อนุสารอุดมศึกษา issue 453

Page 1


สารบัญ

CONTENT ๓ เรื่องเล่าอุดมศึกษา

- การประชุมเครือข่ายคลังสมองเอเชียตะวันออก (Network of East Asian Think-Tanks (NEAT) - สกอ. สร้างความรู้ ประเมินคุณธรรม - ศธ. ร่วมแก้ปัญหาภัยแล้ง ภาคอุดมศึกษาเน้นสร้างจิตส�ำนึก แก้ปัญหาแบบยั่งยืน

๗ เรื่องพิเศษ ๑๒ พูดคุยเรื่องมาตรฐาน ๑๔ เรื่องแนะน�ำ ๑๘ เหตุการณ์เล่าเรื่อง ๒๒ เล่าเรื่องด้วยภาพ

- มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง : การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการพัฒนาท้องถิ่น

- เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๕๘

- ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยพลังนิสิตนักศึกษา

- กกอ. สัญจร ครั้งที่ ๘

๒๐

คณะผู้จัดท�ำ

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ http://www.mua.go.th pr_mua@mua.go.th www.facebook.com/ohecthailand www.twitter.com/ohec_th ที่ปรึกษา นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม นายขจร จิตสุขุมมงคล นางอรสา ภาววิมล นายวันนี นนท์ศิริ บรรณาธิการ นางสาวปิยาณี วิริยานนท์ กองบรรณาธิการ นายกฤษณ์กร วงศ์ไทย นางชุลีกร กิตติก้อง นายเจษฎา วณิชชากร นางปราณี ชื่นอารมณ์ นายจรัส เล็กเกาะทวด พิมพ์ท ี่ บริษัท เอกพิมพ์ไท จ�ำกัด โทรศัพท์ : ๐ ๒๘๘๘ ๘๑๕๒ , ๐ ๒๘๘๘ ๘๑๒๑ , ๐ ๒๘๘๘ ๘๔๘๖ โทรสาร : ๐ ๒๘๘๘ ๘๑๒๐


เรื่องเล่า

อุดมศึกษา

การประชุมเครือข่ายคลังสมองเอเชียตะวันออก (Network of East Asian Think-Tanks (NEAT)

๓ - ๕ มีนาคม ๒๕๕๙ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษา เป็ น เจ้ า ภาพหลั ก ร่ ว มกั บ กระทรวงการต่ า งประเทศ ส�ำนักงานเลขานุการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน และสถาบัน ทางวิชาการต่าง ๆ จัดการประชุม NEAT Country Coordinators Meeting (NEAT CCM) ครั้งที่ ๒๔ ณ โรงแรมโนโวเทล ภูเก็ต วินเทจ ปาร์ค จังหวัดภูเก็ต โดยได้รับเกียรติจากนางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานในการประชุม การประชุมครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อก�ำหนดหัวข้อหลัก ในการหารือระดมสมองของคณะท�ำงานในการประชุม NEAT CCM ครั้งที่ ๒๕ ต่อเนื่องกับ NEAT Annual Conference ครั้งที่ ๑๔ ในวันที่ ๗ - ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ณ กรุงเทพฯ เพื่อรับฟังผลการ วิ จั ย ของคณะท� ำ งานและจั ด ท� ำ NEAT Memorandum ฉบั บ ที่ ๑๓ เพื่ อ เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม สุ ด ยอดอาเซี ย นบวกสาม ครั้ ง ที่ ๑๙ ณ เมืองเวียงจันทน์ ในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙ ซึ่งหัวข้อหลักที่เสนอ โดยฝ่ายไทย คือ การบริหารจัดการวิกฤตการณ์ “Crisis Management” NEAT เป็นกลไกในกรอบความร่วมมืออาเซียนบวกสาม ซึง่ ประกอบด้วย ประเทศอาเซียน ๑๐ ประเทศ และจีน ญีป่ นุ่ เกาหลีใต้ โดยได้ จัด ตั้ ง ขึ้ น ตามข้อเสนอแนะของกลุ่ม เอเชียตะวัน ออกศึ ก ษา

(East Asia Study Group-EASG) เพื่อเป็นสะพานเชื่อมโยงระหว่าง ภาครั ฐ และภาควิ ช าการ โดยมี ห น้ า ที่ ใ ห้ ข ้ อ เสนอแนะกั บ ภาครั ฐ เกีย่ วกับการส่งเสริมความร่วมมือในกรอบอาเซียนบวกสาม เพือ่ ก้าวไปสู่ การจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก (East Asia community: (EAc) NEAT มี ก ารประชุ ม เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี เพื่ อ จั ด ท� ำ NEAT Memorandum ซึ่งรวบรวมข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ในหัวข้อต่างๆ เพื่อเสนอต่อที่ประชุมสุดยอดอาเซียนบวกสาม

3


สกอ. สร้างความรู้ ประเมินคุณธรรม ๗ มี น าคม ๒๕๕๙ - ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษา จั ด โครงการเสริ ม สร้ า งความรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การประเมิ น คุ ณ ธรรมและความโปร่ ง ใสในการด� ำ เนิ น งานของ หน่วยงานภาครัฐ ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ประเสริฐ ณ นคร เพื่อให้บุคลากรของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีความรู้ ความเข้ า ใจในแนวทางการประเมิ น คุ ณ ธรรมและความโปร่ ง ใส ในการด�ำเนินงานหน่วยงานภาครัฐ และเพื่อปลูกและปลุกจิตส�ำนึก สร้างความตระหนักรู้ ด้านการต่อต้านการทุจริต และน�ำไปสู่การ ด�ำเนินงานทีม่ คี วามโปร่งใส ยึดหลักคุณธรรม ธรรมาภิบาล และมีความ ซือ่ สัตย์สจุ ริตของบุคลากรของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยได้รบั เกียรติจากนางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุม และนายอุทิศ บัวศรี ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ เป็นวิทยากรชีแ้ จง ความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานหน่วยงานภาครัฐ

4

นางสาวอาภรณ์ แก่ น วงศ์ เลขาธิ ก ารคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กล่าวว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้ ต ระหนั ก และให้ ค วามส� ำ คั ญ ในปั ญ หาารคอร์ รั ป ชั น อย่ า งมาก เพราะเป็นอุปสรรคที่ขัดขวางการพัฒนาอย่างแท้จริง จนน�ำไปสู่ ความยากจน สกอ. จึงมีนโยบายในการขับเคลื่อนงานด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต เพื่อให้การพัฒนาระบบราชการเกิดความ โปร่งใส สร้างภาพลักษณ์ให้ดีขึ้น เพื่อเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศ ซึ่งจะส่งผลให้บุคลากรของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มี ก ารปฏิ บั ติ ง านที่ โ ปร่ ง ใส ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต นอกจากนี้ สกอ. ยังมีกิจกรรมในการเสริมสร้างองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการ ต่อต้านการทุจริตอย่างต่อเนื่อง และเป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ของส�ำนักงาน ป.ป.ช. “ทัง้ นี้ ขอให้บคุ ลากร สกอ. ตัง้ ใจรับฟัง เพือ่ ทีจ่ ะได้นำ� ความรู้ และผลการประชุมฯ ไปปรับใช้ในการส่งเสริมการปฏิบัติราชการที่มี คุณธรรมและความโปร่งใส และเพือ่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั ริ าชการ ให้มีประสิทธิภาพต่อไป” เลขาธิการ กกอ. กล่าว อนุสาร


