อนุสารอุดมศึกษา issue 432

Page 1

อุดมศึกษา อนุสาร

ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔๓๒ ประจำ�เดือนมิถุนายน ๒๕๕๗

เอกสารเผยแพร่ของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ISSN 0125-2461

อนุ ส ารอุ ด มศึก ษาออนไลน์ www.mua.go.th/pr_web


สารบัญ

ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔๓๒ ประจำ�เดือนมิถุนายน ๒๕๕๗

เรื่องเล่าอุดมศึกษา สกอ. ร่วมกับสถาบันอุดมศึกษา จัดงาน ‘วิศิษฏศิลปิน สรรพศิลป์สโมสร’ ๓ ตรวจสนามสอบครูมืออาชีพ ไร้ปัญหา ๔ ทุนใต้ กลุ่ม ๑ รับ นศ. ยังไม่มีที่เรียน ๑,๑๐๘ คน ๕ สกอ. สนับสนุนอาจารย์รุ่นใหม่ ท�ำวิจัยต่อยอด ร่วมพัฒนาประเทศ ๖ สกอ. ก�ำชับสถาบันอุดมศึกษา เฝ้าระวัง รับน้อง-พนันบอล ๗ สกอ. รุกตรวจเข้ม มหาวิทยาลัยนอกที่ตั้ง ๘ กกอ. สัญจร ๒ พบผู้บริหาร ม/ส เครือข่ายภาคกลางตอนบน ๔๔ แห่ง ๙ สกอ. จัดหลักสูตร ‘นบม. รุ่นที่ ๒๕ ’ ๑๐ สกอ. ร่วมกับ Hanban จัดประกวดสุนทรพจน์จีน ๑๑ ปฐมนิเทศครูอาสาสมัครชาวจีน ๑๒ สกอ. จัดอบรม ‘นักกฎหมายอุดมศึกษา’ ๑๓

๔ ๑๐

เรื่องเล่าอาเซียน การประชุมคณะกรรมการอำ�นวยการเครือข่าย มหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-BOT) ครั้งที่ ๓๐

๑๔

เรื่องแนะน�ำ ประวัติและผลงานของ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กำ�จร ตติยกวี ๑๕ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทุนแลกเปลีย่ นคณาจารย์ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาไทยกับออสเตรีย ๑๗ ของเครือข่ายมหาวิทยาลัยในทวีปยุโรปกับมหาวิทยาลัยในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประจำ�ปี ๒๕๕๗ ASEAN-European Academic University Network: ASEA-UNINET

เรือ่ งของงานวิจยั มหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติ การลงทุนทางการศึกษาระยะยาว

๒๐

๑๙

เหตุการณ์เล่าเรื่อง การประชุม Understanding and Improving Research Outcomes for Thailand

เล่าเรื่องด้วยภาพ

คณะผู้จัดทำ� สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

๒๐ ๒๓

อนุสารอุดมศึกษา

เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ เว็บไซต์ http://www.mua.go.th อีเมล pr_mua@mua.go.th เฟสบุ๊ค www.facebook.com/ohecthailand ทวิตเตอร์ www.twitter.com/ohec_th ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร.ทศพร ศิรสิ มั พันธ์ รองศาสตราจารย์ ดร.พินติ ิ รตะนานุกลู รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำ จร ตติยกวี ดร.วราภรณ์ สีหนาท ดร.สุภัทร จำ�ปาทอง นายศิระวิทย์ คลี่สุวรรณ บรรณาธิการ นายกฤษณ์กร วงศ์ไทย กองบรรณาธิการ นางสาวปิยาณี วิริยานนท์ นางชุลีกร กิตติก้อง นายเจษฎา วณิชชากร นางปราณี ชื่นอารมณ์ นายพรชัย สิทธินันทน์ นายจรัส เล็กเกาะทวด พิมพ์ที่ บริษัท สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง จำ�กัด โทรศัพท์ ๐ ๒๙๐๓ ๘๒๕๗ - ๙


สกอ. ร่วมกับสถาบันอุดมศึกษา จัดงาน

‘วิศิษฏศิลปิน สรรพศิลป์สโมสร’ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยถึงการเตรียมจัดงาน เฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ว่า เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงเจริญพระชนมายุ ๖๐ พรรษา ในปี ๒๕๕๘ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงร่วม กับสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดและก�ำกับส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสถาบันอุดมศึกษาสังกัดหน่วยงานอืน่ จัดงาน ‘วิศษิ ฏศิลปิน สรรพศิลป์สโมสร’ ระหว่างวันที่ ๑๕ - ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ เพือ่ เป็นการเทิดพระเกียรติและร่วมร้อยใจถวายพระพร แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ด้วยการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองในลักษณะการแสดงดนตรีไทย วงมหาดุรยิ างค์/ วงกลุม่ ภาค การแสดงนาฏศิลป์และศิลปวัฒนธรรม โดยมีนสิ ติ นักศึกษา อาจารย์ และผูท้ เี่ กีย่ วข้องจากทัว่ ประเทศรวมกว่า ๔,๐๐๐ คน เข้าร่วมงาน เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า การจัดงานเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปี ๒๕๕๘ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้มอบหมายให้จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นเจ้าภาพจัดงาน โดยรวมงานดนตรีไทย อุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๔๒ และงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๑๖ เข้าด้วยกัน โดยจะมีการแสดงดนตรีไทย วงมหาดุรยิ างค์ของ ตัวแทนนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ บรรเลงเพลง อาทิ ‘โหมโรงเทิด ส.ธ.’ และ ‘มหาชัย’ การแสดงดนตรีไทยของกลุม่ ภาค การแสดงนาฏศิลป์และศิลปวัฒนธรรม อาทิ โขน หนังใหญ่ หุน่ คน หุน่ ละครเล็ก สักวา ลิเกละครนอก ละครใน หมากรุกคน เพลงเรือ เพลงอีแซว เพลงฉ่อย ล�ำตัด เพลงลูกทุง่ โนรา เพลงโคราช ฟ้อนเจิง “การจัดงานครัง้ นี้ เป็นความปลืม้ ปิตแิ ละความภาคภูมใิ จของนิสติ นักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา ทีไ่ ด้จดั งานเทิดพระเกียรติ และเฉลิมฉลองในวโรกาสทีส่ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา ซึง่ จะเป็นความร่วมมือร่วมใจของประชาคมอุดมศึกษาและประชาชนในการจัดกิจกรรมอันเป็นมหากุศลและร่วมร้อยใจ ถวายพระพรด้วยการจัดงานดนตรีไทย ศิลปวัฒนธรรม และอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับพระราชกรณียกิจ ซึง่ จะส่งผลให้นสิ ติ นักศึกษาได้เห็น คุณค่า ร่วมสืบสานและเผยแพร่วฒ ั นธรรมประเพณีทดี่ งี ามของไทยต่อไป” เลขาธิการ กกอ. กล่าวในตอนท้าย อนุสารอุดมศึกษา

3


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

า ห ญ ั ป ้ ไร พ ี ช า อ อ ื ม ู ร ค บ ตรวจสนามสอ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๗ ณ อาคารมหิตลาธิเบศร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยภายหลังการตรวจเยี่ยมสนามทดสอบความรู้เพื่อคัดเลือกผู้สมัครเข้าร่วม โครงการผลิตครูมืออาชีพ ปี ๒๕๕๗ ว่า จากที่ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิและไม่มีสิทธิ เข้าร่วมโครงการผลิตครูมืออาชีพ กรณีคัดเลือกนิสิตนักศึกษาครูชั้นปีที่ ๕ ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ และผู้ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตร ผลิตครู ๕ ปี เมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๗ จากผู้สมัครทั้งหมด ๖,๕๒๘ คน มีผู้มีสิทธิ จ�ำนวน ๕,๘๔๓ คน ใน ๒๐ สาขาวิชา ที่สมัคร แบ่งเป็น (๑) การศึกษาพิเศษ จ�ำนวน ๒๒๔ คน (๒) เกษตรกรรม จ�ำนวน ๓๓ คน (๓) คณิตศาสตร์ จ�ำนวน ๔๕๐ คน (๔) คหกรรมศาสตร์ จ�ำนวน ๓๘ คน (๕) คอมพิวเตอร์ จ�ำนวน ๖๓๑ คน (๖) เคมี จ�ำนวน ๖๑ คน (๗) ชีววิทยา จ�ำนวน ๑๔๒ คน (๘) ดนตรี/ดุริยางคศิลป์ จ�ำนวน ๑๑๘ คน (๙) นาฏศิลป์ จ�ำนวน ๑๙๙ คน (๑๐) ประถมศึกษา จ�ำนวน ๑๖๘ คน (๑๑) พลศึกษา จ�ำนวน ๖๐๕ คน (๑๒) ฟิสิกส์ จ�ำนวน ๔๗ คน (๑๓) ภาษาไทย จ�ำนวน ๕๘๕ คน (๑๔) ภาษาอังกฤษ จ�ำนวน ๖๘๗ คน (๑๕) วิทยาศาสตร์(ทั่วไป) จ�ำนวน ๕๒๕ คน (๑๖) ศิลปศึกษา จ�ำนวน ๑๘๖ คน (๑๗) สังคมศึกษา จ�ำนวน ๗๗๘ คน (๑๘) สุขศึกษา จ�ำนวน ๑๑๑ คน (๑๙) อุตสาหกรรมศิลป์ จ�ำนวน ๓๑ คน และ (๒๐) สาขาที่อาชีวศึกษาก�ำหนด จ�ำนวน ๒๒๔ คน ทั้งนี้ มีผู้สมัคร ที่มีคุณสมบัติครบตามที่ก�ำหนด จ�ำนวน ๕,๓๑๒ คน เลขาธิ ก าร กกอ. กล่ า วต่ อ ว่ า ในการจั ด สอบวั น นี้ มี ส นามสอบ ๘ แห่ ง ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ทั่ ว ประเทศไทย ได้ แ ก่ (๑) อาคารมหิตลาธิเบศร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (๒) อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ ปี มหาวิทยาลัยบูรพา (๓) อาคารเรียนรวม ๑ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (๔) อาคารเพียรวิจิตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (๕) อาคารเรียนรวม ๕ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (๖) อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาวิทยาลัยนเรศวร (๗) อาคารเรียนรวม ๓ และ ๕ มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ และ (๘) อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยผู้มีสิทธิทุกคนต้องเข้าสอบ ๔ วิชา ได้แก่ ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร วิชาชีพครู และกฎหมายการศึกษา และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ “การจัดสอบในวันนี้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ยังไม่มีการแจ้งปัญหาใดๆ ซึ่งถ้าหากพบว่ามีผู้ทุจริตในการสอบ จะถูกตัดสิทธิในการสอบครั้งนี้ และการเข้าร่วมโครงการตลอดไป ซึ่งกระบวนการหลังจากที่สถาบันทดสอบทางการศึกษา แห่งชาติ (สทศ.) ส่งผลคะแนนให้ สกอ. แล้ว สกอ. จะคัดเลือกนักศึกษาโดยใช้ภูมิล�ำเนาเป็นเกณฑ์พิจารณา และคาดว่าจะ ประกาศผลการคัดเลือกได้ประมาณวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ผ่านทางเว็บไซต์ www.mua.go.th” เลขาธิการ กกอ. กล่าว

