อุดมศึกษา อนุสาร
ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔๓๔ ประจำ�เดือนสิงหาคม ๒๕๕๗
เอกสารเผยแพร่ของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ISSN 0125-2461
อนุ ส ารอุ ด มศึก ษาออนไลน์ www.mua.go.th/pr_web
สารบัญ เรื่องเล่าอุดมศึกษา สกอ. ร่วม วท. จัดท�ำ STDB สกอ. จัดอบรมอาจารย์สอนภาษาจีน พัฒนาการระงับข้อพิพาททางเลือก สกอ. เน้นวิจัยสร้างองค์ความรู้และการใช้ประโยชน์ สกอ. แลกเปลี่ยนการจัดอีเลิร์นนิง สนับสนุนการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา
ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔๓๔ ประจำ�เดือนสิงหาคม ๒๕๕๗
๓ ๔ ๕ ๖ ๘ ๙
เรื่องเล่าอาเซียน
Mother’s day in ASEAN
๓ ๑๑
๑๐
เรื่องพิเศษ
กกอ. สัญจร เครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน
๑๑
เรือ่ งแนะน�ำ
รู้จัก ‘Thai SAA’
๑๖
๑๗
เหตุการณ์เล่าเรื่อง
เปิดโลกทัศน์ - สร้างมิตรภาพ ใน ‘APSSA 2014’
๑๗
เล่าเรื่องด้วยภาพ
๒๒
คณะผู้จัดทำ� สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
อนุสารอุดมศึกษา
เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ เว็บไซต์ http://www.mua.go.th อีเมล pr_mua@mua.go.th เฟสบุ๊ค www.facebook.com/ohecthailand ทวิตเตอร์ www.twitter.com/ohec_th ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำ จร ตติยกวี รองศาสตราจารย์พนิ ติ ิ รตะนานุกลู นางวราภรณ์ สีหนาท นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ นายสุภัทร จำ�ปาทอง นายศิระวิทย์ คลี่สุวรรณ บรรณาธิการ นายกฤษณ์กร วงศ์ไทย กองบรรณาธิการ นางสาวปิยาณี วิริยานนท์ นางชุลีกร กิตติก้อง นายเจษฎา วณิชชากร นางปราณี ชื่นอารมณ์ นายพรชัย สิทธินันทน์ นายจรัส เล็กเกาะทวด พิมพ์ที่ บริษัท สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง จำ�กัด โทรศัพท์ ๐ ๒๙๐๓ ๘๒๕๗ - ๙
เรื่องเล่าอุดมศึกษา
๒๐๒๐สิงสิหาคม งนามบันนทึทึกกข้ข้ออตกลงความร่ ตกลงความร่ วมมื ‘โครงการฐานข้ งหาคม๒๕๕๗ ๒๕๕๗- กระทรวงวิ - กระทรวงวิททยาศาสตร์ ยาศาสตร์แและเทคโนโลยี ละเทคโนโลยี จัจัดดพิพิธธีลีลงนามบั วมมื อ อ‘โครงการฐานข้ อมูลอมูล โครงสร้ ฐด้ฐาด้นวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี Technology Infrastructure Databank: STDB)’ ระหว่าง โครงสร้างพื างพื้นฐานภาครั ้นฐานภาครั านวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี(Science (Scienceandand Technology Infrastructure Databank: STDB)’ กระทรวงวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับสานักงานคณะกรรมการการอุ ดมศึกษาดณมศึหอประชุ กองทัพมเรืกองทั อ โดยมี อเอกณรงค์ พิพัฒนาศัย ระหว่างกระทรวงวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับส�ำนักงานคณะกรรมการการอุ กษา ณ มหอประชุ พเรืพอลเรืโดยมี พลเรือเอกณรงค์ รองหั งชาติ และผู้บงัญชาติ ชาการทหารเรื อ ให้เกียรติเอป็นให้ประธานในพิ ธีลงนาม ทั้งธนีีล้งนาม รองศาสตราจารย์ วีระพงษ์ แพ พิพัฒวหน้ นาศัายคณะรั รองหักวษาความสงบแห่ หน้าคณะรักษาความสงบแห่ และผู้บัญชาการทหารเรื เกียรติเป็นประธานในพิ ทั้งนี้ รองศาสตราจารย์ สุววีรรณ กระทรวงวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และรองศาสตราจารย์ นายแพทย์กาจร ตติยกวีก�ำจร เลขาธิ ดมศึกษา ระพงษ์ปลัดแพสุ วรรณ ปลั ดกระทรวงวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ตติกยารคณะกรรมการการอุ กวี เลขาธิการคณะกรรมการ เป็การอุ นผู้ลดงนามในบั นทึนกผูข้้ลองนามในบั ตกลงความร่ อ มศึกษา เป็ นทึกวข้มมื อตกลงความร่ วมมือ รองศาสตราจารย์ าวว่า าจากที จากที่กระทรวงวิ ่กระทรวงวิ ทยาศาสตร์ รองศาสตราจารย์นายแพทย์ นายแพทย์กกาจร �ำจร ตติ ตติยยกวี กวี เลขาธิ เลขาธิการคณะกรรมการการอุ ารคณะกรรมการการอุดดมศึมศึกกษาษากล่กล่าวว่ ทยาศาสตร์ และและ เทคโนโลยี าฐานข้อมูล โครงสร้างพื งพื้น้นฐานภาครั ฐานภาครัฐฐด้ด้าานวินวิททยาศาสตร์ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเทคโนโลยีโดยรวบรวมข้ โดยรวบรวมข้ กยภาพทางด้ เทคโนโลยีดดาเนิ �ำเนินนการจั การจัดดทท�ำฐานข้ อมูอลมูศัลกศัยภาพทางด้ าน า น วิทวิทยาศาสตร์ าการ นันักกวิวิจจัยัยเครื เครื่อ่องมืงมืออห้ห้อองปฏิ งปฏิบัตบิกัตาร ิการความช�ำนาญ ความชานาญ ในฐานข้ ยาศาสตร์แและเทคโนโลยี ละเทคโนโลยีโครงสร้ โครงสร้าางพื งพื้น้นฐานต่ ฐานต่างๆ ทั้งบุคลากร นักวิวิชชาการ ไว้ใไว้ นฐานข้ อมูลอ มูล เดีเดียวกั ระบบฐานข้ออมูมูลโครงสร้ ลโครงสร้ างพื ้นฐานฯได้ได้ ีการดาเนิ นการสาร วจ ยวกันนและให้ และให้บบริริกการสื ารสืบบค้ค้นนได้ได้ออย่ย่าางมี งมีประสิทธิภาพ โดยไม่เสีสียยค่ค่าาใช้ใช้จจ่า่ายยซึซึ่ง่งระบบฐานข้ างพื ้นฐานฯ มีกมารด�ำเนิ นการส�ำรวจ และน�ำเข้ จากเครืออข่ข่าายอุ ยอุททยานวิ ยานวิททยาศาสตร์ ยาศาสตร์ภูมิภาคในรูปแบบน แบบน�ำร่ และน าเข้าาข้ข้ออมูมูลลจากเครื าร่องแล้ว “ในฐานะที ่ สกอ. นแหล่ สร้างองค์ ความรู ทรัพยากรบุ คคล่องมืเครื ่องมืออและห้ บัติการทางด้ านวิทยาศาสตร์ และ “ในฐานะที ่ สกอ. เป็นเป็ แหล่ งสร้างงองค์ ความรู ้ ทรัพ้ ยากรบุ คคล เครื อและห้ งปฏิบอัตงปฏิ ิการทางด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่ส�ำคัญของประเทศ นก�ำลังาเข้ หลักาในการน�ำเข้ ข้อมูลพร้ ที่มอีคมทั ุณ้งภาพ อมทั ยผลักดันให้ อมู้นลฐาน ทีเทคโนโลยี ่สาคัญของประเทศ สามารถเป็นกสามารถเป็ าลังหลักในการน ข้อมูลที่มีคุณาภาพ จะช่วพร้ ยผลั กดั้งนจะช่ ให้รวะบบฐานข้ อมูรละบบฐานข้ โครงสร้างพื โครงสร้ ฐด้าแนวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประสบความส�ำเร็ ดประโยชน์ ดกับประเทศได้ ตกลงร่ววมมื มมือ กั บ ภาครั ฐ ด้าางพื นวิ้นทฐานภาครั ยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี ป ระสบความส าเร็ จ และเกิจด และเกิ ประโยชน์ สู ง สุ ดสกัูงบสุประเทศได้ จึ งจึได้งได้ ต กลงร่ กับกระทรวงวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี นงานโครงการดั ป็นโครงการความร่ ยืนในระดั บประเทศ และมี แนว บัติ กระทรวงวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ดาเนิดน�ำเนิ งานโครงการดั งกล่งากล่ ว าให้วเป็ให้นเโครงการความร่ วมมืวอมมืที่ยอั่งทียื่ยนั่งในระดั บประเทศ และมี แนวปฏิ บัติที่สามารถบรรลุ นรูปโดยเน้ ธรรมนโดยเน้ ่มเป้าหมายที ่เป็นฐภาครั ฐ ภาคเอกชนและประชาชนทั ไป่อยกระดั เพื่อยกระดั บความสามารถ ทีปฏิ ่สามารถบรรลุ ผลเป็นรูผปลเป็ ธรรม กลุ่มเป้นกลุ าหมายที ่เป็นภาครั ภาคเอกชนและประชาชนทั ่วไป ่วเพื บความสามารถในการ งขัทนยาศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตกรรมของประเทศไทยต่ อไป” กเลขาธิ การ กล่ กกอ. แข่ในการแข่ งขันด้านวิ เทคโนโลยี และนวัแตละนวั กรรมของประเทศไทยต่ อไป” เลขาธิ าร กกอ. าว กล่าว เลขาธิ กกอ.กล่กล่ าวต่อไปว่ อไปว่า าในการด ในการด�ำเนิ งานโครงการครั้งง้ นีนี้มม้ ีววี ัตตั ถุถุปประสงค์ านเทคโนโลยี ของภาครั ฐ ฐ เลขาธิ การการกกอ. าวต่ าเนินนงานโครงการครั ระสงค์เเพืพือ่ ่อพัพัฒฒนาขี นาขีดดความสามารถด้ ความสามารถด้ านเทคโนโลยี ของภาครั และภาคเอกชนโดยเปิดดโอกาสให้ โอกาสให้ททุกุกภาคส่ ภาคส่ววนสามารถเข้ นสามารถเข้าาร่ร่ววมใช้ างพื ้นฐานภาครั ฐด้ฐาด้นวิานวิ ทยาศาสตร์ และและ และภาคเอกชนโดยเปิ มใช้ ร่ร่ววมบริ มบริกการข้ ารข้ออมูมูลล รวมถึ รวมถึงงโครงสร้ โครงสร้ างพื ้นฐานภาครั ทยาศาสตร์ เทคโนโลยีไได้ด้ออย่ย่าางเต็ งเต็มมประสิ สูงสุสดูงสุส่ดงเสริ มให้มเกิให้ดเการพั ฒนานั วิจัยกและนั กวิทยาศาสตร์ ของภาครั ฐและภาค เทคโนโลยี ประสิททธิธิภภาพ าพคุคุ้ม้มค่ค่าและได้ าและได้ประโยชน์ ประโยชน์ ส่งเสริ กิดการพั ฒกนานั วิจัยและนั กวิทยาศาสตร์ ของภาครั ฐและ เอกชน ให้สให้ามารถยื นหยันหยั ดได้ดใได้ นโลกแห่ งการแข่ งขันงด้ขัวนยวิ และเทคโนโลยี รวมทั ้งเป็้งนเป็พลันงพลั ส�ำคังสญาคัในการพั ฒนาประเทศชาติ ทั้งนีทั้ ้งนี้ ภาคเอกชน สามารถยื ในโลกแห่ งการแข่ ด้วทยวิยาศาสตร์ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมทั ญในการพั ฒนาประเทศชาติ สกอ.จะสนั จะสนับบสนุสนุนนข้ข้ออมูมูลลในระบบโครงสร้ ในระบบโครงสร้าางพื งพื้น้นฐานด้ ฐานด้าานวิ นวิททยาศาสตร์ อมูอลมูโครงสร้ างพืางพื ้นฐานฯ ในขณะที ่ ่ สกอ. ยาศาสตร์แและเทคโนโลยี ละเทคโนโลยีเพืเพื่อ่อขยายระบบฐานข้ ขยายระบบฐานข้ ลโครงสร้ ้นฐานฯ ในขณะที กระทรวงวิททยาศาสตร์ ยาศาสตร์แและเทคโนโลยี ละเทคโนโลยีจจะด ะด�ำเนิ ฐด้ฐาด้นวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมทั ้ง ้ ง กระทรวงวิ าเนินนการพั การพัฒฒนาระบบฐานข้ นาระบบฐานข้ออมูมูลลโครงสร้ โครงสร้างพื างพื้น้นฐานภาครั ฐานภาครั านวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมทั ารการใช้งงานานและดู และดูแแลรัลรักกษาระบบฐานข้ ษาระบบฐานข้ออมูมูลลโครงสร้ โครงสร้าางพื งพื้น้นฐานภาครั ฐานภาครัฐฐด้ด้าานวิ บริบริหหารการใช้ นวิททยาศาสตร์ ยาศาสตร์แและเทคโนโลยี ละเทคโนโลยีทที่จี่จัดัดท�ำขึ ทาขึ้น้น อนุสารอุดมศึกษา