เรื่องเล่า

อุดมศึกษา

ศธ. ร่วมแก้ปัญหาภัยแล้ง

ภาคอุดมศึกษาเน้นสร้างจิตส�ำนึกแก้ปัญหาแบบยั่งยืน รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี ปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ เปิดเผยในการแถลงข่าวการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ว่า กระทรวงศึกษาธิการ ได้ด�ำเนินการสานมาตรการของรัฐบาลในการ ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและประชาชนที่ได้รับผลกระทบจาก ปัญหาวิกฤตภัยแล้ง ในภารกิจที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงศึกษาธิการ ซึง่ ได้กำ� หนดให้องค์กรหลัก หน่วยงาน และสถานศึกษา ด�ำเนินการ ดังนี้ (๑) การให้ความรูเ้ กีย่ วกับการรับมือกับภัยแล้ง และการประหยัดน�ำ้ ใน ชีวิตประจ�ำวัน ซึ่ง กศน. สพฐ. และ สช. จะจัดพิมพ์ “คู่มือรับภัยแล้ง” และแผ่นพับ รวมทั้งสิ้น ๓๐๐,๐๐๐ เล่ม มอบให้โรงเรียนน�ำไป เผยแพร่ แ ก่ นั ก เรี ย น ผู ้ ป กครอง และประชาชน นอกจากนี้ สอศ. จะน�ำไปเผยแพร่ในการให้บริการของศูนย์ Fix It Center (๒) ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่เกษตรกร โดยจัดการฝึกอบรมให้แก่

เกษตรกรเกี่ยวกับการเกษตรที่ใช้น�้ำน้อย เช่น การปลูกพืชด้วยระบบ น�้ำหยด การฝึกอาชีพเสริมในช่วงฤดูแล้ง รวมทั้งการให้บริการซ่อม อุปกรณ์ในครัวเรือนของเกษตรกร นอกจากนี้ สกอ. จะประสาน ขอความร่ ว มมื อ จากสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาให้ ศึ ก ษาวิ จั ย วิ ธี ก ารใน การเก็ บ กั ก น�้ ำ ในฤดู แ ล้ ง เพื่ อ แก้ ป ั ญ หาระยะกลางและระยะยาว (๓) การพัฒนาแหล่งน�้ำส�ำรองของชุมชน โดยจะลงพื้นที่ช่วยดูแล แหล่งน�้ำธรรมชาติ รวมทั้งการท�ำฝายกั้นน�้ำชะลอการไหลของน�้ำ (๔) พัฒนาอุปกรณ์และประยุกต์ภาชนะในชุมชนให้สามารถกักเก็บ น�้ำฝน น�้ำสะอาด เพื่อรองรับภัยแล้ง และ (๕) รณรงค์ให้หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นตัวอย่างในการใช้นำ�้ อย่างประหยัด ด้วยมาตรการต่างๆ ตามที่รัฐบาลแนะน�ำเพื่อเป็น ตัวอย่างให้แก่ประชาชน

5


ด้ า นรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ส รนิ ต ศิ ล ธรรม รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า ในเรื่องการ ให้ความรู้ในปัจจุบันสามารถใช้อินโฟกราฟฟิค เพื่ออธิบายให้เกิด ความเข้าใจที่ง่ายขึ้น และสามารถเผยแพร่เข้าถึงประชาชนได้รวดเร็ว ผ่านโซเชี่ยลมีเดียต่างๆ ส�ำหรับการด�ำเนินการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ของอุดมศึกษานั้น จะมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาระยะยาว ในการสร้าง จิตส�ำนึกรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน ซึ่งขณะนี้มีสถาบัน อุดมศึกษา ๑๖ แห่ง คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยศรีนคินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัย ราชภัฏจอมบึง และมหาวิทยาลัยพะเยา ร่วมเป็นเครือข่ายมหาวิทยาลัย ยัง่ ยืน ซึง่ มีการด�ำเนินการเกีย่ วกับมหาวิทยาลัยสีเขียว ครอบคลุมเรือ่ ง พลังงานและสิ่งแวดล้อม

6

อนุสาร


เรืเรื่อ่องงเล่า

อุดมศึพิกเศษ ษา

มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง

: การพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น ปัจจุบันรัฐบาลมีนโยบายมุ่งทิศทางในการพัฒนาประเทศ ให้ เ กิ ด ความมั่ น คง มั่ ง คั่ ง และยั่ ง ยื น กอรปกั บหนึ่ ง ในนโยบาย ด้านอุดมศึกษาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการที่เน้น ความส� ำ คั ญ ของการส่ ง เสริ ม บทบาทให้ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาใน พื้นที่ทั่วประเทศท�ำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้แก่สถานศึกษาในท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น ฉะนั้น การขับเคลื่อนแนวคิดดังกล่าว เพื่อผลักดัน ส่งเสริม และสนับสนุน ให้เกิดผลทีช่ ดั เจนจากปัจจุบนั สูอ่ นาคต ทุกภาคส่วนทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง จ�ำเป็นต้องมีส่วนร่วมกันอย่างเป็นระบบและเดินหน้าการพัฒนา เพื่ อ เป้ า หมายในการยกระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานของแต่ ล ะ ท้องถิน่ ทัว่ ประเทศ ให้เกิดการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และปลูกฝังคุณธรรม การสร้างวินัย ความยึดมั่น ในสถาบั น ชาติ ศ าสนาและพระมหากษั ต ริ ย ์ การมี จิ ต สาธารณะ ความตระหนักถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าส่วนตน รวมทั้ง เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในหลักการประชาธิปไตย เคารพความคิ ด เห็ น ของผู ้ อื่ น ยอมรั บ ความแตกต่ า งหลากหลาย ทางความคิ ด อุ ด มการณ์ แ ละความเชื่ อ รวมไปถึ ง การตระหนั ก รู ้ ในคุณค่าและสืบสานวัฒนธรรม และขนบประเพณีอันดีงามของไทย

จากนโยบายด้านการอุดมศึกษา ตามข้อแถลงเชิงนโยบาย ของรั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ที่ ต ้ อ งการให้ ส ถาบั น อุดมศึกษาในพื้นที่ท�ำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้แก่โรงเรียนในการพัฒนา ท้องถิ่น ซึ่งในปัจจุบันต้องเร่งแก้ไขปัญหาในการปฏิรูปการศึกษา ในระดั บ ขั้ น พื้ น ฐานให้ มี คุ ณ ภาพ และเกิ ด มาตรฐานเสมอภาค อย่างทั่วถึงในทุกพื้นที่ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จึงจัด ‘โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง’ โดยให้เครือข่ายอุดมศึกษา ใน ๙ ภูมิภาค เป็นกลไกในการขับเคลื่อนและสนับสนุนให้สถาบัน อุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยงในการสร้างความเข้มแข็งให้กับโรงเรียน ในท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้สถาบัน อุดมศึกษาที่รับผิดชอบจังหวัดในพื้นที่ท�ำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงท�ำงาน ร่ ว มกั บ สถานศึ ก ษาในท้ อ งถิ่ น ในการน� ำ องค์ ค วามรู ้ วิ ช าการ ความเชี่ยวชาญบุคลากร ไปช่วยแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตลอดจนการร่วมสังเคราะห์ และเสนอประเด็น นโยบายสาธารณะที่ ส� ำ คั ญ และเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น พร้ อ มทั้ ง ยั ง ส่ ง เสริ ม ให้ ค ณาจารย์ บุ ค ลากร และนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงในการท�ำกิจกรรมร่วมกับชุมชนและ สถานศึกษาในท้องถิ่น

