อนุสารอุดมศึกษา issue 428

Page 1

อุดมศึกษา อนุสาร

ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔๒๘ ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

เอกสารเผยแพร่ของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ISSN 0125-2461

อนุ ส ารอุ ด มศึก ษาออนไลน์ www.mua.go.th/pr_web


สารบัญ

ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔๒๘ ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

เรื่องเล่าอุดมศึกษา ปรับรับตรงปี ๒๕๕๗ จัดให้สอบหลังมีนาคม ปี ๒๕๕๗ ก�ำหนดรับครูมืออาชีพ ๓ รุ่น กกอ. เห็นชอบจัดตั้ง ‘วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา’ Thailand’s Network Security Contest 2013 มอบ ‘ทุนส่งน้องเรียนจบ’

๓ ๔ ๕ ๖ ๗

เรื่องเล่าอาเซียน คุณสมบัติของวิศวกร และสถาปนิก ที่จะโยกย้ายทำ�งานในอาเซียน ตามคุณสมบัติ MRA

๑๐ ๑๒

เรื่องพิเศษ สกอ. สัญจร ๒๕๕๗

๑๐

พูดคุยเรือ่ งมาตรฐาน การยกระดับคุณภาพการศึกษาไปสู่สากล (ตอนที่ ๒)

๑๖

เรื่องแนะน�ำ คณะกรรมการบริหาร สำ�นักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ พัฒนาการศึกษา และสำ�นักงานบริหารโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สังกัดศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ พัฒนาการอุดมศึกษา

๑๘

๑๙

เหตุการณ์เล่าเรื่อง ระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์

๑๙

เล่าเรื่องด้วยภาพ

๒๒

คณะผู้จัดทำ� สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

อนุสารอุดมศึกษา

เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ เว็บไซต์ http://www.mua.go.th อีเมล pr_mua@mua.go.th เฟสบุ๊ค www.facebook.com/ohecthailand ทวิตเตอร์ www.twitter.com/ohec_th ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์พิเศษทศพร ศิริสัมพันธ์ รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กำ�จร ตติยกวี นางวราภรณ์ สีหนาท นายสุภัทร จำ�ปาทอง นายศิระวิทย์ คลี่สุวรรณ บรรณาธิการ นายกฤษณ์กร วงศ์ไทย กองบรรณาธิการ นางสาวปิยาณี วิริยานนท์ นางชุลีกร กิตติก้อง นายเจษฎา วณิชชากร นางปราณี ชื่นอารมณ์ นายพรชัย สิทธินันทน์ นายจรัส เล็กเกาะทวด พิมพ์ที่ บริษัท สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง จำ�กัด โทรศัพท์ ๐ ๒๙๐๓ ๘๒๕๗ - ๙


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

ปรับรับตรงปี ๒๕๕๗

ศำสตรำจำรย์ พิเศษทศพร ศิริสั มพัน ธ์ เลขำธิกำร ศาสตราจารย์ ศิริสงัมควำมคื พันธ์ เลขาธิ การ คณะกรรมกำรกำรอุดพมศึิเศษทศพร กษำ เปิดเผยถึ บหน้ำกำร คณะกรรมการการอุ พั ฒ น ำ ร ะ บ บ ก ำ รดคัมศึ ด เกลืษา อ ก นัเปิกดศึเผยถึ ก ษ ำงเความคื ข้ ำ ศึ ก บษ หน้ ำ ใ นา การพั ฒนาระบบการคั อกนักศึกษาเข้ากศึษำแนวทำงกำร กษาในสถาบัน สถำบั น อุ ด มศึ กษำ ว่ดำ เลืคณะกรรมกำรศึ อุดคัมศึ คณะกรรมการศึ กษาแนวทางการคั เลือก ดเลืกอษา กบุว่คาคลเข้ ำศึกษำในสถำบั นอุดมศึ กษำได้ พิจดำรณำ บุ คข้คลเข้ า ศึ กดษาในสถาบั น อุำดศึมศึ ก ษาได้ พิ จนารณาข้ อ มู ล่ อมูลกำรคั เลือกบุคคลเข้ กษำในสถำบั อุดมศึกษำที การคั ดเลืนกำรอยู อกบุคคลเข้ นอุดเห็ มศึนกจำกผู ษาทีด่ ้แ�ำเนิ นการ่ ม ดำเนิ ่ในปัาจศึจุกบษาในสถาบั ันและควำมคิ ทนกลุ อยูสถำบั ่ ใ นปันจอุจุดบมศึ ั น และความคิ เห็ น จากผู ทนกลุ ่ ม สถาบั น ก ษำ เห็ น ว่ ำดควรต้ อ งมี ก้ แำรปรั บ ระบบและ อุ ดวิมศึ ก ษาด เลืเห็อนกบุ ว่ าคควรต้ ก ารปรั บ ระบบและวิ ธี ก ำรคั คลเข้ ำอศึงมีก ษำในสถำบั น อุ ด มศึ ก ษำธี กซึาร่ ง ศ ทำงเดี ย วกั บ ข้ อ เสนอแนะของเครื คั ดเป็เลืนอไปในทิ กบุ ค คลเข้ า ศึ ก ษาในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ซึ่ ง เป็อ ข่นำไปย อุดศมศึ กษำทัยวกั ง ๙บข้เครื อข่ำย ในเบืองต้นเห็ ในทิ ทางเดี อเสนอแนะของเครื อข่นาควรปรั ยอุดมศึบกกำรรั ษาทับ้ง ก ำรศึ้องต้ ก ษำ สกอ. ได้ ขบอควำมร่ วมมื อ ๙ ตรง เครือโดยในปี ข่าย ในเบื นเห็๒๕๕๗ นควรปรั บการรั ตรง โดยในปี สถำบั ด มศึ ก ษำจั สอบหลั ง เดืวอมมื นมีอนสถาบั ำคม นซึอุ่ งดเป็มศึนกช่ษา วง การศึ กษาน อุ๒๕๕๗ สกอ.ดได้ ขอความร่ งจำกทีง่นเดืักเรี ยนได้ เรียนจบกำรศึ ษำขันพื นฐำนแล้ จัดหลั สอบหลั อนมี นาคม ซึ่งเป็นช่กวงหลั งจากที ่นักเรีวยและ นได้ ในปี ก ำรศึ ก ษำ ๒๕๕๘ ขอให้ ส ถำบั น อุ ด มศึ ก ษำที ร ่ บ ั นั ก ศึ ก ษำ เรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว และในปีการศึกษา ๒๕๕๘ จำกระบบรั ธีกำรสอบ ดสอบเองและให้ ขอให้ ส ถาบั นบอุตรงด้ ด มศึวกยวิษาที ่ รั บ นั ก ศึงดกำรจั ก ษาจากระบบรั บ ตรง ใช้ ผ ลกำรทดสอบที ่ จ ั ด สอบโดยหน่ ว ยงำนกลำงที ่ ไ ด้ ร ับกำร ด้วยวิธีการสอบ งดการจัดสอบเองและให้ใช้ผลการทดสอบ ยอมรับ ที่จัดสอบโดยหน่วยงานกลางที่ได้รับการยอมรับ “ส�ำหรั ด เลืด เลื อ กบุ ค คลเข้ า ศึำกศึษาในสถาบั น อุนดอุมศึด มศึ ก ษาก ษำ จะขอให้ ส ถาบั น “ส ำหรับบแนวทางการด�ำเนิ แนวทำงกำรด ำเนินนงานเพื งำนเพื่ อ่ พัอ พัฒฒนาระบบการคั นำระบบกำรคั อ กบุ ค คลเข้ ก ษำในสถำบั จะขอให้ นอุดร่ มศึ กษำที่รับตรงโดยใช้ วิธีกดำรสอบคั เลือกได้นมการร่ ำดำเนิ มกันลซึะกลุ ่งในแต่ ละกลุช่มาสามารถก�ำหนดรายวิ สำขำวิชำสำมำรถกำหนดรำยวิ อุดสถำบั มศึกษาที บั ตรงโดยใช้ วธิ กี ารสอบคั เลือกได้มดาด�ำเนิ วมกันกำรร่ น ซึง่ วในแต่ ม่ สาขาวิ ชาทีจ่ ะใช้ชสำที อบร่​่จะวมกัน นำหนักางกั ที่ใช้นอได้ำจแตกต่ นได้างแนวทางการด�ำเนิ โดยมีตัวอย่ำงแนวทำงกำรด ำเนิน่มกำรจำกกลุ ่มสถำบันแพทยศำสตร์ แห่งประเทศ แต่ใช้นส�้ำอบร่ หนักวทีมกั่ใช้นอแต่ าจแตกต่ โดยมีตำงกั ัวอย่ นการจากกลุ สถาบันแพทยศาสตร์ แห่งประเทศไทย (กสพท.) ไทย (กสพท.) ่กำรรับนักศึกษำในระบบโควตำซึ ่งไม่ได้ใดช้เลืวิธอีกกำรสอบคั เลือยกสามารถด�ำเนิ มหำวิทยำลัยนสำมำรถด ำเนินไกำรตำมปกติ ในขณะที ่การรับนัในขณะที กศึกษาในระบบโควตาซึ ่งไม่ได้ใช้วิธีการสอบคั มหาวิทดยาลั การตามปกติ ด้ นอกจากนีไ้ยด้ังต้อง ยังต้องปรัดบเลืปรุ งระบบกำรคั อกบุคคลเข้ นอุดมศึกษำ ด้วยกำรผนวกระบบรั บตรงเข้ำกั่มบีอยูระบบกลำงที ปรันอกจำกนี บปรุงระบบการคั อกบุ คคลเข้าศึกดเลื ษาในสถาบั นอุำศึดกมศึษำในสถำบั กษา ด้วยการผนวกระบบรั บตรงเข้ากับระบบกลางที ่ให้มีประสิท่มธิีภาพ อยู่ให้่งขึม้นีประสิ ทธิภำพมำกยิ่งขึวนมมืโดยจะขอควำมร่ มมืกอให้ สถำบั อุดมศึกษำเข้ยำริร่​่งวเฮาส์ มระบบเคลี ย ริ่งเฮำส์กและอำจจะมี กำรดำเนิานกำร มากยิ โดยจะขอความร่ อให้สถาบันอุดวมศึ ษาเข้ าร่นวมระบบเคลี และอาจจะมี ารด�ำเนินการมากกว่ ๑ รอบ มำกกว่ ำ ๑ รอบ กำรด ำเนิ น กำรดั ง กล่ ำ ว สกอ. จะหำรื อ กั บ สถำบั น อุ ด มศึ ก ษำว่ ำ ต้ อ งกำรข้ อ สอบกลำงที ่ ม หำวิ ท ยำลั ย พั ฒ นำร่ ว มกั การด�ำเนินการดังกล่าว สกอ. จะหารือกับสถาบันอุดมศึกษาว่าต้องการข้อสอบกลางที่มหาวิทยาลัยพัฒนาร่วมกันและจัดท�ำใหม่น หรือ ดทำใหม่ อใช้ขสทศ. ้อสอบทีในเบื ่มีอยู้อ่เงต้ ดิมนของ นได้ข้อสรุ ปว่ำองค์ประกอบที ่ควรจะนำมำพิ จำรณำในกำรคั ดเลือก น ใช้และจั ข้อสอบที ่มีอยู่เดิหรืมของ ได้ข้อสทศ. สรุปว่ในเบื าองค์องต้ ประกอบที ่ควรจะน�ำมาพิ จารณาในการคั ดเลือกบุ คคลเข้าศึกษาในสถาบั คคลเข้ ำศึกษำในสถำบันอุวดยมศึ(๑) กษำควรจะประกอบด้ วย ก(๑)ษาระดั กำรทดสอบทำงกำรศึ ษำระดับชำติ ขันพืเป็นฐำน (O-NET) โดยใช้ อุดบุมศึ กษาควรจะประกอบด้ การทดสอบทางการศึ บชาติขั้นพื้นฐานก(O-NET) โดยใช้ นเกณฑ์ ในการสมั ครเข้เป็านศึกษา เกณฑ์ในกำรสมัครเข้ำศึกษำหรือกำหนดนำหนักซึ่งแตกต่ำงกันได้ระหว่ำงสำขำวิชำหรือสถำบัน (๒) กำรทดสอบวิชำสำมัญที่ หรือก�ำหนดน�้ำหนักซึ่งแตกต่างกันได้ระหว่างสาขาวิชาหรือสถาบัน (๒) การทดสอบวิชาสามัญที่สถาบันอุดมศึกษาก�ำหนดร่วมกัน สถำบันอุดมศึกษำกำหนดร่วมกัน (๒) กำรทดสอบวิชำเฉพำะ (ไม่ควรเกิน ๑ วิชำ) และ (๔) ผลกำรเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX)” (๓) การทดสอบวิชาเฉพาะ (ไม่ควรเกิน ๑ วิชา) และ (๔) ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX)” เลขาธิการ กกอ. กล่าว เลขำธิกำร กกอ. กล่ำว