3
เรื่องเล่าอุดมศึกษา
สกอ. จัดอบรมอาจารย์สอนภาษาจีน ๑๕ สิ ง หาคม ๒๕๕๗ - ส�ำนั ก งานคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษาจั ด การอบรมอาจารย์ ส อนภาษาจี น ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ครั้งที่ ๖ ณ อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ทั้งนี้ ได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธาน ในพิธีเปิด รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาในฐานะหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลคุณภาพและมาตรฐานของการศึกษาระดับอุดมศึกษาได้ให้ความส�ำคัญกับการ พัฒนาศักยภาพของนักศึกษา คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับนานาชาติ ซึ่งความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศได้เป็นอย่างดีเป็นสมรรถนะหนึ่งที่มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งในการท�ำงานข้ามวัฒนธรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้สนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาคุณภาพของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน มาอย่างต่อเนื่อง โดยได้ร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับส�ำนักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติหรือฮั่นปั้น และสถาบัน ขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนานักศึกษาและบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจด้านภาษาและวัฒนธรรมจีนอย่าง ลึกซึ้งและสามารถใช้ภาษาจีนได้อย่างถูกต้องและคล่องแคล่ว “การสอนภาษาให้มีประสิทธิภาพและก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีนั้น จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอนจะต้องมี ความรู้ ความเข้าใจในเชิงลึกเกี่ยวกับรากฐานความเป็นมาของภาษานั้นๆ ซึ่งมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมของประเทศเจ้าของภาษา นอกจากนี้ ผู้สอนยังต้องมีเทคนิควิธีการในการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ดี การมีโอกาส ได้รับการถ่ายทอดความรู้ เทคนิค วิธีการและประสบการณ์ในการสอนภาษาจีนจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิเจ้าของภาษาในครั้งนี้ นับเป็นโอกาสที่ดีมากส�ำหรับคณาจารย์ไทย จึงหวังว่าผู้เข้ารับการอบรมทุกท่านจะใช้ประโยชน์สูงสุดจากโอกาสนี้ และน�ำความรู้ ที่ได้รับไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในสถาบันของท่านให้มีคุณภาพ มาตรฐานทัดเทียมกับการจัดการเรียนการสอน ภาษาจีนโดยเจ้าของภาษาต่อไป” เลขาธิการ กกอ. กล่าว
4
อนุสารอุดมศึกษา
เรื่องเล่าอุดมศึกษา
รี ทชั ไมโครโฟนออกด้ วย
พัฒนาการระงับข้อพิพาททางเลือก
