อนุสารอุดมศึกษา issue 454

Page 1


สารบัญ

CONTENT ๓ เรื่องเล่าอุดมศึกษา

๑๒

- รมว.ศธ.มอบแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารราชการ ศธ ในภูมิภาคแก่สถาบันอุดมศึกษา - สกอ. รับมอบทุนการศึกษา บริษัท น�้ำมันปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด - สกอ. พัฒนาระบบฐานข้อมูล การติดตามและประเมินผล - สกอ. ส่งมอบงานวิจัยด้านยุทโธปกรณ์แก่ กองทัพบก - การประชุมโครงการความร่วมมือระหว่างหน่วยราชการ ไทย-สิงค์โปร์ ครั้งที่ ๑๒ - สกอ. ร่วมยกระดับความโปร่งใส จัดท�ำข้อตกลงคุณธรรม โครงข่ายสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง - การประชุม ASEM Intermediate Senior Officials Meeting (ISOM) on Education 2016

เหตุการณ์เล่าเรื่อง

- การเจรจาความร่วมมือ แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ ด้านการพัฒนาและวิจัยเพื่อขับเคลื่อนและยกระดับมหาวิทยาลัย วิจัยแห่งชาติ กับเครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยของออสเตรเลีย (The Group of Eight)

๒๑ เล่าเรื่องด้วยภาพ

๕ ๑๒ ๒๓

คณะผู้จัดท�ำ

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ http://www.mua.go.th pr_mua@mua.go.th www.facebook.com/ohecthailand www.twitter.com/ohec_th ที่ปรึกษา นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม นายขจร จิตสุขุมมงคล นางอรสา ภาววิมล นายวันนี นนท์ศิริ บรรณาธิการ นางสาวปิยาณี วิริยานนท์ กองบรรณาธิการ นายกฤษณ์กร วงศ์ไทย นางชุลีกร กิตติก้อง นายเจษฎา วณิชชากร นางปราณี ชื่นอารมณ์ นายจรัส เล็กเกาะทวด พิมพ์ท ี่ บริษัท เอกพิมพ์ไท จ�ำกัด โทรศัพท์ : ๐ ๒๘๘๘ ๘๑๕๒ , ๐ ๒๘๘๘ ๘๑๒๑ , ๐ ๒๘๘๘ ๘๔๘๖ โทรสาร : ๐ ๒๘๘๘ ๘๑๒๐


เรื่องเล่า

อุดมศึกษา

รมว.ศธ.มอบแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารราชการ ศธ ในภูมิภาคแก่สถาบันอุดมศึกษา ๘ เมษายน ๒๕๕๙ - พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมประชุมหารือ กับผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศและผู้บริหารส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา เกี่ยวกับ “การขับเคลื่อนการปฏิรูป การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค” ณ ห้องประชุม ศาสตราจารย์ประเสริฐ ณ นคร อาคารส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา โดยมี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ เลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา นายขจร จิตสุขุมมงคล รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา ผู้บริหารส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา อธิการบดีและผูแ้ ทนจากสถาบันอุดมศึกษาจากทัว่ ประเทศ เข้าร่วมประชุม นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษากล่ า วว่ า การจั ด ประชุ ม อธิ ก ารบดี ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ทั่ ว ประเทศ ในครั้ ง นี้ เพื่ อ ต้ อ งการให้ ข ้ อ มู ล ชี้ แ จงข้ อ เท็ จ จริ ง

และสร้ า งความเข้ า ใจอั น ดี ที่ ต รงกั น ให้ เ กิ ด ขึ้ น ในกลุ ่ ม ผู ้ บ ริ ห าร ระดับสูงของสถาบันอุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน เกี่ยวกับการที่ คณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ ( คสช.) ได้ มี ค� ำ สั่ ง ปรั บ โครงสร้ า ง เพื่อการบริหารราชการของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ทั้งนี้ เนื่ อ งจากองค์ ป ระกอบของคณะกรรมการศึ ก ษาธิ ก ารจั ง หวั ด (กศจ.) จะมี ผู ้ แ ทนจากส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เข้าร่วมเป็นกรรมการด้วย อีกทั้งสถาบันอุดมศึกษาจะต้องเข้าไปมี บทบาทในการจัดท�ำแผนการศึกษาเพื่อก�ำหนดแนวทางการพัฒนา การศึกษา ของจังหวัดที่สถาบันอุดมศึกษาตั้งอยู่ พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ขอให้สถาบัน อุดมศึกษาให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมกับแผนงานโครงการใน การปฏิรูปการศึกษาจ�ำนวน ๔ โครงการ คือ ๑) โครงการเครือข่าย อุดมศึกษาพี่เลี้ยง เพื่อจะช่วยพัฒนาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่ ตามความพร้อม ด้วยการสนับสนุนการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การพัฒนาทักษะต่างๆ ที่ส�ำคัญ การยกระดับการเรียนการ สอนภาษาอังกฤษ และร่วมขับเคลื่อนโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษา

3


๒) โครงการอุดมศึกษาเป็นเลิศ (Reprofile) โดยสถาบันอุดมศึกษา ต้องพิจารณาลักษณะเฉพาะของสถาบันว่าจะเป็นเลิศด้านใด ดูความ ต้องการในพื้นที่เพื่อเปิดสอนในสาขาที่เชี่ยวชาญและมีความเป็นเลิศ ในด้านนั้น และร่วมกันพัฒนางานวิจัยเพื่อให้ไทยเป็นศูนย์กลางด้าน การศึกษาของอาเซียน (Educational Hub) ๓) โครงการผลิตครูเพื่อ พัฒนาท้องถิน่ จะผลิตครูในสาขาทีข่ าดแคลนเพือ่ ทดแทนอัตราครูทจี่ ะ เกษียณตามภูมิล�ำเนาเดิม โดยได้รับทุนเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ในสังกัด สกอ. และบรรจุรับราชการครูในสถานศึกษาในสังกัด สพฐ. และ สอศ.ระยะเวลาด�ำเนินโครงการ ๑๐ ปี ซึง่ ผ่านการอนุมตั จิ ากคณะ รัฐมนตรีแล้ว จะเปิดรับสมัคร “ครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น” รุ่นแรกเร็วๆ นี้ เพื่อเริ่มหลักสูตรในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙ นี้ ๔) โครงการโรงเรียน ประชารัฐ ซึ่งเกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม โครงการโรงเรียนประชารัฐจะมีผู้แทนจากภาค เอกชนช่วยดูแล สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนจะร่วมมือได้ดว้ ย การสนับสนุนการพัฒนางานวิจัยและเทคโนโลยีควบคู่กับภาคเอกชน

4

อนุสาร


เรื่องเล่า

อุดมศึกษา สกอ. รับมอบทุนการศึกษา บริษัท น�้ำมันปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด ๑๙ เมษายน ๒๕๕๙ - นางสาวอาภรณ์ แก่ น วงศ์ เลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุดมศึกษา รับมอบทุนการศึกษา บริษัท น�้ำมัน ปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด จาก นายสัมพันธ์ ติงธนาธิกลุ รองกรรมการผูจ้ ดั การ จ�ำนวน ๘๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อน�ำไปจัดสรรเป็นทุนการศึกษาให้แก่ นิสติ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ทีข่ าดแคลนทุนทรัพย์ มีความประพฤติดี ในสาขาต่างๆ ณ บริษัท น�้ำมันปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด เลขาธิการ กกอ. กล่าวในตอนหนึง่ ว่า บริษทั น�ำ้ มันปิโตรเลียม ไทย จ�ำกัด ได้มอบเงินให้ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อ น�ำไปจัดสรรเป็นทุนการศึกษาให้แก่นิสิต นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในสถาบันอุดมศึกษา ทีข่ าดแคลนทุนทรัพย์ มีความประพฤติดี ในสาขา วิชาเกี่ยวกับการเกษตร วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพยาบาล การแพทย์แผนไทย และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริษัท น�้ำมันปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด (เคมี ปิโตรเคมี การตลาด อาชีวอนามัยและสิง่ แวดล้อม) เป็นระยะเวลาติดต่อกันมานานกว่า ๓๐ ปี

โดยจัดสรรเป็นทุนการศึกษาต่อเนือ่ งตัง้ แต่ชนั้ ปีที่ ๑ จนจบส�ำเร็จการศึกษา จ�ำนวน ๒๐ ทุน ทุนละ ๔๐,๐๐๐ บาท ต่อปีการศึกษา การมอบเงินทุนการศึกษา บริษัท น�้ำมันปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด นับได้วา่ เป็นประโยชน์อย่างยิง่ ในการสนับสนุนให้นสิ ติ นักศึกษา มีกำ� ลังใจ ในการศึกษาเล่าเรียนจนส�ำเร็จการศึกษา ซึ่งบริษัท น�้ำมันปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด ได้มีส่วนร่วมในการสนับสนุนการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา และส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ เพือ่ ให้นสิ ติ นักศึกษา ส�ำเร็จการศึกษา พร้อมที่จะเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ และเป็นก�ำลังส�ำคัญ ในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป เลขาธิการ กกอ. กล่าวในตอนสุดท้าย

