอรประเทศไทยไดรับรองมาตรฐานการศึกษา จาก North Central Association of Colleges and Schools สหรัฐอเมริกา และจากสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ประเทศไทย รับรองคุณวุฒิโดยสํานักงาน ก.พ. นักศึกษาของ มหาวิทยาลัยเว็บสเตอรประเทศไทย สามารถเลือกไปเรียน ณ แคมปสตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย เว็บสเตอรกวา 100 แหง ใน 8 ประเทศทั่วโลก ไดในแตละเทอม อีกทั้งยังรวมเรียนกับนักศึกษา จากนานาชาติกวา 40 เชื้อชาติ ซึ่งรอยละ 45 มาจากอเมริกาและยุโรป รอยละ 35 มาจากเอเชีย รอยละ 10 มาจากประเทศไทย และรอยละ 5 จากที่อื่น ๆ มีขนาดหองเรียนไมเกิน 25 คน เพื่อ ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนที่เขมขนและมุงเนนพัฒนาเปนรายบุคคล และวุฒิปริญญาเปนที่ ยอมรับทั่วโลก นักศึกษาสามารถทํางานไดทั่วโลก อยางไรขอจํากัดภายหลังจบการศึกษา และไดรับ ปริญญาบัตรจากมหาวิทยาลัยเว็บสเตอรประเทศสหรัฐอเมริกา
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะอักษรศาสตรและวิทยาศาสตร คณะธุรกิจและเทคโนโลยี คณะนิเทศศาสตร
220 สถาบันอุดมศึกษาไทย
3 10 10 138 69 65
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• ระบบรับตรง ติดตอไดที่ มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร แคมปสประเทศไทย เลขที่ 143 หมู 5 ตําบลสามพระยา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท 0 3245 6161-8 โทรสาร 0 3245 6169 เว็บไซต http:/www.webster.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
1,080,000 519,540
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
มหาวิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 221
มหาวิทยาลัยเวสเทิรน* 600 ตําบลสระลงเรือ อําเภอหวยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี 71170 โทรศัพท 0 3565 1000 โทรสาร 0 3565 1144 เว็บไซต http://www.western.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเวสเทิรน เปนมหาวิทยาลัยเอกชนในภูมิภาคของภาคกลาง ที่ไดรับการ พิจารณาจัดตั้งขึ้นเพื่อรองรับการเจริญเติบโตของภูมิภาค และเปนการกระจายโอกาสทางการศึกษา สูภ มู ภิ าคของประเทศ ใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 ทีส่ นับสนุน ใหมกี ารขยายตัวทางดานการศึกษาเพือ่ สงเสริมการพัฒนาทางดานทรัพยากรมนุษยของประเทศชาติ วัตถุประสงคทสี่ าํ คัญในการสถาปนามหาวิทยาลัยคือ เพือ่ สนองความตองการของชาติใน การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ผลิตทรัพยากรมนุษยที่เพียบพรอมดวยความเปนเลิศทางวิชาการ มีทักษะขั้นสูงในการประกอบอาชีพและกอปรดวยจริยธรรม นับตั้งแตเปดดําเนินการเรียนการสอน ตัง้ แตปการศึกษา 2541 เปนตนมา มหาวิทยาลัยไดปฏิบตั ภิ ารกิจของมหาวิทยาลัยทัง้ 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังมีพัฒนาการและขยายตัวอยางรวดเร็ว ปจจุบัน มหาวิทยาลัย เวสเทิรน ไดเปดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี 10 คณะวิชา โดยเปดสอนรวมทัง้ สิน้ 16 สาขาวิชา และเปดดําเนินการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท 5 หลักสูตร และปริญญาเอก 3 หลักสูตร
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะทันตแพทยศาสตร คณะสัตวแพทยศาสตร คณะเทคนิคการแพทย คณะพยาบาลศาสตร คณะแพทยแผนไทยประยุกต คณะสาธารณสุขศาสตร คณะบริหารธุรกิจและบริหารรัฐกิจ คณะนิติศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาลัยการศึกษาผานระบบเครือขาย
222 สถาบันอุดมศึกษาไทย
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง สอบถามรายละเอียดที่ โทรศัพท 0 3565 1000 หรือดูรายละเอียดเพิม่ เติมที่ http://www. western.ac.th
มหาวิทยาลัยเอกชน
แผนที่
*อางอิงขอมูลจากเว็บไซต http://www.western.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย 223
มหาวิทยาลัยศรีปทุม 61 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0 2579 1111 โทรสาร 0 2561 2222 เว็บไซต http://www.spu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดตั้งขึ้นดวยความสํานึกของ ดร.สุข พุคยาภรณ ที่ตองการทํา คุณประโยชนใหแกประเทศชาติ ดวยการสรางสถาบันการศึกษาขึ้น เพื่อพัฒนาคนใหมีความรู ความสามารถ อันจะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาความเจริญใหแกประเทศชาติตอไป โดย มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดรับการสถาปนาเปนมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ซึ่งถือเปนหนึ่งในหาแหงแรกของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย มหาวิทยาลัยไดรับ พระมหากรุณาธิคณ ุ จากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน นามวา "ศรีปทุม" และพระราชทานความหมายวา "เปนบอเกิดแหงวิชาที่เบิกบาน เชนดอกบัว" และ เพื่อเปนการแบงเบาภาระดานการจัดการการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของรัฐ และตอบสนอง ความตองการของเยาวชนในสวนภูมภิ าค มหาวิทยาลัยจึงไดขยายวิทยาเขตออกไปในปการศึกษา 2530 โดยไดจัดตั้งวิทยาเขตที่สมบูรณแบบเปนครั้งแรกที่จังหวัดชลบุรี และในป พ.ศ. 2537 มหาวิทยาลัย ขออนุมัติทบวงมหาวิทยาลัย (ในขณะนั้น) จัดตั้งมหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาคารพญาไท ซึ่งปจจุบัน ตัง้ อยู ณ อาคาร SM Tower ชัน้ 17 และชัน้ 20 เขตพญาไท เพือ่ เปดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สําหรับนักบริหาร นับตั้งแตกอตั้งจนถึงปจจุบัน รวมระยะเวลามากกวา 3 ทศวรรษ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดปฏิบัติพันธกิจหลัก 4 ประการของสถาบันอุดมศึกษา คือ การสอน การวิจัย การใหบริการวิชาการ แกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมไดอยางครบถวน โดยมีปณิธานที่จะสรางบัณฑิตศรีปทุม ใหเปนผูก อปรดวย "ปญญา ความเชีย่ วชาญ ความเบิกบาน และคุณธรรม" บัณฑิตของมหาวิทยาลัย ศรีปทุมไดสาํ เร็จการศึกษาออกสูส งั คม และทําหนาทีร่ บั ใชประเทศชาตินาํ มาซึง่ ความภาคภูมใิ จ และ เปนกําลังใจใหผูที่เกี่ยวของไดพัฒนามหาวิทยาลัยแหงนี้ใหกาวไปขางหนาเปน "มหาวิทยาลัยชั้นนํา สําหรับคนรุนใหม" อยางแทจริงตอไป
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
224 สถาบันอุดมศึกษาไทย
14 80 78 2 18,153 1,506 309 1,101
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน คณะนิติศาสตร คณะบัญชี คณะเศรษฐศาสตร คณะดิจิทัลมีเดีย International College
คณะนิเทศศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักวิชาศึกษาทั่วไป บัณฑิตวิทยาลัย
คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร สํานักการจัดการศึกษาออนไลน
• รั บ สมั ค รผ า นระบบการคั ด เลื อ กบุ ค คลเข า ศึ ก ษาในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • โครงการโควตาพิเศษ • โครงการรับสมัครนักศึกษาใหมของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ดูรายละเอียดที่ http://www.spu.ac.th หรือโทรศัพท 0 2579 1111 และ 0 2579 2222 ตอ 2121-4 • โครงการทุนเพชรศรีปทุม • โครงการทุนผูมีความสามารถพิเศษทางดานสิ่งประดิษฐ • โครงการทุนผูมีความสามารถพิเศษทางดานกิจกรรม • โครงการทุนผูมีความสามารถพิเศษทางดานกีฬา • โครงการทุนผูมีความสามารถพิเศษทางดานศิลปวัฒนธรรม ดูรายละเอียดที่ http://scholarship.spu.ac.th หรือโทรศัพท 0 2579 1111, 0 2561 2222 ตอ 2130, 2133, 2134
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
203,600 - 509,000 120,000 - 225,000 450,000 - 600,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 225
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160 โทรศัพท 0 2867 8000, 0 2867 8088 โทรสาร 0 2867 6885 เว็บไซต http://www.siam.edu
แนะนํา
มหาวิทยาลัยสยาม เปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แหงแรกของประเทศไทย ได รั บ การสถาปนาขึ้ น โดย ดร.ณรงค มงคลวนิ ช เมื่ อ ป พ.ศ. 2516 และได รั บ อนุ มั ติ จ าก ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย ปรั บ สถานภาพเป น มหาวิ ท ยาลั ย ภายใต ชื่ อ มหาวิ ท ยาลั ย เทคนิ ค สยาม เมื่อป พ.ศ. 2529 ตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปนมหาวิทยาลัยสยาม ตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัย ลงวันที่ 24 เมษายน 2535 ปจจุบันมหาวิทยาลัยสยามมีอาคารที่ใชในการเรียนการสอนรวม 20 อาคาร ทั้งนี้ ทางมหาวิทยาลัยฯ ไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินมาทรงเปดอาคารเฉลิมพระเกียรติ (อาคาร 10 ชั้น) เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2533 และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนินมาทรงเปดอาคาร เฉลิมพระเกียรติ (อาคาร 19 ชั้น) เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2543 มหาวิทยาลัยสยามไดรับการรับรองใหเปนภาคีสมาชิกสมาคมมหาวิทยาลัยนานาชาติ (International Association of Universities) และสมาคมการศึกษาระดับนานาชาติหลายแหง โดยมีสญ ั ญาความรวมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยชัน้ นําในภูมภิ าคตาง ๆ ของโลกกวา 44 สถาบัน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
226 สถาบันอุดมศึกษาไทย
42 57 53 4 13,882 910 237 731
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะบริหารธุรกิจ คณะนิเทศศาสตร คณะศิลปศาสตร
คณะนิติศาสตร สํานักวิทยบริการ และทรัพยากรการศึกษา ศูนยพัฒนาการเรียนการสอน ศูนยแหงความเปนเลิศดานการวิจัย สํานักแผนงานและวิจัยสถาบัน สถาบันวิศวกรรมการพิมพ บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยนานาชาติ
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง ติดตอที่สํานักรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยสยาม • โครงการผูมีความสามารถพิเศษดานกีฬา และศิลปวัฒนธรรม • การรับสมัคร online website www.admission.siam.edu ติดตอเรื่องการสมัครทุกประเภทไดที่สํานักรับนักศึกษา (Admission Center) โทรศัพท 0 2867 8088 หรือ 0 2868 6000 ตอ 306-308
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
113,850 - 655,350 113,350 - 350,100 256,150 - 606,450
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 227
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยหอการคาไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0 2697 6000 โทรสาร 0 2276 2126 เว็บไซต http://www.utcc.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อป พ.ศ.2483 ณ สํานักงานหอการคาไทย ตึกพาณิชยภัณฑ ถนนศรีอยุธยา สนามเสือปา ใชชื่อวา “วิทยาลัยการคา” เปดรับผูสําเร็จการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หลักสูตรการศึกษา 6 เดือน และ 2 ป ซึ่งเปนหลักสูตรที่ทันสมัยอยางยิ่ง เพราะ ดําเนินตามหลักสูตรของหอการคาแหงกรุงลอนดอน วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2517 วิทยาลัยการคา โอนมาสังกัดทบวงมหาวิทยาลัยและยายมาอยูที่ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง อันเปนสถานที่ตั้งใน ปจจุบัน วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2517 ทบวงมหาวิทยาลัยไดอนุมัติใหวิทยาลัยการคาเปลี่ยนประเภท สถาบันเปนมหาวิทยาลัยในชื่อ “มหาวิทยาลัยหอการคาไทย” (The University of the Thai Chamber of Commerce) อักษรยอ “มกค.” (UTCC) มหาวิทยาลัยไดทําการพัฒนาการเรียนการสอนและผลิต บัณฑิตของมหาวิทยาลัยใหสอดคลองกับแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศมาโดยตลอด ดวยจํานวนนักศึกษารุนแรกในป พ.ศ. 2506 เพียง 281 คน ปจจุบันมหาวิทยาลัยมีนักศึกษาถึง 19,050 คน และผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสูงออกไปรับใชสังคม และประเทศชาติแลวเปนจํานวนถึง 86,313 คน จากสาขาวิชาที่มีเพียง 7 สาขาวิชา เมื่อแรกกอตั้ง ปจจุบนั มหาวิทยาลัยเปดสอนทัง้ ในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก จํานวนรวมทัง้ สิน้ 55 หลักสูตร ซึ่งลวนเปนหลักสูตรที่มุงเนนดานการคาและธุรกิจทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ เพือ่ ใหนกั ศึกษาทุกคนไดรบั ประสบการณนาํ ไปประกอบอาชีพจนประสบผลสําเร็จในชีวติ ตนเอง และ เปนประโยชนตอประเทศชาติสืบไป
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด หลักสูตรปกติ หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันยุทธศาสตรการคา ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ
228 สถาบันอุดมศึกษาไทย
47 55 50 5 17,623 21 1,338 68 932
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะบัญชี คณะมนุษยศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะนิติศาสตร วิทยาลัยนานาชาติ สถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและ ออกแบบนโยบาย ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ
ศูนยศึกษาธุรกิจครอบครัวและ SMEs ศูนยบริการวิชาการ ศูนยศึกษาและวิจัยตราสินคา ศูนยวิจัยมหาวิทยาลัยชิคาโก-มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ศูนยวิจัยโลจิสติกส ศูนยความเปนเลิศทางการสอน ศูนยศึกษาและวิจัยสื่อสารมวลชนอาเซียน (AMSAR) ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศอาเซียนกับประเทศในกลุมลาตินอเมริกาและแถบ ทะเลแคริบเบียน • รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง สอบถามไดที่ โทรศัพท 0 2697 6761 หรือดูรายละเอียดไดที่เว็บไซต http://department.utcc.ac.th/stdmission • ทุนรัตนมงคล สอบถามไดที่ โทรศัพท 0 2697 6920-1 หรือดูรายละเอียดไดที่เว็บไซต http://department.utcc.ac.th/utccswd/index.php • ทุนการศึกษา UTCC Gold สอบถามไดที่ โทรศัพท 0 2697 6920-1 หรือดูรายละเอียดไดทเี่ ว็บไซต http://department.utcc.ac.th/utccswd/index.php • โครงการทุนนักกีฬา สอบถามไดที่ โทรศัพท 0 2697 6931 หรือดูรายละเอียดไดทเี่ ว็บไซต http://department.utcc.ac.th/sport/ โครงการทุ นดนตรีไทยและนาฏศิลป สอบถามไดที่ โทรศัพท 0 2697 6941 • หรือดูรายละเอียดไดทเี่ ว็บไซต http://department.utcc.ac.th/thaiculture
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี (ภาษาไทย) (นานาชาติ) ระดับปริญญาโท (ภาษาไทย) (นานาชาติ) ระดับปริญญาเอก (ภาษาไทย) (นานาชาติ)
244,950 - 326,575 350,150 138,950 - 320,000 147,750 - 216,200 598,800 - 888,050 520,000
บาท บาท บาท บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 229
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 18/18 ถนนบางนา-ตราด กม.18 ตําบลบางโฉลง อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท 0 2312 6300-79 ตอ 1711-1718 โทรสาร 0 2312 6412 เว็บไซต http://www.hcu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เปนมหาวิทยาลัยเอกชนทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ ผลิตบุคลากร ที่มีคุณภาพที่จะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาสังคม ภายใตเจตนารมณ “เรียนรูเพื่อรับใชสังคม” ทั้งเปนการสานตอแนวความคิดและแนวปฏิบัติของหลวงปูไตฮง ผูกอกําเนิดงานดานบําเพ็ญ สาธารณประโยชน และมูลนิธิปอเต็กตึ๊งในประเทศไทย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ กอตั้งขึ้นโดยมีรากฐานมาจากโรงเรียนผดุงครรภหัวเฉียว ป พ.ศ. 2481 พัฒนาการมาเปนโรงเรียน ผดุงครรภอนามัย ป พ.ศ. 2496 และวิทยาลัยหัวเฉียว ป พ.ศ. 2524 ตามลําดับ เมื่อป พ.ศ. 2535 ในวาระทีม่ ลู นิธปิ อ เต็กตึง๊ ครบรอบ 80 ป และเพือ่ แสดงความจงรักภักดีและสํานึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จึงไดระดมทุนจากชาวไทยเชื้อสายจีนเพื่อกอตั้งเปนมหาวิทยาลัย และไดรับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกลาโปรดกระหมอมพระราชทานนามวา “มหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” และเสด็จพระราชดําเนินมาทรงเปนประธานในพิธีเปดมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2537 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติทําหนาที่ในฐานะสถาบันอุดมศึกษา ผลิตบัณฑิต ออกไปรับใชสังคมและประเทศชาติ โดยยึดกระแสพระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ ทรงดํารัสไวครั้งเสด็จพระราชดําเนินมาทรงเปดมหาวิทยาลัยวา “ขอใหทํามหาวิทยาลัยแหงนี้ ใหด”ี เปนกระแสพระราชดํารัสทีก่ อ ใหเกิดความมุง มัน่ ทีจ่ ะพัฒนามหาวิทยาลัยแหงนีใ้ หบรรลุผลสําเร็จ ตามปณิธานทีต่ งั้ ไว นัน่ คือ “การกระจายโอกาสและสรางความเสมอภาคในระดับอุดมศึกษา สงเสริม วัฒนธรรมอันดีงามตามพืน้ ฐานพระพุทธศาสนา และบูชาคุณธรรม บรรพชน เพือ่ สรางบัณฑิตทีร่ รู อบ รูลึก และมีความชํานาญงาน โดยเนนความเปนเลิศทางวิชาการ เพื่อสรางบัณฑิตผูรูจริง ปฏิบัติงาน ไดจริง ควบคูกับการมีคุณธรรม พรอมที่จะถายทอดวิชา และอุทิศตนเพื่อรับใชสังคมอยางเต็ม ภาคภูมิ” และเพื่อใหบรรลุเปาหมายตามวิสัยทัศนที่วางไว คือ “มุงหวังใหเปนมหาวิทยาลัยปวงชน ที่มีมาตรฐานสากล ทันสมัย มีความพรอมสําหรับการแขงขันและพึ่งตนเองได”
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรขอมหาวิทยาลัย
230 สถาบันอุดมศึกษาไทย
28 39 37 2 9,665 2 298 847
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะเภสัชศาสตร (6 ป) คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (4 ป) คณะการแพทยแผนจีน (6 ป) คณะสาธารณสุขศาสตรและสิ่งแวดลอม (4 ป) คณะพยาบาลศาสตร (4 ป) คณะบริหารธุรกิจ (4 ป) คณะเทคนิคการแพทย (4 ป) คณะศิลปศาสตร (4 ป) คณะกายภาพบําบัด (4 ป) คณะนิเทศศาสตร (4 ป) คณะนิติศาสตร (4 ป) บัณฑิตวิทยาลัย คณะภาษาและวัฒนธรรมจีน (4 ป) คณะสังคมสงเคราะหศาสตรและสวัสดิการสังคม (4 ป)
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง ดูรายละเอียดไดที่ http://admission.hcu.ac.th หรือโทรศัพท 0 2312 6300 ตอ 1711-1718 • รอบโครงการพิเศษตาง ๆ (รับสมัครผานโรงเรียน)
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
182,200 - 796,250 116,000 - 221,100
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 231
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยหาดใหญ 125/502 ถนนพลพิชัย อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท 0 7420 0300 โทรสาร 0 7442 5467 เว็บไซต http://www.hu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยหาดใหญ เปนมหาวิทยาลัยเอกชนแหงแรกของภาคใต ดวยความมุงมัน่ และ มีเจตจํานงอันแนวแนของ อาจารยประณีต ดิษยะศริน เจาของและผูบ ริหารโรงเรียนในเครือหาดใหญ อํานวยวิทย ซึง่ มีประสบการณดา นการจัดการศึกษากวา 40 ป ในอันทีจ่ ะใหมสี ถานศึกษาในระดับสูง เพื่อเปนการขยายโอกาสทางการศึกษาใหถึงระดับปริญญา ซึ่งปจจุบันไมเพียงพอตอความตองการ ของนักเรียนนักศึกษา จึงไดดําเนินการขอจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตอทบวงมหาวิทยาลัย ตั้งแตตนป พ.ศ. 2539 โดยไดเชิญบุคคลสําคัญและนักวิชาการผูทรงคุณวุฒิ มารวมเปนกรรมการ สภามหาวิทยาลัย จนกระทั่งรัฐมนตรีวาการทบวงมหาวิทยาลัยไดอนุญาตใหจัดตั้งมหาวิทยาลัย หาดใหญขึ้นเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2540 ซึ่งถือวาเปนจุดกําเนิดของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เปนแหงแรกในเมืองหาดใหญ จังหวัดสงขลา ตั้งแตป พ.ศ. 2540 จนถึงปจจุบัน มีการเปดสอน ทั้งหมด 8 คณะ ประกอบดวย คณะบริหารธุรกิจ มี 6 สาขาวิชา คณะนิติศาสตร มี 1 สาขาวิชา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มี 2 สาขาวิชา คณะศิลปศาสตร มี 2 สาขาวิชา คณะรัฐศาสตร มี 3 สาขาวิชา คณะนิเทศศาสตร มี 1 สาขาวิชา บัณฑิตวิทยาลัย มี 4 สาขาวิชา และวิทยาลัยนานาชาติ ดิษยะศริน มี 4 สาขาวิชา มหาวิทยาลัยหาดใหญตงั้ อยูใ นทีซ่ งึ่ มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการพรอม มีบรรยากาศ รมรื่นและการคมนาคมสะดวกเหมาะแกการพัฒนาเปนสถาบันการศึกษาระดับสูงเพื่อใหการศึกษา วิจัย สงเสริมศิลปวัฒนธรรม และพัฒนาชุมชนแกนักศึกษา ประชาชนทั่วไปในเขตอําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา และจังหวัดใกลเคียง
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ (ปริญญาตรี) - หลักสูตรปกติ (ปริญญาโท) - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
232 สถาบันอุดมศึกษาไทย
25 29 23 4 2 5,135 355 229 417
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะรัฐศาสตร คณะนิเทศศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยนานาชาติดิษยะศริน
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • รับสมัครเขาศึกษาตอประเภททุนกีฬา ทุนเรียนดี และทุนกิจกรรมเดน สอบถามรายละเอียดไดที่ โทรศัพท 0 7420 0300 หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ เว็บไซต http://www.hu.ac.th/admissiononline
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ป) ระดับปริญญาตรี (หลักสูตร 2 ปตอเนื่อง) ระดับปริญญาโท
170,000 - 296,000 บาท 101,000 - 117,000 บาท 170,000 - 172,000 บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 233
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตหัวหมาก ถนนรามคําแหง ซอย 24 แขวงหัวหมาก เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ถนนบางนา-ตราด กม.26 อําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท 0 2719 1919, 0 2723 2323 โทรสาร 0 2719 1509, 0 2707 0408 เว็บไซต http://www.au.edu
แนะนํา
นับเปนเวลากวา 100 ป ที่มูลนิธิเซนตคาเบรียลแหงประเทศไทยไดริเริ่มดําเนินการจัดตั้ง สถาบันการศึกษาขึ้นในประเทศไทย และดําเนินการสอนโดยมิไดหวังผลกําไรตอบแทน แตมุงมั่น พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนตั้งแตระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอาชีวศึกษา ในป พ.ศ. 2512 มูลนิธิไดขยายการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาที่เนนภาษาอังกฤษเปนสื่อการ เรียนการสอนแหงแรกของประเทศไทยขึ้น โดยใชชื่อวา “Assumption School of Business” (ASB) ตอมาในป พ.ศ. 2515 สถาบันไดรบั การรับรองอยางเปนทางการและใชชอื่ ใหมวา “วิทยาลัยอัสสัมชัญ บริหารธุรกิจ” (Assumption Business Administration College-ABAC) ซึ่งมีภารกิจหลักในการจัดการ เรียนการสอน การคนควาวิจัย การใหบริการทางวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ของชาติอยางตอเนื่อง บัณฑิตของมหาวิทยาลัยไดรับการยอมรับจากสังคมโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2533 ทบวงมหาวิทยาลัยไดอนุมัติใหเปลี่ยนประเภทเปนมหาวิทยาลัย และใชชื่อวา “มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ” (Assumption University-Au) มาจนทุกวันนี้ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเปนหนึง่ ใน 15 สถาบันการศึกษาของมูลนิธิฯ ซึ่งมีปณิธานอันแนวแนที่จะจัดการศึกษาใหบรรลุถึงความเปน เลิศทางวิชาการและพัฒนากิจกรรมทางดานตาง ๆ อยางตอเนือ่ ง เพือ่ ประโยชนตอ สังคมและประเทศ ชาติ อาทิ พัฒนาและขยายหลักสูตรการศึกษาจากเดิมทีม่ เี พียงคณะบริหารธุรกิจคณะเดียว ปจจุบนั มหาวิทยาลัยเปดดําเนินการเรียนการสอนในสาขาวิชาตาง ๆ ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยใชภาษาอังกฤษเปนสื่อในการเรียนการสอน อีกทั้งปรับปรุงระบบการศึกษาให เปนตามมาตรฐานสากล และเปนสังคมนานาชาติ (International Community) ซึ่งมีการผสมผสาน ระหวางความหลากหลายทางเชื้อชาติ ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และประเพณี อันสงผลใหนักศึกษา ไดมีโอกาสสัมผัสและชื่นชมศิลปวัฒนธรรมและอารยธรรมทั้งของตะวันตกและตะวันออก ปจจุบัน มหาวิทยาลัยมีนักศึกษาและคณาจารยทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศมากกวา 80 ประเทศ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรนานาชาติ - หลักสูตรภาษาไทย จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
234 สถาบันอุดมศึกษาไทย
50 88 85 3 17,923 7 1,883 164 1,212
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
Martin de tours School of Management ABAC School of Arts ABAC School of Science and Technology ABAC School of Engineering ABAC School of Nursing Science Albert Laurence School of Communication Arts ABAC School of Law ABAC School of Biotechnology Montfort Del Rosario School of Architecture and Design ABAC School of Music Graduate School of Business Graduate School of Psychology Graduate School of English College for Internet Distance Education Graduate School of Education Graduate School of Science & Technology Graduate School of Engineering Graduate School of Philosophy & Religion Graduate School of Biotechnology
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • วิธีการรับตรง โดยเปดรับสมัครทั้ง 2 วิทยาเขต (หัวหมากและสุวรรณภูมิ) • โครงการร ว มรั บ สมั ค รกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร สามารถติดตอสอบถามขอมูลไดที่ โทรศัพท 0 2719 1919 หรือ 0 2723 2323 หรือ สามารถเขาเยี่ยมชมเว็บไซตไดทาง http://www.admission.au.edu
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
417,835 - 584,385 234,100 - 720,000 351,700 - 1,200,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 235
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 135/8 หมู 3 ตําบลเขาตูม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี 94160 โทรศัพท 0 7341 8613, 0 7341 8614 โทรสาร 0 7341 8615 เว็บไซต http://www.yiu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา เปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอิสลามแหงแรกในประเทศไทย ที่ไดรับการสถาปนาขึ้น โดยนักวิชาการมุสลิมและผูทรงคุณวุฒิดานอิสลามศึกษาในภูมิภาค ซึ่งมี เจตนารมณอันแนวแนในการสงเสริมและพัฒนาดานอิสลามศึกษาและศาสตรแขนงอื่น ๆ ใหเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อตอบสนองความตองการของสังคมและความคาดหวังในการมีสวนรวมใน การแกไขปญหาและพัฒนาภูมภิ าค มหาวิทยาลัยอิสลามยะลาไดรบั อนุญาตจากทบวงมหาวิทยาลัย ใหมีการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชนประเภทวิทยาลัย โดยมีมูลนิธิเพื่อการอุดมศึกษาอิสลาม ภาคใตเปนผูรับอนุญาต และไดจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โดยรับนักศึกษารุนแรก จํานวน 200 คน ใน 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาชะรีอะฮฺ (กฎหมายอิสลาม) และสาขาวิชาอุศูลุดดีน (หลักการศาสนาอิสลาม) ในป พ.ศ. 2541 มหาวิทยาลัยไดรับการสนับสนุนงบประมาณดานอาคารและสิ่งกอสรางจากธนาคาร อิสลามเพื่อการพัฒนา (Islamic Development Bank) และไดรับการสนับสนุนงบประมาณดาน การบริหาร จากองคการสงเคราะหมุสลิมนานาชาติ (Intermational Islamic Relief Organization) ประเทศซาอุดอี าระเบีย นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังไดรบั ความรวมมือจากมหาวิทยาลัยอิมามมูหมั มัด บินซาอูด นครริยาด ประเทศซาอุดีอาระเบีย เปนที่ปรึกษาดานวิชาการและพัฒนาหลักสูตร ทั้ ง นี้ มหาวิ ท ยาลั ย ได กํ า หนดยุ ท ธศาสตร สู ก ารเป น มหาวิ ท ยาลั ย อิ ส ลามนานาชาติ โดย มหาวิ ท ยาลั ย จะเป ด ดํ า เนิ น การสร า งอุ ท ยานแห ง การเรี ย นรู ที่ ส มบู ร ณ แ บบและเพี ย บพร อ ม ด ว ยระบบสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การ สู ก ารเป น มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี คุ ณ ภาพมาตรฐาน ระดับสากลสืบไป ขณะนี้มูลนิธิเพื่อการอุดมศึกษาอิสลามภาคใตไดดําเนินการกอสรางอาคาร ตาง ๆ โดยไดรับการสนับสนุนจากพระมหากษัตริยแหงประเทศกาตาร โดยการประสานงาน จากกระทรวงศาสนสมบั ติ แ ละกิ จ การอิ ส ลามแห ง ประเทศกาตาร กระทรวงศาสนสมบั ติ แ ละ กิจการอิสลามแหงประเทศคูเวต องคการฟนฟูมรดกอิสลามแหงประเทศคูเวต มูลนิธิอัลฮะรอมัยน จากประเทศซาอุดอี าระเบีย และองคการสงเคราะหเพือ่ การกุศล ประเทศสาธารณรัฐอาหรับเอมิเรตส ดวยศักยภาพและความพรอมในการพัฒนาอยางตอเนื่อง มหาวิทยาลัยอิสลามยะลาได รับการอนุญาตใหเปลีย่ นชือ่ และประเภทเปนมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ตามใบอนุญาตเลขที่ 5/2550 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2550 และในวันที่ 27 มิถุนายน 2550 รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ ไดใหเกียรติในพิธีมอบใบอนุญาต และเปดปายมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา พรอมกันนี้ไดจัดพิธีมอบ ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด ฯพณฯ ศ. ดร.อับดุลลอฮฺ บิน อัลมุหฺซิน อัตตุรกี เลขาธิการสันนิบาตโลกมุสลิม
236 สถาบันอุดมศึกษาไทย
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
15 17 12 5 2,597 465 129 362
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะอิสลามศึกษา คณะศิลปศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันภาษานานาชาติ สถาบันอัสสลาม โครงการจัดตั้งวิทยาลัยภาษาอาหรับ ชีคกอซิม บิน มุหัมมัด อาลษานีย โครงการจัดตั้งศูนยประสานงานมหาวิทยาลัย (ประจํากรุงเทพมหานคร) มูลนิธิเพื่อการอุดมศึกษาอิสลามภาคใต
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง • โควตา สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมที่ 135/8 หมู 3 ตําบลเขาตูม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี 94160 โทรศัพท 0 7341 1610 ตอ 145 โทรสาร 0 7341 8615-6 หรือดูรายละเอียดเพิม่ เติมที่ http://www.yiu.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
120,000 - 136,000 40,460
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 237
มหาวิทยาลัยเอกชน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
มหาวิทยาลัยอีสเทิรนเอเชีย 200 ถนนรังสิต-นครนายก (คลอง 5) ตําบลรังสิต อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท 0 2577 1028 โทรสาร 0 2577 1023 เว็บไซต http://www.eau.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยอีสเทิรนเอเชีย กอตั้งโดย คุณชวน-คุณมานี ชวนิชย ไดรับอนุญาตจัดตั้ง ให เ ป น มหาวิ ท ยาลั ย จากทบวงมหาวิ ท ยาลั ย ตามพระราชบั ญ ญั ติ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชน พ.ศ. 2522 ปรับปรุงแกไข พ.ศ. 2535 เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2539 และไดรับอนุญาตใหเปดดําเนิน การสอนในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2540 ปจจุบันมีหลักสูตร ระดับปริญญาตรี 23 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 7 หลักสูตร และระดับปริญญาเอก 3 หลักสูตร สีของมหาวิทยาลัย คือ นํ้าเงิน-ขาว โดยสีนํ้าเงิน หมายถึง ความมีปญญา สีขาว หมายถึง ความสงางาม ดังนั้น สีนํ้าเงิน-ขาว จึงสื่อความหมายถึง ความสงางามของผูถึงพรอมดวยปญญา ตนไมสญ ั ลักษณของมหาวิทยาลัย คือ ตนสุพรรณิการ มีชอื่ วิทยาศาสตรวา Cochlospermum Rcquim (Mart & Schranmk) Pilq. วงศ Chchlos permanence ภาคเหนือ เรียกวา ฝายคํา ตนสุพรรณิการ เปนไมทเี่ ลีย้ งงาย โตไว อันเปนความคาดหมายเชิงสัญลักษณทมี่ หาวิทยาลัยหวังเห็นนักศึกษาเติบโต ดวยสติปญญา และวุฒิภาวะอยางรวดเร็วและมั่นคง มีคุณคาดุจดังดอกและตนสุพรรณิการ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
238 สถาบันอุดมศึกษาไทย
27 33 33 3,464 5 270 132 511
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะการบิน คณะสาธารณสุขศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร คณะรัฐประศาสนศาสตร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเภสัชศาสตร หลักสูตรบริหารธุรกิจ (ภาษาอังกฤษ)
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง ติดตอศูนยแนะแนวและรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี โทรศัพท 0 2577 1028 ตอ 333 • ทุนวิชาการ EAU ติดตอศูนยแนะแนวและรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี โทรศัพท 0 2577 1028 ตอ 333
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
195,700 - 600,000 152,000 - 235,000 450,000 - 600,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 239
มหาวิทยาลัยเอกชน
การรับสมัครเขาศึกษา
มหาวิทยาลัยอีสาน 311/1 ถนนมัญจาคีรี-ขอนแกน ตําบลบานทุม อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000 โทรศัพท 0 4325 5461 โทรสาร 0 4338 2598 เว็บไซต http://www.esu.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยอีสาน เดิมคือวิทยาลัยบัณฑิตบริหารธุรกิจ เกิดขึ้นจากความตั้งใจและ ปณิธานอันแนวแนของ พ.ต. ดร.อุดร แสวงการ ที่ปรึกษา และ ดร.จรรยา แสวงการ ผูรับใบอนุญาต ในการที่ จ ะพั ฒ นาการศึ ก ษาและมุ ง มั่ น ที่ จ ะเพิ่ ม พู น ศั ก ยภาพของเยาวชนทางด า นการศึ ก ษา ไดรับอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยในขณะนั้นใหเปดดําเนินการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2545 โดยเปดสอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ป และหลักสูตร 2 ป ตอเนื่อง ใน 4 คณะ 5 หลักสูตร ตอมาวิทยาลัยบัณฑิตบริหารธุรกิจรับอนุญาตใหเปลี่ยนประเภท สถาบัน จากวิทยาลัยบัณฑิตบริหารธุรกิจ เปนมหาวิทยาลัยอีสาน ตั้งแตวันที่ 9 กันยายน 2552 ซึ่ง มหาวิทยาลัยอีสานมุงมัน่ ทีจ่ ะสรางคุณภาพทางการศึกษาใหเปนทีย่ อมรับของสาธารณชน ใหสมกับ คําปณิธานของมหาวิทยาลัยที่วา “ผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถ มีคุณธรรม และจริยธรรม เพื่อสรางความเปนเลิศทางวิชาการ สืบสานวัฒนธรรม นําภูมิปญญาทองถิ่น” ในปการศึกษา 2553 มหาวิทยาลัยอีสานไดเปดดําเนินการหลักสูตรระดับปริญญาตรี 8 หลักสูตร 10 สาขาวิชา ระดับ ปริญญาโท 4 หลักสูตร 5 สาขาวิชา และระดับปริญญาเอก 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรศึกษาศาสตร ดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต
ขอมูลสถิติทั่วไป (ขอมูล ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรระดับปริญญาตรี จํานวนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
240 สถาบันอุดมศึกษาไทย
19 8 3 3,483 2,799 918 267
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
121,400 - 129,500 99,000 - 107,000 356,700 - 421,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 241
มหาวิทยาลัยเอกชน
• รับสมัครดวยตนเองที่มหาวิทยาลัย อีส าน ที่อ ยู 311/1 ถนนมัญ จาคีรี- ขอนแก น ตําบลบานทุม อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน หรือสอบถามรายละเอียดไดที่ โทรศัพท 0 4325 5461 ตอ 103 โทรสาร 0 4338 2598 • รับสมัครผานเว็บไซตของมหาวิทยาลัยอีสาน http://www.esu.ac.th • โดยวิธีรับตรง รับสมัครผานเครือขายของมหาวิทยาลัยขอนแกน
มหาวิทยาลัยเอเชียน 89 หมู 12 ถนนทางหลวง 331 ตําบลหวยใหญ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20260 โทรศัพท 0 2253 4771, 0 3825 3700 โทรสาร 0 2651 4106, 0 3825 3749 เว็บไซต http://www.asianust.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเอเชียน (Asian University) เปนมหาวิทยาลัยนานาชาติเต็มรูปแบบ ซึง่ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินมาทรงวางศิลาฤกษ และเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2542 ทรงเปดมหาวิทยาลัยอยางเปนทางการ มหาวิทยาลัยแหงนี้ไดรับความรวมมือ จากมหาวิทยาลัย Imperial College, London ประเทศอังกฤษ ในดานการพัฒนาหลักสูตร การสรรหา และพัฒนาอาจารย และการควบคุมคุณภาพการศึกษา เริ่มเปดสอนตั้งแตเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2541 ใชภาษาอังกฤษเปนสือ่ การสอนทัง้ ในและนอกหองเรียน ขณะนีเ้ ปดสอน 3 คณะ ในระดับปริญญาตรี คือ คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยี (B.Eng.) คณะบริหารธุรกิจ (BBA) และคณะศิลปศาสตร (BA) และระดับปริญญาโทในสาขาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจั ด การ (M.Sc.) และศึ ก ษาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต (M.Ed.) ศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต การออกแบบปฏิสัมพันธ (MA) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี (M.Sc.) และระดับ ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังเปดหลักสูตร พิเศษ ไดแก หลักสูตรเตรียมความพรอมกอนเขามหาวิทยาลัย (Foundation Year) หลักสูตร การเตรียมความพรอมกอนเขาเรียนปริญญาโท (Graduate Programme Foundation) หลักสูตร เตรียมความพรอมภาษาอังกฤษ (English Immersion Programme) และหลักสูตรอบรมภาษาอังกฤษ ภาคฤดูรอน (English Summer Camp) ขณะนี้ เดอะ คอลเลจ (The College) แหงมหาวิทยาลัยเอเชียน ไดเปดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.4 ม.5 และ ม.6 โครงการการศึกษานานาชาติ เปนโครงการรวมมือทางวิชาการ ระหวางโครงการการศึกษานานาชาติ (IP) โรงเรียนสาธิตแหง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และ เดอะ คอลเลจ แหงมหาวิทยาลัยเอเชียน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ กันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
242 สถาบันอุดมศึกษาไทย
3 19 19 247 37 87
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร คณะบริหารธุรกิจ
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง สามารถติดตอโดยตรงที่ โทรศัพท 0 2253 4771 และ 0 3825 3700 ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
1,200,000 342,000 - 399,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 243
มหาวิทยาลัยเอกชน
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย 19/1 ถนนเพชรเกษม แขวงหนองคางพลู เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 10160 โทรศัพท 0 2807 4500-27 โทรสาร 0 2807 4528-30 เว็บไซต http://www.sau.ac.th
แนะนํา
มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย เปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาเอกชนสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา เดิมชื่อวา "วิทยาลัยเอเชียอาคเนย" ไดรับอนุญาตใหจัดตั้งขึ้น ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยเอกชน พ.ศ. 2512 เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2516 และเปดสอน คณะวิชาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมเปนคณะแรก ตอมาไดรบั อนุญาตใหเปลีย่ นประเภทเปนมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2535 เปนมหาวิทยาลัยที่มุงผลิตบัณฑิตใหมีความรูและคุณธรรม สามารถ สรางองคความรูแ ละประยุกตเทคโนโลยีทงั้ ระดับสากลและทองถิน่ ดวยกระบวนการวิจยั ชีน้ าํ สังคมดวย การใหบริการวิชาการ และวิชาชีพแกชมุ ชน ตลอดจนทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรมใหยงั่ ยืน โดยไดกาํ หนด วัตถุประสงคภายใตพนั ธกิจหลัก 4 ดาน คือ เพือ่ ผลิตบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ภาพทัง้ ดานวิชาการ และวิชาชีพ ตองเพียบพรอมดวยคุณธรรมที่เหมาะสม สอดคลองตอความตองการทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการพัฒนาประเทศ เพื่อสรางสรรคองคความรูหรือนวัตกรรมที่เปนประโยชนตอการพัฒนา มหาวิทยาลัย สังคม และประเทศชาติดวยกระบวนการวิจัย เพื่อทํานุบํารุงและจรรโลงไวซึ่งศิลป วัฒนธรรม และสรางความรวมมือในการเผยแพรองคความรูดานศิลปวัฒนธรรมกับหนวยงาน ตาง ๆ เพือ่ ใหบริการและประสานความรวมมือทางวิชาการและวิชาชีพดานตาง ๆ แกสงั คมและชุมชน ปจจุบนั มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย มีการเปดสอนในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท 4 คณะ ไดแก คณะวิศวกรรมศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร และคณะนิติศาสตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของมหาวิทยาลัย
244 สถาบันอุดมศึกษาไทย
4 10 10 6,689 210 444
หนวย หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร คณะนิติศาสตร
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
66,000 - 215,300 105,300 - 111,900
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 245
มหาวิทยาลัยเอกชน
• รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง ณ ศูนยรับสมัครภายในมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย หมายเลขติดตอ โทรศัพท : 0 2807 4500-27 ตอ 190, 192 โทรสาร : 0 2807 4528 เว็บไซต http://www.sau.ac.th/main/apply/51/main.htm http://depart.sau.ac.th/Admission/ http://moreasia.hi5.com
สถาบันกันตนา 999 หมู 2 ถนนศาลายา-บางภาษี ตําบลคลองโยง อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท 0 3424 0361-4 โทรสาร 0 3424 0365 เว็บไซต http://www.kantanainstitute.ac.th
แนะนํา
สถาบันกันตนา เปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนดานศิลปะการผลิตสือ่ บันเทิง บริษทั กันตนา เอ็ดดูเทนเมนท (อินเตอรเนชัน่ แนล) จํากัด ซึง่ เปนบริษทั ในเครือของ บริษทั กันตนา กรุป จํากัด (มหาชน) เปนผูขออนุญาตจัดตั้ง ไดรับใบอนุญาตจัดตั้งเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2553 โดยมีปรัชญาเพื่อมุง จัดการศึกษาเฉพาะทางดานการผลิตสื่อบันเทิง โดยเนนทักษะการปฏิบัติบนรากฐานของทฤษฎีและ หลักการ และเนนการสรางความบันเทิงบนสาระทีส่ ะทอนแนวคิด คานิยมทีถ่ กู ตองและความเปนไทย สถาบันกันตนายังมีปณิธานมุงที่จะสงเสริมและพัฒนานักศึกษาใหมีความเปนเลิศในการปฏิบัติ งานในลักษณะมืออาชีพ มีความรูความสามารถทั้งในเชิงวิชาการ ความคิดริเริ่มสรางสรรค และใน ดานเทคโนโลยี โดยอยูบนพื้นฐานเชิงวิชาการที่ถูกตอง พรอมทั้งยึดมั่นในจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ ดานสื่อมวลชน สรางผลงานโดยคํานึงถึงความรับผิดชอบตอสังคม ขวนขวายใฝรูเพื่อใหทันตอองค ความรูและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา และนํามาพัฒนาคุณภาพผลงานอยางตอเนื่อง ทั้งนี้สถาบันมีวัตถุประสงคหลักคือ ผลิตบัณฑิตที่มีความพรอมดานวิชาการและวิชาชีพขั้นสูง สอดคลองกับความตองการของภาคอุตสาหกรรมการสรางสรรคสื่อ ทั้งในระดับประเทศและระดับ นานาชาติ พรอมทัง้ คนควา วิจยั และพัฒนาองคความรูใ หมซงึ่ สามารถนําไปใชในการพัฒนาบุคลากร และงานผลิต ตลอดจนใหบริการทางวิชาการแกหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน และชุมชนตาง ๆ และปลูกฝงใหบัณฑิตมีแนวคิด และคานิยมในการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมของชาติ และสงเสริมให มีการสืบทอดตอไป
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนบุคลากรของสถาบัน
246 สถาบันอุดมศึกษาไทย
1 1 1 30 10
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะศิลปกรรมการผลิตสื่อ
การรับสมัครเขาศึกษา
ุ ภาพของนักศึกษามากกวาปริมาณ เปาหมายการรับนักศึกษา • รับตรง (โดยมุง เนนทีค่ ณ จึงเนนไปยังกลุมที่ตองการศึกษาดานภาพยนตรและแอนิเมชันโดยเฉพาะ (Niche Market)) สอบถามรายละเอียดที่ หมายเลขโทรศัพท 0 3424 0361-4 หรือ 08 2334 0990 หรือที่ เว็บไซต http://www.kantanainstitute.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี 1,140,000 (เหมาจายภาคการศึกษาละ 142,500 บาท รวม 8 ภาคการศึกษา)
บาท
หมายเหตุ : กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
สถาบันเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 247
สถาบันการเรียนรูเพื่อปวงชน 13/2 หมู 1 ตําบลบางคนที อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม 75120 โทรศัพท 0 2281 8810 (ชั่วคราว) โทรสาร 0 2281 8810 (ชั่วคราว) เว็บไซต www.lifethailand.net (ชั่วคราว)
แนะนํา
กอนจะมาเปน “สถาบันการเรียนรูเ พือ่ ปวงชน” มูลนิธสิ ถาบันสงเสริมวิสาหกิจชุมชน (สสวช.) ไดพัฒนาหลักสูตร “สหวิทยาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่น” ภายใตชื่อ “โครงการมหาวิทยาลัยชีวิต” และไดเปดดําเนินการเรียนการสอนโดยรวมมือกับสถาบันอุดมศึกษาตาง ๆ เชน มหาวิทยาลัย รามคําแหงและมหาวิทยาลัยราชภัฏหลายแหง ที่มาของหลักสูตรนี้เปนผลที่ไดจากการสะสม ประสบการณการทํางานกับชุมชน ซึ่งพบวายังมีบุคคลและชุมชนเปนจํานวนมากที่สามารถแกไข ปญหาของตนเองได โครงการมหาวิทยาลัยชีวติ ไดนาํ ประสบการณดี ๆ เหลานีม้ าวิเคราะห สังเคราะห พัฒนาเปนหลักสูตรสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่น หลักสูตรการจัดการสุขภาพชุมชน หลักสูตร การจัดการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อชุมชน และในอนาคตจะมีหลักสูตรอื่น ๆ ซึ่งเนนการ จัดการอุดมศึกษาเพื่อชุมชน โดยมีผูใหญในชุมชนเปนเปาหมายหลัก แตไมปฏิเสธเยาวชนที่เพิ่งจบ มัธยมศึกษาตอนปลาย การศึกษาในโครงการมหาวิทยาลัยชีวิตเปนการบูรณาการการศึกษากับการ พัฒนาใหเปนเนื้อเดียวกัน มีเปาหมายใหผูเรียนสามารถอยูอยางมีศักดิ์ศรี และมีกินในทองถิ่นของ ตนเองได เรียนแลวชวยตัวเองได ชวยคนอื่นได ดวยความเชื่อมั่นวา ชุมชนเรียนรู ชุมชนเขมแข็ง สามารถแกไขปญหาหนี้สิน ความยากจน สิ่งแวดลอม สุขภาพ สรางภูมิคุมกันและความมั่นคงให กับตนเองไดมากยิ่งขึ้น
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของสถาบัน
248 สถาบันอุดมศึกษาไทย
1 3 3 150 40 40
แหง หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน คณะศิลปศาสตร
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง ดูรายละเอียดที่ http://www.life.ac.th หรือ http://www.lifethailand.net
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
54,000 90,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
สถาบันเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 249
สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน 1771/1 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท 0 2763 2600 โทรสาร 0 2763 2700 เว็บไซต http://www.tni.ac.th
แนะนํา
สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน กอตั้งโดยสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) หรือ ส.ส.ท. ซึ่งเปนองคกรที่ทําหนาที่เผยแพรและถายทอดความรูและเทคโนโลยีสมัยใหมใหแกบุคลากรไทย เพื่อ สรางความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศไทยมานานกวา 37 ป ตลอด ระยะเวลาที่ผานมา ส.ส.ท. ไดขยายการดําเนินงานอยางตอเนื่องและสรางชื่อเสียงในหลายดาน อาทิ การจัดอบรมสัมมนาดานเทคโนโลยีและการจัดการ การจัดสอนภาษาตางประเทศ การใหบริการสอบ เทียบเครื่องมือวัดทางอุตสาหกรรมและวิเคราะหสิ่งแวดลอม การจัดพิมพหนังสือและวารสารดาน เทคโนโลยีและการจัดการใหม ๆ รวมทั้งการใหคําปรึกษาแกสถานประกอบการในภาคอุตสาหกรรม จากประสบการณและความเชี่ยวชาญในดานการฝกอบรมวิชาการสาขาตาง ๆ ใหกับสถานประกอบ การในภาคอุตสาหกรรม ประกอบกับการเปนศูนยรวมผูเชี่ยวชาญหลากหลายสาขา จึงทําให ส.ส.ท. มีดําริที่จะจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาที่สรางบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในเทคโนโลยีเฉพาะทางขึ้น โดย ตอบสนองตอความตองการของสถานประกอบการในภาคอุตสาหกรรมของไทย และในป พ.ศ. 2548 ส.ส.ท. จึงไดดําเนินโครงการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาขึ้นในนาม “สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน” โดยใช คํายอวา ส.ท.ญ. หรือในชื่อภาษาอังกฤษวา “Thai-Nichi lnstitute of Technology” โดยใชคํายอวา TNI
