รายงานประจำปี 2558 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

Page 1

รายงานประจ�าปี 2558

ส�านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา Office of the Higher Education Commission


นโยบายคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ในการยกระดับคุณภาพการอุดมศึกษาไทย

การปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

การลงทุนพัฒนาประเทศ ผ่านสถาบันอุดมศึกษา

โครงการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ใน อุดมศึกษาเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลก ● โครงการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไทยสู่มหาวิทยาลัย ระดับโลก ● โครงการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษากลุ่มใหม่ให้ได้ มาตรฐานการอุดมศึกษาและการเตรียมความพร้อมสู่การ เป็นประชาคมอาเซียน ●

University

หลักสูตรระดับปริญญาตรี และหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา ● เน้นให้มีลักษณะเด่น หรือมีความแตกต่างกัน ● เน้นด้านคุณภาพมากกว่าปริมาณ ● ต้องได้รับการยอมรับ มีความเท่าเทียม ในปริญญาของหลักสูตร

ร่าง พ.ร.บ. การอุดมศึกษา พ.ศ. ...

การประกันคุณภาพการศึกษา และการส่งเสริมสถาบันอุดมศึกษา สู่ความเป็นเลิศ ● ● ●

ระดับหลักสูตร ระดับคณะ ระดับสถาบัน

การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ การจัดการศึกษา

● เครื่องมือในการส่งเสริม พัฒนา และยกระดับของ ประเทศ ● เครื่องมือก�าหนดมาตรการ ในการก�ากับดูแลสถาบัน อุดมศึกษาให้เป็นไปตาม มาตรฐานการอุดมศึกษา

● การจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของ สถาบันอุดมศึกษา ● การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก ● การจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา เอกชนที่เปลี่ยนประเภท

การส่งเสริมเครือข่ายมหาวิทยาลัย

การผลิตและพัฒนาครู

การพัฒนาระบบการคัดเลือกบุคคล เข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา

เพื่อให้มีประสิทธิภาพและเสมอภาคมากขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษามีสมรรถนะสากล ด้านภาษา

สำ�นักง�นคณะกรรมก�รก�รอุดมศึกษ� (สกอ.)

กระบวนการผลิตครู ● Classroom Teacher ที่สามารถสอนได้ ทุกวิชาไม่เกินระดับประถมศึกษา ● Subject Teacher คือรายวิชาเอกที่สอน ในระดับมัธยมศึกษา ทิศทางการผลิต ● ควรลดจ�านวนลง เน้นเรื่องคุณภาพ

328 ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0 2610 5200 โทรสาร 0 2354 5524 - 6 http://www.mua.go.th pr_mua@mua.go.th www.facebook.com/ohecthailand www.twitter.com/ohec_th


สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สนับสนุน

ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ â»Ã‹§ãÊ ºÑ³±Ôμä·Â äÁ‹ ⡧ พบเรื่องราวอุดมศึกษาไทย ได ที่…

http://www.mua.go.th



พระบรมราโชวาท พระราชทานแกขาราชการพลเรือน เนื่องในวันขาราชการพลเรือน วันพุธ ที่ 1 เมษายน 2558 งานราชการนั้น คืองานของแผนดิน มีผลเกี่ยวเนื่องถึง ประโยชนของบานเมืองและประชาชนทุกคน. งานทุกอยาง จึงตองมีผูปฏิบัติและมีผูรับชวง เพื่อใหงานดําเนินตอเนื่องไป ไมขาดสาย. ดังนั้น ผูปฏิบัติบริหารงานราชการทุกฝายทุกระดับ จึงไมควรยกเอาเรื่องใครเปนผูทํามากอน หรือใครเปนผูรับชวงงาน ขึ้นเปนขอสําคัญนัก จะตองถือประโยชนที่จะเกิดจากงาน เปนหลักใหญ แลวรวมกันคิดรวมกันทํา ดวยความอุตสาหะเสียสละ และดวยความสุจริตจริงใจ. งานทุกอยางจึงจะดําเนินไปได อยางราบรื่น ไมติดขัด และสําเร็จผลเปนประโยชนไดแทจริง และยั่งยืนตลอดไป. อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช วันที่ 31 มีนาคม พุทธศักราช 2558


สาร พลเอก ประยุทธ จันทร โอชา นายกรัฐมนตรี รัฐบาลมีนโยบายในการพัฒนาการศึกษาและการเรียนรูของประชาชนในทุกระดับ โดยใหความสําคัญทั้งการศึกษาใน ระบบและการศึกษาทางเลือกไปพรอมกัน เพื่อสรางสังคมไทยใหมีความเขมแข็งอยางมีคุณภาพ รวมทั้งมุงเนนการพัฒนาระบบ การประกันคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาภายในประเทศใหมีขีดความสามารถในการแขงขันในระดับสากล โดยเฉพาะ การศึกษาในระดับอุดมศึกษา เพื่อใหเปนแหลงรวบรวมองคความรู และมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติเพียบพรอมทั้งทักษะ สติปญญา ความรูความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความ รับผิดชอบตอสังคม สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเปนหนึ่งในองคกรหลักทางการศึกษาที่มีภารกิจในการเตรียมความพรอม ในดานตางๆ ของสถาบันอุดมศึกษาไทย เพือ่ ขับเคลือ่ นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของประเทศใหมคี ณ ุ ภาพ ผมหวังวาสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาจะไดดําเนินการในการเสริมสรางและพัฒนาการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของชาติ เพื่อสรางสรรค นวัตกรรมทางวิชาการทีเ่ ปนเลิศ พรอมรองรับการเขาสูป ระชาคมอาเซียนของประเทศไทย และการเปลีย่ นแปลงของกระแสสังคม โลกในอนาคต ในโอกาสนี้ ผมขอสงความระลึกถึงและความปรารถนาดีมายังผูบริหาร ขาราชการ และเจาหนาที่ของสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา และขออวยพรใหทุกทานประสบแตความสุข ความเจริญ มีกําลังกาย กําลังใจที่เขมแข็ง เพื่อรวมกันพัฒนาการศึกษาไทยใหมีมาตรฐานในระดับสากลตอไป

พลเอก (ประยุทธ จันทร โอชา) นายกรัฐมนตรี


สาร พลเรือเอก ณรงค พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว าการกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาบุคลากรของชาติในทุกระดับ ซึ่ง ‘การพัฒนาคน’ เปนโจทยสําคัญ ของปฏิรปู การศึกษาของประเทศไทยในเวลานี้ การพัฒนาและปฏิรปู การศึกษา จะตองยึดหลักการมีสว นรวม การกระจายอํานาจ และความตองการของทุกภาคสวนในสังคม มีความสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการแขงขันของประเทศ เพื่อใหการดําเนินงานเปนที่ยอมรับและเกิดความมั่นคงยั่งยืนในระบบการศึกษาของไทย การสรางโอกาสทางการศึกษาในสังคมไทย ที่ตองใหความสําคัญกับการสรางความเทาเทียมและเปนธรรม เปนหนึ่งใน นโยบายหลักของกระทรวงศึกษาธิการทีต่ อ งเรงดําเนินการควบคูไ ปกับการพัฒนาระบบการจัดการศึกษาและการพัฒนาหลักสูตร ทางการศึกษา ที่ตองยกระดับความรูใหมีคุณภาพและไดมาตรฐานสากล ควบคูไปกับการสงเสริมการเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น และปลูกฝงคุณธรรม พรอมทั้งตองใหความสําคัญกับการสรางเสริมใหวิชาชีพครูเปนวิชาชีพชั้นสูงในสังคม โดยสงเสริม และยกสถานะของครู ซึ่งเปนบุคลากรหลักในระบบการศึกษา ทั้งนี้ การบริหารและการปฏิบัติราชการกระทรวงในทุกระดับ จะตองใหความสําคัญกับการบูรณาการการปฏิบัติของทุกหนวยงานในสังกัดใหเปนไปในทิศทางเดียวกันและประสานสอดคลอง กับหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชนที่เกี่ยวของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีบทบาทในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยมีสถาบันอุดมศึกษาในสังกัด และในกํากับ รวมทั้งสิ้น 156 แหงในภูมิภาคตางๆ ของประเทศเปนแหลงผลิตบัณฑิตใหมีความรู คูคุณธรรม เพื่อเปนฐานกําลัง ในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทย จึงควรสงเสริมและสนับสนุนใหมีการกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับ อุดมศึกษาสูประชาชนทุกระดับ ทุกกลุม ผานชองทางและสื่อการสอนตางๆ อยางทั่วถึงและเทาเทียมกัน ในโอกาสที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดทําหนังสือรายงานประจําป ผมขออาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อํานวยพรใหผูบริหาร ขาราชการ เจาหนาที่ที่เกี่ยวของทุกหนวยงานทั้งในสวนของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสถาบันอุดมศึกษาทุกแหงจงประสบแตความสุข ความเจริญสืบไป

พลเรือเอก (ณรงค พิพัฒนาศัย) รัฐมนตรีว าการกระทรวงศึกษาธิการ


สาร นายกฤษณพงศ กีรติกร รัฐมนตรีช วยว าการกระทรวงศึกษาธิการ การบริหารจัดการอุดมศึกษาของไทยปจจุบันเผชิญปจจัยทาทายหลายประการ ปจจัยกลุมแรกเปนความสัมพันธ ระหวางอุดมศึกษากับสังคม ผานภารกิจหลักมหาวิทยาลัยดานการผลิตกําลังคน ดานการวิจัยการสรางความรู และดานการ บริการ มหาวิทยาลัยตองตอบโจทยสังคมและเศรษฐกิจของประเทศที่ซับซอน พลวัตรสูง ใหไดทันเวลา ชวยลดความเหลื่อมลํ้า ชวยสงเสริมความสามารถในการแขงขันของประเทศ ความทาทายกลุมที่สองเกี่ยวกับปจจัยภายในระบบอุดมศึกษาเอง อาทิเชน ดานผูเรียนมีความตองการเขาถึงอุดมศึกษามากขึ้น แตอาจไมเหมาะกับการเรียนอุดมศึกษา ขาดเปาหมายชีวิต มีคุณภาพ ตางกันมาก รวมทั้งมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ตางกัน ดานอาจารย การสรรหา-รักษา-พัฒนา และสงเสริมอาจารยใหมีความสามารถ เปนอาจารยที่ดีตลอดอายุงาน ยังเปนเรื่องทาทาย ดานการเรียนการสอน การปรับตัวของอาจารยและนิสิตนักศึกษาใหทันความ กาวหนาทางเทคโนโลยี การปรับตัวของอาจารยใหเทาทันพฤติกรรมการเรียนรูและการใชชีวิตของนิสิตนักศึกษา กลุมปจจัย ที่สามเปนระบบทรัพยากรเพื่ออุดมศึกษา ที่รัฐจําเปนตองลงทุนและมีคาใชจายตอเนื่อง โดยใหเกิดประโยชนตอประเทศสูง ทัง้ ทุนเพือ่ การพัฒนาอาจารยเจาหนาที่ การอุดหนุนสาขาวิชายุทธศาสตรและสาขาทีจ่ าํ เปน เงินทุนกูย มื เพือ่ การศึกษา โครงสราง พื้นฐานวิจัยและคาใชจายวิจัย เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา เปนตน จากสถานการณและบริบทของประเทศที่ เปลี่ยนแปลงไป และคํานึงถึงทรัพยากรที่รัฐและประชาชนไดใชจายกับระบบอุดมศึกษา ที่ตองใหมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลสูง ระบบอุดมศึกษาไดมีการพัฒนามาตรฐานการจัดการศึกษา มาตรฐานหลักสูตร การประกันคุณภาพภายใน และภายนอก และการติดตามตรวจสอบการจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา ผมในฐานะรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ ที่ไดรับมอบหมายใหดูแลสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หนวยงานหลักรับผิดชอบดูแลนโยบายและทิศทางการพัฒนาอุดมศึกษาของประเทศ เปนหนวยงานสําคัญในการสนับสนุนใหมี การผลิตบัณฑิตและพัฒนาองคความรูในศาสตรสาขาตางๆ มีความปติที่อุดมศึกษาไทยในปจจุบัน ไดมีการวิเคราะหตําแหนง และบทบาทของตนเอง เพื่อใหการบริหารจัดการของสถาบันอุดมศึกษามีความคลองตัว ตามบริบทของประเทศและของโลก ที่เปลี่ยนไป การเชื่อมตอโจทยสังคมเศรษฐกิจกับภาคอุดมศึกษา โดยคํานึงถึงการระดมสรรพกําลังในรูปเครือขายอุดมศึกษา และคํานึงถึงผลผลิต ผลลัพธ และการรับใชสังคมที่มีคุณภาพเปนหลัก ในโอกาสทีส่ าํ นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดทํารายงานประจําป 2558 ผมขออวยพรใหคณะผูบ ริหาร ขาราชการ ตลอดจนเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทุกทานประสบความสุข ความเจริญในหนาที่การงานสืบไป

(นายกฤษณพงศ กีรติกร) รัฐมนตรีช วยว าการกระทรวงศึกษาธิการ


สาร รองศาสตราจารย คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ ประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จากป 2557 สูป 2558 คณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดทยอยจัดกิจกรรม ‘การประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา สัญจร’ พรอมทั้งเยี่ยมชมเครือขายอุดมศึกษา ซึ่งมีอยู 9 เครือขาย มาอยางตอเนื่อง ซึ่งคณะกรรมการการอุดมศึกษา และผูบริหารของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดประโยชนจากการรับฟงปญหา/ขอเท็จจริง การแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและประสบการณกับผูบริหารของสถาบันอุดมศึกษาในการยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาไทย และหาแนวทางใน การขับเคลื่อนนโยบายของคณะกรรมการการอุดมศึกษาสูการปฏิบัติใหเห็นผลเปนรูปธรรม พรอมทั้งรวมกันสรางศักยภาพ การทํางานของเครือขายอุดมศึกษา นโยบายคณะกรรมการการอุดมศึกษาที่จะยกระดับคุณภาพการอุดมศึกษาไทย ใน 2 ปที่ผานมา มุงเนน 8 ประเด็น สําคัญ ดังนี้ (1) การลงทุนพัฒนาประเทศผานสถาบันอุดมศึกษาใน 3 โครงการใหญ คือ โครงการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไทย สูม หาวิทยาลัยระดับโลก โครงการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษากลุม ใหมใหไดมาตรฐานการอุดมศึกษา และโครงการพัฒนาศักยภาพ ของทรัพยากรมนุษยในอุดมศึกษา (2) การปรับปรุงเกณฑมาตรฐานหลักสูตร ใหมีความหลากหลาย ครอบคลุมทั้งสายวิชาการ สายวิชาชีพหรือปฏิบัติการ (3) การประกันคุณภาพการศึกษา และการสงเสริมสถาบันอุดมศึกษาสูความเปนเลิศ (4) ราง พระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. .... (5) การติดตาม ตรวจสอบ การจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง การจัดการศึกษา ระดับปริญญาเอก และสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่เปลี่ยนประเภทแลว (6) การสงเสริมเครือขายมหาวิทยาลัย ทั้ง 9 เครือขาย ใหมีความเขมแข็ง เนนความรวมมือ และการพัฒนาชุมชนฐานรากใหเขมแข็ง (7) การพัฒนาระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา เพื่อปรับปรุงระบบในปจจุบันใหมีประสิทธิภาพและเสมอภาคมากยิ่งขึ้น และ (8) การผลิตพัฒนาครู และผูบริหารการศึกษา ใหมีคุณภาพและสอดคลองกับความตองการของประเทศทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ตลอดปที่ผานมา คณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดสนับสนุนและผลักดันนโยบายทั้ง 8 ประเด็น โดยคํานึงถึงความเปน อิสระและความเปนเลิศทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาอยางตอเนื่อง ซึ่งไดรับความรวมมือจากสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และสถาบันอุดมศึกษาเปนอยางดี จึงขอขอบคุณเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ขาราชการและเจาหนาที่ ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตลอดจนผูบริหารและบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาทุกแหง พรอมทั้งขออวยพร ใหทุกทานประสบความสุข และความสําเร็จในหนาที่การงานสืบไป

(รองศาสตราจารย คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ) ประธานกรรมการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา


สาร รองศาสตราจารย พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในฐานะที่เปนหนวยงานหลักในการจัดการการศึกษาระดับอุดมศึกษาของ ประเทศ เปนสะพานเชื่อมตอระหวางผูผลิตบัณฑิต ผูใชบัณฑิต และผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวน ไดดําเนินบทบาท การกําหนดนโยบายและทิศทางการพัฒนาอุดมศึกษา โดยตระหนักถึงคุณภาพและมาตรฐานในทุกมิติ และบนพื้นฐานของ ความมีอิสระและความเปนเลิศทางวิชาการมาอยางตอเนื่อง เพื่อใหประเทศไทยมีทรัพยากรมนุษยที่มีคุณภาพ มีศักยภาพ เปนคนเกงและคนดี มีคุณคาตอสังคมสวนรวม ในป 2558 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีกรอบทิศทางในการพัฒนาอุดมศึกษาโดยยึดหลัก ‘นโยบาย 4 คุณ 4 สูง’ คือ (1) คุณภาพ/มาตรฐานสูง ยกระดับคุณภาพการอุดมศึกษาของประเทศไทยใหมีมาตรฐานเทียบเคียงไดในระดับ อาเซียนและระดับนานาชาติ ทั้งคุณภาพบัณฑิต อาจารย และงานวิจัย (2) คุณธรรม/ธรรมาภิบาลสูง ใชหลักความรูคูคุณธรรม ผลิตบัณฑิตใหมีคุณธรรม จริยธรรม เปนทั้งคนเกงและคนดี สนับสนุนใหสถาบันอุดมศึกษาใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการ สรางความเขมแข็งใหกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษา และสถาบันอุดมศึกษาตองรับผิดชอบตอผลผลิตที่ผลิตออกมา (3) คุณคา/ศักยภาพสูง สงเสริมการพัฒนาอาจารย นักวิจัย บุคลากร และนักศึกษา ใหมีศักยภาพสูงทุกมิติ โดยการสราง เครือขายการทํางาน การใหทุนพัฒนาอาจารยและบุคลากร การพัฒนานักศึกษาใหมีความสามารถในการปรับตัว มีทักษะ ทางภาษา และทักษะทางวิชาชีพ และ (4) คุณประโยชน/มูลคาสูง ตอยอดงานวิจัยใหมีมูลคาสูงขึ้นเพื่อเสริมสรางขีด ความสามารถในการแขงขันและสรางประโยชนตอการพัฒนาสังคมและประเทศ เนนการสรางความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรม และชุมชน สงเสริมการวิจัยในสายรับใชสังคม สรางนักวิจัยรุนใหม สงเสริมใหนักวิจัยในสถาบันศึกษาและหนวยงานวิจัยของ ภาครัฐไปทํางานในสถานประกอบการจริง เพื่อยกระดับความสามารถในการแขงขันทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย ใหเปนรูปธรรมมากขึ้น ความสําเร็จในการพัฒนาอุดมศึกษาไทย ทัง้ การยกระดับมาตรฐานองคความรู ศักยภาพอาจารย และการบริหารจัดการ ที่มีธรรมาภิบาลเขมแข็ง เพื่อที่จะสรางสรรคบัณฑิตใหเปนทรัพยกรมนุษยที่มีทักษะในการดําเนินชีวิต และมีศักยภาพใน การทํางาน เปนผูมีคุณคาและเปนประโยชนสามารถชวยพัฒนาสังคมและประเทศชาติได ตองอาศัยความรวมมือจากทุกฝาย ทั้งคณะกรรมการการอุดมศึกษา สถาบันอุดมศึกษา และองคกรผูใชบัณฑิต ที่ใหการสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของขาราชการ และเจาหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาใหเกิดผลสําเร็จลุลวงไปดวยดี ในโอกาสนี้ ผมขอขอบคุณทุกภาคสวน ที่รวมกันพัฒนาอุดมศึกษาไทยใหเจริญกาวหนา พรอมกันนี้ขออวยพรใหทุกทานประสบแตความสุข ความเจริญในหนาที่ การงานสืบไป (รองศาสตราจารย พินิติ รตะนานุกูล) เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา


OHEC

Office of the Higher Education Commission

รายงานประจําป 2558

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดพิมพ เผยแพร พุทธศักราช 2558 จํานวน 1,200 เล ม ISBN 978-616-395-593-7

ที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย พินิติ รตะนานุกูล นางสาวอาภรณ แก นวงศ นายสุภัทร จําปาทอง รองศาสตราจารย นายแพทย สรนิต ศิลธรรม นายขจร จิตสุขุมมงคล นางสาวสุมัณฑนา จันทโรจวงศ

ดําเนินการจัดทําและภาพประกอบโดย กลุ มงานประชาสัมพันธ สํานักอํานวยการ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

รวบรวมและเรียบเรียงโดย นางชุลีกร กิตติก อง

พิสูจน อักษรโดย

นางชุลีกร กิตติก อง นายเจษฎา วณิชชากร

สนับสนุนข อมูลโดย

สํานักอํานวยการ สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน สํานักส งเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร สํานักประสานและส งเสริมกิจการอุดมศึกษา สํานักมาตรฐานและคุณภาพอุดมศึกษา สํานักยุทธศาสตร อุดมศึกษาต างประเทศ สํานักส งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา สํานักติดตามและประเมินผลอุดมศึกษา สํานักนิติการ กลุ มพัฒนาระบบบริหาร สํานักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา สํานักงานบริหารโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร ไทย สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด านวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี สถาบันวิจัยจุฬาภรณ สถาบันคลังสมองของชาติ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

328 ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุ​ุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0 2610 5200 โทรสาร 0 2354 5524 - 6 http://www.mua.go.th pr_mua@mua.go.th www.facebook.com/ohecthailand www.twitter.com/ohec_th


สารบัญ

Contents Introduction

เครื่องหมายราชการสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เส นทางอุดมศึกษาไทย อํานาจหน าที่ และความรับผิดชอบ วิสัยทัศน และพันธกิจ กฎกระทรวงแบ งส วนราชการ โครงสร างผู บริหาร โครงสร างการแบ งงานภายในของ สกอ. รายนามรัฐมนตรีว าการทบวงมหาวิทยาลัย รายนามรัฐมนตรีว าการกระทรวงศึกษาธิการ กํากับดูแล สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รายนามปลัดทบวงมหาวิทยาลัย รายนามเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา คณะกรรมการข าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุมศึกษา

11 12 18 19 20 26 28 30 31 32 32 33 35

Annual Report

คุณภาพ/มาตรฐานสูง 41 คุณธรรม/ธรรมาภิบาลสูง 75 คุณค า/ศักยภาพสูง 87 คุณประโยชน /มูลค าสูง 115 การบริหารจัดการภายใน สกอ. 131 งบประมาณรายจ าย ประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2558 138

Board of Director

ทําเนียบผู บริหาร สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา 140

Member of OHEC

146 ทําเนียบหน วยงานในกํากับภายใน สกอ. 147 ทําเนียบองค กรที่ ได รับการสนับสนุนงบประมาณ จาก สกอ. 148 ทําเนียบหน วยงานที่เกี่ยวข อง

149 151 153 154 156 157 158 164 169 173 176

186 186 187 188

List of Universities

สถาบันอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร สถาบันอุดมศึกษาในเขตภาคกลาง สถาบันอุดมศึกษาในเขตภาคเหนือ สถาบันอุดมศึกษาในเขตภาคอีสาน สถาบันอุดมศึกษาในเขตภาคตะวันออก สถาบันอุดมศึกษาในเขตภาคใต สถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรัฐ สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของรัฐ สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของรัฐ (ราชภัฏ) สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของรัฐ (ราชมงคล) สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

Foundation Day

วันสถาปนาสถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรัฐ วันที่จัดตั้งเป นสถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรัฐ วันสถาปนาสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของรัฐ วันที่ ได รับจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน


เครื่องหมายราชการ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทบวงมหาวิทยาลัยไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหใชตรา ‘พระวชิระ’ อันเปนตรา ประจําพระองคพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เปนตราประจําทบวงมหาวิทยาลัย เนื่องจาก พระองคทรงไดรับการยกยองวาทรงเปนผูใหกําเนิดและบุกเบิกการอุดมศึกษาของประเทศไทย ตอมา ทบวงมหาวิทยาลัยแปรสภาพเปนสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามพระราชบัญญัตริ ะเบียบ บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2546 จึงอัญเชิญตรา ‘พระวชิระ’ เปนเครื่องหมาย ประจําสวนราชการ ตราพระราชทานนี้จึงหมายถึง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีความ รับผิดชอบการอุดมศึกษาของประเทศไทย

ลักษณะ

เปนรูปวงกลม มีเสนรอบวง 3 เสน ภายในวงกลมตรงกลางมีรูป ‘พระวชิระ’ ซึ่งเปนตรา ประจําพระองคพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ขางวงกลมดานในมีลายกระหนก 3 ชั้น เริ่ ม จากฐานด า นพระวชิ ร ะโค ง ขึ้ น ไปเกื อ บจรดปลายแหลมของพระวชิ ร ะ ภายใต รู ป พระวชิ ร ะ และลายกระหนกมีชื่อสวนราชการ คือ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

สีประจํา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

สีประจํา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา คือ สีมวง-สีนํ้าเงิน สีมวง คือ สีประจําวันเสด็จพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว สีนํ้าเงิน คือ สีประจําสถาบันพระมหากษัตริย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

11


…เส นทางอุดมศึกษาไทย… จาก 30 ป ทบวงมหาวิทยาลัย… สู ป ที่ 12 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา


เส นทางอุดมศึกษาไทย

จาก 30 ป ทบวงมหาวิทยาลัย สู ป ที่ 12 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประวัติทบวงมหาวิทยาลัย

การจัดการอุดมศึกษาของไทยไดเริ่มมาแตรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั และอุดมศึกษา ในสมัยนัน้ มีหลากหลาย ทัง้ โรงเรียนกฎหมาย โรงเรียนแพทย และโรงเรียนขาราชการพลเรือนทีต่ อ มาไดรบั การยกฐานะเปน จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย ซึ่ ง เป น มหาวิ ท ยาลั ย แห ง แรก ของไทย และไดมกี ารจัดตัง้ มหาวิทยาลัยแหงอืน่ ขึน้ อีกในเวลา ต อ มา ได แ ก มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และมหาวิทยาลัย ศิลปากร โดยสังกัดอยูในกระทรวงตางๆ เชน จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัย แพทยศาสตร สังกัดกระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร สังกัดกระทรวงเกษตร เปนตน จนถึ ง ป พ.ศ.2502 รั ฐ บาลสมั ย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปนนายกรัฐมนตรี ไดตราพระราชบัญญัติโอน มหาวิทยาลัยทุกแหงไปสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี เนื่องจาก ไดมีพระราชบัญญัตจิ ัดตั้งสภาการศึกษาแหงชาติขึ้นในสังกัด สํานักนายกรัฐมนตรี และเห็นวาการทีม่ หาวิทยาลัยแยกกันอยู ตางกระทรวงเปนเรื่องยากในการปกครอง และการสราง

มาตรฐานการศึกษา การโอนมารวมอยูใ นสํานักนายกรัฐมนตรี ทัง้ หมดจะเปนการสะดวกในการดําเนินการ ทัง้ ในดานวิชาการ และธุ ร การ และจะบรรลุ ต ามเจตนารมณ ข องการจั ด ตั้ ง สภาการศึกษาแหงชาติ เพือ่ อํานวยประโยชนตอ การเรงรัดการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติซงึ่ เปนนโยบายสําคัญของ รัฐบาลในขณะนั้น ในป พ.ศ. 2514 สภาการศึ ก ษาแห ง ชาติ แ ละ ที่ ป ระชุ ม อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ ได ร  ว มกั น เสนอ ความเห็นตอจอมพลถนอม กิตติขจร หัวหนาคณะปฏิวัติ วา มหาวิทยาลัยจําเปนตองมีอิสระในการปกครองตนเอง มีเสรีภาพทางวิชาการในการถายทอดและแสวงหาความรู โดยถือหลักความเปนเลิศทางวิชาการ จึงควรแยกมหาวิทยาลัย ออกจากระบบราชการเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐบาล หากไมสามารถดําเนินการได ควรจัดตัง้ ทบวงอิสระหรือทบวง ในสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี เพือ่ เปนหนวยงานตนสังกัดของ มหาวิทยาลัยตางๆ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

13


ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย ได รั บ การจั ด ตั้ ง โดยประกาศ คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 ลงวันที่ 29 กันยายน 2515 ในชื่อ ทบวงมหาวิ ทยาลัยของรัฐ ในสั งกั ดสํ านั กนายกรั ฐมนตรี มีหนาที่เกี่ยวกับการดําเนินการและกํากับการศึกษาของรัฐ ในระดับอุดมศึกษานอกเหนือจากที่อยูในอํานาจหนาที่ของ กระทรวงศึกษาธิการ ดังนั้น วันที่ 29 กันยายน 2515 จึงเปน วันสถาปนาทบวงมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ไดมีประกาศของ คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 320 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2515 กําหนด ระเบียบการปฏิบัติราชการของทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐขึ้น เพื่อใหรัฐมนตรีวาการทบวงมหาวิทยาลัยมีอํานาจในการ กําหนดนโยบายและแผนการจัดการศึกษา กําหนดมาตรฐาน เกี่ ย วกั บ หลั ก สู ต รการศึ ก ษาและการบริ ห ารงานบุ ค คล พิจารณาการเสนอและพิจารณาอนุมัติการจัดตั้ง ยุบรวม และเลิ ก มหาวิ ท ยาลั ย คณะและภาควิ ช า ตลอดจน การติ ด ตามประเมิ น ผลการจั ด การศึ ก ษา และเป น ศู น ย ประสานงานด า นการจั ด การศึ ก ษาระหว า งมหาวิ ท ยาลั ย ทํ า ให ท บวงมหาวิ ท ยาลั ย มี อํ า นาจหน า ที่ แ ตกต า งจาก กระทรวงและทบวงอื่น ที่ไ มไ ดมี ก ฎหมายกํ า หนดหนา ที่ ไวโดยเฉพาะ ในป พ.ศ. 2520 รัฐบาลสมัยนายธานินทร กรัยวิเชียร เป น นายกรั ฐ มนตรี ได ต ราพระราชบั ญ ญั ติ เ ปลี่ ย นชื่ อ

14

รายงานประจําป 2558

ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ เปน ทบวงมหาวิทยาลัย และให ยกฐานะเปนทบวงอิสระ มีฐานะเทียบเทากระทรวง ไมอยูใน สั ง กั ด สํ า นั ก นายกรั ฐ มนตรี เพื่ อ ให เ กิ ด ความคล อ งตั ว ใน การบริหารงาน เนื่องจากมีการโอนงานกํากับดูแลสถาบัน อุดมศึกษาเอกชนจากกระทรวงศึกษาธิการมาอยูในสังกัด ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย นอกจากนี้ ยั ง ได ย กเลิ ก ประกาศ ของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 320 โดยตราพระราชบัญญัติระเบียบ การปฏิบตั ริ าชการของทบวงมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2520 ขึน้ แทน เพื่ อ ให ท บวงมหาวิ ท ยาลั ย มี อํ า นาจควบคุ ม มหาวิ ท ยาลั ย และสถาบันอุดมศึกษาที่เปนของรัฐและเอกชนในสังกัดดวย ตอมาพระราชบัญญัตนิ ไี้ ดมกี ารแกไขเพิม่ เติมเมือ่ ป พ.ศ. 2537 เพื่อใหมีอํานาจครอบคลุมมหาวิทยาลัยของรัฐที่ไมเปนสวน ราชการและอยูภ ายใตการกํากับดูแลของรัฐมนตรีวา การทบวง มหาวิทยาลัย คือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี และมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรีเปนมหาวิทยาลัยแหงแรกที่ปรับเปลี่ยน สถานภาพจากสถาบันที่เปนสวนราชการไปเปนมหาวิทยาลัย ในกํากับตามนโยบายของรัฐบาลที่จะใหมหาวิทยาลัยของรัฐ ทุกแหงที่เปนสวนราชการออกจากระบบราชการ จนถึงป พ.ศ. 2546 รัฐบาลสมัยพันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร ไดลงประกาศพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 120 ตอนที่ 62ก วันที่ 6 กรกฎาคม 2546 โดยพระราชบัญญัติ นี้ ไ ด ย กเลิ ก พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บการปฏิ บั ติ ร าชการ ของทบวงมหาวิทยาลัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537 ทําใหทบวง มหาวิทยาลัย ตองแปรสภาพเปน สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ตามกฎหมายใหม รวมระยะเวลาดําเนิน ภารกิจ 30 ป 9 เดือน 7 วัน มีรัฐมนตรีวาการทบวง มหาวิทยาลัย และรักษาราชการแทนรัฐมนตรี บริหารราชการ ทั้งสิ้น 38 ทาน มีปลัดทบวงมหาวิทยาลัยบริหารราชการ 6 ทาน


…สู ป ที่ 12 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

สื บ เนื่ อ งจากรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย พ.ศ.2540 กําหนดใหรฐั ตองจัดการศึกษาอบรม และสนับสนุน ใหเอกชนจัดการศึกษาอบรมใหเกิดความรูคูคุณธรรม จัดให มีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแหงชาติ ปรับปรุงการศึกษา ให ส อดคล อ งกั บ ความเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ และ สั ง คม สร า งเสริ ม ความรู  แ ละปลู ก ฝ ง จิ ต สํ า นึ ก ที่ ถู ก ต อ ง เกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข สนับสนุนการคนควาวิจัย ในศิลปวิทยาการ เรงรัดการศึกษาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่ อ การพั ฒ นาประเทศ พั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู และส ง เสริ ม ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปวัฒนธรรมของชาติ รวมทั้งในการ จัดการศึกษาของรัฐใหคํานึงถึงการมีสวนรวมขององคกร ปกครองทองถิ่นและเอกชนตามที่กฎหมายบัญญัติ และให ความคุมครองการจัดการศึกษาอบรมขององคกรวิชาชีพและ เอกชนภายใตการกํากับดูแลของรัฐ จึงไดตราพระราชบัญญัติ การศึ ก ษาแห ง ชาติ พ.ศ.2542 และได ล งประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเลม 116 ตอนที่ 74ก วันที่ 19 สิงหาคม

2542 เพื่ อ เป น กฎหมายแม บ ทในการบริ ห ารและจั ด การ การศึกษาอบรมใหสอดคลองกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย โดยพระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้ ได หลอมรวมหนวยงานดานการศึกษาเดิม ไดแก กระทรวง ศึ ก ษาธิ ก ารเดิ ม ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย และสํ า นั ก งาน คณะกรรมการการศึ ก ษาแห ง ชาติ สํ า นั ก นายกรั ฐ มนตรี เขาดวยกัน เปนกระทรวงใหม ชื่อวา กระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีโครงสรางในการแบงสวนราชการ ในรูปของคณะกรรมการชุดตางๆ กํากับดูแลการศาสนาและ วั ฒ นธรรม การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน การศึ ก ษาด า นการ อาชีวศึกษา และการศึกษาดานการอุดมศึกษา โดยทบวง มหาวิ ท ยาลั ย จะแปรสภาพตามพระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้ เปนสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตอมารัฐบาลสมัยพันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร เปน นายกรัฐมนตรี มีนโยบายปฏิรูประบบราชการ เขาสู ‘ระบบ ราชการยุคใหม’ โดยมีการปรับบทบาท ภารกิจ และการจัด โครงสรางระบบบริหารราชการ และระบบบริหารงานบุคคล ภาครัฐ ในการจัดโครงสรางสวนราชการใหม ไดกําหนดให แยกภารกิจเกี่ยวกับงานดานศิลปวัฒนธรรม ออกจากภารกิจ ของกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ที่จัดตั้งขึ้น

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

15


ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พ.ศ. 2542 ไปจัดตั้งเปน ‘กระทรวงวัฒนธรรม’ จึงมีการประกาศใช พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 โดยการจัดระเบียบบริหารราชการใน กระทรวงศึกษาธิการใหม มีองคกรหลักที่เปนคณะบุคคลใน รูปสภาหรือในรูปคณะกรรมการ จํานวน 4 องคกร ไดแก สภา การศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา และคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อ พิจารณาใหความเห็นหรือใหคําแนะนําแกรัฐมนตรี หรือ คณะรัฐมนตรี และมีอํานาจหนาที่อื่นตามที่กฎหมายกําหนด ทัง้ นี้ คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหนาทีพ่ จิ ารณา เสนอนโยบายแผนพัฒนา และมาตรฐานการอุดมศึกษาที่ สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุน

16

รายงานประจําป 2558

ทรัพยากร การติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการจัด การศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและ ความเปนเลิ ศทางวิ ชาการของสถานศึ กษาระดั บปริญญา ตามกฎหมายว า ด ว ยการจั ด ตั้ ง สถานศึ ก ษาแต ล ะแห ง และกฎหมายที่เกี่ยวของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีสถานภาพ เปนนิติบุคคล แบงสวนราชการตามกฎกระทรวง แบงสวน ราชการสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2556 โดยแบงโครงสรางการบริหารงานออกเปน 9 สํานัก ไดแก สํานักอํานวยการ สํานักทดสอบกลาง (ยุบเมือ่ วันที่ 2 กันยายน 2548 ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการ ศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) พ.ศ.2548) สํานักนโยบาย และแผนการอุดมศึกษา สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน (โอน


กิจการไปเปนของสถาบันวิทยาลัยชุมชน ตามพระราชบัญญัติสถาบันวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2558 เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2558) สํานักประสานและสงเสริมกิจการอุดมศึกษา สํานักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สํานักยุทธศาสตรอดุ มศึกษาตางประเทศ สํานักสงเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และสํานักสงเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร และมีสถาบันอุดมศึกษาในสังกัด จํานวน 156 แหง* ทั่วประเทศ ไดแก 1. สถาบันอุดมศึกษาในสังกัด/ในกํากับของรัฐ 81 แหง* 2. สถาบันอุดมศึกษาเอกชน 75 แหง* ปจจุบัน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (Office of the Higher Education Commission) มีที่ทําการ ณ อาคารเลขที่ 328 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 มีนักบริหารระดับ 11 เปนเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา * ขอมูล ณ เดือนสิงหาคม 2558 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

17


อํานาจหน าที่ และความรับผิดชอบ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีอํานาจ หนาที่และความรับผิดชอบ ในการศึกษา วิเคราะห วิจัย ป ญ หาและแนวทางการพั ฒ นาการอุ ด มศึ ก ษาและจั ด ทํ า ขอเสนอนโยบายและมาตรฐานการอุดมศึกษา จัดทําแผน พัฒนาการอุดมศึกษาใหสอดคลองกับความตองการตามแผน พั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ และแผนการศึ ก ษา แห ง ชาติ แ ละพั น ธสั ญ ญาที่ เ ป น ไปตามข อ เสนอตกลง ระหวางประเทศ พรอมทั้งวิเคราะห หลักเกณฑ และแนวทาง การสนับสนุนทรัพยากร จัดตั้ง จัดสรรงบประมาณอุดหนุน สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาและวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนตามหลั ก เกณฑ และแนวทางที่กําหนด ตลอดจนเสนอแนะการจัดตั้ง ยุบ รวม ปรับปรุงและยกเลิกสถาบันอุดมศึกษาและวิทยาลัยชุมชน

18

รายงานประจําป 2558

นอกจากนี้ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ยังมีหนาทีป่ ระสานและสงเสริมการดําเนินงานพัฒนทรัพยากร มนุษยและศักยภาพนักศึกษา รวมทั้งผูพิการ ผูดอยโอกาสใน ระบบอุดมศึกษา และการประสาน สงเสริม สนับสนุนการวิจยั เพื่ อ สร า งองค ค วามรู  ใ หม และเพื่ อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นา ประเทศ รวมทัง้ พัฒนาระบบและดําเนินการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการอุดมศึกษา และการรวบรวมขอมูล จั ด ทํ า สารสนเทศด า นการอุ ด มศึ ก ษา และดํ า เนิ น งาน ฝ า ยเลขานุ ก ารของคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาและ คณะกรรมการข า ราชการพลเรื อ นในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ตลอดจนปฏิ บั ติ ง านอื่ น ใดตามที่ ก ฎหมายกํ า หนดให เ ป น อํานาจหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย


วิสัยทัศน และพันธกิจ

ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ าย ประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2558 วิสัยทัศน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาขับเคลื่อนอุดมศึกษาเพื่อชี้นําสังคมไทยใหกาวไกลสู นานาชาติ

พันธกิจ

1 จัดทําขอเสนอนโยบายและมาตรฐานการอุดมศึกษา และแผนพัฒนาการอุดมศึกษา รวมทั้งดําเนินงานดานความสัมพันธระดับอุดมศึกษากับตางประเทศ 2 จัดทําหลักเกณฑและแนวทางการสนับสนุนทรัพยากร การจัดตั้ง และจัดสรรงบประมาณ อุดหนุนสถาบันอุดมศึกษาและวิทยาลัยชุมชน 3 ประสานและสงเสริมการดําเนินงานพัฒนาทรัพยากรมนุษยและศักยภาพนักศึกษา รวมทัง้ ผูพิการ ผูดอยโอกาส และผูมีความสามารถพิเศษในระบบอุดมศึกษา และประสานสงเสริม สนับสนุน การวิจัย เพื่อสรางองคความรูใหมและสนับสนุนการพัฒนาประเทศ 4 เสนอแนะเกี่ยวกับการจัดตั้ง ยุบ รวม ปรับปรุงและยกเลิกสถาบันอุดมศึกษาและวิทยาลัย ชุมชน 5 ดําเนินการเกี่ยวกับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการอุดมศึกษาตามที่ คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษามอบหมาย รวมทั้ ง การรวบรวมข อ มู ล และจั ด ทํ า สารสนเทศด า น การอุดมศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

19


กฎกระทรวง

แบ งส วนราชการสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 แก ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2556

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 11 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร พ.ศ. 2546 รั ฐ มนตรี ว  า การกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารออกกฎ กระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีภารกิจเกี่ยวกับการจัดและสงเสริม การศึกษาระดับอุดมศึกษาโดยคํานึงถึงความเปนอิสระ และความเปนเลิศทางวิชาการของสถาน ศึกษาระดับปริญญา โดยใหมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (1) จั ด ทํ า ข อ เสนอนโยบายและมาตรฐานการอุ ด มศึ ก ษา และแผนพั ฒ นา การอุ ด มศึ ก ษา รวมทั้ ง ดํ า เนิ น งานด า นความสั ม พั น ธ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษา กับตางประเทศ (2) จัดทําหลักเกณฑ และแนวทางการสนับสนุนทรัพยากร และการจัดตัง้ จัดสรร งบประมาณอุดหนุนสถาบันอุดมศึกษาและวิทยาลัยชุมชน (3) ประสานและสงเสริมการดําเนินงานพัฒนาทรัพยากรมนุษยและศักยภาพ นักศึกษา รวมทัง้ ผูพ กิ าร ผูด อ ยโอกาส และผูม คี วามสามารถพิเศษ ในระบบ อุดมศึกษา และประสาน สงเสริม สนับสนุนการวิจัยเพื่อสรางองคความรู ใหมและสนับสนุนการพัฒนาประเทศ (4) เสนอแนะเกีย่ วกับการจัดตัง้ ยุบ รวม ปรับปรุงและยกเลิกสถาบันอุดมศึกษา และวิทยาลัยชุมชน (5) ดําเนินการเกี่ยวกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการ อุดมศึกษาตามทีค่ ณะกรรมการการอุดมศึกษามอบหมาย รวมทัง้ การรวบรวม ขอมูลและจัดทําสารสนเทศดานการอุดมศึกษา (6) ดําเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการการอุดมศึกษา (7) ปฏิ บั ติ ง านอื่ น ใดตามที่ ก ฎหมายกํ า หนดให เ ป น อํ า นาจหน า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือตามที่ รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

20

รายงานประจําป 2558


ขอ 2 ใหแบงสวนราชการสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดังตอไปนี้ (1) สํานักอํานวยการ (2) (ยกเลิก) (3) สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา (4) สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน* (5) สํานักประสานและสงเสริมกิจการอุดมศึกษา (6) สํานักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา (7) สํานักยุทธศาสตรอุดมศึกษาตางประเทศ (8) สํานักสงเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา (9) สํานักสงเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ขอ 2/1 ในสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ใหมีกลุมตรวจสอบภายใน เพือ่ ทําหนาทีห่ ลักในการตรวจสอบการดําเนินงานภายในสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสนับสนุนการปฏิบัติงานของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รับผิดชอบงานขึ้นตรง ตอเลขาธิการ โดยมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (1) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การตรวจสอบด า นการบริ ห าร การเงิ น และการบัญชีของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่น ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย ขอ 2/2 ในสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ใหมีกลุมพัฒนาระบบบริหาร เพื่อทําหนาที่หลักในการพัฒนาการบริหารของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาใหเกิด ผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุมคา รับผิดชอบงานขึ้นตรงตอเลขาธิการ โดยมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (1) เสนอแนะและให คํ า ปรึ ก ษาแก เ ลขาธิ ก ารเกี่ ย วกั บ ยุ ท ธศาสตร การพั ฒ นาระบบราชการภายในสํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (2) ติดตาม ประเมินผล และจัดทํารายงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบ ราชการภายในสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (3) ประสานและดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาระบบราชการ รวมกับหนวยงานกลางตาง ๆ และหนวยงานในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (4) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่ เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย

*สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน ถูกโอนกิจการไปจัดตั้งเปนสถาบันวิทยาลัยชุมชน ตามพระราชบัญญัติสถาบันวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2558

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

21


ขอ 3 สวนราชการของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (1) สํานักอํานวยการ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (ก) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานช ว ยอํ า นวยการและงานเลขานุ ก ารของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมทั้งงานเลขานุการของ คณะกรรมการการอุดมศึกษา (ข) ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (ค) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การบริ ห ารงานคลั ง การเงิ น งบประมาณ การบั ญ ชี การพั ส ดุ แ ละสิ น ทรั พ ย ข องสํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (ง) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ สารสนเทศ ประชาสั ม พั น ธ และเผยแพร ง าน การอุดมศึกษา (จ) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น ที่ เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย (2) (ยกเลิก) (3) สํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (ก) จั ด ทํ า ข อ เสนอนโยบายในการพั ฒ นาอุ ด มศึ ก ษาของประเทศ และจัดทําแผนพัฒนาการอุดมศึกษา (ข) จั ด ทํ า แผนการผลิ ต บั ณ ฑิ ต และพั ฒ นากํ า ลั ง คนระดั บ อุ ด มศึ ก ษาให สอดคลองกับความตองการของประเทศ (ค) วิเคราะห กลั่นกรองแผนงานและโครงการของมหาวิทยาลัยหรือสถาบัน รวมทั้งเสนอแนะการจัดตั้ง ยุบ รวม ปรับปรุง และยกเลิกสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ง) จัดทําหลักเกณฑและแนวทางการจัดสรรงบประมาณตลอดจนการระดม ทรัพยากร เพื่ออุดหนุนการอุดมศึกษาทุกประเภท (จ) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น ที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย (4) สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (ก) จัดทําขอเสนอนโยบาย และจัดทําแผนหลักของระบบวิทยาลัยชุมชน เสนอแนะการจัดตั้ง และจัดสรรงบประมาณใหวิทยาลัยชุมชน (ข) จัดทําระบบขอมูล สารสนเทศ กํากับ ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดําเนินงานวิทยาลัยชุมชน (ค) จัดทํามาตรฐานการจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน (ง) พั ฒ นาและส ง เสริ ม การจั ด การศึ ก ษาของวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนและระบบ เครือขายความรวมมือการจัดการศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศ (จ) ดําเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการวิทยาลัยชุมชน (ฉ) ปฏิบตั งิ านรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ หรือที่ไดรับมอบหมาย

22

รายงานประจําป 2558


(5) สํานักประสานและสงเสริมกิจการอุดมศึกษา มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (ก) สงเสริมเครือขายสถาบันอุดมศึกษา และภูมิปญญาของชาติ (ข) สนั บสนุ นการวิ จัยและพั ฒนานวั ตกรรม รวมทั้ งถายทอดองค ความรู และเทคโนโลยี (ค) กํ า กั บ ดู แ ล และกํ า หนดมาตรการเกี่ ย วกั บ การจั ด การศึ ก ษาระดั บ อุดมศึกษาใหเปนไปตามกฎหมาย กฎ ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ที่เกี่ยวของ (ง) ประสาน สนับสนุนและกํากับการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (จ) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับมอบหมาย (6) สํานักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (ก) จัดทําขอเสนอนโยบายและมาตรฐานการอุดมศึกษา (ข) จัดทําระบบการรับรองวิทยฐานะและการรับรองมาตรฐานการศึกษาของ สถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งเสนอแนวทางการเทียบระดับและการเทียบโอน ผลการเรียน (ค) ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา และการศึกษาวิจัยดานการเรียนการสอน การสงเสริมการสรางองค ความรูใหมและการจัดความรู ตลอดจนเปนแหลงรวบรวมขอมูลหลักสูตร และการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา (ง) ดําเนินการเกีย่ วกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (จ) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับมอบหมาย (7) สํานักยุทธศาสตรอุดมศึกษาตางประเทศ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (ก) จัดทํายุทธศาสตรดา นอุดมศึกษาตางประเทศ และแนวทางการสรางความ รวมมือทางวิชาการและการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระหวางประเทศ (ข) ดําเนินการดานความสัมพันธระดับอุดมศึกษากับตางประเทศ (ค) เสนอมาตรการและแนวทางการสนั บ สนุ น ส ง เสริ ม สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น ตามเงื่ อ นไขการเป ด เสรี ท าง การศึกษาและพัฒนาไปสูความเปนศูนยกลางอุดมศึกษาในภูมิภาค (ง) ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาใช ป ระโยชน จ ากทรั พ ยากร อุดมศึกษาตางประเทศเพื่อพัฒนาอุดมศึกษา (จ) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับมอบหมาย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

23


(8) สํานักสงเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (ก) จัดทําขอเสนอแนะดานนโยบาย และกําหนดมาตรฐานเกี่ยวกับ การพัฒนานักศึกษา (ข) สงเสริมการพัฒนาทักษะ ความสามารถ และรูปแบบการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนานักศึกษาใหมีความสมบูรณพรอมทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญ  ญา มีความรูค คู ณ ุ ธรรมและสามารถอยูใ นสังคมไดอยางเปนสุข รวมทั้งมีศักยภาพที่สามารถแขงขันไดในระดับนานาชาติ (ค) สงเสริมการสรางเครือขายการเรียนรูแ ละเสริมสรางประสบการณชวี ติ ในการทํางานรวมกับชุมชน ทองถิ่น และสถานประกอบการ (ง) สงเสริมการพัฒนาระบบสวัสดิการ บริการนักศึกษา การศึกษา ของคนพิการ ผูดอยโอกาส และผูมีความสามารถพิเศษในสถาบัน อุดมศึกษา (จ) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานที่ เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย (9) สํานักสงเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (ก) เสนอแนะนโยบาย ประสาน และสงเสริมการดําเนินการพัฒนา ทรัพยากรมนุษยในระบบอุดมศึกษา ในเครือขายของมหาวิทยาลัย กับผูรับบริการ ผูประกอบการ ทองถิ่น และชุมชน (ข) จัดทําหลักสูตร และประสาน สงเสริมใหมีการจัดฝกอบรมผูบริหาร ระดับสูง สายวิชาการ และผูบริหารสายสนับสนุนวิชาการ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและเปนเครือขายที่จะพัฒนาระบบบริหารของสถาบัน อุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน (ค) จัดทําฐานขอมูลทะเบียนประวัติ ใหคําปรึกษาแนะนําและติดตาม ประเมินผลการบริหารงานบุคคลของขาราชการพลเรือนในสถาบัน อุดมศึกษา (ง) ดําเนินการเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบ งานนิติกรรมและสัญญา งานเกี่ ย วกั บ ความรั บ ผิ ด ในทางแพ ง อาญา งานคดี ป กครอง และงานคดีอื่นที่อยูในอํานาจหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (จ) ดําเนินการเกีย่ วกับงานเลขานุการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา (ฉ) ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานที่ เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย ใหไว ณ วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ปองพล อดิเรกสาร รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ

24

รายงานประจําป 2558


หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องจากมาตรา 11 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 บัญญัตวิ า การแบงสวนราชการภายในสวนราชการในสวนกลางของกระทรวงศึกษาธิการ ใหออกเปนกฎกระทรวงและใหระบุอํานาจหนาที่ของแตละสวนราชการไวในกฎกระทรวงดวย เพื่อใหสอดคลองกับบทบัญญัติ ดังกลาว สมควรแบงสวนราชการภายในสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และระบุอํานาจหนาที่ ของสวนราชการดังกลาวใหเหมาะสมกับสภาพของงาน จึงจําเปนตองออกกฎกระทรวงนี้ กฎกระทรวงแบงสวนราชการสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2556 หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่ไดมีการจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษา แหงชาติ (องคการมหาชน) เพื่อเปนองคกรกลางในการศึกษา วิจัย พัฒนา และใหบริการทางการประเมินผลทางการศึกษา และทดสอบทางการศึกษา รวมทั้งเปนศูนยกลางความรวมมือดานการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติและระดับนานาชาติ โดยโอนบรรดากิจการ ทรัพยสนิ สิทธิหนีส้ นิ และเงินงบประมาณของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับสํานักทดสอบกลางไปเปนของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) ที่จัดตั้งขึ้นใหม เพื่อใหสอดคลองกับการดําเนินการดังกลาว และสมควรกําหนดใหมีกลุมตรวจสอบภายในและกลุมพัฒนาระบบบริหารขึ้นใน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อทําหนาที่ในการตรวจสอบการดําเนินงาน สนับสนุน การปฏิบัติงาน และพัฒนาการบริหารของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อันจะทําใหการปฏิบัติภารกิจตามอํานาจ หนาที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น จึงจําเปนตองออกกฎกระทรวงนี้

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

25


ผู บริหาร สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

รศ.พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

นางสาวอาภรณ แกนวงศ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

นายสุภัทร จําปาทอง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

รศ.นพ.สรนิต ศิลธรรม รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

นายขจร จิตสุขุมมงคล ที่ปรึกษาดานระบบบริหาร (รักษาการ)

นายอาณัติ พงศสุวรรณ ที่ปรึกษาดานนโยบายและแผน (รักษาการ)

นางอรสา ภาววิมล ที่ปรึกษาดานมาตรฐานการศึกษา (รักษาการ)

นายขจร จิตสุขุมมงคล ผูชวยเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา

26

รายงานประจําป 2558


นางสาวสุมัณฑนา จันทโรจวงศ ผูอํานวยการสํานักอํานวยการ

นายอาณัติ พงศสุวรรณ ผูอํานวยการสํานักนโยบาย และแผนการอุดมศึกษา

นายสมศักดิ์ ตันติแพทยางกูร ผูอํานวยการสํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน ปฏิบัติหนาที่ผูอํานวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน

นายศิระวิทย คลี่สุวรรณ ผูอํานวยการสํานักประสาน และสงเสริมกิจการอุดมศึกษา

นางสาวนุชนภา รื่นอบเชย ผูอํานวยการสํานักมาตรฐาน และคุณภาพอุดมศึกษา

นางสาวชฎารัตน สิงหเดชากุล ผูอํานวยการสํานักยุทธศาสตร อุดมศึกษาตางประเทศ

นางสาวณัชชา ญาณฐิตวัฒนา ผูอํานวยการสํานักสงเสริม และพัฒนาศักยภาพนักศึกษา

นางอรสา ภาววิมล ผูอํานวยการสํานักสงเสริม และพัฒนาสมรรถนะบุคลากร

นางนภาพร อารมสตรอง ผูอํานวยการสํานักติดตาม และประเมินผลอุดมศึกษา (ปฏิบัติหนาที่)

นายสุทน เฉื่อยพุก ผูอํานวยการสํานักนิติการ (ปฏิบัติหนาที่)

นายภาสกร เหมกรณ ผูอํานวยการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร

นางนงนภัส หมวดเดช ผูอํานวยการ กลุมตรวจสอบภายใน

ผศ.วิชาญ เลิศวิภาตระกูล ผูอํานวยการสํานักงานบริหารเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (ปฏิบัติหนาที่)

ผศ.ฐาปนีย ธรรมเมธา ผูอํานวยการสํานักงานบริหาร โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย (ปฏิบัติหนาที่)

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

27


โครงสร างการแบ งงานหน วยงานภายในของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

*กลุมงาน กิจการเลขาธิการ (กลธ.)

สํานักอํานวยการ (สอ.) 1. กลุมงานอํานวยการ 2. กลุมงานบริหารบุคคล 3. กลุมงานการเงิน งบประมาณ และบัญชี 4. กลุมงานพัสดุ 5. กลุมงานประชาสัมพันธ 6. ศูนยสารสนเทศอุดมศึกษา

กลุมพัฒนาระบบบริหาร (กพร.)

สํานักนโยบาย และแผนการอุดมศึกษา (สนผ.) 1. ฝายบริหารงานทั่วไป 2. กลุมพัฒนานโยบายอุดมศึกษา 3. กลุมแผนงานและโครงการ 4. กลุมแผนงานงบประมาณ 5. กลุมวางแผนและพัฒนากําลังคน

*สํานักติดตาม และประเมินผล อุดมศึกษา (สตป.) 1. ฝายบริหารงานทั่วไป 2. กลุม ตป.ดานคุณภาพ มาตรฐานอุดมศึกษา 3. กลุม ตป.ดานนโยบาย และงบประมาณ อุดมศึกษา

*สํานักนิติการ (สนก.) 1. 2. 3. 4.

ฝายบริหารงานทั่วไป กลุมพัฒนากฎหมาย กลุมนิติการและคดี กลุมอุทธรณรองทุกข

***กลุมงานคุมครองจริยธรรม

28

รายงานประจําป 2558

สํานัก บริหารงานวิทยาลัยชุมชน (สวชช.) 1. ฝายบริหารงานทั่วไป 2. กลุม นโยบายและแผน 3. กลุม พัฒนาวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา 4. กลุมสงเสริมการจัดการศึกษา และระบบเครือขาย

สํานักยุทธศาสตร อุดมศึกษาตางประเทศ (สยต.) 1. ฝายบริหารงานทั่วไป 2. กลุม ยุทธศาสตรการพัฒนาเครือขาย ความรวมมือกับตางประเทศ 3. กลุมสงเสริมการใชประโยชนทรัพยากร อุดมศึกษาระหวางประเทศ 4. กลุมบริหารนโยบายการเปดเสรี อุดมศึกษา 5. กลุมพัฒนาความเปนศูนยกลาง อุดมศึกษานานาชาติ


หนวยงานในกํากับภายใน 1. สถาบันวิจัยจุฬาภรณ 2. สํานักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) 3. สํานักงานบริหารโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย (TCU) 4. สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัย ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5. สถาบันคลังสมองของชาติ 6. สํานักงานกองทุนตั้งตัวได

กลุมตรวจสอบภายใน (ตสน.)

สํานักประสาน และสงเสริมกิจการอุดมศึกษา (สสอ.)

** สํานักมาตรฐาน และคุณภาพอุดมศึกษา (สมอ.) 1. ฝายบริหารงานทั่วไป 2. กลุม พัฒนามาตรฐานอุดมศึกษา 3. กลุม รับรองมาตรฐานการศึกษา และเทียบคุณวุฒิ 4. กลุมพัฒนาคุณภาพอุดมศึกษา 5. กลุมสงเสริมการจัดการความรู

1. ฝายบริหารงานทั่วไป 2. กลุม พัฒนาเครือขายอุดมศึกษา 3. กลุม สงเสริมสนับสนุน เผยแพร และใชประโยชนงานวิจัย 4. กลุมสงเสริมการสรางและพัฒนา ผูประกอบการ 5. กลุมพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา สํานักสงเสริมและพัฒนา ศักยภาพนักศึกษา (สพน.)

สํานักสงเสริมและพัฒนา สมรรถนะบุคลากร (สพบ.)