อนุสารอุดมศึกษา

3


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

ศำสตรำจำรย์พิเศษทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ ชีแจงเกี่ยวกับกรณีกำรดำเนินกำรโครงกำรผลิต ครูมศาสตราจารย์ ืออำชีพ ในปี ๒๕๕๗ ที่มีนิสศิ​ิตรนัิสกัมศึพักนษำธ์ เลขาธิ ผู้ปกครอง ได้สอบถำมมำมำก โดยเฉพำะนิ นักศึ่ยกวกัษำครู ที่กกำลัารด�ำเนิ งศึกษำชั นปีที่ ๕ ว่ำ พิเศษทศพร การคณะกรรมการการอุ ดมศึกษา ชีส้แิตจงเกี บกรณี นการโครงการ คณะกรรมกำรปฏิ ที่มีนำยจำตุ รนต์ ฉำยแสง รัโดยเฉพาะนิ ฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึ กษำธิ ำรงเป็ ประธำน ผลิตครูขณะนี มืออาชี พ ในปี ๒๕๕๗รูประบบผลิ ที่มีนิสิตนัตกและพั ศึกษาฒนำครู ผู้ปกครอง ได้สอบถามมามาก สิตนักศึกษาครู ที่กก�ำลั ศึกนษาชั ้นปีทมี​ี่ ๕ มติเมื่อวันที่ ๑๗ มกรำคม ที่ผ่ำนมำ อนุมัติในหลักกำรดำเนินกำรโครงกำรผลิตครูมืออำชีพ ในปี ๒๕๕๗ โดยให้มีกำรคัดเลือกสถำบัน ว่า ขณะนี้คณะกรรมการปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครู ที่มีนายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน ฝ่ำยผลิต ซึ่งมอบให้ศำสตรำจำรย์เกียรติคุณสมหวัง พิธิยำนุวัฒน์ รับไปดำเนินกำรให้ทันกับระยะเวลำอย่ำงมีประสิทธิภำพ มีมติเมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ที่ผ่านมา อนุมัติในหลักการด�ำเนินการโครงการผลิตครูมืออาชีพ ในปี ๒๕๕๗ โดยให้มีการคัดเลือกสถาบัน “ทังนี ศำสตรำจำรย์เกียรติคุณสมหวัง ได้เสนอแต่งตังคณะทำงำน ซึ่งมีกำรประชุมและได้พิจำรณำระยะเวลำที่มีอยู่ คุณภำพ ฝ่ายผลิมำตรฐำนกำรผลิ ต ซึ่งมอบให้ศาสตราจารย์ กียรติทคธิุณ์ของนิ สมหวั วัฒทน์ี่รับรับรู้รไปด�ำเนิ นการให้ กับระยะเวลาอย่ างมี ระสิพทมำตลอดระยะเวลำ ธิภาพ ตวิชำชีพครู เและสิ สิตงนัพิกธศึิยกานุ ษำครู ับทรำบกำรด ำเนิทนันงำนโครงกำรผลิ ตครู มือปอำชี ศาสตราจารย์ เกียรติ คุณสมหวัำหมำยที ง ได้เสนอแต่ คณะท�ำงาน ซึ่งมีในปี การประชุ ่มีอนปี ยู่ คุทณี่ ๕ภาพ ๓-๔“ทั ปีท้งี่ผนี่ำ้ นมำ คณะทำงำนจึ งกำหนดเป้ ่จะคัดเลืงตัอ้งกนิ สิตนักศึกษำครู ๒๕๕๗มและได้ จำนวนพ๓ิจารณาระยะเวลาที รุ่น คือ ผู้ที่ศึกษำในชั ปี มาตรฐานการผลิ ต วิ ช าชี พ ครู และสิ ท ธิ ์ ข องนิ ส ิ ต นั ก ศึ ก ษาครู ท ่ ี ร ั บ รู ้ ร ั บ ทราบการด�ำเนิ น งานโครงการผลิ ต ครู ม ื อ อาชี พ มาตลอดระยะเวลา ที่ ๔ ปีที่ ๓ ในปีกำรศึกษำ ๒๕๕๖ โดยจะคัดเลือกนิสิตนักศึกษำครูที่ศึกษำในชันปีที่ ๕ ในปีกำรศึกษำ ๒๕๕๖ ที่มีผลกำรเรียนสะสม ๓-๔ ปี(GPAX) ที่ผ่านมา ก�ำหนดเป้ ่จะคัดเลือวิกนิ สิตนักวิชศึำชี กษาครู นปีต่ำกว่ ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๓ รุ่น คื๔อ วิผูช้ทำี่ศได้ึกษาในชั ้นปีที่ ๕ ในปีคณะท�ำงานจึ ที่ ๑ - ภำคเรียงนที ่ ๑ ของปีาหมายที ที่ ๔ ในภำพรวม ชำเอก พครู ใไม่ ำ ๓.๐๐ โดยกำรสอบ แก่ ภำษำไทย ปีที่ ๔ภำษำอั ปีที่ ๓งกฤษ ในปีกวิารศึ โดยจะคั่ยวกั ดเลืบอวิชกนิำชีสพิตครู นักและกำรคิ ศึกษาครูทดี่ศวิึกเครำะห์ ษาในชัแ้นบบวิ ปีที่ จ๕ำรณญำณ ในปีการศึกสษา ลการเรี ชำชีกพษา ครูแ๒๕๕๖ ละกฎหมำยเกี ำหรั๒๕๕๖ บนิสิตนักทีศึ่มกีผษำครู ที่ศยึกนสะสม ษำใน (GPAX) ๑ - ภาคเรี ยนทีกำรศึ ่ ๑ กของปี ที่ ๔ ในภาพรวม ครูตไม่ �่ำกว่า ด๓.๐๐ า ได้ตแิผก่ลกำรเรี ภาษาไทย ชันปีในปี ที่ ๔ที่ และปี ที่ ๓ ในปี ษำ ๒๕๕๖ จะมีกำรคัดเลืวิชอาเอก กสถำบัวิชนาชี ฝ่ำพยผลิ ก่อตนกำรคั เลือกนิโดยการสอบ สิตนักศึกษำที๔่มีควิุณชสมบั ยน ต่ำกว่ ำ ๓.๐๐ ซึ่งคณะท ฐมนตรี ่ำกำรกระทรวงศึ กษำธิกำรในต้ นเดืบอนินกุสิตมนัภำพั นี ” เลขำธิ กำร ภาษาอัสะสม งกฤษ(GPAX) วิชาชีไม่ พครู และกฎหมายเกี ่ยวกับำงำนจะได้ วิชาชีพครูนำเสนอรั และการคิ ดวิเวคราะห์ แบบวิจารณญาณ ส�ำหรั กศึนกธ์ษาครู ที่ศึกษาใน กล่ำวที่ ๓ ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ จะมีการคัดเลือกสถาบันฝ่ายผลิตก่อนการคัดเลือกนิสิตนักศึกษาที่มีคุณสมบัติผลการเรียน ชั้นปีทกกอ. ี่ ๔ และปี สะสม (GPAX) ไม่ต�่ำกว่า ๓.๐๐ ซึ่งคณะท�ำงานจะได้น�ำเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในต้นเดือนกุมภาพันธ์นี้” เลขาธิการ กกอ. กล่าว