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรปกติทั้งหมด จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของสถาบัน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร สํานักวิชาพื้นฐานและภาษา
250 สถาบันอุดมศึกษาไทย
13 10 2,338 276 185
หนวยงาน หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
196,750 - 253,450 161,250 - 165,250
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
สถาบันอุดมศึกษาไทย 251
สถาบันเอกชน
• ระดับปริญญาตรี - รับสมัครผานระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 - โควตาโรบอท - โควตาโรงเรียน - โควตาอาชีวะ - โควตาเพาะกลาคายซากุระไทย - ระบบตรงและชิงทุนการศึกษา - พิจารณาคะแนน GAT-PAT - เทียบโอนหนวยกิต (ภาคปกติ) - เทียบโอนหนวยกิต (ภาคพิเศษ) - แอดมิชชั่นตรง • ระดับปริญญาโท - ปริญญาโท (ภาคพิเศษ) สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 2763 2600 หรือที่ http://www.tni.ac.th
สถาบันเทคโนโลยีปญญาภิวัฒน 85/1 หมู 2 ถนนแจงวัฒนะ ตําบลตลาด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท 0 2832 0200-12 และ 0 2648 2979 โทรสาร 0 2832 2191 เว็บไซต http://www.pit.ac.th
แนะนํา
สถาบันเทคโนโลยีปญญาภิวัฒน เปนสถาบันอุดมศึกษาที่ไดรับการสนับสนุนทุนในการ จัดตั้งจากบริษัท ศึกษาภิวัฒน จํากัด และในขณะนั้นไดรับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ โดย คําแนะนําของคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อใหดําเนินการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา ตาม ใบอนุญาตใหจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่ 4/2550 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2550 และไดรับการ รับรองวิทยฐานะในการจัดการศึกษาตามเกณฑมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ กําหนดเพื่อใหปริญญา ตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2550 ภายใตปรัชญา “การศึกษาคือบอเกิดแหง ภูมิปญญา” (Education is the Matrix of Intellect) สถาบันเทคโนโลยีปญญาภิวัฒน เปนสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางที่เนนการศึกษาและ วิจัยทางดานธุรกิจคาปลีก เพื่อสรางบัณฑิตที่มีคุณภาพในเชิงวิชาการและสามารถปฏิบัติงานไดจริง สถาบันฯ จึงจัดการเรียนการสอนในลักษณะการเรียนรูบนพื้นฐานของการทํางาน (work based learning) ดังนั้น นักศึกษาระดับปริญญาตรีทุกคน จึงตองฝกเตรียมเขาทํางานควบคูกับการเรียนใน ทุกภาคการศึกษา โดยไดรับคาตอบแทนตลอดระยะเวลาที่ศึกษาตามหลักสูตรบัณฑิตที่จบจาก สถาบันฯ มีโอกาสเขาทํางานกับสถานประกอบการในกลุมบริษัท ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) และ สถานประกอบการอื่นที่เกี่ยวของกับธุรกิจคาปลีก
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของสถาบัน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร
252 สถาบันอุดมศึกษาไทย
3 10 10 2,153 198 160
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง • ทุนการศึกษา ดูรายละเอียดไดที่ http://www.pit.ac.th หรือ โทรศัพท 0 2832 0216-7, 0 2832 0200
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
227,600 - 237,000 227,000 - 302,400
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
สถาบันเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 253
สถาบันเทคโนโลยีแหงอโยธยา 109 หมู 5 (สี่แยกทุงมะขามหยอง) ตําบลวัดตูม อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 โทรศัพท 0 3571 3563-4, 0 3571 3556-9 โทรสาร 0 3571 3560 เว็บไซต http://www.ayothaya.ac.th
แนะนํา
สถาบันเทคโนโลยีแหงอโยธยา จัดตัง้ และพัฒนาสถาบันแหงนีเ้ พือ่ เปนแหลงผลิตบัณฑิตที่ มีความรูค วามสามารถในการประยุกตใชองคความรูท างดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การบริหาร จัดการและศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของในการพัฒนาตนเอง พัฒนาสังคมและพัฒนาประเทศ การใชชื่อ “อโยธยา” ซึง่ เปนราชธานีเดิมกอนจะมีกรุงศรีอยุธยาราชธานีตามประวัตศิ าสตรชาติไทย เพือ่ เปนการ ระลึกถึงบรรพชนและความยิ่งใหญของดินแดนเกาแกใหประจักษแกสังคมโลกสืบไปชั่วกาลนาน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการไดออกใบอนุญาตที่ 2/2550 ลงวันที่ 16 มกราคม 2550 จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชนชื่อสถาบันเทคโนโลยีแหงอโยธยา มีนางเพียงใจ คุปตะวานิช เปนผูร บั ใบอนุญาต และ ดร.มัฆวาฬ สุวรรณเรือง ดํารงตําแหนงอธิการบดี ดําเนินการเปดการเรียนการสอนในภาคเรียนแรก เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของสถาบัน
254 สถาบันอุดมศึกษาไทย
20 15 15 2,101 238 190
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะรัฐประศาสนศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะนิติศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร คณะการทองเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ คณะศิลปกรรมศาสตร ศูนยการศึกษานอกทีต่ งั้ ศูนยฯ จังหวัดพะเยา ศูนยฯ จังหวัดปราจีนบุรี ศูนยฯ จังหวัดรอยเอ็ด ศูนยฯ จังหวัดลพบุรี ศูนยฯ เมืองทองธานี โครงการจัดการศึกษาเปนบางสวนนอกสถานที่ตั้ง : ศูนยฯ จังหวัดนครนายก และศูนยฯ นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
135,000 – 165,000 100,000 – 120,000 390,000
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 255
สถาบันเอกชน
• โครงการนักกีฬา • รับนักเรียน จบ ม.6 หรือเทียบเทา โทรศัพท 0 3571 3556-9 และ 0 3571 3563-4 โทรสาร 0 3571 3560 หรือเว็บไซต http://www.ayothaya.ac.th
สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ 54 หมู 4 ถนนวิภาวดี-รังสิต หลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท 0 2554 1900 ตอ 2144, 2154 โทรสาร 0 2554 1992 เว็บไซต http://www.cgi.ac.th
แนะนํา
ศาสตราจารย ดร. สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี องคประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ ทรงใหความสําคัญแกการพัฒนาบุคลากรดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีอยางตอเนื่องเปนเวลากวา 20 ป นับตั้งแตกอตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ เพือ่ เปนการเฉลิมพระเกียรติและสนองพระปณิธานในการพัฒนาบุคลากรของชาติ จึงไดมี การจัดตั้งสถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณขึ้น ในโอกาสที่ทรงเจริญพระชันษา 4 รอบ ในป พ.ศ. 2548 โดยเปดการเรียนการสอนระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท และปริญญาเอก ใน 3 สาขาวิชา คือ สาขาพิษวิทยาสิง่ แวดลอม สาขาวิทยาศาสตรชวี ภาพประยุกต และสาขาเคมีชวี ภาพ ซึง่ เปนสาขา ที่ขาดแคลน และจําเปนตอการพัฒนาประเทศ สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณจัดการเรียนการสอนในแนวทางใหม โดยบูรณาการองค ความรูในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกันเพื่อใหนักเรียนไดเห็นภาพรวม ฝกใหรูจักคิด วิเคราะห สังเคราะห ขอมูล และสรางความเขาใจบนฐานความรู ตลอดจนสามารถศึกษาคนควาดวยตนเอง โดยใชการ วิจัยนํา สามารถถายทอดความรูออกมาเปนรูปธรรม และอาจนําผลงานวิจัยไปเชื่อมโยงกับภาค การผลิต (Translational Research) ใหเกิดประโยชนในเชิงธุรกิจหรือการพัฒนาประเทศ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของสถาบัน
256 สถาบันอุดมศึกษาไทย
7 8 8 1 63 33 38
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
สาขาวิชาพิษวิทยาสิ่งแวดลอม (Environmental Toxicology) สาขาวิทยาศาสตรชีวภาพประยุกต (Applied Biological Sciences: Environmental Health) สาขาวิชาเคมีชีวภาพ (Chemical Biology) สํานักวิชาการ สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ สํานักบริหาร สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ ศูนยการเรียนรู สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ ศูนยวิจัยและพัฒนา สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ
การรับสมัครเขาศึกษา
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
507,000 775,100
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 257
สถาบันเอกชน
• รับตรง - สมัครไดดวยตนเอง ณ สํานักวิชาการ ชั้น M อาคารสถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ เวลา 09.00 - 17.00 น. (เวนวันหยุดราชการ) โดยไมเสียคาใชจายใด ๆ ทั้งสิ้น - สมัครทางไปรษณีย สงใบสมัครพรอมเอกสารหลักฐานการสมัคร มาที่ “สํานัก วิชาการสถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ เลขที่ 54 หมู 4 ถนนวิภาวดีรงั สิต เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210” (วงเล็บมุมซอง “สมัครเขาศึกษา”) - สมัครทางอีเมล กรอกใบสมัคร และแนบไฟลเอกสารหลักฐานการสมัคร สงมาที่ cgi_academic@cgi.ac.th ทั้งนี้ สามารถดูรายละเอียดหลักสูตร และดาวนโหลดใบสมัครพรอมเอกสารอื่น ๆ ไดที่ http://www.cgi.ac.th หรือติดตอสอบถาม โทรศัพท 0 2554 1900 ตอ 2144, 2154
สถาบันรัชตภาคย 68 ซอยนวศรี 10 ถนนรามคําแหง 21 แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท 0 2319 8201-3 โทรสาร 0 2319 6710 เว็บไซต http://www.rajapark.ac.th
แนะนํา
สถาบันรัชตภาคยไดรับอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยใหจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2536 โดยมี ดร.ราชวิกรม อาทิตย เจริญรัชตภาคย เปนอธิการบดี ปจจุบันทําการเปดสอนทั้งระดับ ปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา โดยในระดับปริญญาตรีเปดสอน 5 คณะ คือ คณะบริหารธุรกิจ คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะรัฐประศาสนศาสตร และคณะเทคโนโลยี ในระดับ ปริญญาโท เปดสอน 3 หลักสูตร คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต และหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สถาบันฯ มีปณิธานอันแนวแนในการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพและสรางบัณฑิต ที่เพียบพรอมทั้งดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม อนึ่ง สถาบันฯ มีโครงการขยายการศึกษาในระดับ มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตอีกหลายสาขาวิชา เพื่อตอบสนองความตองการ ยกระดับคุณภาพ ประชากรและเปนประโยชนตอการพัฒนาสังคมและประเทศชาติโดยรวมในอนาคต
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท
258 สถาบันอุดมศึกษาไทย
10 12 10 2 3,410 1,398 653
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะวิศวกรรมศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะรัฐประศาสนศาสตร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะบัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง • ประเภททุน (กีฬาและนาฏศิลป) ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.rajapark.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
182,310 - 261,950 100,000 - 169,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
สถาบันเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 259
สถาบันอาศรมศิลป 399 ซอยอนามัยงามเจริญ 25 ถนนพระราม 2 แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร 10150 โทรศัพท 0 2867 0903-4 โทรสาร 0 2867 0903-4 ตอ 129 เว็บไซต http://www.arsomsilp.ac.th
แนะนํา
สถาบันอาศรมศิลป ไดรับอนุญาตใหจัดตั้งเปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เมื่อ 17 ตุลาคม 2549 เปนประเภทสถาบันใชชื่อวา สถาบันอาศรมศิลป โดยไดรับการรับรองวิทยฐานะเพื่อสอนและ ใหปริญญาชั้นปริญญาโทตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2550 ใน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาแบบองครวม หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา สถาปตยกรรมเพื่อชุมชนและสิ่งแวดลอม ในป ก ารศึ ก ษา 2551 ได รั บ อนุ ญ าตและได รั บ รองวิ ท ยฐานะให เ ป ด สอนหลั ก สู ต ร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูอีก 1 หลักสูตร ตามประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาและ ประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพื่อการประกอบวิชาชีพ ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2552
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนบุคลากรของสถาบัน
260 สถาบันอุดมศึกษาไทย
6 3 3 78 48 30
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาแบบองครวม หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรมเพือ่ ชุมชนและสิง่ แวดลอม หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู สํานักงานสถาปนิกชุมชนและสิ่งแวดลอม ชุมชนบานชาง และบานสื่อสารการละคร ศูนยสุขภาพวิถีไทย อาศรมครูรุงอรุณ สํานักภูมิศาสตร
การรับสมัครเขาศึกษา
สอบถามขอมูลไดที่โทรศัพท 0 2867 0983-4 หรือที่ http://www.arsomsilp.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร
ระดับปริญญาโท ศษ.ม. ระดับปริญญาโท สก.ม. ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูตลอดหลักสูตร
176,000 350,000 50,000
บาท บาท บาท
สถาบันเอกชน
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 261
วิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ 489 ถนนประชาพัฒนา แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 โทรศัพท 0 2172 9623-26 โทรสาร 0 2172 9620 เว็บไซต http://www.bsc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมเิ ปนสถาบันอุดมศึกษาทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ ตอบสนองความตองการ ของสังคม ในดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยทมี่ คี ณ ุ ธรรม คุณภาพ และทัศนคติทดี่ ตี อ ธรรมชาติและ เพื่อนมนุษย โดยเฉพาะอยางยิ่งสังคมไทยและประเทศไทย วิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ มุงมั่นที่จะ สรางความเปนเลิศทางความคิด (ปญญาและความดี) ทางวิชาการ (ความรู สูอาชีพ) และการดํารง ชีวติ (การปฏิบตั สิ คู วามสุข) ควบคูกนั ไปทัง้ สามดาน เพือ่ ใหผสู าํ เร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษา แหงนี้ เปนมนุษยทสี่ มบูรณดว ยคุณภาพแหงชีวติ นอกจากนีย้ งั ตระหนักถึงความสําคัญของการใหการ ศึกษาในระดับอุดมศึกษา และพรอมที่จะมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศชาติ จึงจัดตั้งวิทยาลัย กรุงเทพสุวรรณภูมิเปดสอนในระดับอุดมศึกษาแหงใหมขึ้นในเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
262 สถาบันอุดมศึกษาไทย
3 3 3 1,242 67 12 59
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะบัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.bsc.ac.th หรือสอบถามขอมูลไดที่ โทรศัพท 0 2172 9623-26
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
7,200 - 21,550 120,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 263
วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา 99 หมู 6 ถนนศรีสะเกษ-อุบล ตําบลโพธิ์ อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 33000 โทรศัพท 0 4561 7971 โทรสาร 0 4561 7971 เว็บไซต http://www.ckc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยเฉลิมกาญจนาเปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เริ่มกอตั้งเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2547 โดยมี ศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน เปนนายกสภาวิทยาลัย และผูบริหารหลักสูตร ดร.สุชีราภรณ ธุวานนท เปนผูรับใบอนุญาต และอธิการบดี มีวัตถุประสงคในการจัดการศึกษาเพื่อ มุงใหความรูความชํานาญแกผูศึกษา เนนการปฏิบัติภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาในดานการเรียน การสอน การวิจัย การใหบริการทางวิชาการทางสังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมอันดีงาม ของชาติ โดยมุงใหความรูทางวิชาการและฝกฝนความชํานาญในการปฏิบัติแกผูศึกษา เพื่อพรอม ทีจ่ ะพัฒนาตนเองเขาสูก ารประกอบอาชีพ และรูจ กั ใชวจิ ารณญาณในการวิเคราะห สามารถนําวิธกี าร มาประยุกตใหสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม และมุงปลูกฝง สงเสริมคุณธรรม วัฒนธรรม ความมีระเบียบวินัย และความรับผิดชอบทั้งตอตนเองและสังคม รวมทั้งเปนศูนยบริการการศึกษา แกสังคม เพื่อสรางความเสมอภาคและโอกาสในการศึกษา การคนควาวิจัย เพื่อพัฒนาตนเองและ สังคมอันเปนสวนรวม ตลอดจนเปนสถาบันการศึกษาเพือ่ คนควาวิจยั ความกาวหนาทางวิชาการ และ เทคโนโลยี โดยประสานสัมพันธกับสถาบันตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะนิติศาสตร คณะบริหารศาสตร คณะรัฐศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร บัณฑิตศึกษา
264 สถาบันอุดมศึกษาไทย
6 10 10 4,854 175 236
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ htttp://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • สอบคัดเลือกของวิทยาลัย • การคัดเลือกดวยการเทียบโอนนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น • การรับเขาตามโครงการพิเศษของวิทยาลัย ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได ที่ http://www.ckc.ac.th หรื อ สอบถามข อ มู ล ได ที่ โทรศัพท 0 4561 7971
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 265
วิทยาลัยเฉลิมกาญจนาระยอง 333/3 หมู 3 ถนนสุขุมวิท ตําบลวังหวา อําเภอแกลง จังหวัดระยอง 21110 โทรศัพท 0 3867 2898 โทรสาร 0 3867 2898 เว็บไซต http://www.ckc.ac.th/rayong
แนะนํา
วิทยาลัยเฉลิมกาญจนาระยองกอตั้งขึ้นในปการศึกษา 2549 ดวยเจตนารมณที่ตระหนัก ถึงความสําคัญของการศึกษาในระดับปริญญาตรี อันจะนําไปสูการพัฒนาทางดานความคิดทักษะ เชิงวิชาชีพ มนุษยสัมพันธ และคุณธรรม ซึ่งจะชวยสงเสริมและพัฒนาเยาวชนและประชาชน ในทองถิน่ โดยเฉพาะจังหวัดระยอง และจังหวัดใกลเคียง รวมทัง้ ประเทศชาติแบบยัง่ ยืน ดังนัน้ วิทยาลัย เฉลิมกาญจนาระยองจึงจัดใหมกี ารเรียนการสอนโดยใหความสําคัญกับการเตรียมความพรอมในดาน ศักยภาพและทรัพยากรสนับสนุนตาง ๆ เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และบรรลุตามปณิธานที่ไดตั้งไว วิทยาลัยเฉลิมกาญจนาระยองภายใตการดําเนินการบริหาร โดยมี ศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน เปนที่ปรึกษาสภาวิทยาลัย ดร.สุชีราภรณ ธุวานนท เปนนายกสภา วิทยาลัย และนายพอพันธุ สนเจริญ เปนอธิการบดี ไดเริ่มเปดทําการสอนตั้งแตปการศึกษา 2549 ซึง่ ไดจดั การเรียนการสอนในหลักสูตรตาง ๆ โดยในปการศึกษา 2549 ไดเปดการเรียนการสอนหลักสูตร ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (ตอเนือ่ ง) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชา คอมพิวเตอรธรุ กิจ (ตอเนือ่ ง) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรธรุ กิจ หลักสูตรบัญชี บัณฑิต (ตอเนื่อง) หลักสูตรบัญชีบัณฑิต และหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร ดวยความมุงมั่นของผูกอตั้ง ผูบริหาร และคณาจารย ที่จะพัฒนาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา ระยองใหมคี วามเจริญกาวหนาอยางตอเนือ่ งและมัน่ คง สามารถผลิตบุคลากรทีม่ คี ณ ุ คาตอสังคมเพือ่ ตอบสนองตอความตองการของทองถิ่น และประเทศชาติ พรอมทั้งเปนแหลงขอมูลเชิงวิชาการใหแก ชุมชนและทองถิ่น ทั้งนี้ เพื่อใหวิทยาลัยเฉลิมกาญจนาระยองเปนสวนหนึ่งของการพัฒนาทองถิ่นได อยางแทจริง ตามเจตนารมณของการกอตั้งวิทยาลัยเฉลิมกาญจนาระยอง
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553) จํานวนหลักสูตรทั้งหมด จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน คณะนิติศาสตร คณะรัฐศาสตร คณะบริหารศาสตร
266 สถาบันอุดมศึกษาไทย
5 หลักสูตร 1,700 คน 73 คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • สอบคัดเลือกของวิทยาลัย • การคัดเลือกดวยการเทียบโอนนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น • การรับเขาตามโครงการพิเศษของวิทยาลัย ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได ที่ http://www.ckc.ac.th/rayong หรื อ สอบถามข อ มู ล ได ที่ โทรศัพท 0 3867 2898
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 267
วิทยาลัยเชียงราย* 199 หมูที่ 6 ตําบลปาออดอนชัย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000 โทรศัพท 0 5317 0330 โทรสาร 0 5317 0335 เว็บไซต http://www.crc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยเชียงรายไดรับอนุมัติจัดตั้งจากทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2546 อนุญาตใหจดั การศึกษาระดับปริญญาตรีภายใตกาํ กับของกระทรวงศึกษาธิการ ตามพระราชบัญญัติ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 กอตัง้ ขึน้ จากแนวความคิดของ ดร.อินทร จันทรเจริญ ที่ มี ค วามมุ ง มั่ น ที่ จ ะสร า งโอกาสและพั ฒ นาพื้ น ฐานแก ก ารศึ ก ษาให แ ก ช าวเชี ย งรายและ อนุภูมิภาคลุมนํ้าโขง จากแนวความคิดนี้ ดร.อินทร จันทรเจริญ จึงไดขอจัดตั้งวิทยาลัย โดยขอจัดตั้ง ในนามของ “วิทยาลัยมังราย” แตไมไดรบั การอนุมตั ิ เนือ่ งจากเปนพระนามของกษัตริยล า นนาในอดีต จึงไดขอทําการอนุมัติในนาม “วิทยาลัยกรุงธนเชียงราย” ตอมาในป พ.ศ. 2547 วิทยาลัยเชียงราย ไดขอทําการเปลี่ยนชื่อเปน “วิทยาลัยเชียงราย” เพื่อใหสอดคลองกับปรัชญาของวิทยาลัยที่มุงมั่น จะพัฒนาทรัพยากรมนุษยในจังหวัดเชียงรายและอนุภมู ภิ าคลุม นํา้ โขง ในปการศึกษา 2547 ไดจดั การ รับการเรียนการสอนคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรแรก คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ป และตอเนื่อง 2 ป ในสาขาการบัญชี การตลาด และคอมพิวเตอรธุรกิจ ตอมาไดขอ ปรับปรุงหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชี เปนหลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาการบัญชี ในภาคเรียนที่ 2/2547 ไดทําการกอตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร เปดสอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต 3 สาขา ไดแก วิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรมเครื่องกล และสาขาวิศวกรรม คอมพิวเตอร หลักสูตร 4 ป และไดเปดทําการเรียนการสอน ในปการศึกษา 2548 ตอมาในภาคเรียน ที่ 2/2548 ไดทาํ การกอตัง้ คณะพยาบาลศาสตร คณะนิตศิ าสตร และคณะนิเทศศาสตร และเปดทําการสอน ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต นิติศาสตรบัณฑิต และนิเทศศาสตรบัณฑิต ตามลําดับ เพื่อเปดทําการเรียนการสอนในปการศึกษา 2549 ในปการศึกษา 2551 ไดทาํ การกอตัง้ คณะวิทยาศาสตรสขุ ภาพ แลวเปดในระดับปริญญาตรี หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต และไดกอตั้งคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร โดยรวมคณะ นิติศาสตร และคณะนิเทศศาสตร และกลุมงานศึกษาทั่วไปเขาดวยกัน เพื่อใหเกิดความคลองตัว ในการบริหารจัดการ ในปการศึกษา 2552 ไดรบั อนุมตั หิ ลักสูตรจากคุรสุ ภา ใหทาํ การเปดสอนหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู หลักสูตร 1 ป ในคณะบัณฑิตวิทยาลัย ในปการศึกษา 2553 เปดสอน หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ในคณะบัณฑิตวิทยาลัย และไดรับอนุมัติจากสภาวิทยาลัย ใหเปดสอนนอกสถานที่ตั้งได จํานวน 2 แหง คือ ที่จังหวัดนาน เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตร บัณฑิตวิชาชีพครู และที่จังหวัดรอยเอ็ด เปดสอน 3 หลักสูตรคือ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต วิชาชีพครู หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) สาขาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ และหลักสูตรบัญชี บัณฑิต (บช.บ.) สาขาบัญชี ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.crc.ac.th