๑๔ สิ๑๔ง หาคม งานคณะกรรมการการอุ สิงหาคม๒๕๕๗ ๒๕๕๗- - ส�ำนั สานักกงานคณะกรรมการการอุ ดมศึดกมศึ ษา ก ษา มหาวิ ทยาลั ยขอนแก่ น มหาวิ เชียงใหม่ กงานศาลยุ ตธิ รรม มหาวิ ทยาลั ยขอนแก่ น มหาวิ ทยาลัทยาลั ยเชียยงใหม่ และสและส�ำนั านักงานศาลยุ ติธรรม ได้จัดได้พิจธีดั พิธี ลงนามบั นทึกความเข้ าใจในการด�ำเนิ ฒนาการระงั ข้อพิพาททางเลื ลงนามบั นทึกความเข้ าใจในการด าเนินการพันฒการพั นาการระงั บข้อพิพบาททางเลื อกใน อกใน มหาวิ ทยาลัย กโดยได้ บั เกียกวี ยรติเลขาธิ จากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ดกมศึ�ำจร ยกวี เลขาธิ มหาวิทยาลัย โดยได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ าจร รตติ การคณะกรรมการการอุ กษาตตินายภั ทรศักกดิาร์ นายภั ทรศั วรรณแสง ารส�ำนั กงานศาลยุ ติธรรม วรรณแสง เลขาธิ ก ารส านั ก งานศาลยุ ติ ธ รรม คณะกรรมการการอุ รองศาสตราจารย์ กดิ ตมศึ ติ ชกั ยษาไตรรั ต นศิ ริ ชกั ยดิ์ อธิ ก ารบดี มเลขาธิ หาวิ ทกยาลั ย ขอนแก่ น และรอง กิตติยชเชีัย ยไตรรั นศิเรกีิชยัยรติอธิ ารบดีมหาวิ ทยาลัยขอนแก่ น และรองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ นายแพทย์นิเวศน์ นันทจิต รองศาสตราจารย์ อธิการบดีมหาวิทยาลั งใหม่ตให้ ร่วกมลงนาม ณ โรงแรมเดอะ สุโกศล รองศาสตราจารย์ ก าจรมตติ ก ารคณะกรรมการการอุ กษา กล่ าวว่สุาโกศล ส านัก งานคณะกรรมการการ นายแพทย์ นเิ วศน์ นันนายแพทย์ ทจิต อธิการบดี หาวิยทกวียาลัเลขาธิ ยเชียงใหม่ ให้เกียรติรว่ มลงนามดณมศึโรงแรมเดอะ อุดมศึกษา มหาวิทรองศาสตราจารย์ ยาลัยขอนแก่น และมหาวิ ได้ขอความร่ วมมือจากสานักงานศาลยุ รรมาวว่ให้า คส�ำนั วามอนุ เคราะห์ในการช่วย นายแพทย์ทยาลั ก�ำจรยเชีตติยงใหม่ ยกวี เลขาธิ การคณะกรรมการการอุ ดมศึกษาติธกล่ กงานคณะกรรมการการ สร้างกระบวนการเรี ยนรู้แทละพั นากระบวนการระงั ข้อพิยเชี พาททางเลื ่เหมาะสมและถู กต้อกงตามกฎหมาย ่อเป็ความอนุ นต้นแบบในการยุ ติ อุดมศึกษา มหาวิ ยาลัยฒขอนแก่ น และมหาวิทบยาลั ยงใหม่ ได้อขกที อความร่ วมมือจากส�ำนั งานศาลยุตธิ รรมเพืให้ เคราะห์ในการ ความขัดช่แย้ งแนวใหม่ ให้แก่บุคลากรของทั ้ง นากระบวนการระงั ๓ หน่วยงาน โดยจะร่ ในการดอาเนิ การ (๑) ให้การสนั บสนุนและร่วมมืเพืออ่ กัเป็นทางด้ าน วยสร้ างกระบวนการเรี ยนรูแ้ ละพัฒ บข้วอมมื พิพอาททางเลื กทีนเ่ หมาะสมและถู กต้องตามกฎหมาย นต้นแบบ วิชาการเกี ่ยวกับตการระงั ข้องพิแนวใหม่ พาททางเลื ให้การสนั อในการด นการและการพั ฒนาระบบการระงั ข้อพิพวมมื าทอ ในการยุ คิ วามขัดบแย้ ให้แอก่กบคุ (๒) ลากรของทั ง้ บ๓สนุหน่นวและร่ ยงานวมมื โดยจะร่ วมมือาเนิ ในการด�ำเนิ นการ (๑) ให้การสนับสนุนบและร่ ทางเลือกในสถาบั กษา ่ย(๓) การสนับบข้สนุ วมมืออในการเผยแพร่ แนวคิ กการในการพั ฒนาการป้ องกันความขัดฒแย้ งและ กันทางด้านนวิการศึ ชาการเกี วกับให้การระงั อพินพและร่ าททางเลื ก (๒) ให้การสนั บสนุดนหลัและร่ วมมือในการด�ำเนิ นการและการพั นาระบบ แก้ไขปัญการระงั หาความขั งโดยใช้วอิธกในสถาบั ีการระงับนข้การศึ อพิพาททางเลื : นAlternative Dispute แResolution) ให้แพร่ขยายไปสู บข้อดพิแย้ พาททางเลื กษา (๓) อให้กก(ADR ารสนับสนุ และร่วมมือในการเผยแพร่ นวคิดหลักการในการพั ฒนาการ่ สถาบันการศึ ่นๆ ดและสั งคมไทยไขปัและ (๔) ให้คดวามร่ วมมือวและสนั บสนุ ฒนาบุ วยงานที่เพืDispute ่อให้มีทักResolution) ษะ ความรู้ ป้องกักนษาอื ความขั แย้งและแก้ ญหาความขั แย้งโดยใช้ ธิ กี ารระงั บข้นอในการพั พิพาททางเลื อกคลากรของหน่ (ADR : Alternative และความเข้ าใจเกี ่ยวกับกระบวนการระงั บข้น่ อๆพิพและสั าททางเลื อกเพืและ ่อให้(๔) สามารถน าไปใช้ บัติงานและแก้ ไขความขั ดแย้คงทีลากรของหน่ ่เกิดขึ้นได้อย่วยงาน างมี ให้แพร่ ขยายไปสู ส่ ถาบันการศึกษาอื งคมไทย ให้ความร่ วมมืปอฏิและสนั บสนุนในการพั ฒนาบุ ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ในการร่วมมือดาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะหารือและตกลงรายละเอียดการดาเนินการเป็น ทีร่ ว่ มมือกันเพือ่ ให้มที กั ษะ ความรูแ้ ละความเข้าใจเกีย่ วกับกระบวนการระงับข้อพิพาททางเลือก เพือ่ ให้สามารถน�ำไปใช้ปฏิบตั งิ าน คราวๆ ไป และแก้ไขความขัดแย้งทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ ในการร่วมมือด�ำเนินการอย่างหนึง่ อย่างใด หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องจะหารือ “จากปัญหาในสังคมไทยที่ปัจจุบันจะทวีความขัดแย้งและนาไปสู่ความรุนแรงมากยิ่งขึ้น จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างวัฒนธรรม และตกลงรายละเอียดการด�ำเนินการเป็นคราวๆ ไป แห่งสันติวิธี (Culture of Peace) และใช้กระบวนการระงับข้อพิพาททางเลือก (Alternative Dispute Resolution) ในการแก้ไข “จากปั งคมไทยที จะทวี งและน�ำไปสู ่งขึ้น จ�ำเป็องกั นอย่ างยิ่งทีป่จัญะต้หาความ องสร้าง ปัญหาเพื่อให้สังคมมี สันติญสหาในสั ุขและระงั บความขั่ปัจดจุแย้บงันได้ อย่าคงยัวามขั ่งยืนดซึแย้ ่งควรมี การส่งเสริ่คมวามรุ ให้เกินดแรงมากยิ กระบวนการการป้ นและแก้ นธรรมแห่งสันติวบธิ ข้ี (Culture of Peace) และใช้ าททางเลื (Alternative Dispute Resolution) ขัดแย้งด้วัวฒยกระบวนการระงั อพิพาททางเลื อกอันจะน าไปสูก่กระบวนการระงั ารมีข้อตกลงทีบ่เป็ข้นอฉัพินพทามติ ของคูอ่เกจรจาและมี ความยั ่งยืน ทาให้ ข้อพิพาท ในการแก้ ไ ขปั ญ หาเพื อ ่ ให้ ส ง ั คมมี ส น ั ติ ส ข ุ และระงั บ ความขั ด แย้ ง ได้ อ ย่ า งยั ง ่ ยื น ซึ ง ่ ควรมี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด กระบวนการการป้ องกัน ต่างๆ ยุติลงอย่างรวดเร็ว และทาให้สังคมสามารถอยู่อย่างสงบและสันติสุข” เลขาธิการ กกอ. กล่าว และแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยกระบวนการระงับข้อพิพาททางเลือกอันจะน�ำไปสู่การมีข้อตกลงที่เป็นฉันทามติของคู่เจรจาและมี ความยัง่ ยืน ท�ำให้ขอ้ พิพาทต่างๆ ยุตลิ งอย่างรวดเร็ว และท�ำให้สงั คมสามารถอยูอ่ ย่างสงบและสันติสขุ ” เลขาธิการ กกอ. กล่าว อนุสารอุดมศึกษา