4

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

ศำสตรำจำรย์ พิเศษทศพรศิรศิ​ิสรัมิสพั​ัมพันนธ์ ธ์เลขาธิ เลขำธิกการคณะกรรมการการอุ ำรคณะกรรมกำรกำรอุดดมศึ มคณะกรรมกำรกำร ศาสตราจารย์ พิเศษทศพร มศึกกษำ ษาเปิเปิดดเผยหลั เผยหลังกำรประชุ งการประชุ มคณะกรรมการการ กษำ งที่ ๒/๒๕๕๗ วกับโครงกำรจั งวิทยยำลั ยเทคโนโลยี จิตรลดำ ำ ที่ปมระชุ ให้ควำมเห็ นชอบแผนงำนและ อุดมศึอุกดษามศึครั ้งทีครั ่ ๒/๒๕๕๗ เกี่ยวกัเกีบ่ยโครงการจั ดตั้งวิทดตัยาลั เทคโนโลยี จิตรลดา ว่า ที่ปว่ระชุ ได้ให้มคได้วามเห็ นชอบแผนงานและโครงการ ดตังวิทยำลั เทคโนโลยี จิตรลดำ ่ 2 ขัดนตอนกำรจั ดทำแผนงำนและโครงกำร ่ 3 ขันตอนกำร จัดตั้งโครงกำรจั วิทยาลัยเทคโนโลยี จิตยรลดา ขั้นตอนที ่ ๒ ขัขั้นนตอนที ตอนการจั ท�ำแผนงานและโครงการ และขั้นตอนทีและขั ่ ๓ นตอนที ขั้นตอนการรายงานความ ำวหน้ำเพื่อกำรพิญ จำรณำออกใบอนุ ญำต โดยให้ วิทยำลั่มยเติดมำเนิ นกำรเพิ ่มเติมตำมข้อเสนอแนะของคณะอนุ ก้าวหน้รำยงำนควำมก้ าเพื่อการพิจารณาออกใบอนุ าต โดยให้วิทยาลั ยด�ำเนิ นการเพิ ตามข้ อเสนอแนะของคณะอนุ กรรมการเพื่อพิกจรรมกำร ารณาการ พิจำรณำกำรจั ทยำลัยและคณะอนุ เทคโนโลยีจิตกรลดำ และคณะอนุ กรรมกำรดำเนินญกำรตำมพระรำชบั ติสถำบันอุนอกจากนี ดมศึกษำเอกชน จัดตั้งวิเพืท่อยาลั ยเทคโนโลยีดตัจงวิ ิตรลดา รรมการด�ำเนิ นการตามพระราชบั ญัติสถาบันอุดมศึญกญัษาเอกชน ้ที่ประชุม นอกจำกนี ที ่ ป ระชุ ม ยั ง ได้ ใ ห้ ค วำมเห็ น ชอบร่ ำ งข้ อ ก ำหนดวิ ท ยำลั ย เทคโนโลยี จ ิ ต รลดำ และจะได้ เ สนอรั ฐ มนตรี ว ่ ำ กำร ยังได้ให้ความเห็นชอบร่างข้อก�ำหนดวิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา และจะได้เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเพื ่อออก กระทรวงศึกษำธิกำรเพื่อออกใบอนุญำตจัดตังวิทยำลัยเทคโนโลยีจิตรลดำต่อไป ใบอนุญาตจัดตั้งวิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดาต่อไป เลขำธิกำร กกอ. กล่ำวต่อไปว่ำ วิทยำลัยเทคโนโลยีจิตรลดำมีเป้ำหมำยจะเปิดหลักสูตรระดับปริญญำตรี ในหลักสูตร เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อไปว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดามีเป้าหมายจะเปิดหลักสูตรระดับปริญญาตรี ในหลักสูตร บริหำรธุรกิจบัณฑิต สำขำวิชำกำรตลำด สำขำวิชำคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สำขำวิชำธุรกิจอำหำร และหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต บริหารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาธุรกิจอาหาร และหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา สำขำวิ ช ำอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ สำขำวิ ช ำไฟฟ้ ำ ก ำลั ง สำขำวิ ช ำเครื่ อ งมื อ กล โดยมี โ ครงสร้ ำ งหลั ก สู ต รสอดคล้ อ งตำมประกำศ อิเล็กทรอนิ กส์ สาขาวิ าไฟฟ้ ก�ำลัง มสาขาวิ ชาเครืก่อสูงมื อกลบโดยมี โครงสร้พ.ศ. างหลั๒๕๔๘ กสูตรสอดคล้ องตามประกาศกระทรวงศึ กษาธิ กระทรวงศึ กษำธิกชำร เรื่อางเกณฑ์ ำตรฐำนหลั ตรระดั ปริญญำตรี และกรอบมำตรฐำนคุ ณวุฒิระดับอุดมศึ กษำการพ.ศ.เรื่อง เกณฑ์๒๕๕๒ มาตรฐานหลั สูตรระดัดบรัปริ พ.ศ.๒๕๕๗ ๒๕๔๘ และกรอบมาตรฐานคุ วุฒิระดัชำเครื บอุด่อมศึ พ.ศ.่ม๒๕๕๒ แผนการ และมีแกผนกำรเปิ บนัญกศึญาตรี กษำในปี สำขำวิ ชำละ ๓๐ คน ยกเว้ณ นสำขำวิ งมืกอษา กล จะเริ เปิดรับนัและมี กศึกษำในปี เปิดรับกำรศึ นักศึกกษำ ษาในปี ๒๕๕๘๒๕๕๗ สาขาวิชาละ ๓๐ คน ยกเว้นสาขาวิชาเครื่องมือกล จะเริ่มเปิดรับนักศึกษาในปีการศึกษา ๒๕๕๘ “วิท“วิ ยาลัทยำลั ยเทคโนโลยี จิตรลดาจั ดตั้งดเพื ่อขยายโอกาสการเรี ยนรู้ทตางสายวิ จากระดับภาคบั ยกระดับจากการเรี ยเทคโนโลยี จิตรลดำจั ตังเนื ่องจำกสมเด็จพระเทพรั นรำชสุชดาชี ำฯพสยำมบรมรำชกุ มำรีงคัมีบพระรำชประสงค์ ขยำยยนรู้ ที่เน้นโอกำสกำรเรี ให้ผู้เรียนมีคยวามรู ละทักษะเพิ พูน จากระดั บคิงดคัได้ ปฏิบัตบิได้จำกกำรเรี ขึ้นมาเป็ยนนรู ภาคอุ มศึผกู้เษา ซึ่งคผูวำมรู ้เรียนควรมี ีดความสามารถ คิดบเป็น นรู้ท้แำงสำยวิ ชำชีพ่มจำกระดั บภำคบั บ ยกระดั ้ที่เน้นดให้ รียนมี ้และทักขษะเพิ ่มพูน จำกระดั ดได้ ปฏิและปฏิ บัติได้ ขึบนมำเป็ ภำคอุจดัดมศึการศึ กษำกษาเน้ ซึ่งผู้เรีนยการปฏิ นควรมีบขัตีดิใควำมสำมำรถ สร้ำงสรรค์ดตัและปฏิ น โดยให้ จัด คิดสร้คิางสรรค์ ัติเป็น นโดยให้ นสายอาชีพเป็นคิดหลัเป็กน ซึคิ่งดในการขอจั ้งได้ปฏิบบัตัติเิตป็ามหลั กการของ กำรศึญกญัษำเน้ นกำรปฏิ บัตกิในสำยอำชี เป็นหลัก ซึ่งในกำรขอจั ิตำมหลั กกำรของพระรำชบั ญญัติสถำบันอุดมศึดมศึ กษำกษา พระราชบั ติสถาบั นอุดมศึ ษาเอกชนพพ.ศ.๒๕๔๖ แก้ไขเพิ่มเติดตัมงได้ (ฉบัปฏิบบทีัต่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๐ ดังนั้น คณะกรรมการการอุ แก้กไขเพิ ่มเติม ด(ฉบั บทีไ่ ด้๒)ภายในปี พ.ศ.๒๕๕๐ ดังนันเลขาธิ คณะกรรมกำรกำรอุ จึงเห็นเอกชน ควรสนัพ.ศ.๒๕๔๖ บสนุนและผลั ดันการจั ตั้งให้ ๒๕๕๗” การ กกอ. กล่าดวมศึกษำ จึงเห็นควรสนับสนุนและผลักดันกำร จัดตังให้ได้ภำยในปี ๒๕๕๗” เลขำธิกำร กกอ. กล่ำว

อนุสารอุดมศึกษา

5


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

Thailand’s Network Security Contest 2013 ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ - รองศาสตราจารย์ ก�ำจร ตติยกวี รองเลขาธิการส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ให้เกียรติ มอบรางวัลการแข่งขัน ‘Thailand’s Network Security Contest 2013’ ครั้งที่ ๘ ณ โรงแรมสวิส โฮเต็ล เลอ คองคอร์ด โดยทีม ชนะเลิศ ได้แก่ ทีม Connectify จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยส�ำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) ร่วมกับ บริษัท เดอะ คอมมูนิเคชั่น โซลูชั่น จ�ำกัด (TCS) ร่วมจัดโครงการแข่งขัน ‘Thailand’s Network Security Contest 2013’ ครั้งที่ ๘ ภายใต้สโลแกน ‘ชาร์ท Energy ให้เต็มที่ แล้วมา...ปล่อยของโชว์เซียน’ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นิสิต นักศึกษา ได้รับทราบความ ก้าวหน้า ความเคลื่อนไหวของเทคโนโลยีสารสนเทศ และปลูกฝังทัศนคติที่ดีให้นิสิต นักศึกษา รักการเรียนรู้ ใฝ่หาแหล่งข้อมูลความรู้ ต่างๆ ในโลกไซเบอร์อินเตอร์เน็ต พร้อมทั้งเป็นเวทีระดับประเทศที่ให้โอกาสนิสิต นักศึกษา ในยุคสารสนเทศได้แสดงความสามารถใน ทางสร้างสรรค์ โดยน�ำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาหรือประยุกต์ใช้อย่างถูกต้องเหมาะสมและค�ำนึงถึงเรื่องของจรรยาบรรณเป็น ส�ำคัญ ตลอดจนเป็นแรงจูงใจในการใฝ่รู้ให้แก่เยาวชนเพื่อเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศต่างๆ อันจะเป็นหนทางน�ำไปสู่ความใฝ่รู้ และความ สนใจในสิ่งแวดล้อมรอบตัว การจัดการแข่งขันดังกล่าวเป็นการเปิดโอกาสให้นิสิต นักศึกษาน�ำความสามารถในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านระบบ รักษาความปลอดภัยมาพัฒนาหรือประยุกต์ใช้อย่างถูกต้อง การแข่งขันครั้งนี้มีนิสิต นักศึกษาให้ความสนใจเข้าร่วมคัดเลือกในรอบแรก จ�ำนวนทั้งสิ้น ๑๒๕ ทีม กว่า ๔๐๐ คน

6

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

มอบ ‘ทุนส่งน้องเรียนจบ’ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ - มูลนิธิอายิโนะโมะโต๊ะ จั ด พิ ธี ม อบทุ น การศึ ก ษา ‘ทุ น ส่ ง น้ อ งเรี ย นจบ’ ประจำ � ปี การศึกษา ๒๕๕๖ โดยมีรองศาสตราจารย์ศักรินทร์ ภูมิรัตน ประธานมูลนิธิอายิโนะโมะโต๊ะ นางวราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา นายประดิษฐ์ ระสิตานนท์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ร่วมมอบทุน ณ โรงแรมอีสติน โดยในปีนี้มีนิสิตนักศึกษาระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา จากสถาบันการศึกษาของรัฐทั่วประเทศ ที่มีผลการเรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ เข้ารับมอบทุนจำ�นวนทั้งสิ้น ๓๐๐ ทุน รวมเป็นเงิน ๖.๕ ล้านบาท นางวราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวให้โอวาทนักศึกษาในพิธีมอบทุนว่า ขอให้นักศึกษา ทุกคนภาคภูมิใจที่ได้รับการคัดเลือกให้ได้รับทุนการศึกษา และถือเป็นโอกาสได้สานฝันไปสู่อนาคตที่ปรารถนา ซึ่งขึ้นอยู่กับความขยัน หมั่นเพียรอย่างแน่วแน่ ทั้งนี้ขอให้ข้อเตือนใจว่า เมื่อเป็นผู้มีความรู้ดีแล้ว ต้องเป็นคนดีด้วย คือ คิดดี พูดดี และทำ�ดี ไม่เห็นแก่ตัว ไม่เอาความเฉลียวฉลาดไปเอาเปรียบผู้อื่น เพราะสังคมจะอยู่ไม่ได้ ต้องฝึกฝนตนให้รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเอง และผู้อื่น เพื่อจะได้เป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคตเป็นกำ�ลังของประเทศชาติ อย่างไรก็ตาม ขอให้นำ�ทุนที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และเมื่อสำ�เร็จการศึกษาขอให้ใช้ความรู้ความสามารถให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง รวมทั้งทำ� ประโยชน์คืนสู่สังคมอย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ

อนุสารอุดมศึกษา

7


เรื่องเล่าอาเซียน

คุณสมบัติของวิ องวิศศวกร วกร และสถาปนิ และสถาปนิกก ทีที่จ่จะโยกย้ ตามคุณ ณสมบั สมบัตติ ิ MRA MRA ะโยกย้าายท�ำงานในอาเซี ยทางานในอาเซียยนน ตามคุ รศ.นิรศ.นิ พันธ์พันวิเธ์ชียวิรน้ ย อย เชียอรน้ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการผั งเมืองเมื ง มหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร์ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการผั อง มหาวิ ทยาลั ยธรรมศาสตร์

ในปีในปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยจะเข้ ำร่าวร่มประชำคมเศรษฐกิ Economic Community Community: AEC) : AEC)พร้พร้ ๒๕๕๘ ประเทศไทยจะเข้ วมประชาคมเศรษฐกิจจอำเซี อาเซียยนน (ASEAN (ASEAN Economic อมกัอมกั บเพืบ่อเพืน่อน ประเทศสมำชิ อำเซียยนยอมรั นยอมรับบร่ร่ววมกั มกันนในเรื ในเรื่อ่องคุงคุณณสมบั สมบัติหตรืิหอรืมาตรฐานในแต่ อมำตรฐำนในแต่ ประเทศสมาชิกกอำเซี อาเซียยนอี นอีกก ๙๙ประเทศ ประเทศ โดยมี โดยมีขข้อ้อตกลงที ตกลงที่ก่กลุลุ่ม่มสมำชิ สมาชิกกอาเซี ละละ วิชวิำชี MRA) อยูอยู่ด้่วดย้วยทัทั้งนีงนี้ เพืเพื่อ่ออ�ำนวยความสะดวกในการเคลื อำนวยควำมสะดวกในกำรเคลื ่อนย้ ชาชีพพ(Mutual (Mutual Recognition Recognition Arrangement Arrangement :: MRA) ่อนย้ ายนัำยนั กวิกชวิาชีชพำชีหรืพหรื อ อ แรงงำนเชี นได้ออย่ย่าำงเสรี งเสรี แรงงานเชี่ย่ยวชำญ วชาญหรืหรืออผูผู้ม้มีคีควำมสำมำรถพิ วามสามารถพิเเศษของอำเซี ศษของอาเซียยนได้ จุดจุประสงค์ ของของMRA ำนวยควำมสะดวกในกำรเคลื่อ่อนย้ นย้าำยนั ยนักกวิวิชชาชีำชีพพโดยอาเซี โดยอำเซียนตกลงกั ยนตกลงกั ำจะยอมรั ดประสงค์ MRAของอำเซี ของอาเซียยนก็ นก็เพืเพื่อ่อออ�ำนวยความสะดวกในการเคลื นว่นาว่จะยอมรั บบ คุณคุณสมบั ำนวยควำมสะดวกในขันตอนกำรขอใบอนุ ำต แต่ แต่ MRA MRA ของอาเซี ของอำเซียยนจะยั นจะยังงไม่ไม่ไปถึ ไปถึงขัง้นขันที ่จะยอมรั บใบอนุ ญำตประกอบ สมบัติเตพืิเพื่ออ่ออ�ำนวยความสะดวกในขั ้นตอนการขอใบอนุญญาต ที่จะยอมรั บใบอนุ ญาตประกอบ วิชวิำชี งปฏิบบัตัติติตามกฎระเบี ำมกฎระเบียยบภายในของประเทศที บภำยในของประเทศที่ต่ตนต้นต้องการเข้ องกำรเข้ ำไปทำงำน ชาชีพซึพ่งซึกั่งนกันและกั และกันนและจะเน้ และจะเน้นนหลั หลักกว่ว่ำานันักกวิวิชชำชี าชีพพต่ต่ำางด้ งด้ำาวจะต้ วจะต้อองปฏิ าไปท�ำงาน วิศ วิวกรไทยซึ ติตำมที ่กำหนดในควำมตกลง MRAMRA (จบปริ(จบปริ ญญำตรี วิศวกรรมศำสตร์ มีประสบกำรณ์ ทำงำนอย่ ำงน้อย ศวกรไทย่งมีซึ่คง มีุณคสมบั ุ ณ สมบั ติ ต ามที ่ ก�ำหนดในความตกลง ญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ มีประสบการณ์ ท�ำงาน ๗ อย่ ปี ารวมทั รับใบอนุ ญำตประกอบวิ ชำชีพวิศวกรรมในประเทศไทยแล้ ว ) สำมำรถไปสมั ครขอขึคนทะเบี นเป็ยนนเป็ วิศวกรวิ ชำชีพ งน้อยงเคยได้ ๗ ปี รวมทั ้งเคยได้ รับใบอนุญาตประกอบวิ ชาชีพวิศวกรรมในประเทศไทยแล้ ว) สามารถไปสมั รขอขึ้นยทะเบี นวิศวกร อำเซี ยนได้ จำกนั ่อมีรำยชื วิศ่อวกรวิ พอำเซี สำมำรถไปสมั ครกับสภำวิ วกรของประเทศอำเซี ยนอื่นยนอื เพื่อ่นขึน วิชาชี พอาเซี ยนได้นเมืจากนั ้นเมื่อ่อมีเป็รนายชื เป็นวิชศำชีวกรวิ ชาชียพนแล้ อาเซีวยก็นแล้ ว ก็สามารถไปสมั ครกับศสภาวิ ศวกรของประเทศอาเซี ทะเบี นวิศยวกรต่ ำวในประเทศนั นๆ ซึ่งจะต้ ิตำมกฎระเบี ยบภำยในของประเทศนั นๆ เช่น้ ๆนเช่หำกมำเลเซี เพือ่ ยขึนเป็ น้ ทะเบี นเป็นวิำศงด้วกรต่ างด้าวในประเทศนั น้ ๆ ซึอง่ งปฏิ จะต้บอัตงปฏิ บตั ติ ามกฎระเบี ยบภายในของประเทศนั น หากมาเลเซียกยำหนดว่ ก�ำหนดว่ำาต้อง มีใต้บอนุ ำต ญและจะต้ องผ่ำอนกำรสอบด้ วย ววิยศวกรไทยที ่สนใจจะไปท ำงำนในมำเลเซียยก็จะต้ จะต้อองไปสอบเพื งไปสอบเพื ด้ใบอนุ ญำตของมำเลเซี องมีใญบอนุ าต และจะต้ งผ่านการสอบด้ วิศวกรไทยที ส่ นใจจะไปท�ำงานในมาเลเซี อ่ ให้่อให้ ได้ไใบอนุ ญาตของมาเลเซี ย ย ก จากข้ วนของ สถาปนิ าสุดของสภาสถาปนิ ในส่วในส่ นของสถาปนิ ก จำกข้ อมูลอล่มูำสุลดล่ของสภำสถำปนิ ก มีกดังมีนีดังนี้ กฎหมายรองรั ม เพราะมี สภาสถาปนิ กอาเซี ยนคอยรองรั บ และก�ำหนดคุ ณสมบั ู้ประกอบวิ พสถาปนิ ามชาติแล้ว กฎหมำยรองรั บรัดบกุรัมดกุเพรำะมี สภำสถำปนิ กอำเซี ยนคอยรองรั บ และก ำหนดคุณสมบั ติผตู้ปิผระกอบวิ ชำชีชาชี พสถำปนิ กข้กำข้มชำติ ว ข้อก�ำหนดที ่ชัดเจนของสถาปนิ กข้ามชาติ หลังการเปิ ถูกก�ำหนดว่ คุณสมบั ติหลายประการ ข้อแล้ กำหนดที ่ชัดเจนของสถำปนิ กข้ำมชำติ หลังกำรเปิ ด AECด นัAEC น ถูนัก้นกำหนดว่ ำ ต้อางมีต้คอุณงมีสมบั ติหลำยประกำร ได้แได้ ก่ แก่ จบการศึ กษาสถาปัตยกรรมศำสตร์ ตยกรรมศาสตร์หหลัลักกสูสูตตรร๕๕ปีปี ๑)๑)จบกำรศึ กษำสถำปั ใบอนุ ญาตเป็ นสถาปนิกก ๒)๒)มีใมีบอนุ ญำตเป็ นสถำปนิ ประสบการณ์อย่อำย่งน้ างน้อยอย๑๐ ๑๐ปีปีนนับับแต่แต่จจบกำรศึ บการศึกกษำ ษา ๓)๓)มีปมีระสบกำรณ์ ่อจบแล้ องท�ำงานโดยมี ใบอนุญญำตอย่ าตอย่ำางน้งน้ออยย๕๕ปีปี ๔)๔)เมืเมื ่อจบแล้ วต้วอต้งท ำงำนโดยมีใบอนุ การพั ฒนาวิ ชาชีพวิพศวิวกรรมอย่ ศวกรรมอย่ำงต่ างต่ออเนืเนื่อ่องง(CDP) (CDP) ๕)๕)มีกมีำรพั ฒนำวิ ชำชี ท�ำงานรั ดชอบสถาปัตยกรรมส ตยกรรมส�ำคั ๖)๖)ทำงำนรั บผิบดผิชอบสถำปั ำคัญญอย่อย่ำางน้งน้ออยย๒๒ ปีปี เคยท�ำผิ ดมาตรฐานหรืออจรรยำบรรณวิ จรรยาบรรณวิชชำชีาชีพพ ๗)๗)ไม่ไม่ เคยท ำผิดมำตรฐำนหรื ิตามข้ ก�ำหนดของสภาสถาปนิกกอำเซี อาเซียยนน ๘)๘)ปฏิปฏิ บัตบิตัตำมข้ อกอำหนดของสภำสถำปนิ

8

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอาเซียน

คุณสมบัติของวิศวกร และสถาปนิก เมื่อปี ๒๕๕๕ ไทยมีสถาปนิก ๑๗,๐๐๐ คน แบ่งตามใบอนุญาต ๓ แบบ คือ แบบสามัญ ๑,๘๕๗ คน แบบภาคี ที่จะโยกย้ายทางานในอาเซียน ตามคุณสมบัติ MRA ๑๔,๑๕๙ คน และแบบวุฒิ ๕๖๐ คน ขณะที่ต่างประเทศมีใบประกอบวิชาชีพเพียงแบบเดียว คือ แบบสามัญ หากไทยต้อง