5


สกอ. พัฒนาระบบฐานข้อมูล การติดตามและประเมินผล

๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดการประชุมสัมมนา “การใช้งานระบบฐานข้อมูลระบบการติดตาม และประเมินผลด้านงบประมาณและด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ อุดมศึกษา” เพื่อชี้แจงผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของสถาบันอุดมศึกษา ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การรายงานผลด้ า นงบประมาณ ด้ า นนโยบาย/ ยุทธศาสตร์ ได้ทราบแนวทาง วิธีการรายงานผล พร้อมทั้งขั้นตอน การใช้งานระบบฐานข้อมูลการติดตามและประเมินผลฯ ทีไ่ ด้ปรับปรุง ขึ้นใหม่ เพื่อให้ทุกฝ่ายได้ใช้เป็นช่องทางการติดต่อสื่อสาร กระจาย ข่าวสาร และรับส่งข้อมูล พร้อมกับการฝึกปฏิบัติควบคู่กันไป ซึ่งได้รับ เกียรติจากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธเี ปิดการประชุมพร้อม บรรยายพิเศษ เรื่อง “แนวทางการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติ งานและการใช้จ่ายงบประมาณอุดมศึกษา” ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ในฐานะหน่วยงานกลางที่รับผิดชอบการจัดการศึกษา ในระดับอุดมศึกษามีหน้าที่ในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล ตามนโยบาย แผนงานและงบประมาณ ซึง่ มีขอ้ มูลสารสนเทศทีถ่ กู ต้อง และเป็นปัจจุบันเพื่อใช้ในการรายงานผล ทั้งรายงานผลการใช้จ่ายงบ ประมาณ ผลการปฏิบตั งิ าน ผลการด�ำเนินงานตามนโยบายส�ำคัญต่างๆ ของรัฐบาลให้กับผู้บริหารประเทศ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ จึงจ�ำเป็นจะต้องมีกลไกที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุมและ ก�ำกับการรายงานผลการด�ำเนินงาน ทั้งในด้านงบประมาณ และ การด�ำเนินงานด้านนโยบายและยุทธศาสตร์อุดมศึกษาที่รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ ที่ถูกต้อง รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ และสามารถเชื่อถือได้มากยิ่งขึ้น ทัง้ การรายงานผลการใช้จา่ ยงบประมาณ และผลด�ำเนินงานทีเ่ ป็นภาระ งานปกติ และที่เป็นงานตามนโยบายเร่งด่วนต่างๆ ที่รัฐบาลก�ำหนด โดยเน้นการใช้ประโยชน์รว่ มกันจากฐานข้อมูล เพือ่ ใช้รายงานผลให้กบั ผูบ้ ริหารระดับสูง และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้ สกอ. ได้ทำ� การปรับปรุง ระบบฐานข้อมูลการติดตามและประเมินผลด้านงบประมาณอุดมศึกษา (สกอ. และสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) ซึ่งใช้มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๖ โดย การจัดจ้างสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

6

เป็นที่ปรึกษาด�ำเนินการปรับปรุงระบบการติดตามและประเมินผล ด้านนโยบายและงบประมาณอุดมศึกษา โดยเพิ่มฟังก์ชันการใช้งาน ทีค่ รอบคลุมทัง้ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และการรายงานผล ให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ และเพือ่ ให้สามารถวิเคราะห์และประเมิน ผลประสิทธิภาพการด�ำเนินงานในภาพรวม ทัง้ ในเชิงนโยบายควบคูก่ บั การใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรร “การทีจ่ ะได้รบั ข้อมูลสารสนเทศทีด่ นี นั้ ต้องอาศัยความร่วม มือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งทุกองค์กร ควรมีข้อมูลสารสนเทศที่ดี เพื่อประโยชน์ในด้านการปฏิบัติงานและ การจัดการในองค์กร และช่วยในการวางแผนและตัดสินใจได้อย่าง ถูกต้อง อันจะน�ำไปสู่การปฏิบัติงานที่บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ดังนัน้ สกอ. จึงได้จดั ประชุมนีข้ นึ้ เพือ่ ชีแ้ จงแนวทางให้ สถาบันอุดมศึกษาได้ทราบแนวทาง วิธกี ารรายงานผล พร้อมทัง้ ขัน้ ตอน การใช้งานระบบฐานข้อมูลการติดตามและประเมินผลฯ ที่ทาง สกอ. ได้พัฒนาขึ้น เพื่อให้การบริหารจัดการ การใช้ระบบฐานข้อมูลเกิด ประโยชน์สูงสุด และสถาบันอุดมศึกษามีความเข้าใจในแนวทาง เดียวกัน” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว อนุสาร


เรื่องเล่า

อุดมศึกษา

สกอ. ส่งมอบงานวิจัยด้านยุทโธปกรณ์แก่ กองทัพบก ๑๙ เมษายน ๒๕๕๙ - นายขจร จิตสุขมุ มงคล รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมพิธีส่งมอบผลงานโครงการวิจัย ทางด้านยุทโธปกรณ์เพื่อพัฒนาศักยภาพของกองทัพและการป้องกัน ประเทศ โดยมี พลเอก วลิต โรจนภักดี รองผู้บัญชาการทหารบก ให้เกียรติเป็นผู้รับมอบผลงานโครงการวิจัยฯ ณ ห้องประชุม ๒๒๑ กองบัญชาการกองทัพบก รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวในตอนหนึ่งว่า เนื่องจากรัฐบาล ได้มีนโยบายให้มีการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของกองทัพและ ระบบป้องกันประเทศให้ทันสมัยมีความพร้อม ในการรักษาอธิปไตย และผลประโยชน์ของชาติ ปลอดพ้นจากการ ถูกคุกคามทุกรูปแบบ ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ก ารป้ อ งกั น ประเทศ ตลอดจนการวิจัยและพัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อน�ำไปสู่ การพึ่งพาตนเองในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ สามารถบูรณาการ ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งภาครั ฐ กั บ เอกชนในอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศได้ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและกองทัพบก ได้ตระหนักถึงประเด็นความมั่นคงและการป้องกันประเทศว่าเป็น ปัญหาที่มีความส�ำคัญและซับซ้อน กองทัพต้องพึ่งพาการน�ำเข้า เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการป้องกันประเทศจากต่างประเทศ

ซึ่งต้องใช้งบประมาณในการจัดหาและซ่อมบ�ำรุงค่อนข้างสูง รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อไปว่า อย่างไรก็ตามได้มี ความพยายามโดยสถาบันอุดมศึกษาที่จะพัฒนางานวิจัยที่จะพัฒนา ศั ก ยภาพด้ า นเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมเพื่ อ การป้ อ งกั น ประเทศ เพื่ อ ทดแทนและลดการพึ่ ง พาเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมจากต่ า ง ประเทศ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและกองทัพบก จึ ง ได้ จั ด ท� ำ บั น ทึ ก ความเข้ า ใจว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ด้ า นการวิ จั ย และพั ฒ นา ระหว่ า งส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษากั บ กองทัพบก เมือ่ วันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ โดยมีขอบเขตความร่วมมือ ได้แก่ ๑) ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนานักวิจัยด้านยุทโธปกรณ์ ในสถาบันอุดมศึกษาภายใต้โครงการที่ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี และวงเงิ น งบประมาณที่ ไ ด้ รั บ การจั ด สรรจากส� ำ นั ก งบประมาณ ๒) กองทัพบกก�ำหนดความต้องการในการวิจยั และพัฒนายุทโธปกรณ์ ให้กับสถาบันอุดมศึกษา และ ๓) ส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาและกองทัพบกร่วมกันพิจารณาและประเมินข้อเสนอ โครงการวิจัยและพัฒนายุทโธปกรณ์ที่สถาบันอุดมศึกษาเสนอขอรับ การสนับสนุนงบประมาณ