7


เรื่องพิเศษ

8

อนุสาร


เรื่อง

พิเศษ

การสร้างความเข้มแข็งของสถานศึกษาหรือโรงเรียนใน ท้องถิน่ จ�ำเป็นต้องเชือ่ มโยงนัยส�ำคัญเชิงนโยบายระหว่างทัง้ ๒ องค์กร โดยเฉพาะบทบาทที่สถาบันอุดมศึกษาในแต่ละพื้นที่ต้องท�ำหน้าที่ เป็ น พี่ เ ลี้ ย งให้ แ ก่ โ รงเรี ย นเพื่ อ พั ฒ นาการศึ ก ษาในท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง มี กรอบแนวทางส�ำคัญ ดังนี ้ ด้านผู้เรียน จ�ำเป็นต้องมีความรู้ความสามารถทางวิชาการ และมีทักษะในการด�ำรงชีวิต โดยจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาทักษะ ทางด้านวิชาการและทักษะการใช้ชีวิต โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมให้มี กิจกรรมรูปแบบที่หลากหลาย ด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร รวมทั้งแหล่งการเรียนรู้ ในท้ อ งถิ่ น ส� ำ หรั บ โรงเรี ย นใช้ เ ป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย น เพื่ อ สร้ า งความร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นาแหล่ ง การเรี ย นรู ้ ใ ห้ กั บ เด็ ก นักเรียนของโรงเรียนในท้องถิ่นที่หลากหลายรูปแบบ มีการถ่ายทอด องค์ความรู้โดยความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและโรงเรียน ด้านการพัฒนาครูในโรงเรียนผ่านกิจกรรม เพื่อพัฒนา ศั กยภาพครู ผู ้ ส อน ผ่ านรูป แบบการฝึก อบรม การพัฒนาทั ก ษะ ความรู้ความสามารถที่จ�ำเป็นต่อวิชาชีพครูในฐานะผู้สอน และกลไก ในการขั บ เคลื่ อ นให้ ก ารจัด การเรียนการสอนส�ำหรับ โรงเรี ย นใน ท้องถิ่นเกิดคุณภาพได้จริง ในการด� ำ เนิ น โครงการ/กิ จ กรรม ภายใต้ ‘โครงการ พั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาและการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น โดยมี ส ถาบั น อุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง’ นั้น เครือข่ายอุดมศึกษาภูมิภาค ๙ เครือข่าย จะด�ำเนินการตามกรอบภารกิจอุดมศึกษาและสถาบันอุดมศึกษา แม่ขา่ ย ๙ เครือข่าย โดยท�ำหน้าทีเ่ ป็นศูนย์กลางประสานงานในระดับ ภูมิภาค ก�ำหนดประเด็นคุณภาพ คัดสรร พี่เลี้ยง ส่งเสริมสนับสนุน องค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ บุคลากร ทรัพยากร และเทคโนโลยี เพือ่ ช่วยเหลือและยกระดับคุณภาพการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานของประเทศ ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสและโรงเรียนขนาดเล็กได้ รับการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการและความสามารถทางการเรียนรู้ เรือ่ งกระบวนการคิด การใช้ภาษาและการสือ่ สาร ได้รบั ประสบการณ์ ตรงในการเรียนรู้ ได้รับโอกาสการศึกษาต่อทุกระดับมากขึ้น และ หรื อ มี โ อกาสท� ำ งานมากขึ้ น ในฐานะก� ำ ลั ง คนคุ ณ ภาพ ในขณะที่ ครูได้รบั การพัฒนาศักยภาพในการใช้นวัตกรรมทางการสอน สามารถ น�ำนวัตกรรมการสอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอนไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนรวมทั้งมีการสร้างความร่วมมือ ในการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน

ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ก� ำ หนดการ ด�ำเนินการ ‘โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนา ท้องถิน่ โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพีเ่ ลีย้ ง’ เป็น ๓ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๘ - กันยายน ๒๕๕๙ ระยะที่ ๒ ระหว่าง เดือนตุลาคม ๒๕๕๙ - กันยายน ๒๕๖๐ และ ระยะที่ ๓ ระหว่างเดือน ตุลาคม ๒๕๖๐ - กันยายน ๒๕๖๑ โดยมุง่ เน้นกิจกรรม ๔ ประเภท คือ (๑) การส่งเสริมนโยบาย ‘ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้’ (๒) การพัฒนา ทักษะด้านการใช้ภาษาอังกฤษ (๓) การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และ (๔) การรู้เท่าทัน ไม่เป็นเหยื่อสังคม

9


เรื่องพิเศษ ส�ำหรับการด�ำเนินการ ‘โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิน่ โดยมีสถาบันอุดมศึกษา เป็นพี่เลี้ยง’ ในระยะที่ ๑ มีสถาบันอุดมศึกษาในเครือข่ายอุดมศึกษาภูมิภาค ๙ เครือข่าย ที่เข้าร่วมโครงการจ�ำนวน ๑๒๕ สถาบัน ด�ำเนินโครงการ/กิจกรรม จ�ำนวน ๑๓๓ โครงการ/กิจกรรม ในโรงเรียนเป้าหมายในพืน้ ที่ จ�ำนวน ๑๔๗ โรงเรียน ครอบคลุมพื้นที่ ๕๗ จังหวัด และได้ก�ำหนดเป้าหมายในการพัฒนาครู จ�ำนวน ๑,๕๐๔ คน และนักเรียน จ�ำนวน ๑๘,๓๔๙ คน ทั้งนี้ ได้มีการจ�ำแนกประเภทโครงการ/กิจกรรม ตามจุดเน้นเชิงนโยบาย ๔ ประเด็น และ ตัวอย่างโครงการ/กิจกรรม ดังนี้ ๑. โครงการ/กิจกรรม ที่มุ่งส่งเสริมนโยบาย ‘ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้’ มีจ�ำนวนประมาณร้อยละ ๓๕ จากจ�ำนวนโครงการ/กิจกรรมที่แต่ละเครือข่ายอุดมศึกษาเสนอมาทั้งหมด เช่น โครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ โครงการลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูค้ า่ พัฒนาศักยภาพศิลปะและดนตรี กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี วามรูค้ วามสามารถ ทางด้านวิชาการ (ASIAN KID) เป็นต้น ๒. โครงการ/กิจกรรม ที่มุ่งพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษ มีจ�ำนวนประมาณร้อยละ ๒๕ จากจ�ำนวน โครงการ/กิจกรรมที่แต่ละเครือข่ายอุดมศึกษาเสนอมาทั้งหมด เช่น ภาษาอังกฤษส�ำหรับมุคคุเทศก์น้อย (English for Junior Tour Guide) กิจกรรม ‘ค่ายภาษาสู่อาชีพ’ เพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านภาษาและการสื่อสาร โครงการ ภาษาอังกฤษเพื่อเข้าสู่ AEC เป็นต้น ๓. โครงการ/กิจกรรม ทีม่ งุ่ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม มีจำ� นวนประมาณร้อยละ ๑๐ จากจ�ำนวนโครงการ/ กิจกรรมที่แต่ละเครือข่ายอุดมศึกษาเสนอมาทั้งหมด เช่น กิจกรรมการต่อต้านคอร์รัปชั่น กิจกรรมค่ายเยาวชน คนดีของแผ่นดิน โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม เป็นต้น ๔. โครงการ/กิจกรรม ‘รู้เท่าทัน ไม่เป็นเหยื่อสังคม’ มีจ�ำนวนประมาณร้อยละ ๓๐ จากจ�ำนวนโครงการ/ กิจกรรมทีแ่ ต่ละเครือข่ายอุดมศึกษาเสนอมาทัง้ หมด เช่น กิจกรรมพัฒนาโครงงานมุง่ เน้นการจัดการเรียนรูเ้ พือ่ ส่งเสริม ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ โครงการพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพตามความสามารถแต่ละด้าน ของผู้เรียน (ตามทฤษฎีพหุปัญญาและตามกลุ่มสาระการเรียนรู้) โครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้จากฐานความ รู้ชุมชนของโรงเรียนในจังหวัดสงขลา (โครงการน�ำร่อง จังหวัดสงขลา) เป็นต้น ‘โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง’ เป็นโครงการหนึง่ ทีภ่ าคอุดมศึกษามีการบูรณาการขับเคลือ่ นองค์ความรู้ วิชาการ และความเชีย่ วชาญต่างๆ จากสถาบัน อุดมศึกษาน�ำไปสู่การปฏิบัติจริงในชุมชน โรงเรียน โดยประสานความร่วมมือกันระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและ ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ให้เกิดการพัฒนาด้านการเรียนการสอนและการพัฒนาคณาจารย์ นิสิตนักศึกษา ครูและ นักเรียน เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง

10

อนุสาร


เรื่อง

พิเศษ

11


พูดคุยเรื่องมาตรฐาน เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๕๘ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา และแนวทางการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงเห็นสมควรทบทวน ปรับปรุง แก้ไขให้ทันสมัย สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ที่เกิดขึ้น ดังนั้น เพื่อให้เกิดการยกระดับการพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้ทันต่อกระบวนทัศน์ที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านวิชาการและวิชาชีพของหลักสูตร ในสาขาหรือสาขาวิชาต่างๆ เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รวมทัง้ การจัดระดับความสามารถของสถาบันอุดมศึกษา ในระดับอาเซียนและระดับสากล จึงมีแนวทางในการด�ำเนินการดังต่อไปนี้ ๑. การทบทวนและปรับสาระในบางประเด็นของเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาซึง่ ประกาศใช้มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ให้ทนั สมัย โดยยึดหลักในการด�ำเนินการ กล่าวคือ การวิเคราะห์ภาพการศึกษาและทิศทางของโลก แล้วจึงย้อนกลับมาวิเคราะห์การจัดการศึกษา ของประเทศไทย เพือ่ ให้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยมีความทันสมัยและยืดหยุน่ เพือ่ รองรับการจัดการศึกษา ทีห่ ลากหลาย ในขณะเดียวกัน ต้องสะท้อนให้เห็นเกณฑ์ดา้ นคุณภาพมากกว่าปริมาณ และเมือ่ ส�ำเร็จการศึกษาจากแต่ละหลักสูตรจะต้อง ได้รับการยอมรับความเท่าเทียมในปริญญาของหลักสูตรดังกล่าว ๒. บูรณาการเกณฑ์ต่างๆ หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร มติที่ประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ คณะอนุกรรมการด้านมาตรฐานการอุดมศึกษา ให้มีความกระชับและชัดเจนในการปฏิบัติ รวมทั้ง ได้พิจารณาและสังเคราะห์จากข้อมูล ผลการวิจัย ผลการศึกษาของคณะท�ำงานที่เกี่ยวข้อง เช่น โครงการวิจัย เรื่อง การจัดท�ำข้อเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษา และเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ข้อเสนอของคณะท�ำงานจัดท�ำมาตรฐานการจัดการศึกษาหลักสูตรระดับปริญญาตรี(ต่อเนือ่ ง) เป็นต้น ๒. เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี เน้นการ สาระส�ำคัญของการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและทักษะการ ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑. การแบ่งหลักสูตรเป็น ๒ กลุ่ม เพื่อตอบสนองต่อการ จัดการศึกษาในปัจจุบนั ทีม่ คี วามหลากหลาย และสอดคล้องกับปรัชญา และวัตถุประสงค์ของแต่ละหลักสูตร ดังนี้ • หลั ก สู ต รทางวิ ช าการ มุ ่ ง ให้ บั ณ ฑิ ต ให้ มี ค วามรอบรู ้ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เน้นความรู้และทักษะด้านวิชาการ สามารถน�ำความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงได้อย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วย หลักสูตรแบบปกติ และแบบก้าวหน้า • หลักสูตรทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ มุ่งเน้นให้บัณฑิต มีความรอบรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เน้นความรู้ สมรรถนะ และทักษะด้านวิชาชีพตามข้อก�ำหนดของมาตรฐานวิชาชีพ หรือมี สมรรถนะและทักษะด้านการปฏิบตั เิ ชิงเทคนิคในศาสตร์สาขาวิชานัน้ ๆ โดยผ่านการฝึกงานในสถานประกอบการ หรือผ่านการจัดสหกิจศึกษา ประกอบด้วย หลักสูตรแบบปกติ หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) และ หลักสูตรแบบก้าวหน้า

12

เรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ (the 21st Century Skills) อาทิ มีความรู้ สมรรถนะ และทักษะตามมาตรฐานสาขาวิชาที่ก�ำหนดในหลักสูตร มีทักษะชีวิต (Life Skills) มีทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) และมีทักษะและรู้เท่าทันด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Literacy) ให้ความส�ำคัญกับหมวดวิชาศึกษาทั่วไป โดยทุกหลักสูตรต้องเรียน อย่างน้อย ๓๐ หน่วยกิต มีการปรับลดจ�ำนวนหน่วยกิตของหมวดวิชา เฉพาะ เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นในการจัดการศึกษา ในขณะเดียวกัน หลักสูตรทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการที่เน้นทักษะด้านการปฏิบัติเชิง เทคนิคในศาสตร์สาขาวิชานัน้ และหลักสูตรต่อเนือ่ ง จะก�ำหนดสัดส่วน หน่วยกิตวิชาทฤษฎีกับปฏิบัติให้มีความใกล้เคียงกัน เพื่อเน้นให้เกิด ความช�ำนาญในการปฏิบัติ ควบคู่กับการเพิ่มพูนองค์ความรู้ในเชิง วิชาการ รวมทั้งก�ำหนดให้มีการฝึกงานในสถานประกอบการ หรือ สหกิจศึกษา ซึง่ จะสอดคล้องกับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการที่เน้นทักษะด้านการปฏิบัติ

อนุสาร


พูดคุยเรื่อง

มาตรฐาน เชิงเทคนิคในศาสตร์สาขาวิชานั้น นอกจากนี้ มีการก�ำหนดคุณสมบัติ ผู ้ เ ข้ า ศึ ก ษาส� ำ หรั บ หลั ก สู ต รแบบก้ า วหน้ า และหลั ก สู ต รต่ อ เนื่ อ ง คุณสมบัติของอาจารย์ประจ�ำ อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรและอาจารย์ ผูร้ บั ผิดชอบหลักสูตร และเพิม่ เติมนิยามศัพท์ เพือ่ ให้เกิดความชัดเจน ในการน�ำไปปฏิบัติ รวมทั้ง ก�ำหนดความสามารถด้านการใช้ภาษา อังกฤษส�ำหรับอาจารย์ที่เข้าใหม่ ๓. เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มีการ นิ ย ามและปรั บ คุ ณ สมบั ติ ข องอาจารย์ เ พื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ต ่ า งๆ ให้ มี ความชัดเจน โดยมีหลักการว่า คุณวุฒิของอาจารย์ผู้สอนจะต้องมี ความรู้ ประสบการณ์ไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับระดับปริญญาที่สอน และจะต้ อ งมี ผ ลงานทางวิ ช าการที่ ไ ม่ ใ ช่ ส ่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษา เพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่สามารถใช้ในการขอ ก�ำหนดต�ำแหน่งทางวิชาการ ซึ่งได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ ที่ก�ำหนดอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย ๑ รายการต้องเป็นผลงานวิจัย เพื่อสร้างความมั่นใจได้ว่าอาจารย์ เป็นผู้มีประสบการณ์ด้านการวิจัยเพียงพอที่จะท�ำการสอนในระดับ บัณฑิตศึกษา มีการปรับคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ อาจารย์ทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์รว่ ม ทีเ่ ป็นผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอก โดยเน้น ประสบการณ์ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น โดยผ่านความเห็นชอบ ของสภาสถาบันอุดมศึกษา เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถบริหาร จัดการได้ ๔. แนวทางการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ อุดมศึกษา ยังได้ปรับรายละเอียดต่างๆ ส�ำหรับเป็นแนวทางการ บริหารจัดการ และพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพ สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา ที่ มี ก ารปรั บ ปรุ ง อาทิ การเปิ ด สอนหลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาตรี (ต่อเนื่อง) จ�ำนวนและคุณวุฒิของอาจารย์ การบริหารหลักสูตรกรณี มีข้อตกลงร่วมผลิตกับสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่ สถาบันอุดมศึกษา เพิ่มมาตรการก�ำกับดูแลการคัดลอกผลงานหรือ การจ้างท�ำผลงานของบัณฑิต และเพิ่มหัวข้อการควบคุมมาตรฐาน หลักสูตร ทั้งนี้ เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถน�ำเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรไปเป็นหลักในการจัดท�ำหลักสูตร และพัฒนาการเรียน การสอนได้สอดคล้องตามเจตนารมณ์ ส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษาได้ จัด ประชุม ชี้แ จงแนวทางการด�ำเนิน การตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๘ ในกรุงเทพมหานครและส่วนภูมิภาค