รศ.นิพันธ์ วิเชียรน้อย รวบเหลือใบเดียว เท่ากับว่าไทยจะเหลือสถาปนิกเพียง ๑,๘๕๗ คน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส�ำหรับการเตรียมความพร้อมของสาขาวิชาชีพ เพื่อรองรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของประเทศ สมาชิกอาเซียน ตามข้อตกลงใน MRA มีดังต่อไปนี้ ในปี ๒๕๕๘ ำร่วมประชำคมเศรษฐกิ จอำเซี ยน (ASEAN Community : AEC)กอาเซี พร้ยอนมกับเพื่อน ๑. จัประเทศไทยจะเข้ ดท�ำกรอบการท�ำงานร่ วมกันของสถาปนิกไทยกั บสถาปนิ กอาเซียEconomic น ภายใต้ข้อตกลงของสภาสถาปนิ ประเทศสมำชิ กอำเซียนอีกวมกั ๙ นประเทศ ่กลุ่มงสมำชิ กอำเซี นยอมรัวมกั บร่นวภายใต้ มกันในเรื ่องคุณสมบั ิหรือมำตรฐำนในแต่ละ ว่าด้วยการท�ำงานร่ อย่างเท่าโดยมี เทียมข้อซึตกลงที ่งข้อตกลงดั กล่าวเป็ นข้อยตกลงร่ กรอบใหญ่ ของตInternational วิชำชีพ Union (Mutual Recognition : าMRA) อยูบ่ดตั ้วงิ ยานในประเทศอื ทังนี เพื่ออำนวยควำมสะดวกในกำรเคลื ่อนย้ำยนัน้ ก”วิชำชีพหรือ of Architects: UIA ทีArrangement ร่ ะบุไว้อย่างชัดเจนว่ “การปฏิ น่ ต้องมีการร่วมมือกับเจ้าของประเทศนั แรงงำนเชี่ยวชำญ๒.หรืด�ำเนิ อผู้มีคนวำมสำมำรถพิ เศษของอำเซี ยนได้ อย่พำต่งเสรี การจัดให้มีระบบการพั ฒนาวิ ชาชี อเนื่อง หรือที่เรียกว่า CPD (Continuing Professional จุ ด ประสงค์ ข อง MRA ของอำเซี ย นก็ เ พื ่ อ อ ำนวยควำมสะดวกในกำรเคลื ่อนย้นำ“สถาปนิ ยนักวิชำชีกอาเซี พ โดยอำเซี Development) โดยความสมัครใจ ส�ำหรับผู้ที่มีความประสงค์จะขึ้นทะเบียนเป็ ยน” ยนตกลงกันว่ำจะยอมรับ คุณสมบัติเพื่ออำนวยควำมสะดวกในขั นตอนกำรขอใบอนุ ญำต แต่ MRAางด้ของอำเซี ยนจะยังไม่ไปถึกงาขันที ะยอมรั บใบอนุ ญำตประกอบ ๓. แก้ไขกฎกระทรวงเพื ่อให้เกิดการจ้างงานของคนต่ าวตามพระราชกฤษฎี เพื่อ่จให้ สถาปนิ กต่างชาติ วิชำชีพซึสามารถเข้ ่งกันและกัานมาท�ำงานในเมื และจะเน้นหลั กว่ำนักภวิายใต้ ชำชีพเงืต่​่อำนไขของ งด้ำวจะต้MRA องปฏิบัติตำมกฎระเบียบภำยในของประเทศที่ตนต้องกำรเข้ำไปทำงำน องไทยได้ วิศวกรไทยซึ คุณนทีสมบั ติตำมที่กวำหนดในควำมตกลง (จบปริญกญำตรี ิศวกรรมศำสตร์ มีประสบกำรณ์ ดังนั้น่งมีเป็ ่รับทราบแล้ ว่า สาขาวิชาชีพสถาปัMRA ตยกรรมจะมี ารเปิดวเสรี ในอาเซียนปี ๒๕๕๘ เราจะมีพทันำงำนอย่ ธมิตร ำงน้อย ๗ ปี รวมทั งเคยได้ รับใบอนุชญ ชำชีอาเซี พวิศยวกรรมในประเทศไทยแล้ ) สำมำรถไปสมั รขอขึ นทะเบี่นยักนเป็ วกรวิชำชีพ และคู ่แข่งในสาขาวิ าชีำตประกอบวิ พสถาปัตยกรรม นและประชาคมเศรษฐกิจวอาเซี ยน (AEC) จึคงเป็ นโอกาสที วิชาชีนพวิศของ อำเซียนได้ นเมื่อชาชี มีรพำยชื ่อเป็ตนยกรรมจะได้ วิศวกรวิชำชี อำเซี รกับสภำวิ ศวกรของประเทศอำเซี ยนอื่น เพื่อขึน อาเซีจำกนั ยนสาขาวิ สถาปั พันพธมิ ตรวิยชนแล้ าชีพวเดีก็ยสวกัำมำรถไปสมั นในภูมิภาคคในการถ่ ายทอดองค์ ความรู้ ประสบการณ์ ทะเบียนเป็ นวิศวกรต่ำงด้รวมถึ ำวในประเทศนั ซึ่งจะต้ยอวกั งปฏิ ิตำมกฎระเบี เช่นชาชี หำกมำเลเซี ำหนดว่ และเทคโนโลยี งการร่วมทุนๆ น ขณะเดี นทุบกัตสาขาวิ ชาชีพทีย่ถบภำยในของประเทศนั ูกก�ำหนดต้องปรับตัวพันๆ ฒนาวิ พเชี่ยวชาญยกเพิ ่ม ำต้อง มีใบอนุญทัำต และจะต้ องผ่งำกฤษ นกำรสอบด้ วย และภาษาอาเซี วิศวกรไทยที่สยนใจจะไปท ำงำนในมำเลเซี ยก็จะต้องไปสอบเพื บอนุญำตของมำเลเซี ย กษะด้ านภาษาอั ภาษาไทย น รวมถึงการเข้ าใจเรือ่ งสังคมและคนอาเซี ยน เพื่ออ่ ให้ให้ได้สใามารถอยู ร่ ว่ มกัน ได้แวละใช้ ประโยชน์กจากประชาคมเศรษฐกิ จอาเซียนได้อกย่มีางสู ในส่ นของสถาปนิ จำกข้อมูลล่ำสุดของสภำสถำปนิ ดังงนีสุด สุดท้ายแล้วประชาชนทุกคนคือผู้บริโภค จะได้รับสินค้า และบริ การที่มีคบุณรัดภาพ ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยนจึ งเป็นความหวั งที่น่าท้ำหนดคุ าทายและเป็ มากที่สชุดำชีพสถำปนิกข้ำมชำติแล้ว กฎหมำยรองรั กุม เพรำะมี สภำสถำปนิ กอำเซี ยนคอยรองรั บ และก ณสมบันตจริ​ิผู้ปงได้ระกอบวิ ข้อกำหนดที่ชัดเจนของสถำปนิกข้ำมชำติ หลังกำรเปิด AEC นัน ถูกกำหนดว่ำ ต้องมีคุณสมบัติหลำยประกำร ได้แก่ ๑) จบกำรศึกษำสถำปัตยกรรมศำสตร์หลักสูตร ๕ ปี ๒) มีใบอนุญำตเป็นสถำปนิก ระสบกำรณ์อย่ำงน้อย ๑๐ ปีนับแต่จบกำรศึกษำ ข้๓)อมูมีลปhttp://www.thai-aec.com/840#more-840 ๔) เมื่อจบแล้วต้องทำงำนโดยมีใบอนุญำตอย่ำงน้อย ๕ ปี ๕) มีกำรพัฒนำวิชำชีพวิศวกรรมอย่ำงต่อเนื่อง (CDP) ๖) ทำงำนรับผิดชอบสถำปัตยกรรมสำคัญอย่ำงน้อย ๒ ปี ๗) ไม่เคยทำผิดมำตรฐำนหรือจรรยำบรรณวิชำชีพ ๘) ปฏิบัติตำมข้อกำหนดของสภำสถำปนิกอำเซียน

อนุสารอุดมศึกษา

9



กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายการศึกษาให้เร่งรัดด�ำเนินการ ปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้เชื่อมโยงสัมพันธ์กัน มีมาตรฐานเทียบได้กับ ระดับสากล และสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ ส่งเสริมให้ สถาบันอุดมศึกษาเร่งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานมากกว่าการขยายเชิง ปริมาณ การส่งเสริมให้เอกชนและทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมจัดและสนับสนุน การศึกษามากขึ้น เป็นการเพิ่มและกระจายโอกาสทางการอุดมศึกษาอย่าง มีคุณภาพ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพที่เหมาะสมและเสริมสร้างสมรรถนะ ในการแข่งขันให้กับคนไทย เพื่อให้สามารถด�ำรงอยู่อย่างมีความสุขและยั่งยืน ในกระแสการเปลี่ยนแปลงของสภาวะเศรษฐกิจและสังคมโลก ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในฐานะองค์กรหลักที่รับผิดชอบ การบริหารจัดการการอุดมศึกษาของประเทศ ได้วางแผนด�ำเนินการบริหารจัดการ การศึกษาระดับอุดมศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง โดยมีการระดม ความคิดเห็น เพื่อหาแนวทางการปฏิรูปอุดมศึกษาทั้งระบบ ร่วมกับคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคผู้ใช้ก�ำลังคน ทั้งนี้ การจัดประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้บริหาร สถาบันอุดมศึกษาในสังกัด/ในก�ำกับส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ภายใต้โครงการ สกอ.สัญจร ๒๕๕๗ เป็นอีกหนึ่งเวที เพื่อให้ผู้บริหารของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้พบปะกับผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา ร่วมแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์เพื่อหา แนวทางการปฏิรูปอุดมศึกษาทั้งระบบ และหากลไกที่จะน�ำยุทธศาสตร์และนโยบายการขับเคลื่อนอุดมศึกษาต่างๆ ลงไปสู่การปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษา ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางบริหารจัดการที่ พีงประสงค์ระหว่างกัน โดยด�ำเนินการในรูปแบบการประชุมสัมมนาและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นการจัดการเรียนการสอนระหว่าง ผู้บริหาร สกอ. กับผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา มีการจัดแสดงนิทรรศการนโยบายของ สกอ. ที่เกี่ยวข้องและเอื้อในการบริหารจัดการ และการด�ำเนินภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา


ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้จัดประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ร่วมกับผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาในสังกัด/ในก�ำกับส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ภายใต้โครงการ สกอ.สัญจร ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๒ ครั้ง คือ ภาคเหนือ เมื่อวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ณ วนาศรม รีสอร์ท มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย และ ภาคใต้ เมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ณ โรงแรมเซ็นทารา หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยมีผู้บริหารระดับสูงจากสถาบันอุดมศึกษา ทั้งรัฐ และเอกชน ตลอดจนวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสื่อมวลชนเข้าร่วมประชุม ซึ่งในการประชุม สัมมนาแลกเปลี่ยนทั้ง ๒ ครั้ง ได้รับเกียรติจากศาสตราจารย์พิเศษทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็น ประธานเปิดการประชุม และให้นโยบายการจัดการศึกษาในทศวรรษใหม่ พร้อมรับฟังการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นการจัดการเรียน การสอนระหว่างผู้บริหาร สกอ. ซึ่งน�ำทีมโดยรองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ นางวราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กับผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา ในประเด็นปรึกษาหารือ อาทิ การจัดท�ำหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา การด�ำเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา การจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง การรับทราบหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา การจัดการศึกษาในระบบ การศึกษาทางไกล กรอบอัตราก�ำลังพนักงานมหาวิทยาลัย การขอต�ำแหน่งทางวิชาการ ระบบการสรรหาอธิการบดี มหาวิทยาลัยวิจัย แห่งชาติ ทุนการศึกษาและทุนวิจัยส�ำหรับอาจารย์ ทุนการศึกษาส�ำหรับนักศึกษา การด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษา เอกชน พ.ศ.๒๕๔๖ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๐


เรื่องหลักที่ สกอ. ให้ความสนใจ จากการมอบนโยบายของเลขาธิการ กกอ. เน้นคุณภาพมาตรฐาน ได้มีการก�ำหนดกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาขึ้น โดยมีมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ของบัณฑิต (Learning Outcomes) อยู่ ๕ ด้าน ในขณะนี้มีมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา ๑๑ สาขา ครอบคลุมทั้งปริญญาตรี-โท-เอก ซึ่งเป็นกลไกส�ำคัญที่จะใช้ในการพัฒนาอุดมศึกษา ต่อไปจะเน้นใน ระดับหลักสูตรมากขึ้น เนื่องจากหัวใจของการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัยจะอยู่ที่ระดับหลักสูตร นอกจาก มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาที่ได้จัดท�ำขึ้นเพื่อเป็นหลักหรืออ้างอิงในการพัฒนาหลักสูตรแล้ว หลังจากนี้จะเน้นในเรื่อง ของการ Post Audit เพื่อที่จะดูว่าการด�ำเนินการของสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาที่ได้ก�ำหนดไว้หรือไม่ และหลังจาก Post Audit จะมีการขึ้นทะเบียนตัวหลักสูตรที่ตรงตามกรอบ มาตรฐาน โดยให้ด�ำเนินการในลักษณะให้มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ สกอ. จะพยายามเร่งจัดท�ำมาตรฐาน คุณวุฒิสาขาวิชาที่ส�ำคัญๆ เพิ่มเติมขึ้น จะท�ำให้การด�ำเนินงานในระดับอุดมศึกษามีมาตรฐานมากขึ้น