7


อนึ่ง ผลงานโครงการวิจัยทางด้านยุทโธปกรณ์เพื่อพัฒนา ศักยภาพของกองทัพและการป้องกันประเทศ จ�ำนวน ๑๔ โครงการ ได้แก่ ๑. การพัฒนาเกราะแข็งกันกระสุนพอลิเมอร์สิทสมรรถนะ สูงจากเมตริกประเภทพอลิเบนซอกซาซีนเสริมแรงด้วยใยชนิดต่างๆ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒. รถตรวจจับวัตถุระเบิดและระบบตัดสัญญาณจุดชนวน ระเบิด : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๓. การพัฒนาการออกแบบและผลิตชุดแหวนยางกันซึมทีใ่ ช้ ในปืนใหญ่หนักกระสุนวิถีราบ แบบ ๓๔ FH N-๔๕ A๑ ขนาด ๑๕ มม. : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๔. การเพิ่มสมรรถนะของระบบสื่อสารแบบควบรวมด้วย เทคโนโลยีระบุพกิ ดั จากดาวเทียมหลายระบบเพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั ิ ภารกิจทางทหาร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๕. การพัฒนากระสุนส่องวิถีจากปลอกกระสุนเหลือใช้ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๖. ชุดจ�ำลองเครือ่ งมือตรวจสอบสารพิษสนาม : มหาวิทยาลัย ราชภัฎสวนสุนันทา

8

๗. พลุกับดักหมึกสี : มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ๘. ฐานข้อมูลภูมิประเทศเพื่อสถานการณ์ฝึก กรมรบพิเศษ ที่ ๕ : มหาวิทยาลัยศิลปากร ๙. การป้องกันการสูญเสียธาตุผสมของใบจักรแมงกานีส อะลูมิเนียมบรอนซ์ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ๑๐. การปรับปรุงสมบัติความต้านทานการสึกหรอของ สเตเตอร์ทใี่ ช้ในระบบขับเคลือ่ นเครือ่ งพ่นน�ำ้ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ๑๑. แหล่งจ่ายก�ำลังชนิดเคลื่อนย้ายได้ส�ำหรับใช้ในงาน ทางการทหาร : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ๑๒. การพัฒนาระบบสั่งการป้อมปืนระยะไกลด้วยท่าทาง การเคลือ่ นไหวของสัญญาณมือ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ๑๓. คอนกรีตประสิทธิภาพสูงส�ำหรับก�ำแพงป้องกันกระสุน และกัมมันตรังสี : มหาวิทยาลัยนเรศวร ๑๔. เครือข่ายเซนเซอร์ไร้สายเพื่อตรวจจับการบุกรุกพื้นที่ ระวังป้องกัน : มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี

อนุสาร


เรื่องเล่า

อุดมศึกษา การประชุมโครงการความร่วมมือระหว่างหน่วยราชการไทย-สิงค์โปร์ ครั้งที่ ๑๒ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๘ - นางอรสา ภาววิมล ผู้ช่วยเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เข้าร่วมการประชุมโครงการความร่วม มือระหว่างหน่วยราชการไทย-สิงค์โปร์ (Civil Service Exchange Programme - CSEP) ครั้งที่ ๑๒ ณ โรงแรมแชงกรีลา กรุงเทพฯ โดยมีนายดอน ปรมัตถ์วนิ ยั รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ และ H.E.Dr.Vivian Balakrishnan รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศสิงคโปร์ เป็นประธานพิธีเปิดการประชุม และนายอภิชาติ ชิ นวรรโณ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และ H.E. Mr. Chee Wee Kiong ปลัดกระทรวงการต่างประเทศสิงคโปร์ เป็นประธานในการ ประชุม ผู้ช่วยเลขาธิการ กกอ. เปิดเผยว่า การประชุมครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพือ่ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานราชการไทยสิงคโปร์ เพือ่ ส่งเสริมความเชือ่ มโยงของประชาคมอาเซียน และเป็นเวที แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น ประสบการณ์และแนวปฏิบัติที่ดีระหว่างกันใน ๑๓ สาขาความร่วมมือ ได้แก่ ๑) ความร่วมมือระหว่างข้าราชการ ๒) การศึกษา ๓) สิ่งแวดล้อม ๔) สาธารณสุข ๕) เทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสือ่ สาร ๖) ยุตธิ รรมและศาล ๗) แรงงาน ๘) สือ่ มวลชน ศิลปะ และวัฒนธรรม ๙) ความร่วมมือระหว่างกระทรวงการต่างประเทศ ๑๐) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๑) สวัสดิการสังคม เยาวชนและ กีฬา ๑๒) วิชาการ และ ๑๓) การขนส่ง ในส่วนของความร่วมมือด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมอย่างไม่ เป็นทางการ (Retreat) ครั้งที่ ๔ ระหว่างผู้บริหารส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษาและกรมอุดมศึกษา กระทรวงการศึกษา สิงคโปร์ ในปี พ.ศ.๒๕๖๐ และฝ่ายไทยได้เสนอโครงการ SingaporeThailand Work Placement Programme ซึ่งเป็นโครงการแลก เปลีย่ นนักศึกษาฝึกงานระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและสถานประกอบ การของทั้งสองฝ่าย และได้เชิญมหาวิทยาลัยของสิงคโปร์เข้าร่วม โครงการ ASEAN International Mobility for Students (AIMS) Programme ซึ่งเป็นโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างประเทศ สมาชิกอาเซียน ทั้งนี้ ฝ่ายไทยจะส่งโครงการดังกล่าวไปยังกระทรวง การศึกษาสิงคโปร์ต่อไป ผู้ช่วยเลขาธิการ กกอ. กล่าวในตอนสุดท้าย

9


สกอ. ร่วมยกระดับความโปร่งใส จัดท�ำข้อตกลงคุณธรรม โครงข่ายสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง

๔ เมษายน ๒๕๕๙ - นางอรสา ภาววิมล ผู้ช่วยเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยภายหลังการลงนามบันทึก ข้อตกลงคุณธรรมระหว่างส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา บริษัท เอสวีโอเอ จ�ำกัด (มหาชน) ผู้รับจ้าง และผู้สังเกตการณ์ที่ได้รับ แต่งตัง้ จากองค์กรต่อต้านคอร์รปั ชัน่ (ประเทศไทย) โครงการจ้างเหมา บริการบ�ำรุงรักษาซ่อมแซมแก้ไขและปรับเปลี่ยนโครงข่ายสายเคเบิล ใยแก้วน�ำแสง ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ว่า คณะกรรมการ ความร่วมมือป้องกันการทุจริต กรมบัญชีกลาง ได้พิจารณาคัดเลือก โครงการจ้างเหมาบริการบ�ำรุงรักษาซ่อมแซมแก้ไขและปรับเปลี่ยน โครงข่ายสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง ของส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ให้เข้าร่วมโครงการความร่วมมือป้องกันการทุจริตใน การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โดยการน�ำข้อตกลงคุณธรรมมาใช้ในการ จัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ และยกระดับความโปร่งใสของโครงการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ สร้างความเชื่อมั่นให้กับภาคเอกชนที่จะเข้าร่วมเสนอราคาโครงการ ของรั ฐ เกิ ด การแข่ ง ขั น อย่ า งเป็ น ธรรม ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต ่ อ ประเทศอย่างแท้จริงนั้น ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ สกอ. ได้ ด�ำเนินการประกวดราคาจ้างเหมาด้วยวิธปี ระกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) โดยมีบริษัท เอสวีโอเอ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้ชนะ การประกวดราคา ให้บริการบ�ำรุงรักษาซ่อมแซมแก้ไขและปรับเปลีย่ น โครงข่ายสายเคเบิลใยแก้วน�ำ แสง เพื่อบ�ำรุงรักษาโครงข่า ยสาย เคเบิลใยแก้วน�ำแสง เครือข่ายแกนหลัก เครือข่ายระดับกระจาย เครือข่ายปลายทาง โหนด/ศูนย์ทั่วประเทศ ให้สามารถใช้งานได้