5
เรื่องเล่าอุดมศึกษา
สกอ. เน้นวิจัยสร้างองค์ความรู้
และการใช้ประโยชน์ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ - สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยสานักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและ ๓๑ทกรกฎาคม ๒๕๕๗ ดมศึ๙กษา กบริมสุหดารโครงการส่ เสริมยการวิ จัยในอุ พัฒนามหาวิ ยาลัยวิจัยแห่ งชาติ -ร่ส�ำนั วมกักบงานคณะกรรมการการอุ มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ แห่งโดยส�ำนั จัดประชุ ยอดมหาวิทงยาลั วิจัยแห่ งชาติดมศึครัก้งษา ที่ ๓ และพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย วิ จ ั ย แห่ ง ชาติ ร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย วิ จ ั ย แห่ ง ชาติ ๙ แห่ ง จั ด ประชุ ม สุ ด ยอดมหาวิ ท ยาลั ย วิ จ ั ย แห่ ง ชาติ ระหว่างวันที่ ๓๑ กรกฎาคม - ๑ สิงหาคม 2557 ณ บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์ เพื่อแสดงให้เห็น ๓ ระหว่ างวันาวิทีจ่ ัย๓๑ - ๑กสิษณะซุ งหาคมปราคลั ๒๕๕๗ ณ บางกอกคอนเวนชั เซ็นทรัลเวิลด์ ถึครังมิ้งตทีิใ่ หม่ ของการท เชิงกรกฎาคม บูรณาการในลั สเตอร์ เพื่อสร้างองค์ความรู่น้ใเซ็หม่นแเตอร์ ละนวัโรงแรมเซ็ ตกรรม อีนกทาราแกรนด์ ทั้งยังเพิ่มขีดความสามารถใน เพื่อแสดงให้ เห็นกถึวิงจมิัยตไทยให้ ิใหม่ขแองการท�ำวิ เชิงใบูนการน รณาการในลั กษณะซุแลกเปลี ปราคลั่ยสนและระดมความคิ เตอร์เพื่อสร้างองค์ดเห็ ความรู และนวั่อตนกรรม อีกจทััย้งไป การแข่ งขันของนั ข็งแกร่ง เป็จนัยเวที าเสนอผลงาน นทางวิ้ใหม่ ชาการเพื าผลงานวิ ม่ ขีดเความสามารถในการแข่ วิจยั ไทยให้พร้ แข็องมทั แกร่้งแสดงความเชื ง เป็นเวทีในการน�ำเสนอผลงาน ดเห็งชาติ น ต่ยัองเพิ ยอดให้ กิดประโยชน์ในเชิงพาณิงชขัย์นแของนั ละเชิงกสาธารณะ ่อมโยงและความร่วมมืแลกเปลี อระหว่ย่ านและระดมความคิ งมหาวิทยาลัยวิจัยแห่ ด้ทางวิ วย โดยได้ รับเกี่อยน�ำผลงานวิ รติจากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ กาจร ตติใยนเชิ กวีงเลขาธิ ดมศึอมทั กษา้งแสดงความเชื เป็นประธานในพิ ธีเปิด ชาการเพื จัยไปต่อยอดให้ เกิดประโยชน์ พาณิชกย์ารคณะกรรมการการอุ และเชิงสาธารณะ พร้ ่อมโยงและ ยกวีด้วเลขาธิ การคณะกรรมการการอุ ดมศึกษา กล่านายแพทย์ วว่า วัตถุประสงค์ ความร่วรองศาสตราจารย์ มมือระหว่างมหาวินายแพทย์ ทยาลัยวิกจาจร ัยแห่ตติ งชาติ ย โดยได้ รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ก�ำจร ขตติองโครงการนี ยกวี เลขาธิ้มกีคารวาม สอดคล้ องกับยุทธศาสตร์ นาด้านการวิธจีเัยปิของ คณะกรรมการการอุ ดมศึแกนวทางพั ษา เป็นฒประธานในพิ ด สกอ. ที่เน้นการพัฒนากาลังคนให้มีคุณภาพในระดับสูง เพื่อเปลี่ยนผ่านสังคมไทย ไปสู่สังคมเศรษฐกิ จฐานความรูนายแพทย์ ้ควบคู่กับการพั