4

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

ทุนใต้ กลุ่ม ๑ รับ นศ. ยังไม่มีที่เรียน ๑,๑๐๘ คน ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร.ทศพร ศิรสิ มั พันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยถึง โครงการทุนอุดมศึกษาเพือ่ การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระยะที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กลุม่ ที่ ๑ ส�ำหรับนักเรียนทีไ่ ม่สามารถสอบเข้าศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษาได้ ว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ยังคงร่วมกับสถาบันอุดมศึกษาในสังกัด/ในก�ำกับของส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา จัดโครงการทุนอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยในปีนี้มีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วมโครงการฯ กลุม่ ที่ ๑ ส�ำหรับนักเรียนทีไ่ ม่สามารถสอบเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาได้ จ�ำนวน ๖๙ แห่ง ให้ความอนุเคราะห์สนับสนุนทีน่ งั่ การศึกษา พร้อมยกเว้นค่าเล่าเรียน จ�ำนวนทัง้ สิน้ ๑,๑๐๘ ทีน่ งั่ ซึง่ ผูไ้ ด้รบั ทุนในล�ำดับที่ ๑ - ๑๒๕ สถาบันอุดมศึกษาทีร่ ว่ มโครงการจะสนับสนุน ทีน่ งั่ ในการเข้าศึกษาเป็นกรณีพเิ ศษและ/หรือทุนค่าเล่าเรียนจากสถาบันอุดมศึกษาตามเงือ่ นไขทีส่ ถาบันอุดมศึกษาก�ำหนดและส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาจะสนับสนุนค่าครองชีพ ตามระยะเวลาการศึกษาของหลักสูตร จ�ำนวนเงินคนละ ๔,๐๐๐ บาท/เดือน ระยะ เวลา ๑๐ เดือน/ปีการศึกษา รวมเป็นเงิน ๔๐,๐๐๐ บาท/คน/ปีการศึกษา โดยเบิกจ่ายผ่านสถาบันอุดมศึกษา ซึง่ สกอ. จะพิจารณา จัดสรรการได้รบั เงินทุนค่าครองชีพ จากผลคะแนนการสอบ O-NET, GAT, PAT ส�ำหรับผูไ้ ด้รบั ทุนในล�ำดับที่ ๑๒๖ เป็นต้นไป จะได้รบั สิทธิท์ นี่ งั่ ในการเข้าศึกษาเป็นกรณีพเิ ศษ และ/หรือได้รบั ทุนค่าเล่าเรียนจากสถาบันอุดมศึกษาตลอดระยะเวลาการศึกษาของหลักสูตร ตามเงือ่ นไขทีส่ ถาบันก�ำหนด เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า ผูส้ นใจสมัครทุนอุดมศึกษาเพือ่ การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กลุม่ ที่ ๑ สามารถดูรายละเอียด ได้ทเี่ ว็บไซต์ www.mua.go.th หรือสอบถามได้ที่ โทร. ๐ ๒๖๑๐ ๕๔๑๙ โดยผูป้ ระสงค์จะสมัคร สามารถเลือกอันดับคณะ/สาขาวิชา และสถาบันอุดมศึกษาที่ต้องการสมัครได้ ๒ อันดับเท่านั้น และต้องไปสมัครด้วยตนเอง ระหว่างวันที่ ๔ - ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ณ อาคารเรียนรวม (อาคาร ๑๙) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ตัง้ แต่เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๕.๓๐ น. ไม่เว้นวันหยุด ราชการ ซึง่ สกอ. จะประกาศรายชือ่ ผูม้ สี ทิ ธิส์ อบสัมภาษณ์ ในวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ทางเว็บไซต์ www.mua.go.th ก�ำหนดสอบ สัมภาษณ์/รายงานตัวทีส่ ถาบันทีไ่ ด้รบั คัดเลือก ในวันที่ ๒๕ - ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ และจะประกาศรายชือ่ ผูม้ สี ทิ ธิเ์ ข้าศึกษา และได้รบั ทุนค่าครองชีพ ภายในเดือนสิงหาคม ๒๕๕๗ ทางเว็บไซต์ www.mua.go.th “ส่วนการด�ำเนินโครงการฯ กลุม่ ที่ ๒ ส�ำหรับนักเรียนทีส่ ามารถสอบเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาได้ ซึง่ พิจารณาจากนักศึกษา ชัน้ ปีที่ ๑ ในสถาบันอุดมศึกษา ทีม่ ผี ลการเรียนดี ฐานะยากจน ความประพฤติดี โดยเน้นสาขาขาดแคลน หรือสาขาทีม่ คี วามต้องการของ พืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้ จ�ำนวน ๑๒๕ ทุน สกอ. จะเริม่ ด�ำเนินการในเดือนมกราคม ๒๕๕๘” เลขาธิการ กกอ. กล่าว อนุสารอุดมศึกษา

5


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

สกอ. สนับสนุนอาจารย์รุ่นใหม่ ท�ำวิจัยต่อยอด ร่วมพัฒนาประเทศ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๗ - ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) จัดการอบรมปฐมนิเทศ ‘การปฐมนิเทศผู้รับทุน ส่งเสริมนักวิจยั รุน่ ใหม่ ประจ�ำปี ๒๕๕๗’ ณ โรงแรมเอเชีย กรุงเทพมหานคร ซึง่ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้รว่ มมือ กับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพในการท�ำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ มีวัตถุประสงค์ เพือ่ เตรียมความพร้อมขัน้ พืน้ ฐานให้แก่อาจารย์รนุ่ ใหม่ ให้กา้ วไปสูก่ ารท�ำงานวิจยั ในระดับสูงขึน้ พร้อมทัง้ พัฒนาอาจารย์รนุ่ ใหม่ให้มี ศักยภาพในการท�ำงานวิจยั โดยให้มโี อกาสท�ำงานวิจยั ร่วมกับนักวิจยั อาวุโส และพัฒนาวิชาชีพของอาจารย์รนุ่ ใหม่ให้มคี วามสามารถ ทัง้ ด้านการสอนและการท�ำวิจยั ตลอดจนสร้างความแข็งแกร่งให้กบั ระบบการวิจยั ของประเทศ โดยในปีนมี้ ผี รู้ บั ทุน ประกอบด้วย อาจารย์และนักวิจัยรุ่นใหม่ รวมจ�ำนวน ๓๐๐ ทุน ทั้งนี้ ได้รับเกียรติจากศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธเี ปิด ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า การท�ำผลงานวิจัยนับเป็น ภารกิจที่ส�ำคัญของคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งนอกจากจะเป็นแนวทางในการก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในสถาบัน อุดมศึกษา และยังสามารถส่งผลถึงการน�ำองค์ความรูน้ นั้ ๆ ไปสูก่ ารพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ นอกจากนี้ การท�ำ ผลงานวิจัยยังเป็นปัจจัยส�ำคัญในการเพิ่มขีดความสามารถในด้านการแข่งขันระดับประเทศและยกระดับมาตรฐานของ สินค้าและบริการ รวมถึงเป็นรายได้และส่งเสริมศักยภาพของการแข่งขันของประเทศอีกด้วย ทั้งนี้ ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาได้ร่วมกับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ด�ำเนินการโครงการทุนพัฒนาศักยภาพในการท�ำงานวิจัยของ อาจารย์รนุ่ ใหม่ ตามแผนระยะยาว ๑๐ ปี ตัง้ แต่ปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๔๗ - ๒๕๕๖ โดย สกอ. และ สกว. ได้ให้การสนับสนุนทุนพัฒนา ศักยภาพในการท�ำงานวิจยั ของอาจารย์รนุ่ ใหม่ จ�ำนวนรวม ๓,๐๐๐ ทุน เป็นจ�ำนวนงบประมาณโครงการรวม ๑,๓๔๗,๗๙๘,๗๔๑ บาท ซึง่ เป็นงบประมาณจาก สกอ. ๖๘๓,๙๓๓,๔๗๒ บาท งบประมาณจาก สกว. ๕๐๘,๖๓๔,๗๗๘ บาท และงบประมาณจากสถาบัน อุดมศึกษาต้นสังกัด ๑๕๕,๒๓๐,๔๙๑ บาท เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ สกอ. มีขอ้ จ�ำกัดทางด้านงบประมาณ จึงไม่ได้สนับสนุนทุนร่วมกับ สกว. และสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด แต่ยงั คงให้การสนับสนุนในเรือ่ งของการประชุมนักวิจยั รุน่ ใหม่พบเมธีวจิ ยั อาวุโส และรางวัล นักวิจยั รุน่ ใหม่ เนือ่ งจากทุนนีม้ วี ตั ถุประสงค์ในการพัฒนาและเพิม่ ขีดความสามารถในการท�ำวิจยั ของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา ซึง่ จะน�ำไปสูก่ ารสร้างความรูแ้ ละเทคโนโลยีทเี่ ป็นพืน้ ฐานต่อการพัฒนาประเทศ ตลอดจนเป็นการสนับสนุนให้อาจารย์ได้พฒ ั นาไปสู่ การเป็นนักวิจยั ทีม่ คี ณ ุ ภาพระดับสูงของประเทศ และก่อให้เกิดการบูรณาการท�ำวิจยั เข้าเป็นส่วนหนึง่ ในการท�ำงานและวิชาชีพของ อาจารย์ โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ สกอ. ได้เสนอค�ำของบประมาณโครงการดังกล่าวและจะสามารถร่วมกับ สกว. ในการจัดสรรทุน พัฒนาศักยภาพในการท�ำงานวิจยั ของอาจารย์รนุ่ ใหม่อย่างต่อเนือ่ ง “ส�ำหรับการปฐมนิเทศวันนี้ ผูท้ ผี่ า่ นการคัดเลือกเป็นผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถ และมีศกั ยภาพทีพ่ ร้อมพัฒนาไปสูก่ ารเป็น นักวิจยั ทีม่ คี ณ ุ ภาพระดับสูงของประเทศต่อไป สกอ. หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าท่านจะเก็บเกีย่ วประสบการณ์ในการท�ำวิจยั จากทุนนี้ ไปใช้ พัฒนาศักยภาพและความเชีย่ วชาญในการท�ำงานวิจยั ของท่าน สามารถต่อยอดไปสูก่ ารท�ำงานวิจยั ในระดับทีส่ งู ขึน้ อีกทัง้ น�ำผลงาน วิจยั ทีไ่ ด้ไปต่อยอดและน�ำไปใช้ในเกิดประโยชน์ในแวดวงวิชาการ ภาคสังคมชุมชนท้องถิน่ และภาคอุตสาหกรรมต่อไป” เลขาธิการ กกอ. กล่าวในตอนท้าย