10

อย่างมีเสถียรภาพในการให้บริการแก่สถาบันการศึกษาที่เชื่อมต่อ อยู่บนเครือข่าย จ�ำนวน ๑๐,๗๙๗ แห่ง ทั่วประเทศ เพื่อประโยชน์ ด้านการศึกษา วิจัยร่วมกัน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ช่วยเลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อไปว่า กลไกส�ำคัญของ ข้อตกลงคุณธรรม เน้น ๔ เรื่อง คือ (๑) การสร้างความโปร่งใส ในการด�ำเนินโครงการด้วยการเปิดเผยข้อมูล (๒) การปฏิบัติอย่าง เท่าเทียมกัน (๓) สร้างการมีส่วนร่วมคิดร่วมตรวจสอบของประชาชน ผ่ า นคณะผู ้ สั ง เกตการณ์ ซึ่ ง จะคั ด เลื อ กจากผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรับในเรื่องความสามารถ ความรับผิดชอบ และความซื่อสัตย์ โดยผู้สังเกตการณ์ของโครงการนี้ มี ๔ คน คือ นายสุเมธ อักษรกิติ์ นายธาดา เศวตศิลา นายยิ่งศักดิ์ ศรีสุขสวัสดิ์ และนายชวลิต ทิสยากร และ (๔) การมี เ จตนารมย์ ร ่ ว มกั น ของทุ ก ฝ่ า ยที่ จ ะปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โดยซื่อสัตย์สุจริตและโปร่งใส ซึ่งหลังจากนี้ สกอ. จะเปิดเผยข้อมูล สัญญา การแก้ไขสัญญา การส่งมอบงาน การตรวจรับงาน การจ่ายเงิน ข้อร้องเรียนและผลการพิจารณาข้อร้องเรียน ของโครงการจ้างเหมา ดังกล่าว เผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์หน่วยงานและเว็บไซต์ e-GP เพื่อ เปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปสามารถมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐได้ “สกอ. มี ค วามยิ น ดี ที่ จ ะด� ำ เนิ น การจั ด ท� ำ สั ญ ญาจั ด ซื้ อ จัดจ้างของทุกโครงการ ภายใต้กระบวนการที่ก�ำหนดตามกฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ ตลอดจน ความร่วมมือป้องกันและต่อต้านทุจริตในการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ เพือ่ ให้เกิดการใช้เงินงบประมาณอย่างคุ้มค่า และปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ด้วยความโปร่งใส และเป็นธรรมยิ่งขึ้น” ผู้ช่วยเลขาธิการ กกอ. กล่าว

อนุสาร


เรื่องเล่า

อุดมศึกษา การประชุม ASEM Intermediate Senior Officials Meeting (ISOM)

on Education 2016

๑๓-๑๔ เมษายน ๒๕๕๙ - นางอรสา ภาววิ ม ล ผูช้ ว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา น�ำคณะผูแ้ ทนส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาเข้าร่วมประชุม ASEM Intermediate Senior Officials Meeting (ISOM) on Education 2016 ณ กรุงมอสโก สหพันธรัฐรัสเซีย ซึง่ เป็นผลจากการประชุม 5th ASEM Education Ministers’ Meeting (ASEMME5) เมื่อปี ๒๕๕๘ ณ กรุงรีกา สาธารณรัฐลัตเวีย เพื่อรับทราบรายงานความก้าวหน้า ในการด�ำเนินกิจกรรมและโครงการภายใต้ ASEM Education Process ของประเทศสมาชิกและหารือแนวทางในการปรับปรุงกลไกการท�ำงาน ของ ASEM Education Process ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และ เพื่อเตรียมการน�ำเสนอข้อริเริ่มและโครงการใหม่ต่อที่ประชุมระดับ รัฐมนตรี (ASEMME) ครั้งที่ ๖ ในปี ๒๕๖๐ ซึ่งประเทศเกาหลีใต้ จะเป็นเจ้าภาพ ส�ำหรับโครงการ/กิจกรรมด้านการศึกษาในกรอบอาเซม ที่ประเทศไทยเข้าร่วมในปัจจุบัน ได้แก่ ๑) Expert Working Group on Interregional Credit Transfer Mechanisms and Learning Outcome Systems ประเทศจีนได้จัดการประชุม Expert Working Group ขึ้น โดยมีผู้แทนสมาชิกอาเซมเข้าร่วมการประชุม ได้แก่ บรูไนดา รุสซาลาม จีน เอสโตเนีย เยอรมนี ลัตเวีย ลิทัวเนีย มาเลเซีย ไทย สหราชอาณาจักร และผู้แทนจากส�ำนักงานเลขานุการเครือข่าย มหาวิทยาลัยอาเซียน ได้มกี ารจัดตัง้ กลุม่ ผูเ้ ชีย่ วชาญอย่างเป็นทางการ ให้ความเห็นชอบกรอบการท�ำงานของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Terms of Reference) และแต่งตั้งให้ China Academic Degrees and Graduate Development Center (CDGDC) เป็นฝ่ายเลขานุการ โดยก� ำ หนดแผนการด�ำเนิน งานต่อไปคือ ๑) การท�ำวิจั ย ร่ ว มกั น ในหัวข้อ Interregional Credit Transfer Mechanisms and Learning Outcome Systems ๒) การจัดสัมมนานานาชาติในหัวข้อดังกล่าว ในปลายปี ๒๕๕๙ ณ ประเทศจีน ๓) การศึกษาความเป็นไปได้ ในการจัดตั้ง “ASEM Study/Courses Portal” เพื่อส่งเสริมการ แลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างภูมิภาค ทั้งนี้ เบลเยียมรับเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุม Expert Working Group ครั้งที่ ๒ ในปี พ.ศ.๒๕๖๐ ๒) โครงการ ASEM Work Placement Programme (ASEM WPP) (3-year pilot project) โครงการนี้เป็นข้อริเริ่มจากที่ประชุม ASEMME4 เมื่อปี ๒๕๕๖ ณ ประเทศมาเลเซีย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งหวังให้เป็น

จุดเริ่มต้นส�ำคัญที่จะน�ำไปสู่การก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินโครงการ แลกเปลี่ ย นนั ก ศึ ก ษาฝึ ก งานรวมทั้ ง สร้ า งเสริ ม ประสบการณ์ แ ละ ความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างภูมิภาคเอเชีย และยุโรป ที่ประชุมได้เห็นชอบร่วมกันในการด�ำเนินโครงการน�ำร่อง อย่างเป็นรูปธรรมภายในปี ๒๕๕๘-๒๕๕๙ โดยตกลงที่จะให้มีการ แลกเปลี่ยนนักศึกษาฝึกงานเป็นเวลา ๒-๖ เดือน แต่ละประเทศ ที่เข้าร่วมโครงการจะส่งนักศึกษาระดับปริญญาตรี-โท ไม่จ�ำกัดสาขา วิชาจ�ำนวน ๕-๑๐ คน ไปแลกเปลี่ยนในประเทศที่เข้าร่วมโครงการ น�ำร่องระหว่างภูมิภาคและจะจัดท�ำเอกสารข้อตกลงการแลกเปลี่ยน การฝึกงานของนักศึกษาเพือ่ ให้ประเทศทีเ่ ข้าร่วมโครงการใช้เป็นหลัก การด�ำเนินงานในแนวทางเดียวกัน ๓) โครงการ ASEM-DUO Fellowship Programme ประเทศไทยด�ำเนินโครงการทุนการศึกษาภายใต้ ASEMDUO Fellowship Programme (DUO-Thailand) ในฐานะประเทศ ผู้สนับสนุน (Contributing Partner) ตั้งแต่ปี ๒๕๔๙ เพื่อส่งเสริม การถ่ายโอนหน่วยกิต ของนักศึกษาระหว่างสถาบันอุดมศึกษาไทย กับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปและผลักดัน ให้ เ กิ ด การรั บ รองคุ ณ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาไทย ในระดับนานาชาติ โดยการแลกเปลีย่ นจะด�ำเนินการในลักษณะเป็นคู่ เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนอย่างสมดุลระหว่างประเทศในเอเชียและ ยุโรป ที่ผ่านมา ผู้ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการทั้งหมด รวมจ�ำนวน ๓๑๐ คน (๑๕๕ คู่) ประเทศที่เข้าร่วมโครงการมากที่สุด คือ ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และเยอรมนี ตามล�ำดับ

11


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

การเจรจาความร่วมมือ แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ ด้านการพัฒนาและวิจัยเพื่อขับเคลื่อนและยกระดับมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ กับเครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยของออสเตรเลีย (The Group of Eight) ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้จดั โครงการเจรจาความร่วมมือและแลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละประสบการณ์ ด้านการพัฒนาและวิจัย เพื่อขับเคลื่อนและยกระดับมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งประเทศไทย ระหว่างส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาร่วมกับ เครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจยั ของออสเตรเลีย (The Group of Eight) ณ ประเทศออสเตรเลีย ในระหว่าง วันที่ ๑๙-๒๕ มีนาคม ๒๕๕๙ ขึ้น โดยคณะเดินทางประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิในคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการส่งเสริม และพัฒนางานวิจัย ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผู้บริหารมหาวิทยาลัยกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และ ผู้แทนกรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้ โดยการเดินทางในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) เพื่อเจรจาความร่วมมือและแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับ การพัฒนาและวิจัยร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติออสเตรเลีย (The Group of Eight) ๒) เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการรวมกลุ่มของมหาวิทยาลัยที่เน้นด้านการบริหารมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติของออสเตรเลีย และ ๓) เพื่อขับเคลื่อนและยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งประเทศไทย