268 สถาบันอุดมศึกษาไทย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะวิศวกรรมศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
• ระบบรับตรง ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.crc.ac.th หรือสอบถามขอมูลไดที่ โทรศัพท 0 5317 0331
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
* อางอิงขอมูลจากเว็บไซต http://www.crc.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย 269
วิทยาลัยเซนตหลุยส 19 ถนนสาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท 0 2675 5304-12 โทรสาร 0 2675 5313 เว็บไซต http://www.slc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยเซนตหลุยส เปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในสังกัดมิสซังโรมันคาทอลิก กอตั้ง เมื่อป ค.ศ. 1985 โดย ฯพณฯ พระคารดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู และไดรับการสถาปนาจัดตั้งเปน สถาบันอุดมศึกษาเอกชนประเภทวิทยาลัย เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 1985 วิทยาลัยเซนตหลุยสบริหาร และดําเนินงานโดยคณะภคินีคณะเซนตปอลเดอชารตร วิทยาลัยมีความมุงมั่นที่จะดําเนินตามหลัก ธรรมแหงพระเยซูเจาในการรับใชเพื่อนมนุษย โดยผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีความรูความชํานาญใน ศาสตรสาขาตาง ๆ รวมทั้งความรอบรูในศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับวิชาชีพ ดวยความรักและเมตตา ธรรมเปนพื้นฐาน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะพยาบาลศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะกายภาพบําบัด บัณฑิตวิทยาลัย
270 สถาบันอุดมศึกษาไทย
9 6 6 730 187 146
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ htttp://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง สอบถามขอมูลเพิ่มเติมโทรศัพท 0 2675 5304-12 ตอ 63119 หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติม ไดที่ http://www.slc.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
245,000 - 374,000 200,000 - 220,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 271
วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก 290 ถนนสรรพาวุธ แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260 โทรศัพท 0 2744 7356-68 โทรสาร 0 2398 1356 เว็บไซต http://www.southeast.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยเซาธอสี ทบางกอกเปนหนึง่ ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนกอตัง้ เมือ่ 29 มีนาคม 2542 มีวัตถุประสงคที่สําคัญ เพื่อสรางสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูงในการจัดการศึกษาและวิจัย เพื่อจัดการอุดมศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานสูงแกประชาชน เพื่อใหบริการทางวิชาการแกชุมชน และสังคม สงเสริม สนับสนุน และรักษาไวซึ่งศิลปวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นและของประเทศ เสริมสรางใหผศู กึ ษามีความรู ความเขาใจ และมีสว นรวมในการปกครองตามวิถที างประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รูจักสิทธิและหนาที่ของตนเอง มีวินัยและเคารพกฎหมาย และ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยตองการผลิตบัณฑิตใหมีสมรรถสากล และพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาใหกาว ไปสูระดับมาตรฐานสากล ปจจุบันมหาวิทยาลัยเปดสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี และระดับ บัณฑิตศึกษารวม 10 หลักสูตร โดยทุกหลักสูตรของวิทยาลัยไดผานการรับรองมาตรฐานการศึกษา จากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะวิทยาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
272 สถาบันอุดมศึกษาไทย
18 10 10 2,100 100 97
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ htttp://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับสมัครตรงและโครงการทุนชางเผือก เรียนดี ความสามารถพิเศษ กีฬา ดนตรีไทย ดนตรีสากล กีฬาฟุตบอล โดยแบงเปนทุน 100% และ 50% สามารถสมัครออนไลนไดที่เว็บไซต • ศูนยรับสมัครนักศึกษาออนไลน @Southeast Bangkok College สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 2744 7356-68 หรือ http://www.southeast.ac.th
คาใชจายในการศึกษา (ตอภาคการศึกษา) ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
21,700 - 25,100 บาท 32,000 - 38,800 บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 273
วิทยาลัยดุสิตธานี 1 ซอยแกนทอง แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท 0 2361 7811-3 โทรสาร 0 2361 7806 เว็บไซต http://www.dtc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยดุสิตธานี มีรากฐานจากโรงเรียนการโรงแรมดุสิตธานี ไดจัดขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2536 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อผลิตบุคลากรใหมีความรักความเขาใจในวิชาชีพดานอุตสาหกรรมบริการ อันเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาธุรกิจโรงแรมและการทองเที่ยว ในระยะแรกที่ไดเปดสอนหลักสูตร ประกาศนียบัตรภาคภาษาอังกฤษ จํานวน 2 หลักสูตร หลักสูตรประกาศนียบัตรดานการปฏิบัติ การโรงแรม และหลักสูตรประกาศนียบัตรดานศิลปะการประกอบอาหาร นับตัง้ แตเปดดําเนินการสอน โรงเรียนการโรงแรมดุสติ ธานีไดมงุ เนนความเปนเลิศทางวิชาการ และการจัดการเรียนการสอนอยางมี คุณภาพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติดวยความทุมเทและความมุงมั่นในการพัฒนาการศึกษาดาน การโรงแรมและการทองเที่ยว จนเปนที่ยอมรับของสังคมโดยทั่วไป โรงเรียนการโรงแรมดุสิตธานี จึงไดพฒ ั นาหลักสูตรดานอุตสาหกรรมบริการในระดับปริญญาตรี เพือ่ สนองความตองการของสังคม โดยไดรบั อนุมตั จิ ากทบวงมหาวิทยาลัยใหจดั ตัง้ เปนสถาบันอุดมศึกษาชือ่ “วิทยาลัยดุสติ ธานี” เมือ่ วันที่ 30 พฤษภาคม 2539 วิทยาลัยดุสิตธานีมีความมุงมั่นที่จะพัฒนาบัณฑิตใหมีคุณภาพโดยยึดแนวปรัชญาที่วา “สุข สําเร็จดวยปญญา” หมายถึง การใชสติปญญา ทําใหประสบความสําเร็จในการดํารงชีวิตที่กอ ใหเกิดความสุขอยางแทจริง ดวยความมุงมั่นดังกลาว วิทยาลัยดุสิตธานีจึงจัดการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ อันประกอบดวย อาจารยผูทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณดานงานอุตสาหกรรมบริการ หองปฏิบัติการเรียนการสอนที่ทันสมัย และจัดใหมีการปฏิบัติงานในสถานประกอบการทั้งในและ ตางประเทศ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
274 สถาบันอุดมศึกษาไทย
9 11 9 2 2,235 65 175
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะอุตสาหกรรมบริการ คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ htttp://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง โทรศัพท 0 2361 7811-3 เว็บไซต http://www.dtc.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
320,350 - 1,042,850 280,000 - 300,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 275
วิทยาลัยตาป 8/151 ซอยศรีวิชัย 59 ถนนศรีวิชัย ตําบลมะขามเตี้ย อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี 84000 โทรศัพท 0 7720 4431-2 โทรสาร 0 7726 4225 เว็บไซต http://www.tapee.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยตาป เปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหงแรกของจังหวัดสุราษฎรธานี โดยอาจารย วรท ศรีไพโรจน เปนผูรับใบอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อ 26 กุมภาพันธ 2542 มีวตั ถุประสงคเพือ่ ผลิตบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ภาพและจริยธรรมในการใชวชิ าการและวิชาชีพเพือ่ ตนเองและ สังคม และใหเปนผูมีความผิดชอบตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย สงเสริมการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและเอกลักษณอันดีของชาติ รวมทั้งใหบริการทางการศึกษา แกสังคม เปนแหลงคนควา สงเสริมดานวิชาการและงานวิจัยตาง ๆ เพื่อเปนการกระจายความเจริญ สูภูมิภาค และกระจายโอกาสความเสมอภาคทางอุดมศึกษา และเพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐที่ ประสงคใหภาคเอกชน เขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษา วิทยาลัยไดรบั การรับรองวิทยฐานะ และเปดดําเนินการตามพระราชบัญญัตสิ ถาบันอุดมศึกษา เอกชน พ.ศ. 2522 เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2542 ไดเปดสอนคณะบริหารธุรกิจ หลักสูตรบริหารธุรกิจ บัณฑิต (หลักสูตร 4 ป ภาคปกติ หลักสูตรตอเนื่อง 2 ป ภาคปกติ ภาคสมทบ) สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาด และสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ และเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2543 คณะกรรมการ ขาราชการพลเรือน (ก.พ.) ใหการรับรองคุณวุฒิในหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตรตอเนื่อง 2 ป) ตั้งแตปการศึกษา 2543 เปนตนไป สําหรับหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตร 4 ป) ไดรับการ รับรองมาตรฐานการศึกษา เมือ่ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2545 จึงมีศกั ดิแ์ ละสิทธิเ์ ชนเดียวกับสถาบันอุดมศึกษา ของรัฐ และในปการศึกษา 2545 ไดรบั การอนุมตั จิ ากทบวงมหาวิทยาลัย ใหเปดดําเนินการสาขาวิชาการ จัดการทัว่ ไป หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตร 4 ป ภาคปกติ และหลักสูตรตอเนือ่ ง 2 ป ภาคปกติ และภาคสมทบ) ตอมาไดรบั การอนุมตั ใิ หเปดดําเนินการสาขาวิชานิตศิ าสตร หลักสูตรนิตศิ าสตรบัณฑิต (ภาคสมทบ) ตั้งแตภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2546 เปนตนไป วิทยาลัยตาปมีความมุงมั่นในการพัฒนาและมุงสูการเปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ มีคุณภาพและมาตรฐาน ไดดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรใหทันสมัย สอดคลองกับสภาพสังคมที่ เปลีย่ นแปลง และมุง สูค วามเปนสากลมากขึน้ เพือ่ พัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศใหเปนผูท มี่ คี วาม รูคูคุณธรรม
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553)
จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
276 สถาบันอุดมศึกษาไทย
11 11 1,149 151 72 139
หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบัญชี คณะบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ htttp://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • สมัครโดยตรงที่วิทยาลัยตาป • สมัครในโครงการรับนักศึกษาพิเศษของวิทยาลัยตาป สอบถามขอมูลเพิม่ เติมไดที่ โทรศัพท 0 7720 4431-2 หรือดูรายละเอียดที่ http://www.tapee.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
190,700 - 204,930 127,200 - 135,200
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 277
วิทยาลัยทองสุข* 99/79 ถนนบรมราชชนนี ใกลตางระดับพุทธมณฑลสาย 2 แขวงศาลาธรรมสพน เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10170 โทรศัพท 0 2885 1421, 0 2448 0005-6 โทรสาร 0 2885 1428 เว็บไซต http://www.thongsook.ac.th
แนะนํา
วิ ท ยาลั ย ทองสุ ข ได จั ด ตั้ ง ขึ้ น ด ว ยปณิ ธ านและเจตนารมณ อั น มุ ง มั่ น ของ ดร.พรชั ย อรัณยกานนท โดยไดรับการอนุมัติการจัดตั้งจากทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2537 และ ไดรับการแตงตั้งจากสภาวิทยาลัยใหดํารงตําแหนงอธิการบดีคนแรก เพื่อทําหนาที่บริหารวิทยาลัย และดําเนินการสอนในปการศึกษา 2538 เปนตนมา โดยมีจุดประสงคที่ตองการเปนสถาบันที่มุงเนน การพัฒนาทางวิชาการใหเปนเลิศ พรอมทั้งรวมกับมหาวิทยาลัยตางประเทศและในประเทศที่จะ พัฒนาสถาบันแหงนี้ใหเปนสถาบันอุดมศึกษาที่สมบูรณแบบ และเปนตลาดวิชาที่จะสนองนโยบาย ของรัฐบาลทีต่ อ งการผลิตบัณฑิตออกไปเปนผูน าํ และนักพัฒนา ทัง้ หนวยงานของรัฐและองคกรธุรกิจ โดยผลิตบัณฑิตใหเปนผูมีความรูและทักษะวิชาชีพ ตลอดจนเปนสถาบันที่มุงเนนการนําเทคโนโลยี ที่ทันสมัยมาใชในการพัฒนาวิชาการ และการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและการเผยแพร วิชาการสูชุมชน และเปนสถาบันที่มุงเนนการอนุรักษขนบธรรมเนียมประเพณี สิ่งแวดลอม และปลูก ฝงใหบัณฑิตเปนผูมีศีลธรรม จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบตอสังคม อันเปนการนําไปสูความ สันติสุขในระบบสังคมประชาธิปไตยของประเทศชาติ ปจจุบันมหาวิทยาลัยทําการเปดการเรียน การสอนถึงระดับปริญญาโท เปดสอนทั้งภาคปกติและภาคสมทบ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.thongsook.ac.th
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะนิเทศศาสตร คณะนิติศาสตร คณะรัฐประศาสนศาสตร คณะวิทยาศาสตรสุขภาพ
278 สถาบันอุดมศึกษาไทย
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2885 1421-4 ตอ 10, 28 หรือดูรายละเอียด เพิ่มเติมที่ http://www.thongsook.ac.th
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
* อางอิงขอมูลจากเว็บไซต http://www.thongsook.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย 279
วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท 198 ถนนมิตรภาพ-จอหอ ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30310 โทรศัพท 0 4441 5222 โทรสาร 0 4441 5044 เว็บไซต http://www.phanomwan.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 ดวยเจตนารมณ ทีต่ ระหนักถึงความสําคัญของการศึกษาในระดับปริญญาตรี อันจะนําไปสูก ารพัฒนาทางดานความคิด ทักษะเชิงวิชาชีพ มนุษยสัมพันธ และคุณธรรม ซึ่งจะชวยสงเสริมและพัฒนาเยาวชนและประชาชน ในทองถิ่น โดยเฉพาะจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดใกลเคียง รวมทั้งประเทศชาติแบบยั่งยืน ดังนั้น วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท จึงจัดใหมีการเรียนการสอนโดยใหความสําคัญกับการเตรียมความ พรอมในดานศักยภาพและทรัพยากรสนับสนุนตาง ๆ เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนเปนไป อยางมีประสิทธิภาพและบรรลุตามปรัชญาของวิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันทที่ไดตั้งไว คือ “สราง และพัฒนามืออาชีพ ใหมีฝมือ ไดมาตรฐานเพื่อทํางานอยางตอเนื่อง” และวิทยาลัยเทคโนโลยี พนมวันทมปี ณิธานเพือ่ มุง ขยายการศึกษาในระดับสูงไปสูภ มู ภิ าคในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งนี้เพื่อเปนการเปดโอกาสใหเยาวชนของชาติและกําลังแรงงานของประเทศไดรับการศึกษาและ การพัฒนาดานวิชาชีพในระดับสูง มุงผลิตผูสําเร็จการศึกษาที่มีความรูในเชิงวิชาการชั้นสูง มีความ เชีย่ วชาญเชิงปฏิบตั ิ กาวทันเทคโนโลยีทที่ นั สมัยและสามารถนําไปประยุกตใชไดสอดคลองกับสภาพ ของแตละทองถิ่น บัณฑิตของวิทยาลัยจะเปนผูที่มีความเปนมนุษยที่สมบูรณ ทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญาความรู มีจริยธรรม และคุณธรรมในการดํารงอยูในสังคมไดอยางมีความสุข
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
280 สถาบันอุดมศึกษาไทย
8 7 7 467 468 63
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• ระบบการรับตรง • โควตาพิเศษกับนักเรียนที่มีภูมิลําเนาอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • ทางวิทยาลัยกําลังดําเนินการขออนุมัติการรับนักศึกษาผานระบบการคัดเลือกบุคคล เขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สอบถามขอมูลเพิ่มเติมที่หมายเลขโทรศัพท 0 4441 5222 หรือสามารถทําการสมัครทาง เว็บไซตที่ http://www.phanomwan.ac.th/onlineregister/index.php
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี
162,850 – 200,650
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 281
วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต* 124/1 ถนนทุงสง-หวยยอด ตําบลที่วัง อําเภอทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80110 โทรศัพท 0 7536 3434-5 โทรสาร 0 7536 3433 เว็บไซต http://www.sct.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต ไดรบั อนุมตั จิ ดั ตัง้ จากทบวงมหาวิทยาลัยเมือ่ วันที่ 27 ธันวาคม 2542 และไดรับอนุญาตใหเปดดําเนินการรับนักศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2544 โดยเปดสอนหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต หลักสูตร 4 ป และตอเนื่อง ภาคปกติและสมทบ 3 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการ บัญชี สาขาวิชาการจัดการ และสาขาวิชาคอมพิวเตอรธรุ กิจ ปการศึกษา 2545 วิทยาลัยไดรบั อนุญาต ใหเปดสอนหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต หลักสูตร 4 ป และตอเนือ่ ง ภาคปกติและภาคสมทบ 2 สาขา วิชา คือ สาขาวิชาการตลาด และสาขาการจัดการอุตสาหกรรม ปการศึกษา 2546 ไดรับอนุญาตให เปดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต หลักสูตร 4 ป ภาคปกติ และภาคสมทบ สาขาวิชารัฐศาสตร หลักสูตรเศรษฐศาสตรพฒ ั นาชุมชน ปการศึกษา 2547 ไดรบั อนุญาตใหเปดสอนหลักสูตรบริหารธุรกิจ บัณฑิต หลักสูตร 4 ป และตอเนื่อง สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษยและหลักสูตรศิลปศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาการทองเที่ยว โดยในปการศึกษา 2546 วิทยาลัยไดขอรับการประเมินคุณภาพ ภายนอกจากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ครั้งที่ 1 ในปการ ศึกษา 2550 วิทยาลัยไดรบั การรับรองมาตรฐานการศึกษา จากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) ระดับสถาบัน ระดับสาขาวิชาบริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร การ บัญชี การจัดการ การทองเที่ยวและเศรษฐศาสตร วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใตมคี วามมุง มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาเปนมหาวิทยาลัยทีส่ ามารถผลิตบัณฑิต ที่มีคุณภาพมีการพัฒนาการวิจัยสนับสนุนการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และใหบริการวิชาการเพื่อ รับใชสงั คมอยางยัง่ ยืน ปจจุบนั มหาวิทยาลัยเปดสอนถึงระดับปริญญาโท ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.sct.ac.th
282 สถาบันอุดมศึกษาไทย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะการบัญชี คณะเทคโนโลยี คณะการทองเที่ยวและการโรงแรม คณะสังคมศาสตร
การรับสมัครเขาศึกษา
สอบถามรายละเอียดไดที่ โทรศัพท 0 7536 3434-5 หรือดูรายละเอียดที่ http://www.sct.ac.th
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
* อางอิงขอมูลจากเว็บไซต http://www.sct.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย 283
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม 46 ถนนจรัญสนิทวงศ แขวงวัดทาพระ เขตบางกอกใหญ กรุงเทพมหานคร 10600 โทรศัพท 0 2878 5001-3 โทรสาร 0 2878 5012 เว็บไซต http://www.siamtechu.net
แนะนํา
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามเริ่มเปดดําเนินการรับนักศึกษารุนแรกในปการศึกษา 2549 มี จํานวนทั้งหมด 15 หลักสูตรใน 6 คณะวิชา มีเปาหมายการผลิตบัณฑิต-บัณฑิตศึกษา ที่มุงเนนการ ทํางานไดจริง ปจจุบันนักศึกษาจบไปแลว 2 รุน วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามไดผานการรับรองมาตรฐานจากสํานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา หรือ สมศ. ในปการศึกษา 2552 โดยผานในระดับดี และขณะนี้ วิทยาลัยกําลังดําเนินการปรับสภาพเปนมหาวิทยาลัย ซึ่งผานการตรวจสภาพและกําลังจะไดเปน “มหาวิทยาลัย” ในปการศึกษา 2554 นี้ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เปดรับนักศึกษาทั้งภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ปจจุบันเปด สอนในภาคการศึกษาปกติ ภาคคํ่า และภาคพิเศษวันอาทิตย
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน คณะเทคโนโลยี คณะบัญชี คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร คณะรัฐศาสตร ศูนยบัณฑิตศึกษา
284 สถาบันอุดมศึกษาไทย
6 15 15 2,000 100 200
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง ดูรายละเอียดที่ http://www.siamtechu.net
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
160,000 - 240,000 120,000 - 200,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 285
วิทยาลัยนครราชสีมา 290 หมู 2 ถนนมิตรภาพ ตําบลบานใหม อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท 0 4446 6111 โทรสาร 0 4446 5668 เว็บไซต www.nmc.ac.th
แนะนํา
ดวยความมุงมั่นอยางชัดเจนในการจัดการศึกษาใหกับเยาวชนของชาติ คณะผูบริหาร เทคโนโลยีชนะพลขันธนครราชสีมา จึงรวมกันพิจารณาทีจ่ ะจัดตัง้ สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยไดดาํ เนินการเสนอเรือ่ งเพือ่ ขออนุญาตจัดตัง้ วิทยาลัยนครราชสีมา จากทบวงมหาวิทยาลัย ตัง้ แต พ.ศ. 2542 ในพื้นที่กวา 21 ไร ณ บริเวณ ตําบลบานใหม อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งไดวาง ศิลาฤกษไปเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2545 โดยพระราชวิทยาคม (หลวงพอคูณ ปริสุทโธ) และ ฯพณฯ สุวจั น ลิปตพัลลภ ไดใหเกียรติเปนประธานในพิธี การจัดวางผังบริเวณเปนไปอยางสวยงาม มีอาคาร เรียนขนาดใหญสงู 9 ชัน้ สนามกีฬามาตรฐาน และพืน้ ทีจ่ ดั กิจกรรมนันทนาการทีว่ างไวอยางสวยงาม เหมาะสม โดยสถาบันแหงใหมนจี้ ะเนนในการขยายโอกาสทางการศึกษาและเปดโอกาสใหนกั ศึกษา สามารถที่จะเรียนได โดยมีคาใชจายทางการศึกษาที่เหมาะสมและมีคุณภาพ ปจจุบันวิทยาลัย นครราชสีมามี 9 คณะวิชา เปดสอนในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท รวม 31 หลักสูตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะสารสนเทศศาสตร คณะนิติศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตรและเทคโนโลยีสุขภาพ คณะเทคนิคการแพทย คณะวิทยาศาสตรสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย สํานักวิชาศึกษาทั่วไป
286 สถาบันอุดมศึกษาไทย
37 31 31 136 1,729 902 138 291
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ htttp://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • ระบบรับตรง • ระบบโควตาประเภทตาง ๆ ไดแก นักเรียนทีผ่ า นการเรียนดี นักกีฬา นักเรียนนักกิจกรรม เปนตน หมายเลขติดตอ 0 4446 6111 ตอ 141 หรือที่เว็บไซตรับสมัคร http://www.nmc.ac.th/ OnlineRegister.php
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
240,000 - 400,000 130,000 - 175,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 287