1. ฝายบริหารงานทั่วไป 2. กลุม พัฒนาระบบสวัสดิการ และบริการนักศึกษา 3. กลุมพัฒนาทักษะความสามารถ และกิจกรรมนักศึกษา 4. กลุมสงเสริมการเรียนรูประสบการณ กับชุมชน 5. กลุมกิจการพิเศษ

1. ฝายบริหารงานทั่วไป 2. กลุม นโยบายการพัฒนา ทรัพยากรบุคคลอุดมศึกษา 3. กลุมมาตรฐานการบริหารงานบุคคล 4. กลุมพัฒนาศักยภาพคณาจารย และบุคลากรอุดมศึกษา 5. กลุมฐานขอมูลทรัพยากรบุคคล

หมายเหตุ : * เปนหนวยงานภายในที่จัดตั้งขึ้นใหม ** เปนการปรับเปลี่ยนชื่อหนวยงานใหสอดคลองกับภารกิจใหม *** เปนหนวยงานที่จัดตั้งขึ้นตามมติ ครม. สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

29


รายนามรัฐมนตรีว าการทบวงมหาวิทยาลัย รายนาม

นายบุญรอด บิณฑสันต นายอรุณ สรเทศน นายเกษม สุวรรณกุล พลโท ชาญ อังศุโชติ นายนิพนธ ศศิธร นายประเสริฐ ณ นคร (ปลัดทบวงมหาวิทยาลัยใชอํานาจรัฐมนตรี) นางวิมลศิริ ชํานาญเวช นายเกษม สุวรรณกุล นายปรีดา พัฒนถาบุตร นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ (รักษาราชการ) นายสุบิน ปนขยัน นายทวิช กลิ่นประทุม นายอนุวรรตน วัฒนพงศศิริ นายยิ่งพันธ มนะสิการ นายวิจิตร ศรีสอาน (ปลัดทบวงมหาวิทยาลัยใชอํานาจรัฐมนตรี) นายเกษม สุวรรณกุล นายทวิช กลิ่นประทุม นายเกษม สุวรรณกุล นายสุเทพ อัตถากร นายบุญชู โรจนเสถียร (รักษาราชการ) นายกระแส ชนะวงศ พลตรี จําลอง ศรีเมือง (รักษาราชการ) นายถวิล ไพรสณฑ นายธารินทร นิมมานเหมินทร (รักษาราชการ) นายบุญชู ตรีทอง พลอากาศเอก สมบุญ ระหงษ (รักษาราชการ) นายบุญชู ตรีทอง นายมนตรี ดานไพบูลย นายฉัตรชัย เอียสกุล คุณหญิงนงเยาว ชัยเสรี นาวาโท เดชา สุขารมณ

30

รายงานประจําป 2558

วาระการดํารงตําแหน ง

19 ธันวาคม 2515 - 15 ตุลาคม 2516 16 ตุลาคม 2516 - 29 พฤษภาคม 2517 30 พฤษภาคม 2517 - 16 มีนาคม 2518 17 มีนาคม 2518 - 7 มกราคม 2519 8 มกราคม 2519 - 5 ตุลาคม 2519 6 ตุลาคม 2519 - 21 ตุลาคม 2519 22 ตุลาคม 2519 - 11 พฤศจิกายน 2520 12 พฤศจิกายน 2520 - 6 พฤษภาคม 2526 7 พฤษภาคม 2526 - 3 พฤษภาคม 2529 4 พฤษภาคม 2529 - 10 สิงหาคม 2529 11 สิงหาคม 2529 - 8 สิงหาคม 2531 9 สิงหาคม 2531 - 25 สิงหาคม 2533 26 สิงหาคม 2533 - 13 ธันวาคม 2533 14 ธันวาคม 2533 - 22 กุมภาพันธ 2534 23 กุมภาพันธ 2534 - 5 มีนาคม 2534 6 มีนาคม 2534 - 16 เมษายน 2535 17 เมษายน 2535 - 13 มิถุนายน 2535 14 มิถุนายน 2535 - 28 กันยายน 2535 29 กันยายน 2535 - 12 ตุลาคม 2537 13 ตุลาคม 2537 - 24 ตุลาคม 2537 25 ตุลาคม 2537 - 12 กุมภาพันธ 2538 13 กุมภาพันธ 2538 - 15 กุมภาพันธ 2538 16 กุมภาพันธ 2538 - 18 พฤษภาคม 2538 19 พฤษภาคม 2538 - 17 กรกฎาคม 2538 18 กรกฎาคม 2538 - 22 พฤษภาคม 2539 23 พฤษภาคม 2539 - 27 พฤษภาคม 2539 28 พฤษภาคม 2539 - 28 พฤศจิกายน 2539 29 พฤศจิกายน 2539 - 15 สิงหาคม 2540 16 สิงหาคม 2540 - 24 ตุลาคม 2540 25 ตุลาคม 2540 - 14 พฤศจิกายน 2540 15 พฤศจิกายน 2540 - 4 ตุลาคม 2541


นายประจวบ ไชยสาสน นายสุชน ชามพูนท นายกร ทัพพะรังสี (รักษาราชการ) นายสุธรรม แสงประทุม นายสุวัจน ลิปตพัลลภ พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร (รักษาราชการ) นายปองพล อดิเรกสาร

5 ตุลาคม 2541 - 8 กันยายน 2543 9 กันยายน 2543 - 17 พฤศจิกายน 2543 18 พฤศจิกายน 2543 - 16 กุมภาพันธ 2544 17 กุมภาพันธ 2544 - 4 มีนาคม 2545 5 มีนาคม 2545 - 2 ตุลาคม 2545 3 ตุลาคม 2545 - 7 ตุลาคม 2545 8 ตุลาคม 2545 - 6 กรกฎาคม 2546

รายนามรัฐมนตรีว าการกระทรวงศึกษาธิการ กํากับดูแลสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รายนาม

นายปองพล อดิเรกสาร นายอดิศัย โพธารามิก นายจาตุรนต ฉายแสง คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา (ปลัดกระทรวงศึกษาธิการใชอํานาจรัฐมนตรี) ศาสตราจารย วิจิตร ศรีสอาน นายสมชาย วงษสวัสดิ์ นายศรีเมือง เจริญศิริ นายจุรินทร ลักษณวิศิษฏ นายชินวรณ บุณยเกียรติ นายวรวัจน เอื้ออภิญญกุล ศาสตราจารย สุชาติ ธาดาดํารงเวช นายพงศเทพ เทพกาญจนา นายจาตุรนต ฉายแสง นางสุทธศรี วงษสมาน (ปลัดกระทรวงศึกษาธิการใชอํานาจรัฐมนตรี) พลเรือเอก ณรงค พิพัฒนาศัย พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ

วาระการดํารงตําแหน ง

7 กรกฎาคม 2546 - 7 พฤศจิกายน 2546 8 พฤศจิกายน 2546 - 2 สิงหาคม 2548 2 สิงหาคม 2548 - 20 กันยายน 2549 21 กันยายน 2549 - 8 ตุลาคม 2549 8 ตุลาคม 2549 - 6 กุมภาพันธ 2551 6 กุมภาพันธ 2551 - 23 กันยายน 2551 24 กันยายน 2551 - 19 ธันวาคม 2551 20 ธันวาคม 2551 - 15 มกราคม 2553 15 มกราคม 2553 - 8 สิงหาคม 2554 9 สิงหาคม 2554 - 18 มกราคม 2555 18 มกราคม 2555 - 27 ตุลาคม 2555 27 ตุลาคม 2555 - 30 มิถุนายน 2556 30 มิถุนายน 2556 - 22 พฤษภาคม 2557 22 พฤษภาคม 2557 - 30 สิงหาคม 2557 30 สิงหาคม 2557 - 19 สิงหาคม 2558 19 สิงหาคม 2558 - ปจจุบัน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

31


รายนามปลัดทบวงมหาวิทยาลัย รายนาม

ศาสตราจารยประเสริฐ ณ นคร พันเอก อาทร ชนเห็นชอบ ศาสตราจารยวิจิตร ศรีสอาน ศาสตราจารยเกียรติคุณเกษม วัฒนชัย รองศาสตราจารยวันชัย ศิริชนะ (รักษาการ) รองศาสตราจารยวันชัย ศิริชนะ ศาสตราจารย รอยตํารวจเอก วรเดช จันทรศร (รักษาการ) ศาสตราจารย รอยตํารวจเอก วรเดช จันทรศร

วาระการดํารงตําแหน ง

29 กันยายน 2515 - 30 กันยายน 2522 1 ตุลาคม 2522 - 30 กันยายน 2530 1 ตุลาคม 2530 - 21 ธันวาคม 2537 22 ธันวาคม 2537 - 22 ธันวาคม 2539 23 ธันวาคม 2539 - 21 มกราคม 2540 22 มกราคม 2540 - 2 ตุลาคม 2544 4 ตุลาคม 2544 - 3 พฤศจิกายน 2544 4 พฤศจิกายน 2544 - 6 กรกฎาคม 2546

รายนามเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา รายนาม

ศาสตราจารย รอยตํารวจเอก วรเดช จันทรศร นางพรนิภา ลิมปพยอม (รักษาการ) ศาสตราจารยพิเศษ ภาวิช ทองโรจน (รักษาการ) ศาสตราจารยพิเศษ ภาวิช ทองโรจน นางสาวจิรณี ตันติรัตนวงศ (รักษาราชการแทน) นายกฤษณพงศ กีรติกร (รักษาราชการ) นายกฤษณพงศ กีรติกร นายสุเมธ แยมนุน นายอภิชาติ จีระวุฒิ ศาสตราจารยพิเศษ ทศพร ศิริสัมพันธ รองศาสตราจารย นายแพทยกําจร ตติยกวี รองศาสตราจารยพินิติ รตะนานุกูล

32

รายงานประจําป 2558

วาระการดํารงตําแหน ง

7 กรกฎาคม 2546 - 19 เมษายน 2547 20 เมษายน 2547 - 18 พฤษภาคม 2547 19 พฤษภาคม 2547 - 1 มิถุนายน 2547 2 มิถุนายน 2547 - 30 กันยายน 2549 1 ตุลาคม 2549 - 26 ธันวาคม 2549 27 ธันวาคม 2549 - 14 มกราคม 2550 15 มกราคม 2550 - 30 กันยายน 2550 1 ตุลาคม 2550 - 30 กันยายน 2554 1 ตุลาคม 2554 - 30 กันยายน 2556 1 ตุลาคม 2556 - 27 มิถุนายน 2557 27 มิถุนายน 2557 - 17 เมษายน 2558 17 เมษายน 2558 - ปจจุบัน


คณะกรรมการ ข าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา มีอํานาจหนาที่เสนอแนะและให คําปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายการบริหารงานบุคคลของขาราชการพลเรือนในสถาบัน อุดมศึกษา และประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อดําเนินการใหขาราชการพลเรือนในสถาบัน อุดมศึกษาไดรับคาตอบแทน สวัสดิการ และประโยชนเกื้อกูลอื่น ใหอยูในสภาพที่เหมาะสม พรอมทั้ง กําหนดมาตรฐานการบริหารงานบุคคล วินัยและการรักษาวินัย การดําเนินการทางวินัย การออกจาก ราชการ การอุทธรณและการรองทุกข และการพิจารณาตําแหนงวิชาการ เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาใช เปนแนวทางในการดําเนินการ และออกกฎ ก.พ.อ. ระเบียบ หรือขอบังคับตามพระราชบัญญัตินี้ นอกจากนี้ยังมีหนาที่กําหนดกรอบอัตรากําลัง และอัตราสวนสูงสุดของวงเงินที่จะพึงใชเพื่อ การบริหารงานบุคคลของสถาบันอุดมศึกษาแตละสถาบัน รวมทั้งกํากับ ดูแล ติดตามและประเมินผล การบริหารงานบุคคลของขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ในการนี้ใหมีอํานาจเรียกเอกสาร และหลักฐานจากสถาบันอุดมศึกษา ใหผแู ทนของสถาบันอุดมศึกษา ขาราชการหรือบุคคลใดมาชีแ้ จง ขอเท็จจริง และกําหนดอัตราคาตอบแทนใหกบั นายกสภาสถาบันอุดมศึกษาและกรรมการสภาสถาบัน อุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง คณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษายังมีอาํ นาจพิจารณารับรองคุณวุฒขิ อง ผูไดรับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือคุณวุฒิอยางอื่น เพื่อประโยชนในการบรรจุและแตงตั้ง เปนขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา และกําหนดอัตราเงินเดือนคาตอบแทนที่ควรไดรับ และระดับตําแหนงที่ควรแตงตั้ง และกําหนดมาตรฐานของจรรยาบรรณที่พึงมีในสถาบันอุดมศึกษา ตลอดจนปฏิบัติการอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ ตามกฎหมายอื่น หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

33


รายนามคณะกรรมการข าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) ชุดป จจุบัน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการ ก.พ. ศาสตราจารยกิตติคุณ วิษณุ เครืองาม ศาสตราจารยเกียรติคุณ ปยะวัติ บุญ-หลง ศาสตราจารยเกียรติคุณ กิตติชัย วัฒนานิกร ศาสตราจารย สุรพล นิติไกรพจน ศาสตราจารย ถวิล พึ่งมา รองศาสตราจารย คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา นายถนอม อินทรกําเนิด นายบุญปลูก ชายเกตุ นายโสภณ สุภาพงษ ศาสตราจารยเกียรติคุณ คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ

15. ศาสตราจารยพิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร 16. ศาสตราจารย พจน สะเพียรชัย 17. นายสุเมธ แยมนุน 18. รองศาสตราจารย วุฒิชัย กปลกาญจน 19. ผูชวยศาสตราจารย เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ 20. ผูชว ยศาสตราจารย วิโรจน ลิ้มไขแสง 21. ผูชวยศาสตราจารย นิวัต กลิ่นงาม 22. นายบูรพาทิศ พลอยสุวรรณ 23. ผูชวยศาสตราจารย อติชาติ ภูมิวณิชชา 24. ศาสตราจารย สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล 25. รองศาสตราจารย ทิพวรรณ หลอสุวรรณรัตน 26. เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

34

รายงานประจําป 2558

ประธาน กรรมการโดยตําแหนง กรรมการโดยตําแหนง ผูทรงคุณวุฒิ ผูทรงคุณวุฒิ ผูทรงคุณวุฒิ ผูทรงคุณวุฒิ ผูทรงคุณวุฒิ (ลาออกเมื่อวันที่ 26 มี.ค. 58) ผูทรงคุณวุฒิ ผูทรงคุณวุฒิ ผูทรงคุณวุฒิ ผูทรงคุณวุฒิ ผูทรงคุณวุฒิ นายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร (พนวาระการดํารงตําแหนงนายกสภามหาวิทยาลัย) นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (พนวาระการดํารงตําแหนงกรรมการ ก.พ.อ. ดวยเหตุมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรออกนอกระบบ) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (พนวาระการดํารงตําแหนงนายกสภามหาวิทยาลัย) นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (พนวาระการดํารงตําแหนงอธิการบดี) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (ลาออกเมื่อวันที่ 5 ก.ค. 58) ผูแทนขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ผูแทนขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ผูแทนขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ผูแทนขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร กรรมการและเลขานุการโดยตําแหนง


คณะกรรมการการอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีอํานาจหนาที่ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ตามความในมาตรา 16 ในการพิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผน การศึกษาแหงชาติ และสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษาโดยคํานึงถึงความเปนอิสระ และความเปนเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับ ปริญญาตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษาแตละแหง และกฎหมายที่เกี่ยวของ พรอมทั้ง เสนอแนะในการออกระเบียบ หลักเกณฑ และประกาศที่เกี่ยวกับการบริหารงานของสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา และใหความเห็นหรือใหคาํ แนะนําแกรฐั มนตรีวา การกระทรวงศึกษาธิการ หรือคณะรัฐมนตรี และมีอํานาจหนาที่อื่นตามที่กฎหมายกําหนด หรือตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการมอบหมาย ตลอดจนมีอํานาจเสนอแนะและใหความเห็นในการจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป ให แ ก ส ถานศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ทั้ ง ที่ เ ป น สถานศึ ก ษาในสั ง กั ด และสถานศึ ก ษาในกํ า กั บ แก คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการการอุดมศึกษายังมีอํานาจและหนาที่ตามมาตรา 24 แหงพระราชบัญญัติ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 บัญญัตใิ หคณะกรรมการการอุดมศึกษาใหความเห็นชอบในกรณี ที่พระราชบัญญัติกําหนดไวใหไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และเสนอความเห็นหรือให คําแนะนําตอรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง และประกาศ เพื่อดําเนินการตามพระราชบัญญัติ และเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษาเอกชน รวมทั้งใหการรับรองหลักสูตรการศึกษาตาม มาตรฐานทีก่ ระทรวงกําหนด และใหความเห็นชอบเกีย่ วกับการรับรองมาตรฐานการศึกษาและวิทยฐานะ ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามมาตรฐานการศึกษาที่กระทรวงกําหนด พรอมทั้งออกระเบียบ และขอบังคับเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 ตลอดจนปฏิบัติ งานอืน่ ใดตามทีพ่ ระราชบัญญัตนิ ี้ หรือกฎหมายอืน่ กําหนดใหเปนอํานาจและหนาทีข่ องคณะกรรมการ นอกจากนี้ ตามความในมาตรา 18 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวง ศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และมาตรา 26 แหงพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 ยังไดบญ ั ญัตใิ หคณะกรรมการมีอาํ นาจแตงตัง้ คณะอนุกรรมการ หรือคณะกรรมการอืน่ หรือคณะทํางาน เพื่อพิจารณาเสนอความเห็นในเรื่องหนึ่งเรื่องใด หรือมอบหมายใหปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใด อันอยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการก็ไดและเมื่อไดดําเนินการประการใดแลว ใหรายงานให คณะกรรมการทราบดวย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

35


รายนามคณะกรรมการการอุดมศึกษา 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28.

36

รองศาสตราจารย คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ผูอํานวยการสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา นายวิทยา เจียรพันธุ นายอรรถพร สุวัธนเดชา รองศาสตราจารย สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ นายชวลิต หมื่นนุช พลตํารวจเอก ชาญวุฒิ วัชรพุกก พลตํารวจตรี ชุมศักดิ์ พฤกษาพงษ ศาสตราจารย นักสิทธ คูวัฒนาชัย ศาสตราจารย ปรีชา เถาทอง ศาสตราจารย ลิขิต ธีรเวคิน ศาสตราจารย วิชัย ริ้วตระกูล ศาสตราจารย วีระศักดิ์ จงสูวิวัฒนวงศ ศาสตราจารย ศักดา ธนิตกุล รองศาสตราจารย ศิโรจน ผลพันธิน ศาสตราจารยกิตติคุณ สมหวัง พิธิยานุวัฒน นายสวาง ภูพัฒนวิบูลย ศาสตราจารย สุนทร บุญญาธิการ รองศาสตราจารย อานนท เที่ยงตรง เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

รายงานประจําป 2558

ประธานกรรมการ กรรมการโดยตําแหนง กรรมการโดยตําแหนง กรรมการโดยตําแหนง กรรมการโดยตําแหนง กรรมการโดยตําแหนง กรรมการโดยตําแหนง กรรมการโดยตําแหนง กรรมการโดยตําแหนง กรรมการโดยตําแหนง กรรมการผูแทนองคกรเอกชน กรรมการผูแทนองคกรปกครองทองถิ่น กรรมการผูแทนองคกรวิชาชีพ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการและเลขานุการโดยตําแหนง


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

37


Annual Report

อุดมศึกษา...ในอีก 15 ปี (พ.ศ. 2560 - 2574)

การจัดท�ำแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี นับมีความส�ำคัญต่อการพัฒนาอุดมศึกษา เพื่อใช้เป็นแผนชี้น�ำทิศทางและ พัฒนาสถาบันอุดมศึกษาของประเทศให้ด�ำเนินการตามพันธกิจให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นกลไกหนึ่งในการเพิ่ม ขีดความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ รองรับความท้าทายและการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลก ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2558 เป็นต้นมา ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ด�ำเนินการทบทวนกรอบแผนอุดมศึกษา ระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) และจัดท�ำแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560-2574) ในลักษณะ Rolling Plan เพือ่ ให้สามารถคาดการณ์สถานการณ์ มองเชิงรุกไปข้างหน้า และมีความยืดหยุน่ ต่อการเปลีย่ นแปลงมากขึน้ ซึง่ จะ เป็นแผนแม่บทส�ำหรับการจัดท�ำแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา รวม 3 ฉบับ คือ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565-2569) และฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2570-2574) โดยจัดการประชุมคณะอนุกรรมการกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560-2574) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ทุกเดือน ซึง่ เป็นอนุกรรมการ เฉพาะกิจที่คณะกรรมการการอุดมศึกษามีค�ำสั่งที่ 1/2558 แต่งตั้ง เพื่อท�ำหน้าที่ทบทวนกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) และด�ำเนินการจัดท�ำร่างกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560-2574) รวมทั้งแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) โดยมีนายสุเมธ แย้มนุ่น เป็นประธานอนุกรรมการ

38

รายงานประจำ�ปี 2558


คุณค่า/ศักยภาพสูง

ในขณะนี้ที่ประชุมเห็นชอบหลักการของแผน ซึ่งอุดมศึกษาต้องเป็นกลไกการขับเคลื่อนพัฒนาประเทศ และส่งเสริม ให้อดุ มศึกษาเป็นหัวรถจักรในการปรับการศึกษาทัง้ ระบบ ตัง้ แต่การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน จนถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยด�ำเนิน การวิเคราะห์แนวโน้ม ซึ่งเป็นปัจจัยภายนอกและภายในที่ส่งผลกระทบต่อระบบอุดมศึกษาและการพัฒนาประเทศ เพื่อก�ำหนด ประเด็นสาระส�ำคัญที่จะบรรจุในแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 3 การด�ำเนินงานจัดท�ำแผนดังกล่าว ได้สร้างการมีส่วนร่วมในทุกระดับ ทั้งจากหน่วยงาน/บุคลากรภายในส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา และหน่วยงานภายนอก อาทิ เครือข่ายการพัฒนายุทธศาสตร์อุดมศึกษา สถาบันอุดมศึกษา และ หน่วยงานผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ ซึ่งในช่วงเดือนพฤษภาคม - เดือนสิงหาคม ได้เชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ข้อมูลเชิงลึก ถึงผลที่จะเกิดขึ้นและบทบาทของอุดมศึกษาที่จะต้องตอบสนองต่อแนวโน้มดังกล่าว เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร น�ำเสนอโดย รศ. วรเวศม์ สุวรรณระดา คณบดีวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แนวโน้มการขับเคลื่อน Digital Economy น�ำเสนอโดย นายพันธ์ศกั ดิ์ ศิรริ ชั ตพงษ์ ทีป่ รึกษาปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ทิศทาง การปฏิรปู การศึกษาของสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ น�ำเสนอโดย ผศ. เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และทิศทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ : ผลกระทบต่อการวางแผนอุดมศึกษา น�ำเสนอโดย นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นต้น โดยคณะท�ำงานจะประมวลแนวคิด ข้อเสนอแนะ ที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญในแต่ละแนวโน้มมาก�ำหนด Strategic Issues ของแผนต่อไป สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

39


Annual Report

นโยบาย 4 คุณ 4 สูง พัฒนาอุดมศึกษา ปจจุบันแนวโนมจํานวนสถาบันอุดมศึกษาเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่อง ในขณะที่จํานวนนักเรียนที่จะเขาสูอุดมศึกษา มีแนวโนมลดลง จํานวนที่นั่งในสถาบันอุดมศึกษามีมากกวา ผูที่สมัครเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ดังนั้น สถาบัน อุดมศึกษาจึงควรหยุดขยายตัวในเชิงปริมาณ พรอมทัง้ ทบทวน ภารกิจ (Reprofiling) ใหสอดคลองกับบริบททีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ซึ่งประเด็นสําคัญอยูที่คุณภาพ เนื่องจากผูเรียนมีทางเลือก มากขึ้นที่จะเลือกเขาศึกษาตอในสถาบันที่มีคุณภาพและมี ความพรอม สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จึงผลักดัน นโยบาย 4 คุณ 4 สูง พัฒนาอุดมศึกษา ดังนี้ คุณภาพ/มาตรฐานสูง โดยยกระดับคุณภาพการ อุดมศึกษาของประเทศไทยใหมีมาตรฐานเทียบเคียงไดใน ระดับอาเซียนและระดับนานาชาติ โดยยกระดับคุณภาพ บัณฑิต อาจารย และงานวิจัย

40

รายงานประจําป 2558

คุณธรรม/ธรรมาภิบาลสูง โดยใชหลักความรูคู คุณธรรม หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการสถาบัน อุ ด มศึ ก ษา สร า งความเข ม แข็ ง ให ก รรมการสภาสถาบั น อุดมศึกษา และสถาบันอุดมศึกษาตองรับผิดชอบตอผลผลิต ที่ผลิตออกมา คุณคา/ศักยภาพสูง โดยสงเสริมการพัฒนาอาจารย นักวิจัย บุคลากร และนักศึกษา ใหมีศักยภาพสูงทุกมิติ โดย การสรางเครือขายการทํางาน การใหทุนพัฒนาอาจารยและ บุคลากร การพัฒนานักศึกษาใหมี Soft Skill มีความสามารถ ในการปรับตัว มีทักษะทางภาษา และทักษะทางวิชาชีพ คุณประโยชน/มูลคาสูง โดยการตอยอดงานวิจยั ให มีมูลคาสูงขึ้น เพื่อเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขัน และสรางประโยชนตอการพัฒนาสังคมและประเทศ เนนการ สรางความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรมและชุมชน สงเสริมการ วิจัยในสายรับใชสังคม สรางนักวิจัยรุนใหม สงเสริมโครงการ Talent Mobility เปนตน


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

คุณภาพ มาตรฐานสูง

ยกระดับคุณภาพการอุดมศึกษา ของประเทศไทยให มีมาตรฐานเทียบเคียง ได ในระดับอาเซียนและระดับนานาชาติ โดยยกระดับคุณภาพหลักสูตร บัณฑิต อาจารย และงานวิจัย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

41


Annual Report

คณะกรรมการการอุดมศึกษาสัญจร เพือ่ ใหการขับเคลือ่ นนโยบายของคณะกรรมการการ อุดมศึกษาไปสูการปฏิบัติใหเห็นผลอยางเปนรูปธรรมในการ พัฒนาคุณภาพการอุดมศึกษาของประเทศและสอดรับกับ สถานการณปจจุบัน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จึงจัดโครงการประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษาสัญจร ณ เครือขายอุดมศึกษา 9 เครือขาย เพื่อใหคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษาและผู  บ ริ ห ารของสํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ไดมโี อกาสพบปะกับผูบ ริหารสถาบันอุดมศึกษา ในพื้ น ที่ รั บ ฟ ง ป ญ หา ข อ เท็ จ จริ ง และร ว มแลกเปลี่ ย น ความคิ ด เห็ น เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นนโยบายของคณะกรรมการ การอุดมศึกษาสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมตอไป คณะกรรมการการอุดมศึกษา กําหนดใหมกี ารสัญจร ทุก 3 เดือน เริม่ สัญจรครัง้ แรกตัง้ แตเดือนเมษายน 2557 และ จัดตอเนือ่ งใหครบทัง้ 9 เครือขายในเดือนมิถนุ ายน 2559 โดย มีกิจกรรม คือ การเยี่ยมชม (Site Visit) สถาบันอุดมศึกษาใน เครือขาย การนําเสนอวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ/ผลงานที่โดดเดน (Best Practice) ของสถาบันอุดมศึกษาตอคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และการเสวนาแลกเปลีย่ นความคิดเห็นในการ ยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาไทย สําหรับป 2558 สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจดั การประชุมคณะกรรมการ การอุดมศึกษาสัญจร จํานวน 4 ครั้ง ดังนี้

42

รายงานประจําป 2558

ครั้งที่ 1 การประชุมเสวนาเครือขายอุดมศึกษาภาค ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตอนบน ซึ่ ง มี ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาใน เครือขาย จํานวน 15 แหง จะจัดระหวางวันที่ 15 - 16 ธันวาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยขอนแกน ครั้งที่ 2 การประชุมเสวนาเครือขายอุดมศึกษาภาค เหนือตอนบน ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาในเครือขาย จํานวน 18 แหง จัดระหวางวันที่ 9 - 11 มีนาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัย เชียงใหม ครั้งที่ 3 การประชุมเสวนาเครือขายอุดมศึกษาภาค ใตตอนลาง ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาในเครือขาย จํานวน 16 แหง จัดระหวางวันที่ 8 - 10 มิถุนายน 2558 ณ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร ครั้งที่ 4 การประชุมเสวนาเครือขายอุดมศึกษาภาค กลางตอนลาง ซึ่งมีสถาบันในเครือขาย จํานวน 33 แหง จัดระหวางวันที่ 7 - 9 กันยายน 2558 ณ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ทั้งนี้ ไดรับการตอบรับอยางดีจากผูบริหารสถาบัน อุดมศึกษาทีไ่ ดรบั นโยบายโดยตรง และมีโอกาสไดแลกเปลีย่ น ความคิดเห็น เปนการเชื่อมความสัมพันธ สรางความเขาใจ ระหวางกัน นอกจากนี้ ไดมีการพัฒนารูปแบบของการเสวนา และการเยี่ยมชมสถานศึกษา โดยกําหนดประเด็นในการ ทํางานรวมกันของเครือขายในการแกปญ  หาในพืน้ ที่ เริม่ ตัง้ แต การประชุมเสวนาเครือขายอุดมศึกษา ครั้งที่ 3 เปนตนมา ถือเปนการขยายผลใหการดําเนินการเกิดผลกระทบและ ผลลัพธในเชิงนโยบายทีเ่ ปนประโยชนตอ เครือขายอุดมศึกษา มากขึ้นตามลําดับ


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

เครือข ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาจั ด ตั้ ง เครือขายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา เพื่อเปนเครือขายกลาง เชือ่ มโยงระหวางสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ สถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ จํานวน 9 เครือขาย ตลอดจน ส ง เสริ ม ให มี ก ารเคลื่ อ นย า ยและเชื่ อ มโยงเครื อ ข า ยย อ ย หรือเครือขายเชิงประเด็นที่มีอยูเดิมหรือตั้งขึ้นใหมใหมาอยู ภายใตเครือขายอุดมศึกษาภูมิภาคที่จัดตั้งขึ้น โดยถือเปน โครงสรางหนึง่ ในระบบอุดมศึกษา มีวตั ถุประสงคเพือ่ ทําหนาที่ เปนกลไกหลักสําคัญในการผลักดันเชิงนโยบาย การเชือ่ มโยง การดําเนินการตามภารกิจหลักของการอุดมศึกษาในประเทศ ที่มุงเนนการใชทรัพยากรและองคความรูรวมกันระหวาง สถาบันอุดมศึกษา องคกรผูใ ชบณ ั ฑิต ทัง้ ในภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจ ตลอดจนชุมชนทองถิ่นในแตละพื้นที่ ทั้งนี้ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สงเสริมและผลักดัน การถายโอนหรือมอบภารกิจโครงการและกิจกรรมตางๆ ทีไ่ ด รั บ การสนั บ สนุ น จากเงิ น งบประมาณในป ป  จ จุ บั น ให กั บ เครือขายอุดมศึกษาในแตละภูมิภาค รวมไปถึงเครือขาย เชิ ง ประเด็ น ที่ มี ก ารดํ า เนิ น การเพื่ อ เป า หมายในด า น ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการพัฒนาอุดมศึกษา ทิศทางและแนวทางสําคัญจากปจจุบันสูอนาคต เกี่ ย วกั บ เครื อ ข า ยเพื่ อ การพั ฒ นาอุ ด มศึ ก ษา สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาได มุ  ง ไปสู  ค วามเข ม แข็ ง ของระบบการทํางานรวมกันอยางเปนรูปธรรม ควบคูไปกับ การพัฒนาศักยภาพเชิงรุกใหเครือขายกาวไปสูค วามเปนสากล และมีมาตรฐานเกี่ยวกับผลการดําเนินการรวมกันอยางมี คุณภาพและยั่งยืน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดดาํ เนินการ ถ า ยทอดนโยบายและทรั พ ยากรในการสนั บ สนุ น การ ดําเนินงานในบทบาทของเครือขายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา โดยตอเนื่อง และไดพัฒนากลไกความรวมมือไปสูการจัดทํา กลยุ ท ธ แ ละแผนการดํ า เนิ น งานเชิ ง พื้ น ที่ จ ากล า งสู  บ น (Bottom Up) โดยมุงเนนความสอดคลองตามศักยภาพ ในแต ล ะเครื อ ข า ยและบริ บ ทแวดล อ มของแต ล ะชุ ม ชน โดยเฉพาะการสงเสริมและสนับสนุนการทํางานรวมกันใน ระหวางเครือขายอุดมศึกษาภูมิภาคทั้ง 9 เครือขาย ในรอบป 2558 ไดดําเนินการ (1) วางกรอบแนวคิดและทิศทางอันเปน ประโยชนตอขอเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพ การจั ด การศึ ก ษาในทุ ก มิ ติ ใ ห กั บ เครื อ ข า ยในทุ ก ภู มิ ภ าค โดยเฉพาะการทํางานรวมกันอยางมีเอกภาพ (2) กระตุนและ สงเสริมการดําเนินการในเชิงนโยบายกับเครือขายอุดมศึกษา ในแตละภูมิภาค เพื่อขับเคลื่อนแผนงานและแนวทางในการ ปฏิรูปในการพัฒนาศักยภาพแตละเครือขายใหเกิดผลในเชิง คุ ณ ภาพได อ ย า งเป น รู ป ธรรม และสอดคล อ งตามแนว ยุ ท ธศาสตร แ ละกลยุ ท ธ จ ากสํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และ (3) ผลักดันและสนับสนุนใหเกิดการวิจยั เพือ่ การพัฒนา ตัง้ แตระดับนโยบายไปสูภ าคปฏิบตั ิ โดยเฉพาะ แผนการดําเนินงานในแตละเครือขายเพื่อบริหารการวิจัย การศึกษาและทําวิจัยรวมกับตางประเทศ และการกําหนด แนวทางการพัฒนาเครือขายใหเขมแข็งพรอมกาวไปสูก ารเปน มหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ

เกณฑ มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศ ใชเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี เกณฑมาตรฐาน หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา และแนวทางการบริหารเกณฑ มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา มาตั้งแต พ.ศ. 2548 จึง ได พิ จ ารณาทบทวนภาพรวมของการพั ฒ นาคุ ณ ภาพและ มาตรฐานการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะการ ปรับปรุงเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาในประเด็น สําคัญ ที่เปนปญหาและความจําเปน รวมทั้งการบูรณาการ ประกาศหลักเกณฑตา งๆ และมาตรฐานทีเ่ กีย่ วของเขาดวยกัน

เพื่ อ การยกระดั บ คุ ณ ภาพการศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาให ทันสมัยและเหมาะกับสถานการณของการจัดการศึกษาระดับ อุดมศึกษาในปจจุบัน โดยมีหลักการดังนี้ (1) สอดคลอง กับการเปลีย่ นแปลงทีจ่ าํ เปนตองผลิตบัณฑิตใหตรงตามความ ตองการของทุกภาคสวนในการพัฒนาประเทศ (2) เพื่อ ปรับปรุงแกไขเกณฑมาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2548 บาง ประเด็นใหมีความชัดเจนยิ่งขึ้น และ (3) บูรณาการเกณฑ ตางๆ หนังสือเวียนที่เกี่ยวของกับเกณฑมาตรฐานหลักสูตร ใหมีความกระชับและชัดเจนในการปฏิบัติ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

43


Annual Report

สาระสําคัญของการปรับปรุงเกณฑ มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 การแบ งหลักสูตรเป น 2 กลุ ม เพื่อตอบสนองตอการจัดการศึกษาในปจจุบันที่มีความหลากหลาย และ สอดคลองกับปรัชญาและวัตถุประสงคของแตละหลักสูตร ดังนี้ ❖ หลักสูตรทางวิชาการ มุงใหบัณฑิตมีความรอบรูทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เนนความรูและทักษะ ดานวิชาการ สามารถนําความรูไ ปประยุกตใชในสถานการณจริงไดอยางสรางสรรค ประกอบดวย หลักสูตรแบบปกติ และแบบกาวหนา ❖ หลักสูตรทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ มุงเนนใหบัณฑิตมีความรอบรูทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เนนความรู สมรรถนะและทักษะดานวิชาชีพตามขอกําหนดของมาตรฐานวิชาชีพ หรือมีสมรรถนะและทักษะดาน การปฏิบตั เิ ชิงเทคนิคในศาสตรสาขาวิชานัน้ ๆ โดยผานการฝกงานในสถานประกอบการ หรือผานการจัดสหกิจศึกษา ประกอบดวย หลักสูตรแบบปกติ หลักสูตรปริญญาตรี (ตอเนื่อง) และหลักสูตรแบบกาวหนา ● เกณฑ มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี เนนการผลิตบัณฑิตใหสอดคลองกับความตองการของสังคม และทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (the 21st Century Skills) อาทิ มีความรู สมรรถนะ และทักษะตามมาตรฐาน สาขาวิชาที่กําหนดในหลักสูตร มีทักษะชีวิต (Life Skills) มีทักษะการเรียนรู (Learning Skills) และมีทักษะและ รูเทาทันดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Literacy) ใหความสําคัญกับหมวดวิชาศึกษาทั่วไป โดยทุกหลักสูตรตองเรียน อยางนอย 30 หนวยกิต มีการปรับลดจํานวนหนวยกิตของหมวดวิชาเฉพาะ เพื่อใหเกิดความยืดหยุนในการจัดการ ศึกษา ในขณะเดียวกันหลักสูตรทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการที่เนนทักษะดานการปฏิบัติเชิงเทคนิคในศาสตรสาขาวิชา และหลักสูตรตอเนื่อง จะกําหนดสัดสวนหนวยกิตวิชาทฤษฎีกับปฏิบัติใหมีความใกลเคียงกัน เพื่อเนนใหเกิดความ ชํานาญในการปฏิบตั ิ ควบคูก บั การเพิม่ พูนองคความรูใ นเชิงวิชาการ ซึง่ จะสอดคลองกับปรัชญาและวัตถุประสงคของ หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบตั กิ ารทีเ่ นนทักษะดานการปฏิบตั เิ ชิงเทคนิคในศาสตรสาขาวิชานัน้ นอกจากนี้ มีการกําหนดคุณสมบัติผูเขาศึกษาสําหรับหลักสูตรแบบกาวหนาและหลักสูตรตอเนื่อง คุณสมบัติของอาจารยประจํา อาจารยประจําหลักสูตร และอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร และเพิ่มเติมนิยามศัพท เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการ นําไปปฏิบัติ รวมทั้งกําหนดความสามารถดานการใชภาษาอังกฤษสําหรับอาจารยที่เขาใหม ● เกณฑ มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มีการนิยามและปรับคุณสมบัติของอาจารยเพื่อทําหนาที่ตางๆ ใหมีความชัดเจน โดยมีหลักการวา คุณวุฒิของอาจารยผูสอนจะตองมีความรู ประสบการณไมนอยกวาหรือเทากับ ระดับปริญญาที่สอน และจะตองมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงาน ทางวิชาการที่สามารถใชในการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการ ซึ่งไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนด อยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง โดยอยางนอย 1 รายการ ตองเปนผลงานวิจัย เพื่อสรางความมั่นใจ ไดวาอาจารยเปนผูมีประสบการณดานการวิจัยเพียงพอที่จะทําการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา มีการปรับคุณสมบัติ ของอาจารยผูสอบวิทยานิพนธ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม ที่เปนผูทรงคุณวุฒิภายนอก โดยเนนประสบการณ ความเชีย่ วชาญในสาขาวิชานัน้ โดยผานความเห็นชอบของสภาสถาบันอุดมศึกษา เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาสามารถ บริหารจัดการได ● แนวทางการบริหารเกณฑ มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ปรับรายละเอียดตางๆ สําหรับเปนแนวทาง การบริหารจัดการ และพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษาใหมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับเกณฑมาตรฐานระดับ ปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาที่มีการปรับปรุง อาทิ การเปดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี(ตอเนื่อง) จํานวนและ คุณวุฒิของอาจารย การบริหารหลักสูตรกรณีมีขอตกลงรวมผลิตกับสถาบันอุดมศึกษาหรือหนวยงานอื่นที่ไมใช สถาบันอุดมศึกษา เพิ่มมาตรการกํากับดูแลการคัดลอกผลงานหรือการจางทําผลงานของบัณฑิต และเพิ่มหัวขอ การควบคุมมาตรฐานหลักสูตร ●

44

รายงานประจําป 2558


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สงเสริม สนับสนุนใหสถาบันอุดมศึกษาพัฒนาระบบและกลไกการ ประกันคุณภาพการศึกษาที่เขมแข็งและมีประสิทธิภาพ เพื่อ ใชเปนกลไกกํากับคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษาระดับ อุดมศึกษา ใหสามารถสรางบัณฑิต งานวิจัย และการบริการ วิชาการที่มีคุณภาพ เพื่อตอบสนองความจําเปนและความ ตองการของสังคม เปนที่ยอมรับและเทียบเคียงไดในระดับ สากล ตลอดจนเปนมาตรการสําคัญเพื่อคุมครองผูบริโภค และสนองต อ เจตนารมณ ข องพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษา แหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 47 และ 48 ที่กําหนดใหมีระบบการประกันคุณภาพ การศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษา ทุกระดับ และใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมี ระบบการประกันคุณภาพภายใน เพื่อนําไปสูการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เพื่อรองรับการประเมิน คุณภาพภายนอก ในปงบประมาณ 2558 สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาไดมีการดําเนินกิจกรรมเพื่อสงเสริมสนับสนุนการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในอยางตอเนื่อง ดังนี้ 1. จัดทําระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตั้งแตระดับหลักสูตร คณะ และสถาบัน มุงเนนการประเมิน และใหความสําคัญกับการประกันคุณภาพในระดับหลักสูตร โดยใชหลักการพิชญพิจารณ (Peer Review) เพื่อใหสถาน

ศึกษาที่รับการประเมินไดรับขอเสนอแนะที่เปนประโยชน สําหรับการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรใหทนั ตอการเปลีย่ นแปลง และตอบสนองตลาดแรงงาน และความตองการของประเทศ สําหรับระดับคณะและสถาบันเพื่อใหไดขอเสนอแนะในการ พัฒนาตามบริบทของแตละสถาบัน 2. พัฒนาระบบฐานขอมูลดานการประกันคุณภาพ การศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อการประเมิน 3 ระดับ (CHE QA ONLINE SYSTEM) เพื่อรองรับระบบการประกันคุณภาพ ภายในทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ใหม ซึง่ จัดใหมกี ารประเมินคุณภาพภายใน 3 ระดับ คือ ระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบัน ตั้งแตปการศึกษา 2557 เปนตนไป พรอมทั้งจัดประชุมชี้แจง การใชงานระบบฐานขอมูลการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ 3. พั ฒ นาผู  ป ระเมิ น คุ ณ ภาพภายใน ทั้ ง ระดั บ หลักสูตร คณะ และสถาบัน เพื่อใหผูประเมินคุณภาพภายใน มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับตัวบงชี้และเกณฑการประเมินที่ ถู ก ต อ งตรงกั น เพื่ อ ให ไ ด ผู  ป ระเมิ น ที่ มี คุ ณ ภาพและเป น มาตรฐานเดียวกัน ผูป ระเมินทีไ่ ดรบั การขึน้ ทะเบียนผูป ระเมิน คุณภาพภายในของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทัง้ ระดับหลักสูตร คณะ และสถาบัน จะตองเปนผูท รงคุณวุฒิ ทีม่ คี วามรู ความเชีย่ วชาญ และมีประสบการณสงู ในสาขาวิชา ตางๆ พรอมทั้งสามารถใหขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงและ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการของสถาบัน อุดมศึกษาไดอยางมีคุณภาพ ซึ่งในรอบปนี้มีผูที่ขึ้นทะเบียน เปนผูประเมินคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตร ประมาณ 300 คน ระดับคณะและสถาบัน จํานวนกวา 700 คน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

45


Annual Report

4. ดําเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสูค วาม เปนเลิศ (EdPEx) โดยสงเสริมสนับสนุนใหสถาบันอุดมศึกษา นําเกณฑคณ ุ ภาพการศึกษาเพือ่ การดําเนินงานทีเ่ ปนเลิศไปใช ในการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน ซึ่ ง มี ส ถาบั น อุดมศึกษาใหความสนใจและเขารวมโครงการ จํานวนกวา 50 หนวยงาน จาก 18 สถาบัน ซึ่ง สกอ. ไดพิจารณาคัดเลือก และแตงตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพองคการทางการ ศึกษาดวยเกณฑ EdPEx เขาไปตรวจประเมินคณะวิชา/ สถาบั น ในพื้ น ที่ จ ริ ง และได จั ด ทํ า ข อ มู ล ป อ นกลั บ ให แ ก

หนวยงานดังกลาว เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดทําแผน พัฒนาคุณภาพตอไป 5. จัดทําแผนขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาสูความ เปนเลิศ (สสส.) พ.ศ.2558 - 2562 โดยมีเปาประสงคเพื่อ พัฒนา สนับสนุนการดําเนินงาน และเผยแพรเกณฑ EdPEx ไปสูสถาบันอุดมศึกษา พรอมทั้งสงเสริมและสนับสนุนให สถาบันทีม่ คี วามพรอมใหสามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาไป สูความเปนเลิศ

สสส - สร าง สนับสนุน ส งเสริม สราง : พัฒนาองคความรูที่เกี่ยวกับ EdPEx ใหสถาบันอุดมศึกษา โดยการจัดอบรมใหความรูเรื่องเกณฑ EdPEx ใหกับสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาเกณฑ EdPEx รวบรวมองคความรู และเผยแพรไปยังสถาบันอุดมศึกษา สรางฐานขอมูลที่เกี่ยวกับการพัฒนาองคการคุณภาพทางการศึกษาสูความเปนเลิศ ● สนับสนุน : ดําเนินการอบรมใหความรูเกณฑ วิธีการนําไปใช เพื่อขยายผลแกสถาบันอุดมศึกษาที่มี ความสนใจ และตองการนําเกณฑ EdPEx ไปเริ่มตนพัฒนาคุณภาพภายในสถาบัน พรอมอบรมผูประเมินคุณภาพ ภายในองคการทางการศึกษาดวยเกณฑ EdPEx (Organization Assessor : OA) ที่มีคุณภาพ สามารถใหขอเสนอ แนะที่เปนประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพองคการได ● สงเสริม : ดําเนินการตรวจเยี่ยมสถาบันที่มีความพรอมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสูความเปนเลิศ และใหคําแนะนํา โดยเปนที่ปรึกษา (Mentor) ใหความรูเพื่อเลือกใชเครื่องมือ (Tools) ในการพัฒนาคุณภาพ ใหขอมูลปอนกลับและติดตามความกาวหนา เพื่อเปนแนวทางที่ดีและตัวอยางของสถาบันที่มีการพัฒนาคุณภาพ ดวยเกณฑ EdPEx อยางเปนรูปธรรม และรวบรวมองคความรูตางๆ ที่ไดรับระหวางการดําเนินโครงการ ●

และไดดําเนินการคัดเลือกสถาบัน/หนวยงานเพื่อ เขารวมโครงการ ในปแรก จํานวน 15 หนวยงาน/สถาบัน เพือ่ สรางความรูค วามเขาใจในการนําเกณฑคณ ุ ภาพการศึกษา สูค วามเปนเลิศไปสูก ารปฏิบตั ใิ นองคการ และดําเนินการตาม

46

รายงานประจําป 2558

แผนที่วางไว ประเมินตนเองดวยเกณฑดังกลาว เพื่อคนหา จุ ด แข็ ง และจุ ด อ อ นขององค ก าร เพื่ อ นํ า ไปสู  ก ารจั ด ทํ า แผนพัฒนาองคการในระยะตอไป


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห งชาติ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดดาํ เนินการ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 เพื่อสงเสริมให สถาบั นอุ ดมศึ กษาพั ฒนาหลักสู ตร และการจั ดการเรี ยน การสอน ให ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต มี คุ ณ ภาพ โดยมุ  ง เน น พั ฒ นา มาตรฐานผลการเรียนรูอ ยางนอย 5 ดาน ไดแก ดานคุณธรรม และจริยธรรม ดานความรู ดานทักษะทางปญญา ดานทักษะ ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งบุ ค คลและความรั บ ผิ ด ชอบ และ ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยไดจัดทํามาตรฐานคุณวุฒิสาขา/ สาขาวิชา ตางๆ และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว 14 สาขา/สาขาวิ ช า ได แ ก สาขาคอมพิ ว เตอร สาขาพยาบาลศาสตร (ปริ ญ ญาตรี แ ละบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา) สาขาโลจิสติกส สาขาวิชาการทองเที่ยวและการโรงแรม สาขาวิศวกรรมศาสตร สาขาวิชาการบัญชี สาขาครุศาสตร/ ศึกษาศาสตร สาขาวิชาภาษาไทย สาขาวิทยาศาสตรและ คณิตศาสตร สาขาการแพทยแผนไทยประยุกต (ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา) สาขาวิชากายภาพบําบัด (ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร สาขาวิชา คหกรรมศาสตร สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร (ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา) อยูระหวางดําเนินการอีก 15 สาขา/ สาขาวิชา และไดดาํ เนินโครงการความรวมมือกับตางประเทศ อยางตอเนื่อง เพื่อศึกษาแนวโนมการจัดการศึกษาในระดับ อุดมศึกษาของโลก และเทียบเคียง TQF กับนานาชาติ ในป 2558 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดําเนินการความรวมมือกับสหภาพยุโรป ตามโครงการ ‘TQF and the Development of Professional Standards Framework’ ระหวางเดือนมกราคม-มิถุนายน 2558 เพื่อ สงเสริมการนําแนวปฏิบัติของ TQF ไปใชในการจัดการเรียน การสอนอยางจริงจัง ซึง่ จะเกิดประโยชนตอ ความเปนอาจารย มืออาชีพในความเชี่ยวชาญดานการจัดการเรียนการสอน (กลยุทธการเรียน การสอน และการวัดและประเมินผล) โดย Mr.Gerard Madill ผูเชี่ยวชาญจากสหราชอาณาจักรเปน วิทยากรหลักในโครงการ โดยมีกิจกรรม ไดแก การประชุม หารื อ ระดั บ นโยบายร ว มกั บ คณะอนุ ก รรมการที่ เ กี่ ย วข อ ง การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารให แ ก ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาใน

4 ภูมิภาค ซึ่งคณาจารยนํารองกรอบมาตรฐานคุณวุฒิเปน ผูช ว ยวิทยากรประจํากลุม โดยเนือ้ หาสาระในการแลกเปลีย่ น เรียนรูในเรื่องมาตรฐานผลการเรียนรู 5 ดาน ของกรอบ มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษาของไทย ที่ ส ามารถ เทียบเคียงกับตางประเทศได เชน สกอตแลนด อังกฤษ ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี นิวซีแลนด โปแลนด โปรตุเกส ตุ ร กี ทั้ ง นี้ ผู  เ ชี่ ย วชาญจากสหภาพยุ โ รปได ใ ห ข  อ มู ล เพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการประกันคุณภาพของยุโรป ซึ่งได พั ฒ นาไปอี ก ขั้ น โดยใช แ นวคิ ด ตามหลั ก การ Quality Enhancement Themes การดําเนินการดังกลาวกอใหเกิด การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู  ก รอบมาตรฐานความเป น อาจารย มืออาชีพระหวางการดําเนินการของสถาบันอุดมศึกษาใน สหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และเปดโอกาสใหคณาจารย ในสถาบันอุดมศึกษาไดแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะ เพิ่มเติมเพื่อใหเหมาะสมกับบริบทของอุดมศึกษาของไทย สรางความตระหนักใหแกคณาจารยในสถาบันอุดมศึกษาถึง คุ ณ สมบั ติ ข องอาจารย ที่ เ ป น ป จ จั ย สํ า คั ญ สู  ค วามสํ า เร็ จ ของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ซึ่งนอกจากจะเปนแนวปฏิบัติ เพื่อพัฒนาคุณภาพบัณฑิตแลว ยังจะเปนประโยชนตอตนเอง ในการพั ฒ นาการจั ด การเรี ย นการสอนอย า งมื อ อาชี พ ที่ เทียบเคียงไดกับคณาจารยในระดับนานาชาติอีกดวย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

47


Annual Report

คุณภาพการจัดการศึกษาหลักสูตรในระบบการศึกษาทางไกล สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาจั ด ทํ า แนวทางการประเมิ น คุ ณ ภาพการจั ด การศึ ก ษาหลั ก สู ต ร ในระบบการศึ ก ษาทางไกล เพื่ อ ประกอบการพิ จ ารณา ศักยภาพ ความพรอมของสถาบันอุดมศึกษาในการบริหาร จัดการการจัดการศึกษาในระบบการศึกษาทางไกลใหได มาตรฐานตามที่กําหนดไวในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑการขอเปดและดําเนินการหลักสูตรระดับ ปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548 การจั ด การศึ ก ษาในระบบการศึ ก ษาทางไกล เปนการศึกษาทีเ่ ปนความตองการของสถานศึกษาและผูเ รียน ที่ มี ม ากขึ้ น การดํ า เนิ น การจึ ง ต อ งต อ งคํ า นึ ง ถึ ง คุ ณ ภาพ อยางนอยตองเปนไปตามมาตรฐานขัน้ ตํา่ ทีม่ คี วามสอดคลอง กับเกณฑมาตรฐานตางๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา ของสํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา รวมทั้ ง กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษาแห ง ชาติ และ เกณฑ ม าตรฐานด า นการศึ ก ษาของแต ล ะองค ก รวิ ช าชี พ ในเบื้ อ งต น ของการพิจ ารณาใหค วามเห็น ชอบหลั ก สู ต รที่ จัดการเรียนการสอนในระบบการศึกษาทางไกลของสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ถือวาสถาบันอุดมศึกษาจะตอง จัดการเรียนการสอนไดตามมาตรฐานที่กําหนด สามารถ พิสจู นศกั ยภาพความพรอม และประสิทธิภาพของการจัดการ เรี ย นการสอนในระบบการศึ ก ษาทางไกลได ด  ว ยระบบที่ เหมาะสมของสถาบันนั้นๆ ไมพึ่งพาระบบการจัดการศึกษา จากแหลงอื่น จึงถือเปนภารกิจที่สถาบันอุดมศึกษาจะตอง พิสูจนใหเห็นไดโดยปราศจากขอสงสัยใดๆ

48

รายงานประจําป 2558

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดกําหนด แนวทางการพิ จ ารณาการขอเป ด ดํ า เนิ น การหลั ก สู ต ร การจัดการศึกษาในระบบการศึกษาทางไกล 3 สวน คือ (1) เงื่ อ นไขเบื้ อ งตน ก อ นการพิ จ ารณารับ ทราบหลัก สู ต ร ในระบบการศึกษาทางไกล (2) เงือ่ นไขสําหรับหลักสูตรไดรบั การรับทราบจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแลว และ (3) ไมรับทราบการใหความเห็นชอบ/อนุมัติหลักสูตร ระดับปริญญาเอก ที่จัดการเรียนการสอนในระบบการศึกษา ทางไกล ซึ่งเห็นควรไมใหการสนับสนุนใหเปดดําเนินการ กรณีหลักสูตรระดับปริญญาเอกทีส่ ถาบันอุดมศึกษา ได ยื่ น เรื่ อ งขอให สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา รับทราบ กอนเกณฑใหมนี้มีผลบังคับใช และอยูระหวางการ พิจารณาเพือ่ เสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาใหดาํ เนินการ ตรวจสอบตาม ‘ประกาศกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง หลักเกณฑการขอเปดและดําเนินการหลักสูตรระดับปริญญา ในระบบการศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548’ และ ‘ประกาศ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง แนวปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ การขอเปดและดําเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบ การศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548’ สํ า หรั บ หลั ก สู ต รที่ จ ะปรั บ ปรุ ง ตามกํ า หนดเวลา ไมเกิน 5 ป รวมทั้งหลักสูตรที่จะขอเปดดําเนินการใหม คณะกรรมการการอุดมศึกษาไมสนับสนุนใหจัดการศึกษา ระดับปริญญาเอกในระบบการศึกษาทางไกล


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

แผนกลยุทธ การจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2558 – 2562) ในป 2556 คณะกรรมการวิทยาลัยชุมชนมีมติให จั ด ทํ า แผนหลั ก ของวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชน โดยเสนอแนะว า แผนดังกลาวจะตองเกิดจากการมีสวนรวมของทุกภาคสวน สามารถนําไปถายทอดและขับเคลื่อนสูการปฏิบัติไดอยาง มีประสิทธิผล พรอมทัง้ ใหบรรจุประเด็นเชิงนโยบายไวในแผนฯ อาทิ กลุมเปาหมายของวิทยาลัยชุมชน เนนกลุมวัยแรงงาน การจัดการศึกษาตามพันธกิจวิทยาลัยชุมชนใน 3 รูปแบบ และการจั ด การเรี ย นรู  ด  ว ยรู ป แบบโมดู ล ซึ่ ง สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดดําเนินโครงการจัดทําแผน กลยุทธการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนระยะ 5 ปขึ้น เพื่อใช เปนแผนแมบทในการปรับบทบาทของระบบวิทยาลัยชุมชน ไปสูก ารปรับปรุงการจัดการเรียนรู 3 รูปแบบ (Track) ใหบรรลุ เปาหมาย ซึ่งปลายปงบประมาณ พ.ศ. 2557 คณะกรรมการ วิทยาลัยชุมชนเห็นชอบแผนกลยุทธฯ และกรอบแนวทาง การนําแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติ ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2558 เปนตนไป โดยใหวิทยาลัยชุมชนจัดทําแผนกลยุทธ รายวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนที่ ส อดคล อ งกั บ เป า หมายแผนกลยุ ท ธ การศึกษาระยะ 5 ป และเสนอสภาวิทยาลัยชุมชนใหความ

เห็นชอบกอนเสนอตอคณะกรรมการวิทยาลัยชุมชนพิจารณา และจัดสรรทรัพยากรเพือ่ การขับเคลือ่ นไปสูก ารจัดการศึกษา 3 รูปแบบ (Tracks) ใหเกิดผลในทางปฏิบัติในระยะ 1 - 3 ป ตอไป สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดทบทวน และปรั บ ปรุ ง แผนกลยุ ท ธ ฯ และกํ า หนดเป า หมายของ แผนกลยุทธในการขับเคลื่อนการปรับปรุงการจัดการเรียนรู 3 รูปแบบ (Track) ในระยะ 5 ป ใหชัดเจน ครบถวน และ สมบู ร ณ เ พื่ อ จะได ใ ช เ ป น กรอบในการพิ จ ารณาทบทวน เป า หมายผลผลิ ต ในการจั ด ทํ า คํ า ขอตั้ ง งบประมาณที่ ตอบสนองตอเปาหมายของแผนกลยุทธการศึกษาของวิทยาลัย ชุมชนใหทันในคําขอตั้งงบประมาณปงบประมาณ พ.ศ. 2559 และปตอไป โดยกําหนดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ จํานวน 2 ครั้ง คือ ระหวางวันที่ 13 - 15 มกราคม และ 19 - 21 มกราคม 2558 เพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับแนวทางและ เป า หมายของแผนกลยุ ท ธ ก ารศึ ก ษาของวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชน ระยะ 5 ป และสามารถนําไปเปนแนวทางในการกําหนดจุด เนนหรืออัตลักษณในการพัฒนาของแตละวิทยาลัยชุมชน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

49


Annual Report

พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะในรูปแบบโมดูล คณะกรรมการวิทยาลัยชุมชน เห็นชอบทิศทางนโยบายการจัดการเรียนรูของวิทยาลัยชุมชน 3 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทองถิ่นชุมชน รูปแบบที่ 2 การจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ และ รูปแบบที่ 3 การจัดการศึกษาระดับอนุปริญญา โดยการจัดการเรียนรูของวิทยาลัยชุมชนใหเนนบทบาทการจัดการ ศึกษาในรูปแบบที่ 1 และรูปแบบที่ 2 ซึ่งจะเปนการสรางอัตลักษณวิทยาลัยชุมชน โดยเฉพาะในรูปแบบที่ 1 เปนการจัดการศึกษาที่เนนวิธีการเรียนรูที่มุงตอบสนองการพัฒนาบนฐานศักยภาพและความตองการของชุมชน โดยที่ประชุมเสนอวา ตองกําหนดเปนวาระหลักของวิทยาลัยชุมชนที่ตองสื่อสารทําความเขาใจใหบุคลากรในระบบ วิทยาลัยชุมชนมองภาพใหญของการจัดการเรียนรูของวิทยาลัยชุมชน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยสํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนเดิม ไดนําทิศทางนโยบาย ดังกลาวไปสูก ารปฏิบตั ิ โดยริเริม่ โครงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรูปแบบโมดูล ตัง้ แตปง บประมาณ พ.ศ. 2556 เปนตนมา ในสาขาวิชาชีพที่เปนความตองการของตลาดแรงงาน สําหรับปงบประมาณ 2558 ไดกําหนดแผนพัฒนา ระบบมาตรฐานและการจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน โดยนํารองพัฒนาหลักสูตรโมดูล จํานวน 6 หลักสูตร คือ หลักสูตรการดูแลผูสูงอายุ หลักสูตรการทองเที่ยว หลักสูตรการจัดการโลจิสติกสและการคาชายแดน หลักสูตร การศึกษาปฐมวัย หลักสูตรการดูแลผูพิการ และหลักสูตรภาษาจีนเพื่องานอาชีพ และรวมกับโครงการมหาวิทยาลัย ไซเบอรไทยพัฒนาระบบบริหารจัดการการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน e - Learning ของวิทยาลัยชุมชน โดยนํารองพัฒนาบทเรียนออนไลนในรายวิชาการพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑชมุ ชน : ผลิตภัณฑผา จํานวน 5 บทเรียน และทดลองนําไปใชในวิทยาลัยชุมชน จํานวน 4 แหง และอยูระหวางการพัฒนาเพิ่มเติม จํานวน 6 บทเรียน และรวมกับครูภาษาอังกฤษของวิทยาลัยชุมชน ในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สําหรับวิทยาลัยชุมชน และกําหนดแผนการพัฒนาเปนบทเรียนออนไลนตอ ไป โดยหลักสูตรทีพ่ ฒ ั นาขึน้ วิทยาลัยชุมชน สามารถนําไปปรับสาระของอาชีพยอยๆ ใหเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่และความตองการของผูเรียน และ แตละรายวิชาชีพยอยๆ ผูเรียนสามารถสะสมผลการเรียนเพื่อเทียบโอนใหไดรับวุฒิประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ในอนาคตได

ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยสํานัก บริหารงานวิทยาลัยชุมชนเดิม จัดฝกอบรมเพื่อเสริมสราง ศักยภาพผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของวิทยาลัย ชุมชน เพื่อใหบุคลากรของวิทยาลัยชุมชนที่ผานการฝกอบรม มีการพัฒนาบุคลากรของวิทยาลัยชุมชนใหมีความรู ความ เขาใจและทักษะเกีย่ วกับการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วิทยาลัยชุมชนที่ไดพัฒนาขึ้นใหม รวมถึงการสรางผูประเมิน คุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยชุมชนใหมแี นวปฏิบตั ใิ นการ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในทีเ่ ปนมาตรฐานเดียวกันกับ การอบรมผูป ระเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา

50

รายงานประจําป 2558

ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทั้งนี้ เพื่อทํา หนาทีผ่ ปู ระเมินคุณภาพภายในทีม่ ศี กั ยภาพ ทัง้ ยังชวยสงเสริม และพั ฒ นาระบบการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน วิทยาลัยชุมชนใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น การฝกอบรมแบงเปน 2 รุน คือ รุน 1 วันที่ 4 - 6 กุมภาพันธ 2558 ณ จังหวัดสงขลา วิทยาลัยชุมชนสงขลาเปน หนวยฝกปฏิบัติ จํานวน 17 คน และรุนที่ 2 วันที่ 24 - 26 มีนาคม 2558 ณ จังหวัดนาน วิทยาลัยชุมชนนานเปนหนวย ฝกปฏิบัติ จํานวน 22 คน


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

การจัดการความรู เพื่อเสริมสร างความเข มแข็งชุมชน การขับเคลือ่ นวิทยาลัยชุมชนเพือ่ ตอบสนองปรัชญา และหลั ก การดํ า เนิ น งานวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนไปสู  เ ป า หมาย สุดทายของแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2565) ไดมีการดําเนินการมาอยางตอเนื่องเพื่อใหเกิด มิ ติ ใ หม ๆ ในการทํ า งานที่ ทํ า ให เ กิ ด ผลผลิ ต และผลลั พ ธ ต อ ชุ ม ชน โดยไดรั บ จัด สรรงบประมาณอย า งต อ เนื่อ งใน ลักษณะโครงการเชิงพัฒนา (Project-based) หรือเชิงพื้นที่ (Area-based) เพื่อสรางความเขมแข็งชุมชนโดยใชวิทยาลัย ชุ ม ชนในฐานะสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเป น กลไกหลั ก ในการ ดําเนินงาน โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2554 ไดรับจัดสรร งบประมาณวงเงินทั้งสิ้น จํานวน 18 ลานบาท ภายใต 2 โครงการ คือ โครงการจัดการความรูเพื่อสรางมูลคาเพิ่ม ทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมโดยใช ทุ น ทางวั ฒ นธรรม และ โครงการการเรียนรูเกษตรอินทรีย ในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 - 2557 ไดรับจัดสรรงบประมาณรวม 306,962,400 บาท

ปงบประมาณ 2558 สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา โดยสํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนเดิม ไดรับ จัดสรรงบประมาณวงเงิน 92 ลานบาท เปนการดําเนินงาน ตอเนื่องปที่ 5 ในการดําเนินงานภายใต 2 กิจกรรม ไดแก กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาทักษะและเสริมสรางประสบการณ ดานอาชีพและดานคุณภาพชีวิต โดยมีหลักสูตรที่เนนการ ตอบสนองความตองการในระดับปจเจกบุคคล เชน หลักสูตร ภาษาพมาเพื่อการคา การออกแบบจัดทํากราฟก การผลิต ผาหมักโคลน ภาษาเขมรเพือ่ การสือ่ สาร เปนตน กิจกรรมที่ 2 การจั ด การความรู  เ พื่ อ เสริ ม สร า งความเข ม แข็ ง ชุ ม ชน เนนการยกระดับชุมชนใหมคี วามเขมแข็ง โดยวิทยาลัยชุมชน 20 แหง จะดําเนินกิจกรรมยอยๆ จํานวน 101 โครงการ สวนใหญเปนโครงการตอเนื่อง มี 6 กิจกรรมหลัก คือ การจัดการความรูด านเกษตร การจัดการความรู เพื่อจัด การทองเทีย่ วโดยชุมชนและการสืบสานวัฒนธรรม การจัดการ ความรูเรื่องผาพื้นเมือง การจัดการความรูเพื่อดูแลผูสูงอายุ เด็ก และผูดอยโอกาส การจัดการความรูดานอาหาร และ การจัดการความรูเพื่อการพัฒนาศักยภาพเขาสูประชาคม อาเซียน ซึ่งจัดสรรใหวิทยาลัยชุมชนทั้ง 20 แหง มีเปาหมาย การดําเนินการ 10,000 คน ในชุมชนเปาหมาย 40 ชุมชน โดยมีกระบวนการ คือ ตองดําเนินการรวบรวมฐานขอมูล ชุมชน วิเคราะหศักยภาพชุมชน เลือกชุมชน จัดทําแผน ความต อ งการร ว มชุ ม ชน จั ด ทํ า หลั ก สู ต รฐานสมรรถนะ ตามความตองการของชุมชน นําหลักสูตรไปฝกอบรม และ ติ ด ตาม ประเมิ น ผลโครงการ และมี ผ ลการดํ า เนิ น งาน ณ เดือนกรกฎาคม 2558 มีผูรับบริการภายใต 2 กิจกรรม จํานวน 26,474 คน/61 ชุมชน ซึ่งสูงกวาเปาหมายที่กําหนด สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