12

อนุสาร


เหตุการณ์

เล่าเรื่อง

ผลการเดินทางในครั้งนี้สรุปได้ดังนี้ ๑. ระบบการวิจัยของออสเตรเลีย มีหลายส่วนที่มีลักษณะ คล้ายกับระบบการวิจัยของไทย แต่มีความแตกต่างในเรื่องของ ขอบเขตและระดับการวิจัย ดังจะเห็นได้ว่าออสเตรเลียได้รับการ สนับสนุนงบประมาณจ�ำนวนมาก ทัง้ จากการอุดหนุนของรัฐบาล และ เงินรายได้จากภาคอุตสาหกรรม ขณะที่ประเด็นการวิจัย ออสเตรเลีย และไทยมีจดุ เน้นคล้ายกัน คือเน้นการวิจยั ทางด้านอาหาร สิง่ แวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งประเด็นเหล่านี้จะเป็นประเด็นในการสร้าง ความร่วมมือระหว่างกันในอนาคตต่อไป ๒. คุณภาพของนักวิจัยไทยกับออสเตรเลียอาจไม่แตกต่าง กั น มากนั ก ดั ง ตั ว อย่ า งการเชื่ อ มโยงกั บ ภาคอุ ต สาหกรรมที่ ยั ง ไม่ เ ข้ ม แข็ ง มากนั ก แต่ ห น่ ว ยงานของออสเตรเลี ย มี ก ารปรั บ ตั ว โดยตัง้ หน่วยงานมาเชือ่ มกับภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ รวมถึงมีการ แบ่งกลุ่มมหาวิทยาลัยและปฏิบัติกลุ่มมหาวิทยาลัยต่างๆแต่ละกลุ่ม ตามสภาพความคาดหวังจากสังคม ๓. ออสเตรเลี ย มี ก ารท� ำ งานวิ จั ย ในลั ก ษณะเครื อ ข่ า ย โดยเป็นการท�ำงานวิจัยร่วมกันในระดับองค์การ หรือสถาบัน มีระบบ การบริหารจัดการงานวิจัยดีกว่าของไทย ไม่ก่อให้เกิดความซ�้ำซ้อน ซึ่งในการปฏิรูประบบการวิจัย ควรเน้นไปในเรื่องของร่วมมือในมิติ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมากขึ้นด้วย เช่นในด้านการเรียนการสอน เป็นต้น นอกจากนี้ ควรสร้างความเข้าใจให้ชัดในเรื่องบทบาทมหาวิทยาลัย ในการท�ำงานวิจยั ว่ามหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานวิจยั ต่างๆ มีขอบเขต ในการวิจัยในระดับใด ซึ่งมหาวิทยาลัยไม่ควรถูกคาดหวังให้ท�ำงาน ทั้งระดับต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำ เพียงหน่วยงานเดียวควรมี หน่วยงานอืน่ ๆ รวมถึงหน่วยงานภาคเอกชน มารับช่วงต่อเพือ่ ผลักดัน งานวิจัยไปใช้ประโยชน์มากยิ่งขึ้น

๔. การรวมกลุ่มของมหาวิทยาลัยออสเตรเลีย (Group of Eight Australia) เป็นตัวอย่างที่น่าสนใจ ซึ่งกลุ่มมหาวิทยาลัย ดังกล่าว มีการจัดตั้งส�ำนักงานเพื่อด�ำเนินการทางด้านธุรการของ กลุ่มมหาวิทยาลัยโดยเฉพาะด้วย ไม่ได้รวมตัวเฉพาะเพื่อท�ำการวิจัย เพียงอย่างเดียว แต่ยังมีบทบาทในการถ่ายทอดและผลักดันการใช้ ประโยชน์จากงานวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศด้วย ซึ่งการรวมกลุ่มของ มหาวิทยาลัยในลักษณะนี้ จะส่งผลดีต่อการวิจัยของมหาวิทยาลัย เป็นการเพิม่ อ�ำนาจในการต่อรองในการบริหารจัดการทุนวิจยั เกิดการ แลกเปลี่ ย นทรั พ ยากรซึ่ ง กั น และกั น ซึ่ ง การด� ำ เนิ น การของกลุ ่ ม มหาวิทยาลัยวิจัย (NRU) หรือกลุ่มเครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจัย (RUN) ควรน�ำรูปแบบการด�ำเนินการของ Group of Eight Australia มาปรับใช้ ๕. รัฐบาลควรมีการลงทุนทางด้านโครงสร้างพืน้ ฐานส�ำหรับ การวิจัย ควรมีสถาบันวิทยาศาสตร์พื้นฐาน และมีหน่วยงานในการ เชื่อมโยงการท�ำงานวิจัยระหว่างหน่วยงานวิจัยต่างๆ ของประเทศ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรทีค่ มุ้ ค่ามากขึ้น รวมถึงการให้ความส�ำคัญ ในการพัฒนานักวิจยั โดยเฉพาะนักวิจยั รุน่ ใหม่ ซึง่ เป็นผูท้ แี่ ปลงความรู้ พื้นฐานหรือความคิด (ideas) ไปสู่การผลิตเพื่อแก้ไขปัญหาและ พัฒนาภาคอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน ของประเทศ

13


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

Department of education and training (Australia) Department of education and training (Australia) ได้ก�ำหนดความหมายของการวิจัยว่า “การวิจัยเป็นกระบวนการ ในการสร้างความรู้ใหม่ และ/หรือใช้ความรู้ที่มีอยู่ด้วยวิธีการใหม่ และสร้างสรรค์เพื่อน�ำไปสู่แนวคิด ระเบียบวิธีการ และความเข้าใจ ใหม่ โดยจ�ำแนกเป็น ๔ ลักษณะ” ได้แก่ ๑) pure basic research ๒) strategic basic research ๓) applied research และ ๔) experimental development ส�ำหรับระบบการวิจยั ในระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยจะ ท�ำวิจัยพื้นฐานมากที่สุด แต่ทั้งนี้ นับตั้งแต่ปี ค.ศ.๑๙๖๒ เป็นต้นมา รัฐบาลออสเตรเลียมีนโยบายการสนับสนุนการวิจยั ประยุกต์เพิม่ ขึน้ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยรั ฐ บาลออสเตรเลี ย ได้ ส นั บ สนุ น หน่ ว ยวิ จั ย ขนาดใหญ่ หน่วยวิจัยที่มีเป้าหมายเฉพาะ รวมถึงหน่วยวิจัยที่ไม่ใช่ ของรัฐแต่มีการวิจัยเฉพาะทาง เช่น การวิจัยทางด้านการแพทย์ เป็ นอย่ างมาก ทั้ ง นี้ ภาคอุต สาหกรรมของออสเตรเลีย ก็ ไ ด้ ใ ห้ ความส�ำคัญในการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาเป็นอย่างมาก เช่นกัน ในปี ค.ศ. ๒๐๑๕-๒๐๑๖ รัฐบาลออสเตรเลีย ได้จัดสรรงบ ประมาณ จ�ำนวน ๗๙๐ ล้านเหรียญออสเตรเลียผ่าน The Australian Research Council และจ�ำนวน ๘๔๖ ล้านเหรียญออสเตรเลีย

14

ผ่าน The National Health and Medical Research Council เพื่อสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา โดยงบประมาณร้อยละ ๓๕.๘ ของ งบประมาณวิจยั รัฐ ได้จดั สรรไปยังภาคอุดมศึกษา ขณะทีง่ บประมาณ ร้อยละ ๓๒.๕ ของงบประมาณวิจัยรัฐ ได้จัดสรรไปยังภาคธุรกิจ ส�ำหรับภาพรวมด้านเนื้อหาการวิจัยของออสเตรเลีย จะเน้นการวิจัย ที่มีเนื้อหาในด้านวิทยาศาสตร์และภาคอุตสาหกรรม (ร้อยละ ๕๐) รองลงมาเป็นด้านการศึกษาและการอบรม (ร้อยละ ๓๐) ด้านสุขภาพ (ร้อยละ ๑๐) และด้านอื่นๆ (ร้อยละ ๑๐) โดยในปี ค.ศ. ๒๐๑๕๒๐๑๖ รัฐบาลออสเตรเลียได้จัดสรรงบประมาณวิจัยในลักษณะ block grant ให้มหาวิทยาลัย ประมาณ ๑.๘๑ พันล้านเหรียญ ออสเตรเลี ย โดยเน้ น การวิ จั ย ทางด้ า นเทคโนโลยี วิ ท ยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์กายภาพ ศาสตร์เกี่ยวกับโลก เคมี และ คณิตศาสตร์ ทั้งนี้ ในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ มีนักศึกษาไทยที่ศึกษาอยู่ใน ออสเตรเลีย ประมาณ ๒๔๑,๐๐๐ คน โดยรัฐบาลออสเตรเลียได้ให้ทนุ ผูท้ สี่ นใจทีจ่ ะท�ำงานวิจยั ในไทยหรือร่วมมือกับนักวิจยั ไทย เป็นจ�ำนวน เงินประมาณ ๒.๗ ล้านเหรียญออสเตรเลีย โดยสภาวิจัยออสเตรเลีย (National health and medical research council : CSIRO) ได้มคี วามสัมพันธ์ตอ่ เนือ่ งและร่วมมือกับเครือข่ายวิจยั ในประเทศไทย อย่างต่อเนื่องอีกด้วย อนุสาร