ตั้งแต่เดือนธันวาคม ๒๕๕๘ ถึงเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ เพื่อให้ สถาบันอุดมศึกษารับทราบหลักเกณฑ์และแนวทางการด�ำเนินการตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ทัง้ ๓ ฉบับ คือ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิต ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ และแนวทางการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ตลอดจนสร้างความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถน�ำเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรไปปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษา ได้อย่างถูกต้อง มาตรฐานการศึกษา เป็นหลักเกณฑ์ที่ส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา อยากให้ทุกฝ่ายทุกภาคส่วน ทั้งสถาบัน การศึกษา ผูส้ อน ผูเ้ รียน และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ตระหนักถึงประโยชน์ ในการก�ำกับดูแล และมีส่วนร่วมในการน�ำไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้ การจัดการเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษาเป็นไปในทิศทาง ที่สอดคล้องกับบริบทของสังคมและประเทศอย่างมีคุณภาพ

13


เรื่องแนะน�ำ

ภาพโดย ลุงบูลย์ จากเว็บไซต์ http://www.bloggang.com

ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยพลังนิสิตนักศึกษา

ด้ ว ยพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชฯ ได้ทรงพระราชทานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่ปวงชน เพื่อเป็นแนวทางการด�ำเนินชีวิต โดยมุ่งหวังให้ประชาชนพึ่งตนเอง ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น และรั ฐ บาลได้ จั ด ท� ำ แผนยุ ท ธศาสตร์ ก ารบู ร ณา การการขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาตามปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง (พ.ศ.๒๕๕๗ - ๒๕๖๐) เป็นแผนระยะ ๔ ปี เพื่อใช้เป็นกรอบและ แนวทางในการบูรณาการการปฏิบัติงานร่วมกัน ที่ผ่านมา สถาบันการศึกษามีส่วนส�ำคัญและมีศักยภาพ อย่างยิ่งในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เกิดผล ในทางปฏิบัติ โดยการน�ำองค์ความรู้ในสถาบันการศึกษามาส่งเสริม และสนั บ สนุ น การพั ฒ นาในพื้ น ที่ ร ่ ว มกั บ หน่ ว ยงานทุ ก ภาคส่ ว น ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและพึ่งพาตัวเองได้ ‘อนุสารอุดมศึกษา’ ฉบับนี้ ขอแนะน�ำ ‘โครงการขับเคลื่อน ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งด้ ว ยพลั ง นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา’ ซึ่ ง มู ล นิ ธิ รากแก้วเล็งเห็นความส�ำคัญในการส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนา

14

ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการศึกษา จึงได้จัดท�ำ โครงการดั ง กล่ า วขึ้ น โดยได้ รั บ อนุ มั ติ ต ามมติ ที่ ป ระชุ ม คณะ อนุกรรมการอนุมัติโครงการและงบประมาณโครงการขับเคลื่อน การพั ฒ นาตามปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ครั้ ง ที่ ๒/๒๕๕๙ เมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ และเพื่อให้การด�ำเนินโครงการ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุวัตถุประสงค์มูลนิธิรากแก้ว กับ ๔ มหาวิทยาลัย ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงได้จัดท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง เยาวชนคนรุ่นใหม่ให้สนับสนุนการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ตลอดจนสนับสนุนให้สถาบัน การศึกษาท�ำงานอย่างบูรณาการร่วมกับทุกภาคส่วนในการขับเคลือ่ น แผนยุทธศาสตร์การบูรณาการการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง

อนุสาร


เรื่อง

แนะน�ำ กรอบและแนวทางความร่วมมือ ๑. ด้ า นการพั ฒ นาในพื้ น ที่ เ ป้ า หมายเพื่ อ ให้ เ ป็ น พื้ น ที่ ฝึกปฏิบัติการชุมชน โดยการน�ำบุคลากรร่วมเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติ และ น� ำ องค์ ค วามรู ้ ม าด� ำ เนิ น โครงการพั ฒ นาอย่ า งบู ร ณาการร่ ว มกั บ หน่วยงานต่างๆ เพื่อเป็นต้นแบบและขยายผลไปสู่สถาบันการศึกษา อื่นๆ ๒. ด้านการพัฒนารายวิชา/หลักสูตรการเรียนการสอน โดยบรรจุหรือสอดแทรกเนื้อหาและกระบวนการเรียนรู้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและภาคปฏิบัติ เพื่อใช้ในสถาบันการศึกษา และเป็นต้นแบบในการขยายผลในสถาบันการศึกษาอื่นๆ ๓. ด้านการพัฒนานิสิตนักศึกษา โดยจัดกิจกรรมเรียนรู้ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งให้ แ ก่ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาจากการ ลงมือปฏิบัติจริง เพื่อเสริมทักษะและเพิ่มพูนประสบการณ์ให้นิสิต นักศึกษาและสร้างเครือข่ายระหว่างสถาบันการศึกษาในระดับภูมภิ าค และระดับประเทศ ๔. ด้านการแลกเปลีย่ นเรียนรูป้ ระสบการณ์และแนวปฏิบตั ิ ที่ดีระหว่างสถาบันการศึกษา เพื่อขยายผลการขับเคลื่อนการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจอเพียงโดยสถาบันการศึกษา ๕. ด้านการรวบรวมข้อมูลและองค์ความรู้จากการด�ำเนิน โครงการของสถาบันการศึกษาและติดตามประเมินผล เพื่อน�ำมา ต่อยอดและพัฒนาการด�ำเนินงานร่วมกันให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ทั้ ง นี้ ในการร่ ว มมื อ ด� ำ เนิ น โครงการ จะมี ก ารก� ำ หนด ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบโครงการของแต่ ล ะหน่ ว ยงาน เพื่ อ ร่ ว มด� ำ เนิ น งาน หารือระหว่างกันอย่างใกล้ชิด และอ�ำนวยความสะดวกในด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในระหว่างด�ำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ตลอดจนร่วมติดตามประเมินผลการด�ำเนินโครงการและหาแนวทาง พัฒนาการด�ำเนินงานร่วมกัน ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ โครงการได้ ก� ำ หนดให้ ม หาวิ ท ยาลั ย ทั้ง ๔ แห่ง ด�ำเนินงานร่วมกับมหาวิทยาลัยในภูมิภาค ในพื้นที่ ต้นแบบร่วมกับจังหวัดที่เลือก ๑ จังหวัดและขยายผลไปจังหวัด อื่นๆ ในภูมิภาคที่รับผิดชอบ โดยให้นิสิตนักศึกษาและคณาจารย์ ที่ผ่านการเรียนรู้จากพื้นที่ต้นแบบแล้ว ไปขับเคลื่อนการพัฒนา ตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งร่ ว มกั บ แต่ ล ะจั ง หวั ด โดยบู ร ณาการกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ‘บู ร ณาการการขั บ เคลื่ อ นการ พั ฒ นาตามปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของทุ ก ภาคส่ ว น’ ในยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรและชนบท ทั้งนี้ ได้แบ่ง ความรั บ ผิ ด ชอบ ดั ง นี้ (๑) มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น รั บ ผิ ด ชอบ ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (๒) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รั บ ผิ ด ชอบในพื้ น ที่ ภ าคใต้ (๓) มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล รั บ ผิ ด ชอบ ในพื้นที่ภาคกลาง และ (๔) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับผิดชอบใน พืนทีภ่ าคเหนือ โดยจะมีการด�ำเนินงานในลักษณะต่อยอดและขยายผล การด�ำเนินงานเชิงปริมาณและคุณภาพจากโครงการของมูลนิธฯิ เดิม