วิทยาลัยนานาชาติเซนตเทเรซา 1 หมู 6 ถนนรังสิต-นครนายก คลอง 14 ตําบลบึงศาล อําเภอองครักษ จังหวัดนครนายก 26120 โทรศัพท 0 2234 5599, 0 3739 5311-6 โทรสาร 0 3739 5111 เว็บไซต http://www.stic.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยนานาชาติเซนตเทเรซา กอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2543 ไดเปดสอนหลักสูตรภาคภาษา อังกฤษตามมาตรฐานสากลระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยมีหลักสูตร 2 ปริญญา รวมกับ Troy University แหงสหรัฐอเมริกา และ Coventry University แหงประเทศอังกฤษ และมีความ รวมมือกับ Wairaiki Institute of Technology ประเทศนิวซีแลนด วิทยาลัยนานาชาติเซนตเทเรซา ไดรบั การรับรองมาตรฐานจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ทุกหลักสูตร และสํานักงาน ก.พ. ใหการรับรองคุณวุฒิและปริญญาบัตร นอกจากนี้วิทยาลัยไดผานการตรวจ ประเมินคุณภาพภายนอก โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ไดรับคะแนน 4.10 จาก 5 และผานการตรวจประเมินคุณภาพภายใน โดยสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) ไดคะแนนการประเมินอยูในระดับที่ดี
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะพยาบาลศาสตร
288 สถาบันอุดมศึกษาไทย
4 4 4 630 73
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา • รับตรง ซึ่งพิจารณาจากคุณสมบัติตามแตละคณะ สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 2234 5599, 0 3739 5311-6 หรือที่เว็บไซต http://www.stic.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
366,400 180,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 289
วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย 179/137 ถนนประชาสโมสร ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000 โทรศัพท 0 4324 6536-8 โทรสาร 0 4324 6539 เว็บไซต http://www.cas.ac.th
แนะนํา
ดวยความคิดและปณิธานของ ศาสตราจารย ดร. นพ.กระแส ชนะวงศ เจาของรางวัล รามอนแมกไซไซ สาขาผูนําชุมชน ไดเสนอจัดตั้งวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย เพื่อที่จะขยายโอกาสทาง การศึกษา และสรางทางเลือกใหมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และนักศึกษาระดับ ปวท. และ ปวส. ที่จะเขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษาที่มีคุณภาพ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซียเริ่มดําเนิน การสอนในปการศึกษา 2545 และปจจุบันมีการจัดการเรียนการสอนทั้งระดับปริญญาตรีและ ปริญญาโท รวม 12 หลักสูตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร คณะนิติศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะศึกษาศาสตร บัณฑิตศึกษา สํานักวิจัยและพัฒนา
290 สถาบันอุดมศึกษาไทย
14 12 12 1,562 25 112
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรงโดยสถาบัน ประกาศผานเว็บไซต http://www.cas.ac.th
คาใชจายในการศึกษา
ระดับปริญญาตรี (คาใชจายตอป) ระดับปริญญาโท (คาใชจายตลอดหลักสูตร)
27,100 - 93,000 90,000 - 120,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 291
วิทยาลัยพิชญบัณฑิต 171/2 หมู 2 ถนนวิจารณรังสรรค ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู 39000 โทรศัพท 0 4236 0994 โทรสาร 0 4236 0995 เว็บไซต http://www.pcbc.ac.th
แนะนํา
วิ ท ยาลั ย พิ ช ญบั ณ ฑิ ต เป น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชนแห ง แรกในจั ง หวั ด หนองบั ว ลํ า ภู ที่ไดรับอนุญาตใหจัดตั้งวิทยาลัย เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2551 เปดสอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตร บริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ และสาขาวิชาการ บัญชี ปจจุบนั ไดดาํ เนินการเปดสอนในคณะรัฐศาสตรและนิตศิ าสตร สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร สาขาวิชานิตศิ าสตร คณะวิทยาศาสตร สาขาสาธารณสุขศาสตร หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต (สาขา วิชาชีพครู) โดยมุงหวังที่จะใหวิทยาลัยพิชญบัณฑิตเปนศูนยกลางในการพัฒนาเยาวชน ใหออกไปเปน บัณฑิตที่ถึงพรอมดวยคุณวุฒิ คุณธรรม และมีความสามารถออกไปรับใชสังคม และประเทศชาติ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร คณะวิทยาศาสตร
292 สถาบันอุดมศึกษาไทย
4 3 3 111 62 20
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ http://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง สามารถติดตอไดที่หมายเลขโทรศัพท 0 4236 0994 หรือ http://www.pcbc.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี
131,700 - 191,300 บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 293
วิทยาลัยพิษณุโลก 693 ถนนมิตรภาพ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท 0 5530 3411 โทรสาร 0 5530 3411 เว็บไซต http://www.plc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยพิษณุโลก ไดรับอนุญาตใหจัดตั้ง เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2545 โดยที่วิทยาลัย ไดมคี วามตระหนักในการจัดการเรียนการสอน และผลสัมฤทธิท์ เี่ กิดกับผูเ ขารับการศึกษาโดยวิเคราะห สังเคราะหหลักสูตรที่จะจัดการเรียนการสอนและศึกษาความตองการของตลาดแรงงาน เพื่อผลิต บัณฑิตใหตรงตอความตองการของตลาด และรองรับการเปดตลาดเสรีทางการคาสูอินโดจีน รวมทั้ง ศึกษาและพิจารณาถึงแผนแมบทของชาติดว ย วิทยาลัยพิษณุโลกเริม่ จัดการเรียนการสอนเปนปแรก โดยเปดสอนคณะบริหารธุรกิจ ไดแก หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ป และหลักสูตรบริหารธุรกิจ บัณฑิต (ตอเนื่อง) รวม 3 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ และสาขา วิชาการจัดการ มีนักศึกษาเขาศึกษารวม 234 คน และปการศึกษา 2548 วิทยาลัยฯ ไดเปดหลักสูตร การเรียนการสอนเพิ่มจากเดิมอีก 2 สาขาวิชา ไดแก สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยว สาขาวิชา การจัดการการโรงแรม ปการศึกษา 2549 วิทยาลัยฯ จัดการเรียนการสอนในคณะบริหารธุรกิจ ทัง้ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ป และหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (ตอเนือ่ ง) ทัง้ หมด 4 สาขาวิชา ไดแก สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาคอมพิวเตอรธรุ กิจ สาขาวิชาการจัดการการ ทองเทีย่ ว ตอมาในปการศึกษา 2550 วิทยาลัยพิษณุโลกไดจดั การเรียนการสอนหลักสูตรบริหารธุรกิจ บัณฑิตเพิ่ม 1 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการตลาด ปจจุบันวิทยาลัยพิษณุโลกเปดระดับปริญญาตรี รวม 6 คณะคือ คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะศิลปศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะนิติศาสตร และคณะสาธารณสุขศาสตร และระดับบัณฑิตวิทยาลัยมีสาขารัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต สาขาบัญชีมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
294 สถาบันอุดมศึกษาไทย
17 11 11 1,525 355 461 149
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะศิลปศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะนิติศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร คณะบัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
• ประชาสัมพันธโดยการแนะนําภายนอก เขตภาคเหนือตอนลาง ภาคกลางตอนบน และ นักเรียนสมัครโดยตรงกับทีมงานแนะแนวของวิทยาลัย หรือผานอาจารยฝายแนะนําประจําโรงเรียน หรือโครงการชวนนองมาเรียน • สมัครผาน http://www.plc.ac.th • โควตาตามโรงเรียนที่วิทยาลัยจัดให • สมัครโดยตรงที่วิทยาลัยพิษณุโลก หองสํานักกิจการนักศึกษา ที่อาจารยอุบล ทองอน และคณะทีมงานแนะแนว หรือโทรศัพท 0 8178 9975
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
95,950 - 212,500 120,000 - 150,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 295
วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ 88 หมู 2 ถนนคลองแงะ-ควนสะตอ ตําบลทุงหมอ อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90240 โทรศัพท 0 7426 8754-5 โทรสาร 0 7426 8756 เว็บไซต http://www.ibc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ ตั้งอยูที่อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จัดตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2547 โดยมีเปาหมายและวิสัยทัศนในการพัฒนาการเรียนรูระดับสูง วิทยาลัยไดนําเสนอ การศึกษาทางดานพระพุทธศาสนาที่มีคุณภาพ ภายใตจิตวิญญาณการอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา โดยไมมกี ารแบงแยกนิกาย มีสภาพแวดลอมในการเรียนการสอนทีท่ นั สมัยและเหมาะสมแกการศึกษา วิทยาลัยเปดสอนนักศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ซึ่งเปนโอกาสที่ดี สําหรับนักศึกษาที่จะไดศึกษาพระพุทธศาสนาในเชิงลึกอยางกวางขวางและครอบคลุมเนื้อหา ทางดานพุทธศึกษา อีกทั้งสงเสริม สนับสนุนดานความรูและความเขาใจในความหลากหลายของ วัฒนธรรมทางพุทธศาสนา มีการคนควาเพือ่ รวบรวมขอมูลการศึกษา ใหเล็งเห็นคุณคาของการอบรม พระธรรมคําสอนทางพระพุทธศาสนาอยางตอเนื่อง ทั้งดานวิชาการและการบําเพ็ญประโยชนเพื่อ สวนรวม ตลอดจนความหลากหลายของวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา ในปจจุบนั วิทยาลัยมีอาจารยและนักศึกษาจากหลากหลายประเทศในโลก เชน ออสเตรเลีย อารเจนตินา เบลเยียม บังกลาเทศ กัมพูชา จีน อินเดีย อิตาลี ลาว ฮองกง มาเลเซีย พมา เนปาล รัสเซีย สิงคโปร เกาหลีใต ศรีลังกา ไทย สวิตเซอรแลนด และเวียดนาม เปนตน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักงานตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
296 สถาบันอุดมศึกษาไทย
3 4 52 47 5 25
หนวยงาน หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน คณะศาสนศึกษา คณะศิลปศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง สอบถามขอมูลที่ โทรศัพท 0 7426 8754, 0 7426 8755, 08 1959 3895 โทรสาร 0 7426 8756 เว็บไซต http://www.ibc.ac.th e-mail: enquire@ibc.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
162,900 92,200 177,700
บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 297
วิทยาลัยราชพฤกษ 9 หมู 1 ถนนนครอินทร ตําบลบางขนุน อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 โทรศัพท 0 2432 6101-5 โทรสาร 0 2432 6107-8 เว็บไซต http://www.rc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยราชพฤกษ เปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ถือกําเนิดมาจากปณิธานอันแนวแน ของ ดร.กมล ชูทรัพย และ ดร.วิภาพรรณ ชูทรัพย ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันในเครือตั้ง ตรงจิตร ที่ตองการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อพัฒนาเยาวชนไทยใหมีความรูดานวิชาชีพและ มุงมั่นที่จะพัฒนาการศึกษาเพื่อประโยชนแกสังคมและประเทศชาติ วิ ท ยาลั ย ราชพฤกษ ไ ด รั บ อนุ ญ าตจั ด ตั้ ง เป น สถาบั น การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาจาก สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมือ่ วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2549 เปนสถาบันแหงการเรียนรูย คุ ใหม มีความมุง มัน่ ทีจ่ ะผลิตบัณฑิตใหเปนคนเกง มีความรูท กั ษะ ความชํานาญของแตละวิชา สรางคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และความสามารถอยูในสังคมอยางมีความสุข โดยบัณฑิตตองเปนบุคคลที่ มุงมั่นจะเรียนรูและพัฒนาตัวเองอยูตลอดเวลา เพื่อนําความรูความสามารถเปนกําลังในการพัฒนา ตัวเอง และสังคมประเทศชาติ ดังปรัชญาวิทยาลัยที่วา “สถาบันแหงการเรียนรูยุคใหม คุณภาพ คุณธรรม นําหนาสูสากล” วิทยาลัยราชพฤกษ ตั้งอยูในพื้นที่สวนลอมรอบ ประกอบดวยอาคารเรียน 2 หลัง เปน อาคาร 5 ชั้น และอาคาร 8 ชั้น อาคารโรงอาหาร อาคารกิจการนักศึกษา อาคารพลาซา และมี สนามกีฬาที่กวางขวาง
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
298 สถาบันอุดมศึกษาไทย
19 23 23 3,615 159 56 189
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิทยาศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ htttp://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • โครงการกีฬาและทักษะความสามารถ • ประเภททุนตาง ๆ อาทิ ทุนเรียนดี สอบถามการสมัครเรียน โทรศัพท 0 2432 6101-5 ตอ 0, 110, 111, 08 9103 2163 เว็บไซต http://www.rc.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
94,250 - 100,850 129,000 - 149,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 299
วิทยาลัยลุมนํ้าปง 290 หมู 2 ตําบลหนองบัวใต อําเภอเมือง จังหวัดตาก 63000 โทรศัพท 0 5551 5141-2 โทรสาร 0 5551 1330 เว็บไซต http://www.lpc.th.edu
แนะนํา
ดร.พิเศศ บูรณะสมบัติ ผูรับใบอนุญาตโรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย และโรงเรียน กรุงเทพการบัญชีวิทยาลัยลุมนํ้าปง กรุงเทพมหานคร ไดเล็งเห็นวาจังหวัดตากยังไมมีสถาบัน อุดมศึกษาเอกชนทีส่ ามารถผลิตกําลังคนเขาสูต ลาดแรงงานไดดว ยตนเอง ดวยความมุง มัน่ ทีจ่ ะจัดการ ศึกษาแกเยาวชนและขยายโอกาสทางการศึกษาสูสวนภูมิภาค จึงไดขออนุญาตจัดตั้งวิทยาลัย ลุมนํ้าปงขึ้นที่จังหวัดตาก โดยไดรับใบอนุญาตจัดตั้งเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2540 และไดรับการ รับรองวิทยฐานะเพื่อทําการสอนในชั้นปริญญาตรีจากทบวงมหาวิทยาลัย ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 ปจจุบันมหาวิทยาลัยเปดสอนคณะบริหารธุรกิจ คณะรัฐศาสตร คณะมนุษยศาสตร รวม 7 หลักสูตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน คณะบริหารธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร คณะรัฐศาสตร
300 สถาบันอุดมศึกษาไทย
7 7 7 322 47
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครผานการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง (Admissions) สามารถดูรายละเอียดไดที่ htttp://www.cuas.or.th สอบถามเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2354 5150-2, 0 2610 5432-4 โทรสาร 0 2354 5155-6 • รับตรง • นักศึกษาทุน สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดทหี่ มายเลขโทรศัพท 0 5551 5141 - 2 ตอ 147 หรือดูรายละเอียด ที่ http://www.lpc.th.edu
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
108,000 - 120,000 102,000 - 106,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 301
วิทยาลัยศรีโสภณ
3/3 หมู 5 ตําบลมะมวงสองตน อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000
แนะนํา
วิทยาลัยศรีโสภณกอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2527 โดยความคิดและดําเนินการจัดตั้งของนาย เกษม โสภณ อดีตผูชวยศึกษาธิการจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึง่ ไดเล็งเห็นความจําเปนทางการศึกษา และความสําคัญของการศึกษาของเยาวชนในภูมภิ าคเขตนีเ้ ปนอยางมาก เพือ่ เปนการชวยเยาวชนไม ตองเดินทางไปศึกษาตอในสวนกลาง ซึ่งเปนการสรางภาระใหแกรัฐและผูปกครอง ดังนั้น ดวยความ พยายามทั้งกําลังกายและกําลังใจจึงไดดําเนินการจัดตั้งวิทยาลัยศรีโสภณขึ้น การจัดตั้งวิทยาลัยศรีโสภณมีวัตถุประสงคเพื่อจัดการศึกษาและยกระดับการศึกษาใน ภูมภิ าคแถบนีใ้ หมคี วามกาวหนา และยังเปนการพัฒนาเยาวชน ตลอดจนสังคมใหมคี วามเจริญยิง่ ๆ ขึน้ ไป วิทยาลัยศรีโสภณ เปนวิทยาลัยเอกชนแหงแรกในภาคใต ทีเ่ ปดทําการสอนในระดับปริญญาตรี ไดรบั อนุญาตจากทบวงมหาวิทยาลัย ตาม พ.ร.บ. สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ตัง้ แตวนั ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 หมายเหตุ : ในขณะนี้วิทยาลัยหยุดรับนักศึกษาใหมและกําลังดําเนินการขอยกเลิกกิจการ (ขอมูล ณ เดือนกันยายน 2553)
302 สถาบันอุดมศึกษาไทย
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 303
วิทยาลัยสันตพล 299/1 ถนนอุดร-สกล ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 โทรศัพท 0 4232 3464 โทรสาร 0 4220 4263 เว็บไซต http://www.stu.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยสันตพลเปนวิทยาลัยเอกชนแหงแรกของจังหวัดอุดรธานี ที่ไดรับอนุญาตใหจัด ตั้งเปน “วิทยาลัยสันตพล” ตามพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2541 และวิทยาลัยไดเปดรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีครั้งแรกวันที่ 1 พฤศจิกายน 2541 เปนสถาน ศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มุงเนนการเปนผูนําดานการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน ระดับ ประเทศและสรางความเปนเลิศดานวิชาชีพแกทองถิ่น มีวัตถุประสงคเพื่อเปนสถาบันอุดมศึกษา ระดับปริญญาตรี ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับปริญญาโทในปการศึกษา 2550 วิทยาลัย สันตพล และวิทยาลัยรัตนบริหารธุรกิจ แหง สปป.ลาวไดทาํ สัญญาความรวมมือทางดานวิชาการ โดย เปดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี การเงิน การตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ อีกทัง้ วิทยาลัยไดผานการรับรองการประกันคุณภาพการศึกษา จากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) หรือ สมศ. ทุกกลุม สาขาวิชาในการตรวจประเมินประกันคุณภาพการศึกษา รอบที่ 1 และรอบที่ 2 เมื่อป 2548 และ 2552 โดยปจจุบันไดผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงคที่สามารถเขาไปประกอบอาชีพตาม สถานประกอบการในชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตลอดจนไดรับรางวัลจากการประกวดแขงขัน ทักษะทางวิชาการและวิชาชีพ จากหลายหนวยงานจนเปนที่ประจักษ ซึ่งนับเปนความสําเร็จที่หนา ภาคภูมิใจอีกขั้นหนึ่งของวิทยาลัยสันตพล
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โครงการบัณฑิตศึกษา
304 สถาบันอุดมศึกษาไทย
8 7 658 503 162 60
หนวยงาน หลักสูตร คน คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
รับสมัครผูที่มีคุณสมบัติครบตามหลักเกณฑที่วิทยาลัยฯ กําหนด โดยผานการทดสอบ ขอเขียนและการสัมภาษณโดยผูสมัครสามารถสมัครโดยติดตอกับวิทยาลัยโดยตรงผานชองทาง ดังตอไปนี้ 1. ติดตอสมัครผานหมายเลขโทรศัพท 0 4232 3464 2. ติดตอสมัครผานเว็บไซตของวิทยาลัย http://www.stu.ac.th 3. นักศึกษาทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ รงตามกําหนดในโครงการสนับสนุนทุนการศึกษาประเภทตาง ๆ จากวิทยาลัยฯ เชน ทุนเรียนฟรี ทุนคอมพิวเตอรโนตบุกเพื่อการศึกษา ฯลฯ จะตองผานกระบวนการ ทดสอบและสัมภาษณตามที่วิทยาลัยฯ กําหนด
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
74,900 - 166,300 92,400 - 120,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 305
วิทยาลัยแสงธรรม 20 หมูที่ 6 ตําบลทาขาม อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73110 โทรศัพท 0 2429 0100-3 โทรสาร 0 2429 0819 เว็บไซต http://www.saengtham.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยแสงธรรมเปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเฉพาะทางเพื่อจัดการอบรมศึกษาสําหรับ ผูเตรียมเปนศาสนบริกรของคริสตศาสนา นิกายโรมันคาทอลิก เพื่อชวยพัฒนาสังคมไทย โดยเฉพาะ ดานศาสนาและดานจิตใจ วิทยาลัยแสงธรรมกอตั้งขึ้นอยางเปนทางการในป พ.ศ. 2518 โดยไดรับการอนุญาตจาก ทบวงมหาวิทยาลัยในป พ.ศ. 2519 ในการเปดสอนระดับปริญญาตรีหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาปรัชญาและศาสนา และหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา ตอมาในป พ.ศ. 2543 ไดเปดสอนระดับปริญญาตรีหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา เพิ่มขึ้น อีกหลักสูตรหนึ่ง สําหรับสาขาวิชาคริสตศาสนศึกษานั้น นักศึกษาที่จบไปจะนําความรูที่ไดไปสอน คําสอนของศาสนาคริสตตามโรงเรียนคาทอลิกทัว่ ประเทศ และป พ.ศ. 2553 เปดหลักสูตรศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม ทั้งนี้ นักศึกษาที่จะเตรียมตัวเปนบาทหลวงจะเริ่มศึกษาในคณะมนุษยศาสตร สาขาวิชา ปรัชญาและศาสนาเปนเวลา 4 ป และเขาศึกษาตอในคณะศาสนศาสตร สาขาวิชาเทววิทยา อีก 3 ป เพือ่ ไดรบั ความรูท งั้ ทางดานปรัชญาและเทววิทยาในการทีจ่ ะสานตอพันธกิจของพระคริสตเจาดวย จิตตารมณแหงการรักและรับใชตอไปในสังคมไทย
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรปกติ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน คณะมนุษยศาสตร คณะศาสนศาสตร
306 สถาบันอุดมศึกษาไทย
2 4 4 264 21 22
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง สอบถามขอมูลเพิ่มเติม โทรศัพท 0 2429 0100-3 หรือดูรายละเอียดไดที่เว็บไซต http:// www.saengtham.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท
150,000 - 200,000 150,000 - 200,000
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 307
วิทยาลัยอินเตอรเทคลําปาง 173/1 ถนนพหลโยธิน ตําบลชมพู อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง 52100 โทรศัพท 0 5423 1068-69 โทรสาร 0 5423 1066 เว็บไซต http://www.lit.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยอินเตอรเทคลําปาง (Lampang Inter-Tech College : LIT) ไดรับอนุญาตใหจัดการ ศึกษาระดับปริญญาตรีจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2547 ซึง่ เปนการพัฒนาและขยายฐานการศึกษาจากโรงเรียนลําปางพาณิชยการและเทคโนโลยี ทีก่ อ ตัง้ มา ตั้งแตปการศึกษา 2515 จนถึงปจจุบนั มหาวิทยาลัยไดจดั การเรียนการสอนทัง้ ในระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรี และโครงการบัณฑิตศึกษา รวมทั้งไดขยายการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง ณ วิทยาลัยอินเตอรเทค ลําปาง ศูนยกรุงเทพฯ ดวยวิสยั ทัศนทจี่ ะมุง สูค วามเปนมหาวิทยาลัยทีเ่ ปนแหลงเรียนรูท างวัฒนธรรม แหงอนุภมู ภิ าคลุม แมนาํ้ โขง วิทยาลัยฯ ไดทาํ ความรวมมือกับสถาบันการศึกษาในประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีนเพื่อแลกเปลี่ยนนักศึกษา บุคลากร และสงเสริมการศึกษาวัฒนธรรมระหวางกัน อาทิ โรงเรียนอาชีวศึกษาชั้นสูงจิ่งหง สิบสองปนนา, Xishuangbanna Vocational and Technical Institute, Yunnan University of Finance and Economics, Hezhou University, Yulin Normal University, Bowen College of Management, Guilin University of Technology
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553) จํานวนคณะ หนวยงาน และสํานักตาง ๆ จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรหลักสูตรปกติ - หลักสูตรนานาชาติ จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวนบุคลากรของวิทยาลัย
308 สถาบันอุดมศึกษาไทย
6 12 11 1 22 993 24 101
หนวยงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน
คณะ สํานักวิชา และสถาบัน
คณะบัญชี คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยี โครงการบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยอินเตอรเทคลําปาง ศูนยกรุงเทพฯ
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ เว็บไซต http://www.lit.ac.th
คาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรี ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับปริญญาโท
90,000 - 105,000 176,000 - 236,000 24,000 100,000
บาท บาท บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับคณะ สาขาวิชา วิทยาเขต ที่จะศึกษาตอ กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากสถาบันฯ โดยตรง
วิทยาลัยเอกชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 309