51


Annual Report

ความร วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพการอุดมศึกษาไทย ภายใต กรอบเอเปค สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในฐานะสมาชิกของคณะทํางานเอเปคดานการพัฒนาทรัพยากร มนุษย (APEC Human Resources Development Working Group-HRDWG) และเครือขายดานการศึกษาของ เอเปค (Education Network-EDNET) และเปนผูประสานงานโครงการความรวมมือระหวางสถาบันอุดมศึกษาไทย กับสถาบันอุดมศึกษาของเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค ไดสงผูแทนเขารวมการประชุม HRDWG และการประชุม EDNET เปนประจําทุกป เพื่อใหขอคิดเห็นตอแผนการดําเนินงานและขอริเริ่ม/โครงการความรวมมือภายใตคณะทํา งานฯ และใหความเห็นรวมถึงขอเสนอแนะตอขอเสนอแนวคิดโครงการใหมที่เสนอโดยเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค และแนวทางการดําเนินงานของ EDNET โดยในป 2558 ไดเขารวมการประชุม ดังนี้ การประชุมคณะทํางานเอเปคด านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ครั้งที่ 37 ระหวางวันที่ 14-17 พฤษภาคม 2558 ณ สาธารณรัฐฟลิปปนส โดยการประชุม HRDWG เปนการประชุมเกี่ยวกับกรอบการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใน ภูมิภาคเอเปค ประกอบดวย 3 เครือขาย ไดแก (1) Education Network (EDNET) (2) Labor and Social Protection Network (LSPN) และ (3) Capacity Building Network (CBN) โดยหัวขอหลักของการประชุมครั้งนี้ คือ ‘Building Inclusive Economies, Building a Better World’ การประชุมเครือข ายด านการศึกษา (EDNET) มีการรายงานความกาวหนาของโครงการที่ไดรับการสนับสนุน จากเอเปคทัง้ หมด 13 โครงการ แบงเปน 4 หัวขอหลัก คือ (1) การศึกษาดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาศาสตร และวัฒนธรรม (2) ความรวมมือดานการศึกษา (3) เทคโนโลยีสารสนเทศและคุณภาพครู และ (4) คุณภาพของ การศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ประเทศไทยไดรายงานผลการดําเนินงานโครงการ Emergency Preparedness Education: Learning from Experience, Science Disasters, and Preparing for the Future (III) - Focus on Fire and Volcanic Eruption ซึ่งดําเนินการแลวเสร็จและไดรับงบประมาณสนับสนุนจากเอเปค ประจําป 2556-2557 จํานวน 58,712.05 เหรียญสหรัฐ นอกจากนี้ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยมหาวิทยาลัยขอนแกนรวมกับ University of Tsukuba ประเทศญี่ปุน ไดนําเสนอขอเสนอแนวคิดโครงการ Textbook Development for Energy Efficiency, Energy Security and Energy Resiliency: A Cross-Border Education Cooperation through Less Study เพื่อขอรับการสนับสนุนจากเอเปค สําหรับป 2559-2561 ดวย 1st APEC High-Level Policy Dialogue on Science and Technology in Higher Education ระหวาง วันที่ 13-14 สิงหาคม 2558 ณ กรุงมะนิลา สาธารณรัฐฟลิปปนส เพื่อแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในระดับอุดมศึกษาระหวางเขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค

52

รายงานประจําป 2558


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

ภายใต กรอบเอเชีย-ยุโรป ความรวมมือในกรอบเอเชีย-ยุโรป ดําเนิน งานผานกลไกที่ประชุมรัฐมนตรีศึกษาเอเชีย-ยุโรป (The ASEM Education Ministers’ Meeting: ASEMME) โดยสาขาความรวมมือซึ่งที่ประชุมใหความสําคัญมี 4 ดาน คือ (1) Quality Assurance and Recognition (2) Engaging Business and Industry in Education (3) Balanced Mobility และ (4) Lifelong Learning including Vocational Education and Training การประชุมรัฐมนตรีศึกษาเอเชีย-ยุโรป ครั้งที่ 5 (ASEMME5) ระหวางวันที่ 27-28 เมษายน 2558 ณ กรุงรีกา สาธารณรัฐลัตเวีย ที่ประชุมรัฐมนตรีศึกษาเอเชีย-ยุโรป ครั้งที่ 5 (ASEMME5) ไดมีถอยแถลงรวมกัน โดยเนนยํ้า ถึงบทบาทของการศึกษาในการสงเสริมการพัฒนาอยางมีสวนรวมและยั่งยืน การจัดการศึกษาตองมุงใหความสําคัญ กับการเรียนรูตลอดชีวิตและการฝกอบรม เพื่อเพิ่มพูนความรูและทักษะที่สรางขีดความสามารถในการแขงขันและ ความพรอมในการเขาสูโลกการทํางานและการประกอบอาชีพใหแกคนรุนใหม รวมถึงบทบาทของการศึกษาตอ การสรางนวัตกรรม โดยการสรางความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรม อีกทัง้ ใหมกี ารพัฒนาความรูค วามเขาใจในความ แตกตางของระบบการศึกษาเพือ่ นําไปสูก ารเทียบเคียงระบบการศึกษาระหวางกัน ซึง่ เอือ้ ตอการแลกเปลีย่ นนักศึกษา และบุคลากรที่สมดุล ตลอดจนการสรางความรวมมือที่เขมแข็งระหวางสองภูมิภาค นอกจากการเขารวมการประชุม ASEMME5 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ยังมีโอกาสหารือความรวมมือในระดับ ทวิภาคีกับเยอรมนีและฟนแลนด เพื่อเนนการพัฒนากลไกและประเด็นปฏิรูปการศึกษาระยะยาวของประเทศไทย ซึง่ สามารถใชประโยชนจากความเขมแข็งของทัง้ สองประเทศ และความเปนพันธมิตรทีด่ มี าชวยพัฒนาความเขมแข็ง ของอุดมศึกษาไทยดวย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

53


Annual Report

การประชุม 1st Expert Meeting of the ASEM Work Placement Programme เมื่อเดือนมกราคม 2558 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเปนเจาภาพจัดการประชุม 1st Expert Meeting of the ASEM Work Placement Programme ซึ่งที่ประชุมไดเห็นชอบรวมกันในการดําเนินโครงการนํารอง ASEM Work Placement Programme ในป 2558-2559 โดยกําหนดใหมีการแลกเปลี่ยนนักศึกษาฝกงานเปนเวลา 2 - 6 เดือน แตละประเทศ ทีเ่ ขารวมโครงการจะสงนักศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโท จํานวน 5 - 10 คน เขารวมโครงการโดยไมจํากัด สาขา ซึ่งประเทศที่เขารวมโครงการในระยะนํารอง 5 ประเทศ ไดแก เยอรมนี ไทย เบลเยียม บรูไนดารุสซาลาม และอินโดนีเซีย หลังจากนั้น ไดมีการลงนามใน Letter of Intent เพื่อแสดงเจตจํานงที่จะรวมดําเนินโครงการ ภายใตขอกําหนดที่เห็นชอบรวมกัน ทุนการศึกษาภายใต ASEM-DUO Fellowship Programme (DUO-Thailand) เปนโครงการใหทุนการศึกษา แกนักศึกษาและอาจารยของสถาบันอุดมศึกษาไทย เพื่อแลกเปลี่ยนกับนักศึกษาและอาจารยของสถาบันอุดมศึกษา ของประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป (European Union) โดยมุงสงเสริมการแลกเปลี่ยนที่สมดุล (Balanced mobility) ซึ่งเปนการดําเนินงานภายใตกรอบความรวมมือเอเชีย-ยุโรป ตามที่ที่ประชุมรัฐมนตรีศึกษาเอเชีย-ยุโรป ไดเห็นชอบ ใหการแลกเปลี่ยนที่สมดุลเปนหนึ่งในสาขาความรวมมือที่สําคัญ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาดําเนิน โครงการ ในฐานะประเทศผูสนับสนุน (Contributing Partner) ตั้งแตป 2549 เนื่องจากเล็งเห็นประโยชนที่นักศึกษา ไดรับจากการเขารวมโครงการ และเมื่อป 2555 เปนตนมา ไดใหความสําคัญกับ ‘การแลกเปลี่ยนนักศึกษา’ ที่เนน การถายโอนหนวยกิตของนักศึกษาระหวางสถาบันอุดมศึกษาไทยกับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป เพื่อผลักดันใหเกิดการรับรองคุณวุฒิการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาไทยในระดับนานาชาติ โดยในปงบประมาณ 2558 คณะกรรมการบริหารโครงการทุนการศึกษาภายใต ASEM-DUO Fellowship Programme ไดคดั เลือกนักศึกษา เขารวมโครงการ จํานวน 5 คู (10 คน) โดยมีประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปเขารวมโครงการ 4 ประเทศ ไดแก ฝรัง่ เศส เยอรมนี เนเธอรแลนด และอิตาลี

54

รายงานประจําป 2558


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

ภายใต กรอบองค การรัฐมนตรีศึกษาแห งเอเชียตะวันออกเฉียงใต สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเปนเจาภาพที่ตั้งและใหการสนับสนุนงบประมาณดําเนินงานของ ศูนยภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตวาดวยการอุดมศึกษาและการพัฒนา (SEAMEO Regional Centre for Higher Education and Development: SEAMEO RIHED) มาตั้งแตป 2531 ศูนยฯ มีบทบาทสําคัญในการสงเสริมความ รวมมือเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและคุณภาพของอุดมศึกษาในภูมิภาคผานกิจกรรมการจัดฝกอบรม ประชุม สัมมนา การทําวิจัย และการเปนศูนยเอกสารและขอมูลดานการอุดมศึกษาระดับภูมิภาค โดยในป 2558 ไดรวมกับ กระทรวงการศึกษาและกีฬาแหงสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จัด The 9th Meeting of Directors General/Secretary General/Commissioner of Higher Education in Southeast Asia เพื่อเปนเวทีหารือระหวาง ผูบริหารที่รับผิดชอบดานการอุดมศึกษาของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2558 ณ นครเวียงจันทน สปป.ลาว ซึง่ ไดมกี ารแลกเปลีย่ นขอคิดเห็นและประสบการณดา นการบริหารจัดการการอุดมศึกษา การกําหนดกลไกและแนวทางความรวมมือในระดับอุดมศึกษาใหมีความเขมแข็งยิ่งขึ้น เพื่อนําไปสูการบูรณาการ การอุดมศึกษาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ภายใตกรอบความรวมมือ 4 ดาน คือ (1) Student Mobility Enhancement (2) Leadership Development (3) e-Learning and Mobile Learning และ (4) ASEAN Research Cluster (ARC) and ASEAN Citation Index (ACI) โดยกิจกรรมสําคัญที่จะผลักดันในชวง 2 ป (2558 - 2560) ไดแก โครงการ Greater Mekong Subregion University Consortium (GMS-UC) และโครงการ Academic Credit Transfer Framework for Asia (ACTFA) ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากธนาคารเพื่อการพัฒนา เอเชีย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

55


Annual Report

สหภาพยุโรป สหภาพยุโรปไดเริ่มจัดทําโครงการความรวมมือ Thailand-EU Policy Support Dialogue Support Facility (PDSF) กับกระทรวง/หนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ของไทย ซึ่งมีระยะเวลาดําเนินงานในชวงป 2557 - 2560 โดยเนนความรวมมือ ในสาขา (1) การคาและการลงทุน (2) การอุดมศึกษา วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี (3) สิ่งแวดลอม พลังงานและการพัฒนาที่ยั่งยืน และ (4) ธรรมาภิบาล ในป 2558 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดดําเนินโครงการรวมกับสหภาพยุโรปในดานการ สงเสริมความเปนสากลของการอุดมศึกษาไทย โดยจัดตั้งคณะทํางานเพื่อดําเนินงานรวมกับผูเชี่ยวชาญจากสหภาพ ยุโรป ในการพัฒนารูปแบบและเครือ่ งมือสําหรับวัดหรือติดตามความกาวหนาในการดําเนินงานสูค วามเปนสากลของ สถาบันอุดมศึกษา การดําเนินงานประกอบดวย การสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของ การจัด Discussion Forum รวมกับสถาบันอุดมศึกษาในภูมิภาคและกรุงเทพฯ การขอความรวมมือใหสถาบันอุดมศึกษาตอบแบบสอบถาม ‘Mapping Internationality of Thai Higher Education Institutions’ เพื่อเปนเครื่องมือในการวัดการดําเนินงาน ดานความเปนสากลของสถาบันอุดมศึกษาไทย และจัดการประชุม ‘Measurement of University Internationalisation Forum’ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรม อมารี วอเตอรเกท เพื่อนําเสนอผลการดําเนินงาน ซึ่งพบวา การดําเนินงานดานความเปนสากลของสถาบันอุดมศึกษาไทย แบงเปน 3 กลุม คือ (1) Developing–กลุมที่ยังไมมี การกําหนดนโยบายดานความเปนสากล หรือมีบา งแตเพียงสวนนอย มีทรัพยากรและงบประมาณสนับสนุนการดําเนิน งานเพื่อมุงสูความเปนสากลไมเพียงพอ และมีการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากร รวมถึงมีโครงการความรวมมือ กับตางประเทศอยูบ างไมมากนัก (2) Establishing–กลุม ทีม่ กี ารกําหนดนโยบายและทิศทางการดําเนินงานดานความ สากลเชิงรุก มีแรงจูงใจที่จะขับเคลื่อนการดําเนินงาน มีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงาน และมีการ แลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากร รวมถึงมีโครงการความรวมมือกับตางประเทศในระดับปานกลางถึงคอนขางมาก (3) Enhancing–กลุมที่มีการกําหนดนโยบายดานความเปนสากลอยางครอบคลุม มีการกําหนดทิศทางการดําเนิน งานที่ชัดเจน รวมทั้งมีแหลงทุนสนับสนุนการทําวิจัยจากตางประเทศ มีการเขารวมในเครือขายความรวมมือและ โครงการแลกเปลี่ยน ทั้งระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ ตลอดจนมีงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในระดับสากล สําหรับขอจํากัดในการดําเนินงานทีพ่ บมากทีส่ ดุ คือ เรื่องของภาษาและงบประมาณสนับสนุน ทั้งนี้ ผู  เ ชี่ ย วชาญจากสหภาพยุ โ รปได เ สนอแนะว า สถาบันอุดมศึกษาควรมีการดําเนินงานที่มุงเนน ผลลั พ ธ เ ชิ ง คุ ณ ภาพ และควรมี ก ารติ ด ตาม ประเมินผลในลักษณะ self-directed and peer evaluation รวมทั้งควรทํางานรวมกันในลักษณะ Community of Practice เพือ่ กําหนดกลยุทธ และ ตัวชีว้ ดั ในการดําเนินงานดานความเปนสากล รวม ถึงใหมกี ารแลกเปลีย่ นแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ใี นการดําเนิน งานเพื่อมุงสูความเปนสากลที่สอดคลองกับบริบท ของการอุดมศึกษาไทย

56

รายงานประจําป 2558


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

สาธารณรัฐประชาชนจีน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีความสัมพันธที่แนนแฟนและใกลชิดกับกระทรวงการศึกษา สาธารณรัฐประชาชนจีน และหนวยงานดานการศึกษาของจีน ตลอดระยะเวลาที่ผานมาสํานักงานคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษามี กิ จ กรรมความร ว มมื อ กั บ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ที่ จ ะพั ฒ นาอุ ด มศึ ก ษาระหว า งไทยกั บ จี น ดังตอไปนี้ โครงการครูอาสาสมัครชาวจีน รวมกับสํานักงานสงเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ (Hanban) และ สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจําประเทศไทย ดําเนินโครงการครูอาสาสมัครชาวจีน โดยจัดสง ครูอาสาสมัครชาวจีนมาปฏิบัติงานที่ประเทศไทยเปนระยะเวลา 1 ปการศึกษา (เดือนมิถุนายนถึงเดือนมีนาคม ปถดั ไป) เพือ่ ชวยสอนและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนในสถาบันอุดมศึกษาไทย ตัง้ แต ปการศึกษา 2549 เปนตนมา ในปการศึกษา 2558 สถาบันอุดมศึกษาไทยและสถาบันขงจือ่ ในประเทศไทยไดรับครูอาสาสมัครชาวจีน จํานวนรวม 273 คน ซึ่งปฏิบัติงานในสถาบัน อุดมศึกษาไทย จํานวน 74 คน และปฏิบัติงานที่สถาบันขงจื่อ จํานวน 199 คน การประกวดสุนทรพจน ภาษาจีนระดับอุดมศึกษา รวมกับ Hanban ประจําประเทศไทย จัดการประกวดสุนทรพจนภาษาจีนระดับอุดมศึกษาเปนประจําทุกป เพื่อคัดเลือกตัวแทน จากสถาบันอุดมศึกษาไทยไปประกวดสุนทรพจนภาษาจีนระดับนานาชาติ ณ มณฑลหูหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยตัวแทนระดับประเทศ 2 คน ที่ไดรับคัดเลือกไปแขงขัน ระดับนานาชาติ จะไดรับทุนการศึกษาของสถาบันขงจื่อเพื่อศึกษาตอระดับปริญญาโท ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน ในปการศึกษา 2558 มีผูเขารวมประกวดที่เปนตัวแทนระดับ สถาบัน จํานวน 22 คน และผูช นะเลิศระดับประเทศ 2 คน ทีไ่ ดรบั คัดเลือกไปแขงขันระดับ นานาชาติ ไดแก นักศึกษาจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

57


Annual Report

การศึกษาแลกเปลี่ยนภายใต ความตกลงว าด วยความร วมมือด านการศึกษาระหว างกระทรวงศึกษาธิการไทยและจีน ไดมีการลงนามในความตกลงวาดวยความรวมมือดานการศึกษา เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 โดยกําหนดใหมี กิจกรรมการแลกเปลี่ยนทุนการศึกษาระหวางกันในระดับอุดมศึกษา มีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปนหนวยงานรับผิดชอบฝายไทย และ China Scholarship Council (CSC) เปนหนวยงานรับผิดชอบฝายจีน ทั้งนี้ ในปการศึกษา 2558 คณะกรรมการบริหารทุนรัฐบาลจีนของฝายจีนไดพิจารณาจัดสรรทุนใหผูสมัคร จํานวน 8 ราย จากสถาบันอุดมศึกษาตางๆ ไดแก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ทั้งนี้ มีผูสละทุนจํานวน 1 ราย จากมหาวิทยาลัยศิลปากร เนือ่ งจากไดรบั ทุนการศึกษาอืน่ จากรัฐบาลจีนแลว โดยผูร บั ทุนมีกาํ หนดเขาศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษาจีน ตั้งแตเดือนกันยายน 2558 สําหรับฝายจีน รัฐบาลจีนไดคัดเลือกนักศึกษาจีน จํานวน 7 คน มาศึกษา ระยะสั้นในสาขาวิชาภาษาไทย ณ คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนระยะเวลา 10 เดือน ระหวาง เดือนสิงหาคม 2558 ถึงเดือนพฤษภาคม 2559 การจัดนิทรรศการการศึกษาไทย ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดรับเชิญ จากสถานกงสุลใหญ ณ นครคุนหมิง ใหเขารวมประชาสัมพันธขอ มูลดานการศึกษาของประเทศไทยในงานนิทรรศการ การศึกษา Yunnan International Education Exhibition ครั้งที่ 11 ระหวางวันที่ 25 - 29 มิถุนายน 2558 ณ นครคุนหมิง มณฑลยูนนาน โดยมีสถาบันอุดมศึกษาไทยเขารวมงาน 10 แหง ไดแก จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแมฟา หลวง มหาวิทยาลัยนเรศวร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัย เชียงใหม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มหาวิทยาลัยนานาชาติ แสตมฟอรด และมหาวิทยาลัยเว็บสเตอร (ประเทศไทย) ทั้งนี้ ผูเขาชมงานสวนใหญใหความสนใจการศึกษาตอ ในประเทศไทย ในสาขาภาษาไทย การแสดง บริหารธุรกิจ และแพทยศาสตร การจัดนิทรรศการเพื่อประชาสัมพันธ การศึกษาของไทยทุกครั้ง ไดรับความสนใจจากนักเรียน นักศึกษาและผูปกครองชาวจีนมากขึ้นอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ยังเปนโอกาสในการเสริมสรางความรวมมือดานการศึกษากับหนวยงานและสถาบันอุดมศึกษาจีนและ นานาประเทศ

58

รายงานประจําป 2558


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

ไต หวัน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารวมกับกระทรวงการศึกษาไตหวันจัดการประชุมความรวมมือ ทางวิชาการดานอุดมศึกษาไทยและไตหวัน (Taiwan-Thailand Higher Education Forum) เปนประจําทุกป ตั้งแต ป 2554 โดยสลับกันเปนเจาภาพ เพื่อสงเสริมและผลักดันความรวมมือดานอุดมศึกษาระหวางกันและสรางเครือขาย ความรวมมือระหวางสถาบันอุดมศึกษาไทยและไตหวัน และเมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน 2557 ผูบริหารสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา พรอมผูแ ทนสถาบันอุดมศึกษาไทย และผูแ ทนคณะทํางานเครือขายเชิงประเด็น C-UBI เขารวมการประชุมความรวมมือทางวิชาการดานอุดมศึกษาระหวางสถาบันอุดมศึกษาไทยและไตหวัน ครั้งที่ 4 ณ ไตหวัน เพือ่ สงเสริมและขยายเครือขายความรวมมือทางวิชาการดานอุดมศึกษาระหวางสถาบันอุดมศึกษาไทยและ ไตหวัน โดยมีหัวขอหลักในการประชุม ‘Accelerating Partnership between Taiwan-Thailand Academia and Industry: Advancing Career Opportunities and Product Development’ และการประชุมโตะกลมระหวาง ผูบ ริหารสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและผูบ ริหารกระทรวงการศึกษาไตหวัน ภายใตหวั ขอ Strategies on Strengthening Taiwan–Thailand University–Industry Cooperation ตลอดจนการศึกษาดูงานในสถาบันอุดมศึกษา ไตหวันที่มีความเขมแข็งทางวิชาการ โดยแบงเปน 5 สาขา คือ (1) Agriculture, Biotechnology, and Veterinary Science (2) Information Technology, Science, and Engineering (3) Education, Humanities, and Social Science (4) Business and Hospitality และ (5) Health Sciences และศึกษาดูงาน ณ สถาบันอุดมศึกษาและ สถาบันวิจัยชั้นนําของไตหวัน ทั้งนี้ ประเทศไทยจะเปนเจาภาพจัดการประชุมวิชาการดานอุดมศึกษาไทย-ไตหวัน ครั้งที่ 5 ในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน และจัดการศึกษาดูงานสถาบันอุดมศึกษาไทยใหแกคณะผูแทน ฝายไตหวัน ในระหวางวันที่ 25 - 26 พฤศจิกายน 2558

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

59


Annual Report

ฐานข อมูลดัชนีการอ างอิง วารสารสําหรับประเทศในกลุ มอาเซียน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารวมกับศูนย ดัชนีการอางอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index (TCI) Centre) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ดําเนินโครงการ ‘การพัฒนาฐานขอมูลดัชนีการอางอิงวารสาร สําหรับประเทศในกลุมอาเซียน’ (ASEAN Citation Index– ACI) ตั้งแตป 2554 เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหประเทศ สมาชิกอาเซียนจัดทําฐานขอมูลดัชนีการอางอิงวารสารระดับ ประเทศ และนํามาเชื่อมโยงกับฐานขอมูลดัชนีการอางอิง วารสารสําหรับประเทศในกลุมอาเซียน เพื่อเปนกลไกในการ ผลักดันใหเกิดการพัฒนาคุณภาพผลงานทางวิชาการผานการ พั ฒ นาคุ ณ ภาพวารสารภายในประเทศ โดยในป 2558 ไดดําเนินงาน ดังนี้ การประชุม ASEAN Citation Index Workshop for Steering Committee ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2557 ณ โรงแรมฮอลิเดย อินน ไมขาวบีช รีสอรท จังหวัดภูเก็ต มีผูแทนจาก 9 ประเทศสมาชิกอาเซียน เขารวมการประชุม โดยที่ประชุมมีมติเห็นชอบใหบรรจุ 41 วารสารวิชาการชั้นนํา ของสถาบันอุดมศึกษาไทยเขาสูฐานขอมูล ACI และมีการ หารือเกี่ยวกับขั้นตอนการนําเสนอวารสารบนฐานขอมูล ACI รวมถึงความเปนไปไดในการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จากแต ล ะประเทศสมาชิ ก อาเซี ย นเพื่ อ ให ก ารดํ า เนิ น งาน มีความยั่งยืน

60

รายงานประจําป 2558

การประชุ ม เพื่ อ เตรี ย มความพร อ มของสถาบั น อุดมศึกษาไทยในการเขารวมโครงการ ACI เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2557 ณ โรงแรมฮอลลิเดย อินน ไมขาวบีช รีสอรท จังหวัดภูเก็ต เพื่อใหผูแทนสถาบันอุดมศึกษาไทยรับทราบ การดําเนินโครงการพัฒนาฐานขอมูลดัชนีการอางอิงวารสาร สําหรับประเทศในกลุม อาเซียน และการเตรียมความพรอมใน การพัฒนาคุณภาพของผลงานวิชาการ เพือ่ ผลักดันใหวารสาร ของไทยไดรับการคัดเลือกเขาไปบรรจุในฐานขอมูลของ ACI โดยมีผบู ริหารสถาบันอุดมศึกษาไทยและบรรณาธิการวารสาร ทางวิชาการที่มีคุณภาพชั้นนําที่มีศักยภาพที่จะเขารวมฐาน ขอมูล ACI จํานวน 130 คน เขารวมการประชุม ทัง้ นี้ ประเทศไทยเปนเจาภาพจัดการประชุม ASEAN Citation Index Workshop for Steering Committee ครั้งที่ 3 ในวันที่ 10 กันยายน 2558 ณ โรงแรม Windsor Suites กรุงเทพฯ


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

นักวิชาชีพไทยที่อยู ต างประเทศร วมพัฒนาการอุดมศึกษาไทย สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาให ก าร สนับสนุนโครงการใหนักวิชาชีพไทยที่อยูตางประเทศกลับมา รวมพัฒนาการอุดมศึกษาไทย ตั้งแตป 2539 โดยโครงการ ความรวมมือมีกิจกรรม 4 ลักษณะ คือ การเชิญนักวิชาการ ไทยในตางประเทศมาสอน/บรรยายพิเศษใหแกคณาจารยและ นักศึกษา การเชิญมาเปนวิทยากรในการฝกอบรม การมาเปน ที่ปรึกษาในการพัฒนาหลักสูตร งานวิจัย และวิทยานิพนธ และการใหนักวิชาการชวยเปนผูประสานใหเกิดความรวมมือ ทางวิ ช าการระหว า งสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาไทยกั บ สถาบั น อุดมศึกษาหรือหนวยงานในตางประเทศ โดยในป 2558 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดดําเนินงานดังนี้ ● สนั บ สนุ น งบประมาณเพื่ อ การดํ า เนิ น งานของ สมาคมนั ก วิ ช าชี พ ไทยในสหรั ฐ อเมริ ก าและแคนาดา (Association of Thai Professionals in America and Canada: ATPAC) และสมาคมนักวิชาชีพไทยในภูมภิ าคยุโรป (The Association of Thai Professionals in European Region: ATPER) สมาคมละ 250,000 บาท

จัดการประชุมวิชาการ เรื่อง การเตรียมความ พรอมของสถาบันอุดมศึกษาไทยเพื่อใหไดรับการรับรองจาก Accreditation Board for Engineering and Technology (ABET) และการรับรองตามมาตรฐานของ Association to Advance Collegiate Schools of Business (AACSB) เมื่อ วันที่ 13 สิงหาคม 2558 ณ โรงแรมแกรนด เซ็นเตอร พอยท เพลินจิต โดยเชิญนักวิชาชีพไทยจากสหรัฐอเมริกาและผูทรง คุณวุฒิจากสถาบันอุดมศึกษาไทยมาเปนวิทยากร เพื่อให ความรูเกี่ยวกับมาตรฐานและขั้นตอนการดําเนินการเพื่อรับ การประเมินของ ABET และ AACSB ซึ่งเปนการเตรียมความ พรอมและพัฒนาศักยภาพของสถาบันอุดมศึกษาไทยใหเปน ที่ยอมรับในระดับสากล และพัฒนาศักยภาพของบัณฑิตให ตอบสนองความต อ งการของตลาดแรงงานในประชาคม อาเซียน ●

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

61


Annual Report

การเปลี่ยนสถานภาพจากข าราชการเป นพนักงานมหาวิทยาลัย สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ได รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบัน อุดมศึกษา (ก.พ.อ.) ใหศึกษาวิเคราะหผลจากการลดจํานวน ขาราชการ โดยเปลี่ยนสถานะเปนพนักงานมหาวิทยาลัยวา ทําใหสถาบันอุดมศึกษาเจริญกาวหนาตามเจตนารมณหรือไม รวมทั้งดําเนินการศึกษาวิจัยในเรื่องที่เกี่ยวของ โดยมีคณะ อนุกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในระบบ อุดมศึกษา และคณะทํางานเพื่อศึกษาวิเคราะหผลกระทบ จากการเปลี่ ย นสถานภาพจากข า ราชการเป น พนั ก งาน มหาวิทยาลัย ดําเนินการศึกษาวิเคราะหผลกระทบจากการ เปลี่ยนสถานภาพจากขาราชการเปนพนักงานมหาวิทยาลัย ที่ มี ต  อ ความเป น มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี คุ ณ ภาพ รวมทั้ ง ศึ ก ษา แนวทางในการพัฒนาพนักงานมหาวิทยาลัยใหมคี วามเขมแข็ง เพื่อชวยดําเนินงานตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย โดยใช การศึกษาวิจยั ในเชิงคุณภาพ กําหนดสถาบันอุดมศึกษาทีเ่ ปน ตั ว แทนจากสถาบัน อุ ด มศึก ษา 3 กลุม ได แ ก สถาบั น อุดมศึกษาในกํากับของรัฐตั้งแตเริ่มกอตั้ง สถาบันอุดมศึกษา ที่ เ ปลี่ ย นสถานภาพจากมหาวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด ของรั ฐ เป น มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ และสถาบันอุดมศึกษาที่ยังคงมี สถานภาพเปนสวนราชการ ทั้งนี้ ไดดําเนินการลงพื้นที่ โดยการสั ม ภาษณ เ ชิ ง ลึ ก กั บ ผู  บ ริ ห ารสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่

62

รายงานประจําป 2558

รับผิดชอบดานการบริหารงบประมาณการเงิน ดานการบริหาร งานบุคคล และดานบริหารงานวิชาการ จํานวน 16 แหง ไดแก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัย เชี ย งใหม มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย นครพนม มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สุ ร าษฎร ธ านี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สวนดุ สิ ต มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ วไลอลงกรณ ใ นพระบรม ราชู ป ถั ม ภ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ร อ ยเอ็ ด มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ ในขณะนีอ้ ยูร ะหวางการวิเคราะหขอ มูลและสรุปผล ขอมูลจากการลงพืน้ ทีเ่ พือ่ สัมภาษณเชิงลึกกับผูบ ริหารสถาบัน อุดมศึกษา 16 แหง และวิเคราะหขอ มูลจากแบบสํารวจความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานและความผูกพันตอองคกร และ แบบสอบถามนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา เพื่อสรุปผลการ วิจัยตามโครงการวิจัยเพื่อศึกษาวิเคราะหผลกระทบจากการ เปลี่ยนสถานภาพจากขาราชการเปนพนักงานมหาวิทยาลัย เสนอ ก.พ.อ. ตอไป


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

กําลังคนด านมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดโครงการ พัฒนากําลังคนดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร (ทุนเรียน ดีมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรแหงประเทศไทย) เพือ่ ใหทนุ การศึ ก ษาสํ า หรั บ ผู  มี ศั ก ยภาพสู ง ในสาขาขาดแคลนด า น มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ใหมีคุณภาพและปริมาณที่ เพียงพอกับความตองการของประเทศ โดยจัดสรรทุนการ ศึกษา สําหรับผูที่เรียนดี มีความสนใจ และมีความประสงค จะประกอบอาชี พ ด า นมนุ ษ ยศาสตร แ ละสั ง คมศาสตร ใ น ประเทศไทย จํานวน 1,160 ทุน ในวงเงิน 6,412.25 ลานบาท โครงการดังกลาวไดรับอนุมัติจากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2550 ในปงบประมาณ 2558 ไดรับจัดสรรงบประมาณ เปนคาใชจายเฉพาะทุนผูกพัน ทั้งทุนตางประเทศและทุน ในประเทศ จํานวน 494,124,000 บาท โดยไดดําเนินการ โอนเงินงบประมาณเบิกจายแทนกันใหกับสํานักงาน ก.พ. (ทุนตางประเทศ) และสถาบันฝายผลิต (ทุนในประเทศ) ที่มี

นักเรียนทุนสมัครและสอบเขาศึกษาไดในปการศึกษา 2/2557 และปการศึกษา 1/2558 พรอมทั้งประชุมคณะอนุกรรมการ บริ ห ารโครงการพั ฒ นากํ า ลั ง คนด า นมนุ ษ ยศาสตร แ ละ สังคมศาสตร เพื่อพิจารณาเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวกับนักเรียนทุน ตามประเด็นการยื่นคํารองของนักเรียนทุน การแจงจาก สถาบันฝายผลิต/สถาบันตนสังกัด และสํานักงาน ก.พ. รวมทั้ ง ประเด็ น ป ญ หาอุ ป สรรคในการดํ า เนิ น โครงการฯ นอกจากนี้ยังไดดําเนินโครงการติดตามนักเรียนทุนโครงการ พัฒนากําลังคนดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร (ทุน ในประเทศ) เพื่อติดตามความกาวหนาดานการศึกษาและ ปญหาอุปสรรคของนักเรียนทุน เพื่อใหคําปรึกษา/คําแนะนํา รวมทั้งสรางความเขาใจที่ถูกตองและแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น เกี่ยวกับโครงการฯ ทั้งนักเรียนทุนและสถาบันฝายผลิต/ สถาบันตนสังกัด เพื่อที่จะไดขอมูลสําหรับใชเปนเครื่องมือ ในการควบคุ ม กํ า กั บ และติ ด ตามการดํ า เนิ น งาน และ การบริหารโครงการฯ ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

63


Annual Report

กําลังคนด านวิทยาศาสตร ระยะที่ 2 โครงการพัฒนากําลังคนดานวิทยาศาสตร (ทุนเรียนดี วิทยาศาสตรแหงประเทศไทย) ระยะที่ 2 (2552-2567) ไดรับ ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2550 ซึ่งเปนการขยายโครงการที่ดําเนินการตอเนื่องจาก โครงการฯ ระยะที่ 1 โดยการใหทนุ ศึกษาตอระดับปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งเริ่มรับนักศึกษารุนใหมเขารับทุน ตั้งแตระดับปริญญาตรี โท ตอเนื่องจนสําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาเอก เพื่อผลิตบุคลากรดานวิทยาศาสตรระดับสูง ใหมีปริมาณที่เพียงพอตอการพัฒนาประเทศ โดยมีเปาหมาย การใหทุนรวมตลอดโครงการ 1,600 คน แบงเปน การใหทุน ระดับปริญญาตรี-โท-เอก ตอเนือ่ ง จํานวน 4 รุน ๆ ละ 200 คน รวม 800 คน และทุนระดับโท-เอก ตอเนื่อง จํานวน 800 คน มีระยะการดําเนินโครงการตั้งแตปงบประมาณ 2552 - 2567 โดยมีขอผูกพันเมื่อสําเร็จการศึกษาแลว ตองชดใชทุนเปน อาจารย นักวิจัย ในสถาบันอุดมศึกษา หรือหนวยงานของรัฐ เริ่มรับนักศึกษาทุนเขารวมโครงการ ตั้งแตปการศึกษา 2551 และเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2555 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให ขยายระยะเวลาการดําเนินงานโครงการ โดยขยายระยะเวลา การรับนักเรียนทุนระดับปริญญาตรี-โท-เอก ตอเนื่อง เพิ่มอีก 2 รุน คือ รุนปการศึกษา 2556 และ 2557 รุนละ 200 คน รวม 400 คน และยั ง คงเป า หมายรวมตลอดโครงการ 1,600 คน ในปงบประมาณ 2558 โครงการฯ ไดจดั สรรทุนการ ศึกษาตอเนื่องใหกับผูรับทุนที่ศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น และ จัดสรรทุนวิจยั ระยะสัน้ ในตางประเทศของโครงการฯ ในระดับ ปริญญาตรี และปริญญาเอก ใหแกผูรับทุนที่มีคุณสมบัติเปน ไปตามเกณฑการใหทุนวิจัยระยะสั้นของโครงการฯ และ โครงการไดจดั กิจกรรมเพือ่ เสริมสรางศักยภาพผูร บั ทุน ไดแก โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพการวิ จั ย สํ า หรั บ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา โครงการพัฒนากําลังคนดานวิทยาศาสตร (SAST Research Professional Development Project) โครงการคายนักศึกษา ทุน และโครงการคายบัณฑิตศึกษาทุนเรียนดีวิทย เปนตน

64

รายงานประจําป 2558

ตั้งแตปการศึกษา 2551 - 2558 มีผูรับทุนเขารวม โครงการฯ จํานวน 1,442 คน จากเปาหมาย 1,600 คน คิดเปนรอยละ 90 แบงเปน ระดับตรี-โท-เอก ตอเนือ่ ง จํานวน 712 คน ระดับโท-เอก ตอเนื่อง จํานวน 380 คน และระดับ ปริญญาเอก จํานวน 350 คน ทั้งนี้ มีผูสําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาเอกแลว จํานวน 35 คน ขณะนี้ไดปฏิบัติงานชดใช ทุนในตําแหนง อาจารย/นักวิจัย ในสถาบันอุดมศึกษา


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

การจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ ในระดับอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในฐานะ หนวยงานที่กํากับดูแลดานการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา มีนโยบายดําเนินโครงการพัฒนาการจัดการศึกษาสําหรับ คนพิการในระดับอุดมศึกษา เพื่อมุงเนนใหคนพิการเขาถึง สิทธิและไดรับโอกาสทางการศึกษาเทาเทียมกับคนทั่วไป ตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสําหรับ คนพิการ พ.ศ. 2551 และยุทธศาสตรการจัดการศึกษาสําหรับ คนพิการในระดับอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดดําเนิน โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการในระดับ อุดมศึกษา โดยจัดสรรงบประมาณใหสถาบันอุดมศึกษาที่มี นักศึกษาพิการตั้งแต 3 คน ขึ้นไป จํานวน 29 แหง รวมเปน เงิน 9,632,430.-บาท เพื่อสนับสนุนการจัดตั้งศูนยบริการ นักศึกษาพิการ (DSS Center) และจัดซื้ออุปกรณ สื่อ สิ่งอํานวยความสะดวกและความชวยเหลืออื่นใดทางการ ศึกษาสําหรับนิสิต นักศึกษาพิการ และสนับสนุนเงินอุดหนุน ทางการศึกษาสําหรับนิสติ นักศึกษาพิการในระดับอนุปริญญา และระดั บ ปริ ญ ญาตรี โดยป ง บประมาณ 2558 มี นิ สิ ต นักศึกษาพิการไดรับเงินอุดหนุนทางการศึกษา ประจําภาค การศึกษาที่ 1/2557 จํานวน 1,643 คน เปนเงิน 18,171,799.บาท ประจําภาคการศึกษาที่ 2/2557 จํานวน 1,407 คน เปน เงิน 14,587,970.-บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น 32,759,769.-บาท

นอกจากนี้ ไดดาํ เนินการฝกอบรมเพือ่ เพิม่ ศักยภาพ ของบุคลากร/เจาหนาทีท่ เี่ กีย่ วของกับการจัดการศึกษาสําหรับ คนพิการ ดังนี้ หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่ เกี่ ย วข อ งกั บ การจั ด การศึ ก ษาสํ า หรั บ คนพิ ก ารในระดั บ อุดมศึกษา 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรสําหรับผูบริหาร สําหรับ คณาจารยผูสอน สําหรับเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน และสําหรับ เจาหนาที่เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) หลักสูตรการพัฒนา ศั ก ยภาพเจ า หน า ที่ ผู  ป ฏิ บั ติ ง านให บ ริ ก ารนั ก ศึ ก ษาพิ ก าร ตามประเภทความพิการ ประกอบดวย หลักสูตรภาษามือ สําหรับเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานใหบริการนักศึกษาพิการทาง การได ยิ น และหลั ก สู ต รการพั ฒ นาบุ ค ลากรกลุ  ม บุ ค คล ออทิสติกในระดับอุดมศึกษา การฝกอบรมการพัฒนาและ การใชงานฐานขอมูลนักศึกษาพิการ และจัดสัมมนาเครือขาย ศูนยบริการนักศึกษาพิการในระดับอุดมศึกษา (Disability Support Service Center : DSS Center) ตลอดจนได จัดทําฐานขอมูลและสํารวจขอมูลเกี่ยวกับการสงเสริมและ พัฒนาระบบบริการเพื่อรองรับนักเรียน นิสิต นักศึกษาพิการ ในสถาบันอุดมศึกษา ประจําป 2557

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

65


Annual Report

ทุนอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนา จังหวัดชายแดนภาคใต สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมกับ สถาบันอุดมศึกษา และศูนยอาํ นวยการบริหารจังหวัดชายแดน ภาคใต ดําเนินโครงการสนับสนุนทุนการศึกษาตอระดับ ปริญญาตรีในประเทศใหแกเยาวชนทีม่ ภี มู ลิ าํ เนาในเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต หรือ ‘ทุนอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใตเพื่อสนับสนุนและให โอกาสเยาวชนที่มีภูมิลําเนาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใตที่ยังไมมีที่เรียน ไดเขาศึกษาระดับ อุดมศึกษา โดยสถาบันอุดมศึกษาสนับสนุนที่นั่งการศึกษา พรอมใหทนุ คาเลาเรียนจนสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาของ หลักสูตร และ สกอ. สนับสนุนทุนคาครองชีพ เปนเงินจํานวน 40,000 บาท/ปการศึกษา ใหแกนักศึกษาตามระยะเวลา การศึกษาของหลักสูตร จํานวน 5 รุนๆ ละ 500 ทุน โดย ดําเนินการระยะที่ 1 ปการศึกษา 2550 - 2554 ตอมา ไดดําเนินการในระยะที่ 2 ปการศึกษา 2555 - 2558 โดยแบง กลุมเปาหมายของผูรับทุนเปน 2 กลุม คือ กลุมที่ 1 สําหรับ นักเรียนที่ไมสามารถสอบเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาได สกอ. ขอความอนุเคราะหสถาบันอุดมศึกษาในการสนับสนุน ทีน่ งั่ การศึกษา (เปนกรณีพเิ ศษ) พรอมใหทนุ คาเลาเรียน และ สกอ. สนั บ สนุน ทุน คา ครองชีพ ตามระยะเวลาการศึ ก ษา ของหลั ก สู ต ร และกลุ  ม ที่ 2 สํ า หรั บ นั ก เรี ย นที่ ส ามารถ สอบเข า ศึ ก ษาในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาได ด  ว ยตนเอง โดย พิจารณาจากนักศึกษาชั้นปที่ 1 ในสถาบันอุดมศึกษาที่มี ผลการเรียนดี ฐานะยากจน ความประพฤติดี โดยเนนสาขา ขาดแคลน หรือสาขาที่เปนความตองการของพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใตและ สกอ. สนับสนุนทุนคาครองชีพ

66

รายงานประจําป 2558

การดํ า เนิ น งานโครงการทุ น อุ ด มศึ ก ษาเพื่ อ การ พัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต มีจํานวนผูรับทุนตั้งแตรุนที่ 1 ปการศึกษา 2550 (ระยะที่ 1) ถึงรุนที่ 8 ปการศึกษา 2557 (ระยะที่ 2) มีจํานวนผูรับทุนทั้งสิ้น 3,409 ราย โดย สกอ. ได ดํา เนิน โครงการจั ด การปฐมนิเ ทศผู  รับ ทุ น ฯ เพื่อ สรา ง ความเขาใจ และเตรียมความพรอมในการศึกษาตอระดับ ปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษา การปจฉิมนิเทศเพื่อเตรียม ความพรอมเขาสูอาชีพในพื้นที่และสรางเครือขายผูรับทุนฯ โดยเปดโอกาสใหนักศึกษาทุนฯ ไดแลกเปลี่ยนความรู และ ประสบการณ และการสรางจิตสํานึกในการตอบแทนทองถิ่น ภูมิลําเนา การติดตามประเมินผลสถาบันอุดมศึกษาและ ผูรับทุนฯ เพื่อประสานและติดตามการดําเนินงาน และ เสริมสรางความเขาใจรวมกับสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้ง เยี่ยมเยียนและดูแลความเปนอยูของผูรับทุนฯ และจัดทํา รายงานวิจัยโครงการ ‘การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ โครงการทุ น อุ ด มศึ ก ษา เพื่ อ การพั ฒ นาจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต ระยะที่ 1 ปการศึกษา 2550 - 2554 ของ สกอ.’


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

กองทุนเงินให กู ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2538 ในลักษณะเงินทุนหมุนเวียน ตามนัยมาตรา 12 แหงพระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 โดยมี 3 หนวยงานหลัก ที่รับผิดชอบ คือ กระทรวงการคลัง กระทรวงศึกษาธิการ และสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และไดเริ่ม ดําเนินการใหกูยืมในปการศึกษา 2539 เปนตนมา บนพื้นฐานของหลักการ เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาในระดับ ที่สูงขึ้นแกผูที่มาจากครอบครัวที่มีรายไดนอย ซึ่งดอยโอกาสทางการศึกษา ตอมารัฐบาลไดพิจารณาเห็นความสําคัญของกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษามากขึ้น จึงประกาศใช พระราชบัญญัติกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ.2541 มีผลใหกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษามีฐานะเปน นิติบุคคล โดยอยูในการกํากับดูแลของกระทรวงการคลัง และพระราชบัญญัติกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ.2541 มีผลบังคับใชเปนตนมา จากผลการดําเนินงานที่ผานมา มีหนี้คางชําระในอัตราคอนขางสูง กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษาไดมี การปรับและเพิ่มหลักเกณฑการคัดกรองสถานศึกษาและคุณสมบัติผูกูยืม ใหมีความสอดคลองกับนโยบายของ คณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ที่วา ‘กูยาก จายงาย’ ที่จะนํามาใชในปการศึกษา 2559 รวมทั้งมีการกําหนด เกณฑและสัดสวนการจัดสรรวงเงินสําหรับผูก ยู มื รายใหม ประจําปการศึกษา 2558 ในสวนของคณะอนุกรรมการบัญชี จายที่สอง ระดับอนุปริญญา/ปริญญาตรี ระหวางกลุมสังคมศาสตร : กลุมวิทยาศาสตร ใหนํ้าหนักคิดเปนรอยละ 50 : 50 เพื่อเปนการสนับสนุนใหผูกูยืมศึกษาในสาขาที่สําเร็จการศึกษาแลวมีงานทําและมีความสามารถที่จะ ชําระเงินคืนกองทุนฯ ตอไป สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยคณะอนุกรรมการบัญชีจา ยทีส่ อง อนุมตั จิ ดั สรรจํานวนรายและ วงเงินสําหรับผูกูยืมรายใหม (กยศ.) ประจําปการศึกษา 2558 ดังนี้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 8 ราย วงเงิน 145,600 บาท ระดับ ปวช. จํานวน 636 ราย วงเงิน 19,334,400 บาท ระดับ ปวส. จํานวน 1,482 ราย วงเงิน 56,908,800 บาท ระดับอนุปริญญา/ปริญญาตรี จํานวน 48,970 ราย วงเงิน 2,546,440,000 บาท ● ● ● ●

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

67


Annual Report

โครงสร างพื้นฐานด านเครือข ายด วยสื่อใยแก วนําแสง (Fiber Optic) สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดดําเนินการพัฒนาและขยายเครือขาย UniNet โดยการวางระบบโครงสราง พื้นฐานเครือขายแกนหลัก (Backbone Layer) และระบบเครือขายกระจาย (Distribution Layer) ดวยสื่อใยแกวนําแสง (Fiber Optic) ครอบคลุมและรองรับการขยายการเชื่อมโยงไปยังสถาบันการศึกษาทั้งระบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการเขาถึงและ นําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารมาใชประโยชนในการจัดการศึกษาและวิจยั ของประเทศ รวมถึงสมานรอยตอระหวางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา และเชื่อมโยงแหลงความรูตางๆ ทั้งในและตางประเทศ ใหสามารถจัดการเรียนการสอนและการ ศึกษาวิจัยระหวางกัน โดยจัดสรางโครงขายเคเบิลใยแกวนําแสงรวมระยะทางกวา 66,744 กิโลเมตร เพื่อใชเปนระบบเชื่อมโยง โครงขายสื่อสารของเครือขายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) กับสถาบันการศึกษาทั่วประเทศ จํานวน 10,763 แหง พรอมทั้งขยายชองสัญญาณอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเพิ่มขึ้น ดังนี้ การเชื่อมโยงเครือขาย อินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษาวิจัยของสหภาพยุโรปและเอเชีย (TEIN) อินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษาวิจัยของประเทศญี่ปุน (JGN) อินเทอรเน็ตเชิงพาณิชยระหวางประเทศ อินเทอรเน็ตเชิงพาณิชยภายในประเทศ

ขนาดชองสัญญาณ 600 เมกะบิตตอวินาที (Mbps) 1 กิกะบิตตอวินาที (bps) 60 กิกะบิตตอวินาที (Gbps) 40 กิกะบิตตอวินาที (Gbps)

ในป 2558 การพัฒนาโครงขาย ไดมุงเนนการเสริมสรางศักยภาพและสรางระบบใหมีความเสถียร สามารถใชงานได อยางตอเนื่อง ซึ่งตามแผน UniNet ไดสรางระบบใหการชวยเหลือซอมแซมและบํารุงรักษา โดยการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สารเขาชวย เพือ่ ใหการแกปญ  หาการใชงานของสมาชิกเปนไปอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นอกจากนีย้ งั ไดจดั โครงการ สัญจรตรวจเยีย่ มไปยังสํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา โดยการจัดกิจกรรมสรางเสริมความเขาใจกับกลุม สมาชิก โดยเฉพาะโรงเรียน เพื่อเปนการสรางเสริมความรวมมือระหวางสมาชิกกับเครือขาย UniNet ตลอดจนแลกเปลี่ยนขอมูลและรับฟงขอเสนอแนะ ระหวางกัน อันนําไปสูการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพมาตราฐานการใหบริการเครือขายตอไป สําหรับชองทางการติดตอเพื่อแจง ปญหาสามารถแจงผานระบบ Helpdesk ไดที่ http://noc.uni.net.th และศึกษาคูมือการใชงานระบบแจงปญหาและติดตาม การใชงานเครือขาย (Trouble Ticket Online) สําหรับสมาชิกเครือขาย

68

รายงานประจําป 2558


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

ความร วมมือทางด านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดรวมมือกับสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย หรือ AIT ซึ่งเปนสถาบัน อุดมศึกษา อันดับตนที่ผลักดันและบุกเบิกเรื่องการใชงานอินเทอรเน็ตในประเทศไทยมาอยางตอเนื่อง และไดมีความรวมมือทางวิชาการ รวมกับสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในการผลักดันและสนับสนุนเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ พัฒนาการศึกษา (UniNet) ใหสามารถบริการเครือขายสมาชิกกวา 10,000 แหงทัว่ ประเทศ โดยสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย ไดสนับสนุนหมายเลข อินเทอรเน็ต จํานวน 128 Class C หรือ 32,768 หมายเลข ใหกับสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาใชงานในเครือขาย UniNet เพื่อใชประโยชนในการพัฒนาโครงขายเพื่อใหบริการสมาชิกใหมีประสิทธิภาพตอไป

แหล งทรัพยากรการเรียนรู บนเครือข าย การเข า ถึ ง สารสนเทศและแหล ง เรี ย นรู  ที่ มี ประสิทธิภาพ เปนอีกหนึ่งภารกิจสําคัญที่สํานักงานคณะ กรรมการการอุ ด มศึ ก ษาพยายามส ง เสริ ม ให เ กิ ด การใช ประโยชนจากเครือขาย UniNet รวมกัน โดยไดดําเนิน โครงการพั ฒ นาความร ว มมื อ ระหว า งห อ งสมุ ด สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา โดยโครงการพั ฒ นาเครื อ ข า ยห อ งสมุ ด ใน ประเทศไทย (ThaiLIS) ทําใหเกิดฐานขอมูลวิทยานิพนธ งานวิ จั ย บทความวิ ชาการ และหนังสือหายาก รวมถึ ง ฐานขอมูลสหบรรณานุกรมที่รวบรวมขอมูลทรัพยากรทั้งหมด ของหองสมุดมหาวิทยาลัยทุกแหง ชวยใหผูใชสามารถสืบคน เพือ่ หาแหลงจัดเก็บทรัพยากรไดจากการเขาถึงเพียงครัง้ เดียว ผลการดํ า เนิ น งานการพั ฒ นาแหล ง เรี ย นรู  แ ละบริ ก ารบน เครือขายที่จัดใหบริการกับสถาบันการศึกษา มีรายละเอียด ดังนี้

SpringerLink PQDT

PROQUEST Dissertation & Theses Full Text

ACS

American Chemical Society Journal

CASC

Computer & Applied Science Complete

ACM

SpringerLink - Journal

ACM Digital Liberary

ERC

Edducation Research Complete

WoS

ASC

Web of Science

Wilson

Academic Search Complete

H.W. Wison 12 subjects

EM92

Emerald Management 92

IEL

ABI

IEEE/IEE Electronic Library

ABI/inform Complete

Science Direct

Refer Databence ase

@

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

69


Annual Report

ฐานขอมูลวิทยานิพนธ งานวิจัยไทย (Thai Digital Collection) สนับสนุนการพัฒนาฐานขอมูลวิทยานิพนธและงาน วิจัยของไทย ดําเนินงานภายใตโครงการจัดเก็บเอกสารฉบับ เต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส (Thai Digital Collection) หรือ TDC ซึ่ ง เป น ฐานข อ มู ล ที่ ไ ด รั บ ความนิ ย มจากนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ครู อาจารย เนื่องจากเปนแหลงจัดเก็บเอกสารฉบับเต็ม ในรูปอิเล็กทรอนิกสของวิทยานิพนธในระดับบัณฑิตศึกษา เปนผลงาน ที่มีคุณภาพสูง โดยไดรับความรวมมือระหวาง หองสมุดสถาบันอุดมศึกษาทั้งของรัฐ และเอกชน รวมถึง หนวยงานดานการศึกษาวิจัยสังกัดอื่นที่เห็นประโยชนรวมกัน ที่ จ ะเผยแพร แ ละให บ ริ ก ารแหล ง เรี ย นรู  ดั ง กล า วให เ ป น ฐานขอมูลกลางของประเทศที่ทุกคนสามารถเขาถึงไดทุกที่ ทุ ก เวลาผ า นเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต พร อ มทั้ ง เป ด โอกาส ใหผใู ชจากเครือขายภายนอกสามารถเขาถึงขอมูลสารสนเทศ ฉบับเต็มไดผานเครือขายอินเตอรเน็ต โดยการลงทะเบียน สมัครเปนสมาชิกเพื่ออานหรือดาวนโหลดขอมูล โดยไมมี คาใชจา ย ซึง่ มีสถิตกิ ารดาวนโหลดเอกสาร จํานวน 17,847,286 ครั้ง (ขอมูลระหวางเดือนมกราคมถึงสิงหาคม 2558) และ มีเอกสารในระบบ รวมจํานวน 384,881 เลม แบงเปน วิทยานิพนธ (Thesis) จํานวน 297,856 เลม บทความ (Article) จํานวน 44,967 เลม งานวิจัย (Research report) จํานวน 37,497 เลม หนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book) จํานวน 3,051 เลม และหนังสือหายาก (Rare Book) จํานวน 1,510 เลม ฐานขอมูลสหบรรณานุกรม (Union Catalog) รวมกับหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาฐานขอมูล กลางจัดเก็บขอมูลบรรณานุกรมของหองสมุดมหาวิทยาลัย/ สถาบั น ทุ ก แห ง โดยมี เ ป า หมายในการจั ด ทํ า ฐานข อ มู ล บรรณานุกรม (ทรัพยากรของหองสมุด) เพื่อใชเปนแหลง อ า งอิ ง ตรวจสอบข อ มู ล การจั ด เก็ บ ทรั พ ยากรห อ งสมุ ด ใน ประเทศ เพื่ อ อํ า นวยความสะดวกให กั บ ผู  ใ ช บ ริ ก ารที่ จ ะ สามารถคนหาขอมูลและตรวจสอบแหลงที่จัดเก็บเอกสาร/ หนังสือ และทรัพยากรทางการศึกษาของหองสมุดที่ตองการ ไดจากการสืบคนเพียงครั้งเดียว โดยไมตองเขาเว็บไซต ของแต ล ะมหาวิ ท ยาลั ย พร อ มนี้ ฐ านข อ มู ล ดั ง กล า วยั ง มี เครื่องมือที่สนับสนุนการทํางานของบรรณารักษหองสมุด ในการดําเนินงานเกีย่ วกับเลขมาตรฐานสากลหนังสือ/วารสาร การจั ด ทํ า รายการสิ่ ง พิ ม พ สํ า เร็ จ รู ป การจั ด การระเบี ย น บรรณานุ ก รม การควบคุ ม ระเบี ย นรายการหลั ก ฐานและ

70

รายงานประจําป 2558

การใชรายการบรรณานุกรมรวมกัน เพื่อลดความซํ้าซอนใน การจัดทํารายการบรรณานุกรม และใชประโยชนในการยืมคืน ระหวางหองสมุดทีเ่ ปนสมาชิก ปจจุบนั ไดดาํ เนินงานกาวหนา โดยการนําขอมูลบรรณานุกรมของมหาวิทยาลัย/สถาบัน และ มหาวิทยาลัยราชภัฏ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล หลายแหง นําขอมูลเขาสูระบบ รวมจํานวน 1,136,468 ระเบียน ฐานข อ มู ล วารสารเพื่ อ การอ า งอิ ง (Reference Database) ดํ า เนิ น การบอกรั บ ฐานข อ มูล อิเ ล็ก ทรอนิก สเ พื่อ การสืบคน โดยบอกรับสมาชิกฐานขอมูลวารสารออนไลน ต า งประเทศเพื่ อ การใช ท รั พ ยากรร ว มกั น ซึ่ ง สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาจั ด สรรงบประมาณในการ บอกรับฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสเพือ่ การสืบคน สําหรับสถาบัน อุดมศึกษาในสังกัด/กํากับ จํานวน 78 แหง ดําเนินงาน ลักษณะภาพรวมและมีการบริหารจัดการงบประมาณจาก ส ว นกลาง มี ห ลั ก ในการจั ด หาบริ ก ารฐานข อ มู ล คื อ (1) พิจารณาจากความตองการของหองสมุดมหาวิทยาลัย/ สถาบั น โดยมี ก ารจั ด ทํ า การสํ า รวจความต อ งการทุ ก ป (2) พิจารณาฐานขอมูลที่มีความจําเปนในการจัดการศึกษาที่ เปนพื้นฐาน มีขอบเขตขอมูลครอบคลุมสหสาขาวิชา หรือ มีความจําเปนเพื่อการสงเสริมวิจัยเฉพาะดาน (3) พิจารณา ราคาคาบอกรับสมาชิกและงบประมาณทีไ่ ดรบั จัดสรร สําหรับ ป 2558 ไดจดั หาบริการฐานขอมูลใหบริการกับมหาวิทยาลัย/ สถาบัน จํานวน 14 ฐาน พัฒนาระบบหองสมุดอัตโนมัติ สนับสนุนใหสถาบันอุดมศึกษาพัฒนาระบบหองสมุด อัตโนมัติ เพื่อลดภาระคาใชจายในการจัดซื้อซอฟตแวรหอง สมุดอัตโนมัตแิ ละคาบํารุงรักษาจากตางประเทศ และเพิม่ ทาง เลือกใหกบั สถาบันการศึกษาไดใชงานระบบหองสมุดอัตโนมัติ ทีเ่ ปนของคนไทยพัฒนา และเปนการประหยัดงบประมาณใน การจัดซือ้ และบํารุงรักษาระบบ และยกระดับความพรอมของ หองสมุดในการสงเสริมการเรียนรู โครงการพัฒนาระบบหอง สมุดอัตโนมัตดิ าํ เนินการภายใตการสนับสนุนและลิขสิทธิร์ ว ม ระหว า งสํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา และ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ พั ฒ นา ได แ ก มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี ปจจุบนั มีหนวยงานทีใ่ ชระบบแลวจํานวน 97 แหง


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

ถ า ยทอดความรู  แ ละประสบการณ จ ากผู  เ ชี่ ย วชาญด า น เทคโนโลยีสารสนเทศและระบบเครือขาย โครงการสงเสริมพัฒนาศักยภาพการใหบริการ เครือขายอินเทอรเน็ตพื้นฐานที่รองรับ IPv6 โดย UniNet รวมกับกลุมคณาจารย และนักวิจัยเครือขายดาน Future Internet รวมกันผลักดันแผนปฏิบัติการเพื่อสงเสริม เรงรัด และติดตามผลการดําเนินงาน IPv6 ในประเทศไทย (พ.ศ. 2556-2558) ซึ่งกําหนดใหแผนปฏิบัติการดังกลาวเปนวาระ แห ง ชาติ ด  า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารของ ประเทศ โดยไดจัดโครงการพัฒนาศักยภาพการใหบริการ เครือขายอินเทอรเน็ตพืน้ ฐานทีร่ องรับ IPv6 อยางนอย 3 ระบบ ไดแก ระบบ DNS, Mail และ Web โดยมีสถาบันการศึกษา ที่ผานเกณฑทั้งหมด 15 แหง ที่ประสบความสําเร็จในการ พั ฒ นาระบบเพื่ อ ให บ ริ ก ารดั ง กล า ว คื อ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ เลย มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม มหาวิ ท ยาลั ย ทั ก ษิ ณ มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุ รี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ กํ า แพงเพชร มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พิ บู ล สงคราม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ●

กิจกรรมสําคัญบนเครือข าย UniNet สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตระหนักถึง ความสํ า คั ญ ในการพั ฒ นาบุ ค ลากรทางด า นเทคโนโลยี สารสนเทศให มี ศั ก ยภาพและความพร อ มที่ จ ะรั บ มื อ กั บ เทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นไป เพราะเห็นวาบุคลากรในมหาวิทยาลัย/ สถาบั น ที่ เ ป น สมาชิ ก เครื อ ข า ยเป น ส ว นสํ า คั ญ ที่ จ ะช ว ย สนับสนุนภารกิจและพัฒนาระบบเครือขายใหมีความยั่งยืน และเกิดการใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพ สามารถแขงขัน กับนานาประเทศได ในปงบประมาณ 2558 ไดรวมมือกับ สถาบันอุดมศึกษาหลายแหง รวมทั้งหนวยงานวิจัยพัฒนา ตางๆ จัดกิจกรรมสงเสริมบุคลากร ในลักษณะกิจกรรม ประชุม บรรยาย และฝกอบรม ดังนี้ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ‘การดําเนินกิจกรรม บนระบบเครือขายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา’ หรือ ‘WUNCA’ จํานวน 2 ครั้ง ระหวางวันที่ 21-23 มกราคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนยหันตรา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และระหวางวันที่ 22-24 กรกฎาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จังหวัดสงขลา เพื่อ กําหนดแนวทางในการดําเนินกิจกรรมบนระบบเครือขาย UniNet ใหเกิดความรวมมือในการศึกษาวิจยั และการประยุกต ใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศบนเครื อ ข า ย อี ก ทั้ ง เป น การ แลกเปลี่ ย นความรู  ด  า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและระบบ เครือขายระหวางกลุมสมาชิก ใหสมาชิกไดรับทราบขอมูล ●