15


เรื่องแนะน�ำ ประกอบด้วย ๗ ชุดโครงการ และกิจกรรมการบริการโครงการ ดังนี้ (๑) โครงการความร่วมมือกับสถาบันการ ศึกษาเพื่อพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ (๒) โครงการเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการขยายผล (๓) โครงการพัฒนาศักยภาพนิสิตนักศึกษาแกนน�ำเครือข่าย ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (๔) โครงการจัดท�ำหลักสูตรการน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติ เพื่อเป็นต้นแบบในการขยายผล (๕) โครงการจัดการองค์ความรู้ของสถาบันการศึกษาในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ (๖) โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาชุมชน และ (๗) การบริหารจัดการโครงการ อย่างไรก็ตาม การที่สถาบันอุดมศึกษาทั้ง ๔ แห่ง ร่วมด�ำเนินการตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือดังกล่าว จะส่งผลให้นสิ ติ นักศึกษาได้สมั ผัส เรียนรู้ และเข้าใจปัญหาสังคม และเกิดความศรัทธาในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงจากการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริงร่วมกับชุมชน และสามารถใช้ชีวิตอย่างมีภูมิคุ้มกัน เกิดอุปนิสัยพอเพียง ได้รับการพัฒนาทักษะด้านต่างๆ เช่น การคิดวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประยุกต์ใช้ความรู้ให้เข้ากับภูมิสังคม มี ค วามเป็ น ผู ้ น� ำ มี ค วามเสี ย สละ และมี จิ ต ส� ำ นึ ก ในการท� ำ ประโยชน์ เ พื่ อ ส่ ว นรวม และพร้ อ มร่ ว มพั ฒ นา ประเทศชาติ ในขณะที่ คณาจารย์ จะได้พัฒนาประสบการณ์การเรียนการสอน สามารถน�ำงานวิจัยมาทบทวน และปรับให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของชุมชน เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนอย่างแท้จริง และ น� ำ โครงการหรื อ ประสบการณ์ จ ริ ง ที่ ไ ด้ ท� ำ งานร่ ว มกั บ ชุ ม ชนมาใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ในการจั ด การเรี ย นการสอน นอกห้องเรียนให้แก่นิสิตนักศึกษาหรือพัฒนาเป็นรายวิชา เช่น วิชาศึกษาทั่วไป สหกิจศึกษา นอกจากนี้ สถาบัน การศึกษา จะได้เครือ่ งมือในการพัฒนาบัณฑิตให้มคี ณ ุ ภาพ เก่ง ดี มีภมู คิ มุ้ กันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตส�ำนึกและสามารถน�ำความรู้มาสร้างประโยชน์ให้สังคมและประเทศชาติได้ และได้งานวิจัย โครงการบริการ วิชาการที่ตอบโจทย์ความต้องการและแก้ปัญหาของชุมชนได้ มีส่วนในการลดความเหลื่อมล�้ำของสังคม มูลนิธิรากแก้ว: ความร่วมมือภาคการศึกษา มู ล นิ ธิ ร ากแก้ ว ส่ ง เสริ ม ให้ ภ าคการศึ ก ษาน� ำ นั ก เรี ย น นิสิตนักศึกษา และคณาจารย์ ร่วมเรียนรู้นอกห้องเรียนจากปัญหา จริงในชุมชน และน�ำความรู้ความสามารถมาด�ำเนินโครงการพัฒนา โดยใช้หลักการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริและปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกับชุมชน สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน พึ่งตนเองได้ และลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคม โดยท�ำงานร่วมกับ มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำริ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ และมูลนิธิมั่นพัฒนา นอกจากนี้ มูลนิธิรากแก้วยังร่วมมือกับภาคการศึกษา ในการสนับสนุนการพัฒนานิสิตนักศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจ และเห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของปั ญ หาสั ง คมและการใช้ ชี วิ ต อย่ า งมี ภูมิคุ้มกันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสร้าง จิ ต ส� ำ นึ ก ในการท� ำ ประโยชน์ เ พื่ อ ผู ้ อ่ื น โดยเชื่ อ มโยงองค์ ค วามรู ้ และความร่วมมือจากภาคเครือข่ายมาร่วมเสริมสร้างประสบการณ์ นอกห้ อ งเรี ย นให้ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาผ่ า นการด� ำ เนิ น โครงการพั ฒ นา ร่วมกับชุมชน และเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และ ถอดบทเรียน เพื่อน�ำแนวปฏิบัติที่ดีมาเผยแพร่ให้เกิดการต่อยอดและขยายผล โดยมูลนิธิฯ จะรวบรวมและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนา จิตอาสาของเยาวชนและการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน เพื่อสร้างพลังในการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติต่อไป

16

อนุสาร


เรื่อง

แนะน�ำ

เมื่อวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๙ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ก�ำจร ตติยกวี ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานในพิธีลงนาม บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ตามโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด้วยพลังของนิสติ นักศึกษา โดยมีนางอรสา ภาววิมล ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมเป็นสักขีพยานใน การลงนาม และมีศาสตราจารย์ นายแพทย์ภริ มย์ กมลรัตนกุล อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ปรีชา สุนทรานันท์ รองอธิการบดี รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัย มหิดล และรองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ หม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล ประธานมูลนิธิ รากแก้ว ร่วมลงนาม ณ โรงแรม เดอะสุโกศล