วิทยาลัยชุมชนตราด 64/1 หมู 2 ถนนตราด-คลองใหญ ตําบลเนินทราย อําเภอเมือง จังหวัดตราด 23000 โทรศัพท 0 3967 1887 โทรสาร 0 3967 1888 เว็บไซต http://www.tratcc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนตราด ไดจัดตั้งตามประกาศจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ ป พ.ศ. 2547 จัดการศึกษาครัง้ แรกในปการศึกษา 2549 เพือ่ ตอบสนองความตองการของคนในทองถิน่ เปนหลัก เปนสถาบันการศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยจัดการศึกษาทัง้ ใน ระดับอนุปริญญา และหลักสูตรฝกอบรม สําหรับพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพใหแกคนวัยทํางาน อีกทั้งตอบสนองดานการศึกษาแกผูที่ไมสามารถออกไกลจากทองถิ่นได เพื่อใหกาวทันทั้งทางดาน วิชาการ เตรียมพรอมเพือ่ การศึกษาในระดับทีส่ งู ขึน้ สามารถนําความรูท ไี่ ดรบั จากวิทยาลัยชุมชนตราด ไปปรับใชเพือ่ การดํารงชีวติ ประจําวันอยางมีความสุขและมีคณ ุ คา อีกทัง้ ยังปลูกฝงใหผเู รียนตระหนัก ถึงคุณคา และหวงแหนในทรัพยากรที่มีอยู ตลอดจนภาคภูมิใจในวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามใน ทองถิ่นของตน วิทยาลัยชุมชนตราด ตระหนักถึงประโยชนและคุณคาของการอานหนังสือ เห็นความสําคัญ ของการแลกเปลีย่ นเรียนรูซ งึ่ กันและกัน จึงมีศนู ยวทิ ยบริการเพือ่ ใหบริการการคนควาและสืบคนขอมูล ตาง ๆ มีโครงการใหบริการความรูแกชุมชน และโรงเรียนขนาดเล็กที่ดอยโอกาส
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนกลุมงานในวิทยาลัยชุมชนตราด จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรอนุปริญญา - หลักสูตรฝกอบรม จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
310 สถาบันอุดมศึกษาไทย
6 33 4 29 471 27
กลุมงาน หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง เปดรับสมัครกอนปการศึกษาประมาณ 3 เดือน เพื่อรวบรวมจํานวนผูที่จะเรียน โดยจะ รับสมัครทุกศูนยจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนตราด
คาใชจายการศึกษา
ระดับอนุปริญญา
3,100 - 3,500
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 311
วิทยาลัยชุมชนตาก ถนนพหลโยธิน หมู 1 ตําบลหนองบัวใต อําเภอเมือง จังหวัดตาก 63000 โทรศัพท 0 5589 7060-1 โทรสาร 0 5589 7063 เว็บไซต http://www.takcc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนตาก เปนสถานศึกษาสังกัดสํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดตัง้ เมือ่ วันที่ 17 เมษายน 2545 จัดการ ศึกษาเพือ่ เอือ้ ประโยชนแกประชาชนผูพ ลาดโอกาสทางการศึกษาในอดีตใหมที างเลือกใหมทจี่ ะศึกษา เรียนรูด า นวิชาการ และวิชาชีพตามความพรอมและความจําเปนของแตละบุคคล บริหารงานในรูปแบบ วิทยาลัยชุมชนแมขาย เครือขาย และหนวยจัดโดยใชหนวยงานและสถานศึกษาทีม่ อี ยูในจังหวัดตาก รวมดําเนินการ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2547 วิทยาลัยชุมชนตากไดดําเนินการใหเปนไปตามกฎกระทรวง คือ จัดใหมีการลงนามสงมอบงานวิทยาลัยชุมชนตาก เครือขายทั้ง 4 แหงเดิมใหแกวิทยาลัยชุมชนตาก และใหดําเนินการในรูปหนวยจัดการศึกษา จัดการบริหารสถานศึกษาใหเปนสถานศึกษาเดียว คือ วิทยาลัยชุมชนตากและหาที่ตั้งใหมเปนเอกเทศ ปจจุบันวิทยาลัยชุมชนตากจัดการศึกษาหลักสูตร อนุปริญญา และหลักสูตรฝกอบรมระยะสั้น เพื่อตอบสนองความตองการทางดานการศึกษาใหแก ประชาชนจังหวัดตาก และจังหวัดใกลเคียง โดยมีหนวยจัดการศึกษาและหองเรียนอยูในจังหวัดตาก จํานวน 11 แหง อันจะสงผลตอการสรางงาน สรางอาชีพ และสรางรายไดของประชาชนในทองถิ่น หลากหลายอาชีพ
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหนวยจัดการศึกษา จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรอนุปริญญาและหลักสูตรระยะสั้น จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
312 สถาบันอุดมศึกษาไทย
12 2 2 1,269 34
แหง หลักสูตร หลักสูตร คน คน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน การปกครองทองถิ่น คอมพิวเตอรธุรกิจ การศึกษาปฐมวัย การแพทยแผนไทย
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง สอบถามขอมูลไดที่ โทรศัพท 0 5589 7060-1 หรือดูรายละเอียดเพิม่ เติมที่ http://www.takcc.ac.th
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา
3,500
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 313
วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส* 223 หมู 10 ถนนสุริยะประดิษฐ ตําบลลําภู อําเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 96000 โทรศัพท 0 7364 2721-2 โทรสาร 0 7364 2723 เว็บไซต http://www.ncc.ac.th
แนะนํา
ในชวงทศวรรษทีผ่ า นมา รัฐไดใหความสําคัญอยางตอเนือ่ งกับการศึกษาสําหรับประชาชน และไดขยายโอกาสทางการศึกษาทุกระดับ โดยเฉพาะอยางยิ่งไดขยายการศึกษาภาคบังคับจาก 6 ป เปน 9 ป และขยายการศึกษาขั้นพื้นฐานเปน 12 ป ทําใหประชาชนเห็นความสําคัญและมีความ ตองการศึกษาในระดับสูงเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ผลกระทบจากสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมยิ่งสงผล ใหประชาชนโดยเฉพาะที่อาศัยอยูในชนบทกลายเปนผูดอยโอกาสในการศึกษาตอระดับอุดมศึกษา เพิ่มขึ้น ทั้งยังขาดแคลนยากไร ทิ้งถิ่นไปหางานทําที่อื่น ชุมชนจึงออนแอและขาดการพัฒนา ดังนั้น เพื่อใหประชาชนไดรับโอกาสเทาเทียมกันที่จะเรียนรูไดตลอดชีวิต โดยยึดหลักการตามนโยบาย “การศึกษาสรางชาติ สรางคน และสรางงาน” รัฐบาลจึงกําหนดไวในนโยบายที่แถลงตอรัฐสภา เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2544 ดานการศึกษาขอ 4 จัดใหมีวิทยาลัยชุมชนขึ้น โดยเฉพาะในจังหวัด ที่ยังขาดแคลนสถาบันอุดมศึกษา ปจจุบันวิทยาลัยชุมชนนราธิวาส มีหนวยจัดทั้งสิ้น 3 หนวยจัด ซึ่งครอบคลุมพื้นที่รับผิดชอบทั้ง 13 อําเภอ ในจังหวัดนราธิวาส ดังนี้ 1. แมจาย มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งสิ้น 5 อําเภอ ซึ่งประกอบดวย อําเภอเมือง อําเภอบาเจาะ อําเภอยี่งอ อําเภอระแงะ และ อําเภอเจาะไอรอง 2. หนวยจัดการศึกษาเทศบาลตําบลรือเสาะ มีพนื้ ทีร่ บั ผิดชอบทัง้ สิน้ 3 อําเภอ ซึง่ ประกอบ ดวย อําเภอรือเสาะ อําเภอศรีสาคร และ อําเภอจะแนะ 3. หนวยจัดการศึกษาสุไหงโกลก มีพนื้ ทีร่ บั ผิดชอบทัง้ สิน้ 5 อําเภอ ซึง่ ประกอบดวย อําเภอ สุไหงโกลก อําเภอแวง อําเภอสุคิริน อําเภอสุไหงปาดี และ อําเภอตากใบ ปจจุบันวิทยาลัยไดเปดสอนในหลักสูตรอนุปริญญา 8 สาขา และมีหลักสูตรอบรม ที่สอดคลองกับการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของชุมชนเปนหลัก ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.ncc.ac.th
314 สถาบันอุดมศึกษาไทย
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
หลักสูตรอนุปริญญา - การปกครองทองถิ่น - การจัดการทั่วไป - การศึกษาปฐมวัย - ธุรกิจอาหารฮาลาล - การพัฒนาชุมชน - การบัญชี - คอมพิวเตอรธุรกิจ - เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การรับสมัครเขาศึกษา
สนใจสมัครเขาศึกษา สอบถามรายละเอียดที่เบอรโทรศัพท 0 7364 2721-2 หรือ ดูรายละเอียดที่ http://www.ncc.ac.th
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
* อางขอมูลจากเว็บไซต http://www.ncc.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย 315
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย ถนนบุรีรัมย-สตึก ตําบลบัวทอง อําเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย 31000 โทรศัพท 0 4461 5128 โทรสาร 0 4461 5129 เว็บไซต http://www.brcc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย กําเนิดมาจากนโยบายของรัฐบาลที่แถลงตอรัฐสภาเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2544 และวิทยาลัยชุมชนบุรรี มั ยไดจดั ตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 17 เมษายน 2545 โดยมีวสิ ยั ทัศน ในการจัดการศึกษาตามความตองการชุมชน เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษา และพัฒนาคุณภาพชีวิต ของชุมชน และมีพันธกิจในการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาตามมาตรฐานอุดมศึกษา รวมทั้งจัด ฝกอบรมและบริการทางวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดจนสรางความพรอมผูเรียนเพื่อปรับ พื้นฐานการศึกษาใหเต็มประสิทธิภาพ ทั้งนี้มีปรัชญาในการดําเนินงาน ดังนี้ วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย เปนสถาบันการศึกษา เพื่อพัฒนาคน พัฒนาทองถิ่น
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหนวยจัดการศึกษา จํานวนหลักสูตรอนุปริญญา จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป สาขาวิชาการบัญชี
316 สถาบันอุดมศึกษาไทย
8 7 1,906 36
หนวย หลักสูตร คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• ประเภทรับตรงสมัครไดที่วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย โทรศัพท 0 4461 5128 - หนวยจัดการศึกษาโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก โทรศัพท 0 81072 9803 - หนวยจัดการศึกษาอําเภอพลับพลาชัย (โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม) โทรศัพท 0 4460 8090 - หนวยจัดการศึกษาโรงเรียนคูเมืองวิทยาคม โทรศัพท 0 4469 9055 หรือ 0 4469 9349 - หนวยจัดการศึกษาเทศบาลเมืองนางรอง (โรงเรียน TOA วิทยา) โทรศัพท 0 4463 2171 - หนวยจัดการศึกษาองคการบริหารสวนตําบลศรีสวาง อําเภอนาโพธิ์ โทรศัพท 08 3380 4928 หรือ 0 4462 9246 - หนวยจัดการศึกษาโรงเรียนบานกรวดวิทยาคาร โทรศัพท 0 4467 9098 - หนวยจัดการศึกษาโรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรพ อําเภอประโคนชัย โทรศัพท 0 4465 1021 - หนวยจัดการศึกษาโรงเรียนกระสังพิทยาคม โทรศัพท 0 4469 1036 หรือ 0 4465 1021
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา
400 - 500
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 317
วิทยาลัยชุมชนปตตานี ถนนปากนํ้า ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี 94000 โทรศัพท 0 7346 0205 โทรสาร 0 7346 0061 เว็บไซต http://www.pncc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนปตตานี เปนสถาบันอุดมศึกษาที่ดําเนินภารกิจใหการศึกษาและฝกอบรม ดานวิชาการและวิชาชีพ ตามหลักสูตรที่สอดคลองกับความตองการของชุมชน จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2547 เปนจังหวัดที่ 12 ตามนโยบายใหมกี ารจัดตัง้ วิทยาลัยชุมชนปตตานีตามยุทธศาสตร การพัฒนา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ปจจุบัน วิทยาลัยชุมชนปตตานีดําเนินการจัดการเรียนการสอน การฝกอบรมวิชาชีพและ บริการวิชาการ และวิชาชีพแกประชาชน เปดสอนหลักสูตรระดับอนุปริญญาจํานวน 6 สาขาวิชา คือ สาขาการศึกษาปฐมวัย สาขาการพัฒนาชุมชน สาขาการปกครองทองถิ่น สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาธุรกิจอาหารฮาลาล และสาขาการจัดการทัว่ ไป ดําเนินการจัดการเรียนการสอนโดยอาศัยสถาน ศึกษาใน 3 อําเภอหลัก คือ อําเภอเมือง ประกอบดวย โรงเรียนเทศบาล 5 และโรงเรียนเทศบาล 1 อําเภอโคกโพธิ์ ประกอบดวยโรงเรียนโพธิ์คีรีราชศึกษา และอําเภอสายบุรี ประกอบดวย โรงเรียน เทศบาลบานตะลุบัน จังหวัดปตตานี ซึ่งอําเภอดังที่กลาวมานั้นเปนอําเภอศูนยกลางที่สะดวก ตอการเดินทางไปศึกษา และเพื่อใหประชาชนไดมีโอกาสเขาศึกษาไดอยางเต็มที่ ประหยัดเวลา และ คาใชจายในการเดินทาง
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหลักสูตรทั้งหมด จํานวนนักศึกษา จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
318 สถาบันอุดมศึกษาไทย
6 1,161 23
หลักสูตร คน คน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน การพัฒนาชุมชน การปกครองทองถิ่น การศึกษาปฐมวัย คอมพิวเตอรธุรกิจ ธุรกิจอาหารฮาลาล การจัดการทั่วไป
การรับสมัครเขาศึกษา
• สอบคัดเลือก และลําดับสํารองไวตามเปาหมายในแตละป ณ วิทยาลัยชุมชนปตตานี โทรศัพท 0 7346 0205
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา 5,000 - 6,000 (เฉพาะคาลงทะเบียนเรียน รวมทุกภาคการศึกษาตลอดหลักสูตร)
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 319
วิทยาลัยชุมชนแพร 33/13 ถนนคุมเดิม ตําบลในเวียง อําเภอเมือง จังหวัดแพร 54000 โทรศัพท 0 5453 2191 โทรสาร 0 5453 2192 เว็บไซต http://www.phrcc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนแพร เปนสถาบันอุดมศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มีการจัดการศึกษาหลักสูตรระดับอนุปริญญาและหลักสูตรฝกอบรมระยะสั้น วิทยาลัยชุมชนแพรกอตั้งอยางเปนทางการ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ 2549 และเริ่มดําเนินการจัดการ ศึกษาในป 2550 จนถึงปจจุบันจัดการศึกษาหลักสูตรระดับอนุปริญญาใหแกนกั ศึกษาจํานวน 4 รุน และขยายหองเรียนเพิ่มใน 4 อําเภอของจังหวัดแพร ไดแก หองเรียนอําเภอเมือง สถานที่เรียนคือ วิทยาลัยชุมชนแพร หองเรียนอําเภอเดนชัย สถานที่เรียนเทศบาลตําบลเดนชัย หองเรียนอําเภอลอง สถานทีเ่ รียนคือ เทศบาลตําบลหวยออ และหองเรียนอําเภอวังชิน้ สถานทีเ่ รียนคือ โรงเรียนวังชิน้ วิทยา สําหรับการจัดการศึกษาหลักสูตรระดับอนุปริญญานั้น วิทยาลัยชุมชนแพรยึดหลักการเปดกวาง เขาใจงาย เสียคาใชจายนอย และเปดโอกาสทางดานการศึกษาใหแกประชาชนทุกคนอยางเทาเทียม กัน นอกจากนี้ วิทยาลัยชุมชนแพรยงั จัดการศึกษาหลักสูตรฝกอบรมระยะสัน้ ทีห่ ลากหลายตามความ ตองการของชุมชน ใหสามารถพึ่งพาและพัฒนาตนเองใหสอดคลองกับศักยภาพของจังหวัด
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนกลุมงาน จํานวนหลักสูตรระดับอนุปริญญา จํานวนหลักสูตรฝกอบรมระยะสั้น จํานวนนักศึกษาหลักสูตรระดับอนุปริญญา จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
320 สถาบันอุดมศึกษาไทย
5 6 22 711 37
กลุมงาน หลักสูตร หลักสูตร คน คน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
การรับสมัครเขาศึกษา
• สอบถามหรือสมัครไดดวยตนเองที่ วิทยาลัยชุมชนแพร 33/13 ถนนคุมเดิม ตําบลในเวียง อําเภอเมือง จังหวัดแพร 54000 โทรศัพท 0 5453 2191 โทรสาร 0 5453 2192 เว็บไซต http://www.phrcc.ac.th
คาใชจายในการศึกษา
หลักสูตรระดับอนุปริญญา คาใชจายภาคเรียนละ หลักสูตรฝกอบรมระยะสั้น คาใชจายชั่วโมงละ
500 - 600 1-5
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 321
วิทยาลัยชุมชนพังงา 69 หมู 6 ตําบลบอแสน อําเภอทับปุด จังหวัดพังงา 82180 โทรศัพท กลุมอํานวยการ 0 7659 9014 กลุมวิชาการ 0 7659 9405 โทรสาร กลุมอํานวยการ 0 7659 9214 กลุมวิชาการ 0 7659 9405 เว็บไซต http://www.pngcc.ac.th
แนะนํา
ตามนโยบายของรัฐบาลที่แถลงตอรัฐสภา เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ พ.ศ. 2549 ดาน การศึกษาขอที่ 4 วา จัดใหมวี ทิ ยาลัยชุมชนขึน้ โดยเฉพาะในจังหวัดทีย่ งั ขาดแคลนสถาบันอุดมศึกษา และเพื่อใหประชาชนไดรับโอกาสเทาเทียมกันที่จะเรียนรูตลอดชีวิต ประกอบกับรัฐธรรมนูญแหงราช อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย มาตรา 43 บุคคลยอมมีสทิ ธิ เสมอกันในการรับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานไมนอ ยกวาสิบสองปทรี่ ฐั จะตองจัดใหอยางทัว่ ถึงและมีคณ ุ ภาพ โดยยึดหลักการตามนโยบาย “การศึกษาสรางชาติ สรางคนและสรางงาน” คณะรัฐมนตรีจึงมีมติ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ พ.ศ. 2545 ใหมีการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนขึ้นใน 10 จังหวัดของประเทศไทย ซึ่งเปนจังหวัดที่ขาดแคลนสถาบันการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อใหประชาชนไดรับโอกาสเทาเทียมกันที่จะ เรียนรูตลอดชีวิต วิทยาลัยชุมชนพังงา จึงไดจัดตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องจัดตั้งวิทยาลัย ชุมชน เมือ่ วันศุกรที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2547 และมีการจัดการเรียนการสอนครัง้ แรกในปการศึกษา 2549 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2549 เริ่มแรกใชสถานที่โรงเรียนทับปุดวิทยา ตําบลบอแสน อําเภอทับปุด จังหวัดพังงา เปนทีต่ งั้ สํานักงานชัว่ คราววิทยาลัยชุมชนพังงา จากนัน้ เมือ่ วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2550 ไดยายสถานที่ตั้งสํานักงานวิทยาลัยชุมชนพังงาไปยังสํานักงานถาวรของวิทยาลัยชุมชนพังงา ซึ่งตั้ง อยูที่ 69 หมูที่ 6 ตําบลบอแสน อําเภอทับปุด จังหวัดพังงา มีเนื้อที่ประมาณ 20 ไร โดยไดรับมอบ ที่ดินจากโรงเรียนทับปุดวิทยา หางจากอําเภอเมืองพังงา 25 กิโลเมตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนสถานที่จัดการศึกษา จํานวนหนวยจัดการศึกษา จํานวนหลักสูตรอนุปริญญา จํานวนหลักสูตรฝกอบรม จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนผูเรียนหลักสูตรฝกอบรม จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
322 สถาบันอุดมศึกษาไทย
4 1 5 18 531 593 24
แหง แหง หลักสูตร หลักสูตร (ประจําปงบประมาณ 2553) คน คน คน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
อนุปริญญาวิทยาศาสตร (คอมพิวเตอรธุรกิจ) อนุปริญญาศิลปศาสตร (การปกครองทองถิ่น) อนุปริญญาศิลปศาสตร (การจัดการทั่วไป) อนุปริญญาศึกษาศาสตร (การศึกษาปฐมวัย) อนุปริญญาสารสนเทศศาสตร (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 7659 9405 หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.pngcc.ac.th
คาใชจายในการศึกษา
หลักสูตรอนุปริญญา
หลักสูตรฝกอบรม
หลักสูตร 3 ป (ใชเวลาศึกษาตลอดหลักสูตร 7 ภาคการศึกษา) จํานวนหนวยกิตที่ศึกษาไมตํ่ากวา 90 หนวยกิต อัตราหนวยกิตละไมเกิน 25 บาท คาใชจายตํ่าสุด 2,250 บาท - คาใชจายสูงสุด 3,500 บาท ขึ้นอยูกับจํานวนชั่วโมงของแตละหลักสูตร อัตราชั่วโมงละ 1 - 5 บาท คาใชจายตํ่าสุด 50 บาท - คาใชจายสูงสุด 450 บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 323
วิทยาลัยชุมชนพิจิตร 150 หมู 6 ถนนบางมูลนาก-โพทะเล ตําบลทาบัว อําเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร 66130 โทรศัพท 0 5665 9180 (0) โทรสาร 0 5665 9180 (107) เว็บไซต http://www.pcc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนพิจิตรเดิมคือวิทยาลัยการอาชีพโพทะเล ตั้งอยูเลขที่ 150 หมู 6 ถนน บางมูลนาก - โพทะเล ตําบลทาบัว อําเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร บนที่ดินจํานวน 120 ไร เปนที่ดิน อยูในความดูแลของสภาตําบลทาบัว อยูในความรับผิดชอบของสํานักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดพิจิตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ ในชวงเดือนกันยายน 2539 กรมอาชีวศึกษาจังหวัดพิจิตรมีมติเห็นควร ใหมีการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนพิจิตร และไดรับการประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2545 วิทยาลัยชุมชนพิจติ ร มีวสิ ยั ทัศนทจี่ ะเปนสถาบันการศึกษาชัน้ นําในการจัดการศึกษาใหแก ทองถิ่น ทั้งวิชาการและวิชาชีพเต็มรูปแบบอยางมีคุณภาพ โดยปจจุบันมีการจัดการเรียนการสอนใน ระดับอนุปริญญาตรี หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และหลักสูตร ฝกอบรมในหลายสาขา เพื่อเปนพื้นฐานการประกอบอาชีพและศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหนวยจัดการศึกษา (รวมแมขาย) จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรอนุปริญญา - หลักสูตร ปวส. - หลักสูตร ปวช. จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จํานวนนักศึกษาหลักสูตรฝกอบรม จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
หลักสูตรอนุปริญญา - การปกครองทองถิ่น - คอมพิวเตอรธุรกิจ - การศึกษาปฐมวัย - การจัดการทั่วไป - การบัญชี
324 สถาบันอุดมศึกษาไทย
10 15 5 4 6 647 263 1,295 500 140
หนวย หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
หลักสูตร ปวส. หลักสูตร ปวช. - สาขางานเครื่องกล - สาขางานเครื่องกล - สาขางานไฟฟาอิเล็กทรอนิกส - สาขางานไฟฟากําลัง และเทคนิคคอมพิวเตอร - สาขางานอิเล็กทรอนิกส - สาขางานบัญชี - สาขางานชางเชื่อม - สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ - สาขางานบัญชี - สาขางานคอมพิวเตอร
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง ติดตอที่ - หนวยจัดการศึกษา วิทยาเขตทับคลอ อ.ทับคลอ โทรศัพท 0 5664 1337 - หนวยจัดการศึกษา วัดสามงาม อ.สามงาม โทรศัพท 0 5669 1249 - หนวยจัดการศึกษา สากเหล็ก อ.สากเหล็ก โทรศัพท 0 5661 4959 - หนวยจัดการศึกษา อบต.เมืองเกา ต.เมืองเกา อ.เมือง โทรศัพท 0 5665 5282 - หนวยจัดการศึกษา ศบอ.วังทรายพูน อ.วังทรายพูน โทรศัพท 0 5669 5077 - หนวยจัดการศึกษา อบต.ปากทาง ต.ปากทาง อ.เมือง โทรศัพท 0 5661 6285 - หนวยจัดการศึกษา อบต.ดงกลาง ต.ดงกลาง อ.เมือง โทรศัพท 08 6925 7331 - หนวยจัดการศึกษา โรงเรียนโปงวัวแดง อ.บึงนาราง โทรศัพท 0 5663 8899 - หนวยจัดการศึกษา โรงเรียนวังตะกูราษฎรอุทิศ อ.บางมูลนาก โทรศัพท 0 5665 7015 - หนวยจัดการศึกษา โรงเรียนโพธิ์ประทับชาง อ.โพธิ์ประทับชาง โทรศัพท 0 5690 3038
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลักสูตรฝกอบรม
4,500 - 4550 บาท 4,800 - 6,000 บาท ไมเสียคาใชจาย 150 - 770 บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 325
วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ที่วาการอําเภอเมืองหลังเดิม ถนนพิทักษพนมเขต อําเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 49000 โทรศัพท 0 4261 2596-9 ตอ 107 และ 0 4261 4790 โทรสาร 0 4261 5197 เว็บไซต http://www.mukcc.ac.th
แนะนํา
วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2545 กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนตามมติ คณะรัฐมนตรีใน 10 จังหวัด คือ จังหวัดแมฮองสอน พิจิตร ตาก บุรีรัมย มุกดาหาร หนองบัวลําภู สระแกว อุทัยธานี ระนอง และนราธิวาส และในป 2547 ไดดําเนินการขยายจัดตั้งวิทยาลัยชุมชน เพิ่มเติม คือ จังหวัดยโสธร สมุทรสาคร ตราด สตูล และพังงา ตอมาในป 2549 ไดประกาศจัดตั้ง วิทยาลัยชุมชนเพิ่มอีก 1 แหง ที่จังหวัดแพร และป 2550 อีก 1 แหง ที่จังหวัดสงขลา วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารไดรับอนุญาตจากผูวาราชการจังหวัดมุกดาหารใหใชอาคาร ที่วาการอําเภอเมืองมุกดาหารหลังเกา ซึ่งเปนอาคารสํานักงานวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ตั้งแตวันที่ 26 พฤษภาคม 2547 โดยวิทยาลัยการชุมชนมุกดาหาร ใชประโยชนจากอาคารดังกลาวเปนสํานักงาน วิทยาลัย ศูนยวทิ ยบริการ ศูนยภาษาแบบพึง่ พาตนเอง บริการนักศึกษาและหองเรียน ปจจุบนั สถาบัน เปดสอนในระดับอนุปริญญา 6 หลักสูตร และมีหลักสูตรฝกอบรม จํานวน 42 หลักสูตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหนวยจัดการศึกษา จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรอนุปริญญา - หลักสูตรฝกอบรม จํานวนนักศึกษาอนุปริญญา จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
326 สถาบันอุดมศึกษาไทย
8 48 6 42 1,216 33
แหง หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน -
อนุปริญญาตรี ศึกษาศาสตร สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย อนุปริญญาตรี วิทยาศาสตร สาขาคอมพิวเตอร อนุปริญญาตรี ศิลปศาสตร สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น อนุปริญญาตรี ศิลปศาสตร สาขาวิชาการจัดการทั่วไป อนุปริญญาตรี ศิลปศาสตร สาขาวิชาธุรกิจระหวางประเทศในกลุมอินโดจีน (การคาชายแดน) - หลักสูตรประกาศนียบัตร หลักสูตรเทคนิคเภสัชกรรม - หลักสูตรการฝกอบรม ตามความตองการของชุมชน
การรับสมัครเขาศึกษา
• ประกาศรับสมัครแบบตรง ไมมีการสอบแขงขัน ระหวางวันที่ 1 มีนาคม 30 เมษายน เปนประจําทุกป สอบถามเพิ่มเติมไดที่เบอรโทรศัพท 0 4261 2596-9 ตอ 107 และ 0 4261 4790 โทรสาร 0 4261 5197 หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.mukcc.ac.th