เหตุการณ์

เล่าเรื่อง

โดยประเด็นความร่วมมือระหว่างส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และ Department of education and training (Australia) ด้านการวิจัยในอนาคต ที่ประชุมมีความเห็นว่า ควรมี การขยายความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลออสเตรเลีย รวมถึงความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย ในด้านเกษตรกรรมและ การผลิตอาหาร ด้านพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ด้านการแพทย์และสุขภาพ ด้านวัสดุศาสตร์ ด้านนาโนเทคโนโลยี ด้านวิศวกรรมศาสตร์ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ Universities Australia เป็นหน่วยประสานงานของมหาวิทยาลัย จ�ำนวน ๓๙ แห่ง (แบ่งเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ จ�ำนวน ๓๗ แห่ง และมหาวิทยาลัย เอกชน จ�ำนวน ๒ แห่ง) ท�ำหน้าที่เป็นหน่วยประสานงานกับหน่วย งานของรัฐและภาคอุตสาหกรรม (ตามนโยบายรัฐบาล) มีที่ประชุม อธิการบดี ท�ำหน้าที่ให้ความเห็นเกี่ยวกับความต้องการด้านการวิจัย รวมถึงการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก ส่งเสริมการยกระดับ คุณภาพ ของมหาวิทยาลัย (โดยร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการ และการฝึกอบรม) และถ่ายทอดนโยบายและความเห็นของรัฐบาล ให้มหาวิทยาลัย

ส�ำหรับด้านการบริหารองค์กร Universities Australia เป็นหน่วยงานอิสระทีไ่ ด้รบั งบประมาณในการสนับสนุนการด�ำเนินงาน จากสมาชิก มีบุคลากรประจ�ำหน่วยงาน จ�ำนวน ๒๒ คน ท�ำหน้าที่ คล้ายกับทีป่ ระชุมอธิการบดีของไทย แต่มบี ทบาทมากกว่า โดยรัฐบาล สามารถพึง่ พาได้ในฐานะทีเ่ ป็นหน่วยงานทีร่ วบรวมความเห็นร่วมของ มหาวิทยาลัยภายใต้ระบบเดียวกัน ต่างจากของไทยที่มีมหาวิทยาลัย หลายกลุ่มหลายรูปแบบ ด้านภารกิจของหน่วยงาน Universities Australia มีภารกิจ ในการท�ำงานร่วมกับหน่วยงานด้านนโยบายของประเทศ มีบทบาท ส�ำคัญในการน�ำเสนอนโยบาย เช่น นโยบายการรับนักศึกษาต่างชาติ ซึง่ นับว่าเป็นแหล่งรายได้ของประเทศ นโยบายการจ้างงานในประเทศ นโยบายการสนับสนุนการสร้างความสัมพันธ์กับหน่วยงานทั้งภายใน และภายนอกประเทศ เป็นต้น นอกจากนี้มีหน้าที่ในการให้ข้อมูล การส่งเสริมสนับสนุน งานวิจัยเน้นเชิงนโยบาย เช่น ก�ำหนดให้มีการ ประชุมรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยปีละสองครั้ง หรือจากความเห็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องของที่ประชุมอธิการบดี รวมถึงสนับสนุนให้มีข้อตกลง ในการท�ำงานวิจัยระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น

15


เหตุการณ์เล่าเรื่อง Group of Eight Australia เป็นองค์กรที่ประกอบด้วยมหาวิทยาลัย จ�ำนวน ๘ แห่ง ประกอบด้วย ๑) The University of Melbourne ๒) The Australian National University ๓) The University of Sydney ๔) Queensland University of Technology ๕) The University of Western Australia ๖) The University of Adelaide ๗) Monash University และ ๘) The University of New South Wales โดยมหาวิทยาลัย จ�ำนวน ๗ แห่ง จาก ๘ แห่ง ติดอันดับ อยูใ่ นกลุม่ ๑๐๐ มหาวิทยาลัยชัน้ น�ำของโลก และเป็นกลุม่ มหาวิทยาลัย ที่มีความเข้มแข็งด้านการวิจัย และมีชื่อเสียงระดับโลก ตัวอย่างเช่น The Australian National University (ANU) ติดอันดับที่ ๑๙ ของการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดย QS Group of Eight Australia ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ.๑๙๙๙ มีพนักงาน จ�ำนวน ๑๙ คน มีคณะกรรมการประกอบด้วย อธิการบดี และ มีคณะกรรมการย่อย จ�ำนวน ๔ ชุด คือ คณะกรรมการด้านวิจัย คณะ กรรมการด้านระหว่างประเทศ คณะกรรมการด้านวิชาการ และคณะ กรรมการคณบดีแพทยศาสตร์ ใช้งบประมาณ จ�ำนวน ๓ ล้านเหรียญ ออสเตรเลียในการด�ำเนินการ โดยมีกลุม่ นักวิจยั ประมาณ ๒๓,๐๐๐ คน ได้ รั บ งบประมาณด้ า นการวิ จั ย รวมกว่ า ร้ อ ยละ ๗๑ จากรั ฐ บาล

16

มี ๙๙ ผลงานวิจัยที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นงานวิจัยในระดับโลก และได้รับทุนสนับสนุนจากภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ ผลงานวิจัยที่ได้เกิดผลตอบแทนที่มีความคุ้มค่าต่อการ ลงทุน ส�ำหรับหน้าที่ของ Group of Eight Australia ท�ำหน้าที่ ในการให้ข้อมูล และผลักดันวาระนโยบายชาติเพื่อตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลงบริบทของนโยบาย รวมถึงการสร้างและพัฒนารุ่นใหม่ ให้เป็นผู้น�ำวิชาชีพ และผู้ริเริ่มนวัตกรรม โดยมีเป้าหมายในการให้ มหาวิทยาลัยทัง้ ๘ แห่ง เป็นมหาวิทยาลัยทีม่ ชี อื่ เสียง มีบทบาทส�ำคัญ และน่าเชือ่ ถือจากมุมมองของสือ่ มวลชนและผูก้ ำ� หนดนโยบาย รวมทัง้ สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือจากภาคอุตสาหกรรมในด้านวิจยั และร่วม มือกับผูม้ สี ว่ นได้เสียทัง้ ในและนอกประเทศเพือ่ ยกระดับความสามารถ ของมหาวิทยาลัยสมาชิก โดยมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งอาจท�ำงาน โครงการแยกหรือท�ำงานร่วมกันตามความถนัด นอกจากนี้ ยังท�ำหน้าทีเ่ ป็นหน่วยประสานด้านการวิจยั และ กิจกรรมอื่นๆ เช่น ช่วยให้บัณฑิตได้งานท�ำ โดยร่วมมือกับหอการค้า และภาคอุตสาหกรรมในออสเตรเลียท�ำโครงการ Work-Integrated Learning โครงการ Community Engagement Program โครงการ จัดอบรมต่างๆ ร่วมมือกับ China ๙ Research Universities โดยจัด ให้มีการประชุมโครงการปริญญาเอก ความร่วมมือส่งเสริมภาวะผู้น�ำ นักศึกษา โดยเชิญผูแ้ ทนร่วมในการประชุมของแต่ละฝ่ายอย่างต่อเนือ่ ง The Australian National University (ANU) School of Asia Pacific Affairs - College of Asia and the Pacific คณะวิชานี้ มีชมรมไทยศึกษา ซึ่งจัดให้มีการพบปะกัน เดื อ นละครั้ ง มี ประสานงานความร่ ว มมื อ กั บหน่ ว ยงานภายนอก เช่น สถาบันพระปกเกล้าส�ำหรับการประสานงานวิจัยในไทย เป็นต้น มีการจัดสัมมนาเจ้าหน้าทีส่ ามเหล่าทัพเพือ่ ส�ำรวจความเห็นตามโจทย์ การวิจัย ซึ่งงานวิจัยของ School of Asia Pacific Affairs - College of Asia and the Pacific ส่วนมากเป็นงานวิจัยด้านสังคมศาสตร์ และมนุษย์ศาสตร์ โดยมีหลายโครงการที่ไทยกับออสเตรเลียสามารถ ร่วมกันท�ำงานวิจัยได้ หน่วยงาน Research Division ของ The Australian National University (ANU) มีบุคลากร จ�ำนวน ๑๕ คน โดยขึ้นตรง ต่ออธิการบดี ท�ำหน้าที่ในการประสานการท�ำงานวิจัยกับหน่วยงาน ภายใน ทัง้ นี้ หน่วยงานภายในสามารถยืน่ ขอโครงการได้โดยตรง แต่มี เงือ่ นไขว่า ถ้าได้งบประมาณโครงการเกินหนึง่ ล้าน เหรียญออสเตรเลีย จะต้องส่งโครงการผ่านส�ำนักวิจัยและรองอธิการบดี เพื่อตรวจสอบ เงื่อนไขว่าสามารถท�ำได้หรือไม่ หากไม่สามารถท�ำได้ ส�ำนักวิจัยจะตั้ง ข้อสังเกตหรืออาจส่งเรื่องดังกล่าวให้ฝ่ายกฎหมายช่วยวิเคราะห์ อนุสาร