การเปิดสอนทางไกล จะเน้นการยกระดับคุณภาพมาตรฐานหลักสูตร โดยก�ำหนดเกณฑ์ การประเมินคุณภาพการจัดการเรียนการสอนทางไกล ๑๑ ข้อ นอกจากนี้เกณฑ์การขอเปิด ยังต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ ตัวชี้วัด อันนี้เป็นจุดที่จะเน้นกันมากขึ้น สกอ. มีโครงการ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (Thailand Cyber University) ซึ่งน่าจะช่วยผ่อนแรงมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยดูว่าหลายๆ วิชาเป็นวิชาร่วมกัน โดยเฉพาะวิชาพื้นฐาน ถ้าเราท�ำ เป็น e-Learning ใส่ไว้ใน Thailand Cyber University มหาวิทยาลัยจะลดภาระในการจัดการเรียนการสอนวิชาบังคับพื้นฐาน และอาจปรับเป็นวิชาที่จะมาเสริมมา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในห้องมากขึ้น ซึ่งจะเป็นทางเลือกหนึ่งในการให้บริการกับนักศึกษา


การยกระดับอันดับของสถาบันอุดมศึกษาไทยให้อยู่ในอันดับโลก มีแนวความคิดที่จะยกระดับสถาบันอุดมศึกษา ไทยให้มีการจัดอันดับอยู่ในอันดับโลก หรือ World Ranking University ในส่วนอุดมศึกษามีการน�ำเสนอว่า มหาวิทยาลัยต่างๆ จะเข้าสู่การจัดอันดับนานาชาติมากน้อยแค่ไหน ซึ่งถ้าจะยกระดับทั้งมหาวิทยาลัยให้เป็น มหาวิทยาลัยใน Top 100 ของโลกไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ถ้าเรายกระดับบางคณะ บางหลักสูตรน่าจะมีความเป็นไปได้ เพราะขณะนี้ มหาวิทยาลัยของไทยใน QS Ranking แบบรายคณะ/รายสาขาวิชา เป็นมหาวิทยาลัยระดับ World Class ไปแล้ว อาทิ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อยู่ในอันดับ ๑๐๑ - ๑๕๐ หลายมหาวิทยาลัยของไทย กลายเป็นหลักสูตรที่ได้รับการจัด อันดับอยู่ในอันดับช่วง ๑๐๐ - ๒๐๐ ของมหาวิทยาลัยโลก ซึ่งจะมีความเป็นไปได้สูงในการช่วยยกระดับอันดับของสถาบันอุดมศึกษาไทย ให้อยู่ในระดับโลก และจะไปต่อยอดกับประเด็นเรื่องศูนย์ความเป็นเลิศ

ศูนย์ความเป็นเลิศ (Center of Excellence) ตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ ศูนย์ความเป็นเลิศได้ตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นกลไก ในการพัฒนาประเทศ โดยระยะแรกพัฒนาระดับบัณฑิตศึกษา ต่อมาขยายให้มีการวิจัย และพยายามผลักดัน ไปสู่การวิจัยที่ตอบโจทย์อุตสาหกรรมและธุรกิจที่มากขึ้น เพื่อที่จะเชื่อมโยงระหว่างภาคธุรกิจอุตสาหกรรมกับมหาวิทยาลัย ในวันนี้ มีแนวความคิดที่จะไปในทิศทางนี้มากขึ้น สมาคมวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งประเทศไทย (สวทน) ได้ท�ำการวิเคราะห์ และส�ำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์ฯ) ได้พิจารณาเอาไว้ ว่าเราเก่งในเรื่องอะไร จะมีทิศทาง การพัฒนาประเทศไปในเรื่องอะไร จะวางทิศทางประเทศอย่างไร ซึ่งคงหนีไม่พ้น ๘ - ๑๐ เรื่องที่เรามีศักยภาพสูงสุด เช่น เกษตร พลังงาน สิ่งแวดล้อม โลจิสติกส์ ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเคมีต่างๆ ศูนย์กลางการให้บริการการรักษาพยาบาล (Medical Hub) เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ส่วนที่จะต้องเน้นในการด�ำเนินการคงจะต้องสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ให้มากขึ้น ฉะนั้น ถ้าสามารถก�ำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศได้ว่าต้องการเน้น Sector อะไร ค�ำถามใหญ่จากนั้น คือ ความรู้และ นวัตกรรมของมหาวิทยาลัยหลายๆ แห่ง จะช่วยในการพัฒนาต่อยอด Sector ต่างๆ ให้มีความสามารถในการแข่งขันต่อไปได้ คือ องค์ความรู้อะไรบ้าง และมหาวิทยาลัยจะเข้ามาเป็นแกนในการที่จะช่วยต่อยอดองค์ความรู้เหล่านั้น ซึ่งจะเชื่อมผนวกตรงนี้กับ World Class University ขณะนี้พยายามคิดว่าศูนย์ความเป็นเลิศควรมีประเด็นอะไรบ้าง และมหาวิทยาลัยใดที่ควรเข้ามาเกี่ยวข้อง และ อีกทางหนึ่งสถาบันอุดมศึกษาเสนอขึ้นมาได้ว่าอยากจะเป็นศูนย์ความเป็นเลิศด้านใด เพราะอาจจะต้องดูทั้ง ๒ ส่วน ส่วนแรก คือ ความ สามารถในการแข่งขันของประเทศ อีกส่วนหนึ่งแก้ปัญหาชุมชน แก้ปัญหาของพื้นที่ ที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏจะเสนอตัว เป็นศูนย์ความเป็นเลิศในการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งไม่ใช่ความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดยตรง แต่ก็ตอบโจทย์ปัญหา ความต้องการของประเทศได้ ซึ่งการปฏิรูปการศึกษามีหลายเรื่องที่จะท�ำ หนึ่งในนั้นคือเรื่องครู มหาวิทยาลัยราชภัฏผลิตครูมาก่อน ดังนั้น สิ่งที่มหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง ๔๐ แห่ง จะร่วมมือกัน คือ เอาครูที่มีอยู่ในปัจจุบันกลับเข้ามา มา retrace-step-style วิชาคณิตศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ จะสอนเด็กอย่างไรเด็กไทยจะได้อ่านออกเขียนได้ เก่งภาษาอังกฤษ เก่งคณิตศาสตร์ ในแต่ละมหาวิทยาลัยถ้าสามารถค้นหาจุดที่จะโฟกัสได้เด่นๆ ก็จะเอาเข้ามาอยู่ในวงของศูนย์ความเป็นเลิศที่จะท�ำงาน ร่ ว มกั น ต่ อ ไป ทุ น วิ จั ย การพั ฒ นาอาจารย์ โครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ จ ะต้ อ งปรั บ ปรุ ง ก็ จ ะลงใน Area ต่ า งๆ เหล่ า นี้ เ พิ่ ม มากขึ้ น นอกเหนือจากงบประมาณปกติ อันนี้จะเป็น Extra เราเรียกว่า Investment Fund รูปแบบนี้ใช้กันในต่างประเทศ ประเทศไทยเราก็ใช้ แต่ยังไม่สมบูรณ์แบบ


ด้านการเรียนการสอน บัณฑิตของ เราถู ก วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ พ อสมควร ว่าจบไปแล้วท�ำงานไม่ได้ สมัยผมอยู่ ก.พ.ร. ต้องท�ำโปรแกรมพิเศษต่อยอดอีก ๒ ปี ให้ มหาบัณฑิตทีจ่ บปริญญาโท ปริญญาเอก มาฝึกวิธที �ำงาน ราชการ ไปฝึก เป็น ลูก ศิษย์ของผู้ว่า ราชการจั ง หวั ด ปลัดกระทรวงฯ ท่านทูต เรียนวิธีการท�ำงาน เพราะเรา สอนแต่วิชาการ ไม่ได้เน้นในเรื่องของการท�ำงาน ฉะนั้น Work Integrated Learning ท�ำกันมาค่อนข้างดีอยูแ่ ล้ว ก็คงจะต้องเน้นต่อไป ในการขยายผลในการท�ำงาน กับภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม เพิม่ มากขึน้ ในสาขาอืน่ ๆ

ธรรมาภิบาล สถาบันอุดมศึกษามีปัญหาหลายเรื่อง ไม่ว่าจะเรื่องกระบวนการสรรหากรรมการสภา/ อธิการบดี การประเมินผลอาจารย์ บุคลากรในมหาวิทยาลัย เรื่องการบริหารการพัสดุ โครงการ ก่อสร้างอาคารต่างๆ ซึ่งผมได้รับทราบจากส�ำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน การตั้งกรรมการสอบสวน เราก็มีระเบียบ ปกติการ สอบสวนเราต้องใช้บุคคลในระนาบเดียวกัน จะสอบปลัดกระทรวง ก็ต้องใช้ปลัดกระทรวง จะสอบอธิการบดี ต้องใช้อธิการบดี ซึ่งเป็นข้อจ�ำกัดอีก บังเอิญอธิการบดี รองอธิการบดี เป็นฝ่ายที่จะต้องถูกสอบเสียเองก็เป็นเรื่องที่เกิดขึ้น ปัญหาการแก้ไขเกรด เรื่องสัดส่วนอาจารย์ เรื่องแอบเอาชื่ออาจารย์มาใส่ในหลักสูตรโดยเจ้าตัวไม่รู้เรื่อง คือ ปัญหาธรรมาภิบาลที่เราต้องดูแลแก้ไข ยังไม่รู้จะหาทางออกยังไง แต่คงต้องเตรียมการ เพราะว่าเป็นเรื่องใหญ่ในการบริหารมหาวิทยาลัยด้วยเช่นเดียวกัน

การพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ วันนี้เรามีหลักสูตรนานาชาติอยู่ ๑,๐๐๐ กว่า หลักสูตร ตั้งแต่ระดับตรี-โท-เอก มีนักเรียนต่างชาติประมาณ ๔,๐๐๐ คน เข้ามาอยู่ในมหาวิทยาลัยของเรา อย่างเช่น ที่มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงประสบ ความส�ำเร็จพอสมควร ฉะนัน้ ในขณะนีห้ ลายหลักสูตร หลายมหาวิทยาลัยกลายเป็นหลักสูตรภาษาอังกฤษบ้าง หลักสูตรนานาชาติบ้าง และมีนักศึกษาที่ไม่ใช่คนไทยอยู่ด้วย นี่คือ บริบทที่เปลี่ยนไป เราอาจจะหันมาทบทวน ดูว่าหลักสูตรนานาชาติที่เรามี เป็นหลักสูตรนานาชาติที่สมบูรณ์แบบจริงหรือเปล่า ในบางครั้งปัญหาในการ ใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอนส�ำหรับหลักสูตรนานาชาติก็ยังมี ตรงนี้เราอาจจะต้องกลับมาทบทวนดู โดยเฉพาะถ้าเราจะต่อยอดไปสู่อาเซียน