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา 2,700 - 3,500 การฝกอบรมวิชาชีพชั่วโมงละไมเกิน 5 บาท รวมคาสมัคร 10 บาท
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 327
วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน 36 ถนนปางลอนิคม ตําบลจองคํา อําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน 58000 โทรศัพท 0 5361 4376 โทรสาร 0 5361 4377 เว็บไซต http://www.mcc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน ไดประกาศจัดตั้งโดยกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2545 เพื่อเปนสถานศึกษาที่จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของรัฐบาลที่มุงเนนในเรื่องของ “การศึกษาสรางชาติ สรางคน สรางงาน” โดยเปดดําเนินการจัดการเรียนการสอนใน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรอนุปริญญา และหลักสูตรระยะสั้น โดยมุงเนนหลักสูตรที่เกิดจากความตองการของชุมชนอยางแทจริง วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน มีทั้งหมด 6 หนวยจัดการศึกษา ไดแก หนวยจัดการศึกษาอําเภอเมือง หนวยจัดการศึกษาอําเภอแมสะเรียง หนวยจัดการศึกษาอําเภอแมลานอย หนวยจัดการศึกษาอําเภอขุนยวม หนวยจัดการศึกษาอําเภอปาย หนวยจัดการศึกษาอําเภอปางมะผา
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหนวยจัดการศึกษา จํานวนหลักสูตรทั้งหมด จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
6 4 1,260 54
ศิลปศาสตร สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น และสาขาวิชาการจัดการทั่วไป ศึกษาศาสตร สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สารสนเทศศาสตร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
328 สถาบันอุดมศึกษาไทย
แหง หลักสูตร คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง ผูท มี่ คี วามสนใจ ขอรับและยืน่ ใบสมัครไดทงี่ านบริการการศึกษา วิทยาลัยชุมชนแมฮอ งสอน อําเภอเมือง (อาคารดงรัก ชั้น 1 ขางสถานีวิทยุ อสมท.) โทรศัพท 0 5361 4376 ตอ 108 หรือสามารถ ดาวนโหลดใบสมัครไดที่ http://www.mcc.ac.th หรือขอรับและยื่นใบสมัครไดที่ หนวยจัดการศึกษา ประจําอําเภอแตละแหง
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา คาใชจายหนวยกิตละ 25 บาท เฉลี่ยภาคการศึกษาละ
3,500 - 4,200 500 - 600
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 329
วิทยาลัยชุมชนยโสธร* ถนนสุวรรณภูมิ-ยโสธร ตําบลสําราญ อําเภอเมือง จังหวัดยโสธร 35000 โทรศัพท 0 4572 4749, 0 4572 4729 โทรสาร 0 4572 4738 เว็บไซต http://www.yasocc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนยโสธร ไดประกาศจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2547 โดยกระทรวง ศึกษาธิการ มีนโยบายใหจัดตั้งโครงการวิทยาลัยชุมชนในจังหวัดที่ขาดแคลนสถาบันอุดมศึกษา โดยการใหมีวิทยาลัยชุมชนเปนสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับตํ่ากวา ปริญญาตรี ซึ่งบริหารจัดการโดยชุมชน มีวัตถุประสงคในการใหการศึกษาและฝกชุมชนดานวิชาการ และดานวิชาชีพ ตามหลักสูตรที่สอดคลองกับความตองการของชุมชน และสงเสริมใหมีการพัฒนา อาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลในชุมชน ปจจุบันเปดสอนหลักสูตรอนุปริญญาและอบรม หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.yasocc.ac.th
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
หลักสูตรอนุปริญญา - สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย - สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น - สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ
330 สถาบันอุดมศึกษาไทย
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง สอบถามรายละเอียดที่ โทรศัพท 0 4572 4749 และ 0 4572 4729 หรือดูรายละเอียดที่ http://www.yasgcc.ac.th
คาใชจายในการศึกษา
คาลงทะเบียนรายวิชา ภาคเรียนปกติ หนวยกิตละไมเกิน คาลงทะเบียนรายวิชา ภาคฤดูรอน หนวยกิตละไมเกิน ไมเกิน 1,000 บาท ตอหนึง่ ภาคการศึกษา
25 50
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
* อางอิงขอมูลจากเว็บไซต http://www.yasocc.ac.th
สถาบันอุดมศึกษาไทย 331
วิทยาลัยชุมชนยะลา 2 ถนนสุขยางค 1 ตําบลสะเตง อําเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท 0 7321 6646 และ 0 7321 6647 โทรสาร 0 7321 6648 เว็บไซต http://www.ycc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนยะลา เปนสถาบันการศึกษาของรัฐที่บริหารจัดการโดยชุมชน เพื่อจัดการ ศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ตํ่ากวาระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาการและวิชาชีพ พรอมทั้งจัดการศึกษา ตอเนื่องตลอดชีวิตและเชื่อมโยงกับการศึกษาในทุกระดับ อีกทั้งรวมถึงหลักสูตรฝกอบรมที่เนนการ พัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวติ ตามความตองการของชุมชนทีส่ อดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งมีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาไดใหความรวมมือในการดําเนินการวิจัย และสํารวจความตองการ ดานการศึกษาของชุมชนในวิทยาลัยชุมชนของจังหวัด เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการสรางและพัฒนา หลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการของชุมชน โดยในปจจุบันวิทยาลัยไดเปดการสอนในระดับ อนุปริญญา จํานวน 7 หลักสูตร วิชาชีพระยะสัน้ ทีส่ อดคลองกับความตองการของชุมชน 24 หลักสูตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรอนุปริญญา - หลักสูตรระยะสั้น จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนนักศึกษาหลักสูตรระยะสั้น จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
หลักสูตรอนุปริญญาศิลปศาสตร สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน หลักสูตรอนุปริญญาศิลปศาสตร สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น หลักสูตรอนุปริญญาศิลปศาสตร สาขาวิชาการจัดการทั่วไป หลักสูตรอนุปริญญาศึกษาศาสตร สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรอนุปริญญาวิทยาศาสตร สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ หลักสูตรอนุปริญญาวิทยาศาสตร สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร หลักสูตรอนุปริญญาบัญชี สาขาวิชาการบัญชี
332 สถาบันอุดมศึกษาไทย
31 7 24 1,230 725 36
หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• วิทยาลัยชุมชนยะลาเปดรับนักศึกษาโดยวิธีรับตรง นักศึกษาที่จบระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเทา โดยไมจํากัดอายุ
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา หลักสูตรระยะสั้น
2,785 - 3,560 40 - 510
บาท บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 333
วิทยาลัยชุมชนระนอง 2/4 หมู 1 ตําบลบางริ้น ถนนเพชรเกษม อําเภอเมือง จังหวัดระนอง 85000 โทรศัพท 0 7782 1068 โทรสาร 0 7782 3326 เว็บไซต http://www.ranong-cc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนระนอง จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของรัฐบาลในการกระจายการศึกษาสู ทองถิน่ เพือ่ ใหประชาชนไดรบั โอกาสเทาเทียมกันทีจ่ ะเรียนรูไ ดตลอดชีวติ โดยยึดหลักการตามนโยบาย “การศึกษาสรางชาติ สรางคน สรางงาน” รัฐบาลจึงกําหนดไวในนโยบายที่แถลงตอรัฐสภา เมื่อ วันที่ 26 กุมภาพันธ 2524 ดานการศึกษาขอที่ 4 วา จัดใหมีวิทยาลัยชุมชนขึ้น โดยเฉพาะในจังหวัด ทีย่ งั ขาดแคลนสถาบันอุดมศึกษา วิทยาลัยชุมชนระนอง เปน 1 ใน 10 จังหวัดนํารองทีจ่ ดั ตัง้ วิทยาลัย ชุมชนขึ้น พรอมกันอีก 9 จังหวัด ไดแก แมฮองสอน ตาก พิจิตร อุทัยธานี สระแกว หนองบัวลําภู มุกดาหาร บุรีรัมย นราธิวาส และระนอง โดยวิทยาลัยชุมชนระนองไดจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2545 เปดดําเนินการรับนักศึกษาเขาศึกษาในปการศึกษา 2545 ระยะแรกใชสถานที่ศูนยการ ศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดระนอง เปนสถานที่ตั้งสํานักงานวิทยาลัยชุมชนแมขาย และมีสถานที่ ศึกษาที่เปนเครือขายอีก 3 สถานศึกษา คือ วิทยาลัยเทคนิคระนอง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ระนอง และวิทยาลัยการอาชีพกระบุรี โดยไดเปดสอนในหลักสูตรอนุปริญญา หลักสูตรปรับพื้นฐาน และหลักสูตรฝกอบรม
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหนวยจัดการศึกษา จํานวนหลักสูตรทั้งหมด - หลักสูตรอนุปริญญา - หลักสูตรฝกอบรม - หลักสูตรปรับพื้นฐาน จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนนักศึกษาหลักสูตรฝกอบรม จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
334 สถาบันอุดมศึกษาไทย
5 16 4 11 1 725 816 23
แหง หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
หลักสูตรอนุปริญญาสังคมศาสตร (อ.สศ.) - สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น - สาขาวิชาการจัดการทั่วไป หลักสูตรอนุปริญญาวิทยาศาสตรประยุกต (อ.วป.) - สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ หลักสูตรอนุปริญญาศึกษาศาสตร (อ.กศ.) - สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง โดยผูสนใจเขาศึกษาสามารถสมัครดวยตนเอง ตามวันเวลาทีว่ ทิ ยาลัยกําหนด และเปดรับ สมัครตามความตองการของชุมชน ดูรายละเอียดตาง ๆ ไดที่ http://www.ranong-cc.ac.th
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา หนวยกิตละ
25
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 335
วิทยาลัยชุมชนสงขลา 186/2 ถนนประธานสุขา ตําบลเทพา อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา 90150 โทรศัพท 0 7437 6667, 0 7437 6633 โทรสาร 0 7437 6665 เว็บไซต http://www.sk-cc.ac.th
แนะนํา
วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนสงขลา จั ด ตั้ ง ขึ้ น โดยความร ว มมื อ ระหว า งสํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กับศูนยอาํ นวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต ทีม่ งุ ดําเนินงาน จัดการศึกษาใหตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ในการแกปญหาพื้นที่พัฒนาพิเศษภาคใต ตาม ยุทธศาสตรเสริมสรางความมั่นคงดวยการจัดโอกาสและคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหกับ คนในพื้นที่ โดยมีความเชื่อวาการศึกษาจะเปนกลไกสําคัญตอการแกปญหาความไมสงบในภาคใต ทีย่ งั่ ยืน ดังนัน้ กระทรวงศึกษาธิการจึงไดประกาศจัดตัง้ วิทยาลัยชุมชนสงขลาขึน้ เมือ่ วันที่ 24 สิงหาคม 2550 ตามกฎกระทรวงวาดวย การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาตํ่ากวาปริญญารูปแบบวิทยาลัย ชุมชน พ.ศ. 2546 และยึดหลักสําคัญในการดําเนินงานคือ “วิทยาลัยชุมชนเปนสถานศึกษาของรัฐ ที่บริหารจัดการโดยชุมชน” วิทยาลัยชุมชนสงขลา จัดการศึกษาในหลักสูตรอนุปริญญา หลักสูตรฝกอบรมตาง ๆ ตาม ความตองการของชุมชน เพือ่ พัฒนาทักษะอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวติ ในสาขาวิชาทีส่ อดคลองกับการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตรการพัฒนาของจังหวัดสงขลา และนโยบายรัฐบาลที่มุงสราง ความเขมแข็งใหกับชุมชน เปดโอกาสอยางกวางขวางแกผูเรียนทุกเพศ ทุกวัย ใหสามารถนําความรู และทักษะไปประกอบอาชีพ ศึกษาตอ หรือพัฒนาคุณภาพชีวิต ปจจุบันสํานักงานชั่วคราววิทยาลัย ชุมชนสงขลาตัง้ อยูใ นบริเวณทีว่ า การอําเภอเทพา โดยทําการปรับปรุงอาคารของสํานักงานการประถม ศึกษาอําเภอเทพา มีพื้นที่ใชสอยประมาณ 200 ตารางเมตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหลักสูตร จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
สาขาการปกครองทองถิ่น สาขาพัฒนาชุมชน สาขาการศึกษาปฐมวัย สาขาการจัดการทั่วไป สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ
336 สถาบันอุดมศึกษาไทย
1 579
หลักสูตร คน
การรับสมัครเขาศึกษา
• โดยวิธีรับตรง สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทรศัพท 0 7437 6666, 0 7437 6633 หรือที่ http://www.sk-cc.ac.th
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา
4,900 - 7,000
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตร ที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 337
วิทยาลัยชุมชนสตูล 271 หมู 4 ตําบลเกตรี อําเภอเมือง จังหวัดสตูล 91140 โทรศัพท 0 7471 1958 โทรสาร 0 7477 2116 เว็บไซต http://www.stcc.ac.th
แนะนํา
กระทรวงศึกษาธิการประกาศจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนสตูล เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2547 ตามกฎ กระทรวงวาดวย การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาตํา่ กวาปริญญารูปแบบวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2546 ซึง่ กําหนดให “วิทยาลัยชุมชนเปนสถานศึกษาของรัฐทีบ่ ริหารจัดการโดยชุมชน” ดังนัน้ หลักการจัดตัง้ และการดําเนินงานวิทยาลัยชุมชนใชหลักการตามแนวทางการปฏิรปู การศึกษา และมติคณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับวิทยาลัยชุมชน เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2545 การจัดตั้งและการดําเนินงานจะตองเกิดจาก ความตองการและความพรอมของชุมชน บริหารจัดการตามปรัชญาและหลักการของวิทยาลัยชุมชน โดยใชทรัพยากรที่มีอยูในพื้นที่ใหเกิดประโยชนสูงสุด จัดการศึกษาในระบบเครือขายและมีความ รวมมือจากทุกภาคสวนของชุมชนจังหวัด วิทยาลัยชุมชนสตูลไดรับความยินยอมจากเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสตูล และอําเภอ เมืองสตูล มอบอาคารสํานักงานกลุมสงเสริมการจัดการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาสตูล (เดิมเปน สํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเมืองสตูล) รวมทั้งที่ดิน ใชเปนสํานักงานบริหารงานของวิทยาลัย ชุมชนสตูล ปการศึกษา 2549 ไดรบั การจัดสรรงบประมาณเพือ่ ทําการปรับปรุงภูมทิ ศั น และซอมแซม อาคารสํานักงาน และเริม่ ดําเนินการจัดการเรียนการสอน จํานวน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรอนุปริญญา จํานวน 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย และสาขาวิชาการปกครองทองถิ่น และจัด ฝ ก อบรมหลั ก สู ต รระยะสั้น จํา นวน 22 หลัก สู ต ร ป จ จุ บั น วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนสตู ล ได ดํ า เนิ น การ จัดการเรียนการสอนหลักสูตรอนุปริญญาจํานวน 6 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน สาขาวิชา อุตสาหกรรมการทองเที่ยว และสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และจัดการเรียน การสอนหลักสูตรฝกอบรมระยะสั้นจํานวน 21 หมู วิชา 37 หลักสูตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหนวยงาน จํานวนหลักสูตรทั้งหมด จํานวนนักศึกษาอนุปริญญา จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
338 สถาบันอุดมศึกษาไทย
4 6 307 24
หนวยงาน หลักสูตร คน คน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมการทองเที่ยว สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การรับสมัครเขาศึกษา
• สมัครโดยตรงที่ สํานักงานวิทยาลัยชุมชนสตูล เลขที่ 271 หมูที่ 4 ตําบลเกตรี อําเภอเมือง จังหวัดสตูล 91140 โทรศัพท 0 7471 1958 โทรสาร 0 7477 2116
คาใชจายในการศึกษา
หลักสูตรอนุปริญญา
2,830 - 3,135
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 339
วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร 101 หมู 9 บานกระซาขาว ตําบลบานบอ อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทรศัพท 0 3445 0001 โทรสาร 0 3445 0003 เว็บไซต http://www.smkcc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร ไดมีการดําเนินการมาตั้งแตปลายปพุทธศักราช 2546 โดย ฯพณฯ องคมนตรี ศ. ดร. นพ.เกษม วัฒนชัย อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีความ คุน เคยกับ นายวิชาญ ศิรชิ ยั เอกวัฒน (ปจจุบนั ดํารงตําแหนง สมาชิกวุฒสิ ภา ภาควิชาชีพ) ไดเปรยวา จังหวัดสมุทรสาครสนใจจะจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนขึ้นบางหรือไม ถามีความสนใจจะชวยดําเนินการให เพราะจังหวัดสมุทรสาครเปนจังหวัดหนึ่งที่ขาดแคลนสถาบันอุดมศึกษา ตอมากระทรวงศึกษาธิการ ไดมีหนังสือแจงมายังผูวาราชการจังหวัดสมุทรสาครเพื่อขอทราบความตองการและความเปนไปได ซึ่งผูวาราชการจังหวัดสมุทรสาครไดตอบหนังสือเสนอขอใหมีการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร โดยแสดงเหตุผลความตองการ และความพรอม ตอมาเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2547 ไดรับอนุมัติให จัดตัง้ เปนวิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร และไดมกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการดําเนินงาน โดยมี นายบุญลอม สําราญ เปนประธานดําเนินงาน และมี ดร.วิมล ชาญชนบท เปนผูปฏิบตั หิ นาทีผ่ อู าํ นวยการ ปจจุบนั วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาครไดเปดการเรียนการสอนในหลักสูตรอนุปริญญา 5 สาขาวิชา และหลักสูตร ฝกอบรม 12 หลักสูตร
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนสถานที่เรียน จํานวนหลักสูตรอนุปริญญา จํานวนหลักสูตรฝกอบรม จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
340 สถาบันอุดมศึกษาไทย
7 5 12 678 543 20
แหง หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน -
สาขาการปกครองทองถิ่น สาขาการจัดการทั่วไป สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาการบัญชี สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง สมัครดวยตนเอง ณ ศูนยการเรียนรูวิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร หรือทางไปรษณีย สงสํานักงานวิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร 101 หมู 9 ตําบลบานบอ อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา หลักสูตรฝกอบรม 5 บาท/ชม. คาสมัคร 10 บาท
3,300 - 3,500
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 341
วิทยาลัยชุมชนสระแกว หมูบานหนองนกเขา ถนนสุวรรณศร ตําบลทาเกษม อําเภอเมือง จังหวัดสระแกว 27000 โทรศัพท 0 3742 5487-8 โทรสาร 0 3742 5487-8 ตอ 107 เว็บไซต http://www.skcc.ac.th
แนะนํา
จังหวัดสระแกวเปน 1 ใน 10 จังหวัดที่ไดรับการคัดเลือกใหจัดตั้งเปนวิทยาลัยชุมชน โดย กระทรวงศึกษาธิการ ไดมีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนสระแกว เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2544 และใหคณะกรรมการมีหนาที่จัดหาและคัดเลือกสถานศึกษา เพื่อเปนวิทยาลัยชุมชน จังหวัดสระแกว คณะกรรมการไดประชุมมีมติใหศนู ยฝก และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน จังหวัดสระแกว ในระยะแรกใหปฏิบัติภารกิจเดิมควบคูกับภารกิจของวิทยาลัยชุมชนจนกวาจะมี การเปลี่ยนแปลง ไดเริ่มจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาและหลักสูตรระยะสั้นมาตั้งแตภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2545 ตอมาในเดือนกรกฎาคม 2547 วิทยาลัยชุมชนสระแกวแยกการดําเนินงานจากศูนยฝก และ พัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนจังหวัดสระแกว เพราะจังหวัดสระแกวมีนโยบายใหพนื้ ทีท่ อี่ ยู ในสวนของศูนยฝก และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนจังหวัดสระแกวเปนอุทยานการศึกษา ของจังหวัดสระแกว จึงมีมติใหศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนจังหวัดสระแกว แบงพื้นที่ใหวิทยาลัยชุมชนสระแกว จํานวน 43 ไร 1 งาน 74 ตารางวา วิทยาลัยชุมชนเปนกลยุทธหนึง่ ทีช่ มุ ชนใชในการพัฒนาคน ชุมชน สังคม และทองถิน่ อยาง ยั่งยืน วิทยาลัยชุมชนเปนของชุมชน บริหารจัดการโดยชุมชน จึงนับวาเปนกระบวนทัศนใหมในการ จัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความตองการของชุมชนอยางแทจริง โดยใชทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่น ใหเกิดประโยชนสูงสุด จัดการศึกษาในระบบเครือขาย มีความรวมมือจากทุกภาคสวนของชุมชนใน จังหวัดกอใหเกิดเครือขายความรวมมือที่เขมแข็งเปนการรวมพลังความคิด และกอใหเกิดพลังปติ ในการทํางานรวมกัน โดยเฉพาะการนําความรูจากภูมิปญญาทองถิ่นมาผสมผสานและปรับปรุงให เปนความรูใหมเพื่อใหชุมชนสามารถนําความรูไปประกอบอาชีพ พัฒนาอาชีพที่ทําอยู หรือสราง อาชีพใหม ๆ ได เพื่อใหสอดคลองกับการดํารงชีวิต วิทยาลัยชุมชนมุงเนนการจัดการเรียนการสอน ตามความตองการของชุมชนเพือ่ นําไปแกปญ หาของชุมชน เปนการจัดการศึกษาทีส่ อดคลองกับแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม วิทยาลัยชุมชนจึงเปดกวางสําหรับประชาชนทุกเพศทุกวัยระดับการศึกษา
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหนวยจัดการศึกษา จํานวนหลักสูตรอนุปริญญา จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
342 สถาบันอุดมศึกษาไทย
5 8 717 28
แหง หลักสูตร คน คน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการปกครองสวนทองถิ่น สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการจัดการทั่วไป สาขาวิชาการคาชายแดน สาขาวิชาการแพทยแผนไทย สาขาวิชาเกษตรอินทรีย
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับ ตรง โดยการประชาสัม พัน ธ ภ ายในจั ง หวั ด สระแก ว สอบถามได ที่ โทรศั พ ท 0 3742 5487-8, 0 3742 5291 โทรสาร 0 3742 5291 หรือดูรายละเอียดที่ http://www.skcc.ac.th
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา
700 - 1,000 บาท/ตอภาคเรียน
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 343
วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลําภู 199 หมู 1 ถนนวังหมื่น-สรางเสี่ยน ตําบลบานมะพราว อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู 39000 โทรศัพท 0 4294 1056 โทรสาร 0 4294 1101 เว็บไซต http://www.nbcc.ac.th
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลําภู ถือกําเนิดตามนโยบายของรัฐบาล ฯพณฯ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร โดยยึดหลักการ “การศึกษาสรางงาน” โดยเฉพาะในจังหวัดที่ขาดแคลนสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งใน ป 2545 ไดจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนขึ้นใน 10 จังหวัดตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2545 ดําเนินการตามกฎกระทรวงวาดวยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาตํา่ กวาปริญญารูปแบบวิทยาลัย ชุมชน พ.ศ. 2546 มีสภาวิทยาลัยชุมชนซึ่งเปนตัวแทนประชาชนจังหวัดหนองบัวลําภู เปนผูกําหนด นโยบายของวิทยาลัย มีผูอํานวยการ ขาราชการ พนักงานราชการ ลูกจาง เปนผูปฏิบัติงานใหบรรลุ ตามพันธกิจและนโยบายของวิทยาลัย และในปจจุบัน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได แตงตั้งนายไพบูลย พันธนิติ ใหดํารงตําแหนงผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนหนองบัวลําภู ตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2552 จนถึงปจจุบัน โดยมีนายพิศาล เชยคําแหง เปนประธานกรรมการสภาวิทยาลัย ชุมชนหนองบัวลําภู
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนหนวยสถานศึกษา จํานวนหลักสูตรอนุปริญญา จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา
344 สถาบันอุดมศึกษาไทย
6 4 680
แหง หลักสูตร คน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับตรง ติ ด ต อ ที่ วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนหนองบั ว ลํ า ภู เลขที่ 199 หมู 1 ถนนวั ง หมื่ น -สร า งเสี่ ย น ตําบลบานพราว อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู 39000 โทรศัพท 0 4294 1056, 08 6458 6590 เว็บไซต http://www.nbcc.ac.th