เหตุการณ์

เล่าเรื่อง

ส�ำหรับงบประมาณวิจยั ของมหาวิทยาลัยนัน้ มาจากรัฐบาล อุดหนุนเป็นส่วนใหญ่ โดยผลงานวิจัยที่ได้รับจะเน้นในเรื่องของการ ตีพิมพ์ แต่ทั้งนี้ได้ให้ความส�ำคัญในมิติอื่นมากขึ้น เช่น ประโยชน์ ทางวิชาการ การใช้ประโยชน์จากผลงานวิจยั การเรียนการสอน รวมทัง้ ส่งเสริมให้นักศึกษาปริญญาเอกมีโอกาสท�ำงานในภาคอุตสาหกรรม ด้วย ทั้งนี้ ในปัจจุบัน รัฐบาลออสเตรเลียได้ให้ความสนับสนุน ความร่ ว มมื อ ด้ า นการวิ จั ย ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ โดยเน้ น ความ ร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม แต่อย่างไรก็ดี อาจารย์ที่จะเข้าไปร่วม กับภาคอุตสาหกรรมยังมีไม่มากนัก มหาวิทยาลัยจึงต้องดูแลให้มี คนที่เหมาะสมไปวิจัยในเรื่องที่จ�ำเป็น ส่วนเรื่องการตั้งบริษัทมีปัญหา เรื่องค่าใช้จ่าย และหากต้องการลงไปท�ำธุรกิจเอง มหาวิทยาลัยต้อง ไปลงทุนที่ซิดนีย์ซึ่งเป็นแหล่งอุตสาหกรรม และธุรกิจของประเทศ

ยุทธศาสตร์ปี ค.ศ.๒๐๒๐ ของ CSIRO เน้นการวิจยั ทางด้าน การเกษตร พลังงาน การผลิต ทรัพยากรแร่ผนื ดินและผืนน�ำ้ มหาสุมทร และบรรยากาศ และอาหารโภชนาการ โดยผลงานส่วนใหญ่ในปัจจุบนั ของ CSIRO เป็นผลงานวิจัยทางด้านการเกษตร ด้านสิ่งแวดล้อม ภูมิสภาวะ และศาสตร์ที่ว่าด้วยสัตว์และพืช ขณะที่ปัญหาและอุปสรรคของการท�ำงานวิจัยของประเทศ ออสเตรเลีย ตามมุมมองของ CSIRO ได้แก่ความร่วมมือระหว่าง ภาคอุตสาหกรรมและการวิจัยยังมีจ�ำนวนน้อย จ�ำนวนนักวิจัยใน ภาคอุตสาหกรรมมีจ�ำกัด และยังมีการเคลื่อนไหวแลกเปลี่ยนนักวิจัย ไม่มากพอ ส�ำหรับความร่วมมือระหว่างไทยกับ CSIRO ในอนาคต อาจมีความร่วมมือระหว่างกันได้ โดยเฉพาะความร่วมมือทางด้าน การวิจัยในอุตสาหกรรมอาหาร Australia Rural University Network เป็ น กลุ ่ มมหาวิ ท ยาลั ย ที่ เ น้ น การวิ จัย ที่ ต อบสนองความ จ�ำเป็นของคนในภูมิภาค มีมหาวิทยาลัยจ�ำนวน ๖ แห่ง อยู่ในกลุ่ม มหาวิทยาลัยนี้ ส่วนใหญ่เป็นมหาวิทยาลัยในรัฐควีนสแลนด์ ฝั่งตะวัน ออกของออสเตรเลีย เน้นการวิจยั ด้าน bio-science โครงการเครือข่าย ร่วมกับอาเซียนมุ่งแปลงความรู้ด้านชีวศาสตร์ของทั้งสองฝ่ายเพื่อให้ เกิดผลผลิตทางการเกษตรและประมงที่มีลักษณะสร้างสรรค์กว่าเดิม และพัฒนากระบวนการที่เพิ่มคุณค่า

Commonwealth Scientific and Industrial Research Organization (CSIRO) เป็นองค์กรอิสระ มีรายได้ส�ำหรับการด�ำเนินการประมาณ ๑.๒๕ พันล้านดอลล่าร์ออสเตรเลียต่อปี โดยครึ่งหนึ่งมาจากการ อุดหนุนจากรัฐ (งบประมาณอุดหนุนจากรัฐประมาณ ๗๔๕ ล้านเหรียญ ออสเตรเลีย รายได้จากภายในประเทศประมาณ ๔๘๖ ล้านเหรียญ ออสเตรเลีย และรายได้จากต่างประเทศ ประมาณ ๘๑ ล้านเหรียญ ออสเตรเลีย) มีเจ้าหน้าทีป่ ระมาณ ๕,๐๐๐ คน โดยเจ้าหน้าทีส่ ว่ นใหญ่ จบการศึกษาในระดับปริญญาเอก (ประมาณ ๒,๐๐๐ คน)

The University of New South Wales (UNSW) จัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ.๑๙๔๘ เป็น ๑ ใน ๘ มหาวิทยาลัยชั้น น�ำของออสเตรเลีย (Group of Eight) เพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ ปัจจุบันมีนักศึกษา จ�ำนวน ประมาณ ๕๓,๔๘๑ คน จ�ำแนกเป็นนักศึกษาในประเทศ จ�ำนวน ๓๙,๘๔๘ คน และเป็นนักศึกษาชาวต่างชาติ จ�ำนวน ๑๓,๖๓๓ คน โดยมีคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ประมาณ ๖,๑๑๗ คน The University of New South Wales ได้รบั การสนับสนุน จากรัฐบาลให้จัดตั้ง Australia Research Council (ARC) มี Center of Excellance จ�ำนวน ๑๐ ศูนย์ โดยมุง่ เน้นการวิจยั ด้าน Biomedical Science, Water, Climate, Environment and sustainability, Next-Generation, Materials and Technologies, Social Policy, Gp=overnment and Health Policy, ICT, Robotics and Devices, Defence and Security, etc.

17


เหตุการณ์เล่าเรื่อง มหาวิ ท ยาลั ย มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการช่ ว ยเหลื อ ภาค อุ ต สาหกรรม โดยร่ ว มมื อ กั บ ภาคอุ ต สาหกรรมเป็ น จ� ำ นวนมาก เพื่อช่วยแปลงความคิด (ideas) ไปสู่การผลิต นอกจากนี้ ยังให้ ความส�ำคัญในการพัฒนานักวิจัยที่มีศักยภาพสูง โดยริเริ่ม “โครงการ ๒๐ Rising Stars : who will change own world” ขึ้นในปี ค.ศ. ๒๐๑๕ โดยโครงการนี้จะสนับ สนุน ให้นัก วิจัยที่มีศั ก ยภาพ ได้มีโอกาสในการใช้ความรู้ความสามารถในการท�ำงานวิจัยที่ท้าทาย และมีผลกระทบต่อประเทศในอนาคต The University of Sydney จัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ.๑๘๕๐ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของ ออสเตรเลีย และเป็น ๑ ใน ๘ มหาวิทยาลัยชั้นน�ำของออสเตรเลีย (Group of Eight) ซึ่งมีกลยุทธ์ในการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาดังนี้ กลยุทธ์ที่ ๑ การลงทุนภายในมหาวิทยาลัยเพื่อขับเคลื่อน งานวิจัยสู่ความเป็นเลิศ ได้แก่ การจัดท�ำข้อตกลง และเป้าหมาย ร่วมกันภายในมหาวิทยาลัยเพื่อบรรลุความเป็นเลิศทางด้านการวิจัย ของมหาวิทยาลัย และเพิ่มเงินทุนการวิจัย เป็นจ�ำนวน ๓ เท่า (เท่ากับ ๑๕๐ ล้านเหรียญออสเตรเลีย ต่อปี) กลยุทธ์ที่ ๒ การดึงดูดและพัฒนานักวิจัยที่มีศักยภาพ กลยุทธ์ที่ ๓ การร่วมมือกับหุ้นส่วน (partnerships) เพื่อ ให้งานวิจัยที่ออกมาเกิดความแตกต่างทั้งในระดับประเทศ (Locally)