6

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

เรื่องเล่าอุดมศึกษา

สกอ. กาชับสถาบันอุดมศึกษา เฝ้าระวัง รับน้อง-พนันบอล ๑๘ กงานคณะกรรมการการอุ ดมศึกดษา มคณะกรรมการประสานงานกิ จการนิสจิตการนิ นักศึสกิตษา ๑๘มิถมิุนถายน ุนายน๒๕๕๗ ๒๕๕๗- ส-านัส�ำนั กงานคณะกรรมการการอุ มศึจักดษาการประชุ จัดการประชุ มคณะกรรมการประสานงานกิ ครันัก้งทีศึ่ ก๑/๒๕๕๗ ห้องประชุณมศาสตราจารย์ วิจิตร ศรีสอ้าวนจิ สติ านั กงานคณะกรรมการการอุ ดมศึกษา โดยมีดศมศึ าสตราจารย์ ศษ ดร.ทศพร ษา ครัง้ ทีณ่ ๑/๒๕๕๗ ห้องประชุมศาสตราจารย์ ร ศรี สอ้าน ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุ กษา โดยมีพศิเาสตราจารย์ ศิพิริสเศษ ัมพันดร.ทศพร ธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุ ดมศึกษา เป็นประธาน ดและ สีหนาทและ รองเลขาธิ การคณะกรรมการการอุ ดมศึกการษา ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุ มศึกดร.วราภรณ์ ษา เป็นประธาน ดร.วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิ และกรรมการ เข้าร่วมประชุ ม และกรรมการ เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการการอุ ดมศึกษา ศาสตราจารย์ การคณะกรรมการการอุ ดมศึ กษา าวภายหลั งการประชุ มว่มาว่ทีา ป่ ทีระชุ มได้มได้ มีกมารี ศาสตราจารย์พิเพศษ เิ ศษดร.ทศพร ดร.ทศพรศิรศิ​ิสรัมสิ พัมั นพัธ์นเลขาธิ ธ์ เลขาธิ การคณะกรรมการการอุ ดมศึ กษากล่กล่ าวภายหลั งการประชุ ป่ ระชุ เน้ น ย้าถึ งการจั ดกิจ กรรมต้อ นรับ น้ องใหม่ แ ละประชุ มเชี ยร์ ในสถาบั น อุดมศึก ษา และการป้ องกั นและแก้ ไขปั ญหาการพนั น ใน การเน้นยำ�้ ถึงการจัดกิจกรรมต้อนรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ในสถาบันอุดมศึกษา และการป้องกันและแก้ไขปัญหาการพนันใน สถาบันอุดมศึกษา โดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ออกเป็นประกาศสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และเวียน สถาบันอุดมศึกษา โดยส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ออกเป็นประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ แจ้งให้สถาบันอุดมศึกษาในกากับ/ในสังกัด ทั้งรัฐและเอกชน ทุกแห่ง ใช้เป็นกรอบแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหา เวียนแจ้“ส งให้าหรั สถาบั นอุดมศึกษาในก�ำกับ/ในสังกัด ทัง้ รัฐและเอกชน ทุกแห่ง ใช้เป็นกรอบแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหา บการจัดกิจกรรมต้อนรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ ควรเคารพสิทธิ เสรีภาพและหลักความเสมอภาค ไม่มีความรุนแรงและ “ส�ำหรั จกรรมต้ บน้องใหม่ตแใจละประชุ ยร์ ควรเคารพสิ ทธิกเสรี กความเสมอภาค ไม่มคี วามรุและควร นแรง ห้ามล่วงละเมิ ดสิทบธิสการจั ่วนบุดคกิคลทั ้งทางร่อานรั งกายและจิ ไม่ดื่มสุมรเชี าและเสพสิ ่งมึนเมาทุ ชนิภดาพและหลั ที่ส่งผลกระทบต่ อการเรียนการสอน ามล่วบงละเมิ ดสิทดูธิแสลร่ ว่ นบุ ง้ ทางร่ งกายและจิ ตใจบุคไม่ลากรทุ ดมื่ สุราและเสพสิ ง่ มึนชเมาทุ กชนิสิตดนัทีกส่ ศึง่ กผลกระทบต่ อการเรี ยนการสอน อยูและห้ ่ในความรั ผิดชอบ วมกัคคลทั นของผู ้บริหาาร คณาจารย์ กคณะ/ภาควิ า และนิ ษารุ่นพี่ รวมถึ งต้องให้ คาแนะนา และควรอยู ใ ่ นความรั บ ผิ ด ชอบ ดู แ ลร่ ว มกั น ของผู บ ้ ริ ห าร คณาจารย์ บุ ค ลากรทุ ก คณะ/ภาควิ ช า และนิ ส ต ิ นั ก ศึ ก ษารุ น ่ พี ่ รวมถึ งต้แอละ ง กากับดูแล และให้คาปรึกษาในการจัดกิจกรรมให้มีลักษณะสร้างสรรค์ ไม่ขัดต่อระเบียบสถาบัน กฎหมาย วัฒนธรรม ประเพณี ให้ค�ำแนะน�ำงคมที ก�ำกับ่ดีงดูาม แลอีและให้ ค�ำปรึ ดกิจกรรมให้ างสรรค์ ไม่ยขและประหยั ดั ต่อระเบียบสถาบั น กฎหมาย ฒนธรรม มารยาททางสั กทั้งควรจั ดกิกจษาในการจั กรรมภายในสถาบั นอุดมศึมลี กกั ษาษณะสร้ เพื่อความปลอดภั ด โดยการอนุ มัติหรือวัอนุ ญาตการ และมารยาททางสั งคมที่ดีงาม กทัก้งษา” ควรจัเลขาธิ ดกิจกรรมภายในสถาบั จัประเพณี ดกิจกรรมให้ อยู่ในดุลยพินิจของสถาบั นอุดอีมศึ การ กกอ. กล่าว นอุดมศึกษา เพื่อความปลอดภัยและประหยัด โดยการ อนุมตั หิ เลขาธิ รืออนุกญาราตการจั ดกิาจวต่ กรรมให้ อยูใ่ นดุ ของสถาบันอุดระเบี มศึกษา” าว และมาตรการในการจัดกิจกรรมให้ กกอ. กล่ อว่า สถาบั นอุลดยพิ มศึนกจิ ษาควรออกกฎ ยบ ข้เลขาธิ อบังคักบาร หรือกกอ. หลักกล่ เกณฑ์ สอดคล้องกัเลขาธิ บแนวนโยบายของส กงานคณะกรรมการการอุ ดมศึกษา รวมทัระเบี ้งมีการก คาปรึ กษาการจั ดกิจกรรมที่สร้างสรรค์ การ กกอ. กล่านัาวต่ อว่า สถาบันอุดมศึกษาควรออกกฎ ยบากัข้บอดูบัแงลและให้ คับหรือหลั กเกณฑ์ และมาตรการในการจั ด ให้กิมจกรรมให้ ีการเปิดเผยรู ปแบบกิ ่อสร้างความเข้กาใจกั บนิสิตนักศึกษา บุคลากร ไป ให้เข้คาใจถึ ตถุประสงค์ สอดคล้ องกับจกรรมเพื แนวนโยบายของส�ำนั งานคณะกรรมการการอุ ดมศึผูก้ปษากครอง รวมทัและประชาชนทั ้งมีการก�ำกับดูแ่วลและให้ �ำปรึงกวัษาการจั ด นโยบายและมาตรการ รวมทั ้ ง มี ท ั ศ นคติ ท ่ ี ด ี ต ่ อ กิ จ กรรมต้ อ นรั บ น้ อ งใหม่ แ ละประชุ ม เชี ย ร์ ตลอดจนเปิ ด โอกาสให้ ผ ้ ู ป กครองเข้ า กิจกรรมทีส่ ร้างสรรค์ ให้มกี ารเปิดเผยรูปแบบกิจกรรมเพือ่ สร้างความเข้าใจกับนิสติ นักศึกษา บุคลากร ผูป้ กครอง และประชาชนทัว่ ไปมา สัให้ งเกตการณ์ กิจกรรมได้ โดยให้นิสิตนักศึกษาใหม่ มกิจกรรมต้ บน้องใหม่ เชียร์ด้วยความสมั ครใจ และรุดโอกาส ่นพี่ที่ จัด เข้าใจถึงวักตารจั ถุปดระสงค์ นโยบายและมาตรการ รวมทัเง้ ข้มีาทร่ศั วนคติ ทดี่ ตี อ่ กิอจนรักรรมต้ อนรับแน้ละประชุ องใหม่แมละประชุ มเชียร์ ตลอดจนเปิ กิให้ จกรรมจะต้ องได้ รับการคั ดเลือกกและมี ยมความพร้ กษะก่เข้อาร่นการจั ดกิจกรรม นอุดมมศึเชีกยษาควรจั ดตั้ง ผปู้ กครองเข้ ามาสั งเกตการณ์ ารจัดกิกจารเตรี กรรมได้ โดยให้นอสิ มติ นัพักฒศึนาทั กษาใหม่ วมกิจกรรมต้ อนรันอกจากนี บน้องใหม่้สแถาบั ละประชุ ร์ดว้ ยความ ศูนย์เฝ้าระวัง มีเว็บไซต์ เพื่อติดตาม แลกเปลี่ยน เรียนรู้ แก้ไขปัญหา ประสานกับสื่อมวลชนและผู้ปกครอง ทั้งนี้ ในแต่ละวิทยาเขต/คณะ สมัครใจ และรุน่ พีท่ จี่ ดั กิจกรรมจะต้องได้รบั การคัดเลือก และมีการเตรียมความพร้อม พัฒนาทักษะก่อนการจัดกิจกรรม นอกจากนี้ ควรมีการจัดตั้งศูนย์บริการข้อมูลและให้ความช่วยเหลือ (Call Center) หรือบริการสายด่วน (Hotline) เพื่อรับและประสานข้อมูลการจัด สถาบันอุดมศึกษาควรจัดตัง้ ศูนย์เฝ้าระวัง มีเว็บไซต์ เพือ่ ติดตาม แลกเปลีย่ น เรียนรู้ แก้ไขปัญหา ประสานกับสือ่ มวลชนและผูป้ กครอง กิจกรรมร่วมกัน โดยให้ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาแต่ละสถาบัน ถือเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบในการดาเนินการตามนโยบายและ ทัง้ นี้ ในแต่ละวิทยาเขต/คณะ ควรมีการจัดตัง้ ศูนย์บริการข้อมูลและให้ความช่วยเหลือ (Call Center) หรือบริการสายด่วน (Hotline) มาตรการข้างต้น เพือ่ รับและประสานข้ ลการจั กิจกรรมร่วมกัอนงกัโดยให้ ผบู้ ไริขปั หารสถาบั นอุดนมศึ กษาแต่นลอุะสถาบั ถือเป็นหน้าทีแ่ ละความรั บผิดชอบว่า เลขาธิการ กกอ.อมูกล่ าวถึงดแนวทางการป้ นและแก้ ญหาการพนั ในสถาบั ดมศึกษาน โดยเฉพาะการแข่ งขันฟุตบอลโลก ในการด�ำเนิ การตามนโยบายและมาตรการข้ สกอ. ได้กาชับนให้ สถาบันอุดมศึกษากากับดูแลไม่าใงต้ ห้นนิสิตนักศึกษาเข้าไปเกี่ยวข้องกับการพนันทุกชนิด โดยประสานสถานีตารวจในท้องที่ให้ เลขาธิและจั การ บกกอ. กล่งารัวถึ ง แนวทางการป้ องกันามารั และแก้ นในสถาบั ษา โดยเฉพาะการแข่ งขันฟุตบอล หมั่นตรวจตรา กุมแหล่ บพนั นฟุตบอลที่แอบเข้ บพนัไขปั นฟุญตหาการพนั บอลในสถาบั นอุดมศึนกอุษาดมศึ บริกเวณโดยรอบ หรือบริเวณหอพั กนิสิต ว่า และให้ สกอ. ได้ ก�ำชับปให้ระจ สถาบั อุดมศึกวษาก�ำกั ดูแลไม่ ศึกษาเข้ าไปเกี่ยวข้อนงกัเตอร์ บการพนั ด โดยประสานสถานี นัโลก กศึกษา อาจารย์ าห้อนงคอมพิ เตอร์ดูแบลไม่ ให้นใิสห้ิตนนัิสกิตศึนักกษาใช้ ช่องทางระบบอิ เน็ตเพืน่อทุเล่กนชนิ การพนั น ทั้งนี้ ให้ส่งเสริ ม ต�ำรวจในท้ งทีใ่ ห้หมัน่ ตรวจตรา บกุ่กมารพั แหล่ฒงนา รับพนั แ่ อบเข้การใช้ ามารับเวลาว่ พนันาฟุงให้ ตบอลในสถาบั นอุกัดบมศึนิสกิตษานักบริ วณโดยรอบ สนั บสนุน กิจอกรรมทางบวกต่ างๆ เพืและจั ่อนาไปสู เสรินมฟุสร้ตาบอลที ง ศักยภาพ เป็นประโยชน์ ศึกเษา หรือบริเวณหอพักนิสิตนักศึกษา และให้อาจารย์ประจ�ำห้องคอมพิวเตอร์ดูแลไม่ให้นิสิตนักศึกษาใช้ช่องทางระบบอินเตอร์เน็ตเพื่อ เล่นการพนัน ทัง้ นี้ ให้สง่ เสริม สนับสนุน กิจกรรมทางบวกต่างๆ เพือ่ น�ำไปสูก่ ารพัฒนา เสริมสร้าง ศักยภาพ การใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ กับนิสติ นักศึกษา