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

71


Annual Report

ตอบสนองตอผูใ ชงาน สามารถรองรับการใชงานผานอุปกรณ สือ่ สารทุกรูปแบบ และรองรับเทคโนโลยีสารสนเทศในปจจุบนั และที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได โดยระบบ LMS จะเปนแหลง รวบรวมทรัพยากรการเรียนรู สื่อบทเรียนอีเลิรนนิงรายวิชา เรียนตามอัธยาศัย จํานวน 723 รายวิชา 16 สาขาวิชา โดยการพัฒนาเนื้อหาวิชาจากอาจารยผูเชี่ยวชาญเนื้อหาใน สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ที่ ผู  เ รี ย นสามารถเรี ย นรู  ด  ว ยตนเอง โดย ‘แหลงทรัพยากรการเรียนรู’ เผยแพรผานระบบเครือขาย อินเทอรเน็ตทางเว็บไซต www.ThaiCyberU.go.th พัฒนาแหลงทรัพยากรการเรียนรูอ อนไลนแบบเปด สําหรับมหาชน (Thai Massive Open Online Course: Thai MOOC) รวมกับกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร และมหาวิทยาลัยตางๆ อาทิ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เพื่อผลักดันการ ยกระดับคุณภาพการศึกษาไทย ซึง่ มีเปาหมายในการขยายผล การแบงปนความรูเผยแพรทั่วไปโดยไมคิดมูลคา (Open Courseware) มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาประยุกตในการจัดการเรียนการสอน โดยการใชรปู แบบของ การสอนหรือการฝกอบรมผานแหลงทรัพยากรการเรียนรู ออนไลนในระบบเปด ในลักษณะของการเรียนรูเนื้อหาจาก วีดิทัศนและทรัพยากรการเรียนรูอื่นๆ โดยผูเรียนสามารถ เรียนรูและฝกฝนตนเองไดแบบไมมีขอจํากัดดานเวลาและ สถานที่ โดยในป 2558 ได จั ด บริ ก ารรายวิ ช าในระบบ ●

มหาวิทยาลัยไซเบอร ไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยโครงการ มหาวิทยาลัยไซเบอรไทย ไดดําเนินโครงการวิจัยและพัฒนา ดานการศึกษาหลายโครงการ ซึ่งเปนการขับเคลื่อนพันธกิจ ของหนวยงาน และขยายโอกาสทางการศึกษา โดยเฉพาะ การสนั บ สนุ น ให เ กิ ด การจั ด การเรี ย นการสอนทางไกล ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น โดยในป ง บประมาณ 2558 ไดดําเนินการ ออกแบบและพัฒนาระบบการบริหารจัดการเรียน การสอน (Learning Management System หรือ LMS) เพื่อ ใหสามารถรองรับ Web Browser ใหมๆ ใหสามารถรองรับ การทํางานไดทงั้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาญีป่ นุ เพือ่ ●

72

รายงานประจําป 2558


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

Thai MOOC จํานวน 90 รายวิชา 142 ตอน เผยแพรผาน ระบบเครือขายอินเทอรเน็ตทางเว็บไซต http://thaimooc. org/ พัฒนาระบบเผยแพรหนังสืออิเล็กทรอนิกสในรูป แบบร า นหนั ง สื อ ออนไลน และโครงการผลิ ต ตํ า รา อิเล็กทรอนิกสแบบ Interactive เพือ่ สรางแหลงทรัพยากรการ เรียนรู ผานแอพพลิเคชั่นแท็บเล็ต ในชื่อ ‘TCU Bookish’ ซึ่ง สามารถดาวนโหลดหนังสืออิเล็กทรอนิกสผา นระบบปฏิบตั กิ าร iOS และ Android ปจจุบนั มีหนังสือใหบริการจํานวน 20 เลม ประชุมวิชาการนานาชาติดานอีเลิรนนิง ป 2558 The Sixth TCU International e-Learning Conference 2015 ‘Global Trends in Digital Learning’ ระหวางวันที่ 20-21 กรกฎาคม 2558 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา เพื่อเปนเวทีแลกเปลี่ยนความรูระหวางนักวิชาการ นักวิจยั คณาจารย และนิสติ นักศึกษา เปนการประมวลความ รูดานอีเลิรนนิงในทุกดานที่สําคัญจากนักวิชาการดานการ ศึกษาทั้งในประเทศ และตางประเทศ โดยกําหนดใหมีการ บรรยายพิเศษจากวิทยากรทัง้ ใน และตางประเทศ จํานวน 22 หัวขอ และมีการนําเสนอผลงานวิชาการของบุคลากรทางการ ศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาตางๆ จํานวน 45 เรื่อง ●

โครงการอบรม ‘หลั ก สู ต รวิ ธี ส อนอี เ ลิ ร  น นิ ง (e-Pedagogy) สําหรับผูสอนทางไกล’ ซึ่งเปนความรวมมือ ระหวางโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย กับ ASEAN Cyber University (ACU) สาธารณรัฐเกาหลี ●

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

73


Annual Report

เงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดเสนอคณะ รั ฐ มนตรี เ พื่ อ จั ด ตั้ ง เงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นเพื่ อ พั ฒ นาสถาบั น อุดมศึกษาเอกชน ตั้งแตป 2532 ซึ่งเปนไปตามเจตนารมณ ของพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่กําหนดใหรัฐ อุดหนุนและสงเสริมสถาบันเอกชนในการจัดตั้งกองทุนเพื่อ พัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในดานตางๆ โดยรัฐบาลได จัดสรรงบประมาณผานกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ในวงเงินจํานวน 1,120 ลานบาท เพื่อสรางเสริมใหสถาบัน อุดมศึกษาเอกชนมีศักยภาพในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ โดยเงินทุนหมุนเวียนมีวัตถุประสงคเพื่อใหสถาบันอุดมศึกษา เอกชนกูเงินเปนสวนสมทบ ในการจัดซื้ออุปกรณการศึกษา

การกอสรางอาคารเรียน และการพัฒนาคุณวุฒิอาจารยดวย การศึกษาตอระดับปริญญาโทและหรือปริญญาเอกในตาง ประเทศ ในอัตราดอกเบี้ยรอยละ 1.5 - 2.00 ตอป ในปงบประมาณ 2558 สํานักงานคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษา โดยคณะกรรมการเงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นเพื่ อ พัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไดอนุมตั ใิ หสถาบันอุดมศึกษา เอกชนกูเงินเพื่อสมทบในการกอสรางอาคารเรียน จํานวน 222.833 ลานบาท กูเงินเพื่อสมทบในการจัดซื้ออุปกรณ การศึกษาจํานวน 15.12 ลานบาท รวมจํานวนเงินทั้งสิ้น 237.96 ลานบาท

สรุปจํานวนเงินปลอยกู จําแนกตามประเภทของวัตถุประสงคการใหกูเงินทุนหมุนเวียนฯเปรียบเทียบ ระหวางป 2555 - 2558 400

หนวย : ลานบาท

300 200 100 0

2555

กอสราง ซื้ออุปกรณ พัฒนาอาจารย รวม

2556

2555 300,000,000.00 55,000,000.00 12,726,680.00 367,726,680.00

2557

2556 242,952,800.00 34,500,000.00 117,594,357.00 395,047,157.00

2558

2557 188,725,000.00 101,200,000.00 289,952,000.00

2558 222,833,700.00 15,126,500.00 237,960,200.00

ขอมูล ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2558

74

รายงานประจําป 2558


คุณภาพ/มาตรฐานสูง

คุณธรรม ธรรมาภิบาลสูง

ใช หลักความรู คู คุณธรรม หลักธรรมาภิบาล ในการบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษาและการจัดการศึกษา สร างความเข มแข็งให กรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษา และสถาบันอุดมศึกษาต องรับผิดชอบต อผลผลิตที่ผลิตออกมา

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

75


Annual Report

ตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดเสนอ แผนการตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานทีต่ งั้ ประจํา ปงบประมาณ พ.ศ.2558 จํานวน 112 ศูนย ทั้งนี้ ศูนยที่จะ ดําเนินการตรวจประเมิน ตองมีสถานภาพการดําเนินการอยู และมีนักศึกษากําลังศึกษา โดยผานความเห็นชอบของคณะ อนุกรรมการดานการติดตามและประเมินผล ในการประชุม ครั้งที่ 7/2557 เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2557 โดยไดเริ่มตรวจ ประเมินในเดือนธันวาคม 2557 ถึงเดือนกันยายน 2558 ดังนี้ ศูนยการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งที่สถาบันอุดมศึกษายัง ไมเคยแจงขอมูลตอสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จํานวน 6 สถาบัน 35 ศูนย 45 หลักสูตร ศูนยการจัดการ ศึ ก ษานอกสถานที่ ตั้ ง ที่ กกอ. มี ม ติ รั บ ทราบก อ นเริ่ ม กระบวนการตรวจเยี่ยม/ตรวจประเมิน จํานวน 20 สถาบัน 29 ศูนย 81 หลักสูตร ศูนยการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง ที่มีผลประเมินในระดับที่ตองปรับปรุงใหดําเนินการตรวจ ประเมินในชวงครึ่งหลังของปงบประมาณ พ.ศ. 2558 และ ดําเนินการติดตามขอมูลศูนยทแี่ จงเปดดําเนินการศึกษานอก สถานที่ตั้งเขามา แตยังไมมีนักศึกษา

76

รายงานประจําป 2558

ทั้งนี้ จากการดําเนินการในเดือนธันวาคม 2557 จนถึงเดือนมิถุนายน 2558 ไดดําเนินการตรวจประเมินและ นําเสนอผลการตรวจประเมินตอคณะกรรมการการอุดมศึกษา แลวเสร็จ จํานวน 12 สถาบัน 16 ศูนย 29 หลักสูตร ผลประเมินอยูในระดับผาน 16 หลักสูตร ตองปรับปรุง 6 หลักสูตร และไมผา น 7 หลักสูตร อยูร ะหวางรอนําเสนอ กกอ. ครั้งที่ 9/2558 (19 สิงหาคม 2558) จํานวน 3 สถาบัน 4 ศูนย 9 หลักสูตร ผลการประเมินอยูในระดับตองปรับปรุง 4 หลักสูตร และไมผาน 5 หลักสูตร นําเสนอผานการประชุม คณะอนุกรรมการดานการติดตามและประเมินผล ครั้งที่ 8/2558 (11 สิงหาคม 2558) 4 สถาบัน 6 ศูนย 7 หลักสูตร ตองทบทวนผลการประเมินใหมจํานวน 1 สถาบัน 1 ศูนย 2 หลักสูตร อยูร ะหวางดําเนินการตรวจประเมินในแผนการตรวจ ประเมินประจําเดือนสิงหาคมถึงกันยายน 2558 จํานวน 7 สถาบัน 8 ศูนย 13 หลักสูตร และดําเนินการติดตามขอมูล ศูนยที่แจงปดดําเนินการ/ไมมีนักศึกษา/ไมไดดําเนินการ เนื่องจากมีมติจาก กกอ. รวมทั้งหมด 68 ศูนย จากศูนยที่ ตองดําเนินการในแผนทั้งหมด 118 ศูนย (112 ศูนยรวมกับ 6 ศูนยที่แจงเขามาใหมภายใน 31 มีนาคม 2558)


คุณธรรม/ธรรมาภิบาลสูง

ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก คณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดกําหนดนโยบาย สําคัญในการยกระดับคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษา ระดั บอุ ดมศึ กษาและการติดตามประเมินผล โดยเฉพาะ อย า งยิ่ ง การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาเอกที่ ต  อ งจั ด การศึ ก ษา บนพืน้ ฐานของความเปนเลิศทางวิชาการและความมีคณ ุ ภาพ มาตรฐานตามเกณฑการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา โดยเห็นชอบระบบการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก ประกอบดวยระบบยอย 4 ระบบ ได แ ก ระบบการตรวจสอบการจั ด การศึ ก ษา ระดั บ ปริ ญ ญาเอก ระบบการติ ด ตามการจั ด การศึ ก ษา ระดับปริญญาเอก ระบบการประเมินผลการจัดการศึกษา ระดับปริญญาเอกและระบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการ ศึกษาระดับปริญญาเอก และใหดาํ เนินการติดตามการจัดการ ศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาวิชาบริหารการศึกษาและ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรเปนการเรงดวน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดดาํ เนินการ ตามมติคณะกรรมการการอุดมศึกษา 3 กิจกรรม ไดแก การตรวจเยี่ยม (นํารอง) การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวิชาบริหารการศึกษา และสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร จํานวน 4 แหง ไดแก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร มหาวิทยาลัยปทุมธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ

ในพระบรมราชูปถัมภ และมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จ เจาพระยา ผลการตรวจเยี่ยม พบวา สอดคลองตามเกณฑ มาตรฐานหลักสูตร จํานวน 1 แหง สวนอีก 3 แหง พบประเด็น ที่ตองปรับปรุง ไดแก อาจารยประจําหลักสูตร/อาจารย ผูรับผิดชอบหลักสูตร อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก/ อาจารย ที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ ร  ว ม และการจั ด การเรี ย น การสอน การวัดผลและการประเมินผลการศึกษา นอกจากนี้ ยังไดจดั ประชุมสัมมนา เรือ่ ง ‘การติดตาม การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกของสถาบันอุดมศึกษา โดยกลไกการตรวจเยี่ ย ม ป ง บประมาณ พ.ศ. 2558’ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2558 ณ โรงแรมใบหยกสกาย เพื่ อ ชี้ แ จงกรอบแนวทางการตรวจเยี่ ย มการจั ด การศึ ก ษา ระดับปริญญาเอกของสถาบันอุดมศึกษา ความเชื่อมโยง ระหวางการติดตามการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกกับ การประกันคุณภาพภายในระดับหลักสูตร และการตรวจสอบ ข อ มู ล เพื่ อ สนั บ สนุ น การจั ด ทํ า รายงานข อ มู ล การจั ด การ ศึ ก ษาหลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาเอก และดํ า เนิ น โครงการ วิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวน 2 เรื่ อ ง คื อ การวิ จั ย และประเมิ น ผลการจั ด การศึ ก ษา ระดั บ ปริ ญ ญาเอก และความต อ งการกํ า ลั ง คนในระดั บ ปริญญาเอกของประเทศไทย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

77


Annual Report

ตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่เปลี่ยนประเภทแล ว คณะกรรมการการอุดมศึกษา ใหสํานักงานคณะ กรรมการการอุ ด มศึ ก ษาไปจั ด ทํ า แผนปฏิ บั ติ ก ารในการ ติดตามตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษาของ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชนที่ ไ ด เ ปลี่ ย นประเภทแล ว เป น สองระยะ โดยระยะแรกเปนกลุมสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่เปลี่ยนประเภทแลวไมเกิน 10 ป จํานวน 16 สถาบัน และระยะที่ ส อง เป น กลุ  ม สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชนที่ เปลี่ยนประเภทแลวเกิน 10 ป ขึ้นไป จํานวน 20 สถาบัน คณะกรรมการตรวจเยี่ยมไดดําเนินการตรวจเยี่ยมสถาบัน อุดมศึกษาเอกชนที่เปลี่ยนประเภทแลว ระยะแรก จํานวน 10 สถาบัน โดยปงบประมาณ พ.ศ.2557 มีผลการตรวจเยี่ยม สถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ดําเนินการสอดคลองตามแผน ในขอกําหนดและเกณฑมาตรฐานหลักสูตร จํานวน 2 สถาบัน และเสนอใหสถาบันดําเนินการปรับปรุงแกในประเด็นตางๆ เพื่ อ ให ส อดคล อ งตามแผนในข อ กํ า หนดและ/หรื อ เกณฑ มาตรฐานหลักสูตร จํานวน 8 สถาบัน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ในการประชุมครั้งที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2558 เห็นชอบการแบงกลุม สถาบันอุดมศึกษาเอกชน และแนวทางในการตรวจเยี่ยม สําหรับการดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพมาตรฐาน สถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่เปลี่ยนประเภทเปนมหาวิทยาลัย

78

รายงานประจําป 2558

แลว ระยะที่ 2 จํานวน 20 สถาบัน โดยแบงเปน 3 กลุม ไดแก กลุมที่ 1 สถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่เปลี่ยนประเภท แลวเกิน 10 ป แตยงั ไมถงึ 20 ป จํานวน 7 สถาบัน กลุม ที่ 2 สถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่เปลี่ยนประเภทแลวเกิน 20 ป จํานวน 9 สถาบัน และกลุมที่ 3 สถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ เปลี่ยนประเภทแลวเกิน 20 ป และมีคาเฉลี่ยรวมของทุกองค ประกอบทัง้ การประกันคุณภาพภายในปการศึกษา 2556 และ การประกันคุณภาพภายนอกรอบ 3 อยูใ นระดับดีมาก จํานวน 4 สถาบัน ในปงบประมาณ 2558 สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ดําเนินการติดตามตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา เอกชนทีเ่ ปลีย่ นประเภทแลว ระยะแรก ในสวนทีเ่ หลือ จํานวน 5 สถาบัน และระยะที่สอง กลุมแรก จํานวน 6 สถาบัน (ขอเลือ่ นกําหนดการตรวจเยีย่ มไปในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 จํานวน 1 สถาบัน) โดยมีผลการตรวจเยีย่ มสถาบันอุดมศึกษา เอกชนที่ดําเนินการสอดคลองตามแผนในขอกําหนดและ เกณฑมาตรฐานหลักสูตร จํานวน 1 สถาบัน และเสนอให สถาบั น ดํ า เนิ น การปรั บ ปรุ ง แก ใ นประเด็ น ต า งๆ เพื่ อ ให สอดคลองตามแผนในขอกําหนดและ/หรือเกณฑมาตรฐาน หลักสูตร จํานวน 10 สถาบัน


คุณธรรม/ธรรมาภิบาลสูง

จัดตั้งและเปลี่ยนประเภทสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เพื่ อ ให ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของรั ฐ และสถาบั น อุดมศึกษาเอกชนอยูภายใตการกํากับ ติดตามการประเมิน คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเดียวกัน จึงไดมีการตรา พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 และ ที่แกไข (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 สาระสําคัญที่เกี่ยวกับการ จั ด ตั้ ง และเป ด ดํ า เนิ น การได กํ า หนดไว ใ นหมวด 1 แห ง พระราชบัญญัติฉบับนี้ ที่กําหนดใหการจัดตั้งและเปลี่ยน ประเภทสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตองไดรับใบอนุญาตและ อนุ ญ าตจากรั ฐ มนตรี โ ดยคํ า แนะนํ า ของคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษา โดยการขอรั บ ใบอนุ ญ าตจั ด ตั้ ง และการ ขออนุญาตเปลี่ยนประเภทใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาทําหนาที่ เปนฝายเลขานุการในการศึกษาวิเคราะหโครงการในเบือ้ งตน และนําเสนอคณะกรรมการพิจารณาตามลําดับ ไดแก คณะ อนุกรรมการเฉพาะกิจชุดตางๆ คณะอนุกรรมการดําเนินการ ตามพระราชบั ญญัติสถาบันอุ ดมศึ กษาเอกชน และคณะ กรรมการการอุดมศึกษา ในการพิจารณาความพรอม ความ เหมาะสม ในการจัดตัง้ และเปลีย่ นประเภทสถาบันอุดมศึกษา เอกชน และใหคาํ แนะนํารัฐมนตรีวา การกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อออกใบอนุญาตในการจัดตั้งและเปลี่ยนประเภทสถาบัน อุดมศึกษาตอไป

ในป พ.ศ. 2557-2558 มีสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ใหมที่ไดรับใบอนุญาตใหจัดตั้ง จํานวน 4 แหง คือ วิทยาลัย เทคโนโลยีจิตรลดา (24 กุมภาพันธ 2557) สถาบันวิทยาการ จัดการแหงแปซิฟค (19 มิถุนายน 2557) สถาบันเทคโนโลยี แหงสุวรรณภูมิ (30 มกราคม 2557) และสถาบันวิทยสิริเมธี (2 เมษายน 2558) มีวทิ ยาลัยทีไ่ ดรบั อนุญาตใหเปลีย่ นประเภท เปนมหาวิทยาลัย จํานวน 2 แหง คือ วิทยาลัยราชพฤกษ เปน มหาวิทยาลัยราชพฤกษ (19 มิถุนายน 2557) และวิทยาลัย กรุงเทพสุวรรณภูมิ เปน มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ (31 ตุลาคม 2557) ปจจุบัน (นับถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2558) จึ ง มี ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชนรวมทั้ ง สิ้ น 75 แห ง เป น มหาวิทยาลัย 43 แหง สถาบัน 12 แหง และวิทยาลัย 20 แหง

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

79


Annual Report

หลักสูตรคณบดีเพื่อการเปลี่ยนแปลง แนวคิ ด ของการจั ด หลั ก สู ต รคณบดี ที่ เ รี ย กว า หลักสูตรคณบดีเพือ่ การเปลีย่ นแปลง (Deans for Change : DFC) เกิดจากแนวคิดวา คณะ เปนหนวยงานหลักในระดับ ปฏิบัติการวิชาการของมหาวิทยาลัย คณบดี จึงเปนผูบริหาร วิชาการที่มีบทบาทสําคัญในยุคนี้ สถาบันคลังสมองของชาติ จึงจัดทําหลักสูตร ‘คณบดีเพื่อการเปลี่ยนแปลง’ (Deans For Change : DFC) เพื่ อ ส ง เสริ ม ให ค ณบดี ใ หม มี ค วามรู  และทักษะในการบริหารการเปลี่ยนแปลงคณะ เพื่อใหการ ดําเนินงานของคณะสอดรับการเปลีย่ นแปลงในบริบทประเทศ และบริ บ ทโลก โดยในการเริ่ ม จั ด ทํ า หลั ก สู ต ร สถาบั น ฯ ไดรวมมือกับหนวยงาน 3 แหง คือ German Academic Exchange Service (DAAD), German Rectors’ Conference (HRK), และ Centre for Higher Education Development (CHE) ของสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งทําใหหลักสูตร ‘คณบดีเพื่อการเปลี่ยนแปลง’ มีความเปน สากลในขณะเดี ย วกั น ก็ มี ค วามสอดคล อ งกั บ บริ บ ทของ ประเทศและผู  เ ข า ร ว มหลั ก สู ต รมี โ อกาสสร า งเครื อ ข า ย อยางกวางขวางกับคณบดีในตางประเทศ หลักสูตร DFC ประกอบดวย 3 สวน คือ สวนทีห่ นึง่ เปนการแลกเปลีย่ นเรียนรูห ลักการ และกรณีศกึ ษาในประเด็น ที่เกี่ยวของกับการบริหารแนวใหมและการเปลี่ยนแปลงคณะ สวนที่สอง เปนการศึกษาที่สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีเพื่อ ให ผู  เ ข า ร ว มหลั ก สู ต รได แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู  กั บ ผู  บ ริ ห าร มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ค วามโดดเด น ในด า นต า งๆ ส ว นที่ ส าม เปนโครงการเชิงปฏิบัติการ (Project Action Plan – PAP) เพื่อเลือกโจทยจริงจากสถาบันของผูเขารวมหลักสูตร มา ดําเนินงานแกไขตามหลักการของการบริหารการเปลีย่ นแปลง ผูเขารวมหลักสูตรมีเวลาประมาณ 4 เดือน สําหรับการนําสิ่ง ทีไ่ ดเรียนรูไ ปใชในการทํา PAP และในระหวางการดําเนินงาน สถาบันฯ ไดจัดโคชเพื่อใหคําปรึกษาแกผูเขารวมหลักสูตร ทั้งดานเนื้อหา (content) และดานกระบวนการ (process)

80

รายงานประจําป 2558

หลักสูตร DFC มีความแตกตางจากหลักสูตรอื่นๆ คือเนนการเรียนรูดวยการปฏิบัติ ดังนั้น PAP จึงถือเปน ‘ภาคปฏิบัติ’ ของหลักสูตร และเปนสวนที่จะทําใหผูเขารวม ไดประโยชนจากหลักสูตร DFC จริง สรางการเปลี่ยนแปลง ในคณะและมหาวิทยาลัยไดจริง ตัวอยางของโครงการปฎิบตั กิ าร (PAP) ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เปนสวนประกอบหลักของหลักสูตรในแตละรุน นัน้ ครอบคลุม ประเด็นบริหารจัดการทุกมิติ เชน มิติการบริหารจัดการ การ พัฒนาบุคลากร การวิจัย การเรียนการสอนและการทํางาน วิชาการกับภาคสวนภายนอก เชน โครงการ ‘การประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาหลั ก สู ต รแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต ของ สถาบันรวมผลิตแพทย’ ของ รศ. พญ. จิตเกษม สุวรรณรัฐ รองคณบดีฝายการศึกษา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร (DFC 3) ที่มุงพัฒนาหลักสูตรแพทยศาสตร จากสถาบั น ร ว มผลิ ต แพทย ห ลายสถาบั น ให ไ ด ม าตรฐาน เดียวกัน หรือโครงการ ‘กลยุทธการพัฒนาหลักสูตรบัณฑิต นักปฏิบัติ’ ของ ผศ. ดร. ณรงคศักดิ์ ธรรมโชติ รองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (DFC 4) ที่มุงหากลยุทธในการ พัฒนาหลักสูตรทางดานวิศวกรรมศาสตรของคณะใหเปน หลักสูตรการเรียนการสอนทีส่ ามารถสราง ‘บัณฑิตนักปฏิบตั ’ิ ไดอยางเปนรูปธรรม เปนตน นอกจากนี้ ผู  เ ข า ร ว มหลั ก สู ต รยั ง มี ก ารพั ฒ นา เครือขายความรวมมือทางวิชาการรวมกัน ทั้งในระหวาง หลักสูตร และหลังจากที่สําเร็จหลักสูตรแลว เชน การจัด สัมมนาทางวิชาการรวมกัน การเชิญเปนวิทยากรหรือผูทรง คุณวุฒิ การศึกษาดูงานของอาจารยและนักศึกษา เปนตน ทําใหเกิดการพื้นที่ทางวิชาการและเกิดการทํางานรวมกัน ระหวางสถาบันมากยิ่งขึ้น สงผลดีตอการพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอน คุณภาพอาจารย และคุณภาพนักศึกษา ตอไป


คุณธรรม/ธรรมาภิบาลสูง

มาตรการกํากับดูแลด านการเงินและระบบการควบคุมภายในของสถาบันอุดมศึกษา ดวยปรากฏตามสือ่ สารมวลชนวา สํานักงานตํารวจ แหงชาติไดเขาสืบสวนกรณีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ถูกยักยอกเงิน จํานวน 1,494 ลานบาท ซึ่งกรณีดังกลาวสงผลกระทบตอภาพลักษณของ สถาบันอุดมศึกษาอยางรายแรง ดังนั้น เพื่อกระตุนเตือนให ผูบริหารสถาบันอุดมศึกษาไดตระหนักถึงหนาที่ในการกํากับ ดูแลดานการเงินและการควบคุมภายในของสถาบันอุดมศึกษา และเพื่ อ สร า งความเชื่ อ มั่ น ให แ ก ป ระชาชนและสร า ง ภาพลักษณการปลอดการทุจริตในสถาบันอุดมศึกษา ทั้งยัง เป น การตอบสนองภายใต ยุ ท ธศาสตร ข องรั ฐ บาลในการ กําหนดนโยบายยุทธศาสตรการพัฒนาที่ยั่งยืนในการสงเสริม

การบริหารราชการแผนดินที่มีธรรมาภิบาลและการปองกัน การปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบในภาครั ฐ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในฐานะหนวยงาน กลางด านการอุ ด มศึก ษา จึ งจั ด โครงการประชุมสั มมนา เรื่อง มาตรการกํากับดูแลดานการเงินและระบบการควบคุม ภายในของสถาบันอุดมศึกษา ในวันที่ 18 มีนาคม 2558 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด คอนเวนชั่น เพื่อใหผูบริหาร ในสถาบันอุดมศึกษาไดตระหนักถึงหนาที่ในการกํากับดูแล ดานการเงินและการควบคุมภายในของสถาบันอุดมศึกษา และสรางความเชื่อมั่นใหแกประชาชนและสรางภาพลักษณ การปลอดการทุจริตในสถาบันอุดมศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

81


Annual Report

จัดระบบงานด านข อร องเรียน ดวยปจจุบันมีผูรองเรียนเกี่ยวกับการบริหารงานภายในสถาบันอุดมศึกษา และบุคคลากรภายในสถาบัน อุดมศึกษาเปนจํานวนมาก ซึ่งสวนใหญจะเปนขอรองเรียนที่อยูในอํานาจหนาที่ของมหาวิทยาลัยในการพิจารณาให ความเปนธรรม ดังนั้น เพื่อใหเกิดความรวดเร็วในการพิจารณาขอรองเรียน และสงตอขอรองเรียนไปยังหนวยงานที่มี อํานาจหนาที่ในการพิจารณา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดระบบงานดาน ขอรองเรียนของสํานักนิติการ ระหวางวันที่ 16 - 18 กรกฎาคม 2558 ณ โรงแรม เอ วัน เดอะ รอยัล ครูส พัทยา ผลการประชุมดังกลาว นําไปสูการจัดทําหลักเกณฑแนวทางวาดวยการจัดการขอรองเรียนของสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยมีสาระสําคัญกําหนดใหการยื่นขอรองเรียน กลาวโทษจะตองทําเปนหนังสือ โดยมี รายละเอียดตามที่กําหนด และกําหนดชองทางใหผูรับบริการที่จะประสงคยื่นขอรองเรียน กลาวโทษตอสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ทั้งนี้ อาจไมรับพิจารณาขอรองเรียน เชน ขอรองเรียนที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย หรือขอรองเรียนที่มีลักษณะเปนบัตรสนเทห เปนตน นอกจากนี้ ยังไดกําหนดใหมีประเภทขอรองเรียนตามอํานาจหนาที่ ของแตละสํานัก และแนวทางในการพิจารณาขอรองเรียนสําหรับผูดํารงตําแหนง อาทิ อธิการบดี กรรมการสภาสถาบัน หรือสภาสถาบันอุดมศึกษา

แต งตั้งนายกสภาสถาบันอุดมศึกษา กรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษาผู ทรงคุณวุฒิ และอธิการบดีสถาบันอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหนาที่ใน การพิจารณากลัน่ กรองการเสนอขอโปรดเกลา ฯ แตงตัง้ บุคคล ใหดํารงตําแหนงนายกสภาสถาบันอุดมศึกษา กรรมการสภา สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาผู  ท รงคุ ณ วุ ฒิ และอธิ ก ารบดี ส ถาบั น อุดมศึกษา ใหเปนไปตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติ และขอบังคับของแตละสถาบันอุดมศึกษา โดยมีขั้นตอน การดําเนินการ ดังนี้ (1) ตรวจสอบคุณสมบัติและลักษณะ ตองหามของผูไดรับการเสนอขอโปรดเกลาฯ แตงตั้งตามที่ กํ า หนดไว ใ นกฎหมายและข อ บั ง คั บ ว า ด ว ยการสรรหาฯ ของมหาวิทยาลัย (2) ตรวจสอบองคประกอบ หลักเกณฑ และวิธีการการไดมาซึง่ กรรมการสรรหาฯ ตามทีก่ ําหนดไวใน กฎหมายและขอบังคับฯ ของมหาวิทยาลัย และ (3) ตรวจสอบ

82

รายงานประจําป 2558

กระบวนการสรรหาใหเ ปน ไปตามกฎหมายและข อ บัง คับ ของมหาวิทยาลัย ในรอบปงบประมาณ 2558 สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาไดดําเนินการเสนอขอโปรดเกลาฯ แตงตั้ง นายกสภาสถาบันอุดมศึกษา กรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษา ผูทรงคุณวุฒิ และอธิการบดีสถาบันอุดมศึกษา ไปยังสํานัก เลขาธิ ก ารคณะรั ฐ มนตรี แ ละได มี พ ระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ แตงตั้งแลว จํานวน 51 แหง รวมทั้งสิ้น 212 ราย จําแนกเปน นายกสภาสถาบันอุดมศึกษา จํานวน 21 ราย กรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษาผูท รงคุณวุฒิ จํานวน 173 ราย และอธิการบดีสถาบันอุดมศึกษา จํานวน 18 ราย


คุณธรรม/ธรรมาภิบาลสูง

ตําแหน งทางวิชาการ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ได จั ด โครงการสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ ส ง เสริ ม และพั ฒ นา กระบวนการดําเนินงานการพิจารณาแตงตั้งบุคคลใหดํารง ตําแหนงทางวิชาการ 4 รุน รวมจํานวน 520 คน เพื่อให เจ า หน า ที่ ผู  ป ฏิ บั ติ ง านหรื อ ผู  ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ งานด า น สถาบัน ผูชวยศาสตราจารย ม.รัฐ (เดิม) และ ม.ในกํากับ 141 มหาวิทยาลัยราชภัฏ 67 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 54 สถาบันอุดมศึกษาเอกชน 90 รวม 352

การพิ จ ารณาแต ง ตั้ ง บุ ค คลให ดํ า รงตํ า แหน ง ทางวิ ช าการ ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา มี ค วามรู  ค วามเข า ใจเกี่ ย วกั บ หลักเกณฑ วิธีการ และแนวปฏิบัติตางๆ ตามที่กําหนดไว ตลอดจนสามารถปฏิบตั งิ านไดอยางถูกตองและเปนมาตรฐาน เดียวกัน รองศาสตราจารย 91 15 5 9 120

ศาสตราจารย 76 1 4 81

ศาสตราจารย 11 3 3

การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหนาที่ พิจารณาคุณสมบัตแิ ละกลัน่ กรองความดีความชอบของผูเ สนอ ขอพระราชทานเครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ ใ ห เ ป น ไปตาม หลักเกณฑและเงื่อนไขที่กําหนดไวในระเบียบสํานักนายก รัฐมนตรีวาดวยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ อันเปนที่เชิดชูยิ่งชางเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณอันมี เกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. 2536 และที่แกไขเพิ่มเติม และ พระราชกฤษฎี ก าว า ด ว ยการขอพระราชทานเครื่ อ งราช อิสริยาภรณอันเปนที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ พ.ศ. 2538 ทั้ ง นี้ หากสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาได ดํ า เนิ น การถู ก ต อ งตาม หลักเกณฑและเงือ่ นไขทีก่ าํ หนดแลว สํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษาจะนําเสนอกระทรวงศึกษาธิการและสํานัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาตอไป ในรอบปงบประมาณ 2558 สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ดําเนินการเสนอขอพระราชทานเครื่องราช อิสริยาภรณใหกับบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและ เอกชน รวมจํานวนทั้งสิ้น 14,107 ราย โดยจําแนกเปนเครื่อง ราชอิ ส ริ ย าภรณ อั น เป น ที่ เ ชิ ด ชู ยิ่ ง ช า งเผื อ ก เครื่ อ งราช อิสริยาภรณอนั มีเกียรติยศยิง่ มงกุฎไทย และเหรียญจักรพรรดิ มาลา จํานวน 13,202 ราย และเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปน ที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ จํานวน 905 ราย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

83


Annual Report

การให ความเห็นชอบเพื่อให ตําแหน งและจํานวนตําแหน งที่กําหนดเพิ่มขึ้นได รับเงินประจําตําแหน ง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหนาที่ตรวจสอบความถูกตองเกี่ยวกับการดําเนินการใหความเห็นชอบ การกําหนดตําแหนงและจํานวนตําแหนงที่จะไดรับเงินประจําตําแหนงของผูดํารงตําแหนงประเภทผูบริหาร ตามมาตรา 18 (ข) และตําแหนงประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ หรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ตามมาตรา 18 (ค) แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการ พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ที่เปนตําแหนงที่มีสิทธิไดรับเงินประจําตําแหนงตามพระราชกฤษฎีกาการไดรับเงินประจําตําแหนง ของขาราชการและผูดํารงตําแหนงผูบริหารซึ่งไมเปนขาราชการ พ.ศ. 2538 และที่แกไขเพิ่มเติม และกฎ ก.พ.อ. การไดรับเงิน ประจําตําแหนงของขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2556 เมือ่ สถาบันอุดมศึกษาดําเนินการถูกตองตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดแลว สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาดําเนินการแจงไปยังสํานักงบประมาณและกรมบัญชี กลางตอไป ในรอบปงบประมาณ พ.ศ. 2558 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาดําเนินการเพื่อใหความเห็นชอบการกําหนด ตําแหนงและจํานวนตําแหนงที่จะไดรับเงินประจําตําแหนงของผูดํารงตําแหนงประเภทผูบริหาร และตําแหนงประเภทวิชาชีพ เฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ รวมจํานวนทั้งสิ้น 1,032 ราย จําแนกเปน (1) ตําแหนงประเภทผูบริหาร จํานวน 955 ราย แบงเปน ตําแหนงประเภทผูบริหารมีวาระ 906 ราย และตําแหนงประเภทผูบริหารไมมีวาระ 49 ราย และ (2) ตําแหนงประเภทวิชาชีพ เฉพาะ หรือเชี่ยวชาญเฉพาะ จํานวน 77 ราย แบงเปน ตําแหนงประเภทวิชาชีพเฉพาะ ระดับชํานาญการ 71 ราย ระดับชํานาญ การพิเศษ 3 ราย ระดับเชี่ยวชาญ 1 ราย ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ 1 ราย และตําแหนงประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะ ระดับเชี่ยวชาญ 1 ราย

84

รายงานประจําป 2558


คุณธรรม/ธรรมาภิบาลสูง

แก ไขป ญหาการทุจริตคอรัปชั่น รัฐบาลและคณะรักษาความสงบแหงชาติ มีความ พยายามในการแกไขปญหาการทุจริตคอรัปชัน่ ทีเ่ กิดขึน้ มาอยาง ตอเนื่อง โดยขับเคลื่อนการดําเนินงานผานยุทธศาสตรชาติ ว า ด ว ยการป อ งกัน และปราบปรามการทุ จ ริต ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556 - 2560) ในลักษณะการบูรณาการการทํางานและ งบประมาณระหวางหนวยงาน เพื่อมุงเนนการสรางจิตสํานึก ของประชาชนใหมีทัศนคติและคานิยมในการตอตานการ ทุ จ ริ ต การประสานความร ว มมื อ กั บ เครื อ ข า ยภาคี ทั้ ง ใน ประเทศและตางประเทศ การพัฒนากลไกการดําเนินงาน ทั้งในดานการสรางบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ หรือการสราง

กลไกทางกฎหมายที่มีความเขมแข็ง โดยกําหนดวิสัยทัศน ไดแก ‘สังคมไทยมีวินัย โปรงใส ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม และรวมปองกันและปราบปรามการทุจริต เปนที่ยอมรับ ในระดับสากล’ โดยในสวนของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ไดดําเนินการดังนี้ มหาวิทยาลัยโปรงใส บัณฑิตไทยไมโกง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดําเนินงาน โครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ‘มหาวิทยาลัยโปรงใส บัณฑิตไทยไมโกง’ อยางตอเนื่อง สอดคลองตามกรอบนโยบายของรัฐบาล และนโยบายของ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

85


Annual Report

ที่ประชุมอธิการบดีแหงประเทศไทย ในการสรางคานิยม ‘บัณฑิตไทยไมโกง’ และเครือขายความรวมมือเสริมสราง คานิยม ‘ความรับผิดชอบตอสังคม’ โดยมุงหวังวาสถาบัน อุดมศึกษาในฐานะทีเ่ ปนองคกรพัฒนาทรัพยากรบุคคลระดับ สูงของชาติ จะมีมาตรการ แนวทาง และกิจกรรมในการสราง ความโปรงใส การปลูกฝงคุณลักษณะดานคุณธรรม จริยธรรม และความซื่อสัตยสุจริต ใหเกิดขึ้นกับนักศึกษา และบุคลากร ในสถาบันอุดมศึกษาใหเปนรูปธรรม เพื่อใหไดรับการยอมรับ และความนาเชือ่ ถือ เสริมสรางแนวคิด จิตสํานึก และคานิยม ที่ถูกตองดีงามในการดูแลรับผิดชอบตอตนเอง ชุมชน สังคม และบานเมืองตอไป ปงบประมาณ 2558 สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา สนับสนุนงบประมาณใหเครือขายเพื่อการพัฒนา อุดมศึกษา 9 เครือขาย จัดทําโครงการ/กิจกรรมที่สงเสริม และสนับสนุนใหสถาบันอุดมศึกษานําหลักธรรมาภิบาลและ หลักความโปรงใส มาใชในการบริหารจัดการ อาทิ การประชุม การสัมมนา การฝกอบรม การเสวนาแลกเปลีย่ นความคิดเห็น กิจกรรมคาย และการจัดกิจกรรมรณรงค โดยเปนกิจกรรม ที่กําหนดวัตถุประสงคและการดําเนินการอยางชัดเจนใน

86

รายงานประจําป 2558

การสนับสนุนและสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความพอเพียง ความซื่อสัตยสุจริตและแกไขปญหาทุจริตคอรัปชั่น และ เปนกิจกรรมสรางสรรคและนวัตกรรมทางความคิดทีส่ ามารถ ปลูกฝงคานิ ยมอื่นๆ ที่ดีงาม โดยมุงเนนการมีสวนรวม ของบุคลากรและนักศึกษาในเครือขาย เกงจริงตองไมโกง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดโครงการ สัมมนา เรื่อง ‘เกงจริง ตองไมโกง’ เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2558 ณ โรงแรมเอเชีย โดยเชิญผูบ ริหารและผูน าํ นิสติ นักศึกษาจาก สถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ รวมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และหาแนวทางในการสรางจิตสํานึกและแนวทางในการแกไข ปญหาการทุจริตคอรัปชัน่ ในประเทศ เพือ่ นําไปผลักดันใหเกิด ขึ้นจริงในโอกาสตอไป ทั้งนี้ สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาไดรวบรวมและสรุปผลการประชุม ประกอบดวย กลยุทธดานการปองกัน กลยุทธดานการพัฒนา และกลยุทธ ดานการสรางแรงจูงใจ และแจงไปยังสถาบันอุดมศึกษา ทุกแหง เพื่อใชเปนแนวทางในการดําเนินงานตอไป


คุณธรรม/ธรรมาภิบาลสูง

คุณค า ศักยภาพสูง

ส งเสริมการพัฒนาอาจารย นักวิจัย บุคลากร และนักศึกษา ให มีศักยภาพสูงทุกมิติ โดยการสร างเครือข ายการทํางาน การให ทุนพัฒนาอาจารย และบุคลากร การพัฒนานักศึกษาให มี Soft Skill มีความสามารถ ในการปรับตัว มีทักษะทางภาษา และทักษะทางวิชาชีพ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

87


Annual Report

ทุนพัฒนาอาจารย สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ดํ า เนิ น การจั ด สรรทุ น โครงการพั ฒ นาอาจารย มาอย า งต อ เนื่ อ ง ตั้ ง แต ป  พ.ศ. 2510 จนถึ ง ปจจุบัน ซึ่งเปนการพัฒนาอาจารยโดยการใหทุน เพื่ อ ศึ ก ษาต อ ระดั บ ปริ ญ ญาโท - เอก โดยในป งบประมาณ พ.ศ. 2558 จัดสรรงบประมาณใหกับ ผูรับทุนผูกพัน จํานวน 2 โครงการ ดังนี้ โครงการทุนพัฒนาอาจารยสาขาขาดแคลน 16 สาขา ตามมติคณะรัฐมนตรี เริ่มดําเนินการตั้งแตป พ.ศ. 2535 - 2548 และผูกพันงบประมาณถึงป พ.ศ. 2558 ซึ่ง เปนการจั ดสรรทุนเพื่อศึกษาตอระดั บปริญญาโท - เอก ในประเทศ และตางประเทศ ใน 16 สาขาขาดแคลน ไดแก แพทยศาสตร ทั น ตแพทยศาสตร วิ ศ วกรรมศาสตร เภสัชศาสตร วิทยาศาสตร สหเวชศาสตร คณิตศาสตร สถาปตยกรรมศาสตร ครุศาสตรอุตสาหกรรม อุตสาหกรรม เกษตร สัตวแพทยศาสตร พยาบาลศาสตร คอมพิวเตอร อัญมณีและเครื่องประดับ ภาษา และบัญชี โดยมีเปาหมาย เพื่อการผลิตอาจารยใหมและพัฒนาศักยภาพอาจารยที่มี อยูเดิมในสถาบันอุดมศึกษาใหพรอมตอการแขงขันไดใน ระดับนานาชาติ เปนการพัฒนาอาจารยทั้งในเชิงปริมาณ และคุณภาพ โครงการเครื อ ข า ยเชิ ง กลยุ ท ธ เ พื่ อ การผลิ ต และ พัฒนาอาจารยในสถาบันอุดมศึกษา เริ่มดําเนินการตั้งแตป พ.ศ. 2549 - 2551 และผูกพันงบประมาณถึงป พ.ศ. 2559 เปนการจัดสรรทุนเพื่อศึกษาตอระดับปริญญาเอก เพื่อสราง และพัฒนาอาจารยในสถาบันอุดมศึกษาใหมีคุณวุฒิปริญญา เอกเพิ่มขึ้นภายใตกรอบสาขา 20 เครือขาย โดยในป 2558 สํ า นั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาไดโอนงบประมาณใหกับผูรับทุนผูกพันที่ศึกษาทั้ง ในประเทศ และตางประเทศ ที่ยังมีสิทธิ์ไดรับเงินทุนของทั้ง 2 โครงการ จํานวน 34 คน และเตรียมความพรอมใหกับ นักเรียนทุนที่สําเร็จการศึกษาและเขาปฏิบัติงานชดใชทุนใน

88

รายงานประจําป 2558

สถาบันอุดมศึกษาตนสังกัด ซึ่งจะตองทําหนาที่เปนอาจารย ผูสอนในสถาบันอุดมศึกษาใหตระหนักถึงบทบาท และหนาที่ ของความเปนอาจารยมืออาชีพ รวมทั้งจัดการเรียนการสอน ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมอบหมายใหสมาคมเครือขาย การพั ฒ นาวิ ช าชี พ อาจารย แ ละองค ก รระดั บ อุ ด มศึ ก ษา แหงประเทศไทย (ควอท) ดําเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติงาน หลักสูตร ‘กาวแรกสูอาจารยมืออาชีพ’ ซึ่งกําหนดจัดอบรม หลักสูตรดังกลาว จํานวน 4 รุน นอกจากนี้ ยังไดกํากับ ดูแล และบริหารสัญญาทุนของผูรับทุนโครงการพัฒนาอาจารย จํานวน 2,500 คน ทั้ ง นี้ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา อยู  ร ะหว า งดํ า เนิ น การจั ด สรรทุ น ภายใต โ ครงการพั ฒ นา ศั ก ยภาพของทรั พ ยากรมนุ ษ ย ใ นอุ ด มศึ ก ษาเพื่ อ รองรั บ การเปลี่ยนแปลงของบริบทโลก ซึ่งเปนโครงการที่จัดสรรทุน เพือ่ พัฒนาบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา ทัง้ สายวิชาการและ สายสนับสนุน ระยะยาว 15 ป เพือ่ เสริมสรางศักยภาพใหเกิด ความเขมแข็งในการนํามหาวิทยาลัยเขาสูประชาคมอาเซียน และสังคมโลก พัฒนากระบวนการสรางองคความรู และสราง เครือขายของสถาบันอุดมศึกษาทัง้ ในประเทศและตางประเทศ เพือ่ กอใหเกิดความเขมแข็งในการยกระดับสูม หาวิทยาลัยโลก โดยดําเนินการใน 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ 1 จัดสรรทุน เพื่อศึกษาตอระดับปริญญาเอก จํานวน 14,500 ทุน และ กิจกรรมที่ 2 จัดสรรทุนพัฒนาอาจารยหลังปริญญาเอก จํานวน 1,500 ทุน ซึ่งขณะนี้โครงการดังกลาวอยูระหวาง นําเสนอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการพิจารณา เพื่อ เสนอคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบตอไป


คุณค า/ศักยภาพสูง

พัฒนาอาจารย และบุคลากรสําหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดําเนิน โครงการทุ น พั ฒ นาอาจารย แ ละบุ ค ลากรสํ า หรั บ สถาบั น อุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต เพื่ อ ผลิ ต และพั ฒ นาอาจารย แ ละบุ ค ลากรสํ า หรั บ สถาบั น อุดมศึกษาของรัฐบาลที่ตั้งอยูในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต 5 จังหวัด ไดแก จังหวัดยะลา จังหวัด ปตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดสตูล และจังหวัดสงขลา เพือ่ มุง หวังใหเกิดความเขมแข็งทางวิชาการและความสามารถ ในการสอน โดยเฉพาะในสาขาที่รองรับการพัฒนาพื้นที่เขต เศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย - มาเลเซีย - ไทย และมี ผลงานวิ จั ย ในการช ว ยแก ป  ญ หาเพื่ อ ลดความรุ น แรงของ สถานการณในภาคใต รวมทัง้ ชวยฟน ฟูเศรษฐกิจในเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่งเริ่มดําเนินการ จัดสรรทุน ตัง้ แตปง บประมาณ 2552 โดยไดดาํ เนินการจัดสรร ทุนไปแลวทั้งสิ้น 283 ทุน และมีผูรับทุนที่สําเร็จการศึกษาได รายงานตัวเขาปฏิบัติงานที่สถาบันอุดมศึกษาตนสังกัดแลว จํานวน 48 ราย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดจัดสรร ทุ น โครงการพั ฒ นาอาจารย แ ละบุ ค ลากรสํ า หรั บ สถาบั น อุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ประจําป 2558 ประกอบดวย ทุนศึกษาตอระดับปริญญาเอก ในประเทศ จํานวน 10 ทุน ทุนศึกษาตอระดับปริญญาเอก รวมในประเทศ - ตางประเทศ จํานวน 3 ทุน และทุนศึกษา ตอระดับปริญญาเอก ณ ตางประเทศ (สํารอง) จํานวน 3 ทุน พรอมทัง้ จัดกิจกรรมปฐมนิเทศผูร บั ทุนโครงการพัฒนาอาจารย และบุคลากรสําหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต ประจําป 2558 เพื่อใหผูรับทุน ทราบถึงแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรับทุน และพบปะแลกเปลี่ยน ประสบการณ ส ร า งความสั ม พั น ธ อั น ดี ต  อ กั น ในวั น ที่ 3 กรกฎาคม 2558 ณ โรงแรมสงขลาเมอรเมด จังหวัดสงขลา นอกจากนี้ ยังไดกํากับ ดูแล และบริหารสัญญาทุนของ ผูรับทุน จํานวน 235 ราย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

89


Annual Report

อบรม ‘หลักสูตรการพัฒนานักบริหารมหาวิทยาลัย สายวิ ช าการระดั บ สู ง (นบม.)’ รุ  น ที่ 26 ระหว า งวั น ที่ 6 กรกฎาคม - 27 สิงหาคม 2558 เพื่อพัฒนาผูบริหาร ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาในด า นการเสริ ม สร า งวิ สั ย ทั ศ น การพัฒนาความรูแ ละทักษะการจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล และการบริหารจัดการที่ดี ตลอดจนคุณธรรมและจริยธรรม เพือ่ รองรับการเขาสูก ารเปนประชาคมอาเซียนและการแขงขัน ได ใ นเวที โ ลก และการพั ฒ นาเครื อ ข า ยความสั ม พั น ธ ระหวางสถาบันอุดมศึกษาตางๆ ทั้งในและตางประเทศ ตอไป มีผูเขารับการอบรม จํานวน 46 คน จากสถาบัน อุดมศึกษาทั่วประเทศ ทั้งภาครัฐและเอกชน ● อบรม ‘หลั ก สู ต รการบริ ห ารงานอุ ด มศึ ก ษา ระดับสูง’ จัดการอบรมใหกับผูดํารงตําแหนงประเภทบริหาร (สายสนับสนุน) เพื่อพัฒนาผูบริหารระดับสูงสายสนับสนุนให มี ค วามสามารถในการติ ด ตามและวิ เ คราะห บ ริ บ ทของ การบริหารอุดมศึกษา ความทาทายที่มีตอสถาบันอุดมศึกษา และกระบวนงานทีร่ บั ผิดชอบ ใหมคี วามสามารถในการพัฒนา ขอเสนอนโยบายยุทธศาสตรและแนวทางในการบริหารสถาบัน อุดมศึกษา การบริหารงานสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษาตาม หลักธรรมาภิบาล และเพื่อเสริมสรางสัมพันธภาพระหวาง ผู  เ ข า รั บ การฝ ก อบรมอั น จะนํ า ไปสู  ก ารพั ฒ นาเครื อ ข า ย ความรวมมือกันระหวางสถาบันตอไปในอนาคต ดําเนินการ โดยหน ว ยจั ด การอบรมที่ ไ ด รั บ การรั บ รองจากสํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา จํ า นวน 4 หน ว ย คื อ มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร และสถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร มีผูผานการอบรมทั้งสิ้น จํานวน 97 คน ●

พัฒนาบุคลากรอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดําเนินการ จั ด อบรมหลั ก สู ต รการพั ฒ นาผู  บ ริ ห ารสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา จํานวน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรการพัฒนาผูบริหารระดับ สูงมหาวิทยาลัย (นบม.) ซึ่งเริ่มโครงการตั้งแตป 2542 จนถึง ปจจุบัน จํานวน 26 รุน มีผูผานการอบรมทั้งหมด จํานวน 1,224 คน และหลักสูตรการพัฒนาผูบ ริหารสายสนับสนุนและ ชวยวิชาการ (นบก.) รวมทั้งจัดสัมมนาทางวิชาการเพื่อ การสงเสริมและพัฒนาเครือขายผูบริหาร สําหรับในป 2558 สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาไดดําเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากร ดังนี้ ● สั ม มนาวิ ช าการเพื่ อ พั ฒ นาเครื อ ข า ยนั ก บริ ห าร มหาวิทยาลัย (นบม.) เรือ่ ง ‘อุดมศึกษากับการปฏิรปู การศึกษา’ ระหวางวันที่ 5 - 7 กุมภาพันธ 2558 ณ โรงแรมเซ็นทารา คอนเวนชั่นเซ็นเตอร อุดรธานี เพื่อระดมความคิดเห็นและ หาแนวทางนําไปสูการแกไขปญหาการศึกษาที่ถดถอยของ ประเทศ อันจะนําพาใหการศึกษาของไทยพัฒนาขึ้น และ สามารถเขาสูเ วทีการแขงขันในภูมภิ าคอาเซียนได

90

รายงานประจําป 2558


คุณค า/ศักยภาพสูง

พัฒนาแบบทดสอบวัดระดับมาตรฐานความรู สําหรับครูและอาจารย ไทยที่สอนภาษาจีน สํานักคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดําเนินการ พัฒนาแบบทดสอบวัดระดับมาตรฐานความรูสําหรับครูและ อาจารยไทยที่สอนภาษาจีน เพื่อพัฒนาผูสอนภาษาจีนที่มี คุณภาพและมาตรฐานทีเ่ ปนทีย่ อมรับไดในระดับประเทศ ทีม่ ี มาตรฐานเดียวกัน และอาจจะนําไปกําหนดในมาตรฐาน วิชาชีพครูทสี่ อนภาษาจีน ในเรือ่ งของความกาวหนาในวิชาชีพ ครู กระบวนการพั ฒ นาครู การประเมิ น และการเลื่ อ น วิทยฐานะครู และผูบริหารสถานศึกษา การพัฒนาแบบทดสอบฯ จัดทําทุกระดับการศึกษา คื อ ระดั บ ประถมศึ ก ษา ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา และระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ซึ่ ง การทดสอบวั ด ระดั บ มาตรฐานความรู  สําหรับครูและอาจารยไทยที่สอนภาษาจีน มีเนื้อหาแบงเปน 5 เรื่อง คือ (1) ระบบเสียงภาษาจีนกลาง (2) ตัวอักษรจีน (3) คําศัพท สํานวนภาษา และภาษิตคําพังเพยในภาษาจีน (4) ไวยากรณจีนกลาง และ (5) วัฒนธรรมจีนและความรู เรื่องจีน

ทั้งนี้ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได จัดการอบรมเสริมความรูค วามสามารถดานภาษาจีนใหกบั ครู และอาจารยที่สอนภาษาจีนในสถานศึกษา ระหวางเดือน ธันวาคม 2557 - เดือนสิงหาคม 2558 โดยกําหนดเนื้อหา สําคัญที่ครูและอาจารยตองมีความรูความเขาใจ ครบทั้ง 5 เรื่อง และผูรับการอบรมครบทั้ง 5 ครั้ง จะไดสิทธิ์เขารับ การทดสอบวัดระดับความรูภาษาจีน ในเดือนตุลาคม 2558 สําหรับผลการทดสอบจะไดนําไปพิจารณาหาคาความเที่ยง และความตรงของขอสอบเพื่อจัดทําเปนขอสอบมาตรฐาน ตอไป ขณะนี้ ไดดาํ เนินการพัฒนาแบบทดสอบฯ ดังกลาว แลว 2 ชุด และอยูระหวางดําเนินการจัดสอบในวันที่ 31 ตุลาคม 2558 สําหรับปงบประมาณ 2559 จะไดดําเนินการ พัฒนาแบบทดสอบฯ เพือ่ ใหไดขอ สอบทีพ่ อเพียงทีจ่ ะนํามาใช ในการทดสอบวัดระดับครูและอาจารยผูสอนภาษาจีนไทย ที่สอบภาษาจีนตอไป

เพิ่มทักษะในการจัดการเรียนการสอน ด านการเขียนแผนการจัดการเรียนการสอน และเอกสารประกอบการสอน พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 27 กําหนดใหสงเสริม สนับสนุนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถาน ศึกษาใหมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง และมาตรา 54 กําหนด ใหขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีวทิ ยฐานะใดและ การเลือ่ นเปนวิทยฐานะใด ตองเปนไปตามมาตรฐานวิทยฐานะ ตามมาตรา 42 ซึ่งผานการประเมิน ทั้งนี้ ใหคํานึงถึงความ ประพฤติดานวินัย คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ประสบการณ คุณภาพการปฏิบัติงาน ความชํานาญ ความ เชี่ยวชาญ ผลงานที่เกิดจากการปฏิบตั ิหนาทีใ่ นดานการเรียน การสอนตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.ค.ศ. กําหนด สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยสํานัก บริหารงานวิทยาลัยชุมชนเดิม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ เพิม่ ทักษะในการจัดการเรียนการสอน ดานการเขียนแผนการ

จัดการเรียนการสอน และเอกสารประกอบการสอน ระหวาง วันที่ 16 - 18 มีนาคม 2558 ณ โรงแรมตรัง เพื่อพัฒนา ขาราชการครู ใหสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน และใหสามารถจัดการเรียนการ สอนใหผูเรียนมีคุณภาพเพิ่มขึ้น พรอมทั้งใหสามารถผลิต เอกสารประกอบการสอนที่สะทอนบริบทของวิทยาลัยชุมชน อยางแทจริง โดยแบงเปน 2 กลุม คือ ขาราชการครู ที่มี วิทยฐานะครูชํานาญการ ฝกทักษะการเขียนแผนการจัดการ เรียนการสอน และขาราชการครู ทีม่ วี ทิ ยฐานะครูชาํ นาญการ พิเศษ ฝกทักษะการเขียนเอกสารประกอบการสอน ผลที่ได รับคือ ขาราชการครูสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน สามารถจัดการเรียนการสอน ใหผเู รียนมีคณ ุ ภาพเพิม่ ขึน้ และสามารถผลิตเอกสารประกอบ การสอนที่สะทอนบริบทของวิทยาลัยชุมชน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

91


Annual Report

ASEAN International Mobility for Students (AIMS) Programme

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมกับศูนย ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตวาดวยการอุดมศึกษาและ การพัฒนา (SEAMEO RIHED) ดําเนินโครงการ ‘ASEAN International Mobility for Students (AIMS) Programme’ ตั้งแตป พ.ศ. 2553 เพื่อผลักดันใหเกิดการแลกเปลี่ยน นั ก ศึ ก ษาในภู มิ ภ าคอาเซี ย น สนองตอบการรวมตั ว เป น ประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558 โดยใหเปนสวนหนึ่งที่จะ ชวยขับเคลือ่ นการเกิดประชาคมอาเซียนทีเ่ ขมแข็ง เปนกลไก สงเสริมการถายโอนหนวยกิตระหวางกัน และผลักดันใหไทย เปนศูนยกลางทางการศึกษาในภูมภิ าค โดยมีแผนขยายกรอบ ในการแลกเปลี่ยนใหครบ 10 ประเทศสมาชิกอาเซียน และ 10 สาขาวิชา ภายในป พ.ศ. 2558 ซึ่งปจจุบันมีสถาบัน อุดมศึกษาเขารวมเปนสมาชิกโครงการ จํานวน 61 แหง จาก 7 ประเทศสมาชิก (มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไทย เวียดนาม ฟลิปปนส บรูไนดารุสซาลาม และญี่ปุน) ดําเนินกิจกรรม แลกเปลี่ยนใน 7 สาขาวิชา (ภาษาและวัฒนธรรม ธุรกิจ ระหวางประเทศ การเกษตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทางอาหาร การจั ด การการโรงแรมและการท อ งเที่ ย ว วิศวกรรมศาสตร และเศรษฐศาสตร) และมีนักศึกษาเขารวม โครงการกวา 700 คน ในปงบประมาณ 2558 สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาใหการสนับสนุนงบประมาณในการสงนักศึกษา (outbound) ของสถาบันอุดมศึกษาไทย 7 แหง เดินทาง

92

รายงานประจําป 2558

ไปแลกเปลีย่ น ณ ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟลิปปนส บรูไนดารุสซาลาม และญี่ปุน จํานวน 133 คน และรั บ นั ก ศึ ก ษา (inbound) จากประเทศมาเลเซี ย อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟลิปปนส บรูไนดารุสซาลาม และ ญี่ปุน เขารวมในโครงการ AIMS จํานวน 114 คน เมื่อเดือนธันวาคม 2557 กระทรวงศึกษาธิการ บรู ไ นดารุ ส ซาลามร ว มกั บ Universiti Brunei Darussalam เปนเจาภาพจัดการประชุมประเมินผล โครงการ AIMS (Review Meeting of AIMS Programme) ครั้งที่ 8 ณ กรุงบันดารเสรีเบกาวัน บรูไน ดารุสซาลาม โดยที่ประชุมมีมติเห็นชอบขยายสาขาวิชา ในการแลกเปลีย่ นเพิม่ เติม จํานวน 3 สาขาวิชา ไดแก (1) Environmental Science and Management (2) Biodiversity และ (3) Marine Science และรับทราบ การเขารวมเปนสถาบันอุดมศึกษาสมาชิกโครงการ AIMS ของ InstitutTeknologi Brunei (ITB) การประชุมประเมินผลโครงการ AIMS เปนกลไก ในการบริหารโครงการ โดยประเทศสมาชิกจะหมุนเวียนกัน เปนเจาภาพจัดการประชุมดังกลาว ซึ่งประเทศญี่ปุนจะเปน เจาภาพจัดการประชุม ครั้งที่ 9 ในเดือนตุลาคม 2558 และ ประเทศมาเลเซียรับเปนเจาภาพจัดการประชุม ครั้งที่ 10 ในป 2559 ซึ่งเปนไปตามขอเสนอของที่ประชุม ครั้งที่ 7 ที่ เ ห็ น ชอบให ป รั บ ลดจํ า นวนการจั ด ประชุ ม ประเมิ น ผล โครงการเหลือปละ 1 ครั้ง


คุณค า/ศักยภาพสูง

แลกเปลี่ยนนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาไทยกับต างประเทศ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สนับสนุน งบประมาณดําเนินโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาของสถาบัน อุดมศึกษาไทยกับตางประเทศ ตั้งแตปงบประมาณ 2538 โดยเปนกิจกรรมหนึ่งตามพันธกิจการเปนสมาชิกโครงการ แลกเปลีย่ นนักศึกษาและบุคลากรในภูมภิ าคเอเชียและแปซิฟก (University Mobility in Asia and the Pacific: UMAP) เพือ่ สนับสนุนการดําเนินงานตามขอตกลงทางวิชาการระหวาง สถาบันอุดมศึกษาไทยกับสถาบันอุดมศึกษาตางประเทศใน การแลกเปลี่ยนนักศึกษา และสงเสริมใหเกิดการยอมรับการ ถายโอนหนวยกิตระหวางสถาบันอุดมศึกษาไทยและสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาต า งประเทศ ซึ่ ง นํ า ไปสู  ก ารรั บ รองวิ ท ยฐานะ (accreditation) ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาไทยในระดั บ นานาชาติ ร วมทั้ ง ส ง เสริม ใหนั ก ศึ ก ษาไทยมีโ ลกทัศ น แ ละ สมรรถนะสากล นักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาไทยสามารถสมัคร ไปทํากิจกรรมแลกเปลีย่ นกับสถาบันอุดมศึกษาในทุกประเทศ ทั่วโลก โดยยกเวนกลุมประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปและ

กลุมประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษามีโครงการสนับสนุนการแลกเปลี่ยนนักศึกษา กับสถาบันอุดมศึกษาในกลุม ประเทศดังกลาวภายใตโครงการ อื่นอยูแลว ในปงบประมาณ 2558 สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาสนับสนุนงบประมาณใหนักศึกษาที่ผานการ พิจารณาคัดเลือกจากคณะกรรมการดําเนินงานโครงการ แลกเปลี่ ย นนั ก ศึ ก ษาของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาไทยกั บ ตางประเทศ จํานวน 16 คน แบงเปน นักศึกษาระดับปริญญา ตรี 14 คน และนักศึกษาปริญญาโท 2 คน เดินทางไปศึกษา/ ทําวิจัย ณ สถาบันอุดมศึกษาในประเทศแคนาดา รัสเซีย สหรัฐอเมริกา เกาหลี ญี่ปุน จีน และไตหวัน เปนเวลา 1 ภาคการศึ ก ษา โดยตั้ ง แต ป  ง บประมาณ 2538-2558 สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาได ส นั บ สนุ น ให นักศึกษาและบุคลากร รวมจํานวน 1,299 คน เดินทางไป เข า ร ว มโครงการใน 37 ประเทศ รวมงบประมาณที่ ใ ช ในการสนับสนุน จํานวน 184 ลานบาท

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

93


Annual Report

ความร วมมือกับประเทศออสเตรเลีย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีความรวมมือ กับสถานเอกอัครราชทูตออสเตรเลียอยางใกลชิด เพื่อพัฒนา ความรวมมือดานอุดมศึกษากับประเทศออสเตรเลียผานกลไก ความรวมมือดานการศึกษา โดยการจัดประชุมคณะทํางาน ร ว มด า นการศึ ก ษาไทย-ออสเตรเลี ย (Thailand and Australia Joint Working Group on Education and Training-JWG) ที่กําหนดจัดขึ้นทุก 2 ป เพื่อติดตามความ คืบหนาในการดําเนินกิจกรรมและโครงการของทั้งสองฝาย รวมทั้งหารือแนวทางในการริเริ่มโครงการความรวมมือใหมๆ โดยประเทศไทยและประเทศออสเตรเลียผลัดกันเปนเจาภาพ นอกจากนี้ ยังมีการจัดกิจกรรมความรวมมือทางวิชาการและ การแลกเปลี่ยนบุคลากรและนักศึกษาระหวางกัน โดยรัฐบาล ออสเตรเลียไดดําเนินโครงการ New Colombo Plan เพื่อ สนับสนุนใหนักศึกษาออสเตรเลียไปศึกษา/วิจัย/ฝกงานใน ประเทศแถบอินโดแปซิฟก ซึง่ รวมถึงประเทศไทยดวย และใน ป พ.ศ. 2558 มีนักศึกษาออสเตรเลีย จํานวน 1 คน ไดรับ คัดเลือกใหมาเขารวมโครงการในระยะยาว (ระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา - 1 ป) ณ มหาวิทยาลัยมหิดล และมีนกั ศึกษา ออสเตรเลียจํานวน 160 คน ที่ไดรับคัดเลือกมาเขารวม โครงการในระยะสั้น (ระยะเวลา 1 สัปดาห - 6 เดือน) ณ สถาบันอุดมศึกษาไทย

94

รายงานประจําป 2558

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดการ ประชุ ม เพื่ อ เตรี ย มความพร อ มในการรั บ นั ก ศึ ก ษาจาก ออสเตรเลียภายใตโครงการ New Colombo Plan เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2558 ณ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อใหขอมูลเกี่ยวกับโครงการ New Colombo Plan และ เตรียมความพรอมใหกับสถาบันอุดมศึกษาไทยในการรับ นักศึกษาออสเตรเลียภายใตโครงการ New Colombo Plan ประจําป พ.ศ. 2559 พรอมทั้งไดจัดทําหนังสือถึงสถาบัน อุดมศึกษาออสเตรเลียเพื่อประชาสัมพันธสถาบันอุดมศึกษา ไทยใหสถาบันอุดมศึกษาออสเตรเลียทราบและเชื่อมั่นใน คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษาไทย รวมทั้งสนใจสงนักศึกษามาศึกษา/วิจัย/ฝกงานในสถาบัน อุดมศึกษาไทย โดยเฉพาะภายใตโครงการ New Colombo Plan นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารหารื อ ระหว า งผู  บ ริ ห ารของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและผูบริหารของ สถาบันอุดมศึกษาออสเตรเลีย เกี่ยวกับความรวมมือระหวาง สถาบันอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย และบทบาทของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในการสนับสนุนการ สรางความรวมมือดังกลาว เชน การหารือกับผูบริหารจาก Crawford School, the Australian National University และ Edith Cowan University ประเทศออสเตรเลีย


คุณค า/ศักยภาพสูง

ความร วมมือด านอุดมศึกษา และการวิจัยระหว างไทยและฝรั่งเศส สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาร ว มกั บ Ministry of National Education, Higher Education and Research ของฝรัง่ เศส ดําเนินโครงการวิจยั รวมภายใตความ รวมมือดานอุดมศึกษาและการวิจัยระหวางไทยและฝรั่งเศส ตั้งแตป 2542 เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษยในสาขาการวิจัย ที่กําหนดรวมกัน และเพื่อสงเสริมความรวมมือดานการวิจัย ภายใตกรอบการทําวิจัยรวมในลักษณะเครือขายระหวาง สถาบันอุดมศึกษาไทยและสถาบันอุดมศึกษาของฝรัง่ เศส และ มีคณะกรรมการรวมไทย-ฝรั่งเศส เปนกลไกในการพิจารณา คัดเลือกโครงการ สําหรับการดําเนินงานในป 2558 ไดมีการประชุม คณะกรรมการรวมไทยและฝรัง่ เศส เมือ่ วันที่ 3 ธันวาคม 2557 ณ โรงแรมอมารี วอเตอร เ กท ร ว มกั บ ผู  แ ทนจากสถาน เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจําประเทศไทยและ Ministry of National Education, Higher Education and Research ของฝรั่งเศส เพื่อพิจารณาคัดเลือกขอเสนอโครงการวิจัยรวม ภายใตความรวมมือดานอุดมศึกษาและการวิจัยระหวางไทย และฝรัง่ เศส ประจําป 2558 - 2559 โดยมีโครงการของสถาบัน อุดมศึกษาไทย 7 แหง ที่ไดรับคัดเลือกรวม 10 โครงการ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

95


Annual Report

ความร วมมือทางวิชาการภายใต ความร วมมือทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและศิลปะระหว างไทยกับสาธารณรัฐออสเตรีย ความรวมมือทางวิชาการภายใตความรวมมือทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และศิลปะ ระหวางไทยกับออสเตรีย เริ่มดําเนินการตั้งแตป พ.ศ. 2529 เพื่อสงเสริมใหเกิดการแลกเปลี่ยนบุคลากรระหวางสถาบันอุดมศึกษาไทยและออสเตรีย ซึ่งมุงเนนทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในสาขาที่จะเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศ ในปงบประมาณ 2558 คณะกรรมการดําเนินงานทุนความรวมมือระหวางไทยกับออสเตรีย ไดคัดเลือกบุคลากรและ นักศึกษาไปศึกษาและทําวิจัย ณ สถาบันอุดมศึกษาออสเตรีย ดังนี้ • ทุน Technology Grants ซึ่งเปนทุนปริญญาเอก ทุนวิจัยหลังปริญญาเอก และทุนวิจัยสําหรับนักศึกษาปริญญาเอก จํานวน 9 ทุน • ทุนความรวมมือภายใตกรอบ ASEA-UNINET • ทุนแลกเปลี่ยนคณาจารยระหวางสถาบันอุดมศึกษาไทยกับออสเตรีย จํานวน 12 ทุน • โครงการเชิญศาสตราจารยอาคันตุกะชาวออสเตรีย จํานวน 2 ทุน • ทุนฝกอบรมดานดุริยางคศิลป (คลาสสิก) จํานวน 4 ทุน นอกจากนี้ ยังมีทุนแลกเปลี่ยนนักวิทยาศาสตรระหวางมหาวิทยาลัยไทยกับออสเตรีย อีก 1 ประเภท ที่สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดดําเนินการรวมกับสาธารณรัฐออสเตรีย

96

รายงานประจําป 2558


คุณค า/ศักยภาพสูง

ส งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและภาษาของประเทศเพื่อนบ าน โครงการสงเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาของประเทศเพื่อนบาน มีวัตถุประสงคหลักเพื่อ สงเสริมสถาบันอุดมศึกษาของไทยในการพัฒนาการเรียน การสอนภาษาอังกฤษและภาษาของประเทศเพื่อนบานใหมี ประสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น และมี ผ ลในทางปฏิ บั ติ จ ริ ง และ สงเสริมใหอาจารย บุคลากร และนักศึกษาของสถาบัน อุดมศึกษาไทยที่เขารวมโครงการไดพัฒนาทักษะการสื่อสาร ภาษาอังกฤษและภาษาของประเทศเพื่อนบานใหอยูในระดับ ที่ ใ ชใ นการทํา งานไดเ ปน อยา งดี และนํา ไปสู ก ารพัฒ นา ศั ก ยภาพของบั ณ ฑิ ต ไทยให มี ค วามสามารถด า นภาษาที่ ตอบสนองความตองการของตลาดแรงงานและการเคลือ่ นยาย กํ า ลั ง คนระหว า งสมาชิ ก ของประชาคมอาเซี ย น รวมทั้ ง เสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ในป ง บประมาณ 2558 คณะกรรมการบริ ห าร โครงการสงเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและภาษาของ ประเทศเพือ่ นบาน เนนการจัดกิจกรรมในเชิงนโยบาย เพือ่ ให สถาบันอุดมศึกษาสามารถนําไปตอยอดพัฒนาการเรียนการ สอน และมี ม ติ ใ ห ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญ ศักยภาพ และความพรอมในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

และภาษาของประเทศเพื่อนบาน (ภาษาเขมร ภาษาพมา ภาษาลาว ภาษาเวียดนาม และภาษามาเลเซีย/อินโดนีเซีย) เปนสถาบันหลักในการพัฒนาและจัดทําแบบทดสอบวัดระดับ ความรู ความสามารถในการใชภาษาและฝกอบรมเทคนิค และวิธีการสอนภาษา โดยไดรับความรวมมือจากสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาในการจั ด กิ จ กรรม ดั ง นี้ (1) มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม - ภาษาเขมร (2) มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาษาพมา (3) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ - ภาษาลาว (4) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี - ภาษาเวียดนาม และ (5) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ - ภาษามลายู นอกจากนี้ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ยังไดรับความรวมมือจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในการจัด ฝกอบรมเพือ่ พัฒนาการคิดและการสรางการสอนภาษาอังกฤษ แนวใหมในศตวรรษที่ 21 ใหแกอาจารยผูสอนภาษาอังกฤษ ในระดับอุดมศึกษา และมหาวิทยาลัยลัยศรีปทุมจัดกิจกรรม สรางความตระหนักในความสําคัญของภาษาอังกฤษและ ภาษาของประเทศเพื่อนบานใหแกนักศึกษา โดยจัดแขงขัน รองเพลงภาษาอังกฤษและภาษาของประเทศเพื่อนบาน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

97


Annual Report

ส งเสริมและพัฒนาศักยภาพทักษะการใช ภาษาอังกฤษ ของผู รับทุนโครงการ 1 อําเภอ 1 ทุน โครงการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพทักษะการใช ภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน ของผูรับทุนโครงการ 1 อําเภอ 1 ทุน ที่ศึกษาตอในประเทศ เปนโครงการทีส่ าํ นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดทําขึน้ เพื่อเปดโอกาสใหนักเรียนทุนไดพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ รวมทั้ ง พั ฒ นาศั ก ยภาพในการเตรี ย มความพร อ มเข า สู  ประชาคมอาเซียน โดยการเปดโลกทัศนการเรียนรูส งั คมแบบ พหุวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่แตกตางกันของ ประเทศเพื่อนบานในอาเซียน ผานกิจกรรมการเรียนรูตางๆ ที่ผูเขารวมโครงการเปนศูนยกลาง ทั้งในรูปแบบรายบุคคล และการทํางานเปนกลุม เพื่อเปนประโยชนในการพัฒนา ตัวเองใหเปนบัณฑิตที่พรอมจะเขาสูตลาดแรงงานวิชาชีพใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอนาคตอันใกลนี้ การฝกอบรมโครงการดังกลาว เปนความรวมมือใน การดําเนินโครงการรวมกันระหวางสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา สถาบันภาษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ สํานักงานเลขานุการเครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน ซึ่งมี นักเรียนทุนโครงการ 1 อําเภอ 1 ทุน ที่ศึกษาตอในประเทศ เขารวมโครงการจํานวนทั้งสิ้น 167 คน ทั้งนี้ กําหนดใหมีการ จัดฝกอบรมดังกลาว ในระหวางวันที่ 22 มิถุนายน - 26 กรกฎาคม 2558 แบงเปน 2 โครงการ ดังนี้ โครงการค า ยภาษาอั ง กฤษ (English Camp) ดําเนินการโดยสถาบันภาษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อ สงเสริมและพัฒนาศักยภาพทางดานทักษะภาษาอังกฤษใหแก ผูรับทุนโครงการ 1 อําเภอ 1 ทุน ที่ศึกษาตอในประเทศ โดยเนนหลักสูตรภาษาอังกฤษที่จัดขึ้นเปนพิเศษ รวมถึง

98

รายงานประจําป 2558

การทํากิจกรรมตางๆ สําหรับนักศึกษาในชั้นเรียนและนอก ชั้นเรียน ซึ่งสรางบรรยากาศของการเรียนภาษาอังกฤษใน สถานการณตา งๆ ทัง้ นี้ ใหความสําคัญในการใชภาษาอังกฤษ สื่อสารตลอดเวลาหรือเทาที่จะควบคุมได เพื่อเปดโอกาสให ผูเรียนไดฝกทักษะตางๆ ในการใชภาษา เพื่อสรางมิตรภาพ กั บ ผู  เ รี ย นจากพื้ น ที่ ต  า งๆ ของประเทศ และเน น การ เสริมขอมูลทางวัฒนธรรมของเจาของภาษาอังกฤษ รวมถึง การปฏิบัติตัวในกลุมของผูเรียน โครงการคายเยาวชนเปดโลกทัศนและเตรียมความ พรอมสูป ระชาคมอาเซียน ดําเนินการโดยสํานักงานเลขานุการ เครื อ ข า ยมหาวิ ท ยาลั ย อาเซี ย เพื่ อ ให เ ยาวชนผู  เ ข า ร ว ม โครงการไดรบั ความรูแ ละประสบการณตรงเกีย่ วกับอัตลักษณ วิถีชีวิต และมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบานใน อาเซียน รวมทั้งปจจัย โอกาส และผลกระทบของการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และเตรียมความพรอมและ พัฒนาขีดความสามารถของตน เพือ่ รองรับการเปดประชาคม อาเซี ย น ผ า นกระบวนการและกิ จ กรรมการเรี ย นรู  เ ชิ ง สรางสรรค ที่เยาวชนผูเขารวมโครงการเองเปนศูนยกลาง (Active Learning Technique)


คุณค า/ศักยภาพสูง

พัฒนามาตรฐานการเรียนการสอนภาษาไทยในสถาบันอุดมศึกษาของกลุ มประเทศอาเซียนบวกสาม สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมกับ มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดการประชุมระหวางประเทศเพื่อ พั ฒ นามาตรฐานการเรี ย นการสอนภาษาไทยในสถาบั น อุดมศึกษาของกลุม ประเทศอาเซียนบวกสาม เพือ่ แลกเปลีย่ น ประสบการณการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย การศึกษาตอ และการเข า สู  อ าชี พ ของผู  เ รี ย นและผู  ส อนภาษาไทยจาก กลุมประเทศอาเซียนบวกสาม พัฒนามาตรฐานและรูปแบบ การสอนภาษาไทยที่เหมาะสมกับผูเรียนของประเทศอาเซียน

บวกสาม และสรางเครือขายผูสอนภาษาไทยในกลุมประเทศ อาเซี ย นบวกสาม ผู  เ ข า ร ว มการประชุ ม ประกอบด ว ย คณาจารยที่สอนภาษาไทยจากสถาบันอุดมศึกษาในกลุม ประเทศอาเซียนบวกสาม อาจารยและผูทรงคุณวุฒิดานการ เรียนการสอนภาษาไทยจากสถาบันอุดมศึกษาของไทยและ ผูประกอบการไทยที่ตองการใชบัณฑิตที่มีทักษะภาษาไทย จากสถาบันอุดมศึกษาในกลุมประเทศอาเซียนบวกสาม

‘เมิลขแมร แลไทย’ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร วมกับ ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร และ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป นเจ าภาพจัดโครงการ ‘เมิลขแมร แลไทย’ บนเส นทางการศึกษา 65 ป แห งความสัมพันธ ไทยและกัมพูชา ระหว างวันที่ 4 - 8 สิงหาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรูแ ละเสริมสร างความสัมพันธ ดา นการศึกษาและส งเสริมสร างการองค ความรูด า นการ ศึกษาวัฒนธรรมไทย - เขมร โดยมีนิสิตนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาไทยและกัมพูชาเข าร วมโครงการ ประเทศละ 50 คน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

99


Annual Report

การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู กับการทํางาน การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรูกับการ ทํางาน (Work - integrated Learning : WIL) เปนการเรียน รูเชิงประสบการณที่ชวยใหนักศึกษามีโอกาสในการประยุกต ความรู ทักษะการทํางาน และทักษะเฉพาะที่สัมพันธกับ วิ ช าชี พ ได รู  จั ก ชี วิ ต ที่ แ ท จ ริ ง ของการทํ า งานก อ นสํ า เร็ จ การศึ ก ษา นอกจากนี้ องค ก รผู  ใ ช บั ณ ฑิ ต และสถาบั น อุดมศึกษายังไดรับประโยชนในเชิงความรวมมือและพัฒนา ปรับปรุงงานและหลักสูตร ซึ่งสหกิจศึกษาเปนหนึ่งในรูปแบบ ของการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรูกับการทํางาน โดยสหกิจศึกษามีลักษณะเฉพาะในการจัดการศึกษาที่เนน ประสบการณ จ ริ ง ในแก นั ก ศึ ก ษาด ว ยการปฏิ บั ติ ง านด า น วิชาชีพ ณ สถานประกอบการ เปนระยะเวลาไมนอยกวา 16 สั ปดาห ซึ่ งทํ าใหนักศึ กษาเพิ่มประสบการณ วิชาชี พ ความสามารถ ศักยภาพใหตรงตามความตองการของตลาด แรงงาน ดังนั้น สหกิจศึกษาจึงเปนแนวทางที่สงเสริมการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแขงขันทางการศึกษาของประเทศ และชวยยกระดับคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาใหเปนที่ ยอมรับในตลาดแรงงานในประเทศ และตางประเทศ ในป 2558 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได ดํ า เนิ น การส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น โครงการส ง เสริ ม การจั ด การศึ ก ษาเชิ ง บู ร ณาการการเรี ย นรู  กั บ การทํ า งาน โดยสงเสริมและสนับสนุนใหมีสถาบันอุดมศึกษา นักศึกษา

100

รายงานประจําป 2558

และองคกรผูใชบัณฑิตเขารวมโครงการสหกิจศึกษาเพิ่มขึ้น อยางมีคุณภาพและยั่งยืน ซึ่งปจจุบันมีสถาบันอุดมศึกษา ที่ดําเนินการสหกิจศึกษา จํานวน 117 แหง มีนักศึกษาสหกิจ ศึกษา จํานวน 38,315 คน มีองคกรผูใชบัณฑิต/สถาน ประกอบการที่เขารวมโครงการสหกิจศึกษา จํานวน 15,429 พรอมทั้งทําความรวมมือกับสหภาพยุโรปภายใตกรอบ PDSF ระหว า งประเทศไทยกั บ คณะผู  แ ทนสหภาพยุ โ รปประจํ า ประเทศไทย และประเทศไทยกั บ อาเซี ย น ในการสร า ง การยอบรับมาตรฐานระหวางกันและการแลกเปลีย่ นบุคลากร และนักศึกษาสหกิจศึกษา นอกจากนี้ ยังไดจดั วันสหกิจศึกษา ไทย ครั้งที่ 6 เพื่อใหทุกภาคสวนที่เกี่ยวของกับการจัดการ ศึกษาที่บูรณาการการเรียนรูกับการทํางาน (WIL) ไดรับ ความรูความเขาใจ ไดรับทราบความกาวหนาและพัฒนาการ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน รวมทั้งไดตระหนักถึง ความสําคัญของ WIL ตลอดจนรวมกันพัฒนาใหมคี วามยัง่ ยืน และมี แ สดงนิ ท รรศการ การยกย อ งเชิ ด ชู เ กี ย รติ ใ ห กั บ หนวยงาน และบุคลากรที่ทําคุณประโยชนแกการจัดการ ศึกษาที่บูรณาการการเรียนรูกับการทํางาน (WIL) และได ทําการลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ เพื่อเชื่อมโยง ภาคการศึกษากับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเขาดวยกัน ระหวาง ‘ภาคการศึกษา’ กับ ‘ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม’


คุณค า/ศักยภาพสูง

หน วยบ มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เริ่มดําเนิน โครงการจัดตั้งหนวยบมเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา (University Business Incubator : UBI) ชวงปลายป 2547 โดยมีวัตถุประสงคใหหนวย UBI ทําหนาที่บมเพาะธุรกิจให เกิดผูประกอบการใหม (Entrepreneurs) พัฒนาสูบริษัท จัดตั้งใหม (Start up Companies) และเสริมสรางศักยภาพ ให เ ข ม แข็ ง ทั้ ง ด า น Business Plan & Technology Development of Product จากสภาพแวดลอมทางวิชาการ ในสถาบันอุดมศึกษา ยกระดับเปนบริษัทเต็มรูปในอนาคต (Spin off Companies) รวมทั้งเปนชองทางนําผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ และนวัตกรรมที่สรางสรรคโดยคณาจารยใน สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาสูกระบวนการใชงานเชิงพาณิชย สรางวงจรรายได ผลประโยชนกลับสูสถาบันอุดมศึกษา เพื่อสรางผลสัมฤทธิ์ (Result based) สูเปาหมายการพัฒนา ขีดความสามารถเชิงการแขงขันของประเทศโดยใชความรู เปนฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดให ภารกิจของโครงการ UBI บูรณาการเชื่อมโยงกับเครือขาย

อุดมศึกษาเชิงพื้นที่ 9 ภูมิภาค และปจจุบันมีหนวย UBI จํานวน 72 แหง ทั่วประเทศ ในป พ.ศ. 2557 - 2558 หนวย UBI ไดดาํ เนินงานบมเพาะผูป ระกอบการในระดับ Start up Companies จํานวน 120 ธุรกิจ และบมเพาะผูประกอบ การในระดับ Spin off Companies จํานวน 69 บริษัท พรอมทั้งสนับสนุนใหสถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาที่บูรณา การการเรียนรูกับการทํางาน เพื่อเปนแนวทางการพัฒนา นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาให มี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค ได เ รี ย นรู  ประสบการณทํางานในสถานที่จริง ตลอดจนมีทักษะในการ ประกอบอาชี พ ตรงตามความต อ งการของผู  ใ ช บั ณ ฑิ ต โดยจัดนักศึกษาสหกิจศึกษาเขาปฏิบัติงานในสถานประกอบ การที่เขารับการบมเพาะจากหนวย UBI จํานวนไมนอยกวา 150 คน นอกจากนี้ ยังสนับสนุนใหหนวย UBI ดําเนินโครงการ พัฒนาและสรางผูประกอบการ โดยใชความรูในสถาบัน อุดมศึกษาเปนฐาน หลักสูตรการอบรมทักษะการประกอบ อาชีพระยะสั้นเบื้องตนเชิงสรางสรรคใหกับนักศึกษาและ ประชาชน จํานวน 2,480 ราย

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

101


Annual Report

สร างบัณฑิตไทย สู ประชาคมโลก สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาจั ด ให มี การประชุมสัมมนาวิชาการดานพัฒนานักศึกษาระดับชาติ เพื่อเปดโอกาสใหผูบริหาร ผูปฏิบัติงานดานกิจการนักศึกษา ตลอดจนนักศึกษา ไดรบั ทราบและแลกเปลีย่ นขอมูล ขาวสาร ความรู  ด  า นการพั ฒ นานั ก ศึ ก ษา และเป น เวที ใ นการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณในการปฏิบัติงาน รวมทั้ง สรางเครือขายในการทํางาน เพื่อนําไปใชในการ พัฒนางานดานพัฒนานักศึกษาใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

102

รายงานประจําป 2558

สํ า หรั บ ป 2558 สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ไดจัดการประชุมสัมมนาวิชาการดานพัฒนา นักศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 5 ‘สรางบัณฑิตไทย สูประชาคม โลก’ ระหวางวันที่ 13 - 15 กรกฎาคม 2558 ณ โรงแรม เซ็นทารา คอนเวนชั่นเซ็นเตอร จังหวัดอุดรธานี และศึกษา ดูงาน ณ โครงการบริหารจัดการนํ้าอยางยั่งยืน อางเก็บนํ้า หวยคลาย อันเนื่องมาจากพระราชดําริ โครงการปดทอง หลังพระบานโคกลาม - บานแสงอราม อําเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูเขารวมโครงการ ได รั บ ข อ มู ล ข า วสารและความรู  ใ หม ใ นการพั ฒ นา นิสิตนักศึกษา และเพื่อใหผูเขารวมโครงการไดมีโอกาส แลกเปลี่ยนเรียนรูแนวทางการพัฒนา ตลอดจนแนวทาง การแกปญหาสําหรับการดําเนินงานดานกิจการนักศึกษา อยางมีประสิทธิภาพ


คุณค า/ศักยภาพสูง

ค ายแลกเปลี่ยนเรียนรู สังคม พหุวัฒนธรรม สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดดําเนิน โครงการคายแลกเปลีย่ นเรียนรูส งั คมพหุวฒ ั นธรรม ตัง้ แตป 2550 เพือ่ เสริมสรางความรูค วามเขาใจในประเด็นเรือ่ งสังคมพหุลกั ษณ พหุวัฒนธรรมของประเทศไทย เพื่อใหคนในประเทศโดยเฉพาะ นิสิตนักศึกษาตระหนักวา ประเทศไทยประกอบดวยชนหลาก เผาพันธุ หลากภาษาทองถิน่ หลากศาสนา หลากวัฒนธรรม และ หลากความเชื่อ การอยูรวมกันในสังคมพหุลักษณพหุวัฒนธรรม ประชาชนต อ งเข า ใจความแตกต า ง ยอมรั บ ความแตกต า ง ตลอดจนจัดการความขัดแยงโดยสันติวิธี ซึ่งมีตัวอยางชุมชน พหุวัฒนธรรมทั่วประเทศที่เปนตนแบบได เพื่อขยายผลการดําเนินงานใหเปนไปอยางตอเนื่อง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารวมกับสถาบันอุดมศึกษา จัดโครงการคายแลกเปลี่ยนเรียนรูสังคมพหุวัฒนธรรม ป 2558 รวม 3 คาย ใน 3 ภูมิภาค ดังนี้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมกับ มหาวิทยาลัยขอนแกน จัดโครงการระหวางวันที่ 16 - 21 เมษายน 2558 ณ มหาวิทยาลัยขอนแกน จังหวัดขอนแกน พื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดหนองคาย ภาคเหนือ รวมกับ มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดโครงการระหวางวันที่ 2 - 7 มิถุนายน 2558 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก และอําเภอเขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ ภาคกลาง รวมกับ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต จัดโครงการระหวางวันที่ 1 - 5 สิงหาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัย เกษมบัณฑิต พื้นที่กรุงเทพมหานคร โรงแรมริเวอรวิวเพลส และพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีผูเขารวมโครงการ จํานวนรวม 300 คน แบงเปนนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต 150 คน และนักศึกษาในภูมิภาค จํานวน 150 คน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

103


Annual Report

ค ายอาเซียน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตระหนัก และเห็นความสําคัญในการขับเคลื่อนการเรียนรูประชาคม อาเซียนสูสถาบันอุดมศึกษา จึงจัดโครงการคายอาเซียน เพื่อใหนักศึกษาเกิดความตระหนัก และเสริมสรางความรู ความเข า ใจ ผ า นกระบวนการจั ด กิ จ กรรมที่ ห ลากหลาย เพื่อสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ตลอดจนการสราง เครื อ ข า ยและความสั ม พั น ธ อั น ดี ต  อ กั น ของเยาวชนใน กลุมอาเซียน โครงการคายอาเซียนเปนรูปแบบของกิจกรรม การเรียนรูนอกหองเรียนที่เอื้อตอการจัดกระบวนการเรียนรู ที่แตกตางจากการเรียนการสอนในหองเรียน คือ เปลี่ยนวิธี การรับรู เปลี่ยนสถานที่เรียนรู เปลี่ยนบริบทของการเรียนรู จากการเรียนรูในตําราเรียนไปสูการเรียนรูจากสถานการณ ประสบการณจริง และที่สําคัญสงเสริมใหนักศึกษาไดลงมือ ปฏิ บั ติ ไ ด ด  ว ยตนเอง มี ก ระบวนการคิ ด วิ เ คราะห การ แลกเปลี่ยนประสบการณรวมกับเพื่อนๆ เปนหมูคณะ และ สามารถเชื่อมโยงองคความรู ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่จะกระตุน ใหนักศึกษา เกิดการเรียนรูไดมากยิ่งขึ้น

104

รายงานประจําป 2558

ในป 2558 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมกับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จัดโครงการคายอาเซียน ระหวางวันที่ 18 - 23 กันยายน 2558 ณ มหาวิทยาลัย อั ส สั ม ชั ญ วิท ยาเขตสุ ว รรณภู มิ และจั ง หวัด สมุท รสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อนํานักศึกษาไทย จํานวน 70 คน และนักศึกษาจากกลุม ประเทศอาเซียนทีศ่ กึ ษาในประเทศไทย จํานวน 30 คน มาแลกเปลี่ยนประสบการณและเรียนรู รวมกันผานกิจกรรมที่หลากหลาย โดยมีการบรรยายและ การฝกปฏิบัติ การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เกี่ยวกับประชาคม อาเซียน ในรูปแบบของการบูรณาการในกลุมสาระการเรียนรู ตางๆ กิจกรรมบริการสังคม การแลกเปลีย่ นวัฒนธรรม ภาษา การแตงกาย กีฬา การละเลน ซึ่งนักศึกษาจะไดรับความรู และประสบการณ โ ดยตรงจากวิ ท ยากรผู  ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ น ด า นต า งๆ โดยพั ฒ นากิ จ กรรมให เ หมาะสมสอดคล อ ง กับสถานการณ เรียนรูวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบาน การทํางานรวมกันของเยาวชน และประสบการณในการ ทํ า งานกั บ ชาติ ต า งๆ ทั้ ง ในอาเซี ย นและขยายไปสู  ส ากล ซึ่งจะเปนประโยชนสูงสุดแกนักศึกษาและผูเกี่ยวของตอไป


คุณค า/ศักยภาพสูง

ค ายเรียนรู และเผยแพร โครงการพระราชดําริ เพื่อใหแนวพระราชดําริในการพัฒนาความเปนอยู ของราษฏรใหเกิดความ ‘พออยู พอกิน’ และหลักการทรงงาน ของพระองค ท  า น สามารถถ า ยทอดไปสู  นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ซึ่ ง เป น กลุ  ม คนรุ  น ใหม ที่ จ ะมี ส  ว นช ว ยในการสานต อ แนวพระราชดํ า ริ ใ ห บั ง เกิ ด ความยั่ ง ยื น และเพื่ อ สร า ง กระบวนการเรียนรูที่มีความตอเนื่อง ทั้งตอการศึกษาและ การดํารงชีวติ ในสังคม สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จึงจัดใหมีการดําเนินงานโครงการ ‘คายเรียนรูและเผยแพร โครงการพระราชดํ า ริ ’ เพื่ อ เป น ส ว นหนึ่ ง ในการต อ ยอด ขยายผลการเรี ย นรู  เ กี่ ย วกั บ หลั ก การทรงงาน รวมถึ ง พระราชกรณียกิจ และพระราชดําริ ในเรื่องความซื่อสัตย สุ จ ริ ต และการเป น อยู  อ ย า งพอเพี ย ง ที่ ไ ด พ ระราชทาน ความชวยเหลือผานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ในพื้นที่ตางๆ โดยกิจกรรมจะประกอบไปดวยการใหความรู เชิงบูรณาการ ผสมผสานการเรียนรูและปฏิบัติจากพื้นที่จริง อันเปนพื้นฐานสําคัญของแตละชุมชน ป ง บประมาณ 2558 สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ใหการสนับสนุนเครือขายเพื่อการพัฒนา

อุดมศึกษา 9 เครือขาย จัดทําโครงการคายเรียนรูแ ละเผยแพร โครงการพระราชดําริ ที่มุงเนนความดีตามหลักการทรงงาน และแนวพระราชดําริ ในเรือ่ งความซือ่ สัตยสจุ ริต และการเปน อยูอยางพอเพียง เครือขายละไมเกิน 2 คาย ตามความพรอม และจํานวนสมาชิกในเครือขาย และจํานวนพื้นที่ศูนยศึกษา การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริหรือพื้นที่อื่นๆ ที่มี ความเหมาะสม ภายในกรอบวงเงินงบประมาณที่กําหนด รวมประมาณ 18 คายๆ ละ 241,000 บาท รวมงบประมาณ ที่ใชในโครงการทั้งสิ้น 4,338,000 บาท

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

105


Annual Report

กิจกรรมต อนรับน องใหม และประชุมเชียร ในสถาบันอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เห็นความ สําคัญของการจัดกิจกรรมตอนรับนองใหมและประชุมเชียรใน สถาบันอุดมศึกษา ซึ่งมีปณิธานเพื่อสรางความสัมพันธอันดี ระหวางรุนพี่และรุนนอง ยังผลใหเกิดความอบอุน สามัคคี ภาคภูมิใจในสถาบันอุดมศึกษา และเพื่อใหการจัดกิจกรรม ตอนรับนองใหมและประชุมเชียรในสถาบันอุดมศึกษาเปนไป ดวยความเรียบรอย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จึ ง ออกประกาศสํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เรื่อง การจัดกิจกรรมตอนรับนองใหมและประชุมเชียรใน สถาบันอุดมศึกษา ซึง่ ไดกาํ หนดนโยบายและมาตรการเพือ่ ให สถาบันอุดมศึกษาใชเปนกรอบแนวทางในการกํากับดูแลการ จัดกิจกรรม ใหสรางสรรคและกอใหเกิดภาพลักษณเชิงบวก แกสาธารณชน เพื่อใหการจัดกิจกรรมตอนรับนองใหมและประชุม เชียรในสถาบันอุดมศึกษาเปนไปตามประกาศ ฯ สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา จึงไดเชิญผูบริหารสถาบัน

106

รายงานประจําป 2558

อุดมศึกษาและผูนํานักศึกษาในสังกัดเขารวมประชุมเพื่อรับ มอบนโยบายและรวมระดมความคิดเห็นเพือ่ หาแนวทางในการ จัดกิจกรรมรับนองอยางสรางสรรค เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2558 ณ โรงแรมเอเชีย โดยสรุปสาระสําคัญมีดังนี้ นโยบาย ‘4 ตอง’ 1. ตองมุงเสริมสรางกิจกรรมเชิงสรางสรรคและกอ ใหเกิดภาพลักษณเชิงบวกแกสาธารณชน 2. ตองเคารพสิทธิ เสรีภาพและหลักความเสมอภาค ไมมีความรุนแรง และหามลวงละเมิดสิทธิสวนบุคคลทั้งทาง รางกายและหรือจิตใจ ไมดื่มสุราและเสพสิ่งมึนเมาทุกชนิด 3. ตองไมกระทบตอการเรียนการสอน 4. ตองอยูในความรับผิดชอบ กํากับ ดูแลของ ผูบริหาร คณาจารย บุคลากรทุกคณะ/ภาควิชา และนิสิต นักศึกษารุนพี่ รวมถึงตองใหคําปรึกษาในการจัดกิจกรรมให มีลักษณะสรางสรรค ไมขัดตอระเบียบสถาบัน กฎหมาย วัฒนธรรม ประเพณีและมารยาททางสังคมที่ดีงาม ทัง้ นี้ ผูเ ขารวมประชุมมีเปาหมายรวมกันวากิจกรรม ตอนรับนองใหมควรจะใหประสบการณแกนองใหม โดยให รูส กึ วาตนเปนสมาชิกของสถาบัน มีความภาคภูมใิ จในสถาบัน มีกําลังใจในการศึกษาเลาเรียน และปรับตัวไดภายในสภาพ แวดลอมของสถาบันและมีตนทุนชีวิตเพียงพอในการใชชีวิต ในสถาบัน


คุณค า/ศักยภาพสูง

รณรงค ป องกันและแก ไขป ญหายาเสพติด ในสถาบันอุดมศึกษา ปญหายาเสพติดเปนปญหาเฉพาะหนาที่ตองไดรับ การปองกันและแกไข โดยการบังคับใชกฎหมายที่เขมงวด และจัดการปญหาอืน่ ๆ ทีเ่ ชือ่ มโยงตอเนือ่ งใหเบ็ดเสร็จ ซึง่ ตอ มาไดมีการจัดตั้งศูนยอํานวยการปองกันและปราบปราม ยาเสพติดแหงชาติ ตามคําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรี ตามแผนปฏิ บั ติ ก ารป อ งกั น และแก ไ ขป ญ หา ยาเสพติด ป 2558 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดดําเนินงานตามยุทธศาสตรที่ 1 การปองกันกลุมผูมีโอกาส เขาไปเกี่ยวของกับยาเสพติด ซึ่งมีเปาหมายในการสราง ภูมิคุมกันและปองกันยาเสพติด รวมทั้งยับยั้งการแพรระบาด ยาเสพติดในกลุมเด็ก และเยาวชน อยางมีประสิทธิภาพและ ยั่งยืน ดังนั้น ในฐานะกลไกอํานวยการขับเคลื่อนงานปองกัน และแกไขปญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา จึงสงเสริม สนั บ สนุ น และบริ ห ารจั ด การการป อ งกั น และแก ไ ขป ญ หา ยาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษาใหมคี ณ ุ ภาพ ผานเครือขายเพือ่ การพัฒนาอุดมศึกษาดําเนินโครงการรณรงคปอ งกันและแกไข ปญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา จํานวน 140 โครงการ เปาหมายผูเขารวมโครงการจํานวน 2 ลานคน โดยมุงเนน การจัดกิจกรรมปองกันและเฝาระวัง สรางภูมคิ มุ กันยาเสพติด ใหนักศึกษารูจักปองกันตนเอง สามารถนําตนเองใหผานพน จากปญหายาเสพติด

นอกจากการดําเนินโครงการในสวนของนักศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษายังคงมุง มัน่ ทีจ่ ะพัฒนา เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานยาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา อยางตอเนื่อง ดวยการเสริมสรางประสิทธิภาพและเพิ่มพูน วิสยั ทัศนการดําเนินงาน โดยการจัดโครงการพัฒนาศักยภาพ เจ า หน า ที่ ผู  ป ฏิ บั ติ ง านด า นการป อ งกั น และแก ไ ขป ญ หา ยาเสพติด ป 2558 หลักสูตร ‘พนักงานเจาหนาที่สงเสริม ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ’ เปาหมายผูเขารวมการอบรมจํานวน 500 คน โดยดําเนินการ อบรมจํานวน 5 รุน ทั้ ง นี้ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ได ดํ า เนิ น การประเมิ น โครงการรณรงค ป  อ งกั น และแก ไ ข ปญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา เพือ่ ประเมินผลสัมฤทธิ์ และเสนอแนะแนวทาง รูปแบบกิจกรรม รวมทั้งการพัฒนา เจ า หน า ที่ ผู  ป ฏิ บั ติ ง านด า นการป อ งกั น และแก ไ ขป ญ หา ยาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

107


Annual Report

รางวัลพระราชทาน ระดับอุดมศึกษา โครงการคั ด เลื อ กนั ก ศึ ก ษาเพื่ อ รั บ รางวั ล พระราชทาน เปนโครงการที่กระทรวงศึกษาธิการ รับสนอง พระราชปรารภของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ที่ทรงมี พระราชดําริที่จะพระราชทานรางวัลใหแกนักเรียน นักศึกษา ทีม่ คี วามประพฤติดี มีผลการเรียนดี และสถานศึกษาทีจ่ ดั การ ศึกษาไดมาตรฐาน นับตั้งแต ป พ.ศ. 2506 การดําเนินงาน ตองกระทําดวยความรอบคอบทุกขัน้ ตอน โดยเฉพาะอยางยิง่ การประเมินและการคัดเลือกคณะกรรมการที่รับผิดชอบการ ดําเนินงาน และคณะกรรมการประเมินจะตองดําเนินการตาม แนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนดดวยความรอบคอบ บริสุทธิ์ ยุติธรรม ยึดหลักวิชาการ ใชความสามารถและ ดุลยพินิจในการพิจารณาตัดสินผลอยางถูกตองตามหลักการ ตองมีใจเปนกลาง ไมโนมเอียงเขาขางฝายใดฝายหนึ่ง สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาได รั บ มอบหมายใหประเมินและคัดเลือกนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จากสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดทั่วประเทศเพื่อเขารับรางวัล พระราชทาน ซึ่ ง งานคั ด เลื อ กนั ก ศึ ก ษาเพื่ อ รั บ รางวั ล

108

รายงานประจําป 2558

พระราชทาน เปนการดําเนินงานที่สอดรับกับนโยบายสําคัญ ในการพั ฒ นาบั ณ ฑิ ต ในอุ ด มคติ ไ ทยสองประการ คื อ การพั ฒ นาบั ณ ฑิ ต อุ ด มคติ ไ ทยที่ ส อดคล อ งกั บ บริ บ ทของ สถาบันอุดมศึกษา และการพัฒนาบัณฑิตอุดมศึกษาในบริบท ที่เปนสากล สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดดําเนิน การประเมินและคัดเลือกนักศึกษาเพื่อรับรางวัลพระราชทาน ระดับอุดมศึกษา ในปการศึกษา 2557 มีนกั ศึกษาทีผ่ า นเกณฑ การประเมินใหไดรบั รางวัลพระราชทาน จํานวน 26 ราย และ นักศึกษาพิการ จํานวน 4 ราย โดยไดรับพระราชทานเกียรติ บัตรเข็มเชิดชูเกียรติ และเงินรางวัลจํานวน 20,000 บาท นอกจากนี้ มี นั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด รั บ รางวั ล ชมเชยจากกระทรวง ศึกษาธิการ จํานวน 28 ราย นักศึกษาพิการไดรบั รางวัลชมเชย กระทรวงศึกษาธิการ จํานวน 5 ราย และนักศึกษาที่ไดรับ เกียรติบตั รชมเชยจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จํานวน 35 ราย


คุณค า/ศักยภาพสูง

จัดการศึกษาและส งเสริมอาชีพในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยสํานัก บริ ห ารงานวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนเดิ ม ร ว มกั บ วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชน ดํ าเนิ นงานโครงการสนั บสนุ นบทบาทของวิทยาลัยชุ มชน ในการจัดการศึกษาและสงเสริมอาชีพในเขตพัฒนาเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต โดยมีวัตถุประสงค (1) เพื่อสงเสริม และสนับสนุนวิทยาลัยชุมชนที่ใกลชิดและบริหารรวมโดย ชุมชนใหเปนกลไกในการพัฒนาทักษะอาชีพ และการมีงาน ทํ า ตามความต อ งการและการแก ไ ขป ญ หาของชุ ม ชน (2) เร ง สร า งโอกาสทางการศึ ก ษา และส ง เสริ ม ค า นิ ย ม ด า นอาชี พ เพื่ อ ตอบสนองความต อ งการของผู  เ รี ย น ตลาดแรงงานทั้งในและนอกพื้นที่ (3) สงเสริมนักศึกษาและ บุ ค ลากรในวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนมี โ อกาสแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู  วั ฒ นธรรม อาชี พ และความเป น อยู  ข องผู  ค นในสั ง คม ตางวัฒนธรรม และ (4) สงเสริมใหนักศึกษาและบุคลากรใน วิทยาลัยชุมชนไดรับประสบการณตรงและเรียนรูจากการ ปฏิ บั ติ ง านในชุ ม ชนเข ม แข็ ง โดยเฉพาะการปลู ก ฝ ง เชิ ง คุณธรรม จริยธรรมทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชน ภายใต 3 กิจกรรมหลัก ประกอบด ว ย (1) การจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ สร า งอาชี พ และการมีงานทํา กําหนดเปาหมาย 2 กิจกรรมยอย คือ การจั ด หลั ก สู ต รฝ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะอาชี พ และ

การพัฒนาหลักสูตรใหมตามความตองการของชุมชนในพืน้ ที่ (2) การส ง เสริ ม การอยู  ร  ว มกั น อย า งสั น ติ ใ นสั ง คม พหุ วั ฒ นธรรมของนั ก ศึ ก ษาและภาคี เ ครื อ ข า ย กํ า หนด เปาหมาย 3 กิจกรรมยอย คือ การศึกษาดูงานเพือ่ แลกเปลีย่ น เรียนรูท างสังคมพหุวฒ ั นธรรม การสงเสริมเอกลักษณทอ งถิน่ และการพัฒนาผูน าํ นักศึกษา และ (3) การสงเสริมการจัดการ ความรูเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งชุมชนในลักษณะเชิงพื้นที่ (Area - based) ทั้งนี้ ในปงบประมาณ 2558 มีเปาหมายในการ สงเสริมอาชีพ การสรางความสมานฉันท และการอยูรวมกัน อยางสันติของประชาชนและนักศึกษาวิทยาลัยชุมชน จํานวน 6,200 คน มีผูรับบริการจํานวน 7,262 คน คิดเปนรอยละ 117.13 ของเปาหมายทั้งป (ขอมูล ณ 30 มิถุนายน 2558) และสรางความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน และเปนการ สรางขวัญกําลังใจของผูรับบริการ และบุคลากรของวิทยาลัย ชุมชน โดยมีการจัดหาชุดกลองวงจรปดวิทยาลัยชุมชนสตูล จํ า นวน 1 ชุ ด ก อ สร า งอาคารละหมาดวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชน นราธิวาส จํานวน 1 หลัง และกอสรางถนนภายในวิทยาลัย ชุมชนนราธิวาส ความยาว 1,000 เมตร

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

109


Annual Report

อุดมศึกษา สร างความรู สร างอาชีพ สร างความสุข สู ชุมชน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดําเนินงาน ‘โครงการอุดมศึกษา สรางความรูสรางอาชีพ สรางความสุข สูช มุ ชน’ โดยสํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนเดิม จัดฝกอบรม อาชีพระยะสั้นในพื้นที่ใหบริการของวิทยาลัยชุมชน 20 แหง โดยไมคิดคาใชจาย ตามนโยบายรัฐบาล ภายใต ‘โครงการ มอบของขวัญใหแกประชาชนในชวงเทศกาลปใหม 2558’ ทัง้ นี้ วิทยาลัยชุมชน 20 แหง ดําเนินงานโดยมีวัตถุประสงคเพื่อให ประชาชนนําความรูที่ไดจากการฝกอบรมไปประกอบอาชีพ แตละวิทยาลัยชุมชนกําหนดจัดหลักสูตรพัฒนาทักษะและ เสริมสรางประสบการณ ดานอาชีพและดานคุณภาพชีวิตให แกประชาชนทั่วไป ตามที่เห็นเหมาะสมใหกับประชาชน

110

รายงานประจําป 2558

ในพืน้ ที่ ระหวางวันที่ 5 มกราคม - 31 มกราคม 2558 ลักษณะ หลักสูตรที่มอบเปนของขวัญ ใหแกประชาชนในแตละพื้นที่ แบงเปน 2 กลุม ไดแก (1) กลุมพัฒนาทักษะและเสริมสราง ประสบการณดา นอาชีพ ประกอบดวย เกษตรกรรม เทคโนโลยี บริหารธุรกิจ/การจัดการ และคหกรรมศาสตร (งานผา งานประดิษฐ งานอาหาร งานเสริมสวย) และ (2) กลุม พัฒนา ทักษะและเสริมสรางประสบการณดา นคุณภาพชีวติ ประกอบ ดวยภาษา คอมพิวเตอร สุขภาพ และศิลปวัฒนธรรม/พัฒนา คุณภาพชีวติ รวมทัง้ สิน้ 75 กิจกรรม และมีผรู บั บริการ จํานวน 2,892 คน


คุณค า/ศักยภาพสูง

พัฒนาความเป นเลิศด านกีฬาให กับนิสิตนักศึกษา ตามทีน่ ายกรัฐมนตรีมดี าํ ริในการจัดทําแผนการผลิต และพัฒนาทักษะบุคลากรใหสามารถรองรับความตองการเพือ่ การแขงขันไดกับประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะ ในสวนที่เกี่ยวของ กับเรื่องกีฬา เห็นควรใหดําเนินการสงเสริมสนับสนุนสถาน ศึกษาใหมีความเปนเลิศดานกีฬาอยางเปนรูปธรรม รวมทั้ง การพัฒนาศักยภาพดานกีฬาของนักเรียน นักศึกษาและ เยาวชน ของสถาบันการศึกษาในพื้นที่ภาคใต ใหมีโอกาส พั ฒ นาไปสู  ก ารแข ง ขั น กี ฬ าเพื่ อ เป น ตั ว แทนที ม ชาติ ห รื อ เปนนักกีฬาอาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดําเนินงานโครงการพัฒนาความเปนเลิศดานกีฬาใหมีความ สอดคล อ งและรองรั บ แนวนโยบายของรั ฐ บาลอย า งเป น รูปธรรม โดยสงเสริมใหมีการพัฒนาศักยภาพดานกีฬาของ นักเรียน นักศึกษาและเยาวชน ของสถาบันการศึกษาในพืน้ ที่ ภาคใต ภายใตโครงการสงเสริมและพัฒนากีฬาปนจักสีลตั ใน สถาบันอุดมศึกษาเขตภาคใต เพือ่ สนับสนุนใหปน จักสีลตั เปน กีฬาที่ ไดที่รั บความนิ ยม และสงเสริ มใหนิสิต นั กศึกษา รวมทั้งบุคลากร และผูที่สนใจไดรับการพัฒนาทักษะความรู ความเขาใจ และมีศักยภาพความสามารถในการแขงขันกีฬา ปนจักสีลัตอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุด ตามแนวนโยบายของรัฐบาล โดยจัดตัง้ ศูนยฝก กีฬาปนจักสีลตั ขึ้ น ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเขตภาคใต และมอบหมายให มหาวิ ท ยาลั ย ทั ก ษิ ณ จั ง หวั ด สงขลา เป น ศู น ย ก ลางเพื่ อ ประสานงานและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการฯ เพื่อ รองรับการสรางนักกีฬาปนจักสีลตั เขาสูแ ขงขันกีฬาปนจักสีลตั ในระดับชาติ และระดับอาเซียนในอนาคต

นอกจากนี้ ยังไดสนับสนุนการดําเนินงานศูนยฝก กีฬาตามโครงการพัฒนาความเปนเลิศดานกีฬา อีก 3 ชนิด กีฬา คือ (1) ศูนยฝกกีฬาฟุตซอลชาย มหาวิทยาลัยนอรท กรุงเทพ (2) ศูนยฝกกีฬากอลฟ มหาวิทยาลัยรามคําแหง (3) ศูนยฝกกีฬาวอลเลยบอลชายหาด มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลอลงกรณฯ ซึ่งนักกีฬาของโครงการทั้ง 3 แหง สามารถ สรางผลงานประสบความสําเร็จในการแขงขันระดับนานาชาติ ตามวัตถุประสงคของโครงการ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

111


Annual Report

การแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูรอ น ครัง้ ที่ 28 ‘กวางจูเกมส’ ระหวางวันที่ 3 - 14 กรกฎาคม 2558 ณ เมือง กวางจู สาธารณรัฐเกาหลี โดยจัดสงนักกีฬาและเจาหนาที่ จํานวน 165 คน เขารวมการแขงขันใน 8 ชนิดกีฬา ไดแก กรี ฑ า แบดมิ น ตั น กอล ฟ ยิ ง ป น และเป า บิ น ว า ยนํ้ า เทควันโด เทนนิสและวอลเลยบอล ผลการแขงขันไดรบั รางวัล อันดับที่ 20 จากประเทศที่เขารวมการแขงขัน 111 ประเทศ โดยได 2 เหรียญทอง 7 เหรียญเงิน และ 9 เหรียญทองแดง ●

พัฒนาทักษะความสามารถและกิจกรรมนักศึกษา การแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยระดับนานาชาติ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยคณะ กรรมการกีฬามหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย เปนสมาชิก องคกรกีฬา ไดแก สหพันธกฬี ามหาวิทยาลัยโลก สหพันธกฬี า มหาวิทยาลัยแหงเอเชีย สภากีฬามหาวิทยาลัยอาเซียน เพื่อ พัฒนากีฬามหาวิทยาลัยในสถาบันอุดมศึกษา ทัง้ กีฬาภายใน ประเทศและกี ฬ าระดั บ นานาชาติ และยกระดั บ กี ฬ า มหาวิทยาลัยของไทยไปสูนานาชาติ ใหเปนมาตรฐานสากล โดยจัดสงนักกีฬาในสถาบันอุดมศึกษา เขารวมการแขงขัน กี ฬ ามหาวิ ท ยาลั ย กั บ องค ก รกี ฬ าต า งๆ ตลอดจนจั ด ส ง นักศึกษาและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการกีฬาไปเขารวม ประชุมสัมมนาทางวิชาการดานตางๆ โดยในป 2558 มีการ ดําเนินงาน ดังนี้ ● การแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยอาเซียน ครั้งที่ 17 ระหวางวันที่ 6 - 22 ธันวาคม 2557 ณ เมืองปาเล็มบัง สาธารณรั ฐอิ นโดนีเซีย ประเทศไทยส งคณะนักกี ฬาและ เจ า หน า ที่ เ ข า ร ว มการแข ง ขั น ทั้ ง สิ้ น 391 คน เข า ร ว ม การแขงขัน 16 ชนิดกีฬา ผลการแขงขันทีมไทยไดรับรางวัล ลําดับที่ 2 จํานวน 53 เหรียญทอง 34 เหรียญเงิน และ 28 เหรียญทองแดง อันดับหนึ่งประเทศอินโดนีเซีย และอันดับที่ 3 ประเทศมาเลเซีย ● การเปนเจาภาพจัดการแขงขันกีฬายกนํ้าหนักชิง ชนะเลิศมหาวิทยาลัยโลก ครั้งที่ 4 ระหวางวันที่ 5 - 8 ธันวาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยนอรท - เชียงใหม จังหวัด เชียงใหม มีประเทศเขารวม 29 ประเทศ จํานวนทั้งสิ้น 220 คน ประเทศไทยจัดสงนักกีฬาและเจาหนาที่ จํานวน 17 คน ผลการแขงขันไดรับ 22 เหรียญทอง 11 เหรียญเงิน 3 เหรียญทองแดง

112

รายงานประจําป 2558

การแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เห็นความ สํ า คั ญ ของการจั ด การแข ง ขั น กี ฬ ามหาวิ ท ยาลั ย โดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหกีฬาเปนเครื่องมือในการพัฒนานิสิตและ นักศึกษาใหมีสุขภาพและรางกายที่แข็งแรง มีนํ้าใจนักกีฬา มีระเบียบวินยั ทีด่ ตี อกันทัง้ ในสถาบันเดียวกันและตางสถาบัน ใหมีความแนนแฟนยิ่งขึ้น


คุณค า/ศักยภาพสูง

สําหรับในป 2558 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิ ท ยาเขตกํ า แพงแสน เป น เจ า ภาพจั ด การแข ง ขั น กี ฬ า มหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย ครัง้ ที่ 42 ‘นนทรีเกมส’ ระหวาง วันที่ 15- 24 มกราคม 2558 ภายใตแนวคิดและคําขวัญประจํา การแขงขัน ‘หลากหลายสถาบัน รวมกันเปนหนึ่ง’ โดยมีการ แขงขัน 32 ชนิดกีฬา และกีฬาสาธิต 2 ชนิดกีฬา มีสถาบัน เขารวมการแขงขัน จํานวน 112 สถาบัน มีนักกีฬาและ เจาหนาที่เขารวมการแขงขัน 12,032 คน โดยสถาบันที่ไดรับ เหรียญรางวัลรวมสูงสุด 3 ลําดับแรก ไดแก จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย สถาบันพลศึกษา และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร การแขงขันกีฬามิตรภาพไทยและมาเลเซีย การแขงขันกีฬามิตรภาพระหวางสถาบันอุดมศึกษา ของประเทศไทยและประเทศมาเลเซียไดจัดการแขงขันอยาง ตอเนื่อง ตั้งแตป พ.ศ. 2551 สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาไดจัดสงนักกีฬาและเจาหนาที่เขารวมการแขงขัน เปนประจําทุกป โดยหนวยงานดานการอุดมศึกษาของสอง ประเทศผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเปนเจาภาพจัดการแขงขัน เพื่อสรางกิจกรรมความสัมพันธระหวางนักศึกษาจากสถาบัน อุดมศึกษาของทั้ง 2 ประเทศ โดยใชกิจกรรมการแขงขันกีฬา เปนสื่อกลางแลกเปลี่ยนประสบการณและวัฒนธรรม สําหรับป 2558 ประเทศไทยรับเปนเจาภาพใน จัดการแขงขัน ครั้งที่ 8 ระหวางวันที่ 18 - 22 กันยายน 2558 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม มีการแขงขัน 4 ชนิดกีฬา ไดแก ฟุตบอลชาย แบดมินตัน วอลเลยบอลหญิง และกอลฟ รวมทัง้ การจัดการแขงขันกอลฟระหวางผูบ ริหารของหนวยงาน ดานการศึกษาของทัง้ 2 ประเทศ ซึง่ ในครัง้ นีไ้ ดจดั สงนักกีฬา และเจาหนาที่เขารวมการแขงขัน ประเทศละ 92 คน การแขงขันกีฬาบุคลากร สกอ. การแขงขันกีฬาบุคลากรสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา มีวัตถุประสงคในการแขงขันเพื่อสุขภาพ พลานามัยของบุคลากรสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เปนกีฬาเพื่อความสามัคคี สรางความสนิทสนม คุน เคยกัน ระหวางบุคลากรในสังกัด และไดกาํ หนดใหสถาบัน การศึกษาที่สังกัด สกอ. หมุนเวียนกันเปนเจาภาพจัดการ แขงขัน

สําหรับในป 2558 เปนการแขงขันกีฬาบุคลากร ครัง้ ที่ 34 ‘เกษตรศาสตรเกมส’ โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รับเปนเจาภาพจัดการแขงขัน ระหวางวันที่ 1 - 8 มิถุนายน 2558 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ภายใตคําขวัญประจําการแขงขัน ‘มิตรภาพ สรางสรรค สามัคคี’ มีการแขงขัน 11 ชนิดกีฬา สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาไดจัดสงนักกีฬาและเจาหนาที่เขารวมการ แขงขันทั้งสิ้น 92 คน ผลการแขงขัน สกอ. จัดอยูในอันดับที่ 25 จาก 64 สถาบันที่เขารวมการแขงขัน โดยไดรับเหรียญ รางวัล 2 เหรียญทอง 2 เหรียญเงิน และ 4 เหรียญทองแดง

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

113


Annual Report

ส งเสริมกีฬาเพื่อสุขภาพในสถาบันอุดมศึกษา โครงการสงเสริมกีฬาเพื่อสุขภาพในสถาบันอุดมศึกษา เปนการสงเสริมกิจกรรมดานกีฬาเพื่อปลูกจิตสํานึกและสราง เสริมสุขภาพใหกบั นิสติ นักศึกษา บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาและประชาชนอยางตอเนือ่ ง ใหเห็นคุณคาของการออกกําลังกาย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความรูดานกีฬาเพื่อสุขภาพแก นิสิต นักศึกษา บุคลากร เยาวชนและประชาชน มีความตื่นตัวใน การเลนกีฬา ออกกําลังกาย และกิจกรรมนันทนาการอยางเหมาะสมและสมํา่ เสมอ และสงเสริมใหมกี ารเผยแพรความรูด า นกีฬา เพื่อสุขภาพอยางกวางขวาง ในป 2558 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดสรรงบประมาณสนับสนุนโครงการสงเสริมกีฬาเพื่อสุขภาพใน สถาบันอุดมศึกษา ใหสถาบันอุดมศึกษาที่เปนแกนหลัก จํานวน 10 เขต เพื่อจัดสรรใหกับสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน รวมทั้งวิทยาลัยชุมชนในแตละเขต จัดกิจกรรมกีฬาเพื่อสุขภาพเพื่อกระตุนและสงเสริมใหนิสิต นักศึกษา บุคลากร เยาวชน และ ประชาชนทั่วไปมีความตื่นตัวในการเลนกีฬาเพื่อสุขภาพ ดังนี้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม 1. เขตภาคเหนือตอนบน 2. เขตภาคเหนือตอนลาง มหาวิทยาลัยนเรศวร 3. เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มหาวิทยาลัยขอนแกน 4. เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยบูรพา 5. เขตภาคกลางตะวันออก 6. เขตภาคกลางตะวันตก มหาวิทยาลัยมหิดล 7. เขตภาคใตตอนบน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 8. เขตภาคใตตอนลาง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 9. เขตกรุงเทพมหานครตะวันออก มหาวิทยาลัยรามคําแหง 10. เขตกรุงเทพมหานครตะวันตก จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ลักษณะกิจกรรมที่ดําเนินการ เปนกิจกรรม/กีฬา ที่สงเสริมกีฬามวลชน สามารถเลนไดทุกคน เพื่อสงเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมิไดมุงผลสัมฤทธิ์จากการแขงขัน เชน แอโรบิค โยคะ จักรยาน เดิน/วิ่งเพื่อสุขภาพ รวมถึง เป น การอนุ รั ก ษ ส ง เสริ ม เผยแพร กี ฬ าไทย/กี ฬ าพื้ น บ า น เปนการอนุรักษ นําเอากีฬาไทย/กีฬาพื้นบานมาเผยแพร ใหกับนิสิตนักศึกษา บุคลากร เยาวชนและประชาชน ใหเห็น ถึงคุณคาการเลนกีฬาไทยและกีฬาพื้นบาน

114

รายงานประจําป 2558


คุณประโยชน /มูลค าสูง

คุณประโยชน มูลค าสูง

ต อยอดงานวิจัยให มีมูลค าสูงขึ้นเพื่อเสริมสร าง ขีดความสามารถในการแข งขันและสร างประโยชน ต อ การพัฒนาสังคมและประเทศ เน นการสร างความร วมมือกับ ภาคอุตสาหกรรมและชุมชน ส งเสริมการวิจัยในสายรับใช สังคม สร างนักวิจัยรุ นใหม ส งเสริมโครงการ Talent Mobility

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

115


Annual Report

สถาบันวิจัยจุฬาภรณ ผลงานวิจัยเพื่อสรางองคความรู สถาบันวิจยั จุฬาภรณภายใตการนําของ ศาสตราจารย ดร.สมเด็ จ พระเจ า ลู ก เธอ เจ า ฟ า จุ ฬ าภรณวลั ย ลั ก ษณ อั ค รราชกุ ม ารี องค ป ระธานสถาบั น วิ จั ย จุ ฬ าภรณ ท รง ดําเนินงานในกิจกรรมหลักของสถาบันฯ ไดแก ดานงานวิจัย ดานงานวิชาการ (งานจัดการศึกษาฝกอบรมและแลกเปลี่ยน ทางวิทยาศาสตร) ดานงานพัฒนาสภาพแวดลอมและคุณภาพ ชีวิต ที่ไดสรางคุณประโยชนแกประเทศชาติและประชาชน ชาวไทยอยางตอเนื่อง และเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว สถาบันฯ ไดกําหนดนโยบายในการดําเนินการวิจัยใหมีความ สอดคลองกับยุทธศาสตรของชาติ ซึ่งมีสวนความสําคัญตอ การพัฒนาและแกปญ  หาของประเทศ องคความรูท ไี่ ดจากการ วิจยั ทางวิทยาศาสตรพนื้ ฐานไดถกู นําไปตอยอดและประยุกต ใชใหเกิดการเรียนรู การถายทอดเทคโนโลยี ซึง่ ขอมูลทีจ่ าํ เปน สามารถนํามาพัฒนาขีดความสามารถชองประเทศและพัฒนา ศักยภาพบุคลากรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในสาขาที่ จําเปนและขาดแคลนได เพือ่ แกไขปญหาเรงดวนของประเทศ ดานสาธารณสุข สิ่งแวดลอม และเกษตรกรรมอยางตอเนื่อง โดยยึดถือความอยูดีมีสุขของประชาชนเปนสําคัญ สถาบันวิจยั จุฬาภรณดาํ เนินงานวิจยั ดานวิทยาศาสตร พื้ น ฐาน ได แ ก งานวิ จั ย ด า นวิ ท ยาศาสตร ชี ว การแพทย พิษวิทยาสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีชีวภาพ เคมี และงานวิจัย เชิงบูรณาการเพื่อสรางองคความรูใหม โดยมีจุดมุงหมาย เพือ่ ลดความเสีย่ งดานสุขภาพของประชาชน ปรับปรุงคุณภาพ ชีวติ ปกปองสิง่ แวดลอม พัฒนายาและสารสังเคราะหทมี่ ฤี ทธิ์