พูดคุยเรื่องมาตรฐาน

การยกระดับคุณภาพการศึกษาไปสู่สากล (ตอนที่ ๒) การยกระดับคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา บทบาทและหน้าที่ของสกอ. จากการกำ�กับดูแลในเบื้องต้น เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งได้มาตรฐานที่ใกล้เคียงกัน ภายใต้เกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา มาตรฐานสาขาวิชาต่าง ๆ เกณฑ์การกำ�หนดชื่อปริญญา โดยใช้ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาเป็นเครื่องมือในการประเมินผลการดำ �เนินงาน ทั้งระดับภาควิชา คณะวิชา และระดับสถาบัน ซึ่งสถานศึกษาแต่ละแห่งจะต้องนำ�ผลการประเมินคุณภาพไปปรับปรุง คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ระบบการประกันคุณภาพภายในถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการ ศึกษาที่คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องดำ�เนินการอย่างมีระบบและต่อเนื่อง พร้อมทั้งจัดทำ�รายงาน ประจำ�ปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อสภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการ ประกันคุณภาพภายนอก โดยให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์และแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ การประกันคุณภาพภายนอก เป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการติดตามและตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยคำ�นึงถึงความมุ่งหมาย หลักการ และแนวทางในการจัดการศึกษา ในแต่ละระดับ ซึ่งจะดำ�เนินการประเมินโดย ‘สำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ มหาชน) หรือ สมศ.’ โดยสถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกรอบห้าปี และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน จากการดำ�เนินงานส่งเสริมสถานศึกษาในสังกัดให้มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ทั้งระดับคณะวิชาและสถาบัน โดยคำ�นึงถึงมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการกำ�หนดมา อย่างต่อเนื่อง สกอ. จึงมีนโยบายส่งเสริมสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาที่มีความเข้มแข็ง โดยเฉพาะสถาบันอุดมศึกษา หรือคณะวิชาที่มีการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในได้มาตรฐานในระดับดีมาก หรือมีผลการประเมินคุณภาพการ ศึกษาภายนอกรอบสามได้มาตรฐานในระดับดีมาก ให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อสู่ความเป็นเลิศ โดยนำ�เกณฑ์ คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำ�เนินการที่เป็นเลิศ (Education Criteria for Performance Excellence : EdPEx) ซึ่งเป็น เกณฑ์ที่ยอมรับในระดับสากลไปใช้เป็นทางเลือกหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการศึกษาอย่างก้าวกระโดด เทียบได้ในระดับสากล โดยคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาในการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๕ เมื่อ วันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๕ มีมติเห็นชอบแนวทางในการนำ�เกณฑ์ EdPEx มาใช้ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อเป็นทางเลือกให้สถาบันอุดมศึกษาที่มีความพร้อมมีการดำ�เนินการประกันคุณภาพการศึกษาได้มาตรฐานในระดับ ดีมาก ได้นำ�เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำ�เนินการที่เป็นเลิศ ไปใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารองค์การเพื่อพัฒนา ที่ก้าวกระโดดต่อไป เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำ�เนินการที่เป็นเลิศ (Education Criteria for Performance Excellence : EdPEx) เป็นชุดคำ�ถามเกี่ยวกับเรื่องสำ�คัญ ๗ ด้านในการบริหารและดำ�เนินงานของสถาบัน ได้แก่ การนำ�องค์การ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้นลูกค้า การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ การมุ่งเน้น บุคลากร การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ ผลลัพธ์ ชุดคำ�ถามจะผูกโยงเป็นกรอบการบริหารผลการดำ�เนินการที่มีการบูรณาการเป็นหนึ่งเดียว การตอบคำ�ถาม ข้างต้นจะช่วยให้สถาบันจัดการเรื่องทรัพยากรให้สอดคล้องกัน ค้นหาจุดแข็งและโอกาสการพัฒนา ปรับปรุงการสื่อสาร

16

อนุสารอุดมศึกษา


พูดคุยเรื่องมาตรฐาน

การเพิ่มผลผลิต และความมีประสิทธิผล รวมทั้งบรรลุเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ ซึ่งจะทำ�ให้สถาบันบรรลุสู่ความเป็นเลิศ โดย (๑) ส่งมอบคุณค่าที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องให้กับผู้เรียน ลูกค้ากลุ่มอื่น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งส่งผลให้เกิดคุณภาพ การศึกษาและความยั่งยืนขององค์การ (๒) ปรับปรุงประสิทธิผลการดำ�เนินการและขีดความสามารถของสถาบัน (๓) มีการปรับปรุงและเกิดการเรียนรู้ของสถาบัน และ (๔) สมาชิกทุกคนในสถาบันมีการเรียนรู้และพัฒนา เกณฑ์ EdPEX มีบทบาทที่สำ�คัญ ๓ ด้านในการทำ�ให้ประเทศมีความสามารถในการแข่งขันที่ดีขึ้น คือ ๑. เกณฑ์ช่วยปรับปรุงวิธีการดำ�เนินงานของสถาบัน เพิ่มขีดความสามารถ และผลลัพธ์ให้ดีขึ้น ๒. เกณฑ์ช่วยกระตุ้นให้เกิดการสื่อสารและแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศระหว่างองค์การและสถาบันต่างๆ ในประเทศ ๓. เกณฑ์เป็นเครื่องมือที่สร้างความเข้าใจและบริหารจัดการผลการดำ�เนินการของสถาบัน ชี้แนะแนวทางการ จัดทำ�แผนกลยุทธ์ และเปิดโอกาสการเรียนรู้ เกณฑ์ EdPEx มุง่ เน้นผลลัพธ์ในเรือ่ งหลักๆ เกีย่ วกับการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน กระบวนการ ผูเ้ รียนและลูกค้ากลุม่ อืน่ บุคลากร การนำ�องค์การและธรรมาภิบาล รวมถึงงบประมาณ การเงินและตลาด องค์ประกอบของเกณฑ์ทำ�ให้มั่นใจ ได้ว่ากลยุทธ์ของสถาบันมีความสมดุล โดยไม่ละเลยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียบางกลุ่ม วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายทั้งระยะสั้น และระยะยาวที่สำ�คัญ ที่มาของเกณฑ์ เกณฑ์ EdPEX เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นและรู้จักกันเฉพาะในประเทศไทย แต่ที่มาของเกณฑ์ คือ Baldrige Education Criteria for Performance Excellence เป็นที่ยอมรับและรู้จักกันในวงการศึกษา และมีสถาบันการศึกษาหลายแห่ง ทั้งในสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย สิงคโปร์ ฮ่องกง รวมทั้งประเทศไทย นำ�เกณฑ์นี้ไปใช้เพื่อพัฒนาตนเอง นอกจากนี้ มีโปรแกรมเกี่ยวกับผลการดำ�เนินการหรือความเป็นเลิศทางธุรกิจอยู่ประมาณ ๑๐๐ โปรแกรมทั่วโลก ซึ่งส่วนใหญ่ ใช้เกณฑ์ของ Baldrige หรือเกณฑ์ที่คล้ายคลึงกันเป็นต้นแบบการดำ�เนินงานที่เป็นเลิศ เช่น PMQA ของสำ�นักงาน ก.พ.ร. หรือ เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เพื่อองค์การที่เป็นเลิศ ของสำ�นักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award : TQA) เป็นต้น ในขณะเดียวกัน สกอ. ได้กำ�หนดกรอบแนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ในรอบถัดไป โดยกำ�หนดให้มีการดำ�เนินการประกันคุณภาพการศึกษาตั้งแต่ระดับหลักสูตร คณะวิชา และสถาบัน และส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษานำ�เกณฑ์รับรองคุณภาพระดับสากลมาใช้ในการประกันคุณภาพภายในที่นอกจากใช้ เกณฑ์ EdPEx แล้วในระดับหลักสูตร ยังมีเกณฑ์ของ AUN QA :(ASEAN University Network Quality Assurance) ซึ่ ง เป็ น การประเมิ น คุ ณ ภาพระดั บ หลั ก สู ต ร หรื อ เกณฑ์ ก ารประกั น คุ ณ ภาพหลั ก สู ต รตามมาตรฐาน AACSB International Certificate of Accreditation ของสถาบันที่ให้การรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ และการบัญชีทั่วโลก (The Association to Advance Collegiate School of Business) ซึ่งเป็นการยกระดับคุณภาพ การศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทยเทียบเท่ากับระดับสากลทั้งในระดับอาเซียนและระดับโลก จากการดำ�เนินการต่างๆ เพือ่ ยกระดับคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึง่ สกอ. ดำ�เนินงานมาอย่างต่อเนือ่ ง โดยมุ่งหวังให้สถาบันอุดมศึกษาไทยทุกแห่งจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ เป็นแหล่งผลิตความรู้ กำ�ลังคน นวัตกรรม เทคโนโลยี ตลอดจนเป็นแหล่งการเรียนรู้ของสังคมที่มีส่วนสำ�คัญในการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งฐานความรู้ จนสามารถขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไทยสู่มหาวิทยาลัยระดับโลก เป็นศูนย์กลางแห่งความเป็นเลิศ ที่ตอบโจทย์ในการ พัฒนาหรือแก้ไขปัญหาของประเทศได้ต่อไป

อนุสารอุดมศึกษา

17


เรื่องแนะน�ำ

คณะกรรมการบริหาร ส�ำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ พัฒนาการศึกษา และส�ำนักงานบริหารโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สังกัดศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ พัฒนาการอุดมศึกษา ส�ำนั กงานคณะกรรมการการอุ ด มศึ กษา ได้ประกาศจัดตั้ง ส�ำนัก งานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่ อ พัฒนาการศึกษาและส�ำนักงานบริหารโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย เป็นหน่วยงานภายใน ภายใต้ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาการอุดมศึกษา โดยก�ำหนดให้การบริหารงานของหน่วยงานดังกล่าวอยู่ภายใต้ การก�ำกั บ ดู แ ลของคณะกรรมการบริ ห าร และเพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารส�ำนั ก งานบริ ห ารเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ พัฒนาการศึกษาและส�ำนักงานบริหารโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อพัฒนาการอุดมศึกษา เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร ส�ำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา และส�ำนักงานบริหาร โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สังกัดศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาการอุดมศึกษา โดยมี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานกรรมการ รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา นางวราภรณ์ สี ห นาท รองเลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา นายสุ ภั ท ร จ�ำปาทอง ผู ้ ช ่ ว ยเลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุดมศึกษา และผู้อ�ำนวยการส�ำนักอ�ำนวยการ เป็นกรรมการ มีผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา และผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย เป็นกรรมการและเลขานุการ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริหาร ส�ำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาและส�ำนักงาน บริหารโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สังกัดศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาการอุดมศึกษา มีอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ ๑. ก�ำหนดนโยบายและทิศทางการบริหารส�ำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาและ ส�ำนักงานบริหารโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ๒. ก�ำกับ ดูแล ติดตามและประเมินผลการบริหารส�ำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการ ศึกษาและส�ำนักงานบริหารโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย ให้เป็นไปตามนโยบายที่ก�ำหนด ๓. แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะท�ำงาน หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพื่อกระท�ำการใด ๆ ตามอ�ำนาจหน้าที่ของส�ำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาและส�ำนักงานบริหารโครงการ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