อนุสารอุดมศึกษา

7


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

8

ศาสตราจารย์ พิ เศษ ดร.ทศพร ศิ รศิ​ิสรั มิสพั​ัมนพัธ์นเลขาธิ ก าร ศาสตราจารย์ พิเศษ ดร.ทศพร ธ์ เลขาธิ การ คณะกรรมการการอุ เปิดดเผยถึ เผยถึง งผลการประชุ ผลการประชุ ม คณะกรรมการการอุดดมศึ ก ษา เปิ มคณะ คณะกรรมการการอุ ครั้ง้งทีที่ ่ ๖/๒๕๕๗ ๖/๒๕๕๗ ว่ว่าาทีที่ป่ประชุ กรรมการการอุดดมศึมศึกกษาษาครั ระชุมมกกอ. กกอ. ได้เได้ ห็นเห็ชอบผลการตรวจประเมิ นการจั ดการศึดการศึ กษานอกสถานที ่ตั้ง นชอบผลการตรวจประเมิ นการจั กษานอกสถาน ในปีทีง่ตบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ เมื ่อวันที่ ๒๒ ั้งในปีงบประมาณ พ.ศ.- ๒๕๕๖ - ๒๕๕๗ เมื่อกัวันนยายน ที่ ๒๒ ๒๕๕๖ วั น ที่ ๕ ตุ ล าคม ๒๕๕๖ และระหว่ า งวั น ที่ ๑๑ - ๒๙ กันยายน ๒๕๕๖ วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๖ และระหว่างวันที่ เมษายน ๒๕๕๗ รวมจานวน ๓ สถาบัน ๖ ศูนย์ ๑๙ หลักสูตร ๑๑ - ๒๙ เมษายน ๒๕๕๗ รวมจ�ำนวน ๓ สถาบัน ๖ ศูนย์ ๑๙ โดยมีผลการตรวจประเมิน คือ ระดับผ่าน จานวน ๑๒ หลักสูตร หลักสูตร โดยมีผลการตรวจประเมิน คือ ระดับผ่าน จ�ำนวน ต้องปรับปรุง จานวน ๓ หลักสูตร และระดับไม่ผ่าน จานวน ๔ หลั๑๒ กสูตหลั ร กสูตร ต้องปรับปรุง จ�ำนวน ๓ หลักสูตร และระดับ ไม่ผ่าทัน้งจ�ำนวน หลั่มกี ผสูลการตรวจประเมิ ตร นี้ หลั กสู๔ต รที น ระดั บผ่า น ๑๒ ทั ้ ง นี ้ หลั ก สู ต รที ่ ม ี ผ ลการตรวจประเมิ หลักสูตร มีดังนี้ (๑) หลั กสูตรสาธารณสุข ศาสตรบั ณนระดั ฑิต ศูบนผ่ย์าน ๑๒ กหลั กสูตานัร กมีงานสาธารณสุ ดังนี้ (๑) หลักสูตขรสาธารณสุ ณฑิต การศึ ษาส จั ง หวั ด อุขบศาสตรบั ลราชธานี ศูนทย์ยาลั การศึ กษาส�ำนักงานสาธารณสุ ข จังหวัดขอุศาสตรมหา บลราชธานี มหาวิ ยมหาสารคาม (๒) หลักสูตรสาธารณสุ บัณมหาวิ ฑิต ศูทนยาลั ย์การศึ กษาสานักงานสาธารณสุ งหวัดอุบลราชธานี ยมหาสารคาม (๒) หลักสูขตจัรสาธารณสุ ขศาสตร มหาวิ ทยาลั หลักสูกตงานสาธารณสุ รการศึกษามหาบั มหาบั ณ ฑิยมหาสารคาม ต ศู นย์ ก ารศึ(๓) กษาส�ำนั ข จัณงฑิหวัต ด สาขาวิ ชาการบริหมหาวิ ารการศึ กษายมหาสารคาม ศูนย์ การศึ กษานอกสถานที ่ตั้ ง อุบลราชธานี ทยาลั (๓) หลักสูตรการ สถาบั การพลศึณกษา งหวัดอุชดาการบริ รธานี มหาวิ ทยาลัยกมหาสารคาม ศึกนษามหาบั ฑิตจัสาขาวิ หารการศึ ษา ศูนย์การ (๔)ศึหลั กสูตรการศึกษามหาบั ณฑินตการพลศึ สาขาวิชาวิ จัยและประเมิ ผล กษานอกสถานที ่ตั้งสถาบั กษา จังหวัดอุดนรธานี การศึ กษาทยาลั ศูนย์ยมหาสารคาม การศึก ษานอกสถานที มหาวิ (๔) หลัก่ตสูั้ตงสถาบั รการศึนกการพลศึ ษามหาบักณษาฑิต จั ง หวั ด อุ ด รธานี มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม (๕) หลั ก สู ต ร สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา ศูนย์การศึกษานอก สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ศูนย์การศึกษานอกสถานที่ตั้งสถาบัน สถานที่ตั้งสถาบันการพลศึกษา จังหวัดอุดรธานี มหาวิทยาลัย การพลศึกษา จังหวัด อุด รธานี มหาวิท ยาลัยมหาสารคาม (๖) มหาสารคาม (๕) หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ศูนย์ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ศูนย์การศึกษานอกสถาน ก ษานอกสถานที จั งกหวั ศาสตราจารย์ ศษ่ ตดร.ทศพร ศิรธานี ริสั มพัมหาวิ น ธ์ก ษา เลขาธิ ารย ด ที่ ตการศึ ั้ ง สถาบั น การพลศึพกิ เษา จั​ั้ งงสถาบั หวั ด อุนดการพลศึ ท ยาลั อุดรธานี มหาวิ กสูสาขาวิ ตรสาธารณสุ คณะกรรมการการอุ ก ษาหารธุ เปิรดกิเผยถึ งฑิตผลการประชุ มหาสารคาม (๗) ทหลัยาลั กดสูยมศึ ตมหาสารคาม รบริ จ(๖) บัณหลั ชาการม ข คณะกรรมการการอุ มศึ ้งที่ ๖/๒๕๕๗ ว่า ททียาลั ่ประชุ ต ทกศูษา น ย์ครัก ารศึ ก ษานอกสถานที ั้ งมสถาบั จัดศาสตรมหาบั การ ศูนย์การศึณกดฑิษาวิ ยาเขตขอนแก่ น มหาวิ ย่ ตศรี ปกกอ. ทุม น ได้ ห็หลั นชอบผลการตรวจประเมิ นฑิการจั ดการศึ ษานอกสถานที ก ษาหารธุ จั ง หวั มหาวิ ทกยาลั ยวมหาสารคาม (๘)เการพลศึ กสูตรบริ รกิดจอุบัดณรธานี ต สาขาวิ ชาคอมพิ เตอร์ธุรกิ่ตจั้ง ในปี เมืชท่อาการจั วัยาลั นที่ย๒๒ หลักกสูษาวิ ตรบริทพ.ศ. หยาเขตขอนแก่ ารธุ๒๕๕๖ รกิจบัณ-ฑิ๒๕๕๗ ตน สาขาวิ ดศรีการ นย์(๙) การ ศู น(๗) ย์งกบประมาณ ารศึ มหาวิ ปกัทุนศูมยายน ๒๕๕๖ วั นทญทียาเขตขอนแก่ ๒๕๕๖ และระหว่ นม ที(๘) ่ ก๑๑ น มหาวิ ทยาลั หลั-ทก๒๙ สูตร หลัศึกกสูษาวิ ตรบั ชี่ ๕บัณตุฑิลตาคม สาขาวิ ชาการบั ญชียศูศรีนาปย์งวัทุการศึ ษาวิ ยา เมษายน ๒๕๕๗ รวมจ านวน ๓ สถาบั น ๖ ศู น ย์ ๑๙ หลั ก สู ต เขตขอนแก่ ยศรีปทุชมาคอมพิ (๑๐) หลั กสูตธรนิ บริหารธุนรกิมหาวิ จบัณทฑิยาลั ต สาขาวิ วเตอร์ ุรกิเทศศาสตร จ ศูนย์กราร โดยมี ระดับทยผ่ยาลั าน ยจศรี านวน ๑๒(๙)ศหลัน์หลั กศูสูกนตสูย์รตร บั ณศึฑิกผษาวิ ตลการตรวจประเมิ สาขาวิ ช าวิ ท ยุ กนระจายเสี งและวิ ทปยุทุโ มทรทั ทยาเขตขอนแก่ นคือมหาวิ ต้การศึ องปรักบษาวิ ปรุง จานวน ๓ หลักสูนตรมหาวิ และระดับไม่ยผศรี่านป จทุานวน ๔ บัญชีบัณฑิทตยาเขตขอนแก่ สาขาวิชาการบัญชี ศูทนยาลั ย์การศึกษาวิม ท(๑๑) ยาเขต หลั ร ลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว ศูนย์ หลัขอนแก่ กกสูสูตตรศิ น มหาวิทยาลัยศรีปทุม (๑๐) หลักสูตรนิเทศศาสตร ทั้งนีท้ ยาเขตขอนแก่ หลั กสูต รที่มี ผนลการตรวจประเมิ บและ ผ่า น(๑๒) ๑๒ การศึ ก ษาวิ มหาวิทยยาลั ยศรีนทประดั ทุโมทรทั บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าวิ ท ยุ ก ระจายเสี งและวิ ยุ ศ น์ หลั นี้ (๑) หลั ข ศาสตรบั ณฑิต ศูนศูนย์นย์ หลักกสูสูตตรรนิมีตดิ ศังาสตรบั ณ ฑิกตสูตศูรสาธารณสุ น ย์ การศึก ษาวิ ทยาเขตขอนแก่ การศึ ก ษาวิ ท ยาเขตขอนแก่ น มหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม การศึ ษาส มหาวิ ทกยาลั ยศรีานัปทุกมงานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี (๑๑)ทยาลั หลักยสูมหาสารคาม ตรศิลปศาสตรบั ฑิตกสูสาขาวิ ชาการจัขดศาสตรมหา การท่องเทีย่ ว มหาวิ (๒)ณหลั ตรสาธารณสุ ษาวิกษาส ทยาเขตขอนแก่ น มหาวิ ปทุม และ บัณศูฑินตย์กศูารศึ นย์กการศึ านักงานสาธารณสุ ข จัทงยาลั หวัดยอุศรี บลราชธานี (๑๒) หลัยกมหาสารคาม สูตรนิติศาสตรบั ณฑิกตสูตศูรการศึ นย์การศึ กษาวิทณยาเขต มหาวิ ทยาลั (๓) หลั กษามหาบั ฑิต ขอนแก่ น มหาวิห ารการศึ ทยาลัยศรีกษา ปทุมศูนย์ การศึ กษานอกสถานที่ตั้ ง สาขาวิ ชาการบริ สถาบันการพลศึกษา จังหวัดอุดรธานี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (๔) หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและประเมินผล การศึ ษา ดศูมศึ นย์กกษาารศึก ษานอกสถานที่ ตั้งสถาบันการพลศึกษา อนุกสารอุ จั ง หวั ด อุ ด รธานี มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม (๕) หลั ก สู ต ร