116

รายงานประจําป 2558

ในการปองกันและรักษาโรคทีม่ คี ณ ุ ภาพดี ในราคาทีเ่ หมาะสม เพื่อใหประชาชนสามารถเขาถึงบริการทางสุขภาพไดมากขึ้น อีกทั้งยังสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันกับนานา ประเทศ ดานงานวิจัย ในปงบประมาณ 2558 ไดดําเนินงานวิจัยในชุด โครงการวิจัย รวม 8 ชุดโครงการ ไดแก (1) ชุดโครงการวิจัย ดานเคมี (2) ชุดโครงการวิจัยดานวิทยาศาสตรชีวการแพทย (3) ชุดโครงการวิจยั ดานพิษวิทยาสิง่ แวดลอม (4) ชุดโครงการ วิ จั ย ด า นเทคโนโลยี ชี ว ภาพ (5) ชุ ด โครงการวิ จั ย เพื่ อ การประยุกตใช (6) ชุดโครงการวิจัยเชิงบูรณาการดาน ผลิตภัณฑธรรมชาติเพื่อพัฒนาเปนยาและผลิตภัณฑเสริม สุขภาพ (7) ชุดโครงการวิจยั เชิงบูรณาการดานโรคมะเร็ง และ (8) ชุดโครงการวิจัยเชิงบูรณาการดานผลกระทบของสารเคมี ตอสุขภาพ โดยมีโครงการวิจยั ทีเ่ ริม่ ดําเนินการในปงบประมาณ 2558 จํานวน 14 โครงการ โครงการวิจัยที่ดําเนินการ ตอเนื่องจากปงบประมาณ 2557 จํานวน 40 โครงการ สถาบันฯ ดําเนินงานในโครงการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา 3 โครงการ ไดแก (1) โครงการจัดทําโครงสราง/ ความจําเปนพื้นฐานทางวิทยาศาสตรเพื่อวิจัยและพัฒนายา (2) โครงการผลิตนักวิทยาศาสตรเฉลิมพระเกียรติ และ (3) โครงการจัดตั้งคลังชีววัตถุและวิจัยเรื่องมะเร็งตับและ ทอนํ้าดี ซึ่งมีผลการดําเนินงานวิจัย ดังนี้ 1. สามารถพั ฒ นาเซลล ต  น แบบสํ า หรั บ ผลิ ต ยา ชี ว วั ต ถุ พั ฒ นาการเลี้ ย งเซลล เ พื่ อ ผลิ ต ชี ว วั ต ถุ พั ฒ นา กระบวนการแยกชีววัตถุใหบริสุทธิ์ และพัฒนาวิธีทดสอบ คุณลักษณะชีววัตถุ


คุณประโยชน /มูลค าสูง

2. รับนักศึกษาเขารวมโครงการผลิตนักวิทยาศาสตร เฉลิมพระเกียรติรวมกับสถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณใน 3 สาขาวิ ช า ได แ ก สาขาพิ ษ วิ ท ยาสิ่ ง แวดล อ ม สาขา วิทยาศาสตรชีวภาพประยุกต และสาขาเคมีชีววิทยา รวม 22 คน แยกเปน ระดับปริญญาเอก 5 คน ปริญญาโท 17 คน 3. จัดทําคลังเก็บชีววัตถุของผูป ว ยโรคมะเร็ง 1 คลัง และดําเนินการเก็บรวบรวมตัวอยางชีววัตถุของผูปวยมะเร็ง ในปงบประมาณ 2558 เก็บรวบรวมตัวอยางชีววัตถุ แบงเปน ตัวอยางเลือด 412 ตัวอยาง และตัวอยางชิ้นเนื้อ 72 ตัวอยาง นอกจากนั้น ไดดําเนินการวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อ เพิ่มคุณคาของขาวไทย โดยการวิเคราะหปริมาณโลหะหนัก และธาตุตา งๆ ในขาว พัฒนาวิธกี ารสกัดและวิเคราะหปริมาณ สารตานอนุมลู อิสระ และปริมาณวิตามินอีในขาว ทดสอบฤทธิ์ ตานอนุมูลอิสระในสารสกัดจากขาว ซึ่งสถาบันฯ รวมมี บทบาทสําคัญในการเผยแพรผลงานวิจัยและใหขอมูลแก สาธารณชนเพื่อสรางความมั่นใจในคุณภาพของขาวไทยวามี ความปลอดภัยตอการบริโภค เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2557 หองปฏิบัติการเภสัชวิทยา สถาบันวิจัยจุฬาภรณ ซึ่งเปนผูรับ ผิ ด ชอบโครงการนี้ ได เ ข า ร ว มทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของ หองปฏิบัติการ (Proficiency Testing ;PT) ในการทดสอบวิธี วิเคราะหโลหะหนัก 4 ชนิด (As+Cd+Cu+Zn) เทียบกับ หองปฏิบตั กิ ารของหนวยงานภายในประเทศและตางประเทศ จํานวน 39 แหง พบวา ผลการวิเคราะหธาตุทั้ง 4 ชนิดของ สถาบันฯ มีคา Z-score อยูในเกณฑที่ดีมาก และผานการ รับรองการทดสอบสมรรถนะของหองปฏิบัติการ ซึ่งผลจาก การทดสอบในครั้งนี้ ทําใหทราบวาวิธีการสกัดและตรวจ วิเคราะหปริมาณ As, Cd, Cu และ Zn ในตัวอยางขาวกลอง ของสถาบันฯ เปนวิธีที่ไดมาตรฐาน มีความนาเชื่อถือ และ เปนที่ยอมรับของหองปฏิบัติการอื่น จากการดําเนินงานวิจัยดังกลาว ในปงบประมาณ 2558 สถาบันฯ ตีพิมพบทความวิชาการเพื่อเผยแพรความรู จากการวิจัยลงในวารสารวิทยาศาสตรนานาชาติ จํานวน 49 เรื่อง และนําเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการ จํานวน 54 เรื่อง ดานงานวิชาการ ● โครงการวิทยาศาสตรเคมี จัดบรรยายพิเศษ เพื่อ เสริมสรางทักษะการวิจัยพื้นฐานและประยุกตใชแกนักวิจัย

จํานวน 8 ครั้ง มีผูเขารวมฟงการบรรยายรวม 405 คน และ เปนเจาภาพรวมจัดการประชุมวิชาการนานาชาติ หัวขอ The 4th Junior International Conference on Cutting-Edge Organic Chemistry in Asia (JICCEOCA-4) มีผูเขาประชุม 152 คน จาก 8 ประเทศ ● โครงการศู น ย พิ ษ วิ ท ยาและอนามั ย สิ่ ง แวดล อ ม นานาชาติ โดยเป น เจ า ภาพร ว มจั ด การประชุ ม วิ ช าการ นานาชาติ หัวขอ The 3rd International Conference of Asian Environmental Chemistry เพื่อพัฒนาบุคลากรของ ประเทศไทยและประเทศในกลุมอาเซียน รวมทั้งประเทศ ที่กําลังพัฒนา มีผูเขาประชุม 774 คน จาก 17 ประเทศ และ จัดฝกอบรมระดับภูมิภาคใหกับบุคลากรทั้งของประเทศไทย และประเทศที่ กํ า ลั ง พั ฒ นาในภู มิ ภ าคเอเชี ย และแปซิ ฟ  ก ณ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ จํานวน 3 ครั้ง ในหัวขอเรื่อง (1) Environmental Immunotoxicology and Reproductive Toxicology (2) Environmental and Health Risk Assessment and Management of Toxic Chemicals และ (3) Environmental Toxicology แ ล ะ ก า ร จั ด ฝ  ก อ บ ร ม ใ น ตางประเทศ ณ สาธารณรัฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนาม หั ว ข อ Risk Assessment and Management of Chemicals ● โครงการวิ ท ยาศาสตร ชี ว ภาพ จั ด ประชุ ม เพื่ อ แลกเปลี่ยนความรู ประสบการณ และแสวงหาแนวทาง ความร ว มมื อ ในการศึ ก ษาวิ จั ย ระหว า งผู  เ ข า ประชุ ม กั บ ผูเ ชีย่ วชาญจากตางประเทศ 2 ครัง้ ในหัวขอเรือ่ ง (1) Recent Advances in Cancer Therapeutics และ (2) The 10th International Symposium of Protein Society of Thailand ● โครงการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา สาขาวิ ช าพิ ษ วิ ท ยา สิ่งแวดลอม เทคโนโลยี และการบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ซึ่ ง เป น โครงการร ว มระหว า งสถาบั น วิ จั ย จุ ฬ าภรณ มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเซีย ในป 2558 มีผสู าํ เร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก 1 คน ยังคงศึกษา ในระดับปริญญาเอก 3 คน และระดับปริญญาโท 1 คน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

117


Annual Report

โครงการศึกษาภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อ ศึกษาภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ เปนภูมคิ วามรูข องชาวบาน ในทองถิ่นที่ไดมาจากประสบการณ และขยาย ความรูการทอเสื่อกกไปยังราษฎร 2 กลุม คือ หมูบานทับทิมสยาม 06 และหมูบานจุฬาภรณ พัฒนา 5 ● งานชวยเหลือราษฎรที่ประสบภัยพิบัติ ตามพระราชดํารัสรับสัง่ ไดมอบถุงพระราชทานแก ผูประสบภัยหนาวและอุทกภัย ผลงานการใหบริการรักษาพยาบาล และสงเสริม สุขภาพเพื่อการศึกษา ศาสตราจารย ดร.สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจ า ฟ า จุ ฬ าภรณวลั ย ลั ก ษณ อั ค รราชกุ ม ารี องคประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ ทรงตระหนัก ถึงมหันตภัยของโรคมะเร็งที่มีผลกระทบตอสังคม และเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ความทุกขยากของผูปวยและสมาชิกในครอบครัว ดังนั้น จึงทรงมีพระดําริจัดตั้ง ‘ศูนยวิจัยศึกษาและบําบัดโรคมะเร็ง สถาบันวิจัยจุฬาภรณ’ ซึ่งปจจุบันไดพระราชทานนามใหม เปน ‘โรงพยาบาลจุฬาภรณ’ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระนางเจ า สิ ริ กิ ติ์ พ ระบรมราชิ นี น าถ เนื่ อ งในวโรกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ มีวัตถุประสงค เพื่อมุงหวังใหเปนโรงพยาบาลที่ชวยเหลือประชาชนชาวไทย ทีต่ อ งทนทุกขทรมานจากโรคมะเร็ง และโรคอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ และให เ ป น สถาบั น แห ง ความเป น เลิ ศ ทางวิ ช าการ ที่ จ ะ ชวยประเทศชาติในการพัฒนาบุคลากรทางการแพทย ใหการ รักษาโรคที่ไดผลดีทัดเทียมกับประเทศที่พัฒนาแลว ดานงานบริการทางการแพทย ความกาวหนาทางการรักษาโรคมะเร็ง โรงพยาบาล จัดทําโปรแกรมเพือ่ การรักษาโรคมะเร็งแบบครบวงจร ดวยทีม แพทยผูเชี่ยวชาญ มีการกําหนดแผนการรักษาแบบสหสาขา วิชาชีพ พรอมทั้งใหการตรวจวินิจฉัยโรคดวยเครื่องมือและ เทคโนโลยีทที่ นั สมัย โดยเฉพาะอยางยิง่ เทคโนโลยีทางรังสีและ ทางเวชศาสตรนิวเคลียร ซึ่งปจจุบันสามารถจัดทําโปรแกรม เพื่อการรักษา จํานวน 4 Care Program ไดแก โปรแกรม การดูแลรักษามะเร็งลําไสใหญและทวารหนัก (Colorectal Cancer Care Program) โปรแกรมการดูแลรักษามะเร็ง ●

ดานงานพัฒนาสภาพแวดลอมและคุณภาพชีวิต ● งานดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม โครงการอุทยาน ใตทะเล จุฬาภรณ 36 ไดวางทุน พรอมฐานซิเมนตเพือ่ ปองกัน การทิง้ สมอเรือและอนุรกั ษแนวปะการัง พืน้ ทีท่ ะเลฝง อันดามัน ตั้งแตจังหวัดระนองไปจนถึงจังหวัดสตูล รวม 92 ทุน และได สรางจิตสํานึกใหกบั ประชาชนทัว่ ไปไดฝก อบรมดํานํา้ เพือ่ การ อนุรักษ ● งานพัฒนาคุณภาพชีวต ิ ราษฎร งานโครงการชุมชน บานนํ้าใส ใหบริการดานอาคารและสถานที่ฝกอบรมอาชีพ แกหนวยงานราชการ และเปดหองสมุดชุมชนไวบริการเพื่อ เสริมสรางการอานหนังสือใหแกประชาชน ● งานส ง เสริ ม ความรู  ด  า นการเกษตรเพื่ อ พั ฒ นา อาชีพ แกราษฎรในหมูบานทับทิมสยาม โครงการสมุนไพร ได ศึ ก ษา ทดลอง และผลิ ต พื ช สมุ น ไพรที่ มี ศั ก ยภาพใน ดานงานวิจยั ของสถาบันวิจยั จุฬาภรณ เพือ่ หาสารสําคัญ และ ใชประโยชนในการรักษา พรอมกับรวบรวมพันธุพืชสมุนไพร เพื่อเปนแหลงพันธุกรรมพืชสุมนไพร และคัดเลือกชนิดที่มี ความตองการทางดานงานวิจัยและตลาด ● โครงการปลูกเลี้ยงและรวบรวมสายพันธุกลวยไม และไมดอกไมประดับ ทีม่ ศี กั ยภาพและเปนความตองการของ ตลาด ทั้งนี้ไดดําเนินการวิจัยและพัฒนาพันธุพระนาม ซึ่งได จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

118

รายงานประจําป 2558


คุณประโยชน /มูลค าสูง

เซลลตับและมะเร็งทอนํ้าดี (Liver Cancer Care Program) โปรแกรมการดูแลรักษามะเร็งปากมดลูก (Cervical Cancer Care Program) และโปรแกรมการดูแลรักษามะเร็งปอด (Lung Cancer Care Program) ขยายบริ ก ารทางการแพทย เพื่ อ รองรั บ การ เปลีย่ นแปลงของสังคม โดยขยายเวลาการใหบริการและสาขา การใหบริการ เชน เปดศูนยสุขภาพสตรี และการคัดกรอง มะเร็ง คลินิกนอกเวลา ปจจุบันมีผูรับบริการผูปวยนอกและ ผูปวยใน จํานวน 93,899 ราย และจัดคลินิกประเมินความ เสี่ยงโรคมะเร็ง บริการใหสําหรับประชาชนทั่วไป ทั้งใน โรงพยาบาล และชุมชนในเขตกรุงเทพฯ รวมถึงจัดหนวย บริ ก ารคลิ นิ ก ประเมิ น ความเสี่ ย งออนไลน ผ า นเว็ บ ไซต โรงพยาบาลจุฬาภรณ และออกใหบริการเคลื่อนที่ โดยมี ผูรับบริการ จํานวน 910 ราย นอกจากนี้ ไดดําเนินโครงการ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ภูมพิ ลอดุลยเดช มหาราช เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา ในป พ.ศ. 2560 โดยการกอสรางอาคารโรงพยาบาล จุฬาภรณ ขนาด 400 เตียง สวนขยายเพิ่มเติมการใหบริการ ทางการแพทย ระยะที่ 1 ตลอดจนพัฒนาศักยภาพในดาน ผลงานทางวิชาการและปรับปรุงระบบการดําเนินงานอยางมี ประสิทธิภาพและคุณภาพ โดยในปจจุบัน โรงพยาบาลไดรับ การรับรองจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องคการ มหาชน) สรพ. ระยะเวลาการรับรอง 19 เม.ย. 2557-18 เม.ย. 2559 โดยภารกิจของโรงพยาบาลไดรับการรับรองคุณภาพ ในหลายดาน อาทิ ดานหองปฏิบัติการกลาง ดานหองปฏิบัติ การวิจัย ดานหองปฏิบัติการพยาธิพิทยา ดานการพยาบาล

โรงพยาบาลจุฬาภรณ และดานงานบริการทางการแพทย ศูนยไซโคลตรอนและเพทสแกนแหงชาติ ทั้งนี้ ไดมีการ เตรียมความพรอมจัดทํา ‘โครงการพัฒนาโรงพยาบาลมุงสู คุณธรรม’ โดยสงบุคลากรของโรงพยาบาลเขาศึกษาดูงาน หน ว ยงานต น แบบด า นคุ ณ ธรรม ทั้ ง นี้ เ ป น ไปตามแนว พระนโยบายในการทํางานแกผูบริหาร แพทย พยาบาล และ บุคลากรทางการแพทยของโรงพยาบาลจุฬาภรณ เพือ่ ใหยดึ ถือ คุณธรรมเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน เนนประโยชนของ ประชาชนเปนสําคัญ ดานงานโครงการวิจยั โรคมะเร็ง โรงพยาบาลมุง เนน ความเปนเลิศทางวิชาการ โดยเฉพาะการวิจยั ศึกษา เปนฐาน รองรับการรักษาโรคมะเร็ง ดังนั้น จึงใหความสําคัญกับการ วิจัยโรคมะเร็งควบคูไปกับการรักษาพยาบาล เพื่อคนหาองค ความรูใหม ทั้งในระดับ Translational Research Clinical Research และ Population based Research ซึง่ ในป 2558 มีโครงการวิจยั ทีอ่ ยูร ะหวางดําเนินการทัง้ ตอเนือ่ งและเพิม่ เติม รวม 10 โครงการ ดานกิจกรรมวิจยั โรคมะเร็งระยะยาว (Populationbased cohort studies) เพื่อสรางองคความรูเกี่ยวกับโรค มะเร็งบนฐานประชากรไทยในเมืองและในชนบท โดยดําเนินการ กิจกรรมตางๆ ไดแก การจัดกิจกรรม ‘โครงการบําเพ็ญ พระกุศลในศาสตราจารย ดร.สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟา จุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี ในโอกาสคลายวันประสูต’ิ โดยในป 2558 จัดกิจกรรม ‘โครงการ เพท-ซีที สแกน เพื่อ ผูปวยมะเร็งตอมนํ้าเหลืองชนิดทีเซลล’ จํานวน 1 โครงการ และการติดตามดูแลเฝาระวังและรักษาผูป ว ยใน ทีด่ าํ เนินการ ในโรงพยาบาลจุฬาภรณ ในชุมขนเขตกรุงเทพฯ และใน เขตปริมณฑล จํานวน 7 โครงการ ไดแก โครงการตรวจคัด กรองโรคมะเร็งลําไสใหญและทวารหนัก โครงการเฝาระวัง และคัดกรองโรคมะเร็งเซลลตับในผูปว ยโรคไวรัสตับอักเสบบี เรือ้ รัง โครงการปองกันและเฝาระวังมะเร็งปากมดลูกแนวใหม โครงการปองกันและเฝาระวังปากมดลูก ณ ตําบลบางขะแยง โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปอดแบบบูรณาการ โครงการ ตรวจคัดกรองมะเร็งลําไสใหญ กลุมที่ 2 และโครงการตรวจ รักษามะเร็งลําไสใหญ ระยะที่ 2 โดยใชรหัสพันธุกรรมเฉพาะ บุคคล และการติดตามดูแลเฝาระวังและรักษาผูปวย ที่ขยาย การใหบริการจากในเมืองไปสูร ะดับภูมภิ าค 2 โครงการ ไดแก สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

119


Annual Report

โครงการศึ ก ษาและบํ า บั ด โรคมะเร็ ง เซลล ตั บ และท อ นํ้ า ดี อ.บานหลวง จ.นาน ระยะที่ 2 และโครงการปองกันและ ควบคุมมะเร็งเฉลิมพระเกียรติฯ จ.รอยเอ็ด นอกจากนี้ โรงพยาบาล ไดดําเนินกิจกรรมตาม พระปณิธาน ในการชวยเหลือผูปวยผูยากไร ใหเขาถึงบริการ รักษาพยาบาลอยางทั่วถึง และใหความอนุเคราะหผูยากไร โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2558 ไดใหความอนุเคราะหผูปวย ยากไร ดังนี้ (1) รับเปนคนไขในพระอนุเคราะห จํานวน 70 ราย และ (2) ใหการสงเคราะหผูปวย จํานวน 539 ราย และจัดกิจกรรมชวยเหลือสังคมตามพระปณิธาน โดยจัด

120

รายงานประจําป 2558

หนวยแพทยพระราชทานรวมกับมูลนิธิแพทยอาสาสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) โดยไดออกให บริการ จํานวน 15 จังหวัด มีผูเขารับบริการ 3,290 ราย จัดหนวยแพทยพระราชทาน โรงพยาบาลจุฬาภรณ เพื่อ ช ว ยเหลื อ ผู  ป ระสบภั ย ต า งๆ ตามพระดํ า รั ส รั บ สั่ ง เช น ภัยหนาว อุทกภัย โดยไดออกใหบริการ จํานวน 4 จังหวัด มี ผู  เ ข า รั บ บริ ก าร 893 ราย และให บ ริ ก ารหน ว ยแพทย พระราชทาน ณ พระตํ า หนั ก จั ก รี บ งกช ทุ ก วั น จั น ทร อยางตอเนื่อง มีผูเขารับบริการ 1,351 ราย


คุณประโยชน /มูลค าสูง

มหาวิทยาลัยวิจัยแห งชาติ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดสรร งบประมาณสนับสนุนการวิจัยแกมหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ (National Research University; NRU) จํานวน 9 แหง ไดแก จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี มหาวิทยาลัยธรรมศาตร มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร โดยมีการทํางานเปนกลุม วิจยั แบบบูรณาการ (Supra Cluster) 6 ดาน ไดแก ดานเกษตรและอาหาร ด า นพลั ง งาน ด า นสั ง คมศาสตร แ ละมนุ ษ ย ศ าสตร ด า นสิ่ ง แวดล อ มและทรั พ ยากรธรรมชาติ ด า นสุ ข ภาพ ดานอุตสาหกรรม โดยมุงเนนการผลิตและพัฒนาศักยภาพ ของทรัพยากรบุคลากรวิจัยใหมีคุณภาพสูง ซึ่งเปนการสราง ฐานความรูที่แข็งแกรงทางวิชาการ เกิดองคความรูแบบ สหสาขาวิชาอยางเปนรูปธรรม พรอมทั้งสนับสนุนใหเกิด ความเชื่อมโยงแบบบูรณาการของงานวิจัยอยางเปนระบบ อั น นํ า ไปสู  ก ารเปลี่ ย นผ า นสั ง คมไทยสู  สั ง คมเศรษฐกิ จ ฐานความรูควบคูกับการพัฒนามหาวิทยาลัยไทยสูการเปน มหาวิทยาลัยวิจัยระดับโลก สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

121


Annual Report

ในภาพรวมที่ผานมาโครงการพัฒนามหาวิทยาลัย วิ จั ย แห ง ชาติ เ ป น โครงการที่ มี คุ ณ ประโยชน ต  อ ประเทศ อยางมาก เนื่องจากสามารถสรางผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง ทัง้ ในระดับชาติและนานาชาติ สรางบุคลากรระดับสูงดานการ วิจัยออกสูสังคม ตลอดจนนําความรูพื้นฐานไปประยุกตสราง ผลิตภัณฑและนวัตกรรมที่สามารถนําไปใชประโยชนไดจริง เปนจํานวนมาก โดยมีผลงานวิชาการระดับชาติและนานาชาติ 10,361 เรือ่ ง บัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอก 755 คน บัณฑิต ศึกษาระดับปริญญาโท 1,355 คน สิทธิบตั ร/อนุสทิ ธิบตั รทีย่ นื่ จด 312 เรื่อง ตนแบบผลิตภัณฑ 390 ชิ้น และผลงานเชิง ประจักษ 680 ชิ้น (ผลการดําเนินงานระหวางป 2554-2556) มหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ มีโครงการวิจัยเดนที่ สามารถนําไปใชประโยชนไดจริง อาทิ โครงการปรับปรุงพันธุ มันสําปะหลัง ‘เกษตรศาสตร 50’ ดําเนินการโดยมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร โครงการวิจยั โรคมะเร็งทอนํา้ ดี ดําเนินการโดย มหาวิทยาลัยขอนแกน โครงการวิจัยการวินิจฉัยกอนคลอด

122

รายงานประจําป 2558

และควบคุมกลุมอาการดาวน ดําเนินการโดยมหาวิทยาลัย เชียงใหม โครงการวิจยั พัฒนาเทคโนโลยีอบแหงขัน้ สูงสําหรับ อาหารและวัสดุชวี ภาพ ดําเนินการโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี โครงการบริหารจัดการของเสียแบบครบ วงจร ดําเนินการโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี โครงการ วิจยั และพัฒนาวิศวกรรมแรงลมและพลศาสตรของโครงสราง อยางยัง่ ยืน ดําเนินการโดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โครงการ การผลิตสวนประกอบมาตรฐานของวัคซีนโรคภูมแิ พทเี่ กิดจาก สารกอภูมิแพในอาคารและการทดสอบประสิทธิภาพของ วัคซีนตนแบบ ดําเนินการโดยมหาวิทยาลัยมหิดล โครงการ วิจัยการพัฒนาเทคโนโลยีการหลอโลหะแบบใหม ดําเนินการ โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และการพัฒนาเกราะแข็ง กั น กระสุ น พอลิ เ มอร ค อมพอสิ ท สมรรถนะสู ง จากเมตริ ก ประเภทพอลิเบนซอกซาซีนเสริมแรงดวยเสนใยชนิดตางๆ ดําเนินการโดยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


คุณประโยชน /มูลค าสูง

ศูนย ความเป นเลิศ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยสํานัก พัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจยั ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีพนั ธกิจหลักในการกํากับดูแลการทํางานของศูนยความเปนเลิศ เพื่อใหสามารถดําเนินการไดตามเปาหมายนโยบาย และ วัตถุประสงคที่กําหนด ซึ่งมีมหาวิทยาลัยของรัฐ สถาบันวิจัย และสถาบันการศึกษานานาชาติเขารวมในโครงการ รวมทัง้ สิน้ 30 สถาบัน โดยกลไกของศูนยความเปนเลิศ คือ ศูนยวิจัย เฉพาะทางที่ขับเคลื่อนการดําเนินงานดานการวิจัยเพื่อสราง องคความรู และการพัฒนานักวิจยั ทีม่ ที กั ษะดานการวิจยั และ มีความรอบรูเทาทันโลก ทั้งเพื่อการพึ่งตนเองและเพื่อสราง เทคโนโลยีและนวัตกรรมสําหรับเชื่อมโยงภาคการผลิต ใน ปจจุบัน มีศูนยความเปนเลิศภายใตการดูแลรวม 11 ศูนยฯ คือ (1) ศูนยฯ นวัตกรรมทางเคมี (2) ศูนยฯ อนามัย สิ่งแวดลอมและพิษวิทยา (3) ศูนยฯ การจัดการสารและของ เสี ย อั น ตราย (4) ศู น ย ฯ เทคโนโลยี ป  โ ตรเคมี แ ละวั ส ดุ (5) ศูนยฯ เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดลอม (6) ศูนยฯ เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร (7) ศูนยฯ นวัตกรรมเทคโนโลยี หลังการเก็บเกี่ยว (8) ศูนยฯ คณิตศาสตร (9) ศูนยฯ ฟสิกส

(10) ศูนยฯ ความหลากหลายทางชีวภาพ และ (11) ศูนยฯ เทคโนโลยี ชีวภาพทางการแพทย การดําเนินงานดานวิชาการของศูนยความเปนเลิศ จะเป น ไปในลั ก ษณะเป น โปรแกรมวิ จั ย (Research Programme) โดยในแตละโปรแกรมจะมีการออกแบบงาน วิ จั ย ที่เ ป น กลุ  ม ก อ นและครบวงจร กระจายงานออกเปน โครงการวิจยั (Research Projects) ตามความเชีย่ วชาญและ ความชํานาญของศูนยความเปนเลิศ ซึ่งทายที่สุด เมื่อนําผล งานของแตละโครงการวิจัยมาสรุปรวมกัน สามารถที่จะ ตอบโจทย ป  ญ หาทางวิ ช าการได อ ย า งบู ร ณาการ โดยใน ปงบประมาณ 2558 ณ สิ้นไตรมาส 3 (ต.ค. 2557 - มิ.ย. 2558) ศูนยฯ ดําเนินโปรแกรมวิจัย จํานวน 9 โปรแกรม โดยมีโครงการวิจัยภายใตโปรแกรมรวม 28 โครงการ และ มีผลงานวิจยั ทีไ่ ดรบั การตีพมิ พและนําไปใชประโยชน จํานวน 54 ชิ้นงาน ซึ่งผลการดําเนินงานนับตั้งแตเริ่มดําเนินการ (ธันวาคม 2542) ถึงสิ้นสุด ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ศูนยความเปนเลิศมีผลการดําเนินงานดานวิชาการสรุปได ดังตอไปนี้

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

123


Annual Report

124

กิจกรรม ผลการดําเนินงาน ผลงานวิจัยที่ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา 162 สิทธิบัตรที่ไดรับการจดทะเบียนแลว 50 สิทธิบัตรที่อยูระหวางรอผลการอนุมัติ 112 ผลการวิจัยเพื่อการสรางองคความรู 21,617 1. ผลการวิจัยที่มีผลกระทบดานการพัฒนาเศรษฐกิจ 16,505 2. ผลงานวิจัยที่มีผลกระทบดานสังคม 1,120 3. ผลงานวิจัยที่มีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพอนามัย 3,992 การพัฒนานักวิจัยระดับสูง 7,512 1. นักวิจัยสาขาวิทยาศาสตรพื้นฐาน 1,475 2. นักวิจัยสาขาสิ่งแวดลอมและสุขภาพอนามัย 1,319 3. นักวิจัยสาขาวิทยาศาสตรประยุกตและเทคโนโลยี 4,718 การใหบริการทางวิชาการและถายทอดเทคโนโลยี 1. การวิจัยรวมกับภาคการผลิต 1,545 2. การใหบริการวิเคราะห ตรวจสอบ รับรองมาตรฐาน และการใหคําปรึกษาแนะนํา 35,077

โครงการ ครั้ง

3. การพัฒนาระบบคาดการณสถานการณในอนาคต 4. การถายทอดเทคโนโลยี ฝกอบรม และประชุมวิชาการ

โครงการ ครั้ง

รายงานประจําป 2558

32 2,264

หนวย ชิ้นงาน ชิ้นงาน ชิ้นงาน ชิ้นงาน ชิ้นงาน ชิ้นงาน ชิ้นงาน คน คน คน คน


คุณประโยชน /มูลค าสูง

การวิจัยทางด านยุทโธปกรณ เพื่อพัฒนาศักยภาพของกองทัพและการป องกันประเทศ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดทํา บันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการวิจยั และพัฒนา ระหวางสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากับกองทัพบก เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2558 เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการ พัฒนานักวิจัยดานยุทโธปกรณในสถาบันอุดมศึกษา เพื่อให กองทั พ บกในฐานะผู  นํ า ผลงานวิ จั ย ไปใช ป ระโยชน ไ ด รั บ ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและมาตรฐานตรงตอความตองการ และสนับสนุนอุตสาหกรรมปองกันประเทศ โดยการทดแทน และลดการพึ่งพาเทคโนโลยีและนวัตกรรมจากตางประเทศ ซึ่ ง ตามบั น ทึ ก ความร ว มมื อ กองทั พ บกจะกํ า หนดความ ต อ งการในการวิ จั ย และพั ฒ นายุ ท โธปกรณ ใ ห กั บ สถาบั น อุดมศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทั้งนี้ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารวมกับกองทัพ บกกํ า หนดโจทย วิ จั ย ด า นยุ ท โธปกรณ เ พื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพ ของกองทัพและการปองกั นประเทศ โดยมีวัตถุ ประสงค ที่สําคัญ 4 ประการ คือ (1) เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยว

กับทิศทางนโยบายการวิจัยและพัฒนาการทางทหารและ แนวทางการพัฒนานักวิจัยในมหาวิทยาลัยดานอุตสาหกรรม การปองกันประเทศ (2) เพื่อใหมีสวนรวม ระดมสมองในการ พัฒนาโจทยวิจัยดานยุทโธปกรณรวมกัน (3) เพื่อใหไดโจทย วิจัยดานยุทโธปกรณที่ตรงกับความตองการของกองทัพบก และสอดคลองกับความเหมาะสมและเปนไปไดของการจัดทํา โครงการวิจัย และ (4) เพื่อใหนักวิจัยของมหาวิทยาลัย เห็นถึงความตองการของผูใ ชและสอดคลองกับความสามารถ ของนักวิจัย ฯ ทั้ ง นี้ ในป 2558 สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาไดจัดสรรทุนวิจัยทางดานยุทโธปกรณเพื่อ พัฒนาศักยภาพของกองทัพและการปองกันประเทศภาย ใต โ ครงการส ง เสริ ม การวิ จั ย ในอุ ด มศึ ก ษาและพั ฒ นา มหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ จํานวน 14 ทุน ใหกับสถาบัน อุดมศึกษาจํานวน 8 แหง ในวงเงินประมาณ 30 ลานบาท

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

125


Annual Report

การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ ายทอดเทคโนโลยีสู ชุมชนฐานราก สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเริ่มดําเนิน โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถายทอดเทคโนโลยีสูชุมชน ฐานราก ตั้งแตป พ.ศ. 2546 เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษามี สวนรวมในการเสริมสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจฐานราก และเชือ่ มโยงกับเครือขายชุมชนทองถิน่ สนับสนุนการนําองค ความรูจากผลงานวิจัยและภูมิปญญาทองถิ่นมาถายทอด

ทักษะความรู และเทคโนโลยีที่เหมาะสมแกชุมชนทองถิ่น ให ส ามารถยกระดั บ ขี ด ความสามารถด า นการผลิ ต และ การจัดการของเศรษฐกิจชุมชน รวมถึงการสรางมูลคาเพิม่ ของ ผลิตภัณฑอยางตอเนือ่ ง เพิม่ โอกาสในการสรางอาชีพ รายได และการพึ่ ง พาตนเองส ง ผลต อ การสร า งความเข ม แข็ ง ทางสังคม

ความเชื่อมโยงการดําเนินงานวิจัยกับชุมชน/ทองถิ่น

กําหนดปญหา/ โจทยวิจัยเพื่อสราง โครงการวิจัย ●

เครือขายการวิจัย กรรมการบริหารโครงการ

สวนราชการภูมิภาค ผูนําทองถิ่น/อบต./เทศบาล ครูภูมิปญญา ประชาชน ภาคเอกชน

เกษตรกรรม

ผูแทนสถาบันอุดมศึกษา ผูทรงคุณวุฒิ นักวิจัย

นักวิจัย สรางกระบวนการมีสวนรวมกับชุมชน

อาหาร

ปศุสัตว

หัตถกรรม

CONTEXT

อุตสาหกรรม

ทองเที่ยว/ อนุรักษ

126

ปีงบประมาณ

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

25552556

2557

2558

ผลการดําเนินงานตั้งแตปงบประมาณ 2546 - 2558

งบประมาณ (ลานบาท) จํานวนโครงการ (โครงการ)

69.1

63.4

61.4

48.5

50.0

47.5

46.6

38.3

35.3

24.9

15.8

5.0

143

159

238

204

199

200

237

208

240

178

120

42

รายงานประจําป 2558


คุณประโยชน /มูลค าสูง

การวิจัยและพัฒนาภาครัฐร วมเอกชน ในเชิงพาณิชย โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาภาครั ฐ ร ว มเอกชนใน เชิงพาณิชยเปนความรวมมือระหวางสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา สถาบันอุดมศึกษา และภาคอุตสาหกรรม เนนความตองการของภาคอุตสาหกรรมเปนหลัก เพือ่ สงเสริม และสนับสนุนใหนําองคความรูจากสถาบันอุดมศึกษามาวิจัย และพัฒนารวมกับกลุมอุตสาหกรรมซึ่งเปนแหลงเงินทุนและ วัตถุดิบที่มีศักยภาพสูง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเกิดความ ดําเนินการวิจัย ภายในระยะเวลา 1 ป

สามารถในการสรางผลิตภัณฑใหม กระบวนการผลิตใหม หรือระบบการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดจากกระบวน การผลิ ต นอกจากนี้ ยั ง แสดงถึ ง ความร ว มมื อ ระหว า ง อุด มศึ ก ษาและภาคการผลิ ต อย า งเปน รูป ธรรม และเพื่อ การส ง เสริ ม การนํ า ทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญาไปใช ป ระโยชน ในเชิงพาณิชยไดจริง

ความตองการของ ภาคอุตสาหกรรม

Project Preiod

Problem Statement

Budget

Output

ภาครัฐ : ภาคเอกชน 70 : 30 (cash 10%)

Patent 3P

Publish

Prototype

26

25

20

2558

26

2557

35

2554

จํานวนโครงการ (โครงการ)

40

2553

40

2552

40

2551

2549

40

2550.2

2548

งบประมาณ (ลานบาท)

2550.1

ปีงบประมาณ

2547

ผลการดําเนินงานตั้งแตปงบประมาณ 2547 -2558

38.0

22.6

15.8

9.0

5.6

4.5

23

40

26

15

14

8

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

127


Annual Report

หน วยจัดการทรัพย สินทางป ญญาและถ ายทอดเทคโนโลยีในสถาบันอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีแนวทาง การสนั บ สนุ น การสร า งและพั ฒ นางานวิ จั ย ในสถาบั น อุดมศึกษา โดยสงเสริมใหมีการจัดตั้งหนวยจัดการทรัพยสิน ทางปญญาและถายทอดเทคโนโลยี (Technology Licensing Office: TLO) ในสถาบันอุดมศึกษา ตั้งแต ป พ.ศ. 2549 เพื่อ สงเสริมการพัฒนางานวิจัยในสถาบันอุดมศึกษาสูการบริหาร จัดการทรัพยสินทางปญญาและสามารถถายทอดเทคโนโลยี ซึ่ ง จะส ง ผลทํ า ให ง านวิ จั ย เกิ ด มู ล ค า มี ป ระโยชน ทั้ ง ทาง เศรษฐกิจและสังคม และเปนแนวทางทีป่ ระเทศตางๆ ทัว่ โลก ให คุ ณ ค า และความสํ า คั ญ ทั้ ง นี้ ได ใ ห ก ารสนั บ สนุ น งบ ประมาณการดําเนินงานใหแกหนวยจัดการทรัพยสินทาง ปญญาและถายทอดเทคโนโลยี (TLO) ของสถาบันอุดมศึกษา จํานวน 10 แหง ไดแก จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหิ ด ล มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสติ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ใหดาํ เนินงานตามนโยบายและกลยุทธเพือ่ สงเสริมการพัฒนา ระบบบริหารจัดการทรัพยสินทางปญญาของสถาบันตาม อัตลักษณ ปรัชญา และวิสยั ทัศนของแตละสถาบันอุดมศึกษา โดยสอดคลองกับสภาพแวดลอมของชุมชน/ทองถิ่น รวมถึง

128

รายงานประจําป 2558

เพื่อพัฒนางานวิจัยในสถาบันอุดมศึกษาใหเกิดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐที่มีมูลคาเชิงพาณิชย เปนการยกระดับคุณภาพ ของงานวิจยั ใหสงู ขึน้ เกิดการจดทะเบียนสิทธิบตั ร อนุสทิ ธิบตั ร และทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญาประเภทต า งๆ อี ก ทั้ ง สามารถ ถายทอดเทคโนโลยีทําใหเกิดมูลคาทางเศรษฐกิจ ผลการดําเนินงานของหนวย TLO ที่ สกอ. ไดใหการ สนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาทั้ง 10 แหง ปรากฏความสําเร็จ ที่ ชั ด เจนตามลํ า ดั บ สํ า หรั บ ป 2558 สกอ. ได กํ า หนด ยุทธศาสตรในการสนับสนุนสงเสริมสถาบันอุดมศึกษาใหมกี าร ดําเนินการจัดการทรัพยสินทางปญญาในสถาบันอุดมศึกษา อยางเปนระบบ ตามแนวทางขับเคลื่อนการพัฒนาหนวย จัดการทรัพยสินทางปญญาในสถาบันอุดมศึกษา (Road Map) โดยการนําองคความรู ประสบการณที่ไดจากการ สนับสนุนหนวย TLO ทั้ง 10 แหงมาดําเนินการศึกษาพัฒนา สามารถจัดแบงเปนกลุมหนวยจัดการทรัพยสินทางปญญา จํานวน 6 กลุม ไดแก (1) Early Stage (2) Defensive (3) Cost control (4) Profit center (5) Integrated และ (6) Visionary ซึ่งจะทําให สกอ. สามารถสนับสนุนสถาบัน อุดมศึกษาดานการบริหารจัดการทรัพยสนิ ทางปญญาอยางมี หลักเกณฑที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


คุณประโยชน /มูลค าสูง

อนุรกั ษ พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดวยโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี โดยพระราชานุญาตของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดมีประกาศแตงตั้งคณะกรรมการ ดําเนินงานโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุด มศึ ก ษา เพื่ อ ดํ า เนิ น งาน ของโครงการฯ ใหประสบความสําเร็จ โดยคณะกรรมการ ดําเนินงานโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดําริฯ อพ.สธ.-สกอ. มีมติเห็นชอบใหจัดตั้งเครือขาย เชิงประเด็นโครงการ อพ.สธ. (เครือขาย C- อพ.สธ) และ สนับสนุนใหแตละเครือขายเชิญชวนสถาบันอุดมศึกษาใน เครือขายเขารวมสนองพระราชดําริฯ โดยรวมกันจัดทําแผน แมบทที่เหมาะสมกับศักยภาพและบริบทของแตละเครือขาย และบูรณาการขึน้ เปนแผนแมบทของสํานักงานคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษา รวมทั้ ง ร ว มกิ จ กรรม/โครงการเพื่ อ สนอง พระราชดําริตามแผนแมบทดังกลาว

ในป 2558 ได มี ก ารจั ด ประชุ ม คณะกรรมการ ดําเนินงานโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดําริฯ อพ.สธ.-สกอ. เพื่อกําหนดแนวทางการดําเนิน งานของ สกอ. พรอมทัง้ ประชาสัมพันธใหเครือขาย C-อพ.สธ. จัดทําแผนการดําเนินงานของเครือขายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558 และรายละเอียดงบประมาณ เพือ่ รับการสนับสนุน งบประมาณจาก สกอ. ทั้งนี้ สกอ. ไดจัดสรรงบประมาณ งบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของเครือขาย C- อพ.สธ. ทั้ง 9 เครือขาย ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และจัดประชุม สัมมนาเชิงปฏิบัติ การแนวทางการสนอง พระราชดําริฯ โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดําริฯ รวมกับเครือขายฯ ตลอดจนติดตามผลการ ดําเนินงานของเครือขาย C- อพ.สธ. และรายงานผลการ ดําเนินงานของ อพ.สธ.-สกอ. ตอหนวยงานที่เกี่ยวของ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

129


Annual Report

การวิจัยชุมชน : การวิเคราะห ข อมูลและการเขียนรายงานผลการวิจัยชุมชน การวิจัยเปนมาตรฐานหนึ่งของการดําเนินการตาม ภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา ทีส่ ถาบันอุดมศึกษาตองดําเนิน พันธกิจดานการวิจัยอยางมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ภายใต จุดเนนเฉพาะ วิทยาลัยชุมชนเปนสถาบันอุดมศึกษา ประเภท ก ดําเนินการตามพันธกิจในการวิจยั ภายใตบริบทของวิทยาลัย ชุมชน โดยการศึกษา คนควา สํารวจ จัดทําระบบขอมูลการ เปลี่ ย นแปลงความต อ งการของชุ ม ชนตามกระบวนการ ระเบี ย บวิ ธี วิ จั ย ที่ เ หมาะสม เพื่ อ นํ า มาผลการวิ จั ย มาใช ประโยชนในการจัดการศึกษา ทั้งดานวิชาการและวิชาชีพใน หลักสูตรที่สอดคลองกับอาชีพ ธุรกิจ เศรษฐกิจ และปญหา ทางสังคมของชุมชนในรูปแบบทีเ่ ปดกวาง ทันตอสถานการณ การเปลี่ยนแปลง หลากหลายตามความตองการของชุมชน ตลอดจนนําผลการวิจยั ไปพัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง ในรูปแบบ โครงการพัฒนา สงเสริมใหมีการพัฒนาอาชีพ และพัฒนา คุณภาพชีวิตของสมาชิกในชุมชน บุคลากรวิทยาลัยชุมชน จึ ง จํ า เป น ต อ งมี ค วามรู  ความสามารถในการวิ จั ย ชุ ม ชน การวิเคราะหขอมูลและการเขียนรายงานผลการวิจัยชุมชน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยสํานักบริหารงาน วิทยาลัยชุมชนเดิม และสถาบันวิทยาลัยชุมชน เห็นควร ดําเนินการ ‘โครงการฝกอบรม เรือ่ ง การวิจยั ชุมชน: การวิเคราะห ขอมูลและการเขียนรายงานผลการวิจัยชุมชน’ เพื่อตอยอด ส ง เสริ ม ความรู  ด  า นวิ จั ย ของวิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนให บุ ค ลากร วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนสามารถนํ า ข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากการศึ ก ษาและ

130

รายงานประจําป 2558

วิเคราะหชุมชนมาวิเคราะห เขียนรายงานผลการวิจัยชุมชน ตลอดจนนําเสนอรายงานผลการวิจัยชุมชนตามกระบวนการ ระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสมตอไป ทั้งนี้ ไดจัดอบรมเปน 4 รุน มีกลุมเปาหมายที่เขารับการอบรม จํานวน 195 คน รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 17 - 20 มีนาคม 2558 ณ โรงแรมเวียงใต มีผูเขารับการฝกอบรมเปนบุคลากรจาก วิทยาลัยชุมชนภาคกลาง 4 แหง ไดแก วิทยาลัยชุมชน สมุทรสาคร อุทัยธานี สระแกว และตราด รุนที่ 2 ระหวางวันที่ 21 - 24 เมษายน 2558 ณ โรงแรมเซ็นทาราดวงตะวัน เชียงใหม มีผูเขารับการฝก อบรมเปนบุคลากรจากวิทยาลัยชุมชนภาคเหนือ 5 แหง ไดแก วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน นาน แพร ตาก และพิจิตร รุนที่ 3 ระหวางวันที่ 28 เมษายน - 1 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมบุรีศรีภู บูติคโฮเต็ล จังหวัดสงขลา มีผูเขา รับการฝกอบรมเปนบุคลากรจากบุคลากรวิทยาลัยชุมชน ภาคใต 7 แหง ไดแก วิทยาลัยชุมชนสตูล พังงา ระนอง สงขลา ปตตานี ยะลา และนราธิวาส รุนที่ 4 ระหวางวันที่ 9 - 12 มิถุนายน 2558 ณ โรงแรมลายทอง จังหวัดอุบลราชธานี มีผูเขารับการฝก อบรมเปนบุคลากรวิทยาลัยชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 แหง ไดแก วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ยโสธร บุรีรัมย และ หนองบัวลําภู


การบริหารจัดการภายใน สกอ.

การบริหาร จัดการภายใน สกอ.

การบริหารและพัฒนาบุคลากร การพัฒนาระบบบริหารราชการ ภายในสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

131


Annual Report

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดใหความ สําคัญเกี่ยวกับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ องค ก รให มี ค วามรู  ทั ก ษะและสมรรถนะที่ ส อดคล อ งกั บ ตําแหนงเพื่อรองรับภารกิจเชิงยุทธศาสตรขององคกรตาม พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 และ แผนพัฒนาบุคลากร สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2558 มีผลการดําเนินงานที่สําคัญ โดยสรุปดังนี้ • สรรหาและคัดเลือกบุคลากรเขาสูตําแหนงและ แต ง ตั้ ง ในระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น ตามหลั ก เกณฑ ที่ ก.พ.กํ า หนด โดยเฉพาะตําแหนงในระดับผูบ ริหารระดับกลาง และระดับสูง เพือ่ ใหไดบคุ ลากรทีม่ คี วามรู ทักษะและสมรรถนะทีส่ อดคลอง กับตําแหนงเพื่อรองรับภารกิจเชิงยุทธศาสตรขององคกร • ปรับปรุงการกําหนดตําแหนงใหเหมาะสมและ สอดคลองกับสถานการณปจ จุบนั เพือ่ ประโยชนในการบริหาร ทรัพยากรบุคคล และสรางเสนทางความกาวหนาใหกับ บุคลากรอยางเปนระบบ • คัดเลือกขาราชการเพื่อรับทุนรัฐบาล ก.พ. (ทุน พั ฒ นาข า ราชการ/ศึ ก ษา) ตามที่ ไ ด รั บ การจั ด สรรจาก สํานักงาน ก.พ. อยางตอเนื่อง

132

รายงานประจําป 2558

• ฝ ก อบรมและพั ฒ นาสมรรถนะที่ จํ า เป น เพื่ อ เสริมสรางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษาใหเปนระบบและตอเนื่อง เชน - จัดการประชุมสัมมนาเพื่อถายทอดนโยบาย สูการปฏิบัติ เรื่อง ‘นโยบายและแนวทางในการขับเคลื่อน นโยบายสูก ารปฏิบตั ’ิ สําหรับบุคลากรสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา


การบริหารจัดการภายใน สกอ.

- จั ด ฝ ก อบรมหลั ก สู ต รเสริ ม สร า งความรู  สู  ประชาคมอาเซียนในป 2558 สําหรับบุคลากรสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (ASEAN for OHEC) - จัดใหมีการทดสอบความรูดานภาษาอังกฤษ และดําเนินการพัฒนาทักษะดานภาษาเพื่อใหเปนระบบและ ตอเนื่อง เชน ภาษาจีน ภาษาอาเซียน และภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เพือ่ เสริมสรางศักยภาพในการปฏิบตั ิ งานและรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน - จัดฝกอบรมหลักสูตรการเปนขาราชการทีด่ ใี ห กับขาราชการใหม - จัดฝกอบรมใหความรูแ กขา ราชการผูท าํ หนาที่ ประเมินของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเกี่ยวกับ เทคนิคและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการที่ดี

- จัดฝกอบรมใหความรูเพื่อเสริมสรางวินัยและ การดําเนินการทางวินยั และบทบาทผูบ งั คับบัญชาในการเสริม สรางพัฒนาใหขาราชการมีวินัย และปองกันมิใหขาราชการ กระทําผิดวินัย - เปดโอกาสและสนับสนุนใหมกี ารหมุนเวียนงาน ของบุคลากรภายในองคกร • พัฒนาคุณภาพชีวิตสําหรับบุคลากรสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยการจัดกิจกรรมพัฒนา คุณภาพชีวิตใหกับบุคลากรในรูปแบบที่หลากหลาย เชน กิจกรรมตรวจสุขภาพประจําป กิจกรรมสานสัมพันธบคุ ลากร สกอ. หรือที่เรียกวา ‘สกอ. เดย’ และศึกษาดูงานดานการ บริ ห ารสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาและศิ ล ปวั ฒ นธรรมภาคเหนื อ ตอนบนของ สกอ. เปนตน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

133


Annual Report

ประเมินคุณธรรมและความโปร งใสการดําเนินงานของหน วยงานภาครัฐ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดเขารวมการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสการดําเนินงานของหนวยงาน ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment - ITA) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558 ซึ่งเปนความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) และสํานักงานคณะกรรมการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สํานักงาน ป.ป.ท.) โดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดโครงการใหความรู ปลุกจิตสํานึกในการปองกันและปราบปรามการทุจริตใหกับเครือขายภาครัฐตอตานการทุจริตภายใตโครงการ ‘ขาราชการไทย ไรทุจริต’ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2558 ณ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และการชี้แจงการดําเนินงานของสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาที่มีคุณธรรมและความโปรงใสใหกับบุคลากรไดรับทราบ เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2558 นอกจากนี้ โรงเรียนนายรอยตํารวจไดมาสํารวจความคิดเห็นของบุคลากรใน สกอ. เกี่ยวกับวัฒนธรรมคุณธรรม และคุณธรรมในการทํางาน ตามแบบประเมิน Internal Integrity & Transparency Assessment : IITA ทั้งนี้ สกอ. ไดกําหนดมาตรการปองกันและแกไขปญหาการทุจริตประพฤติมิชอบและการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรม เพื่อเปนบรรทัดฐาน และเปนการสรางมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ใหมีความโปรงใส รวมทั้งเปนคานิยมรวมสําหรับ องคกรและเจาหนาที่ทุกคนพึงยึดถือเปนแนวทางปฏิบัติควบคูกับกฎหมาย ขอบังคับอื่นๆ อยางทั่วถึง ประกอบดวย 1. สงเสริมและสนับสนุนใหผูบริหารและเจาหนาที่ทุกระดับปฏิบัติราชการตามหลักธรรมาภิบาล และดําเนินชีวิตตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. สงเสริมและสนับสนุนใหผูบริหารและเจาหนาที่ทุกระดับปฏิบัติราชการตามประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือน และขอบังคับวาดวยจรรยาขาราชการ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พ.ศ. 2553 3. สงเสริมคานิยมการยกยองและเชิดชูความดี ความซื่อสัตยสุจริต และตอตานการทุจริต 4. สงเสริมการมีสวนรวมของภาคประชาชนในการติดตาม ตรวจสอบการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ 5. มาตรการการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อใชในการปองกันและปราบปรามการทุจริต 6. การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของการจัดซื้อจัดจางภาครัฐ 7. การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของการเบิกจายเงิน 8. การปฏิบัติของเจาหนาที่เพื่อมิใหมีการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดในระหวางเปนเจาหนาที่ 9. การปฏิบัติของเจาหนาที่ เพื่อมิใหดําเนินกิจการที่เปนการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสวนรวม

134

รายงานประจําป 2558


การบริหารจัดการภายใน สกอ.

จัดวางระบบการควบคุมภายใน และการประเมินผลการควบคุมภายใน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดประชุม สัมมนาเรื่อง ‘การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการ ประเมินผลการควบคุมภายในของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา’ ในวันที่ 3 มีนาคม 2558 ณ โรงแรมรามาดา เดมา เพื่ อ ให ข  า ราชการและบุ ค ลากรของสํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งขาราชการ ใหมไดทราบถึงมาตรฐานการวางระบบควบคุมภายใน และ กระบวนการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานและประเมิน ประสิทธิผลของการควบคุมภายใน ซึ่งมุงเนนใหสวนราชการ ปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์อยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล รวมทัง้ มีแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาระบบ งานอย า งต อ เนื่ อ ง และมี ค วามเชื่ อ มโยงสอดคล อ งไปใน แนวทางเดียวกันอันจะสงผลตอการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยรวมใหสําเร็จบรรลุเปาหมายตอไป ทั้งนี้ ผูเขารับการอบรมสามารถนําความรูไปจัดทํา รายงานการควบคุมภายในไดอยางถูกตอง ประกอบดวย

1. รายงานการประเมินผลองคประกอบของการ ควบคุมภายในสวนงานยอย (ปย.1) 2. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการ ควบคุมภายในสวนงานยอย (ปย.2) 3. หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (ปอ.1) 4. รายงานผลการประเมินองคประกอบของการ ควบคุมภายในระดับองคกร (ปอ.2) 5. รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในระดับ องคกร (ปอ.3) 6. รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการ ควบคุมภายในของผูตรวจสอบภายใน (ปส.)

ส งเสริมการจัดการความรู (Knowledge Management) สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดโครงการ และกิ จ กรรม ‘ส ง เสริ ม การจั ด การความรู  ใ นองค ก รของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา’ ประจําปงบประมาณ 2558 ตามนโยบายสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาใน การสงเสริมสนับสนุนการดําเนินการในเรื่องของการจัดการ ความรู (Knowledge Management) ทําใหเกิดการจัดการ ความรูภ ายในสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พัฒนา ไปสูองคกรแหงการเรียนรู (Learning Organization) และ สนับสนุนการดําเนินงานตามยุทธศาสตร/ภารกิจของ สกอ.

หรือสํานัก/หนวยงาน โดยมีกิจกรรม ดังนี้ (1) การประกวด การบรรยายวิชาการเพื่อถายทอดความรูและประสบการณใน การปฏิบัติงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู จํานวน 10 ครั้ง ระหวางเดือนพฤศจิกายน 2557 ถึง เดือนเมษายน 2558 จํานวน 29 องคความรู (2) การประกวดการเขียนบทความ ในหัวขอการพัฒนาคุณภาพชีวติ การเพิม่ ประสิทธิภาพในการ ทํางาน และการพัฒนาองคกรของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา โดยมีบุคลากรสงผลงานเขารวมประกวด จํานวน 15 ผลงาน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

135


Annual Report

การให ความรู ในการปฏิบัติงาน ‘4S’ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดโครงการใหความรูในการปฏิบัติงาน ‘4S’ เพื่อใหความรู ความเขาใจ แกบุคลากรของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อสรางความตระหนัก มีจิตสํานึกในการใหบริการตอผูรับบริการและ ผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อสรางความพึงพอใจในการใหบริการอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประกอบดวย - Service Mind การมีใจบริการ และมีศิลปะในการสื่อสารกับผูอื่น รูความตองการของผูรับบริการและผูมีสวนได สวนเสีย เพื่อใหมีขอมูลมากพอที่จะใชกําหนดกลยุทธการใหบริการได เปนการสราง ‘มูลคาเพิ่มใหกับการใหบริการ’ พัฒนา ปรับปรุงรูปแบบการใหบริการอยูเสมอ เพื่อตอบสนองความตองการและความคาดหวังของผูรับบริการวาจะไดรับการบริการที่ดี ดังทีเ่ คยไดรบั และรูจ กั กลาวคําขอโทษ และนําคําบนหรือขอรองเรียนมาเปนคําแนะนําในการปฏิบตั งิ าน รวมถึงไดแนะนําวิธกี าร ใหบริการที่ครองใจผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสียแบบยั่งยืน ‘บริการเยี่ยม’ - Speed สามารถปฏิบตั งิ านใหสาํ เร็จอยางรวดเร็ว อยางมีคณ ุ ภาพ และกําหนดระยะเวลาในการปฏิบตั งิ านได เปนการ ทํางานอยางมีคุณภาพ ดวยการบริหารเวลาที่ดี เพื่อที่จะนําเวลาที่เหลือไปคิดพัฒนางานอื่นไดตอไป - Smart สามารถปฏิบัติงานดวยความรอบคอบ และถูกตอง ซึ่งเปนคุณลักษณะของคนที่ทํางานอยางชาญฉลาด - Systematic การทํางานอยางมีระบบ จัดทําแผนงาน สรางทีมงานและมีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ลดขั้นตอนและ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน มุงเนนการตอบสนองความตองการของผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย มีการคัดเลือกกระบวนงาน ที่สําคัญและมีระบบการใหบริการที่มีประสิทธิภาพ รูงานของตนเองและผูอื่น ศึกษาความตองการและคาดหวังของลูกคา มีการ ติดตอประสานงานทีด่ ี รูจ กั ควบคุมอารมณ และสงเสริมการใหบริการทีเ่ หนือความคาดหมาย ตรงกับความตองการของประชาชน และสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรของสวนราชการ

136

รายงานประจําป 2558


การบริหารจัดการภายใน สกอ.

การจัดทําคู มือสําหรับประชาชน และการดําเนินการตามพระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2558 มอบหมายใหทุกหนวยงานที่เกี่ยวของกับการอํานวยความ สะดวกในการพิ จ ารณาอนุ ญ าตของทางราชการ รวมทั้ ง ผูปฏิบัติงานของสวนราชการและองคกรปกครองสวนทองถิ่น พิจารณาดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของตามพระราชบัญญัติ ดังกลาว ใหเกิดประโยชนแกประชาชน ตลอดจนใหจดั ทําคูม อื สําหรับประชาชนตามมาตรา 7 โดยสํานักงาน ก.พ.ร. ไดแจง ใหหนวยงานของรัฐจัดทําคูมือสําหรับประชาชนและสงให สํานักงาน ก.พ.ร. เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของขั้นตอน และระยะเวลากอนที่จะประกาศใหประชาชนรับทราบ ทั้งนี้ สํานักงาน ก.พ.ร. ไดจัดทําแนวทางการจัดทําคูมือสําหรับ ประชาชน ซึ่ ง ได กํ า หนดประเภทกระบวนงานบริ ก าร 4 ประเภท ไดแก (1) กระบวนงานบริการที่เบ็ดเสร็จในหนวย งานเดียว (2) กระบวนงานบริการที่เชื่อมโยงหลายหนวยงาน (3) กระบวนงานบริการที่ตอเนื่องจากหลายหนวยงาน และ (4) กระบวนงานที่ใหบริการในสวนภูมิภาคและสวนทองถิ่น สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดทํา คูมือสําหรับประชาชนตามพระราชบัญญัติการอํานวยความ

สะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 จํานวน 11 คูมือ ประกอบดวย (1) การขอรับใบอนุญาต จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (2) การขออนุญาตเปลี่ยน ประเภทสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (3) การขออนุญาตให เปลี่ยนชื่อสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (4) การโอนใบอนุญาต จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (5) การใหความเห็นชอบ การแกไขขอกําหนดของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ตามมาตรา 11 (1) - (7) แหงพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546 (6) การขอความเห็นชอบการดําเนินการของสถาบัน อุดมศึกษาเอกชน ตามมาตรา 74 (1) - (5) (7) การแตงตั้ง กรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ตามมาตรา 28 แหง พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2546 แกไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550 (8) การตรวจสอบวุฒิการ ศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนทีเ่ ลิกกิจการ (9) การออก หนังสือรับรองผลการศึกษาของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา เอกชนที่ เ ลิ ก กิ จ การ (10) การรั บ รองวิ ท ยฐานะสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชน และ (11) การเที ย บคุ ณ วุ ฒิ ผู  สํ า เร็ จ การศึกษาระดับอุดมศึกษาจากตางประเทศ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

137


ตารางแสดงงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 จำ�แนกตามแผนงาน สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในสังกัดและในกำ�กับ ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558

ลำ�ดับที่

138

สำ�นักงาน คณะกรรมการ การอุดมศึกษา

หน่วยงาน

รวมทั้งสิ้น

รวมทั้งสิ้น

107,477,114,300

6,483,529,700

20,000,000

20,000,000

1

แผนงานป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ

2

แผนงานดำ�เนินการตามกรอบข้อตกลงของประชาคมอาเซียน

638,269,300

8,000,000

3

แผนงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้

733,735,900

179,723,300

4

แผนงานพัฒนาและเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ

97,192,800

-

5

แผนงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

93,000,000

93,000,000

6

แผนงานขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา

88,795,357,200

3,442,499,800

7

แผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

393,862,200

16,228,800

8

แผนงานพัฒนาด้านสาธารณสุข

10,893,548,200

1,009,159,600

9

แผนงานป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด

20,000,000

20,000,000

10

แผนงานอนุรักษ์ ส่งเสริม และพัฒนาศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม

414,201,400

-

11

แผนงานส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา

5,377,947,300

1,694,918,200

รายงานประจำ�ปี 2558


สถาบันอุดมศึกษา ของรัฐในสังกัด 16 แห ง

มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล 9 แห ง

สถาบันอุดมศึกษา ของรัฐในกํากับ 13 แห ง

มหาวิทยาลัยสงฆ 2 แห ง

มหาวิทยาลัยราชภัฏ 40 แห ง

31,742,554,400

10,116,298,500

37,199,388,200

2,644,004,400

19,291,339,100

-

-

-

-

-

172,718,700

59,049,100

215,119,300

15,863,000

167,519,200

287,979,300

14,000,000

22,164,000

-

229,869,300

28,772,500

1,800,000

36,109,300

-

30,511,000

-

-

-

-

-

26,367,997,000

9,722,782,400

28,647,433,600

2,453,809,000

18,160,835,400

219,356,000

1,381,100

49,833,000

-

107,063,300

3,114,901,100

-

6,769,487,500

-

-

-

-

-

-

-

84,746,700

49,185,900

58,231,200

133,076,200

88,961,400

1,466,083,100

268,100,000

1,401,010,300

41,256,200

506,579,500

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

139


Board of Director

ทําเนียบผู บริหาร สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) Office of the Higher Education Commission :OHEC 328 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0 2610 5200 โทรสาร 0 2354 5524-6 เว็บไซต : www.mua.go.th อีเมล : pr_mua@mua.go.th เฟสบุ ค: www.facebook.com/ohecthailand ทวิตเตอร : @ohec_th รองศาสตราจารย พินิติ รตะนานุกูล Assoc.Prof.Piniti Ratananukul, Ph.D. (เกษียณอายุราชการ 30 กันยายน 2558) เลขาธิการ Secretary-General หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5201 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 1938 0263 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5595 อีเมล : piniti.r@mua.go.th เลขานุการ : นางเทพิน เริกศิริ ที่ทํางาน : 0 2610 5315 นางสาวอาภรณ แก นวงศ Miss Aporn Kanvong (โปรดเกลาฯ ใหดํารงตําแหนงเลขาธิการ กกอ. ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2558) รองเลขาธิการ Deputy Secretary-General หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5212 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 1922 7596 หมายเลขโทรสาร : 0 2644 5489 อีเมล : aporn_k@mua.go.th เลขานุการ : นางสอางทิพย ณ ถลาง หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5213 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 1858 5445 อีเมล : sa_angthipl@hotmail.com

140

รายงานประจําป 2558

นายสุภัทร จําปาทอง Mr.Suphat Champatong, Ph.D. (โปรดเกลาฯ ใหดํารงตําแหนงรองปลัด ศธ. ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2558) รองเลขาธิการ Deputy Secretary-General หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5296, 0 2354 5563 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 1818 9875 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5528 อีเมล : suphat2505@gmail.com เลขาธิการ : นางสาวทิวาพร เอี่ยมโต หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5227 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 6568 4356 อีเมล : tiwaporn@mua.go.th รองศาสตราจารย นายแพทย สรนิต ศิลธรรม Assoc.Prof.Soranit Siltharm, M.D. รองเลขาธิการ Deputy Secretary-General หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5214 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 1855 1129 หมายเลขโทรสาร : 0 2610 5217 อีเมล : soranit09@gmail.com เลขานุการ : นางสาวดวงจันทร มาคําสาย หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5215 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 9683 3878 อีเมล : kaopun2007@gmail.com


Board of Director นายอาณัติ พงศ สุวรรณ (รักษาการ) Mr.Arnut Pongsuwan (Acting) (เกษียณอายุราชการ 30 กันยายน 2558) ที่ปรึกษาด านนโยบายและแผน Senior Advisor for Policy and Planning หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5363 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 5488 7040 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5607 อีเมล : arnut@mua.go.th เลขานุการ : นางเมตตา อภิรมยเสมอ หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5447 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 1617 9538 นางอรสา ภาววิมล(รักษาการ) Mrs.Aurasa Pavavimol, Ph.D. (Acting) ที่ปรึกษาด านมาตรฐานการศึกษา Senior Advisor for Higher Education Standards หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5333 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 5488 7047 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5540 อีเมล : aurasa@mua.go.th เลขานุการ : นางทัศนีย ยะพิมสิน หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5303 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 09 1726 7921 นายขจร จิตสุขุมมงคล (รักษาการ) Mr.Kajorn Jitsukummongkol (Acting) (โปรดเกลาฯ ใหดํารงตําแหนงผูตรวจราชการ ศธ. ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2558) ที่ปรึกษาด านระบบบริหาร Senior Advisor for Administrative Development หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5210 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 9890 3326 หมายเลขโทรสาร : 0 2610 5218 อีเมล : kajorn@mua.go.th เลขานุการ : นางจีราวัตน ชูฤทธิ์ หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5211 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 4026 7198

นายขจร จิตสุขุมมงคล Mr.Kajorn Jitsukummongkol (โปรดเกลาฯ ใหดํารงตําแหนงผูตรวจราชการ ศธ. ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2558) ผู ช วยเลขาธิการ Assistant Secretary-General หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5210 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 9890 3326 หมายเลขโทรสาร : 0 2610 5218 อีเมล : kajorn@mua.go.th เลขานุการ : นางจีราวัตน ชูฤทธิ์ หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5211 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 4026 7198 อีเมล : uporpia@hotmail.com นางสาวสุมัณฑนา จันทโรจวงศ Miss Sumantana Chantarojwong ผู อํานวยการสํานักอํานวยการ Director, Bureau of General Administration หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5277 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 5488 7057 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5524 อีเมล : sumantan@mua.go.th เลขานุการ : นางพิสมัย ศิริโพธิ์ หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5278 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 1859 5678 อีเมล : pisppp3@gmail.com นายอาณัติ พงศ สุวรรณ Mr.Arnut Pongsuwan (เกษียณอายุราชการ 30 กันยายน 2558) ผู อํานวยการสํานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา Director, Bureau of Policy and Planning หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5363 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 5488 7040 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5600 อีเมล : arnut@mua.go.th เลขานุการ : นางเมตตา อภิรมยเสมอ หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5447 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 1617 9538 อีเมล : metta@mua.go.th สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

141


Board of Director นายศิระวิทย คลี่สุวรรณ Mr.Sirawit Kleesuwan (เกษียณอายุราชการ 30 กันยายน 2558) ผู อํานวยการสํานักประสานและส งเสริมกิจการอุดมศึกษา Director, Bureau of Cooperation and Promotion หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5343 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 5488 7058 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5607 อีเมล : sirawit@mua.go.th เลขานุการ : นางสาววรางคณา วิชัยคํา หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5344 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 0203 4325 อีเมล : bigmoobig@gmail.com นางสาวนุชนภา รื่นอบเชย Miss Nutnapa Ruenobcheoy ผู อํานวยการสํานักมาตรฐานและคุณภาพอุดมศึกษา Director, Bureau of Higher Education Standards and Quality หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5383 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 2342 8865 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5530, 0 2354 5491 อีเมล : nutnapa@mua.go.th เลขานุการ : นางสาวชมภัสสร สุขสมัย หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5384 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 3702 8698 นางสาวชฎารัตน สิงหเดชากุล Miss Chadarat Singhadechakul ผู อํานวยการสํานักยุทธศาสตร อุดมศึกษาต างประเทศ Director, Bureau of International Cooperation Strategy หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5404 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 5488 7062 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5570 อีเมล : chada@mua.go.th เลขานุการ : นางสาวนันทนภัส ดอนศรีจันทร หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5403

142

รายงานประจําป 2558

นางสาวณัชชา ญาณฐิตวัฒนา Miss Natcha Yantitavatana ผู อํานวยการสํานักส งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา Director, Bureau of Student Development หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5408 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 1552 0127 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5460, 0 2354 5532 อีเมล : mugda_y@hotmail.com เลขานุการ : นางสาวเจฎศรา ไวเหาะ หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5425 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 9437 5439 อีเมล : Jetsara_27@hotmail.com นางอรสา ภาววิมล Mrs.Aurasa Pavavimol, Ph.D. ผู อํานวยการสํานักส งเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร Director, Bureau of Personnel Administration and Development หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5334 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 5488 7047 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5540 อีเมล : aurasa@mua.go.th เลขานุการ : นางทัศนีย ยะพิมสิน หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5303 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 09 1726 7921 อีเมล : yapimsin@hotmail.com นางนภาพร อาร มสตรอง (ปฏิบัติหน าที่) Mrs.Napaporn Armstrong (Acting) ผู อํานวยการสํานักติดตามและประเมินผลอุดมศึกษา Director, Bureau of Higher Education Monitoring and Evaluation หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5304 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 5485 5779 หมายเลขโทรสาร : 0 2644 5604 อีเมล : napaporn@mua.go.th เลขานุการ : นางสาวณัฐการต เชื้อวรสถิตย หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5305 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 0644 8600 หมายเลขโทรสาร : 0 2644 5604 อีเมล : nattakarn@mua.go.th


Board of Director นายสุทน เฉื่อยพุก (ปฏิบัติหน าที่) Mr.Suthon Chauyphuk (Acting) ผู อํานวยการสํานักนิติการ Director, Bureau of Legal Affairs หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5436 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 5488 7045 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5609 อีเมล : suthon.mua@gmail.com เลขานุการ : นางสาวธัญลักษณ สุหรายพรหม หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5430 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 09 0003 0566 อีเมล : duangporn@mua.go.th นายภาสกร เหมกรณ Mr.Pasakorn Heamakorn ผู อํานวยการกลุ มพัฒนาระบบบริหาร Director, Public Sector Development Group หมายเลขโทรศัพท : 0 2354 5617, 0 2610 5457 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 1821 9578, 08 7984 4442 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5618 อีเมล : pasakorn@mua.go.th นางนงนภัส หมวดเดช Mrs.Nongnapat Muaddech ผู อํานวยการกลุ มตรวจสอบภายใน Director, Internal Audit Group หมายเลขโทรศัพท : 0 2354 5531, 0 2610 5389 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 5488 7060 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5531 อีเมล : nantikan@mua.go.th

ผู ช วยศาสตราจารย วิชาญ เลิศวิภาตระกูล (ปฏิบัติหน าที่) Asst.Prof.Wichan Lertwipatrakul (Acting) ผู อํานวยการสํานักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการศึกษา Director, Information Technology for Educational Development Administration Office หมายเลขโทรศัพท : 0 2354 5678 ตอ 1001 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 9455 7711 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5678 ตอ 5012 อีเมล : director@uni.net.th เลขานุการ : นางสาวอิ่มใจ คงจุย หมายเลขโทรศัพท : 0 2354 5678 ตอ 1000 อีเมล : amjai@uni.net.th ผู ช วยศาสตราจารย ฐาปนีย ธรรมเมธา (ปฏิบัติหน าที่) Asst.Prof.Thapanee Thammetar,Ph.D. (Acting) ผู อํานวยการสํานักงานบริหารโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร ไทย Director, Thailand Cyber University Project Administration Office หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5414, 0 2354 5678 ตอ 3000,3006 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 1813 6967 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5476 อีเมล : thapanee@su.ac.th, kobthapanee@gmail.com เลขานุการ : นางจุฑามาศ วิรุฬหชีว หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5231 รองศาสตราจารย ชัยยุทธ ขันทปราบ Assoc.Prof.Chaiyudh Khuntaprab, Ph.D. ผู อํานวยการสํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด านวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี Director, S&T Postgraduate Education and Research Development Office หมายเลขโทรศัพท : 0 2252 9465 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 1928 7954 หมายเลขโทรสาร : 0 2252 9466 อีเมล : chaiyudh@perdo.or.th

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

143


Board of Director ศาสตราจารย ป ยะวัติ บุญ-หลง Prof.Piyawat Boon-Long, Ph.D. ผู อํานวยการสถาบันคลังสมองของชาติ Executive Director, Knowledge Network Institute of Thailand หมายเลขโทรศัพท : 0 2640 0461 ตอ 124 หมายเลขโทรสาร : 0 2640 0465 อีเมล : piyawat@knit.or.th คุณหญิงลักษณาจันทร เลาหพันธุ Khonying Laxanachantorn Laohophan รองประธานฝ ายบริหาร สถาบันวิจัยจุฬาภรณ Executive Vice President,Chulabhorn Research Institute หมายเลขโทรศัพท : 0 2553 8529 โทรศัพทเคลื่อนที่ : 08 9201 0767 หมายเลขโทรสาร : 0 2533 8530 อีเมล : Laxanacl1@hotmail.com

144

รายงานประจําป 2558


สํานนั​ักงา งานค งานคณะกรรมการการอุ นคณ นค ณะกร ณะ กรรมกา กาารก รการอุอดุ มศึ รการ มศึศกกษษา ษา

145


Member of OHEC

ทําเนียบหน วยงานในกํากับภายใน สกอ. สถาบันคลังสมองของชาติ Knowledge Network Institute of Thailand (KNIT) ชั้น 22 บี อาคารมหานครยิบซั่ม 539/2 ถนนศรีอยุธยา ราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 หมายเลขโทรศัพท : 0 2640 0461 หมายเลขโทรสาร : 0 2640 0465 เว็บไซต : www.knit.or.th สถาบันวิจัยจุฬาภรณ Chulabhorn Research Institute 54 ถนนกําแพงเพชร 6 แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 หมายเลขโทรศัพท : 0 2553 8555 หมายเลขโทรสาร : 0 2553 8527 เว็บไซต : www.cri.or.th

146

รายงานประจําป 2558

สํานักงานกองทุนตั้งตัวได New Business Fund อาคารพญาไทพลาซา ชั้น 33 ซี 128/358 ถ.พญาไท แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 หมายเลขโทรศัพท : 06 2650 1961 เว็บไซต : www.nbf.go.th สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด านวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี S&T Postgraduate Education and Research Development Office อาคารจุฬาวิชช 1 ชัน้ 5 ถนนอังรีดนู งั ต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 : 0 2252 9467-8 หรือ หมายเลขโทรศัพท 0 2251 0855-6 หมายเลขโทรสาร : 0 2252 9466 เว็บไซต : www.perdo.or.th


Member of OHEC

ทําเนียบองค กรที่ ได รับการสนับสนุนงบประมาณจาก สกอ. โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากรในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟ ก University Mobility in Asia and the Pacific (UMAP) ชั้น 10 อาคารสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 328 ถนนศรีอยุธยา ราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 หมายเลขโทรศัพท : 0 2610 5401 หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5570 เว็บไซต : www.umap.org ศูนย ภูมิภาคแห งเอเชียตะวันออกเฉียงใต ว าด วยการอุดมศึกษา และการพัฒนา SEAMEO Regional Centre for Higher Education and Development (SEAMEO RIHED) ชั้น 5 อาคารสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 328 ถนนศรีอยุธยา ราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 : 0 2644 9856-62 หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร : 0 2644 5421 เว็บไซต : www.rihed.seameo.org

สํานักงานเลขานุการเครือข ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ASEAN University Network (AUN) ชั้น 17 อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยถนนพญาไท กรุงเทพมหานคร 10330 : 0 2215 3640, 0 2215 3642, หมายเลขโทรศัพท 0 2218 3256 หมายเลขโทรสาร : 0 2216 8808 เว็บไซต : http://aunsec.org สํานักบริหารโครงการส งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนา มหาวิทยาลัยวิจัยแห งชาติ อาคารพญาไท พลาซา ชั้น 33 เอ เลขที่ 128/356 ถนนพญาไท แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 : 0 2129 3108 หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร : 0 2129 3107 เว็บไซต : www.nru.go.th

สถาบันเทคโนโลยีแห งเอเชีย Asian Institute of Technology (AIT) อธิการบดี ศาสตราจารยวรศักดิ์ กนกนุกุลชัย 58 หมู 9 คลองหนึ่ง กม.42 ถนนพหลโยธิน คลองหลวง ปทุมธานี 12120 : 0 2524 5000 หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร : 0 2516 2126 เว็บไซต : www.ait.ac.th

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

147


Member of OHEC

ทําเนียบหน วยงานที่เกี่ยวข อง ที่ประชุมอธิการบดีแห งประเทศไทย (ทปอ.) Council of University Presidents of Thailand (CUPT) ชั้น 3 อาคารสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 328 ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 : 0 2354 3728-9 หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร : 0 2354 3730 เว็บไซต : www.cupt-thailand.net อีเมล : cupt@chula.ac.th

ประธานคณะกรรมการอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (ทปอ.มทร.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถนนรังสิต-นครนายก ต.คลองหก อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 หมายเลขโทรศัพท : 0 2549 3017, 0 2549 4045 หมายเลขโทรสาร : 0 2577 5045 เว็บไซต www.crp.rmutt.ac.th อีเมล president_rmutt@hotmail.com

สมาคมอธิการบดีแห งประเทศไทย (สอท.) Association of University Presidents of Thailand (AUPT) ชั้น 3 อาคารสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 328 ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 : 0 2354 5150-2 หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5155-6 เว็บไซต : www.aupt.or.th และ www.cuas.or.th อีเมล : contact@aupt.or.th และ contact@cuas.or.th

สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห งประเทศไทย (สสอท.) Association of Private Higher Education Institution of Thailand (APHEIT) 235 ถนนเพชรเกษม ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160 : 0 2610 5345 หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร : 0 2354 5689 เว็บไซต : www.apheit.ong

สํานักงานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ The Office of the Council of Rajabhat University Presidents อาคารรัชมังคลาภิเษก 2 ชั้น 5-6 กระทรวงศึกษาธิการ ถนนราชดําเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 : 0 2280 1902, 0 2281 0528, หมายเลขโทรศัพท 0 2280 1345 หมายเลขโทรสาร : 0 2280 1902 เว็บไซต : www.rajabhatnetwork.com

148

รายงานประจําป 2558

กองทุนเงินให กู ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) 89 อาคาร เอไอเอ แคปปตอล เซ็นเตอร ชั้น 5-6 ถ.รัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 : 0 2610 4888 หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร : 0 2016 4800 เว็บไซต : www.studentloan.or.th สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห งชาติ (องค การมหาชน) (สทศ.) National Institute of Educational Testing Service (Public Organization) อาคารพญาไทพลาซา ชัน้ 36 เลขที่ 128 ราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 : 0 2217 3800 หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร : 0 2219 2996 เว็บไซต : www.niets.or.th


List of Universities

สถาบันอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เขตปทุมวัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เขตจตุจักร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เขตทุงครุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ เขตบางซื่อ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เขตพระนคร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เขตดุสิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เขตลาดกระบัง สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา เขตบางพลัด มหาวิทยาลัยรามคําแหง เขตบางกะป มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เขตวัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร เขตพระนคร สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เขตปทุมวัน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร เขตบางกะป สถาบันวิทยาลัยชุมชน เขตดุสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เขตจตุจักร มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เขตธนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา เขตธนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เขตบางเขน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เขตดุสิต

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เขตสาทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เขตดุสิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เขตคลองเตย มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี เขตทวีวัฒนา มหาวิทยาลัยเกริก เขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เขตสวนหลวง มหาวิทยาลัยเซนตจอหน เขตจตุจักร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร เขตหนองจอก มหาวิทยาลัยธนบุรี เขตหนองแขม มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย เขตหลักสี่ มหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ เขตสายไหม มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต เขตบางกะป มหาวิทยาลัยศรีปทุม เขตจตุจักร มหาวิทยาลัยสยาม เขตภาษีเจริญ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เขตดินแดง มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เขตบางกะป มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย เขตหนองแขม วิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ เขตลาดกระบัง วิทยาลัยเซนตหลุยส เขตสาทร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก เขตบางนา

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

149


List of Universities วิทยาลัยดุสิตธานี เขตประเวศ วิทยาลัยทองสุข เขตทวีวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา เขตดุสิต วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เขตบางกอกใหญ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน เขตสวนหลวง สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ เขตหลักสี่ สถาบันรัชตภาคย เขตวังทองหลาง สถาบันอาศรมศิลป เขตบางขุนเทียน วิทยาเขตบางขุนเทียน เขตบางขุนเทียน (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี) วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ เขตดินแดง (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก) วิทยาเขตอุเทนถวาย เขตปทุมวัน (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก) พื้นที่บพิตรพิมุข จักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร) วิทยาลัยเพาะชาง เขตพระนคร (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร)

150

รายงานประจําป 2558

ศูนยศึกษาสยามคอมเพล็กซ กรุงเทพ เขตราชเทวี (มหาวิทยาลัยคริสเตียน) ศูนยวิทยบริการ เขตประเวศ (มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด) วิทยาเขตกรุงเทพ เขตดุสิต (มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟก) ศูนยการศึกษาเนชั่นทาวเวอร เขตบางนา (มหาวิทยาลัยเนชั่น) วิทยาคารพญาไท เขตพญาไท (มหาวิทยาลัยศรีปทุม) วิทยาเขตยศเส เขตปอมปราบ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ) วิทยาเขตสุรวงศ เขตบางรัก (วิทยาลัยนานาชาติเซนตเทเรซา) ศูนยเทเวศ เขตดุสิต (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร) ศูนยโชติเวช เขตดุสิต (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร) ศูนยพณิชยการพระนคร เขตดุสิต (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร) ศูนยพระนครเหนือ เขตบางซื่อ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร)


List of Universities

ภาคกลาง มหาวิทยาลัยมหิดล จ.นครปฐม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จ.พระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จ.นครปฐม มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช จ.นนทบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี จ.กาญจนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จ.ลพบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จ.นครปฐม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค จ.นครสวรรค มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จ.เพชรบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จ.ปทุมธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง จ.ราชบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จ.ปทุมธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร จ.นครปฐม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ จ.พระนครศรีอยุธยา

มหาวิทยาลัยชินวัตร จ.ปทุมธานี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด จ.เพชรบุรี มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟก จ.สระบุรี มหาวิทยาลัยปทุมธานี จ.ปทุมธานี มหาวิทยาลัยภาคกลาง จ.นครสวรรค มหาวิทยาลัยรังสิต จ.ปทุมธานี มหาวิทยาลัยราชพฤกษ จ.นนทบุรี มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร(ประเทศไทย) จ.เพชรบุรี มหาวิทยาลัยเวสเทิรน จ.กาญจนบุรี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จ.สมุทรปราการ มหาวิทยาลัยอีสเทิรนเอเชีย จ.ปทุมธานี วิทยาลัยนานาชาติเซนตเทเรซา จ.นครนายก วิทยาลัยแสงธรรม จ.นครปฐม สถาบันกันตนา จ.นครปฐม สถาบันการเรียนรูเพื่อปวงชน จ.สมุทรสงคราม สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน จ.นนทบุรี สถาบันเทคโนโลยียานยนตมหาชัย จ.สมุทรสาคร สถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ จ.สมุทรปราการ สถาบันเทคโนโลยีแหงอโยธยา จ.พระนครศรีอยุธยา

มหาวิทยาลัยคริสเตียน จ.นครปฐม มหาวิทยาลัยเจาพระยา จ.นครสวรรค

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

151


List of Universities วิทยาเขตราชบุรี จ.ราชบุรี (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี) วิทยาเขตกาญจนบุรี จ.กาญจนบุรี (มหาวิทยาลัยมหิดล) วิทยาเขตนครสวรรค จ.นครสวรรค (มหาวิทยาลัยมหิดล) วิทยาเขตบาฬศึกษาพุทธโฆส นครปฐม จ.นครปฐม (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย จ.พระนครศรีอยุธยา (มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย) วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย ในพระราชูปถัมภ จ.นครปฐม (มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย) วิทยาเขตกําแพงแสน จ.นครปฐม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร) ศูนยรังสิต จ.ปทุมธานี (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร) วิทยาเขตองครักษ จ.นครนายก (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)

152

รายงานประจําป 2558

วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร จ.นครปฐม (มหาวิทยาลัยศิลปากร) วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี จ.เพชรบุรี (มหาวิทยาลัยศิลปากร) ศูนยหันตรา จ.พระนครศรีอยุธยา (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ) ศูนยวาสุกรี จ.พระนครศรีอยุธยา (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ) ศูนยนนทบุรี จ.นนทบุรี (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ) ศูนยสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ) วิทยาเขตรังสิต จ.ปทุมธานี (มหาวิทยาลัยกรุงเทพ) วิทยาเขตบางนา จ.สมุทรปราการ (มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ) วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี จ.อุทัยธานี (สถาบันวิทยาลัยชุมชน)


List of Universities

ภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม จ.เชียงใหม มหาวิทยาลัยพะเยา จ.พะเยา มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง จ.เชียงราย มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก มหาวิทยาลัยแมโจ จ.เชียงใหม มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร จ.กําแพงเพชร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย จ.เชียงราย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม จ.เชียงใหม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จ.พิษณุโลก มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ จ.เพชรบูรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง จ.ลําปาง มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ จ.อุตรดิตถ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา จ.เชียงใหม มหาวิทยาลัยนอรท – เชียงใหม จ.เชียงใหม มหาวิทยาลัยเนชั่น จ.ลําปาง มหาวิทยาลัยพายัพ จ.เชียงใหม มหาวิทยาลัยพิษณุโลก จ.พิษณุโลก มหาวิทยาลัยฟารอีสเทอรน จ.เชียงใหม วิทยาลัยเชียงราย จ.เชียงราย วิทยาลัยนอรทเทิรน จ.ตาก วิทยาลัยอินเตอรเทคลําปาง จ.ลําปาง สถาบันวิทยาการจัดการแหงแปซิฟค จ.พะเยา

วิทยาเขตเชียงราย จ.เชียงราย (มหาวิทยาลัยพะเยา) วิทยาเขตเชียงใหม จ.เชียงใหม (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) วิทยาเขตแพร จ.แพร (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) วิทยาเขตพะเยา จ.พะเยา (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) วิทยาเขตลานนา จ.เชียงใหม (มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย) ศูนยลาํ ปาง จ.ลําปาง (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร) วิทยาเขตแพร เฉลิมพระเกียรติ จ.แพร (มหาวิทยาลัยแมโจ) เขตพื้นที่ลําปาง จ.ลําปาง (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา) เขตพืน้ ทีต่ าก จ.ตาก (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา) เขตพื้นที่พิษณุโลก จ.พิษณุโลก (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา) เขตพืน้ ทีน่ า น จ.นาน (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา) เขตพืน้ ทีเ่ ชียงราย จ.เชียงราย (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา) เขตแกวนวรัฐ จ.เชียงใหม (มหาวิทยาลัยพายัพ) วิทยาลัยชุมชนตาก จ.ตาก (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนนาน จ.นาน (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนพิจิตร จ.พิจิตร (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนแพร จ.แพร (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน จ.แมฮองสอน (สถาบันวิทยาลัยชุมชน)

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

153


List of Universities

ภาคอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแกน จ.ขอนแกน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จ.นครราชสีมา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ จ.กาฬสินธุ มหาวิทยาลัยนครพนม จ.นครพนม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ.มหาสารคาม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จ.นครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย จ.บุรีรัมย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จ.มหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด จ.รอยเอ็ด มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จ.เลย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร จ.สกลนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร จ.สุรินทร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จ.อุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จ.นครราชสีมา มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอสี เทิรน จ.อุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา จ.ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.ขอนแกน

154

รายงานประจําป 2558

มหาวิทยาลัยราชธานี จ.อุบลราชธานี มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล จ.นครราชสีมา วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท จ.นครราชสีมา วิทยาลัยนครราชสีมา จ.นครราชสีมา วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย จ.ขอนแกน วิทยาลัยพิชญบัณฑิต จ.หนองบัวลําภู วิทยาลัยสันตพล จ.อุดรธานี วิทยาเขตอํานาจเจริญ จ.อํานาจเจริญ (มหาวิทยาลัยมหิดล) วิทยาเขตหนองคาย จ.หนองคาย (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) วิทยาเขตขอนแกน จ.ขอนแกน (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) วิทยาเขตนครราชสีมา จ.นครราชสีมา (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) วิทยาเขตอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) วิทยาเขตสุรินทร จ.สุรินทร (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) วิทยาเขตอีสาน จ.ขอนแกน (มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย) วิทยาเขตรอยเอ็ด จ.รอยเอ็ด (มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย)


List of Universities วิทยาเขตศรีลานชาง จ.เลย (มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย) วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จ.สกลนคร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร) วิทยาเขตหนองคาย จ.หนองคาย (มหาวิทยาลัยขอนแกน) วิทยาเขตขอนแกน จ.ขอนแกน (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน) วิทยาเขตสุรินทร จ.สุรินทร (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน) วิทยาเขตสกลนคร จ.สกลนคร (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน) วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย จ.บุรีรัมย (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร จ.มุกดาหาร (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนยโสธร จ.ยโสธร (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลําภู จ.หนองบัวลําภู (สถาบันวิทยาลัยชุมชน)

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

155


List of Universities

ภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร จ.ฉะเชิงเทรา มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี จ.จันทบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก จ.ชลบุรี มหาวิทยาลัยเอเชียน จ.ชลบุรี สถาบันวิทยสิริเมธี จ.ระยอง วิทยาลัยเฉลิมกาญจนาระยอง จ.ระยอง

156

รายงานประจําป 2558

วิทยาเขตปราจีนบุรี จ.ปราจีนบุรี (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ) วิทยาเขตระยอง จ.ระยอง (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ) วิทยาเขตจันทบุรี จ.จันทบุรี (มหาวิทยาลัยบูรพา) วิทยาเขตสระแกว จ.สระแกว (มหาวิทยาลัยบูรพา) วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร) ศูนยพัทยา จ.ชลบุรี (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร) วิทยาเขตจันทบุรี จ.จันทบุรี (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก) วิทยาเขตชลบุรี จ.ชลบุรี (มหาวิทยาลัยศรีปทุม) วิทยาลัยชุมชนตราด จ.ตราด (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนสระแกว จ.สระแกว (สถาบันวิทยาลัยชุมชน)


List of Universities

ภาคใต มหาวิทยาลัยทักษิณ จ.สงขลา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จ.นครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร จ.นราธิวาส มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จ.สงขลา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต จ.ภูเก็ต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ.ยะลา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จ.สงขลา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎธานี จ.สุราษฎรธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จ.สงขลา มหาวิทยาลัยตาป จ.สุราษฎรธานี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี จ.ยะลา มหาวิทยาลัยหาดใหญ จ.สงขลา วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต จ.นครศรีธรรมราช วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ จ.สงขลา วิทยาลัยศรีโสภณ จ.นครศรีธรรมราช

วิทยาเขตปตตานี จ.ปตตานี (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร) วิทยาเขตภูเก็ต จ.ภูเก็ต (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร) วิทยาเขตสุราษฎรธานี จ.สุราษฎรธานี (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร) วิทยาเขตตรัง จ.ตรัง (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร) วิทยาเขตวังไกลกังวล จ.ประจวบขีรีขันธ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร) วิทยาเขตนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย) วิทยาเขตตรัง จ.ตรัง (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย) วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส จ.นราธิวาส (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนปตตานี จ.ปตตานี (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนพังงา จ.พังงา (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนยะลา จ.ยะลา (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนระนอง จ.ระนอง (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนสงขลา จ.สงขลา (สถาบันวิทยาลัยชุมชน) วิทยาลัยชุมชนสตูล จ.สตูล (สถาบันวิทยาลัยชุมชน)

สถาบันทักษิณคดีศึกษา จ.สงขลา (มหาวิทยาลัยทักษิณ) วิทยาเขตพัทลุง จ.พัทลุง (มหาวิทยาลัยทักษิณ) วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จ.ชุมพร (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง) วิทยาเขตนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช จ.นครศรีธรรมราช (มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย) วิทยาเขตชุมพร จ.ชุมพร (มหาวิทยาลัยแมโจ)

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

157


List of Universities

สถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรัฐ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย (จฬ.) อธิการบดี : ศ.นพ.ภิรมย กมลรัตนกุล ที่ตั้ง : 254 ถ.พญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 หมายเลขโทรศัพท : 0 2215 0871-3 หมายเลขโทรสาร : 0 2215 4804 เว็บไซต : www.chula.ac.th

มหาวิทยาลัยขอนแก น (มข.) อธิการบดี : รศ.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย ที่ตั้ง : 123 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแกน 40002 หมายเลขโทรศัพท : 0 4300 9700 หมายเลขโทรสาร : 0 4320 2216 เว็บไซต : www.kku.ac.th

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (มก.) อธิการบดี : รศ.บัญชา ขวัญยืน (รักษาการแทน) ที่ตั้ง : วิทยาเขตบางเขน 50 ถ.งามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 หมายเลขโทรศัพท : 0 2942 8200-45 หมายเลขโทรสาร : 0 2942 8151-3 เว็บไซต : www.ku.ac.th

วิทยาเขตหนองคาย ที่ตั้ง : 112 ต.หนองกอมเกาะ อ.เมือง จ.หนองคาย 43000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4241 5600 หมายเลขโทรสาร : 0 4241 5699 เว็บไซต : www.nkc.kku.ac.th

วิทยาเขตกําแพงแสน ที่ตั้ง : 1 หมู 6 ถ.มาลัยแมน ต.กําแพงแสน อ.กําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 หมายเลขโทรศัพท : 0 2942 8010-9, 0 3428 1053-6 หมายเลขโทรสาร : 0 2942 8000, 0 3428 1053-6 เว็บไซต : www.kps.ku.ac.th

มหาวิทยาลัยเชียงใหม (มช.) อธิการบดี : รศ.นพ.นิเวศน นันทจิต ที่ตั้ง : 239 ถ.หวยแกว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 หมายเลขโทรศัพท : 0 5394 1000 หมายเลขโทรสาร : 0 5321 7143 เว็บไซต : www.cmu.ac.th

วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จ.สกลนคร ที่ตั้ง : 59 หมู 1 ถ.สกลนคร-นครพนม ต.เชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร 47000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4272 5000 หมายเลขโทรสาร : 0 4272 5013 เว็บไซต : www.csc.ku.ac.th

มหาวิทยาลัยทักษิณ (มทษ.) อธิการบดี : รศ.วิชัย ชํานิ ที่ตั้ง : 140 ถ.กาญจนวนิช ต.เขารูปชาง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา 90000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7431 7600 หมายเลขโทรสาร : 0 7432 4440 เว็บไซต : www.tsu.ac.th

วิทยาเขตศรีราชา ที่ตั้ง

วิทยาเขตพัทลุง ที่ตั้ง

: เลขที่ 199 หมู 6 ถนนสุขุมวิท ต.ทุงสุขลา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20230 หมายเลขโทรศัพท : 0 3835 4580-4 หมายเลขโทรสาร : 0 3835 1169, 0 3835 1169 เว็บไซต : www.src.ku.ac.th

158

รายงานประจําป 2558

: 222 หมู 2 ต.บานพราว อ.ปาพะยอม จ.พัทลุง 93110 หมายเลขโทรศัพท : 0 7460 9600 หมายเลขโทรสาร : 0 7469 3555


List of Universities มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล าธนบุรี (มจธ.) อธิการบดี : รศ.ศักรินทร ภูมิรัตน ที่ตั้ง : 126 ถ.ประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพมหานคร 10140 หมายเลขโทรศัพท : 0 2427 0039, 0 2470 8000 หมายเลขโทรสาร : 0 2427 8412 เว็บไซต : www.kmutt.ac.th

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) อธิการบดี : ศ.ประสาท สืบคา ที่ตั้ง : 111 ถ.มหาวิทยาลัย ต.สุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4422 3000 หมายเลขโทรสาร : 0 4422 4070 เว็บไซต : www.sut.ac.th

บางขุนเทียน ที่ตั้ง

ศูนย ประสานงาน ที่ตั้ง

: 49 ซ.เทียนทะเล 25 หมู 8 ถ.บางขุนเทียน-ชายทะเล แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร 10150 หมายเลขโทรศัพท : 0 2452 3456 หมายเลขโทรสาร : 0 2452 3455 ราชบุรี ที่ตั้ง

: 209 หมู 1 ต.รางบัว อ.จอมบึง จ.ราชบุรี 70150 หมายเลขโทรศัพท : 0 2470 9962 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล าพระนครเหนือ (มจพ.) อธิการบดี : ศ.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ ที่ตั้ง : 1518 ถ.ประชาราษฎร 1 แขวงวงศสวาง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 หมายเลขโทรศัพท : 0 2555 2000 หมายเลขโทรสาร : 0 2587 4350 เว็บไซต : www.kmutnb.ac.th มจพ.ปราจีนบุรี ที่ตั้ง

: 129 หมู 21 ต.เนินหอม อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 25230 หมายเลขโทรศัพท : 0 3721 7300 หมายเลขโทรสาร : 0 3721 7333 มจพ.ระยอง ที่ตั้ง

: ต.หนองละลอก อ.บานคาย จ.ระยอง 21120 หมายเลขโทรศัพท : 0 2555 2000 หมายเลขโทรสาร : 0 2587 4350

: อาคารพญาไท พลาซา ชั้น 22 128/237 ถ.พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 หมายเลขโทรศัพท : 0 2216 5410 หมายเลขโทรสาร : 0 2216 5411 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (มธ.) อธิการบดี : ศ.สมคิด เลิศไพฑูรย ที่ตั้ง : 2 ถ.พระจันทร แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 หมายเลขโทรศัพท : 0 2613 3333 หมายเลขโทรสาร : 0 2224 8099 เว็บไซต : www.tu.ac.th ศูนย รังสิต ที่ตั้ง

: 99 หมู 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12121 หมายเลขโทรศัพท : 0 2564 4440-59 หมายเลขโทรสาร : 0 2564 4418 ศูนย ลําปาง ที่ตั้ง

: ถ.ลําปาง-เชียงใหม ต.ปงยางตก อ.หางฉัตร จ.ลําปาง 52190 หมายเลขโทรศัพท : 0 5426 8701 ศูนย พัทยา ที่ตั้ง

: 39/4 หมู 5 ต.โปง อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150 หมายเลขโทรศัพท : 0 3825 9050-55

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

159


List of Universities มหาวิทยาลัยบูรพา (มบ.) อธิการบดี : ศ.นพ.สมพล พงศไทย (รักษาการแทน) ที่ตั้ง : 169 ถ.ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131 หมายเลขโทรศัพท : 0 3810 2222 หมายเลขโทรสาร : 0 3839 0351 เว็บไซต : www.buu.ac.th

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ม.มจร.) อธิการบดี : ศ.พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตโฺ ต) ที่ตั้ง : 79 หมู 1 ต.ลําไทร อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา 13170 หมายเลขโทรศัพท : 0 3524 8000-5, 0 3535 4710-1 หมายเลขโทรสาร : 0 3524 8006 เว็บไซต : www.mcu.ac.th

วิทยาเขตจันทบุรี ที่ตั้ง

วิทยาเขตหนองคาย ที่ตั้ง : 219 หมู 3 บานโพนตาล ต.คายบกหวาน อ.เมือง จ.หนองคาย 43000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4243 6950 หมายเลขโทรสาร : 0 4243 6951

: 57 หมู 1 ถ.ชลประทาน ต.โขมง อ.ทาใหม จ.จันทบุรี 22170 หมายเลขโทรศัพท : 0 3931 0000 หมายเลขโทรสาร : 0 3931 0128 วิทยาเขตสระแก ว ที่ตั้ง

: 254 หมู 4 ต.วัฒนานคร อ.วัฒนานคร จ.สระแกว 27160 หมายเลขโทรศัพท : 0 3726 1560 หมายเลขโทรสาร : 0 3726 1801 มหาวิทยาลัยพะเยา (มพ.) อธิการบดี : ศ.(พิเศษ) มณฑล สงวนเสริมศรี ที่ตั้ง : 19 หมู 2 ต.แมกา อ.เมือง จ.พะเยา 56000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5446 6666 หมายเลขโทรสาร : 0 5446 6690 เว็บไซต : www.up.ac.th วิทยาเขตเชียงราย ที่ตั้ง

: 333 หมู 4 ศูนยราชการจังหวัดเชียงราย บานฝงหมิ่น ต.ริมกก อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 หมายเลขโทรศัพท : 0 5315 2152 หมายเลขโทรสาร : 0 5315 2151

160

รายงานประจําป 2558

วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ที่ตั้ง : 3/3 หมู 5 ถ.ราชดําเนิน ต.มะมวงสองตน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7534 2898 หมายเลขโทรสาร : 0 7534 5862 วิทยาเขตเชียงใหม ที่ตั้ง

: วัดสวนดอก ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5327 8967 หมายเลขโทรสาร : 0 5327 0452 วิทยาเขตขอนแก น ที่ตั้ง

: 30 หมู 1 บานโคกสี ถ.ขอนแกนนํ้าพอง ต.โคกสี อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4328 3546 หมายเลขโทรสาร : 0 4328 3399


List of Universities วิทยาเขตนครราชสีมา ที่ตั้ง : บานหัวถนน ถ.ชายพัฒนา ต.หัวทะเล อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4492 4556-7 หมายเลขโทรสาร : 0 4426 4560 วิทยาเขตอุบลราชธานี ที่ตั้ง : หมู 1 บานหมากมี่ ต.กระโสบ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4542 2156 หมายเลขโทรสาร : 0 4542 2155 วิทยาเขตแพร ที่ตั้ง

: 111 หมู 5 ต.แมคํามี อ.เมือง จ.แพร 54000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5464 6585 หมายเลขโทรสาร : 0 5462 1250 วิทยาเขตพะเยา ที่ตั้ง

: วัดศรีโคมคํา ต.เวียง อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา 56000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5443 1556 หมายเลขโทรสาร : 0 5448 2876 วิทยาเขตสุรินทร ที่ตั้ง

: หวยเสนง หมู 8 ต.นอกเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร 32000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4414 2107 หมายเลขโทรสาร : 0 4414 2108, 0 4414 2106 วิทยาเขตบาฬ ศึกษาพุทธโฆส นครปฐม ที่ตั้ง : วัดมหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม ต.มหาสวัสดิ์ อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 หมายเลขโทรศัพท : 0 3429 9356 หมายเลขโทรสาร : 0 3429 9356

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (มมร.) อธิการบดี : พระราชบัณฑิต (ธรณิศ ชาคโร) ที่ตั้ง : 248 หมู 1 บานวัดสุวรรณ ถ.ศาลายา-นครชัยศรี ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 หมายเลขโทรศัพท : 0 2444 6000 หมายเลขโทรสาร : 0 2444 6060 เว็บไซต : www.mbu.ac.th วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย ที่ตั้ง : วัดชูจิตธรรมาราม 57 หมู 1 ต.สนับทึบ อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา 13170 หมายเลขโทรศัพท : 0 3574 5037-8 หมายเลขโทรสาร : 0 3574 5037 วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย ในพระราชูปถัมภ ที่ตั้ง : วัดสิรินธรเทพรัตนาราม 26 หมู 7 ถ.เพชรเกษม ต.ออมใหญ อ.สามพราน จ.นครปฐม 73160 หมายเลขโทรศัพท : 0 2429 1663 หมายเลขโทรสาร : 0 2429 1242 วิทยาเขตอีสาน ที่ตั้ง

: ถ.ราษฎรคนึง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4324 2386 หมายเลขโทรสาร : 0 4324 2386 วิทยาเขตล านนา ที่ตั้ง

: วัดเจดียหลวง 103 ถ.พระปกเกลา ต.พระสิงห อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 หมายเลขโทรศัพท : 0 5327 0975-6 หมายเลขโทรสาร : 0 5381 4752

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

161


List of Universities วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช ที่ตั้ง : วัดปาหวยพระ หมู 5 ต.นาพรุ อ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช 80000 หมายเลขโทรศัพท : 08 6280 6644, 08 6279 3399 หมายเลขโทรสาร : 0 2402 9948 วิทยาเขตร อยเอ็ด ที่ตั้ง

: วัดศรีทองไพบูรณวนาราม ถ.เลียงเมือง ต.ดงลาน อ.เมือง จ.รอยเอ็ด 45000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4351 8364, 0 4351 6076 หมายเลขโทรสาร : 0 4351 4618 วิทยาเขตศรีล านช าง ที่ตั้ง : วัดศรีสุทธาวาส 253/7 ถ.วิสุทธิเทพ ต.กุดปอง อ.เมือง จ.เลย 42000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4283 0434 มหาวิทยาลัยมหิดล (มม.) อธิการบดี : ศ.คลินิก นพ.อุดม คชินทร ที่ตั้ง : 999 ถ.พุทธมณฑล สาย ๔ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 หมายเลขโทรศัพท : 0 2849 6000 หมายเลขโทรสาร : 0 2849 6211 เว็บไซต : www.mahidol.ac.th วิทยาเขตกาญจนบุรี ที่ตั้ง : 199 หมู 9 ต.ลุมสุม อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี 71150 หมายเลขโทรศัพท : 0 3458 5058-75 หมายเลขโทรสาร : 0 3458 5077 เว็บไซต : www.ka.mahidol.ac.th วิทยาเขตนครสวรรค ที่ตั้ง : 402/1 หมู 5 ต.เขาทอง อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค 60130 หมายเลขโทรศัพท : 08 8278 6883 หมายเลขโทรสาร : 0 5627 4366 เว็บไซต : www.na.mahidol.ac.th

162

รายงานประจําป 2558

วิทยาเขตอํานาจเจริญ ที่ตั้ง : 259 หมู 13 ถ.ชยางกูร ต.โนนหนามแทง อ.เมือง จ.อํานาจเจริญ 37000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4552 3211 หมายเลขโทรสาร : 0 4552 3211 เว็บไซต : www.acr.mahidol.ac.th มหาวิทยาลัยแม ฟ าหลวง (มฟล.) อธิการบดี : รศ.วันชัย ศิริชนะ ที่ตั้ง : 333 หมู 1 ต.ทาสุด อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 หมายเลขโทรศัพท : 0 5391 6000, 0 5391 7034 หมายเลขโทรสาร : 0 5391 6034, 0 5391 7049 เว็บไซต : www.mfu.ac.th สํานักงาน กรุงเทพมหานคร ที่ตั้ง : 127 ปจภูมิ 2 ชั้น 7 ถ.สาธรใต แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาธร กรุงเทพมหานคร 10120 หมายเลขโทรศัพท : 0 2679 0038-9 หมายเลขโทรสาร : 0 2679 0038 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ (มวล.) อธิการบดี : นายกีรรัตน สงวนไทร (ครบวาระ 15 ธ.ค. 2558) ที่ตั้ง : 222 ต.ไทรบุรี อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80161 หมายเลขโทรศัพท : 0 7567 3000, 0 7538 4000 หมายเลขโทรสาร : 0 7567 3708 เว็บไซต : www.wu.ac.th ศูนย ประสานงาน ที่ตั้ง

: 979/42-46 อาคารเอสเอ็ม ทาวเวอร ชั้น 19 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 หมายเลขโทรศัพท : 0 2298 0244, 0 2299 0930 หมายเลขโทรสาร : 0 2298 0248


List of Universities มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) อธิการบดี : ผศ.พิทักษ จันทรเจริญ ที่ตั้ง : 295 ถ.ราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 หมายเลขโทรศัพท : 0 2244 5000 หมายเลขโทรสาร : 0 2243 0457 เว็บไซต : www.dusit.ac.th สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา (สกว.) อธิการบดี : รศ.คุณหญิงวงจันทร พินัยนิติศาสตร ที่ตั้ง : 2010 ซ.อรุณอัมรินทร 36 ถ.อรุณอัมรินทร แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700 หมายเลขโทรศัพท : 0 2447 8597 หมายเลขโทรสาร : 0 2447 8598 เว็บไซต : www.pgvim.ac.th

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล าเจ าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) อธิการบดี : ศ.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์(รักษาการแทน) ที่ตั้ง : 3 หมู 2 ถ.ฉลองกรุง แขวงลําปะทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 หมายเลขโทรศัพท : 0 2329 8000-99 หมายเลขโทรสาร : 0 2326 4997, 0 2329 8106 เว็บไซต : www.kmitl.ac.th วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ที่ตั้ง : 17/1 หมู 6 ต.ชุมโค อ.ปะทิว จ.ชุมพร 86160 หมายเลขโทรศัพท : 0 7750 6410 หมายเลขโทรสาร : 0 7750 6425

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

163


List of Universities

สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของรัฐ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ (มกส.) อธิการบดี : ผศ.นพพร โฆสิระโยธิน (รักษาราชการแทน) ที่ตั้ง : 13 หมู 14 ต.สงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ 46230 หมายเลขโทรศัพท : 0 4360 2033-43 หมายเลขโทรสาร : 0 4360 2044 เว็บไซต : www.ksu.ac.th มหาวิทยาลัยนครพนม (มนพ.) อธิการบดี : รศ.สุวิทย เลาหศิริวงศ (ครบวาะร 17 พ.ย. 2558) ที่ตั้ง : 103 หมู 3 ถ.ชยางกูร ต.ขามเฒา อ.เมือง จ.นครพนม 48000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4253 2477-8 หมายเลขโทรสาร : 0 4253 2479 เว็บไซต : www.npu.ac.th ศูนย ประสานงาน ที่ตั้ง

: 99/349 อาคาร ณ นคร ชั้น 6 ถ.แจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 หมายเลขโทรศัพท : 0 2576 1361 หมายเลขโทรสาร : 0 2576 1361 มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร (มนธ.) อธิการบดี : ผศ.รสสุคนธ แสงมณี ที่ตั้ง : 99 ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส 96000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7370 9030-59 หมายเลขโทรสาร : 0 7351 1905 เว็บไซต : www.pnu.ac.th

164

รายงานประจําป 2558

มหาวิทยาลัยนเรศวร (มน.) อธิการบดี : ศ.สุจินต จินายน ที่ตั้ง : 99 หมู 9 ถ.พิษณุโลก-นครสวรรค ต.ทาโพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5596 1000 หมายเลขโทรสาร : 0 5596 1103 เว็บไซต : www.nu.ac.th มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.) อธิการบดี : ศ.ปรีชา ประเทพา ที่ตั้ง : 41/20 ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150 หมายเลขโทรศัพท : 0 4375 4333 หมายเลขโทรสาร : 0 4375 4235 เว็บไซต : www.msu.ac.th มหาวิทยาลัยแม โจ (มจ.) อธิการบดี : ผศ.จําเนียร ยศราช ที่ตั้ง : 63 หมู 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม 50290 หมายเลขโทรศัพท : 0 5387 3000 หมายเลขโทรสาร : 0 5387 3042 เว็บไซต : www.mju.ac.th วิทยาเขตชุมพร ที่ตั้ง

: 99 หมู 5 บานแหลมสันติ ต.ละแม อ.ละแม จ.ชุมพร 86170 หมายเลขโทรศัพท : 0 7755 9111 หมายเลขโทรสาร : 0 7755 9000 เว็บไซต : www.chumporn.mju.ac.th วิทยาเขตแพร (เฉลิมพระเกียรติ) ที่ตั้ง : 17 หมู 3 ตําบลแมทราย อําเภอรองกวาง จังหวัดแพร 54140 หมายเลขโทรศัพท : 0 5464 8593-5 หมายเลขโทรสาร : 0 5464 8374, 0 5464 8596 เว็บไซต : www.phrae.mju.ac.th


List of Universities มหาวิทยาลัยรามคําแหง (มร.) อธิการบดี : ผศ.วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย (ครบวาระ 20 ต.ค. 2558) ที่ตั้ง : ถ.รามคําแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 หมายเลขโทรศัพท : 0 2310 8000 หมายเลขโทรสาร : 0 2310 8022 เว็บไซต : www.ru.ac.th มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว.) อธิการบดี : ผศ.นพ.เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ ที่ตั้ง : 114 สุขุมวิท 23 (ประสานมิตร) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 หมายเลขโทรศัพท : 0 2649 5000 หมายเลขโทรสาร : 0 2258 0311 เว็บไซต : www.swu.ac.th องค รักษ ที่ตั้ง

: 107 หมู 6 ถ.รังสิต-นครนายก คลอง 16 (กม. 42) ต.องครักษ อ.องครักษ จ.นครนายก 26120 หมายเลขโทรศัพท : 0 2649 5000 หมายเลขโทรสาร : 0 3732 2616 มหาวิทยาลัยศิลปากร (มศก.) อธิการบดี : ผศ.ชัยชาญ ถาวรเวช ที่ตั้ง : 31 ถ.หนาพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 หมายเลขโทรศัพท : 0 2623 6115-22 หมายเลขโทรสาร : 0 2225 7258 เว็บไซต : www.su.ac.th สํานักงานอธิการบดี (ตลิ่งชัน) ที่ตั้ง : 22 ถ.บรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร 10170 หมายเลขโทรศัพท : 0 2849 7500 หมายเลขโทรสาร : 0 2849 7519

วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร ที่ตั้ง : ถ.ราชมรรคาใน อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3425 3910-9 หมายเลขโทรสาร : 0 3425 5099 วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ที่ตั้ง : 1 หมูที่ 3 ถ.ชะอํา-ปราณบุรี ต.สามพระยา อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 76120 หมายเลขโทรศัพท : 0 3259 4026 หมายเลขโทรสาร : 0 3259 4026 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (มอ.) อธิการบดี : รศ.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล หมายเลขโทรศัพท : 0 7428 2801 หมายเลขโทรสาร : 0 7455 8941 เว็บไซต : www.psu.ac.th วิทยาเขตหาดใหญ ที่ตั้ง

: 15 ถ.กาญจนวณิชย อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 หมายเลขโทรศัพท : 0 7428 2000 หมายเลขโทรสาร : 0 7421 2828 วิทยาเขตป ตตานี ที่ตั้ง

: 181 หมูที่ 6 ถ.เจริญประดิษฐ ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปตตานี 94000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7333 5129 หมายเลขโทรสาร : 0 7333 5127 วิทยาเขตภูเก็ต ที่ตั้ง : ถ.วิชิตสงคราม อ.กะทู จ.ภูเก็ต 83120 หมายเลขโทรศัพท : 0 7627 6009 หมายเลขโทรสาร : 0 7627 6002 วิทยาเขตสุราษฎร ธานี ที่ตั้ง : ถ.สุราษฎร-นาสาร ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎรธานี 84100 หมายเลขโทรศัพท : 0 7735 5040 หมายเลขโทรสาร : 0 7733 5041 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

165


List of Universities วิทยาเขตตรัง ที่ตั้ง : ต.ควนปริง อ.เมือง จ.ตรัง 92000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7523 6394 หมายเลขโทรสาร : 0 7521 2036 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช (มสธ.) อธิการบดี : รศ.นพ.ชัยเลิศ พิชิตพรชัย ที่ตั้ง : 9/9 หมู 9 ถ.แจงวัฒนะ ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 หมายเลขโทรศัพท : 0 2504 7777 หมายเลขโทรสาร : 0 2503 3607 เว็บไซต : www.stou.ac.th มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (มอบ.) อธิการบดี : รศ.นงนิตย ธีระวัฒนสุข ที่ตั้ง : 85 ถ.สกลมารค ต.เมืองศรีไค อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190 หมายเลขโทรศัพท : 0 4535 3000-3, 0 4528 8391 เว็บไซต : www.ubu.ac.th สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน (สทป.) อธิการบดี : รศ.ปญญา มินยง ที่ตั้ง : 833 ถ.พระราม 1 แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 หมายเลขโทรศัพท : 0 2104 9099 หมายเลขโทรสาร : 0 2219 3872 เว็บไซต : www.ptwit.ac.th สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (สพบ.) อธิการบดี : รศ.ประดิษฐ วรรณรัตน ที่ตั้ง : 118 หมู 3 ถ.เสรีไทย แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 หมายเลขโทรศัพท : 0 2727 3000 หมายเลขโทรสาร : 0 2375 8798 เว็บไซต : www.nida.ac.th

166

รายงานประจําป 2558

สถาบันวิทยาลัยชุมชน ผูอํานวยการ : นายสมศักดิ์ ตันติแพทยางกูร (ปฏิบัติหนาที่ ผอ.) ที่ตั้ง : อาคารรัชมังคลาภิเษก 2 กระทรวงศึกษาธิการ 319 วังจันทรเกษม ถนนราชดําเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 หมายเลขโทรศัพท : 0 2280 0091-6 หมายเลขโทรสาร : 0 2280 4162, 0 2281 1588 เว็บไซต : www.cc.mua.go.th วิทยาลัยชุมชนตราด ที่ตั้ง : 64/1 หมู 2 ถ.ตราด-คลองใหญ ต.เนินทราย อ.เมือง จ.ตราด 23000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3967 1887 หมายเลขโทรสาร : 0 3967 1888 เว็บไซต : www.tratcc.ac.th วิทยาลัยชุมชนตาก ที่ตั้ง : หมู 1 ถ.พหลโยธิน ต.หนองบัวใต อ.เมือง จ.ตาก 63000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5589 7060-1 หมายเลขโทรสาร : 0 5589 7063 เว็บไซต : www.takcc.ac.th วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส ที่ตั้ง : 223 หมู 10 ถ.สุริยะประดิษฐ ต.ลําภู อ.เมือง จ.นราธิวาส 96000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7364 2721-2 หมายเลขโทรสาร : 0 7364 2723 เว็บไซต : www.ncc.ac.th วิทยาลัยชุมชนน าน ที่ตั้ง : 10 หมู 5 ถ.ยันตรกิจโกศล ต.ดูใต อ.เมือง จังหวัดนาน 55000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5471 1229 หมายเลขโทรสาร : 0 5471 1229 เว็บไซต : www.nancc.ac.th


List of Universities วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย ที่ตั้ง : 182 หมู 1 ถ.บุรีรัมย-สตึก ต.บัวทอง อ.เมือง จ.บุรีรัมย 31000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4461 5128 หมายเลขโทรสาร : 0 4461 5129 เว็บไซต : www.brcc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ที่ตั้ง : 30 ซ.คายลูกเสือ ถ.พิทักษพนมเขต อ.เมือง จ.มุกดาหาร 49000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4261 2596 หมายเลขโทรสาร : 0 4261 5197 เว็บไซต : www.mukcc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนป ตตานี ที่ตั้ง : 2 ถ.ปากนํ้า ต.รูสะมิแร อ.เมือง จ.ปตตานี 94000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7346 0205 หมายเลขโทรสาร : 0 7346 0061 # 0 เว็บไซต : www.pncc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนแม ฮ องสอน ที่ตั้ง : 36 ถ.ปางลอนิคม ต.จองคํา อ.เมือง จ.แมฮองสอน 58000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5369 5438 หมายเลขโทรสาร : 0 5369 5439 เว็บไซต : www.mcc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนพังงา ที่ตั้ง : หมู 6 ต.บอแสน อ.ทับปุด จ.พังงา 82180 หมายเลขโทรศัพท : 0 7659 9014 หมายเลขโทรสาร : 0 7659 9214 เว็บไซต : www.pngcc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนยโสธร ที่ตั้ง : บานบาก หมู 11 ถ.แจงสนิท ต.สําราญ อ.เมือง จ.ยโสธร 35000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4558 6295 หมายเลขโทรสาร : 0 4558 6296 เว็บไซต : www.yasocc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนพิจิตร ที่ตั้ง : 150 หมู 6 ต.ทาบัว อ.โพทะเล จ.พิจิตร 66130 หมายเลขโทรศัพท : 0 5665 9180 หมายเลขโทรสาร : 0 5665 9180 # 107 เว็บไซต : www.pcc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนยะลา ที่ตั้ง : 2 ถ.สุขยางค 1 ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7321 6646 หมายเลขโทรสาร : 0 7321 6648 เว็บไซต : www.ycc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนแพร ที่ตั้ง : 33/13 ถ.คุมเดิม ต.ในเวียง อ.เมือง จ.แพร 54000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5453 2191 หมายเลขโทรสาร : 0 5453 2192 เว็บไซต : www.phr.ac.th

วิทยาลัยชุมชนระนอง ที่ตั้ง : 2/4 หมู 1 ถ.เพชรเกษม ต.บางริ้น อ.เมือง จ.ระนอง 85000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7782 1068 หมายเลขโทรสาร : 0 7782 3326 # 2 เว็บไซต : www.ranong-cc.ac.th

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

167


List of Universities วิทยาลัยชุมชนสงขลา ที่ตั้ง : (บริเวณที่วาการอําเภอเทพา) ต.เทพา อ.เทพา จ.สงขลา 90150 หมายเลขโทรศัพท : 0 7437 6667 หมายเลขโทรสาร : 0 7437 6665 เว็บไซต : www.sk-cc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนสระแก ว ที่ตั้ง : หมู 3 ถ.สุวรรณศร ต.ทาเกษม อ.เมือง จ.สระแกว 27000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3742 5487-9 หมายเลขโทรสาร : 0 3742 5291 เว็บไซต : www.skcc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนสตูล ที่ตั้ง : 271 หมู 4 ต.เกตรี อ.เมือง จ.สตูล 91000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7471 1958 หมายเลขโทรสาร : 0 7477 2116 เว็บไซต : www.stcc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลําภู ที่ตั้ง : 199 หมู 1 ต.บานพราว อ.เมือง จ.หนองบัวลําภู 39000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4294 1101 หมายเลขโทรสาร : 0 4294 1056 เว็บไซต : www.nbcc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร ที่ตั้ง : 101 หมู 9 กระซาขาว ต.บานบอ อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3445 0001-2 หมายเลขโทรสาร : 0 3445 0003 เว็บไซต : www.smkcc.ac.th

วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี ที่ตั้ง : 7 หมู 2 ถ.บานไร-ลานสัก ต.หวยแหง อ.บานไร จ.อุทัยธานี 61140 หมายเลขโทรศัพท : 0 5653 9204 หมายเลขโทรสาร : 0 5653 9205 เว็บไซต : www.uthai-cc.ac.th

168

รายงานประจําป 2558


List of Universities

สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของรัฐ (ราชภัฏ) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (มรกจ.) อธิการบดี : นายณรงคเดช รัตนานนทเสถียร ที่ตั้ง : 70 หมู 4 บานพุพระ ต.หนองบัว อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3463 3227-30 หมายเลขโทรสาร : 0 3463 3224 เว็บไซต : www.kru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (มร.ช.) อธิการบดี : ผศ.ทศพล อารีนิจ ที่ตั้ง : 80 หมู 9 ต.บานดู อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 หมายเลขโทรศัพท : 0 5377 6000, 0 5377 6007 หมายเลขโทรสาร : 0 5377 6001 เว็บไซต : www.cru.in.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร (มรภ.กพ.) อธิการบดี : ผศ.สุวิทย วงษบุญมาก ที่ตั้ง : 69 หมู 1 ต.นครชุม อ.เมือง จ.กําแพงเพชร 62000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5570 6555, 0 5572 2500 หมายเลขโทรสาร : 0 5570 6518 เว็บไซต : www.kpru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม (มร.ชม.) อธิการบดี : รศ.ประพันธ ธรรมไชย ที่ตั้ง : 202 ถ.ชางเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม 50300 หมายเลขโทรศัพท : 0 5388 5555 หมายเลขโทรสาร : 0 5388 5556 เว็บไซต : www.cmru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (มจษ.) อธิการบดี : รศ.สุมาลี ไชยศุภรากุล ที่ตั้ง : 39/1 ถ.รัชดาภิเษก แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 หมายเลขโทรศัพท : 0 2942 6900-99, 0 2541 6060 หมายเลขโทรสาร : 0 2541 7113 เว็บไซต : www.chandra.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (มรท.) อธิการบดี : รศ.นันทนา แจงสุวรรณ ที่ตั้ง : 24 ถ.นารายณมหาราช ต.ทะเลชุบศร อ.เมือง จ.ลพบุรี 15000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3642 7485-93 หมายเลขโทรสาร : 0 3642 2610 เว็บไซต : www.tru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ (มชย.) อธิการบดี : ผศ.ไพรัตน แกวสาร (รักษาราชการแทน) ที่ตั้ง : 167 ถ.ชัยภูมิ-ตาดโตน ต.นาฝาย อ.เมือง จ.ชัยภูมิ 36000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4481 5111 หมายเลขโทรสาร : 0 4481 5116 เว็บไซต : www.cpru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (มรธ.) อธิการบดี : ผศ.ยุวลักษณ เวชวิทยาขลัง ที่ตั้ง : 172 ถ.อิสรภาพ แขวงวัดกัลยาณ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600 หมายเลขโทรศัพท : 0 2890 1801-8 หมายเลขโทรสาร : 0 2466 6776 เว็บไซต : www.dru.ac.th