18

และในระดับโลก (Globally) ได้แก่ ๑) การสร้างเขตนวัตกรรม (Innovation Precinct) เพื่อให้เกิดศูนย์กลางความรู้ (Knowledge Hub) เพื่อก�ำหนดความร่วมมือที่ชัดเจนกับภาคอุตสาหกรรมและ ชุมชน๒) การพัฒนาแนวทางความร่วมมือในระดับโลก (Global engagement) เพือ่ ให้เกิดการบูรณาการและการถ่ายทอดองค์ความรู้ นอกจากนี้ The University of Sydney ยังได้แลกเปลี่ยน แนวทางในการขั บ เคลื่ อ นมหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย ของประเทศไทยให้ ประสบความส�ำเร็จ ภายใต้องค์ประกอบส�ำคัญ ๓ องค์ประกอบ คือ ๑) ระบบการจัดการงานวิจัยและส�ำนักบริหารโครงการวิจัย (Administration and Research Office) ๒) นักวิจยั (Researchers) และ ๓) คณะ (Faculties)

อนุสาร


เล่าเรื่อง

ด้วยภาพ

๒๙ มี น าคม ๒๕๕๙ – พลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรัฐมนตรี ได้เยี่ยมชมตัวอย่างผลงาน ผลผลิต สินค้า และบริการ ของนักเรียนนักศึกษาที่เตรียมน�ำมาจัดแสดงและจ�ำหน่ายภายในงาน “การศึกษาสร้างชาติ ตลาดคลองผดุงฯ ...สร้างสุข” ภายใต้แนวคิด “ปลุกไอเดียนวัตกรรม สร้างสีสันวันสงกรานต์ เตรียมพร้อม Back to School” ในระหว่างวันที่ ๑-๒๔ เมษายน ๒๕๕๙ ณ บริเวณคลอง ผดุ ง กรุ ง เกษม ด้ า นข้ า งท� ำ เนี ย บรั ฐ บาล โดยมี พลเอก ดาว์ พ งษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วย พลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ และผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการ ให้การต้อนรับ

๔ เมษายน ๒๕๕๙ – พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานเปิดงานตลาดคลองผดุงกรุงเกษม ภายใต้แนวคิด “การศึกษาสร้างชาติ ตลาดคลองผดุงฯ สร้างสุข” ณ เวทีตลาดคลองผดุงกรุงเกษม ข้างท�ำเนียบรัฐบาล โดยมี พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นผู้กล่าวรายงาน พร้อมด้วยผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการ เข้าร่วมในพิธีด้วย

19


เล่าเรื่องด้วยภาพ

๒๑ เมษายน ๒๕๕๙ – พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ให้การต้อนรับ นาย Chan King Wai ประธานหอการค้าฮ่องกง-จีน และประธานบริษัทในเครือ King Wai Group พร้อมคณะ ณ ห้องรับรองจันทรเกษม อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีนางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และผู้บริหารส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาเข้าร่วมให้การต้อนรับด้วย

20

๑ เมษายน ๒๕๕๙ – นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ เลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา และรองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เข้าร่วมงาน วั น คล้ า ยวั น สถาปนากระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ครบรอบ ๑๒๔ ปี ณ กระทรวงศึกษาธิการ และเข้าร่วมพิธีมอบเข็ม “เสมาคุณูปการ” และ ประกาศเกียรติคุณบัตรแก่ผู้ท�ำคุณประโยชน์ให้แก่กระทรวงศึกษาธิการ ณ หอประชุมคุรุสภา อนุสาร


เล่าเรื่อง

ด้วยภาพ

๑๑ เมษายน ๒๕๕๙ - นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานงานประเพณีวนั สงกรานต์ ประจ�ำปี ๒๕๕๙ และพิธีท�ำบุญอาคารหลังใหม่ ณ โถงอาคารอุดมศึกษา ๒ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในโอกาสนี้ได้รับ เกียรติจาก ศาสตราจารย์ประเสริฐ ณ นคร ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน นายกฤษณพงศ์ กีรติกร และอดีตผู้บริหารทบวงมหาวิทยาลัย และส�ำนักงานคณะกรรมการคณะกรรมการการอุดมศึกษาเข้าร่วมพิธีรดน�้ำขอพรด้วย

๑๒ เมษายน ๒๕๕๙ – นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมพิธีรดน�้ำขอพร “ประเพณีสงกรานต์ ศึกษาธิการสืบสานวัฒนธรรมไทย ประจ�ำปี ๒๕๕๙” ณ หอประชุมคุรุสภา

21


วันสหกิจศึกษาไทย ครัง้ ที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๕๙

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับ สมาคมสหกิจศึกษาไทย และเครือข่ายพัฒนา สหกิจศึกษา ๙ เครือข่าย เตรียมพร้อมจัดงานวันสหกิจศึกษาไทย ครั้งที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๕๙ ภายใต้ค�ำขวัญ “รู้ชัดปฏิบัติได้ ในศตวรรษที่ ๒๑” ในวันจันทร์ที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๙ ตั้งแต่เวลา ๘.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. ณ ห้องประชุมบัวสวรรค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กิจกรรมในวันงานประกอบด้วย : ชมนิทรรศการ “รู้ชัดปฏิบัติได้ ในศตวรรษที่ ๒๑” ประกอบด้วย - การสนับสนุนและส่งเสริมสหกิจศึกษาและการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการเรียนรู้กับการท�ำงาน (Work integrated Learning : WIL) โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สมาคมสหกิจศึกษาไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน - ผลงานสหกิจศึกษาดีเด่นระดับชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๗ - ๒๕๕๙ จ�ำนวน ๑๑ ประเภท ได้แก่ สถานศึกษาดีเด่น ๑ รางวัล สถานศึกษาดาวรุ่ง ๑ รางวัล สถานศึกษาด�ำเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติดี เด่น ๑ รางวัล สถานประกอบการดีเด่นขนาดใหญ่และขนาดกลาง/ย่อม ๒ รางวัล ผู้ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ดีเด่นในสถานศึกษาและสถานประกอบการดีเด่น ๒ รางวัล โครงงาน สหกิจศึกษาดีเด่น ๒ รางวัล นักศึกษา สหกิจศึกษานานาชาติดีเด่น ๑ รางวัล นวัตกรรมสหกิจศึกษาดีเด่น ๑ รางวัล - การด�ำเนินงานสหกิจศึกษาและการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการเรียนรู้กับการท�ำงาน (WIL) ของเครือข่ายพัฒนาสหกิจศึกษา ๙ เครือข่าย

22

อนุสาร


การมอบรางวัลสหกิจศึกษาดีเด่นระดับชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๙

การปาฐากถาพิเศษ เรื่อง “ ทิศทางการจัดสหกิจศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑” โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน นายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย

การเสวนา“ การจัดสหกิจศึกษาและบูรณาการเรียนกับการท�ำงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ” โดย - ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ - ดร.สุเมธ แย้มนุ่น อุปนายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย - รศ.ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - ดร.อกนิษฐ์ คลังแสง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การเสวนา “ครบเครื่องเรื่องสหกิจศึกษา” โดย - ผู้ที่ได้รับรางวัลสถานประกอบการขนาดใหญ่ดีเด่นระดับชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๙ - ผู้ที่ได้รับรางวัลสถานศึกษาด�ำเนินงานสหกิจศึกษาดีเด่นระดับชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๙ - ผู้แทนส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) Showcase : สหกิจศึกษาและการบูรณาการการเรียนกับการท�ำงาน โดย - ส�ำนักวิชาการจัดการ สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ - คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา - วิทยาลัย ศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการเชิงประยุกต์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล รับฟังความส�ำเร็จของนักศึกษาสหกิจศึกษาที่ได้รับรางวัลสหกิจศึกษาระดับชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๙ ด้านโครงงาน/งานประจ�ำ ประเภทวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, โครงงาน/งานประจ�ำ ประเภท สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์, โครงงานประเภทนวัตกรรม, นักศึกษาสหกิจศึกษานานาชาติดีเด่น

ท่านที่สนใจเชิญลงทะเบียน online ร่วมงานฟรี! ที่ http://www.tgde.kmutnb.ac.th/extra/register รับลงทะเบียน online เพียง ๗๕๐ คนเท่านั้น และไม่รับลงทะเบียนหน้างาน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร.๐๒-๖๑๐-๕๔๔๒-๓

23



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.