เรื่องเล่าอุดมศึกษา

สกอ. รุกตรวจเข้ม

มหาวิทยาลัยนอกที่ตั้ง

เรื่องเล่าอุดมศึกษา

สกอ. รุกตรวจเข้ม

มหาวิทยาลัยนอกที่ตั้ง


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

กกอ. สัญจร ๒ พบผูบ้ ริหาร ม/ส เครือข่ายภาคกลางตอนบน ๔๔ แห่ง ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร.ทศพร ศิรสิ มั พันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เปิดเผยถึงการจัดประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษาสัญจร ครัง้ ที่ ๒ ว่า ที่ประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษาเห็นชอบให้จัดประชุมคณะกรรมการ การอุดมศึกษาสัญจร ครั้งที่ ๒ เพื่อพบปะและเยี่ยมเยียนเครือข่ายอุดมศึกษา ภาคกลางตอนบน ในระหว่างวันที่ ๕ - ๗ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบันแม่ข่ายของเครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน โดยมีสถาบันอุดมศึกษาในเครือข่ายจ�ำนวน ๔๔ แห่ง เข้าร่วมเสวนาแลกเปลีย่ น ความคิดเห็นในประเด็นคุณภาพอุดมศึกษาไทย ระหว่าง กกอ. ผู้บริหาร สกอ. และอธิการบดีสถาบันสมาชิกเครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน อาทิ วิธี ปฏิบัติที่เป็นเลิศ ผลงานที่โดดเด่น (Best Practice) ด้านการวิจัยและพัฒนา หรือด้านการจัดการเรียนการสอน หรือด้านการบริการวิชาการ ของสถาบัน อุดมศึกษาในเครือข่าย พร้อมทั้งการเยี่ยมชมเครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลาง ตอนบน ๕ เส้นทาง “เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการพบปะผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาใน พื้นที่ สกอ. จึงเร่งด�ำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษาสัญจรให้ ครบทั้ง ๙ เครือข่ายโดยเร็ว เพื่อให้คณะกรรมการการอุดมศึกษา และผู้บริหาร ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับฟังปัญหา ข้อเท็จจริง และร่วม แลกเปลีย่ นความคิดเห็นเพือ่ ขับเคลือ่ นนโยบายของคณะกรรมการการอุดมศึกษา สูก่ ารปฏิบตั อิ ย่างเป็นรูปธรรม น�ำไปสูก่ ารยกระดับคุณภาพมาตรฐานการจัดการ ศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศอย่างเป็นระบบต่อไป” เลขาธิการ กกอ. กล่าว

ส�ำนักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ (National Research Universities) ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ก�ำหนดจัดการประชุมสุดยอดมหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติ ครัง้ ที่ ๓ (The 3rd Thailand National Research Universities Summit (NRU SUMMIT III): Prelude to World Class University) ระหว่างวันที่ ๓๑ กรกฎาคม - ๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ บางกอกคอนเวนชัน่ เซ็นเตอร์ ชัน้ ๒๒ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ผูส้ นใจ สามารถเข้าร่วมงานโดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย ลงทะเบียนและส่งบทคัดย่อได้ที่ www.nrusummit3.org

อนุสารอุดมศึกษา

9


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

สกอ. จัดหลักสูตร ‘นบม.

รุ่นที่ ๒๕ ’

๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดการอบรม หลักสูตร ‘นักบริหารระดับสูงเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัย’ รุ่นที่ ๒๕ ณ ห้องจามจุรี ๑ โรงแรมปทุมวันปริ๊นเซส เพื่อเสริมสร้างวิสัยทัศน์ ความรู้ และทักษะการบริหารจัดการ สถาบันอุดมศึกษา ตลอดจนการพัฒนาเครือข่ายความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารระดับสูง ของสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ มีผู้เข้ารับการฝึกอบรม ทั้งสิ้น ๔๒ คน จากสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ทั้งนี้ ได้รับเกียรติจากศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานเปิดการฝึกอบรม ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวในการเปิดว่า สถาบันอุดมศึกษา เป็นองค์กรที่มีบทบาทและภารกิจที่ส�ำคัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ เพราะเป็นเสมือนคลังแห่งความรู้ คลังแห่งพลังสมอง และคลัง แห่งผู้รู้ผู้เล่นในสรรพวิทยาการต่าง ๆ และเป็นส่วนส�ำคัญในการผลิตทรัพยากรบุคคลและองค์ความรู้เพื่อเป็นปัจจัยสนับสนุนการ แข่งขันให้แก่ประเทศในเวทีโลก ในสภาวการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต สถาบันอุดมศึกษาจะต้องเผชิญกับปัจจัยหลาย ประการ ที่ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินภารกิจ ไม่ว่าจะเป็นข้อจ�ำกัดทางด้านงบประมาณ ข้อจ�ำกัดทางด้านก�ำลังคน กระแสการ เปลี่ยนแปลงของโลกและความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กระแสการแข่งขันที่รุนแรง รวมทั้งการขยายตัวของจ�ำนวน นิสิตนักศึกษาภายในสถาบัน ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ส่งผลต่อการด�ำเนินภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งเป็นเรื่องที่ท้าทายและส�ำคัญ ยิ่งในการบริหารจัดการของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา “ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาจะต้องเผชิญกับโจทย์และปัญหาใหม่ๆ ในการบริหารสถาบันอุดมศึกษามากขึ้น ต้องเผชิญ กับปัญหาเดิมที่สะสมมาแต่ในอดีต ซึ่งมีขนาดของปัญหาใหญ่มากขึ้น ลักษณะปัญหามีความซับซ้อนมากขึ้น และเกี่ยวข้องกับ ตัวแปรจ�ำนวนมาก ประกอบกับจะต้องปรับการด�ำเนินภารกิจให้เข้ากับสังคมฐานความรู้ สิ่งเหล่านี้ชี้ให้เห็นว่าการบริหารสถาบัน อุดมศึกษาในอนาคต จ�ำเป็นต้องได้ผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ มีวิธีคิดและทักษะการบริหารจัดการในรูปแบบใหม่ ๆ เพื่อก่อให้ เกิดสัมฤทธิผลในการด�ำเนินภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาที่เอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศและเป็นที่พึ่งแก่สังคมได้ สกอ. ในฐานะหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาประสิทธิภาพการด�ำเนินงาน ของสถาบันอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยเชื่อมั่นว่าจะเป็นส่วนส�ำคัญในการสนับสนุนการด�ำเนินภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา ให้สามารถแข่งขันในเวทีโลกได้” เลขาธิการ กกอ. กล่าว