18

อนุสารอุดมศึกษา


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

๒๔ กุ๒๔ ม๒๔ ภาพั ธ์ ๒๕๕๗ - ส�ำนั กงานคณะกรรมการ กุมนภำพั กุ นธ์ ม ๒๕๕๗ ภำพั - สำนั น กงำนคณะกรรมกำรกำร ธ์ ๒๕๕๗ - ส ำนั ก งำนคณะกรรมกำรกำร การอุ ด มศึ ก ษา ร่ ว มกั บ บริ ษ ั ท ที ค ิ ว เอ็ ม อิ น ชั ว ร์ ร ั น อุดมศึ อุดมศึกกษำ ษำ ร่วมกับร่บริ วษมกั ัท ทีคิวบ เอ็ม อิบริ นชัวร์รษ ันส์ส์ โบรกเกอร์ ัโบรกเกอร์ ท ทีค จำกัิวด เอ็ม อินชัวร์ รันส์ โบรกเกอร์ อุ จด ำกั มศึ ดก จ�ำกั ด จั ด พิ ธ ี ร ั บ มอบระบบห้ อ งสมุ ด อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ส�ำหรั บ จั ด พิ จั ด พิธีธี รัรับ มบ อ บม ร ะ บอ บ ห้ บ อ ง สร มุ ดะ อิ เ ล็บ ก ท รบ อ นิห้ ก ส์ อ ส ำ หงรั บส มุ ด อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ส ำ จั หด รั พิ บธ สถาบันอุสถำบั ดมศึ ษาดมศึ จ�ำนวน แห่ษำ ง ตามโครงการระบบห้ องสมุ๗๗ ดองสมุด แห่ง ตำมโครงกำรระบบห้อ งสมุ สถำบั นนกอุอุ ด กมศึ ษำ จ๗๗ ำนวน ก ๗๗ แห่งจ ตำมโครงกำรระบบห้ ำนวน สถำบั ดน กทรอนิ ส�ำหรั นบอุสถำบั ดมศึกส องสมุ ข)ถำ อิอิเเล็ล็ กทร อิ เ ล็กส์ทรอนิ อนิ กบส์สถาบั ส ำหรั กส์ นษาอุำ ด(ห้มศึห ก ษำ รัดสร้ บ (ห้าองสุ ส งสมุ ดเพืสร้่อำ งสุ บัข )น อุ ด ม ศึ กษำ ( ห้ องส มุ ด ส ร้ ำอิ งสุ เ ล็ขกท ) ให้ม่อ ีสื่อให้ การเรี ยมนรู างการศึ ษา ให้หกย ้อษำงสมุ อุดมศึนกอุษา เพื เพื่อให้ม ีสีส ื่อ้ทกำรเรี ื่อ กำรเรี ยนรู้ทกำงกำรศึ นรู ให้ดหสถาบั ้อ้ท งสมุำงกำรศึ ดนสถำบั ดมศึกษำกษำ ให้ห้องสมุดสถำบันอุดมศึ เพื ก่อ ษำ ให ไ ได้ ด้ใช้ใประโยชน์ ช้ ได้ ใป ช้ ปดระโยชน์ ร ะ โกด้ษา ำย นกำรศึ ช น์ กรษำ ำจน รั บกเกีำ ย รติรร จ ำกนำย ศึ ด้ำ ใ ช้ ยป ้านการศึ โดยได้ ับด้ เกียโดยได้ รติ ากนายจาตุ นต์ ก ษ ำ โ ด ย ไ ด้ รั บ เ กี ย ร ติ จ ำ กไน จำตุ ร จำตุนต์ ฉำยแสง ฉำยแสง รักษำกำรรั ฐมนตรี รัวก ่ำกำรกระทรวงศึ ษำกำรรั ฐ มนตรี ว่ ำ กำรกระทรวงศึ ก ษำธิ จำตุ ก ำร รน ฉายแสง รัรกนต์ษาการรั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงศึ ก ษาธิ กการษำธิกำร ศำสตรำจำรย์ ศำสตรำจำรย์ พิเศษทศพร นธ์ เลขำธิ กำรคณะกรรมกำรกำร ศิริสัมพันธ์ เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำร ศำสตร ศาสตราจารย์ พิเศษทศพร ศิรพ ิสัมศิ​ิเพัรศษทศพร นิสธ์ัมพัเลขาธิ การคณะกรรมการ อุการอุ ดม ก ก ษำษรองศำสตรำจำรย์ ำ รองศ นำยแพทย์ ำสต กร ำจรำ ตติ จ ำร รองย์ น ำ ย แ พ ท ย์ ก ำ จ ร ต ติ ย ก วีอุร ดอ มงศ ดอุมศึดศึมศึ ก ษา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ก�ำจร ตติ ยยกวีกวี เลขำธิ เลขำธิ ก กำรคณะกรรมกำรกำรอุ ำรคณะกรรมกำรกำรอุ มศึกกษา ษำ และนายอั และนำยอัญญชลิ เลขำธ รองเลขาธิ การคณะกรรมการการอุ ดดมศึ ชลินน พรรณดมศึก ษำ และนำย อัญ ชลิน พรรณ นิพรรณนิ ภ ำนิภภา ำป ประธำนบริ ร ะ ธำ ทีวิ เอ็ คิ วบ นร์รชันั วท ั น ส์ที โบรคเกอร์ คจ�ำกั ิ ว ดเจอ็ ำกั ดม อิ น ชั วร์ รั น ส์ โ บ ร ค เ กอร์ จ นิำภกัำด ป ประธานบริ ษทั ษทีั ทคน มเอ็อิมนริชัอิวษั ส์ร์ รโบรคเกอร์ เข้ ธี ณธโรงแรมเจ้ ี ณ ำโรงแรมเจ้ พระยำปำร์ ำพระยำปำร์ค เข้ำร่วม เข้าำร่วร่ มพิเข้ว ธำี ร่มพิ ณวมพิ โรงแรมเจ้ าพระยาปาร์ ค ค

อนุสารอุดมศึกษา

19


งอรื่เาล่เณ ์ รากตุหเ

นายจาตุรนต์ ฉายแสง รักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวในการเป็นสักขีพยานว่า การน�ำ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้สนับสนุนการพัฒนาการศึกษาเป็นเรื่องจ�ำเป็นส�ำหรับปัจจุบันอย่างมาก ซึ่งในปีนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้ก�ำหนดให้เป็นปีแห่งการรวมพลังยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยจะพัฒนาและปฎิรูปการศึกษาที่มุ่ง พัฒนาผู้เรียนให้สามารถคิด วิเคราะห์ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และทักษะที่จ�ำเป็นส�ำหรับศตวรรษ ที่ ๒๑ ภายในปี ๒๕๕๘ ดังนัน้ การจัดโครงการห้องสมุดสร้างสุขจะช่วยให้หอ้ งสมุดมหาวิทยาลัยได้ใช้ประโยชน์ดา้ นการศึกษา เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง น�ำไปสู่การพัฒนาความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

20

อนุสารอุดมศึกษา


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

ด้านศาสตราจารย์พิเศษทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า เป็นที่น่ายินดีที่หน่วยงาน ภาคเอกชนได้ให้ความส�ำคัญในการส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา โดยการบริจาคระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเก็บหนังสือที่ เป็นประโยชน์ไว้ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมกับอุปกรณ์การอ่าน เอกสาร ในนามตัวแทนของสถาบันอุดมศึกษา ๗๗ แห่ง ที่ได้รับการ สนับสนุนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ขอขอบคุณบริษัท ทีคิวเอ็ม อินชัวร์รันส์ โบรคเกอร์ จ�ำกัด ที่ให้การสนับสนุนครั้งนี้ ระบบห้ อ งสมุ ด อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ๑ ชุ ด ประกอบด้ ว ย (๑) ฮาร์ ด แวร์ ส�ำหรั บ จั ด เก็ บ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละระบบ มัลติมีเดีย (๒) คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตส�ำหรับอ่านหนังสือ จ�ำนวน ๑๐ เครื่อง และ (๓) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่จัดหาไว้เบื้องต้น ไม่ น ้ อ ยกว่ า ๑,๐๐๐ รายการ ทั้ ง นี้ ส�ำนั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า ระบบห้องสมุดดังกล่าวจะก่อให้เกิด ประโยชน์ ด ้ า นการศึ ก ษาต่ อ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ตลอดจนบุ ค ลากร ในสถาบันอุดมศึกษา

อนุสารอุดมศึกษา

21


เล่าเรื่องด้วยภาพ

๔ กุ ม ภ า พั น ธ ์ ๒ ๕ ๕ ๗ นายสุภัทร จ�ำปาทอง ผู้ช่วยเลขาธิการ คณะกรรมการการอุ ดมศึ ก ษา พร้ อ ม คณะผู้บริหารส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษาเข้ า เยี่ ย มคารวะและ สวั ส ดี ป ี ใ หม่ ศาสตราจารย์ ป ระเสริ ฐ ณ นคร อดีตปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ณ ราชบัณฑิตยสถาน สนามเสือป่า

22

๑๘ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๗ - ศาสตราจารย์ พิ เ ศษทศพร ศิ ริ สั ม พั น ธ์ เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา พร้ อ ม คณะผู้บริหารส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเข้าเยี่ยม คารวะและสวัสดีปีใหม่ ศาสตราจารย์เกียรติคุณเกษม วัฒนชัย องคมนตรี อดีตปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ณ ท�ำเนียบองคมนตรี

๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ - ศาสตราจารย์พิเศษทศพร ศิ ริ สั ม พั น ธ์ เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล นายสุภัทร จ�ำปาทอง ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมคณะ ผู้บริหารส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเข้าเยี่ยมคารวะ และสวัสดีปีใหม่ ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ณ ห้องรับรอง กกอ. ชั้น ๔ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

๑๗ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๕๗ - นางวราภรณ์ สี ห นาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมคณะผู้บริหาร ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเข้าเยี่ยมคารวะและสวัสดี ปีใหม่ รองศาสตราจารย์วันชัย ศิริชนะ อธิการบดีมหาวิทยาลัย แม่ ฟ ้ า หลวง อดี ต ปลั ด ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย ณ ส�ำนั ก งาน หน่วยประสานงานมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง อาคารปัญจภูมิ

๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ - นายสุภัทร จ�ำปาทอง ผู้ช่วย เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมคณะผู้บริหาร ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเข้าเยี่ยมคารวะและ สวั ส ดี ป ี ใ หม่ นายกฤษณพงศ์ กี ร ติ ก ร อดี ต เลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ณ ส�ำนั ก งานอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

อนุสารอุดมศึกษา


เล่าเรื่องด้วยภาพ

๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ - ศาสตราจารย์พิเศษทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้ Ms. Wu jeong Kim, Director, e-learning Division, MOE, Mr. Jongho Ahn, Deputy director, e-learning division, MOE และ Dr. Goo soon Kwon, Assist. Professor, Seoul Cyber University ผู้เชี่ยวชาญจากประเทศเกาหลีขอพบปรึกษาหารือ เกี่ยวกับ e-Learning ณ ห้องประชุมบริหาร ชั้น ๔ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ - ศาสตราจารย์พิเศษ ทศพร ศิ ริ สั ม พั น ธ์ เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษา ประธานเปิ ด งาน และให้ น โยบายในการ ประชุมโครงการความร่วมมือเพื่อการจัดตั้งและด�ำเนินการ เรียนการสอนออนไลน์ระบบเปิดส�ำหรับมหาชนแห่งชาติ (Thai Massive Open Online Course: Thai MOOC) ณ ห้องประชุมพันเอกอาทร ชนเห็นชอบ (๑)

๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ - ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษาจั ด ประชุ ม สั ม มนา เรื่ อ ง การพั ฒ นา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ณ โรงแรมอีสติน

อนุสารอุดมศึกษา

23



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.