17


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

กกอ. สัญจร ครั้งที่ ๘ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้จัดการประชุม กกอ. สัญจร ครั้งที่ ๘ ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร และเครือข่าย อุดมศึกษาภาคเหนือตอนล่าง ในระหว่างวันที่ ๒๐ - ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๙ ประกอบด้วย กิจกรรมการเยี่ยมชม (Site Visit) สถาบัน อุดมศึกษาในเครือข่ายภาคเหนือตอนล่าง การประชุมเสวนาร่วมกับ เครือข่ายอุดมศึกษาภาคเหนือตอนล่าง และการประชุม กกอ. ครั้งที่ ๓/๒๕๕๙ โดยเครือข่ายอุดมศึกษาภาคเหนือตอนล่าง มีสถาบัน อุดมศึกษาจ�ำนวน ๑๓ แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบูรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏพิบูลสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏก�ำแพงเพชร มหาวิทยาลัยภาคกลาง มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยพิษณุโลก วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี วิทยาลัยชุมชนตาก และวิทยาลัยชุมชนพิจิตร โดยการประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษาสัญจร ครัง้ ที่ ๘ ได้มีการเยี่ยมชม (Site Visit) สถาบันอุดมศึกษาในเครือข่าย ในวันที่ ๒๑ มี น าคม ๒๕๕๙ แบ่ ง เป็ น ๓ เส้ น ทาง ดั ง นี้ เส้ น ทางที่ ๑ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พิ บู ล สงคราม และมหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร เส้นทางที่ ๒ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ และมหาวิทยาลัย เจ้ า พระยา เส้ น ทางที่ ๓ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อุ ต รดิ ต ถ์ และ มหาวิทยาลัยพิษณุโลก และการประชุมเสวนาร่วมกับเครือข่าย อุ ด มศึ ก ษาภาคเหนื อ ตอนล่ า ง และการประชุ ม คณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษา ครั้ ง ที่ ๓/๒๕๕๙ ในวั น ที่ ๒๒ มี น าคม ๒๕๕๙ ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร

18

รองศาสตราจารย์ คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ ประธาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้เสนอภาพรวมของนโยบายคณะ กรรมการการอุดมศึกษาที่จะยกระดับคุณภาพการอุดมศึกษาไทย ใน ๘ ประเด็น ดังนี้ (๑) การลงทุนพัฒนาประเทศผ่านสถาบันอุดมศึกษาใน ๓ โครงการใหญ่ คือ โครงการขับเคลือ่ นมหาวิทยาลัยไทยสูม่ หาวิทยาลัย ระดับโลก โครงการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษากลุ่มใหม่ให้ได้มาตรฐาน การอุดมศึกษา และโครงการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ ในอุ ด มศึ ก ษา โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เพิ่ ม บทบาทของสถาบั น อุดมศึกษาไทย ตามจุดเน้น จุดเด่นของตนเอง พร้อมทั้งเน้นเรื่อง Re-profiling โดยเฉพาะสถาบันอุดมศึกษากลุ่มใหม่ เพื่อเป็นก�ำลัง ที่เข้มแข็งในการพัฒนาประเทศ (๒) การปรั บปรุ ง เกณฑ์ มาตรฐานหลั ก สู ต ร ให้มีค วาม หลากหลาย ครอบคลุมทั้งสายวิชาการ สายวิชาชีพหรือปฏิบัติการ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ (๓) การประกันคุณภาพการศึกษา และการส่งเสริมสถาบัน อุดมศึกษาสู่ความเป็นเลิศ

อนุสาร


เหตุการณ์

เล่าเรื่อง

(๔) ร่าง พ.ร.บ. การอุดมศึกษา พ.ศ. .... และการ แยกส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาออกจากกระทรวง ศึกษาธิการ เป็นกระทรวงการอุดมศึกษา (๕) การติดตาม ตรวจสอบ การจัดการศึกษานอกสถานทีต่ งั้ การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่เปลี่ยนประเภทแล้ว (๖) การส่งเสริมเครือข่ายมหาวิทยาลัย ทั้ง ๙ เครือข่าย ให้มีความเข้มแข็ง เน้นความร่วมมือ มีระบบการบริหารจัดการที่ดี โดยนโยบายที่ ส� ำ คั ญ จะเน้ น ในเรื่ อ งเครื อ ข่ า ยเพื่ อ พั ฒ นาชุ ม ชน ฐานราก และเครื อ ข่ า ยเพื่ อ พั ฒ นาการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานและ อาชีวศึกษา (๗) การพัฒนาระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษา เพื่อปรับปรุงระบบในปัจจุบันให้มีประสิทธิภาพและ เสมอภาคมากยิ่งขึ้น (๘) การผลิต พัฒนาครู และผู้บริหารการศึกษา ให้มีการ ผลิตครูที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ด้านรองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้กล่าวถึงนโยบาย การพัฒนาอุดมศึกษาของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ใน ๓ ประเด็น ได้แก่ บริบทของภาคอุดมศึกษา นโยบายรัฐบาล และกระทรวงศึกษาธิการ และการส่งเสริมสถาบันอุดมศึกษา • บริบทของภาคอุดมศึกษา ทีเ่ กีย่ วข้องกับหลายๆ ภาคส่วน ได้ แ ก่ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานและอาชี ว ศึ ก ษาโดยการผลิ ต และ พัฒนาครู การพัฒนาหลักสูตรตามความต้องการของพืน้ ที่ การเป็น พี่เลี้ยงให้โรงเรียนในท้องถิ่น และการพัฒนาสื่อการสอนที่ทันสมัย ภาคการผลิตโดยการเป็นแหล่งผลิตก�ำลังคนตามความต้องการและ การขยายตัวของตลาดแรงงาน การสร้างองค์ความรูโ้ ดยผ่านงานวิจยั และนวัตกรรม รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการ และ SME ภาคสังคมโดยเข้าไปมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและ ชี้น�ำสังคม พัฒนาความเข้มแข็งให้แก่จังหวัดและท้องถิ่น รวมทั้ง การแก้ไขปัญหาในเขตสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ การศึกษา นานาชาติเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของการอุดมศึกษา ไทย โดยการวิจัยและผลิตผลงานทางวิชาการและการพัฒนาความ เป็นสากลของการอุดมศึกษาไทย และการพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาไทย

19


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

ในปัจจุบนั มีสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งหมด ๑๕๖ แห่ง ประกอบด้วย สถาบันอุดมศึกษารัฐ ๘๑ แห่ง และ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ๗๕ แห่ง นอกจากนี้ยังมีสถาบันเฉพาะทาง ทีไ่ ม่ได้สงั กัดกระทรวงศึกษาธิการอีกจ�ำนวนหนึง่ แต่ใช้เกณฑ์มาตรฐาน อุดมศึกษาเดียวกัน โดยมีส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการของคณะกรรมการการอุดมศึกษา • นโยบายรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ รัฐบาลชุด ปัจจุบนั มีนโยบายในด้านการอุดมศึกษา ประกอบด้วย ๒ ประเด็น คือ (๑) การจัดการศึกษาและเรียนรู้การท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และ (๒) การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจยั และพัฒนา และนวัตกรรม รวมทัง้ ให้ความส�ำคัญ กับการบูรณาการอุดมศึกษากับหน่วยงานอื่น ในส่วนของการปฏิรูปการศึกษา จะมีจุดเน้นใน ๖ เรื่อง ได้แก่ หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ พัฒนาคุณภาพการศึกษา และแหล่งเรียนรู้ การผลิตพัฒนาก�ำลังคนและงานวิจยั ทีส่ อดคล้องกับ ความต้องการของประเทศ การประเมินและการพัฒนามาตรฐาน การศึกษา ICT เพื่อการศึกษาและการบริหารจัดการ และเรื่องครู นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในด้านการอุดมศึกษา ประกอบด้วย ๓ ประเด็นส�ำคัญ คือ (๑) ก�ำหนดบทบาทและการผลิต นักศึกษาให้ชดั เจน ตามความถนัดและความเป็นเลิศของแต่ละสถาบัน (๒) Outcome ที่สถาบันอุดมศึกษาควรมี เช่น การวิจัยพัฒนาจน เกิดเป็นนวัตกรรมที่เกิดจากทรัพยากรท้องถิ่น เพิ่มมูลค่าการส่งออก และ (๓) สถาบันอุดมศึกษาในพืน้ ทีท่ ำ� หน้าทีเ่ ป็นพีเ่ ลีย้ งให้แก่โรงเรียน ในการพัฒนาท้องถิ่น