10

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

สกอ. ร่วมกับ Hanban จัดประกวดสุนทรพจน์จีน ๑๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๗ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับส�ำนักส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ (Hanban) ประจ�ำประเทศไทย จัดงานประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนระดับอุดมศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๗ ในหัวข้อ ‘My Chinese Dream’ ณ โรงแรมรัชดาซิตี้ กรุงเทพฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนเยาวชนไทยที่เรียนภาษา และวัฒนธรรมจีนได้แสดงความสามารถด้านภาษาจีน พร้อมทั้งคัดเลือกผู้แทนจากประเทศไทยเข้าร่วมการประกวดสุนทรพจน์ ภาษาจีนระดับอุดมศึกษานานาชาติ ครัง้ ที่ ๑๓ ทีก่ �ำหนดจัดในเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๗ ณ มณฑลหูหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ทั้งนี้ ได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา นายเฉิน หย่งซัน (Mr. Chen Yongshan) ผูแ้ ทนส�ำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ (Hanban) ประจ�ำประเทศไทย และผูแ้ ทน สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจ�ำประเทศไทย ร่วมในพิธเี ปิด รองศาสตราจารย์ ดร.พินติ ิ รตะนานุกลู รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวในพิธเี ปิดว่า สาธารณรัฐประชาชน จีนกับไทยมีความสัมพันธ์อนั ดีตอ่ กันมาเป็นเวลานาน โดยในปัจจุบนั นักเรียน นักศึกษา รวมไปถึงครู อาจารย์ของไทย ได้ให้ความสนใจ ในเรือ่ งภาษาและวัฒนธรรมจีนเพิม่ ขึน้ จะเห็นได้วา่ มีผสู้ นใจไปศึกษาต่อทีส่ าธารณรัฐประชาชนจีนเพิม่ ขึน้ ทุกปี นอกจากนี้ หน่วยงาน ของจีนและไทยมีการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกันอย่างใกล้ชดิ มาโดยตลอด ทัง้ การส่งเสริมการแลกเปลีย่ นนักเรียน นักศึกษา ครู และอาจารย์ การให้ทนุ อบรมและศึกษาต่อ รวมไปถึงกิจกรรมต่างๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของทัง้ สองฝ่าย “นักศึกษาที่เข้าประกวดในวันนี้ทุกคนได้ผ่านการคัดเลือกในระดับสถาบันมาแล้ว และมีความสามารถเฉพาะตัวที่ หลากหลาย อย่างไรก็ตาม ขอให้ทกุ คนท�ำภารกิจนีอ้ ย่างดีทสี่ ดุ ท�ำให้เต็มก�ำลังความสามารถของตนเอง การประกวดในวันนีจ้ ะเป็น ประสบการณ์ที่มีค่าและเป็นประโยชน์ส�ำหรับนักศึกษา และคาดหวังว่าผู้ชนะการประกวดในวันนี้ รวมไปถึงผู้เข้าประกวดทุกคน จะเป็นส่วนหนึง่ ทีม่ บี ทบาทในการต่อยอดความร่วมมือและสัมพันธภาพอันดีระหว่างจีนกับไทยให้แน่นแฟ้นมากยิง่ ขึน้ และจะสามารถ สร้างชือ่ เสียงให้แก่ประเทศไทยได้อกี ครัง้ หนึง่ ” ผลการแข่งขันประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนระดับอุดมศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๗ รางวัลชนะเลิศอันดับหนึง่ จ�ำนวน ๒ คน ได้แก่ นายวรเดช เดชกุศลพิทกั ษ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ นางสาวเสาวลักษณ์ แซ่ยา่ ง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โดยทัง้ สองคนจะเป็นผูแ้ ทนจากประเทศไทยเข้าร่วม การประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนระดับนานาชาติ ครัง้ ที่ ๑๓ และจะได้รบั ทุนสถาบันขงจือ่ จากสาธารณรัฐประชาชนจีน เพือ่ ศึกษาต่อ ระดับปริญญาโทในสถาบันอุดมศึกษาจีน รางวัลที่สอง มีจ�ำนวน ๔ คน โดยผู้ได้รับคะแนนสูงสุดของรางวัลที่สอง คือ นายวุฒิดล โทศรีแก้ว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จะได้รบั เชิญเข้าร่วมสังเกตการณ์การประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนระดับนานาชาติ ครัง้ ที่ ๑๓ ณ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน อนุสารอุดมศึกษา

11


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

ปฐมนิเทศครูอาสาสมัครชาวจีน ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๗ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับส�ำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษา จีนนานาชาติ (ฮั่นปั้น) สาธารณรัฐประชาชนจีน (China National Office for Teaching Chinese as a Foreign Language: Hanban, The People’s Republic of China) จัดงานปฐมนิเทศครูอาสาสมัครชาวจีน ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๗ ณ โรงแรม รัชดาซิตี้ ห้วยขวาง ทั้งนี้ ได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธีเปิด และนายหลิว กว่างเสิ้ง (Mr.Liu Guangsheng) กงสุล สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน ประจ�ำประเทศไทย นายเฉิน หย่งซัน (Mr. Chen Yongshan) ผู้แทนส�ำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติประจ�ำ ประเทศไทย เข้าร่วมงาน รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า โครงการครูอาสาสมัคร ชาวจีนได้เริ่มต้นและด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องในประเทศไทย ด้วยความร่วมมือเป็นอย่างดีจากหน่วยงานและบุคลากรทั้งฝ่ายจีน และฝ่ายไทย ท�ำให้โครงการนี้ประสบผลส�ำเร็จเป็นอย่างดี ส่งผลให้การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยพัฒนาขึ้นทั้งด้าน ปริมาณและคุณภาพ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้มีการขอรับครูอาสาสมัครมาช่วยสอนภาษาจีนในมหาวิทยาลัยและ มาช่วยงานของสถาบันขงจื่อในประเทศไทยเพิ่มขึ้นทุกปี จากปี ๒๕๔๙ ที่มีครูอาสาสมัครจ�ำนวน ๑๖ คน จนถึงปัจจุบันมีจ�ำนวน ครูอาสาสมัครเพิ่มเป็นกว่า ๒๐๐ คนต่อปี ซึ่งแสดงถึงความสนใจและความต้องการในการเรียนภาษาจีนของเยาวชนไทยที่เพิ่มขึ้น อย่างเห็นได้ชัด “การเรียนภาษาจากเจ้าของภาษานั้นนับเป็นหัวใจส�ำคัญของการเรียนภาษา ซึ่งจะส่งผลให้การเรียนเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล และกระทรวงศึกษาธิการให้ความส�ำคัญในล�ำดับต้น ในส่วนของครูอาสาสมัครเองจะมีโอกาสได้ เสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสอนและเรียนรู้วิถีชีวิต ความเป็นอยู่และวัฒนธรรมไทย ซึ่งจะช่วยสร้างความเข้าใจอันดีระหว่าง กันและน�ำไปสู่มิตรภาพที่แน่นแฟ้นและยั่งยืนระหว่างสองประเทศต่อไป ทั้งนี้ ต้องขอขอบคุณครูอาสาสมัครทุก ๆ ท่านที่ได้มี ความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษาและครูอาจารย์ชาวไทยในการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนให้มีคุณภาพและ มาตรฐานทัดเทียมกับการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศจีน” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า ส�ำหรับในปีการศึกษา ๒๕๕๗ ครูอาสาสมัครในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา มีจ�ำนวน ๒๗๕ คน ปฏิบัติงานให้สถาบันอุดมศึกษาและสถาบันขงจื่อ โดยก�ำหนดเดินทางมาปฏิบัติงานเป็น ๒ ช่วงเวลา คือ กลุ่มที่ ๑ ปฏิบัติงานระหว่างเดือนมิถุนายน ๒๕๕๗ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๕๘ และกลุ่มที่ ๒ ปฏิบัติงานระหว่างเดือนสิงหาคม ๒๕๕๗ ถึงเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๘

12

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอุดมศึกษา

สกอ. จัดอบรม ‘นักกฎหมายอุดมศึกษา’ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดการ ฝึกอบรมหลักสูตร ‘นักกฎหมายอุดมศึกษา’ (นกอ. รุน่ ที่ ๒) ณ โรงแรมบางแสน เฮอริเทจ จังหวัดชลบุรี เพื่อพัฒนานักกฎหมายประจ�ำสถาบันอุดมศึกษาในต�ำแหน่งนิติกร ให้มคี วามรู้ ความสามารถในการให้ความเห็นทางกฎหมาย เสริมสร้างทักษะให้ผปู้ ฏิบตั ิ งานด้านกฎหมายสามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความสัมพันธ์ อันดีระหว่างนิติกรประจ�ำสถาบันอุดมศึกษา โดยมีผู้เข้าร่วมฝึกอบรม ประกอบด้วย ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย ตลอดจนเจ้าหน้าทีม่ หาวิทยาลัย ในต�ำแหน่งนิตกิ ร และผูป้ ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้องกับด้านกฎหมายของสถาบันอุดมศึกษา จ�ำนวนทัง้ สิน้ ๖๐ คน ทัง้ นี้ ได้รบั เกียรติจากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธเี ปิด รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กล่าวในพิธีเปิดว่า เนื่องจากในปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาหลายแห่ง ประสบปัญหาเกีย่ วกับการปฏิบตั งิ านตามทีก่ ฎหมายได้ก�ำหนดไว้ อาทิ ปัญหาในการ สรรหาคณบดี หรือการสรรหาอธิการบดี ซึ่งการตีความและการบังคับใช้กฎหมาย ไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ทกี่ ฎหมายก�ำหนดไว้ ท�ำให้เกิดช่องว่างและเป็นทีม่ าของ การร้องเรียนต่างๆ เป็นจ�ำนวนมาก และมีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาเพิ่มขึ้นอยู่เรื่อยๆ จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องพัฒนานักกฎหมายในสถาบันอุดมศึกษาให้มคี วามรู้ ความสามารถและความช�ำนาญในด้านการอุดมศึกษาอย่างมืออาชีพ จนสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานภายในของสถาบันอุดมศึกษามากยิง่ ขึน้ “หลังจากผ่านการฝึกอบรมในครั้งนี้ สกอ. หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าผูเ้ ข้ารับการ ฝึกอบรมจะได้น�ำความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ ที่ได้จากการฝึกอบรม ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และต่อสถาบันอุดมศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว อนุสารอุดมศึกษา

13


เรื่องเล่าอาเซียน

การประชุมคณะกรรมการอ�ำนวยการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-BOT) ครัง้ ที่ ๓๐ ๑๙ - ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๗ – De La Salle University สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ร่วมกับส�ำนักงานเลขานุการเครือข่าย มหาวิทยาลัยอาเซียน เป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุมคณะกรรมการอ�ำนวยการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-BOT) ครั้งที่ ๓๐ ณ เมืองเซบู สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ โดยมีผู้แทนมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนจากประเทศกัมพูชา ไทย บรูไน ดารุสซาลาม ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ผู้แทนส�ำนักเลขาธิการอาเซียน ผู้แทนองค์การรัฐมนตรีศึกษา แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และผู้แทนส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เข้าร่วมประชุม ทั้งนี้ ได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานการประชุม การประชุมดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานผลความคืบหน้าในการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ในกรอบของเครือข่ายมหาวิทยาลัย อาเซียน และก�ำหนดนโยบายและแนวทางความร่วมมือด้านอุดมศึกษาในระดับภูมิภาคของมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลัย อาเซียนในอนาคต การด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ในกรอบของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนสามารถแบ่งได้ ๗ กลุ่ม ดังนี้ (๑) การแลกเปลี่ยนทางวิชาการ (Academic Exchange) (๒) การแลกเปลี่ยนเชิงวัฒนธรรม (Cultural and Non-Academic Programme) (๓) การจัดอบรมและเสริมสร้างขีดความสามารถ (Training and Capacity Building) (๔) การประชุมเชิงวิชาการและการวิจัยร่วม (Academic Conference and Collaborative Research) (๕) การพัฒนาระบบและกลไกด้านการอุดมศึกษา (System and Mechanisms of Higher Education) (๖) การหารือเชิงนโยบาย (Policy Dialogue) (๗) การด�ำเนินกิจกรรมของเครือข่ายย่อย (AUN Sub-Networks’ Activities) ปัจจุบันเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนมีสมาชิกทั้งหมด ๓๐ แห่ง จาก ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน สถาบันอุดมศึกษาของไทย ที่เป็นสมาชิก ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ส�ำหรับการประชุมคณะกรรมการอ�ำนวยการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-BOT) ครั้งที่ ๓๑ จะมีก�ำหนดจัดขึ้น ณ ประเทศสิงคโปร์ โดย National University of Singapore เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม

14

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องแนะน�ำ

ประวัติและผลงาน ของ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กำ�จร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