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา
3,500 – 4,500
บาท
หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 345
วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี 7 หมู 2 ตําบลหวยแหง อําเภอบานไร จังหวัดอุทัยธานี 61140 โทรศัพท 0 5653 9204 โทรสาร 0 5653 9205 เว็บไซต http://202.29.93.139/Uthaithani_Web/index2.html
.
แนะนํา
วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี จัดตั้งเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2545 เปนสถานศึกษาที่จัดตั้งขึ้นตาม นโยบายของรัฐบาล ที่ยึดหลักการ “การศึกษาสรางชาติ สรางคน และสรางงาน” เปนสถานศึกษา ที่จัดการศึกษาหลักสูตรอนุปริญญาและจัดการศึกษาและฝกอบรมในหลักสูตรเพื่อพัฒนาอาชีพและ พัฒนาคุณภาพชีวิต ในสาขาวิชาที่สอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมของชุมชนและพัฒนา คุณภาพชีวิต การจัดการศึกษาและฝกอบรมเนนความหลากหลายทั้งประเภทวิชาและวิธีการจัดการ ศึกษา เพือ่ เปดโอกาสอยางกวางขวางแกผเู รียนทุกเพศทุกวัย ในการนําความรูและทักษะไปประกอบ อาชีพ ศึกษาตอหรือพัฒนาคุณภาพชีวติ โดยมีสถานทีด่ าํ เนินการจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนอุทยั ธานี (วิทยาลัยการอาชีพบานไร) เปนแมขาย และมีศูนยการเรียนรูทั้งหมด 12 แหง วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีอุทัยธานี โรงเรียนหนองฉางวิทยา โรงเรียนหนองขาหยางวิทยา โรงเรียนสวางอารมณ วิทยาคม โรงเรียนการุงวิทยาคม โรงเรียนวัดทัพหมัน โรงเรียนหวยคตพิทยาคม เทศบาลตําบล ตลุกดู โรงเรียนอนุบาลลานสัก โรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี องคการบริหารงานสวนตําบล หนองกระทุม และเทศบาลตําบลหาดทนง นอกจากนี้ วิทยาลัยฯ ยังไดขยายการศึกษาและเปดโอกาสทางการศึกษาใหแกผูสนใจ อยางทั่วถึง มีการขยายศูนยการเรียนรูซึ่งอยูในความรับผิดชอบและดําเนินการจัดการศึกษาอยาง ตอเนื่อง ตามความตองการของชุมชน
ขอมูล สถิติทั่วไป (ขอมูลลาสุด ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2553) จํานวนสถานที่จัดการศึกษา จํานวนหลักสูตรอนุปริญญา จํานวนหลักสูตร ปวส. จํานวนหลักสูตร ปวช. จํานวนนักศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวนนักศึกษาระดับ ปวส. จํานวนนักศึกษาระดับ ปวช. จํานวนนักศึกษาหลักสูตรฝกอบรมระยะสั้น จํานวนบุคลากรของวิทยาลัยชุมชน
346 สถาบันอุดมศึกษาไทย
13 5 8 8 641 105 423 521 62
แหง หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร คน คน คน คน คน
สาขาวิชา (หลักสูตร) ที่เปดสอน
ระดับอนุปริญญา สาขาวิชาการปกครองทองถิ่น สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สาขาวิชาการจัดการทั่วไป สาขาวิชาการบัญชี และสาขาวิชาเทคโนโลยีรถยนต ระดับ ปวส. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม : สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต สาขาวิชา ไฟฟากําลัง สาขางานติดตั้งไฟฟา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ : สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขางานการพัฒนาเว็บเพจ สาขาวิชาการบัญชี สาขางานการบัญชี ระดับ ปวช. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม : สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานยานยนต สาขาวิชาไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส สาขางานไฟฟากําลัง ประเภทวิชาพาณิชยกรรม : สาขาวิชาพณิชยการ สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขา วิชาพณิชยการ สาขางานการบัญชี
การรับสมัครเขาศึกษา
• รับสมัครตรง สอบถามและขอรายละเอียดเพิ่มไดที่ โทรศัพท 0 5653 9204
คาใชจายในการศึกษา
ระดับอนุปริญญา 800 - 1,500 บาท ระดับระดับ ปวส. 2,000 - 3,000 บาท ระดับระดับ ปวช. 70 - 300 บาท ระดับ ปวช. เรียนฟรี (จายคาสมัคร, คาบัตรนักศึกษา, คาหองสมุด, หองพยาบาล, จาย คาประกันอุบัติเหตุ) หมายเหตุ : เปนคาใชจายประมาณการ ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับหลักสูตรที่จะศึกษาหรืออบรม กรุณาตรวจสอบคาใชจายที่แนนอนจากวิทยาลัยชุมชนโดยตรง
วิทยาลัยชุมชน
แผนที่
สถาบันอุดมศึกษาไทย 347
ก
มหาวิทยาลัยเกริก 174 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 168 มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี 170 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 38 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 176 มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น 172 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 150 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี 70 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ 72 มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร 74 สถาบันกันตนา 246 วิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ 262
ข
มหาวิทยาลัยขอนแกน 40
ค
มหาวิทยาลัยคริสเตียน 178
จ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 10 มหาวิทยาลัยเจาพระยา 180 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 76
ซ
มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น 184 วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา 288 วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ 270 วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 272
ด
วิทยาลัยดุสิตธานี 274
ต
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 152 วิทยาลัยตาป 276 วิทยาลัยชุมชนตราด 310 วิทยาลัยชุมชนตาก 312
ท
มหาวิทยาลัยทักษิณ 14 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 186 มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี 84 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน 250 วิทยาลัยทองสุข 278
ธ
ฉ
วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา 264 วิทยาลัยเฉลิมกาญจนาระยอง 266
มหาวิทยาลัยธนบุรี 188 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 42 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต 190 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 154 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 86
ช
น
มหาวิทยาลัยชินวัตร 182 มหาวิทยาลัยเชียงใหม 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 78 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 80 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม 82 วิทยาลัยเชียงราย 268
348 สถาบันอุดมศึกษาไทย
มหาวิทยาลัยนครพนม 44 มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 46 มหาวิทยาลัยนเรศวร 48 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 192 มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม 194 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 88 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 90 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช 92 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 94
วิทยาลัยนครราชสีมา 286 วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส 314
มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น 204
บ
ภ
ป
มหาวิทยาลัยปทุมธานี 200 สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน 66 สถาบันเทคโนโลยีปญญาภิวัฒน์ 252 วิทยาลัยชุมชนปตตานี 318
พ
มหาวิทยาลัยพะเยา 24 มหาวิทยาลัยพายัพ 202 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 16 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา 18 พระนครเหนือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 156 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 100 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 102 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 104 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 106 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ 108 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา 32 เจาคุณทหารลาดกระบัง วิทยาลัยพิชญบัณฑิต 292 วิทยาลัยพิษณุโลก 294 วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ 296 วิทยาลัยชุมชนแพร 320 วิทยาลัยชุมชนพังงา 322 วิทยาลัยชุมชนพิจิตร 324 วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท์ 280
มหาวิทยาลัยภาคกลาง 206 มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 208 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 110 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต 282
ม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 34 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 36 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 50 มหาวิทยาลัยมหิดล 26 มหาวิทยาลัยแมโจ 52 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 28 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 112 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 326 วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน 328
ย
มหาวิทยาลัยโยนก 210 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 114 วิทยาลัยชุมชนยโสธร 330 วิทยาลัยชุมชนยะลา 332
ร
มหาวิทยาลัยรังสิต 212 มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต 214 มหาวิทยาลัยราชธานี 216 มหาวิทยาลัยรามคําแหง 54 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ 158 มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด 116 มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 118 มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี 120 สถาบันรัชต์ภาคย์ 258 วิทยาลัยราชพฤกษ์ 298 วิทยาลัยชุมชนระนอง 324
สถาบันอุดมศึกษาไทย 349
ดัชนี
มหาวิทยาลัยบูรพา 22 มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา 96 มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 98 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 68 สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ 256 วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ 316 วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย 290
ฟ
ล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 160 มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง 122 มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 124 วิทยาลัยลุมนํ้าปง 300
ว
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล 218 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 30 มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร์ (ประเทศไทย) 220 มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น 222 มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ 126 ในพระบรมราชูปถัมภ์
ศ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 56 มหาวิทยาลัยศรีปทุม 224 มหาวิทยาลัยศิลปากร 58 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 162 มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 128 วิทยาลัยศรีโสภณ 302
ส
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 60 มหาวิทยาลัยสยาม 226 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 62 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 20 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 164 มหาวิทยาลัยแสตมฟอร์ด 196 มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 130 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 132 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 134 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา 136 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 138 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 140 สถาบันการเรียนรูเพื่อปวงชน 248 วิทยาลัยสันตพล 304 วิทยาลัยแสงธรรม 306 วิทยาลัยชุมชนสงขลา 336
350 สถาบันอุดมศึกษาไทย
วิทยาลัยชุมชนสตูล 338 วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร 340 วิทยาลัยชุมชนสระแกว 342 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม 284
ห
มหาวิทยาลัยหอการคาไทย 228 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 230 มหาวิทยาลัยหาดใหญ 232 มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง 142 วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลําภู 344
อ
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 234 มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 236 มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย 238 มหาวิทยาลัยอีสาน 244 มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ 244 มหาวิทยาลัยเอเชียน 242 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 64 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 166 มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟก 198 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 144 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 146 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 148 สถาบันเทคโนโลยีแหงอโยธยา 254 สถาบันอาศรมศิลป 260 วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี 346 วิทยาลัยอินเตอร์เทคลําปาง 308
มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ 244 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 150 มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น 222 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 156 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี 70 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 76 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 86 กาฬสินธุ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา 96 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ 72 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 100 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 134 กําแพงเพชร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา 136 มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร 74 วิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ 262 วิทยาลัยเซนต์หลุย 270 กรุงเทพมหานคร วิทยาลัยเซาธ์อีสบางกอก 272 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 168 วิทยาลัยดุสิตธานี 274 มหาวิทยาลัยกรุงธนบุรี 170 วิทยาลัยทองสุข 278 มหาวิทยาลัยเกริก 174 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม284 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 38 สถาบันเทคโนโลยีเจาคุณทหารลาดกระบัง 32 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 176 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน 250 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 10 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 16 สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน 66 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 68 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ 256 พระนครเหนือ 18 สถาบันรัชต์ภาคย์ 258 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 186 สถาบันอาศรมศิลป 260 มหาวิทยาลัยธนบุรี 188 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 42 ขอนแกน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 190 มหาวิทยาลัยขอนแกน 40 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 192 มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 208 มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟก 198 มหาวิทยาลัยอีสาน 240 มหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย 36 วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย 290 มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น 184 มหาวิทยาลัยมหิดล 26 จันทบุรี มหาวิทยาลัยรามคําแหง 54 มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี 120 มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร์ (ประเทศไทย) 220 มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต 214 ฉะเชิงเทรา มหาวิทยาลัยศิลปากร 58 มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 118 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 56 มหาวิทยาลัยศรีปทุม 224 ชลบุรี มหาวิทยาลัยสยาม 226 มหาวิทยาลัยบูรพา 22 มหาวิทยาลัยหอการคาไทย 228 มหาวิทยาลัยเอเชียน 242 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 230 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 152 มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 234
สถาบันอุดมศึกษาไทย 351
ดัชนี
กาญจนบุรี
ชัยภูมิ
นครราชสีมา
มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 28 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 80 วิทยาลัยเชียงราย 252
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล 218 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 20 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 166 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 90 วิทยาลัยนครราชสีมา 288 วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท์ 282
เชียงใหม
นครศรีธรรมราช
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 78
เชียงราย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม 12 มหาวิทยาลัยนอร์ทเชียงใหม 194 มหาวิทยาลัยพายัพ 202 มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น 204 มหาวิทยาลัยแมโจ 52 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 160 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม 82
ตราด
วิทยาลัยชุมชนตราด 310
ตาก
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 30 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช 92 วิทยาลัยศรีโสภณ 302 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต 284
นครสวรรค
มหาวิทยาลัยเจาพระยา 180 มหาวิทยาลัยภาคกลาง 206 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 94
นนทบุรี
วิทยาลัยลุมนํ้าปง 300 วิทยาลัยชุมชนตาก 312
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 62 วิทยาลัยราชพฤกษ์ 298 สถาบันเทคโนโลยีปญญาภิวัฒน์ 252
นครนายก
นราธิวาส
วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา 288
นครปฐม
มหาวิทยาลัยคริสเตียน 178 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ 158 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 88 สถาบันกันตนา 246 วิทยาลัยแสงธรรม 306
นครพนม
มหาวิทยาลัยนครพนม 44
352 สถาบันอุดมศึกษาไทย
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 46 วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส 314
บุรีรัมย
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 98 วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ 316
ปทุมธานี
มหาวิทยาลัยชินวัตร 182 มหาวิทยาลัยปทุมธานี 200 มหาวิทยาลัยรังสิต 212 มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย 238 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 154 มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ 126 ในพระบรมราชูปถัมภ์
ปตตานี
มุกดาหาร
พระนครศรีอยุธยา
แมฮองสอน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 34 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 102 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 164 สถาบันเทคโนโลยีแหงอโยธยา 254
พะเยา
มหาวิทยาลัยพะเยา 24
พังงา
วิทยาลัยชุมชนพังงา 322
พิจิตร
วิทยาลัยชุมชนพิจิตร 324
พิษณุโลก
มหาวิทยาลัยนเรศวร 48 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 104 วิทยาลัยพิษณุโลก 294
เพชรบุรี
มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด 196 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 106
เพชรบูรณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ 108
แพร
วิทยาลัยชุมชนแพร 320
ภูเก็ต
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 110
มหาสารคาม
วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 236 วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน 328
ยโสธร
วิทยาลัยชุมชนยโสธร 330
ยะลา
มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 236 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 114 วิทยาลัยชุมชนยะลา 332
รอยเอ็ด
มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด 116
ระนอง
วิทยาลัยชุมชนระนอง 334
ระยอง
วิทยาลัยเฉลิมกาญจนาระยอง 266
ราชบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง 142
ลพบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี 84
ลําปาง
มหาวิทยาลัยโยนก 210 มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง 122 วิทยาลัยอินเตอร์เทคลําปาง 308
เลย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 124
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 50 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 112
สถาบันอุดมศึกษาไทย 353
ดัชนี
วิทยาลัยชุมชนปตตานี 318
ศรีสะเกษ
อุดรธานี
สกลนคร
อุตรดิตถ
สงขลา
อุทัยธานี
วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา 264 มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 128 มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 130 มหาวิทยาลัยทักษิณ 14 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 60 มหาวิทยาลัยหาดใหญ 232 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 162 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 132 วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ 296 วิทยาลัยชุมชนสงขลา 336
สตูล
วิทยาลัยชุมชนสตูล 338
สมุทรสงคราม
สถาบันการเรียนรูเพื่อปวงชน 248
สมุทรสาคร
วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร 340
สระแกว
วิทยาลัยชุมชนสระแกว 342
สุราษฎรธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 138 วิทยาลัยตาป 278
สุรินทร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 140
หนองบัวลําภู
วิทยาลัยพิชญบัณฑิต 292 วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลําภู 344
354 สถาบันอุดมศึกษาไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 144 วิทยาลัยสันตพล 304 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 146 วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี 346
อุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น 172 มหาวิทยาลัยราชธานี 126 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 64 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 148
พิมพ์ที่ : หจก. อรุณการพิมพ์ โทรศัพท์ 0 2282 6033-4