20

จุดเน้นของรัฐบาลในปัจจุบัน ได้แก่ (๑) ความร่วมมือของ มหาวิทยาลัยกับภาคเอกชน โรงเรียน หน่วยงานต่างๆ และท�ำงานในรูป เครือข่าย (๒) การเรียนการสอนกับสถานประกอบการ (๓) การพัฒนาครู (๔) ภาษาอังกฤษ และ (๕) การใช้ IT กับการศึกษาและบริหารจัดการ ปัจจุบันส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอยู่ระหว่าง การจัดท�ำแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปี ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔) เพื่อเป็นแผนแม่บทในการขับเคลื่อนอุดมศึกษาระยะต่อไป ได้เริ่มด�ำเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ คาดว่าจะแล้วเสร็จ ภายในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ โดยการจัดท�ำแผนฉบับใหม่จะเน้นสิ่งที่ อุดมศึกษาจะให้กบั สังคม ได้แก่ โอกาสการเรียนรู้ ทุนสังคมเพือ่ พัฒนา มนุษย์ และองค์ความรู้ นวัตกรรม ซึ่งจะต้องมีวิธีการปรับตัว อาทิ Reorientation Reprofiling Restructure และ Reorganization • การส่งเสริมสถาบันอุดมศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษาจะเน้ น ในเรื่ อ งคุ ณ ภาพ และบทบาทของสถาบั น อุดมศึกษา โดยทิศทางด้านคุณภาพประกอบด้วย คุณภาพหลักสูตร คุณภาพนักศึกษา คุณภาพอาจารย์ และคุณภาพการวิจัย ส�ำหรับโครงการส�ำคัญที่ก�ำลังด�ำเนินการ ได้แก่ โครงการ ผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น โครงการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากร มนุ ษ ย์ ใ นอุ ด มศึ ก ษาเพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงของบริ บ ทโลก โครงการมหาวิ ท ยาลั ย ไทยสู ่ ม หาวิ ท ยาลั ย โลก โครงการพั ฒ นา มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่ การส่งเสริมธรรมาภิบาลในการบริหารสถาบัน อุดมศึกษา เป็นต้น

อนุสาร


เหตุการณ์

เล่าเรื่อง

ในขณะที่ ศาสตราจารย์นายสุจินต์ จินายน อธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร ในฐานะประธานกรรมการบริหารเครือข่าย อุดมศึกษาภาคเหนือตอนล่าง กล่าวถึงการด�ำเนินงานของเครือข่าย อุดมศึกษาภาคเหนือตอนล่างซึ่งเน้นการท�ำงานแบบบูรณาการใน เครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายกับภาคสังคมและภาคส่วนต่างๆ ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ เครือข่ายมีการด�ำเนินงาน โครงการ/กิจกรรมร่วมกัน อาทิ งานวิจัยและนวัตกรรม งานพัฒนา การเรี ย นการสอน งานพั ฒ นานิ สิ ต และนั ก ศึ ก ษา งานผลิ ต และ พัฒนาอาจารย์ งานสารสนเทศและแผนงาน งานส่งเสริมและพัฒนา วิทยาลัยชุมชน งานอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ โดยจะมีการประชุมประจ�ำปีเพื่อถ่ายทอดนโยบาย วางแผนการ ด�ำเนินงาน และรายงานผล พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อปรับปรุงพัฒนาการด�ำเนินงานของเครือข่ายให้มีความเข้มแข็ง และเกิดประโยชน์

ทั้งนี้ การประชุมเสวนาร่วมกับเครือข่าย โดยอธิการบดี หรือผู้แทนสถาบันสมาชิกเครือข่ายฯ จ�ำนวน ๑๑ แห่ง ได้น�ำเสนอ วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ/ผลงานที่โดดเด่น (Best Practice) ของเครือข่าย ใน ๓ ด้าน ประกอบด้วย (๑) ด้านการวิจัยและพัฒนา (๒) ด้านการ จั ด การเรี ย นการสอน และ (๓) ด้ า นการบริ ก ารวิ ช าการ ท� ำ ให้ คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ตลอดจนผู ้ บ ริ ห ารของส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีโอกาสรับฟังการน�ำเสนอผลงานดีเด่น ของสถาบั น ในเครื อ ข่ า ยฯ และได้ ร ่ ว มแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ที่เป็นประโยชน์ในการขับเคลื่อนนโยบายอุดมศึกษา ในการประชุมเสวนาร่วมกับเครือข่ายอุดมศึกษาภาคเหนือ ตอนล่างครัง้ นี้ ทีป่ ระชุมมีความเห็นร่วมกันว่า เพือ่ ให้สถาบันอุดมศึกษา เป็นก�ำลังส�ำคัญในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ เรือ่ ง University Engagement เป็นประเด็นทีม่ คี วามส�ำคัญอย่างยิง่ สถาบันอุดมศึกษา จะต้องเปิดประตูออกไปสู่สังคม ภาคธุรกิจ สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ รวมทั้ ง ช่ ว ยเหลื อ การศึ ก ษาในระดั บ อื่ น ๆ จึ ง จะท� ำ ให้ ป ระเทศมี ความเข้มแข็ง ซึง่ สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรปู การศึกษาในปัจจุบนั ที่เน้นการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในระดับภูมิภาคและระดับ ประเทศ

21


เล่าเรื่องด้วยภาพ

๙ นีนาคม ๒๕๕๙ - พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ให้การต้อนรับและหารือ ความร่วมมือด้านการศึกษากับนายโน ควังอิล (H.E. Mr. Noh Kwang-Il) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐเกาหลีประจ�ำประเทศไทย ณ ห้องรับรองจันทรเกษม โดยมี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา นายชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และนางสาวดุริยา อมตวิวัฒน์ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เข้าร่วมการหารือ

22

๑๕ มีนาคม ๒๕๕๙ - นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ เลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมด้วยรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ สรนิต ศิลธรรม รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เข้าหารือ การด�ำเนินงานด้านการอุดมศึกษาร่วมกับพลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ และศาสตราจารย์คลินกิ นายแพทย์ อุดม คชินทร ประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) รองอธิการบดีจากมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. ๒๖ แห่ง และคณะ ณ ห้องประชุมส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา อนุสาร


เล่าเรื่อง

ด้วยภาพ

๑๒ มีนาคม ๒๕๕๙ - นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานพิธถี วายผ้าป่าการศึกษา โดยมีผู้บริหาร ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เข้าร่วม ณ โรงเรียนบ้านดอนมะกอก จังหวัดเพชรบุรี

๔ มี น าคม ๒๕๕๙ - นายขจร จิ ต สุ ขุ ม มงคล รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมเยี่ยมชม การจัดการเรียนการสอนด้านวิศวกรรมศาสตร์ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ซึ่งพลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ และผูบ้ ริหาร กระทรวงศึกษาธิการ เข้าเยี่ยมชม โดยมีศาสตราจารย์ธีรวุฒิ บุณยโสภณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ คุณพงษ์ศักดิ์ จักษุเวช ประธานหอการค้า เยอรมัน-ไทย พร้อมคณะผูบ้ ริหารให้การต้อนรับ ณ ห้องประชุม ราชพฤกษ์ อาคารนวมินทรราชินี

๔ มีนาคม ๒๕๕๙ - นางอรสา ภาววิมล ผู้ช่วยเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนาส�ำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจ�ำปี ๒๕๕๙ โดยมอบกระเช้าดอกไม้แสดงความยินดีให้แก่นายสุรพงษ์ จ�ำจด เลขาธิการส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ณ อาคารส�ำนักงาน กศน.

23



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.