วัน เดือน ปี เกิด ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ ประวัตกิ ารศึกษา คุณวุฒ ิ หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรไทย Sasin Executive Program Health Care Evaluation and Management Skills Mini MBA in Health วุฒบิ ตั รกุมารเวชศาสตร์ (เทียบเท่าปริญญาเอก) แพทยศาสตร์บณ ั ฑิต วิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต (วิทยาศาสตร์การแพทย์) ประวัตกิ ารรับราชการ ตำ�แหน่งทางการบริหาร ปัจจุบนั พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๗ มิถนุ ายน ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๔๓ - ๒๕๔๗ พ.ศ. ๒๕๓๖ - ๒๕๔๐ พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๒ ตำ�แหน่งทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๓๑ - ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๒๙ - ๒๕๓๐

ปีทจ่ี บ ๒๕๔๗ ๒๕๔๖ ๒๕๓๕ ๒๕๓๔ ๒๕๒๘ ๒๕๒๒ ๒๕๒๐

สถานศึกษา วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย University of Toronto จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ รองอธิการบดีดา้ นบริหารบุคคลและการพัสดุ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองคณบดีฝา่ ยบริหาร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หัวหน้าภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ระดับ ๘ - ๙ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ระดับ ๖ - ๘ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ระดับ ๔ - ๕ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อนุสารอุดมศึกษา

15


เรื่องแนะน�ำ

กรรมการสภา พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๖ - ปัจจุบนั พ.ศ. ๒๕๔๗ พ.ศ. ๒๕๔๓

กรรมการสภาผูท้ รงคุณวุฒิ วิทยาลัยเทคโนโลยีจติ รลดา กรรมการสภาผูท้ รงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรรมการสภามหาวิทยาลัย ประเภทผูแ้ ทนคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการสภามหาวิทยาลัย ประเภทผูแ้ ทนผูบ้ ริหาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผลงานด้านวิชาการ ● อาจารย์บรรยายในรายวิชา วิทยาภูมค ิ มุ้ กัน (Immunology) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๒๙) ● อาจารย์ทป ่ี รึกษาวิทยานิพนธ์ ในการเรียนการสอนบัณฑิตศึกษาสาขาการพัฒนาสุขภาพ (M.Sc. in Health Development) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๓๖ - ปัจจุบนั ) ● กรรมการพัฒนาวิชาการทางการแพทย์ โครงการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๙) ● เขียนตำ�รา วิทยาภูมค ิ มุ้ กัน ร่วมกับคณาจารย์ในภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำ�นักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๖ เรียบเรียงปรับปรุงครัง้ ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๕ และเรียบเรียงปรับปรุงครัง้ ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๑) ● ผลงานวิจย ั และบทความรวมทัง้ สิน้ ๑๕ เรือ่ ง (พ.ศ. ๒๕๒๙)

16

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องแนะน�ำ

ทุนแลกเปลี่ยนคณาจารย์ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาไทยกับออสเตรีย ของเครือข่ายมหาวิทยาลัยในทวีปยุโรปกับมหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประจำ�ปี ๒๕๕๗ ASEAN-European Academic University Network: ASEA-UNINET สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จะจัดสรรทุนแลกเปลี่ยนคณาจารย์ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาไทยกับออสเตรีย ภายใต้เครือข่ายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในทวีปยุโรปกับมหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประจำ �ปี ๒๕๕๗ ที่เปิดโอกาสให้บุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดและกำ�กับสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ที่เป็นสมาชิก เครื อ ข่ า ยมหาวิ ท ยาลั ย ในทวี ป ยุ โรปกั บ มหาวิ ท ยาลัย ในภูมิภาคเอเชีย ตะวัน ออกเฉีย งใต้ (ASEAN-European Academic University Network: ASEA-UNINET) ไปทำ�วิจัย ณ สถาบันอุดมศึกษาออสเตรีย ระยะเวลา ๑ เดือน ลักษณะทุน

ทุนวิจัยในมหาวิทยาลัยออสเตรียที่เป็นสมาชิกเครือข่าย ASEA-UNINET

สาขาวิชาที่รับสมัคร ทุกสาขาวิชา ระยะเวลารับทุน

๑ เดือน (ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๗ - กันยายน ๒๕๕๘) (โดยควรเริ่มปฏิบัติงาน ณ ประเทศออสเตรียในวันที่ ๑ ของเดือนและสิ้นสุดการปฏิบัติงานไม่เกินวันที่ ๓๐/๓๑ ของเดือน)

คุณสมบัติ

๑. เป็นบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาที่เป็นสมาชิกของเครือข่ายมหาวิทยาลัย ในทวีปยุโรปกับมหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN-European Academic University Network: ASEA-UNINET) และได้รับการเสนอชื่อจากสถาบันต้นสังกัดให้สมัครรับทุน ๒. ส�ำเร็จการศึกษาไม่ต�่ำกว่าระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า และหากส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศ จะต้องกลับมาปฏิบัติงานที่ประเทศไทยไม่น้อยกว่า ๑ ปี ในวันที่ปิดรับสมัคร ๓. เป็นผู้ปฏิบัติงานในสาขาที่สมัคร ๔. สามารถพูดและเขียนภาษาอังกฤษหรือภาษาเยอรมันได้เป็นอย่างดี ๕. ต้องมีประสบการณ์และผลงานในการท�ำวิจัยมาแล้วพอสมควร (หากมีผลงานการวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ใน International journal จะได้รับการพิจารณาเป็นกรณีพิเศษ) ๖. ผู้สมัครที่ไม่เคยได้รับทุนแลกเปลี่ยนคณาจารย์ระหว่างไทย-ออสเตรียจะได้รับการพิจารณาเป็นลำ�ดับแรก ๗. ผู้สมัครที่เป็นคู่สมรสไม่สามารถสมัครรับทุนได้ในปีเดียวกัน

ค่าใช้จ่าย

๑. รัฐบาลไทยโดยสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ในวงเงินไม่เกิน ๗๐,๐๐๐ บาท ดังนี้ ๑.๑ ค่าบัตรโดยสารเครื่องบินไป-กลับ กรุงเทพฯ-ออสเตรีย ชั้นประหยัด ๑.๒ ค่าพาหนะเดินทางภายในออสเตรียที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน (ใช้จ่ายโดยคำ�นึงถึงความประหยัด) ๒. รัฐบาลออสเตรียสนับสนุนค่าใช้จ่ายในออสเตรียในอัตราเหมาจ่าย จำ�นวน ๑,๐๙๐ ยูโร *ค่าที่พัก ค่าประกันสุขภาพและประกันอุบัติเหตุ ผู้ได้รับทุนรับผิดชอบเอง *ค่าใช้จ่ายดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับหน่วยงานที่ให้ทุน ๓. มหาวิทยาลัย/สถาบันเจ้าภาพในออสเตรียรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการทำ�วิจัยในห้องปฏิบัติการของมหาวิทยาลัย

อนุสารอุดมศึกษา

17


เรื่องแนะน�ำ

การพิจารณา

สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาโดยคณะกรรมการดำ�เนินงานทุนความร่วมมือระหว่างไทยกับออสเตรีย จะคัดเลือกผู้สมัครโดยการสอบสัมภาษณ์ ณ สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๗

เงื่อนไข

๑. ผู้ผ่านการคัดเลือกให้ได้รับทุนจะต้องทำ�สัญญาเพื่อรับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับฝ่ายออสเตรีย หากแจ้งสละสิทธิ์การรับทุนกระชั้นชิด (น้อยกว่า ๖๐ วันก่อนไปศึกษา/วิจัย) ๒. ผู้ได้รับทุนต้องเขียนรายงานการวิจัยเป็นภาษาอังกฤษ โดยให้ host professor ลงนามรับรองและนำ�ส่งสำ�นักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาภายใน ๑ เดือน หลังจากกลับจากออสเตรีย

กำ�หนดการเดินทาง ผู้ได้รับทุนต้องเดินทางไปทำ�วิจัยในมหาวิทยาลัยออสเตรียภายในเดือนตุลาคม ๒๕๕๗ - เดือนกันยายน ๒๕๕๘ หลักฐานการสมัคร

๑. หนังสือเสนอชือ่ ผูส้ มัครจากสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัดทีล่ งนามโดยอธิการบดีหรือผูท้ ไ่ี ด้รบั มอบอำ�นาจ ๒. ใบสมัครทีก่ รอกข้อความครบถ้วน โดยขอให้พมิ พ์หรือเขียนด้วยตัวบรรจงพร้อมติดรูปถ่าย ๑ นิว้ หรือ ๒ นิว้ (ถ่ายไว้ไม่เกิน ๖ เดือน) ๓. หนังสือตอบรับอย่างเป็นทางการให้เข้าทำ�วิจยั จากมหาวิทยาลัยออสเตรียทีเ่ ป็นเจ้าภาพทีเ่ ป็นสมาชิกของเครือข่าย ASEA-UNINET ซึง่ ลงนามโดยผูม้ อี �ำ นาจ เช่น อธิการบดี/ รองอธิการบดี/คณบดี/หัวหน้าภาควิชา/ผูอ้ �ำ นวยการสถาบัน ทัง้ นี้ ผูส้ มัครต้องมี host advisors (มีต�ำ แหน่งเป็น Univ.-Prof.(ศาสตราจารย์)) ในสาขาทีต่ รงกับสาขาทีจ่ ะไปทำ�วิจยั ๔. จดหมายแนะนำ�ผูส้ มัคร (letter of recommendation) จากสถาบันอุดมศึกษาอุดมศึกษาต้นสังกัด (ภาษาอังกฤษ) ๕. สำ�เนาระเบียนผลการศึกษา (transcript of record) ในระดับอุดมศึกษาทุกระดับทีส่ �ำ เร็จการศึกษา (ภาษาอังกฤษ) ๖. รายละเอียดโครงการวิจยั (ภาษาอังกฤษ) ๗. สำ�เนาหนังสือเดินทาง (ถ้ามี) ทัง้ นี้ ขอให้จดั ส่งโดยเรียงเอกสารตามลำ�ดับ ๑ - ๖ จำ�นวน ๑๐ ชุด (ต้นฉบับ ๑ ชุด พร้อมสำ�เนา ๙ ชุด)

กำ�หนดปิดรับสมัคร ปิดรับสมัครรับทุนดังกล่าวในวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ โดยจะถือเอาวันที่ที่สำ�นักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (หน่วยงานรับสมัครทุน) ลงตราประทับรับเอกสารการสมัครรับทุนเป็นสำ�คัญ และไม่รับพิจารณาใบสมัครที่จัดส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และทางโทรสาร

หมายเหตุ ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่สำ�นักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๔๖๓-๕ และสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มใบสมัคร และดูรายละเอียดทุนได้ที่เว็บไซต์ www.inter.mua.go.th ในหัวข้อ “Announcements”

18

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องของงานวิจัย

มหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ

การลงทุนทางการศึกษาระยะยาว

บริการ สกอ.