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

169


List of Universities มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม (มรน.) อธิการบดี : ผศ.สมเดช นิลพันธุ ที่ตั้ง : 85 ถ.มาลัยแมน อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3426 1021-36 หมายเลขโทรสาร : 0 3426 1048 เว็บไซต : www.npru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย (มรภ.บร.) อธิการบดี : รศ.มาลิณี จุโฑปะมา ที่ตั้ง : 439 ถ.จิระ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บุรีรัมย 31000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4461 1221, 0 4461 7588 หมายเลขโทรสาร : 0 4461 2858 เว็บไซต : www.bru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (มร.นม.) อธิการบดี : รศ.วิเชียร ฝอยพิกุล ที่ตั้ง : 340 ถ.สุรนารายณ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4400 9009 หมายเลขโทรสาร : 0 4424 4739 เว็บไซต : www.nrru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (มรภ.พน.) อธิการบดี : รศ.พงศ หรดาล ที่ตั้ง : 3 หมู 6 ถ.แจงวัฒนะ แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 หมายเลขโทรศัพท : 0 2544 8000 หมายเลขโทรสาร : 0 2521 7909 เว็บไซต : www.pnru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (มรนศ.) อธิการบดี : รศ.วิมล ดําศรี ที่ตั้ง : 1 หมู 4 ต.ทางิ้ว อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80280 หมายเลขโทรศัพท : 0 7539 2040, 0 7580 9888 หมายเลขโทรสาร : 0 7537 7440 เว็บไซต : www.nstru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (มรอย.) อธิการบดี : นายเกษม บํารุงเวช ที่ตั้ง : 96 ถ.โรจนะ ต.ประตูชัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3532 2076-9 หมายเลขโทรสาร : 0 3524 2708 เว็บไซต : www.aru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค (มรนว.) อธิการบดี : ผศ.บัญญัติ ชํานาญกิจ ที่ตั้ง : 398 หมูที่ 9 ถ.สวรรควิถี ต.นครสวรรคตก อ.เมือง จ.นครสวรรค 60000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5621 9100-29 หมายเลขโทรสาร : 0 5622 1554 เว็บไซต : www.nsru.ac.th มหาวิทยาลัยราชภัฏบ านสมเด็จเจ าพระยา (มบส.) อธิการบดี : ผศ.ลินดา เกณฑมา (รักษาราชการแทน) ที่ตั้ง : 1061 ซ.อิสรภาพ 15 ถ.อิสรภาพ แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600 หมายเลขโทรศัพท : 0 2473 7000 หมายเลขโทรสาร : 0 2466 6539 เว็บไซต : www.bsru.ac.th

170

รายงานประจําป 2558

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (มรพส.) อธิการบดี : นายสาคร สรอยสังวาลย ที่ตั้ง : 156 หมู 5 ต.พลายชุมพล อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5526 7000-2 หมายเลขโทรสาร : 0 5526 7058 เว็บไซต : www.psru.ac.th มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (มรภ.พบ.) อธิการบดี : ผศ.นิวัติ กลิ่นงาม ที่ตั้ง : 38 หมู 8 ต.นาวุง อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3249 3300-7 หมายเลขโทรสาร : 0 3249 3308 เว็บไซต : www.pbru.ac.th


List of Universities มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ (มรพช.) อธิการบดี : รศ.เปรื่อง จันดา ที่ตั้ง : 83 หมู 11 ถ.สระบุรี-หลมสัก ต.สะเดียง อ.เมือง จ.เพชรบูรณ 67000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5671 7100 หมายเลขโทรสาร : 0 5671 7110 เว็บไซต : www.pcru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร (มรร.) อธิการบดี : ผศ.อุทัย ศิริภักดิ์ ที่ตั้ง : 422 ถ.มรุพงษ ต.หนาเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3851 1010, 0 3853 5426-8 หมายเลขโทรสาร : 0 3881 0337 เว็บไซต : www.rru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (มรภ.) อธิการบดี : ผศ.ประภา กาหยี ที่ตั้ง : 21 หมู 6 ถ.เทพกระษัตรี ต.รัษฎา อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7621 1959 หมายเลขโทรสาร : 0 7621 1778 เว็บไซต : www.pkru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี (มรรพ.) อธิการบดี : ผศ.ไวกูณฑ ทองอราม ที่ตั้ง : 41 หมู 5 ต.ทาชาง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3947 1053-57, 0 3947 1055 หมายเลขโทรสาร : 0 3947 1063, 0 3947 1067 เว็บไซต : www.rbru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มรม.) อธิการบดี : รศ.สมชาย วงศเกษม ที่ตั้ง : 80 ถ.นครสวรรค ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4372 2118-9, 0 4371 3080-9 หมายเลขโทรสาร : 0 4372 2117 เว็บไซต : www.rmu.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง (มร.ลป.) อธิการบดี : รศ.สมเกียรติ สายธนู ที่ตั้ง : 119 หมู 9 ถ.ลําปาง-แมทะ ต.ชมพู อ.เมือง จ.ลําปาง 52100 หมายเลขโทรศัพท : 0 5423 7399 หมายเลขโทรสาร : 0 5423 7388 เว็บไซต : www.lpru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (มรย.) อธิการบดี : ผศ.สมบัติ โยธาทิพย ที่ตั้ง : 133 ถ.เทศบาล 3 อ.เมือง จ.ยะลา 95000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7322 7151 หมายเลขโทรสาร : 0 7322 7125 เว็บไซต : www.yru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (มรล.) อธิการบดี : ผศ.สนิท เหลืองบุตรนาค ที่ตั้ง : 234 ถ.เลย-เชียงคาน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.เลย 42000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4283 5224-8 หมายเลขโทรสาร : 0 4281 1143 เว็บไซต : www.lru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏร อยเอ็ด (ม.รอ.) อธิการบดี : ผศ.ดุสิต อุบลเลิศ ที่ตั้ง : 113 หมู 12 ถ.รอยเอ็ด-โพนทอง ต.เกาะแกว อ.เสลภูมิ จ.รอยเอ็ด 45120 หมายเลขโทรศัพท : 0 4355 6001-8 หมายเลขโทรสาร : 0 4355 6009 เว็บไซต : www.reru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ (มรว.) อธิการบดี : รศ.สมบัติ คชสิทธิ์ ที่ตั้ง : 1 หมู 20 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 13180 หมายเลขโทรศัพท : 0 2529 0674-7 หมายเลขโทรสาร : 0 2529 2580, 0 2909 1761 เว็บไซต : www.vru.ac.th สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

171


List of Universities มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (มรภ.ศก.) อธิการบดี : ผศ.ประกาศิต อานุภาพแสนยากร ที่ตั้ง : 319 ถ.ไทยพันทา ต.โพธิ์ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ 33000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4564 3600 หมายเลขโทรสาร : 0 4564 3607 เว็บไซต : www.sskru.ac.th มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร (มรสน.) อธิการบดี : รศ.ชนินทร วะสีนนท ที่ตั้ง : 680 หมู 11 ถ.นิตโย ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร 47000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4297 0021 หมายเลขโทรสาร : 0 4271 3063 เว็บไซต : www.snru.ac.th มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สข.) อธิการบดี : รศ.สุนทร โสตถิพันธุ ที่ตั้ง : 160 หมู 4 ถ.กาญจนวนิช ต.เขารูปชาง อ.เมือง จ.สงขลา 90000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7431 4993 หมายเลขโทรสาร : 0 7431 1210 เว็บไซต : www.skru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร (ม.รภ.สร.) อธิการบดี : รศ.อัจฉรา ภาณุรตั น (รักษาราชการแทน) ที่ตั้ง : 186 ถ.สุรินทร-ปราสาท ต.นอกเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร 32000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4451 1604, 0 4452 1389 หมายเลขโทรสาร : 0 4451 1631 เว็บไซต : www.srru.ac.th มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู บ านจอมบึง (มรมจ.) อธิการบดี : ผศ.ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช ที่ตั้ง : 46 หมู 3 ต.จอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี 70150 หมายเลขโทรศัพท : 0 3226 1790-7 หมายเลขโทรสาร : 0 3226 1078 เว็บไซต : www.mcru.ac.th มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (มร.อด.) อธิการบดี : นายณัติเทพ พิทักษานุรัตน ที่ตั้ง : 64 ถ.ทหาร ต.หมากแขง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4221 1040-59 หมายเลขโทรสาร : 0 4224 1418 เว็บไซต : www.udru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (มรภ.สส.) อธิการบดี : รศ.ฤๅเดช เกิดวิชัย ที่ตั้ง : 1 ถ.อูทองนอก แขวงวชิระ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 หมายเลขโทรศัพท : 0 2160 1111 หมายเลขโทรสาร : 0 2160 1010 เว็บไซต : www.ssru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ (มรอ.) อธิการบดี : ผศ.เรืองเดช วงศหลา ที่ตั้ง : 27 ถ.อินใจมี ต.ทาอิฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ 53000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5541 1096, 0 5541 6601-31 หมายเลขโทรสาร : 0 5541 1296 เว็บไซต : www.uru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎ ธานี (มรส.) อธิการบดี : ผศ.ประโยชน คุปตกาญจนากุล ที่ตั้ง : 272 หมู 9 ต.ขุนทะเล อ.เมือง จ.สุราษฎรธานี 84100 หมายเลขโทรศัพท : 0 7735 5466-7, 0 7735 5469 หมายเลขโทรสาร : 0 7735 5468 เว็บไซต : www.sru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (มรภ.อบ.) อธิการบดี : ผศ.ประชุม ผงผาน ที่ตั้ง : 2 ถ.ราชธานี ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4535 2000-29 หมายเลขโทรสาร : 0 4535 2129 เว็บไซต : www.ubru.ac.th

172

รายงานประจําป 2558


List of Universities

สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของรัฐ (ราชมงคล) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (มทร.กรุงเทพ) อธิการบดี : นายสาธิต พุทธชัยยงค ที่ตั้ง : 2 ถ.นางลิ้นจี่ แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 หมายเลขโทรศัพท : 0 2287 9600, 0 2286 3991-5 หมายเลขโทรสาร : 0 2287 3596 เว็บไซต : www.rmutk.ac.th

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) อธิการบดี : รศ.ประเสริฐ ปนปฐมรัฐ ที่ตั้ง : 39 หมู 1 ถ.รังสิต-นครนายก ต.คลองหก อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 หมายเลขโทรศัพท : 0 2549 3333, 0 2549 3013 หมายเลขโทรสาร : 0 2577 2357 เว็บไซต : www.rmutt.ac.th

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก (มทร.ตะวันออก) อธิการบดี : รศ.พัชรี ชยากรโศภิต (รักษาราชการแทน) ที่ตั้ง : 43 หมู 6 ต.บางพระ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20110 หมายเลขโทรศัพท : 0 3835 8137 หมายเลขโทรสาร : 0 3834 1808-9 เว็บไซต : www.rmutto.ac.th

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (มทร.พระนคร) อธิการบดี : รศ.สุภัทรา โกไศยกานนท ที่ตั้ง : 399 ถ.สามเสน สี่เสาเทเวศน แขวงวชิระ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 หมายเลขโทรศัพท : 02 665 3777 หมายเลขโทรสาร : 02 665 3888 เว็บไซต : www.rmutp.ac.th

วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ ที่ตั้ง : 122/41 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 หมายเลขโทรศัพท : 0 2692 2360-4 หมายเลขโทรสาร : 0 2277 3693 เว็บไซต : www.cpc.rmutto.ac.th

ศูนย โชติเวช ที่ตั้ง

วิทยาเขตจันทบุรี ที่ตั้ง

: 131 หมู 5 ถ.บําราศนราดูร ต.พลวง กิ่ง อ.เขาคิชฌกูฎ จ.จันทบุรี 22210 หมายเลขโทรศัพท : 0 3930 7261-4 หมายเลขโทรสาร : 0 3930 7268 เว็บไซต : www.chan.rmutto.ac.th วิทยาเขตอุเทนถวาย ที่ตั้ง : 225 ถ.พญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 หมายเลขโทรศัพท : 0 2252 7029, 0 2252 2736 หมายเลขโทรสาร : 0 2252 7580 เว็บไซต : www.uthen.rmutto.ac.th

: 168 ถ.ศรีอยุธยา แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300

ศูนย พณิชยการพระนคร ที่ตั้ง : 88 ถ.พิษณุโลก แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 ศูนย พระนครเหนือ ที่ตั้ง

: 1381 ถ.พิบูลสงคราม แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร (มทร.รัตนโกสินทร ) อธิการบดี : ผศ.ศิวะ วสุนธราภิวัฒน ที่ตั้ง : 96 หมู 3 ถ.พุทธมณฑล สาย 5 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 หมายเลขโทรศัพท : 0 2889 4585-7, 0 2441 6000 หมายเลขโทรสาร : 0 2889 4588 เว็บไซต : www.rmutr.ac.th

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

173


List of Universities พื้นที่บพิตรพิมุข จักรวรรดิ ที่ตั้ง : 264 ถ.จักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ กรุงเทพมหานคร 10100 หมายเลขโทรศัพท : 0 2226 5925-6, 0 2222 2814 หมายเลขโทรสาร : 0 2226 4879 เว็บไซต : www.ppc.rmutr.ac.th

เขตพื้นที่พิษณุโลก ที่ตั้ง

วิทยาลัยเพาะช าง ที่ตั้ง

: 59 หมู 13 ต.ฝายแกวกิ่ง อ.ภูเพียง จ.นาน 55000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5471 0259 หมายเลขโทรสาร : 0 5477 1398

: 86 ถ.ตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 หมายเลขโทรศัพท : 0 2623 8790-5 หมายเลขโทรสาร : 0 2225 7631 เว็บไซต : www.pohchang.rmutr.ac.th วิทยาเขตวังไกลกังวล ที่ตั้ง : 35/9 ถ.เพชรเกษม (ก.ม. 242) ต.หนองแก อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีบันธ 77110 หมายเลขโทรศัพท : 0 3261 8500 หมายเลขโทรสาร : 0 3261 8570 เว็บไซต : www.rmutr.ac.th มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล านนา (มทร.ล านนา) อธิการบดี : รศ.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ ที่ตั้ง : 128 ถ.หวยแกว ต.ชางเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม 50300 หมายเลขโทรศัพท : 0 5392 1444 หมายเลขโทรสาร : 0 5321 3183 เว็บไซต : www.rmutl.ac.th เขตพื้นที่ลําปาง ที่ตั้ง

: 200 หมู 17 ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลําปาง 52000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5434 2547-8 หมายเลขโทรสาร : 0 5434 2549 เขตพื้นที่ตาก ที่ตั้ง

: 41 ถนนพหลโยธิน ต.ไมงาม อ.เมือง จ.ตาก 63000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5551 5904-5 หมายเลขโทรสาร : 0 5551 1833

174

รายงานประจําป 2558

: 52 หมู 7 ต.บานกราง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5529 8438, 0 5526 2789 หมายเลขโทรสาร : 0 5529 8440 เขตพื้นที่น าน ที่ตั้ง

เขตพื้นที่เชียงราย ที่ตั้ง

: 99 หมู 10 ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย 57120 หมายเลขโทรศัพท : 0 5372 9600-5 หมายเลขโทรสาร : 0 5372 9606-7 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (มทร.ศรีวิชัย) อธิการบดี : ผศ.รุจา ทิพยวารี ที่ตั้ง : 1 ถ.ราชดําเนินนอก ต.บอยาง อ.เมือง จ.สงขลา 90000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7431 7100 หมายเลขโทรสาร : 0 7431 7123 เว็บไซต : www.rmutsv.ac.th วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ที่ตั้ง : 133 หมู 5 ถ.เอเชีย 41 ต.ทุงใหญ อ.ทุงใหญ จ.นครศรีธรรมราช 80240 หมายเลขโทรศัพท : 0 7547 9496-7, 0 7535 0029 หมายเลขโทรสาร : 0 7535 0028 เว็บไซต : www.nakhor.rmutsv.ac.th วิทยาเขตตรัง ที่ตั้ง

: 179 หมู 3 ต.ไมฝาด อ.สิเกา จ.ตรัง 92150 หมายเลขโทรศัพท : 0 7527 4151-6 หมายเลขโทรสาร : 0 7527 4159 เว็บไซต : www.trang.rmutsv.ac.th


List of Universities มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (มทร.สุวรรณภูมิ) อธิการบดี : ผศ.ไพศาล บุรินทรวัฒนา เว็บไซต : www.rmutsb.ac.th ศูนย หันตรา ที่ตั้ง

: 60 หมู 3 ถ.สายเอเซีย (กรุงเทพมหานคร-นครสวรรค) ต.หันตรา อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3524 2554, 0 3570 9103 หมายเลขโทรสาร : 0 3524 2654, 0 3532 3607 ศูนย วาสุกรี ที่ตั้ง

: 19 ถ.อูทอง ต.ทาวาสุกรี อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3532 4179-80 หมายเลขโทรสาร : 0 3525 2393 ศูนย นนทบุรี ที่ตั้ง

: 7/1 ถ.นนทบุรี ต.สวนใหญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 หมายเลขโทรศัพท : 0 2969 1364-74 หมายเลขโทรสาร : 0 2525 2682 ศูนย สุพรรณบุรี ที่ตั้ง

: 450 ถ.สุพรรณบุรี-ชัยนาท ต.ยานยาว อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี 72130 หมายเลขโทรศัพท : 0 3554 4301-3 หมายเลขโทรสาร : 0 3554 4299-300

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (มทร.อีสาน) อธิการบดี : ผศ.วิโรจน ลิ้มไขแสง ที่ตั้ง : 744 หมู 6 ถ.สุรนารายณ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4423 3000 หมายเลขโทรสาร : 0 4423 3052 เว็บไซต : www.rmuti.ac.th วิทยาเขตขอนแก น ที่ตั้ง

: 150 ถ.ศรีจันทร อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4333 6371 หมายเลขโทรสาร : 0 4323 7149 เว็บไซต : www.kkc.rmuti.ac.th วิทยาเขตสุรินทร ที่ตั้ง

: 145 หมู 15 ถ.สุรินทร-ปราสาท ต.นอก เมือง อ.เมือง จ.สุรินทร 32000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4415 3090 หมายเลขโทรสาร : 0 4415 3064 เว็บไซต : www.surin.rmuti.ac.th วิทยาเขตสกลนคร ที่ตั้ง

: 199 หมู 3 ถ.พังโคน-วาริชภูมิ ต.พังโคน อ.พังโคน จ.สกลนคร 47160 หมายเลขโทรศัพท : 0 4273 4724-5 หมายเลขโทรสาร : 0 4273 4723 เว็บไซต : www.skc.rmuti.ac.th

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

175


List of Universities

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ (มกท.) อธิการบดี : นายเพชร โอสถานุเคราะห ที่ตั้ง : 119 ถ.พระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 หมายเลขโทรศัพท : 0 2350 3500-99 หมายเลขโทรสาร : 0 2240 1516 เว็บไซต : www.bu.ac.th

มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร น (มจทอ.) อธิการบดี : นางสาวจินติยา จินารัตน ที่ตั้ง : 749/1 ถ.ชยางกูร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4528 3770-2, 0 4531 1737, 0 4531 2752 หมายเลขโทรสาร : 0 4528 3773 เว็บไซต : www.umt.ac.th

วิทยาเขตรังสิต ที่ตั้ง

มหาวิทยาลัยเกริก (ม.กร.) อธิการบดี : นางสาวณภัทร มังคละพฤกษ ที่ตั้ง : 43/1111 ถ.รามอินทรา กม.1 เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 หมายเลขโทรศัพท : 0 2552 3500-9, 0 2970 5820 หมายเลขโทรสาร : 0 2552 3511, 0 2552 3513 เว็บไซต : www.krirk.ac.th

: 9/1 หมู 5 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 หมายเลขโทรศัพท : 0 2902 0250-99 หมายเลขโทรสาร : 0 2516 8553 มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี (มกธ.) อธิการบดี : นางบังอร เบ็ญจาธิกุล ที่ตั้ง : 16/10 หมู 2 แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10160 หมายเลขโทรศัพท : 0 2800 6800-5 หมายเลขโทรสาร : 0 2800 6806, 0 2431 5587 เว็บไซต : www.bkkthon.ac.th มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ (มกส.) อธิการบดี : นายวิศิษฐ แสงหิรัญ ที่ตั้ง : 489 หมู 2 ถ.ประชาพัฒนา แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10250 หมายเลขโทรศัพท : 0 2172 9623-26 หมายเลขโทรสาร : 0 2172 9620 เว็บไซต : www.bsc.ac.th

176

รายงานประจําป 2558

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต (มกบ.) อธิการบดี : นายวัลลภ สุวรรณดี ที่ตั้ง : 1761 ถ.พัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 หมายเลขโทรศัพท : 0 2320 2777 หมายเลขโทรสาร : 0 2321 4444 เว็บไซต : www.kbu.ac.th มหาวิทยาลัยคริสเตียน (ม.ค.ต.) อธิการบดี : ผศ.จันทรจิรา วงษขมทอง ที่ตั้ง : 144 หมู 7 ถ.พระประโทน-บานแพว ต.ดอนยายหอม อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3422 9480, 0 3422 9480-7 หมายเลขโทรสาร : 0 3422 9499 เว็บไซต : www.christian.ac.th


List of Universities ศูนย ศึกษาสยามคอมเพล็กซ กรุงเทพมหานคร ที่ตั้ง : วิทยาคารสภาคริสตจักรในประเทศไทย 328 ถ.พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 หมายเลขโทรศัพท : 0 2214 6038-9 หมายเลขโทรสาร : 0 2214 6039 มหาวิทยาลัยเจ าพระยา (มจพ.) อธิการบดี : นายจินต วิภาตกลัศ ที่ตั้ง : 13/1 หมู 6 ต.หนองกรด อ.เมือง จ.นครสวรรค 60240 หมายเลขโทรศัพท : 0 5633 4236, 0 5633 4714 หมายเลขโทรสาร : 0 5633 4719 เว็บไซต : www.cpu.ac.th มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา (มฉก.) อธิการบดี : นางสุชีราภรณ ธุวานนท ที่ตั้ง : 99 หมู 6 ถ.ศรีสะเกษ-อุบล ต.โพธิ์ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ 33000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4561 7971-2 หมายเลขโทรสาร : 0 4561 7974 เว็บไซต : www.ckc.ac.th มหาวิทยาลัยชินวัตร (มชว.) อธิการบดี : ศ.วรเดช จันทรศร ที่ตั้ง : 99 หมู 10 ต.บางเตย อ.สามโคก จ.ปทุมธานี 12160 หมายเลขโทรศัพท : 0 2599 0000 หมายเลขโทรสาร : 0 2599 3350-1 เว็บไซต : www.siu.ac.th ศูนย ประสานงาน ที่ตั้ง

: 197 ถ.วิภาวดีรังสิต สามเสนใน กรุงเทพมหานคร 10400 หมายเลขโทรศัพท : 0 2650 6011-2 หมายเลขโทรสาร : 0 2650 6033

มหาวิทยาลัยเซนต จอห น (มซจ.) อธิการบดี : นายจุฬาเกษม ชินะผา ที่ตั้ง : 1110/5 ถ.วิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 หมายเลขโทรศัพท : 0 2938 7058-65 หมายเลขโทรสาร : 0 2512 2275 เว็บไซต : www.stjohn.ac.th มหาวิทยาลัยตาป (มตป.) อธิการบดี : นางขวัญดี ศรีไพโรจน ที่ตั้ง : 8/151 ถ.ศรีวิชัย ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎรธานี 84000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7726 4431-2, 0 7726 4225 หมายเลขโทรสาร : 0 7726 4225 เว็บไซต : www.tapee.ac.th มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร (มทม.) อธิการบดี : รศ.สุเจตน จันทรังษ ที่ตั้ง : 140 หมู 1 ถ.เชื่อมสัมพันธ แขวงกระทุมราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530 หมายเลขโทรศัพท : 0 2988 3666, 0 2988 3655, 0 2988 4021-4 หมายเลขโทรสาร : 0 2988 4040 เว็บไซต : www.mut.ac.th มหาวิทยาลัยธนบุรี (มธร.) อธิการบดี : นายบัญชา เกิดมณี ที่ตั้ง : 29 ถ.เพชรเกษม ซอย 110 แขวงหนองคางพลู เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 10160 หมายเลขโทรศัพท : 0 2809 0823-7 หมายเลขโทรสาร : 0 2809 0832 เว็บไซต : www.thonburi-u.ac.th มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย (มธบ.) อธิการบดี : รศ.วรากรณ สามโกเศศ ที่ตั้ง : 110/1-4 ถ.ประชาชื่น แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 หมายเลขโทรศัพท : 0 2954 7300-29 หมายเลขโทรสาร : 0 2589 9605-6 เว็บไซต : www.dpu.ac.th สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

177


List of Universities มหาวิทยาลัยนอร ทกรุงเทพ (มนก.) อธิการบดี : นายประเสริฐ ประวัติรุงเรือง ที่ตั้ง : 6/999 หมู 5 ซ.พหลโยธิน 52 แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร 10220 หมายเลขโทรศัพท : 0 2972 7200 หมายเลขโทรสาร : 0 2972 7751 เว็บไซต : www.northbkk.ac.th

มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟิก (ม.น.อ.) อธิการบดี : Mr.Loren George Agrey ที่ตั้ง : 195 หมู 3 ถ.มวกเหล็ก-วังมวง ต.มวกเหล็ก อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี 18180 หมายเลขโทรศัพท : 0 3672 0777 หมายเลขโทรสาร : 0 3672 0673 เว็บไซต : www.apiu.edu

มหาวิทยาลัยนอร ท - เชียงใหม (มนช.) อธิการบดี : นายณรงค ชวสินธุ ที่ตั้ง : 169 หมู 3 ต.หนองแกว อ.หางดง จ.เชียงใหม 50230 หมายเลขโทรศัพท : 0 5381 9999 หมายเลขโทรสาร : 0 5381 9998 เว็บไซต : www.northcm.ac.th

วิทยาเขตกรุงเทพ ที่ตั้ง

ศูนย ประสานงาน ที่ตั้ง

: อาคารสินธุ 24/10 ซ.ชินวร ถ.เสรีไทย แขวงคลองกุม เขตบึงกุม กรุงเทพมหานคร 10240 หมายเลขโทรศัพท : 0 2732 5420-3, 0 2375 5490-1 หมายเลขโทรสาร : 0 2374 5097 มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร ด (มนชส.) อธิการบดี : รศ.บุญมาก ศิริเนาวกุล ที่ตั้ง : 1458 ถ.เพชรเกษม ต.ชะอํา อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 76120 หมายเลขโทรศัพท : 0 3252 0789, 0 3244 2322-3 หมายเลขโทรสาร : 0 3244 2324 เว็บไซต : www.stamford.edu ศูนย วิทยบริการ ที่ตั้ง

: 16 ถ.มอเตอรเวย แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 หมายเลขโทรศัพท : 0 2769 4000-98 หมายเลขโทรสาร : 0 2769 4099

178

รายงานประจําป 2558

: 430 ถ.พิษณุโลก แขวงสี่แยกมหานาค เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 หมายเลขโทรศัพท : 0 2280 8243-6 หมายเลขโทรสาร : 0 2280 8247 มหาวิทยาลัยเนชั่น (มนช.) อธิการบดี : ผศ.พงษอินทร รักอริยะธรรม ที่ตั้ง : 444 ถ.วชิราวุธดําเนิน ต.พระบาท อ.เมือง จ.ลําปาง 52000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5426 5170-6 หมายเลขโทรสาร : 0 5426 5184 เว็บไซต : www.nation.ac.th ศูนย การศึกษาเนชั่นทาวเวอร ที่ตั้ง : ถ.บางนา-ตราด กม.ที่ 4.5 กรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท : 0 2338 3950 หมายเลขโทรสาร : 0 2338 3950 มหาวิทยาลัยปทุมธานี (ม.ป.ท.) อธิการบดี : นางชนากานต ยืนยง ที่ตั้ง : 140 หมู 4 ถ.ติวานนท ต.บานกลาง อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000 หมายเลขโทรศัพท : 0 2975 6999 หมายเลขโทรสาร : 0 2979 6728, 0 2975 6954 เว็บไซต : www.ptu.ac.th


List of Universities มหาวิทยาลัยพายัพ (มพย.) อธิการบดี : ผศ.สัมพันธ วงษดี เว็บไซต : www.payap.ac.th เขตแม คาว ที่ตั้ง

: ถนนซุปเปอรไฮเวย อ.เมือง จ.เชียงใหม 50000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5385 1478-86, 0 5324 3969 หมายเลขโทรสาร : 0 5327 1983 เขตธารแก ว ที่ตั้ง : ถ.หวยแกว อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 หมายเลขโทรศัพท : 0 5340 0051, 0 5340 0370-2 เขตแก วนวรัฐ ที่ตั้ง

: 131 ถ.แกวนวรัฐ ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม 50000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5324 5808 หมายเลขโทรสาร : 0 5324 25321 มหาวิทยาลัยพิษณุโลก (มพล.) อธิการบดี : นางประภาพรรณ รักเลี้ยง ที่ตั้ง : 693 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5530 3411 หมายเลขโทรสาร : 0 5530 3411 เว็บไซต : www.plu.ac.th มหาวิทยาลัยฟาฏอนี (มฟน.) อธิการบดี : นายอิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา ที่ตั้ง : 203 หมู 7 ถ.ยะลา-รามัน ต.บุดี อ.เมือง จ.ยะลา 95000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7341 8613, 0 7328 8080-1 หมายเลขโทรสาร : 0 7328 8011, 0 7341 8614 เว็บไซต : www.yiu.ac.th

มหาวิทยาลัยฟาร อีสเทอร น (ม.ฟ.อ.) อธิการบดี : นายกิตติพัฒน สุวรรณชิน ที่ตั้ง : 120 ถ.มหิดล ต.หายยา อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 หมายเลขโทรศัพท : 0 5320 1800-4 หมายเลขโทรสาร : 0 5320 1810 เว็บไซต : www.feu.ac.th มหาวิทยาลัยภาคกลาง (ม.ภก.) อธิการบดี : นางสาวสราญภัทร สถิรางกูร ที่ตั้ง : 932/1 หมู 9 ถ.สายเอเชีย ต.นครสวรรคตก อ.เมือง จ.นครสวรรค 60000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5680 1822-4, 0 5680 1629 หมายเลขโทรสาร : 0 5680 1821 เว็บไซต : www.tuct.ac.th มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ม.ภ.น.) อธิการบดี : นายเอกอนันต สมบัติสกุลกิจ ที่ตั้ง : 199/19 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4322 2959-61 หมายเลขโทรสาร : 0 4322 6823-4 เว็บไซต : www.neu.ac.th มหาวิทยาลัยรังสิต (มรส.) อธิการบดี : นายอาทิตย อุไรรัตน ที่ตั้ง : 52/347 หมูบานเมืองเอก ถ.พหลโยธิน ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000 หมายเลขโทรศัพท : 0 2997 2222-30, 0 2791 5777 หมายเลขโทรสาร : 0 2533 9470 เว็บไซต : www.rsu.ac.th มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต (มรบ.) อธิการบดี : นายประเวช รัตนเพียร ที่ตั้ง : 306 ซ.ลาดพราว 107 บางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 หมายเลขโทรศัพท : 0 2375 4480-7 หมายเลขโทรสาร : 0 2375 4489 เว็บไซต : www.rbac.ac.th สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

179


List of Universities มหาวิทยาลัยราชธานี (มรธ.) อธิการบดี : นางวิลาวัณย ตันวัฒนะพงษ ที่ตั้ง : 487 ซ.เทคโน ถ.ชยางกูร ต.ขามใหญ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4531 9900 หมายเลขโทรสาร : 0 4531 9911 เว็บไซต : www.rtu.ac.th

มหาวิทยาลัยศรีปทุม (มศป.) อธิการบดี : นางรัชนีพร พุคยาภรณ พุกกะมาน ที่ตั้ง : 2410/2 ถ.พหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 หมายเลขโทรศัพท : 0 2579 1111 หมายเลขโทรสาร : 0 2561 1721 เว็บไซต : www.spu.ac.th

มหาวิทยาลัยราชพฤกษ (มรพ.) อธิการบดี : นายอณาวุฒิ ชูทรัพย ที่ตั้ง : 9 หมู 1 ถ.นครอินทร ต.บางขนุน อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130 หมายเลขโทรศัพท : 0 2432 6100-6 หมายเลขโทรสาร : 0 2432 6107 เว็บไซต : www.rc.ac.th

วิทยาเขตชลบุรี ที่ตั้ง

มหาวิทยาลัยวงษ ชวลิตกุล (มว.) อธิการบดี : นางปราณี วงษชวลิตกุล ที่ตั้ง : 84 หมู 4 ถ.มิตรภาพ ต.บานเกาะ อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4420 3778-84 หมายเลขโทรสาร : 0 4420 3785 เว็บไซต : www.vu.ac.th

: อาคารเอสเอ็ม ทาวรเวอร ชั้น 17 และ 20 ถ.พหลโยธิน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 หมายเลขโทรศัพท : 0 2298 0181-3 หมายเลขโทรสาร : 0 2298 0185

มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร (ประเทศไทย) (ม.ว.ท.) : Mr.Ratish Thakur อธิการบดี ที่ตั้ง : 143 หมู 5 ต.สามพระยา อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 76120 หมายเลขโทรศัพท : 0 3245 6161-7 หมายเลขโทรสาร : 0 3245 6169 เว็บไซต : www.ster.ac.th มหาวิทยาลัยเวสเทิร น (มท.) อธิการบดี : ผศ.จิรศักดิ์ จิยะจันทน ที่ตั้ง : 600 ต.สระลงเรือ อ.หวยกระเจา จ.กาญจนบุรี 71170 หมายเลขโทรศัพท : 0 3565 1000 หมายเลขโทรสาร : 0 3565 1144 เว็บไซต : www.western.ac.th

180

รายงานประจําป 2558

: 79 ถ.บางนา-ตราด อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3874 3690-703 หมายเลขโทรสาร : 0 3874 3700 เว็บไซต : www.east.spu.ac.th วิทยาคารพญาไท ที่ตั้ง

มหาวิทยาลัยสยาม (มส.) อธิการบดี : นายพรชัย มงคลวนิช ที่ตั้ง : 38 ถ.เพชรเกษม เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160 หมายเลขโทรศัพท : 0 2867 8088, 0 2868 6000 หมายเลขโทรสาร : 0 2467 3174, 0 2457 3982 เว็บไซต : www.siam.edu มหาวิทยาลัยหอการค าไทย (มกค.) อธิการบดี : รศ.เสาวณีย ไทยรุงโรจน ที่ตั้ง : 126/1 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 หมายเลขโทรศัพท : 0 2697 6000 หมายเลขโทรสาร : 0 2276 2126 เว็บไซต : www.utcc.ac.th


List of Universities มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (ม.ฉ.ก.) อธิการบดี : รศ.ประจักษ พุมวิเศษ ที่ตั้ง : 18/18 กม.ที่ 18 ถ.บางนา-ตราด ต.บางโฉลก อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 หมายเลขโทรศัพท : 0 2312 6300-79 หมายเลขโทรสาร : 0 2312 6237 เว็บไซต : www.hcu.ac.th วิทยาเขตยศเส ที่ตั้ง

: 121 ถ.อนันตนาค เขตปอมปราบ กรุงเทพมหานคร 10100 หมายเลขโทรศัพท : 0 2621 7070 หมายเลขโทรสาร : 0 2621 7075 มหาวิทยาลัยหาดใหญ (ม.ญ.) อธิการบดี : นายวิทวัส ดิษยะศริน สัตยารักษ ที่ตั้ง : 125/502 ถ.พลพิชัย ต.คอหงส อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 หมายเลขโทรศัพท : 0 7442 5464-6, 0 7442 5000 หมายเลขโทรสาร : 0 7442 5467 เว็บไซต : www.hu.ac.th มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (มอช.) อธิการบดี : ภารดาบัญชา แสงหิรัญ ที่ตั้ง : 592/3 ถ.รามคําแหง 24 แขวงหัวหมาก เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 หมายเลขโทรศัพท : 0 2300 4553-62 หมายเลขโทรสาร : 0 2300 4563 เว็บไซต : www.au.edu วิทยาเขตบางนา ที่ตั้ง

: 88 หมู 8 ถ.บางนา-ตราด กม.26 ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 10540 หมายเลขโทรศัพท : 0 2723 2222 หมายเลขโทรสาร : 0 2707 0395

มหาวิทยาลัยอีสเทิร นเอเชีย (มวอ.) อธิการบดี : นายโชติรัส ชวนิชย ที่ตั้ง : 200 ถ.รังสิต-นครนายก (คลอง5) ต.รังสิต อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 หมายเลขโทรศัพท : 0 2577 1028-31 หมายเลขโทรสาร : 0 2577 1022-3 เว็บไซต : www.eau.ac.th มหาวิทยาลัยเอเชียน (ม.เอเชียน) อธิการบดี : ศ.วิลาศ วูวงศ ที่ตั้ง : 89 ทางหลวง หมายเลข 331 ต.หวยใหญ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20260 หมายเลขโทรศัพท : 0 3825 3700 หมายเลขโทรสาร : 0 3825 3749 เว็บไซต : www.asianust.ac.th ศูนย ประสานงาน ที่ตั้ง

: อาคารเคียนหงวน 2 เลขที่ 140/1 ชั้น 18 ถ.วิทยุ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 หมายเลขโทรศัพท : 0 2253 4771-2 หมายเลขโทรสาร : 0 2651 4105-6 มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย (ม.อ.อ.) อธิการบดี : นายฉัททวุฒิ พีชผล ที่ตั้ง : 19/1 หมู 7 ถ.เพชรเกษม เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 10160 หมายเลขโทรศัพท : 0 2807 4500-27 หมายเลขโทรสาร : 0 2807 4528-30 เว็บไซต : www.sau.ac.th สถาบันกันตนา (สกน.) อธิการบดี : ผศ.ปนัดดา ธนสถิตย ที่ตั้ง : 999 หมู 2 ต.คลองโยง อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 หมายเลขโทรศัพท : 0 3424 0361-4, 0 2275 0046 # 8 หมายเลขโทรสาร : 0 3424 0365 เว็บไซต : www.kantanainstitute.ac.th สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

181


List of Universities สถาบันการจัดการป ญญาภิวัฒน (สจป.) อธิการบดี : รศ.สมภพ มานะรังสรรค ที่ตั้ง : 85/1 ถ.แจงวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 หมายเลขโทรศัพท : 0 2832 0200-12 หมายเลขโทรสาร : 0 2832 0391 เว็บไซต : www.pim.ac.th สถาบันการเรียนรู เพื่อปวงชน (สรพ.) อธิการบดี : รศ.เสรี พงษพิศ ที่ตั้ง : 13/2 หมู 1 ต.บางคนที อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม 75120 หมายเลขโทรศัพท : 0 3475 7452-9 หมายเลขโทรสาร : 03475 7460 เว็บไซต : www.life.ac.th สถาบันเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ น (สทญ.) อธิการบดี : รศ.บัณฑิต โรจนอารยานนท ที่ตั้ง : 1771/1 ซ.พัฒนาการ 37 ถ.พัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 หมายเลขโทรศัพท : 0 2763 2600-4 หมายเลขโทรสาร : 0 2763 2700 เว็บไซต : www.tni.ac.th สถาบันเทคโนโลยียานยนต มหาชัย (สทม.) อธิการบดี : นายภักดี ฐานปญญา ที่ตั้ง : 61/1 หมู 4 ถ.พระราม 2 ต.บางนํ้าจืด อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3487 4223, 0 2450 3695 หมายเลขโทรสาร : 0 2450 3694 เว็บไซต : www.miat.ac.th

182

รายงานประจําป 2558

สถาบันเทคโนโลยีแห งสุวรรณภูมิ (สทส.) อธิการบดี : รศ.ชูเวช ชาญสงาเวช ที่ตั้ง : 55/56 หมู 7 ซ.สามมิตร ถ.หนามแดง-บางพลี ต.บางพลีใหม อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 หมายเลขโทรศัพท : 0 2337 3341-3 หมายเลขโทรสาร : 0 2337 4103 เว็บไซต : www.svit.ac.th สถาบันเทคโนโลยีแห งอโยธยา (สทอ.) อธิการบดี : นายรวี งามโชคชัยเจริญ ที่ตั้ง : 109 หมู 5 (สี่แยกทุงมะขามหยอง) ต.วัดตูม อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 หมายเลขโทรศัพท : 0 3571 3556-9 หมายเลขโทรสาร : 0 3571 3560 เว็บไซต : www.ayothaya.ac.th สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ (สบจ.) อธิการบดี : ศ.สมศักดิ์ รุจิรวัฒน ที่ตั้ง : 54 หมู 4 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 หมายเลขโทรศัพท : 0 2554 1900 หมายเลขโทรสาร : 0 2554 1990-1 เว็บไซต : www.cgi.ac.th สถาบันรัชต ภาคย (ส.รภ.) อธิการบดี : นายราชวิกรม อาทิตย เจริญรัชตภาคย ที่ตั้ง : 68 ซ.นวศรี ถ.รามคําแหง 21 เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร 10310 หมายเลขโทรศัพท : 0 2319 8201-3 หมายเลขโทรสาร : 0 2319 6710 เว็บไซต : www.rajapark.ac.th


List of Universities สถาบันวิทยสิริเมธี (สวสธ.) อธิการบดี : ศ.จํารัส ลิ้มตระกูล ที่ตั้ง : 555 หมู 1 ต.ปายุบใน อ.วังจันทร จ.ระยอง 21210 หมายเลขโทรศัพท : 0 2537 3373 เว็บไซต : www.vistec.ac.th สถาบันวิทยาการจัดการแห งแปซิฟิค (ส.ว.ป.) อธิการบดี : นายสุรเจต ไชยพันธพงษ ที่ตั้ง : 222/2 หมู 1 ต.บานตํ๊า อ.เมือง จ.พะเยา 56000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5441 0987-9 หมายเลขโทรสาร : 0 5488 7095 เว็บไซต : www.ipacific.ac.th สถาบันอาศรมศิลป (อ.ศ.) อธิการบดี : รศ.ประภาภัทร นิยม ที่ตั้ง : 399 ซ.อนามัยเจริญ 25 ถ.พระราม 2 แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร 10150 หมายเลขโทรศัพท : 0 2490 4748-54 หมายเลขโทรสาร : 0 2870 7514 เว็บไซต : www.arsomsilp.ac.th วิทยาลัยเฉลิมกาญจนาระยอง (วฉกร.) อธิการบดี : นายพอพันธุ สนเจริญ ที่ตั้ง : 333/3 หมู 3 ถ.สุขุมวิท ต.วังหวา อ.แกลง จ.ระยอง 21110 หมายเลขโทรศัพท : 0 3867 2898 หมายเลขโทรสาร : 0 3867 2898 เว็บไซต : www.ckc.ac.th/rayong วิทยาลัยเชียงราย (วชร.) อธิการบดี ที่ตั้ง หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร เว็บไซต

: นายอินทร จันทรเจริญ : 199 หมู 6 ต.ปาออดอนชัย อ.เมือง จ.เชียงราย 57000 : 0 5317 0331 : 0 5317 0335 : www.crc.ac.th

วิทยาลัยเซนต หลุยส (ว.ซล.) อธิการบดี : ศ.นพ.จิตร สิทธีอมร ที่ตั้ง : 19 ถ.สาทรใต เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 หมายเลขโทรศัพท : 0 2675 5304-12 หมายเลขโทรสาร : 0 2675 5313 เว็บไซต : www.slc.ac.th วิทยาลัยเซาธ อีสท บางกอก (ซ.อ.บ.) อธิการบดี : นายสมศักดิ์ รุงเรือง ที่ตั้ง : 298 ถ.สรรพาวุธ แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260 หมายเลขโทรศัพท : 0 2744 7356-65 หมายเลขโทรสาร : 0 2398 1356 เว็บไซต : www.southeast.ac.th วิทยาลัยดุสิตธานี (วดธ.) อธิการบดี : นางวีรา พาสพัฒนพาณิชย ที่ตั้ง : 1 ซ.แกนทอง แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 หมายเลขโทรศัพท : 0 2361 7805, 0 2361 7811-3 หมายเลขโทรสาร : 0 2361 7806 เว็บไซต : www.dtc.ac.th วิทยาลัยทองสุข (ว.ท.) อธิการบดี ที่ตั้ง หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร เว็บไซต

: นางสาวพรจิต อรัญยกานนท : ถ.บรมราชชนนี แขวงศาลา ธรรมสพม เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10170 : 0 2885 1421-4 : 0 2885 1428 : www.thongsook.ac.th

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

183


List of Universities วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา (วจด.) อธิการบดี : ทานผูหญิงอังกาบ บุณยัษฐิติ ที่ตั้ง : อาคาร 604 สํานักพระราชวัง สนามเสือปา แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 หมายเลขโทรศัพท : 0 2282 6808, 0 2282 6782 หมายเลขโทรสาร : 0 2282 1396 เว็บไซต : www.cdtc.ac.th วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท (วทพ.) อธิการบดี : นายพิสิษฐ ศิริรักษ ที่ตั้ง : 198 ถ.มิตรภาพ ต.บานโพธิ์ อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30310 หมายเลขโทรศัพท : 0 4495 5121-2 หมายเลขโทรสาร : 0 4495 5120 เว็บไซต : www.phanomwan.ac.th วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต (วทต.) อธิการบดี : ศ.นิตยศรี แสงเดือน ที่ตั้ง : 124/1 ถ.เพชรเกษม (ทุง สง-หวยยอด) ต.ทีว่ งั อ.ทุง สง จ.นครศรีธรรมราช 80110 หมายเลขโทรศัพท : 0 7577 0136-7 หมายเลขโทรสาร : 0 7553 8031, 0 2878 5012 เว็บไซต : www.sct.ac.th วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (วทส.) อธิการบดี : นายพรพิสุทธิ์ มงคลวนิช ที่ตั้ง : 46 ถ.จรัญสนิทวงศ แขวงทาพระ เขตบางกอกใหญ กรุงเทพมหานคร 16000 หมายเลขโทรศัพท : 0 2878 5000 หมายเลขโทรสาร : 0 2878 5007, 0 2878 5012 เว็บไซต : www.siamtechu.net

184

รายงานประจําป 2558

วิทยาลัยนครราชสีมา (วนม.) อธิการบดี : รศ.รัฐบุรุษ คุมทรัพย ที่ตั้ง : 290 หมู 2 ถ.มิตรภาพ ต.บานใหม อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4446 6111 หมายเลขโทรสาร : 0 4446 5668 เว็บไซต : www.nmc.ac.th วิทยาลัยนานาชาติเซนต เทเรซา (วนท.) อธิการบดี : นางปยะดา วรรธนะสาร ที่ตั้ง : 1 หมู 6 ถ.รังสิต-นครนายก ต.บึงศาล อ.องครักษ จ.นครนายก 26120 หมายเลขโทรศัพท : 0 3739 5311-5, 0 2234 5599 หมายเลขโทรสาร : 0 3733 3235 เว็บไซต : www.stic.ac.th วิทยาเขตสุรวงศ ที่ตั้ง หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร

: ชั้น 34 อาคารสกุลไทย-สุรวงศ ถ.สุรวงศ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 : 0 2233 1506 : 0 2233 1752

วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย (ว.บ.อ.) อธิการบดี : นายกษม ชนะวงศ ที่ตั้ง : 179/137 ซ.ประชาราษฎร ถ.ประชาสโมสร อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4324 6536-8 หมายเลขโทรสาร : 0 4324 6539 เว็บไซต : www.cas.ac.th


List of Universities วิทยาลัยพิชญบัณฑิต (พญบ.) อธิการบดี : นายศึกษา อุนเจริญ ที่ตั้ง : 171/2 หมู 2 ถ.วิจารณรังสรรค ต.หนองบัว อ.เมือง จ.หนองบัวลําภู 39000 หมายเลขโทรศัพท : 0 4236 0994 หมายเลขโทรสาร : 0 4236 0995 เว็บไซต : www.pcbc.ac.th วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ (ว.พ.น.) : Prof.Charles Willemen อธิการบดี ที่ตั้ง : 88 หมู 2 ถ.คลองแงะ-ควนสะตอ ต.ทุงหมอ อ.สะเดา จ.สงขลา 90240 หมายเลขโทรศัพท : 0 7453 6202-3 หมายเลขโทรสาร : 0 7453 6201 เว็บไซต : www.ibc.ac.th วิทยาลัยนอร ทเทิร น (วนท.) อธิการบดี : นายโตรรัตน ยืนยง ที่ตั้ง : 888 หมู 2 ถ.พหลโยธิน ต.หนองบัวใต อ.เมือง จ.ตาก 63000 หมายเลขโทรศัพท : 0 5551 7486-8 หมายเลขโทรสาร : 0 5551 7487 เว็บไซต : www.northern.ac.th

วิทยาลัยสันตพล (วสพ.) อธิการบดี ที่ตั้ง หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร เว็บไซต วิทยาลัยแสงธรรม (วส.) อธิการบดี ที่ตั้ง หมายเลขโทรศัพท หมายเลขโทรสาร เว็บไซต

: นางกรรณิการ นันทโพธิเดช : 299/1 ถ.อุดร-สกล ต.หนองบัว อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 : 0 4232 3464 : 0 4220 4263 : www.stu.ac.th : บาทหลวงชาติชาย พงษศิริ : 20 หมู 6 ถ.เพชรเกษม ต.ทาขาม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 : 0 2429 0100-3 : 0 2429 0819 : www.saengtham.ac.th

วิทยาลัยอินเตอร เทคลําปาง (ว.อ.ท.) อธิการบดี : นายจักรพันธ พรนิมิตร ที่ตั้ง : 173 ถ.พหลโยธิน ต.ชมพู อ.เมือง จ.ลําปาง 52100 หมายเลขโทรศัพท : 0 5423 1068-9 หมายเลขโทรสาร : 0 5423 1066 เว็บไซต : www.lit.ac.th

วิทยาลัยศรีโสภณ (ว.ศส.) อธิการบดี : นางสาวนนทพร โสภณ ที่ตั้ง : 3/3 หมู 5 ต.มะมวงสองตน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 หมายเลขโทรศัพท : 0 7535 7617-20 หมายเลขโทรสาร : 0 7535 7621 เว็บไซต : www.ssc.ac.th

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

185


Foundation Day

วันสถาปนาสถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรัฐ สถาบันอุดมศึกษา

วันสถาปนาสถาบัน

มีฐานะเปนสถาบันอุดมศึกษา ในกํากับของรัฐ

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

26 มีนาคม 2459

6 กุมภาพันธ 2551

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

2 กุมภาพันธ 2486

18 กรกฎาคม 2558

มหาวิทยาลัยขอนแกน

25 มกราคม 2509

18 กรกฎาคม 2558

มหาวิทยาลัยเชียงใหม

24 มกราคม 2508

6 มีนาคม 2551

มหาวิทยาลัยทักษิณ

1 ตุลาคม 2511

5 กุมภาพันธ 2551

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

4 กุมภาพันธ 2503

7 มีนาคม 2541

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

19 กุมภาพันธ 2502

26 ธันวาคม 2550

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

27 มิถุนายน 2477

18 กรกฎาคม 2558

มหาวิทยาลัยบูรพา

8 กรกฎาคม 2498

9 มกราคม 2551

มหาวิทยาลัยมหิดล

2 มีนาคม 2512

16 ตุลาคม 2550

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

13 กันยายน 2439

1 ตุลาคม 2540

มหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย

16 กันยายน 2436

1 ตุลาคม 2540

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

17 พฤษภาคม 2477

18 กรกฎาคม 2558

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

24 สิงหาคม 2503

7 มีนาคม 2551

วันที่จัดตั้งเป นสถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรัฐ

186

สถาบันอุดมศึกษา

วันที่จัดตั้ง

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

27 กรกฎาคม 2533

มหาวิทยาลัยพะเยา

17 กรกฎาคม 2553

มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

25 กันยายน 2541

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

29 มีนาคม 2535

สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา

25 พฤษภาคม 2555

รายงานประจําป 2558


Foundation Day

วันสถาปนาสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของรัฐ สถาบันอุดมศึกษา

วันสถาปนา

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ

9 กันยายน 2558 (มีผลตาม พ.ร.บ.)

มหาวิทยาลัยนครพนม

2 กันยายน 2548 (มีผลตาม พ.ร.บ.)

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร

9 กุมภาพันธ 2548 (มีผลตาม พ.ร.บ.)

มหาวิทยาลัยนเรศวร

29 กรกฎาคม 2533

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

9 ธันวาคม 2537

มหาวิทยาลัยแมโจ

7 มิถุนายน 2475

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

26 พฤศจิกายน 2518

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

28 เมษายน 2492

มหาวิทยาลัยศิลปากร

12 ตุลาคม 2486

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

13 มีนาคม 2511

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

5 กันยายน 2521

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

30 กรกฎาคม 2533

สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน

1 สิงหาคม 2475

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

1 เมษายน 2509

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

19 มกราคม 2548 *

มหาวิทยาลัยราชภัฏ

15 มิถุนายน 2547 **

สถาบันวิทยาลัยชุมชน

11 เมษายน 2558

* สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 39 แหง ทั่วประเทศ หลอมรวมเปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 แหง และมีสถานภาพเปนนิติบุคคล ในวันที่ 19 มกราคม 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.2548 **สถาบันราชภัฏ ทั้ง 40 แหงทั่วประเทศ เปลี่ยนสถานภาพเปนนิติบุคคล ในวันที่ 15 มิถุนายน 2547 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

187


Foundation Day

วันที่ ได รับจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สถาบันอุดมศึกษา

วันจัดตั้ง

วันเปลี่ยนประเภท

วันที่เปลี่ยนชื่อ

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

28 พฤษภาคม 2513

24 ตุลาคม 2527

-

มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

28 มกราคม 2545

11 มิถุนายน 2552

-

มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ

22 กุมภาพันธ 2549

31 ตุลาคม 2557

-

มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิรน

26 กุมภาพันธ 2542

21 กรกฎาคม 2552 21 กรกฎาคม 2552

มหาวิทยาลัยเกริก

28 พฤษภาคม 2513

7 กุมภาพันธ 2538

-

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

24 กุมภาพันธ 2530

29 มกราคม 2536

-

มหาวิทยาลัยคริสเตียน

7 กันยายน 2526

15 สิงหาคม 2544

-

มหาวิทยาลัยเจาพระยา

31 มีนาคม 2541

-

-

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา

1 มิถุนายน 2547

14 มกราคม 2557

-

มหาวิทยาลัยชินวัตร

27 ธันวาคม 2542

-

-

มหาวิทยาลัยเซนตจอหน

5 มกราคม 2532

19 มีนาคม 2539

-

มหาวิทยาลัยตาป

26 กุมภาพันธ 2542

31 กรกฎาคม 2555

-

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

27 กุมภาพันธ 2533

30 มีนาคม 2537

-

มหาวิทยาลัยธนบุรี

27 มีนาคม 2541

16 มกราคม 2550

-

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย

28 พฤษภาคม 2513

24 ตุลาคม 2527

-

มหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ

31 ตุลาคม 2543

22 มิถุนายน 2553

-

มหาวิทยาลัยนอรท – เชียงใหม

13 กันยายน 2542

26 พฤษภาคม 2547

-

มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด

29 พฤศจิกายน 2538 14 กุมภาพันธ 2546 26 พฤษภาคม 2547

(วิทยาลัยโปลีเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เดิม)

(มหาวิทยาลัยนานาชาติชิลเลอร-แสตมฟอรด เดิม) มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟก (วิทยาลัยมิชชัน เดิม)

188

รายงานประจําป 2558

25 มีนาคม 2529

30 มิถุนายน 2552

30 มิถุนายน 2552


Foundation Day

สถาบันอุดมศึกษา

วันจัดตั้ง

วันเปลี่ยนประเภท

วันที่เปลี่ยนชื่อ

มหาวิทยาลัยเนชั่น

12 มกราคม 2531

23 สิงหาคม 2549

15 ธันวาคม 2554

มหาวิทยาลัยปทุมธานี

27 ธันวาคม 2542

13 พฤษภาคม 2548

-

มหาวิทยาลัยพายัพ

21 มีนาคม 2517

25 กรกฎาคม 2527

-

มหาวิทยาลัยพิษณุโลก

19 เมษายน 2544

6 พฤษภาคม 2554

-

มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

3 เมษายน 2541

14 มิถุนายน 2550

มหาวิทยาลัยฟารอีสเทอรน

27 ธันวาคม 2542

20 เมษายน 2549

-

มหาวิทยาลัยภาคกลาง

13 กุมภาพันธ 2529

31 ตุลาคม 2545

-

มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

8 มีนาคม 2531

27 ธันวาคม 2542

-

มหาวิทยาลัยรังสิต

25 มกราคม 2528

31 กรกฎาคม 2533

-

มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต

18 ธันวาคม 2540

24 มิถุนายน 2546

-

มหาวิทยาลัยราชธานี

29 เมษายน 2536

25 กันยายน 2546

25 กันยายน 2546

มหาวิทยาลัยราชพฤกษ

20 เมษายน 2549

19 มิถุนายน 2557

-

มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล

2 มีนาคม 2527

10 ตุลาคม 2537

-

มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร(ประเทศไทย)

18 ธันวาคม 2540

-

-

มหาวิทยาลัยเวสเทิรน

18 มิถุนายน 2540

-

16 สิงหาคม 2547

(มหาวิทยาลัยโยนก เดิม)

31 ตุลาคม 2556

(มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา เดิม)

(วิทยาลัยเทคโนโลยีราชธานี เดิม)

(มหาวิทยาลัยณิวัฒนา เดิม) มหาวิทยาลัยศรีปทุม

28 พฤษภาคม 2513

6 พฤศจิกายน 2530

มหาวิทยาลัยสยาม

28 กันยายน 2516

5 กันยายน 2529

5 กันยายน 2529

17 มิถุนายน 2513

24 ตุลาคม 2527

24 ตุลาคม 2527

-

(มหาวิทยาลัยเทคนิคสยาม เดิม) มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (วิทยาลัยการคา เดิม)

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

189


Foundation Day

สถาบันอุดมศึกษา

วันจัดตั้ง

วันเปลี่ยนประเภท

วันที่เปลี่ยนชื่อ

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

17 ธันวาคม 2524

11 มีนาคม 2535

มหาวิทยาลัยหาดใหญ

9 เมษายน 2540

30 พฤษภาคม 2546 30 พฤษภาคม 2546

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

16 มิถุนายน 2515

22 พฤษภาคม 2533

มหาวิทยาลัยอีสเทิรนเอเชีย

16 เมษายน 2539

มหาวิทยาลัยอีสาน

28 มกราคม 2545

(วิทยาลัยบัณฑิตบริหารธุรกิจ เดิม)

(เพิกถอนใบอนุญาต ตั้งแตวันที่ 31 ตุลาคม 2555 เปนตนไป)

มหาวิทยาลัยเอเชียน

18 มิถุนายน 2540

-

มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย

6 สิงหาคม 2516

5 มีนาคม 2535

-

วิทยาลัยเฉลิมกาญจนาระยอง

16 มกราคม 2550

-

-

วิทยาลัยเชียงราย

18 กรกฎาคม 2546

-

30 ธันวาคม 2547

-

(วิทยาลัยเมืองหาดใหญ เดิม) -

-

6 พฤศจิกายน 2549

(มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงเอเชีย เดิม)

(วิทยาลัยกรุงธนเชียงราย เดิม) วิทยาลัยเซนตหลุยส

1 มิถุนายน 2528

26 พฤศจิกายน 2542 26 พฤศจิกายน 2542

(วิทยาลัยพยาบาลเซนตหลุยส เดิม) วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

29 มีนาคม 2542

-

-

วิทยาลัยดุสิตธานี

30 พฤษภาคม 2539

-

-

วิทยาลัยทองสุข

10 ตุลาคม 2537

-

-

วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา

24 กุมภาพันธ 2557

-

-

วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท

21 พฤศจิกายน 2550

-

-

วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต

27 ธันวาคม 2542

-

-

วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

28 ธันวาคม 2548

-

-

วิทยาลัยเทคโนโลยีราชธานีอุดร

3 กันยายน 2541 (รวมกิจการกับมหาวิทยาลัยราชธานี เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2549)

190

รายงานประจําป 2558


Foundation Day

สถาบันอุดมศึกษา

วันจัดตั้ง

วันเปลี่ยนประเภท

วันที่เปลี่ยนชื่อ

วิทยาลัยนครราชสีมา

4 พฤษภาคม 2547

-

-

วิทยาลัยนอรทเทิรน (วิทยาลัยลุมนํ้าปง เดิม)

3 ธันวาคม 2540

-

12 มีนาคม 2558

วิทยาลัยนานาชาติเซนตเทเรซา

3 เมษายน 2544

-

11 มิถุนายน 2553

วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย

26 กุมภาพันธ 2542

-

-

วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

17 พฤศจิกายน 2551

-

-

วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ

25 กันยายน 2546

-

-

วิทยาลัยศรีโสภณ

25 กรกฎาคม 2527

-

-

วิทยาลัยสันตพล

1 กรกฎาคม 2541

-

-

วิทยาลัยแสงธรรม

19 เมษายน 2519

-

-

วิทยาลัยอินเตอรเทคลําปาง

6 พฤษภาคม 2547

-

-

สถาบันกันตนา

21 กรกฎาคม 2553

-

-

สถาบันการเรียนรูเพื่อปวงชน

31 สิงหาคม 2553

-

-

สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน

29 กันยายน 2549

-

-

สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน

9 มีนาคม 2550

-

สถาบันเทคโนโลยียานยนตมหาชัย

31 กรกฎาคม 2555

-

-

สถาบันเทคโนโลยีแหงสุวรรณภูมิ

30 มกราคม 2558

-

-

สถาบันเทคโนโลยีแหงอโยธยา

16 มกราคม 2550

-

-

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ

28 ธันวาคม 2548

-

-

สถาบันรัชตภาคย (วิทยาลัยรัชตภาคย เดิม)

29 เมษายน 2536

สถาบันวิทยสิริเมธี

2 เมษายน 2558

-

-

สถาบันวิทยาการจัดการแหงแปซิฟค

19 มิถุนายน 2557

-

-

สถาบันอาศรมศิลป

17 ตุลาคม 2549

-

-

(วิทยาลัยเซนตเทเรซา-อินติ เดิม)

23 พฤศจิกายน 2553

(สถาบันเทคโนโลยีปญญาภิวัฒน เดิม)

12 พฤษภาคม 2553

12 พฤษภาคม 2553

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

191


FFoundation oundation DDay ay

รายงานประจําป 2558 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ขอบคุณทุกภาคส วน ที่ร วมสร างอุดมศึกษาไทยให ยั่งยืน

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดพิมพ เผยแพร พุทธศักราช 2558 จํานวน 1,200 เล ม ISBN 978-616-395-593-7

192

รายงานประจําป ออกแบบ 2558 / พิมพ ที่ : บริษัท ยงสวัสดิ์อินเตอร กรุ ป จํากัด เลขที่ 56 ถ.แก วเสนา อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190 โทรศัพท 045-324777-9 โทรสาร 045-324788 อีเมล : ysi_design@hotmail.com


เลือกเรียนอะไร... มหาวิทยาลัยไหน...

ไร้ซึ่งปัญหา

หลักสูตรทุกส�ข�วิช�

ต้องเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และผ่านการรับทราบจาก สกอ. ต้องผ่านการรับรองจากองค์กรวิชาชีพ (กรณีสาขาวิชาที่ต้องสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ) ต้องผ่านการรับทราบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กรณีหลักสูตรที่จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง)

สถ�บันอุดมศึกษ�

ควรผ่านมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ควรผ่านมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกจาก สมศ. ควรมีข้อมูลระบบการลงทะเบียนที่ถูกต้อง ควรมีรายชื่อและคุณวุฒิของอาจารย์ประจำาหลักสูตรจากเอกสารหลักสูตรที่ผ่านการรับทราบจาก สกอ. ควรให้บริการต่าง ๆ ตามสิทธิที่นิสิตนักศึกษาพึงจะได้รับ

ตรวจสอบก่อนตัดสินใจ ตรวจสอบข้อมูลได้ที่...

http://www.mua.go.th/users/bhes/index.htm หรือสอบถามข้อมูลได้ที่หมายเลข 0 2610 5378 - 80

สำ�นักง�นคณะกรรมก�รก�รอุดมศึกษ� (สกอ.)

328 ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0 2610 5200 โทรสาร 0 2354 5524 - 6 http://www.mua.go.th pr_mua@mua.go.th www.facebook.com/ohecthailand www.twitter.com/ohec_th


อุดมศึกษา ปรับวิธีคิด เปลี่ยนมุมมอง เชื่อมโยงเครือข่าย นำามหาวิทยาลัยไทย สู่มหาวิทยาลัยโลก

สำานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

328 ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0 2610 5200 โทรสาร 0 2354 5524 - 6 เว็บไซต์ : http://www.mua.go.th อีเมล : pr_mua@mua.go.th เฟสบุ๊ค : www.facebook.com/ohecthailand ทวิตเตอร์ : www.twitter.com/ohec_th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.