แนวพัฒนา

นโยบายหลัก

การพัฒนาอุดมศึกษาไทย รวมวางแนวทางสูอนาคต

การผลิตครู

มหาวิทยาลัย ระดับโลก

วางรากฐานการศึกษา

เตรียมความพรอมสูตลาด AEC

กฎหมาย

พัฒนางานวิจยั ระบบคัดเลือก ทุนอุดมศึกษา เงินกูยืม

คำถาม-คำตอบ

ไขขอของใจเรื่องอุดมศึกษาไทย

มองใหเห็น... ‘กำไร’ จากการลงทุนดานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดรับจัดสรรงบประมาณ จำนวน ๕,๐๐๐ ลานบาท ใหดำเนินการ สงเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ โดยสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนา ใหกับมหาวิทยาลัยวิจัย จำนวน ๙ แหง ผาน ๖ กลุมวิจัย (Supra Cluster) พรอมทั้งจัดสรรงบประมาณในสวน ของมหาวิทยาลัย ๗๐ แหง เพื่อใหเกิดความเชื่อมโยงและบูรณาการงานวิจัยของแตละมหาวิทยาลัยทั้ง ๗๙ แหง ใหอยูในรูปของคลัสเตอรวิจัย เกิดเปนภาพระดับมหภาคที่สงผลตอการสรางผลิตภัณฑและนวัตกรรมดาน การเกษตร ดานอุตสาหกรรม ดานพาณิชยกรรม ดานวิชาการ และวิชาชีพควบคุมดานการแพทยและสุขภาพ รวมถึงดานความคิดสรางสรรค (ดานการออกแบบมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร)

การตอยอดโจทยวิจัยเดิม เนนการวิจัยที่สามารถนำไปใชประโยชนได ดานอุตสาหกรรม การพัฒนาวิธีการตรวจสอบความเสียหายของคอนกรีตโดยวิธีทางเคมี ดานสุขภาพ การพัฒนาความรวมมือควบคุมโรคพยาธิใบไมตับในประเทศอนุภูมิภาคลุมน้ำโขง ดานสิ่งแวดลอม การวางผังภูมิทัศนชุมชนและออกแบบรายละเอียดองคประกอบผังภูมิทัศน บนพื้นฐาน ของแนวทางการบริหารจัดการน้ำเพื่อพัฒนาเปนพื้นที่แกมลิง ปจจุบันถูกนำไปใชที่ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องคกรมหาชน) และคณะกรรมการ บริหารจัดการน้ำชุมชนคลอง ๘ คลอง ๙ และคลอง ๑๐ อำเภอหนองเสือ ดานพลังงาน งานวิจัยดานอุโมงคลมและพลศาสตรโครงสรางของอาคารดวยมาตรฐานสังคม ซึ่งมีการนำไปใชจริงในสิ่งกอสรางและอาคารขนาดใหญ ดานสังคมและมนุษยศาสตร การเสนอแบบจำลองแนวคิดบริหารจัดการที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการบริหารจัดการคุณภาพทั่วทั้งองคกร ระบบโลจิสติกส และซัพพลายเชน เพื่อใชเปนองคความรูเพื่อกำหนดนโยบายของประเทศ ดานเกษตรและอาหาร การจัดทำโครงการเพาะเลี้ยงพัฒนาสายพันธุหอยทาก ไสเดือน และกิ้งกือ เพื่อประโยชนทางการเกษตรเปนฐานองคความรูในการทำงานเกษตรอินทรีย และตนแบบความรวมมือเชิงพื้นที่เพื่อสรางการเรียนรูของเกษตรกร

สิ่งแวดลอม สุขภาพ

เกษตร และอาหาร

พลังงาน

สังคมศาสตร และมนุษยศาสตร

อุตสาหกรรม อนุสารอุดมศึกษา

19


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

เหตุการณ์เล่าเรื่อง

การประชุม

Understanding Improving Research Outcomes for Thailand

20

อนุสารอุดมศึกษา

and


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาร่วมกับฝ่ายการ ศึกษา สถานเอกอัครราชทูตออสเตรเลียประจ�ำประเทศไทย จัดการ ประชุม Understanding and Improving Research Outcomes for Thailand ในวันที่ ๑๖ - ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๗ ณ โรงแรม อมารี วอเตอร์เกท กรุงเทพฯ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้าน การวิจัยระหว่างผู้เชี่ยวชาญในออสเตรเลียกับสถาบันอุดมศึกษา ไทย รวมทั้งแนวทางในการยกระดับคุณภาพสถาบันอุดมศึกษาให้ ติดอันดับในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกผ่านกระบวนการพัฒนา งานวิจัยและความร่วมมือกับต่างประเทศ ทั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก Prof. Robyn A. Owens, Deputy Vice-Chancellor (Research) จาก The University of Western Australia และ Mr. Michael Gallagher, Executive Director จาก The Group of Eight ประเทศออสเตรเลีย มาเป็นวิทยากรแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับ ผู้แทนกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัย สถาบันอุดมศึกษาทั้งรัฐและเอกชน และหน่วยงานไทยอื่นๆ ได้แก่ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวง วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ส�ำนั ก งานคณะกรรมการนโยบาย วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ ส�ำนั ก บริ ห าร โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัย แห่งชาติ และศูนย์ความเป็นเลิศ เป็นต้น ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวในการเปิดการประชุมร่วมกับ H.E. Mr. James Joseph Wise เอกอัครราชทูตออสเตรเลียประจ�ำ ประเทศไทย เมื่ อ วั น ที่ ๑๖ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๗ ว่ า ส�ำนั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาให้ความส�ำคัญในการสร้างความเข้มแข็ง ด้ า นการวิ จั ย ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาซึ่ ง เป็ น พื้ น ฐานในการสร้ า ง ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น และการเติ บ โตที่ ยั่ ง ยื น ของ ประเทศไทย โดยได้มกี ารจัดตัง้ มหาวิทยาลัยวิจยั และศูนย์ความเป็นเลิศ รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม ให้ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาท�ำการวิ จั ย โดยร่ ว มมื อ กั บ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคอุตสาหกรรม เพื่อให้ผลการวิจัยเกิด ผลกระทบและตอบสนองความต้องการของประเทศ การประชุม ในครั้งนี้เป็นโอกาสที่ดีในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ ด้านการวิจัยเพื่อช่วยพัฒนาการจัดอันดับของสถาบันอุดมศึกษาไทย และที่ส�ำคัญคือการพัฒนาการแข่งขันทางเศรษฐกิจและความส�ำเร็จ ที่ยั่งยืนของประเทศ

อนุสารอุดมศึกษา

21


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวในการเปิด การประชุมร่วมกับ Ms. Kim Cleary, Counsellor (Education and Science) สถาน เอกอัครราชทูตออสเตรเลีย ฮานอย ในวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๗ ว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้ความส�ำคัญในการ สร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา โดยมีการสร้าง เครือข่ายในรูปแบบต่างๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ การ ท�ำงานร่วมกันระหว่างผู้เชี่ยวชาญจากหลากหลายสาขาวิชาจะท�ำให้ เกิดนวัตกรรมที่น�ำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่โลกก�ำลังเผชิญอยู่ ความ ร่วมมือทั้งระดับประเทศและต่างประเทศจะเป็นกลไกส�ำคัญในการ ขับเคลื่อนสถาบันอุดมศึกษาไทยให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล Prof. Robyn A. Owens, Deputy Vice-Chancellor (Research) จาก The University of Western Australia ได้ น�ำเสนอระบบการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกแต่ละประเภท และ ได้แนะน�ำแนวทางในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาเพื่อน�ำไปสู่การ จัดอันดับ โดยปัจจัยส�ำคัญที่น�ำไปสู่ความส�ำเร็จ คือ การที่สถาบัน อุดมศึกษาแต่ละแห่งจะต้องก�ำหนดยุทธศาสตร์ที่ชัดเจนว่าจะมุ่ง พัฒนาในเรื่องใดและจะต้องค้นหาจุดแข็งของสถาบันให้ได้ เพื่อ สร้างความแข็งแกร่งในการพัฒนาสาขาที่ถนัดและพัฒนาให้เป็น “Brand” ของสถาบันให้เป็นที่ยอมรับในเวทีนานาชาติ และควร สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาทั้งในและต่าง ประเทศ โดยเฉพาะกับสถาบันอุดมศึกษาต่างประเทศเพื่อสร้างงาน วิจัยที่มีคุณภาพร่วมกัน สามารถแก้ปัญหาที่เป็นประเด็นส�ำคัญของ โลกและเพิ่มงานวิจัยที่ตีพิมพ์ได้ระดับสากล Mr. Michael Gallagher, Executive Director จาก The Group of Eight กล่าวถึงการรวมกลุ่มของสถาบันอุดมศึกษาชั้นน�ำด้านการวิจัย ในออสเตรเลีย ๘ แห่ง เป็น The Group of Eight เพื่อพัฒนาด้านการวิจัย ร่วมกันและสร้างเครือข่ายกับต่างประเทศ ทั้งนี้ ฝ่ายออสเตรเลียเสนอความร่วมมือให้จัด “Shadowing” ระดั บ รองอธิ ก ารบดี จ ากมหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย ทั้ ง ๙ แห่ ง ของไทยไปดู ง าน ที่ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาสมาชิ ก ของ The Group of Eight และเสนอให้ จั ด การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารร่ ว มกั น ทั้ ง ในประเทศไทยและออสเตรเลี ย รวมทั้งการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระดับปริญญาเอกเพื่อท�ำวิจัยร่วมกัน

22

อนุสารอุดมศึกษา


เล่าเรื่องด้วยภาพ

๑ ๐ มิ ถุ น า ย น ๒๕๕๗ - ศาสตราจารย์ พิเศษ ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิ ก ารคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษา ประชุ ม หารือการสร้างความร่วมมือ ไทยและออสเตรเลี ย กั บ เอกอัครราชทูตออสเตรเลีย ณ ห้องประชุมบริหาร ชั้น ๔

๖ มิถุนายน ๒๕๕๗ รองศาสตราจารย์ ดร.พิ นิ ติ รตะนานุ กู ล รองเลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็ น ประธานเปิ ด การประชุ ม รองอธิการบดีฝา่ ยการต่างประเทศ ณ โรงแรมอมารี วอเตอร์เกท

๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ - ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทศพร ศิ ริ สั ม พั น ธ์ เลขาธิ ก ารคณะกรรมการ การอุดมศึกษา มอบรางวัลให้แก่นักกีฬาที่ได้รับรางวัล จากการแข่ง ขัน กีฬาบุคลากรส�ำนัก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๓๓ (อ่างแก้วเกมส์) ณ ห้องประชุมบริหาร ชัน้ ๔

๑๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๗ รองศาสตราจารย์ ดร.พิ นิ ติ รตะนานุ กู ล รองเลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุดมศึกษา ป ร ะ ชุ ม ห า รื อ กั บ ผู ้ แ ท น จาก Guizhou Education University ณ ห้ อ งประชุ ม พันเอก อาทร ชนเห็นชอบ (๒) ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๗ - ดร.วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธาน เปิ ด โครงการ ‘ส่ ง เสริ ม การจั ด การความรู ้ ใ นองค์ ก รของ ส�ำนั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา’ ณ ห้ อ งประชุ ม ศาสตราจารย์ประเสริฐ ณ นคร

อนุสารอุดมศึกษา

23



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.