ยาลัยกไทยไปสู ่การเป็นมหาวิทยาลั โลกาวว่จากการด าเนินงานของโครงการ รองศาสตราจารย์ ก�ำจรฒนามหาวิ ตติยกวี ทเลขาธิ ารคณะกรรมการการอุ ดมศึยกระดั ษา บกล่ า วัตถุประสงค์ ของโครงการ พัมีฒความสอดคล้ นามหาวิทยาลัอยงกัวิจบัยยุแห่ ง ชาติ ต ลอดระยะเวลา ๓ ปี ท ผ ่ ี า ่ นมา ท าให้ เ ห็ น ถึ ง ผลกระทบอั น เกิ ด จากการด าเนิ น งานของโครงการฯ ทธศาสตร์แนวทางพัฒนาด้านการวิจัยของ สกอ. ที่เน้นการพัฒนาก�ำลังคนให้มีคุณภาพในระดัถึบงแม้ สูงว่า จะมี ุปสรรคด้ นงบประมาณที ปรับลดลง ล่จาฐานความรู ช้าและไม่ต้ค่อเนื ่อง่กอย่ างไรก็ฒตนามหาวิ าม ผลที่ไทด้จยาลั ากโครงการ ้ มี ๒นมหาวิ ประการหลั คือ บ(๑)โลกการ เพื่ออเปลี ่ยนผ่าานสั งคมไทยไปสู่ถ่สูกังคมเศรษฐกิ วบคู ับการพั ยไทยไปสูฯ่กนีารเป็ ทยาลักยระดั กระตุ้น (catalyst) ให้เกิดความตื่นตัวในการทาวิจัย ทาให้เกิดการเพิ่มสมรรถภาพในการผลิตผลงานวิจัยที่ได้มาตรฐานระดับนานาชาติ จากการด�ำเนินงานของโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติตลอดระยะเวลา ๓ ปีที่ผ่านมา ท�ำให้เห็นถึงผลกระทบอันเกิด และผลงานวิจัยบางส่วนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ในวงกว้างและ (๒) การสร้างบุคลากรวิจัยระดับสูงและการพัฒนาอาจารย์ โดยเปิด จากการด�ำเนินงานของโครงการฯ ถึงแม้ว่าจะมีอุปสรรคด้านงบประมาณที่ถูกปรับลดลง ล่าช้าและไม่ต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม โอกาสให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาและอาจารย์รุ่นใหม่เข้าร่วมในโครงการต่างๆ เป็นการบูร ณาการความร่วมมือในลักษณะสหสาขาวิชา ซึ่ง ผลที ่ได้จกากโครงการ ฯ นี้ มี แ๒ละนั ประการหลั ก ลคืะรุ อ ่น(๑) (catalyst) เป็ นเวที ารรวมกลุ่มคณาจารย์ กวิจัยในแต่ ให้มการกระตุ าแลกเปลี้น่ยนเรี ยนรู้การวิจให้ัยเร่กิวดมกัความตื น ่นตัวในการท�ำวิจัย ท�ำให้เกิดการเพิ่ม สมรรถภาพในการผลิตผลงานวิจัยที่ได้มาตรฐานระดับนานาชาติ และผลงานวิจัยบางส่วนสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้ในวงกว้าง และ (๒) การสร้างบุคลากรวิจัยระดับสูงและการพัฒนาอาจารย์ โดยเปิดโอกาสให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาและอาจารย์รุ่นใหม่ เข้าร่วมในโครงการต่างๆ เป็นการบูรณาการความร่วมมือในลักษณะสหสาขาวิชา ซึ่งเป็นเวทีการรวมกลุ่มคณาจารย์และนักวิจัย ในแต่ละรุ่นให้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การวิจัยร่วมกัน
6
อนุสารอุดมศึกษา
เรื่องเล่าอุดมศึกษา
“ส�ำหรับปีงบประมาณ ๒๕๕๘ สกอ. ได้ขอให้ประธานซุปราคลัสเตอร์ทั้ง ๖ ด้าน ปรับเปลี่ยนการด�ำเนินโครงการต่อยอด เชิงลึกจากผลงานวิจัย ๓ ปีที่ผ่านมา โดยเน้นผลงานวิจัยเด่นของแต่ละซุปราคลัสเตอร์ที่มีคุณภาพสูงและเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน เพื่อให้เห็นภาพรวมของงานวิจัยในระดับมหภาคที่มีผลต่อการสร้างองค์ความรู้ใหม่และการใช้ประโยชน์อย่างแท้จริง ส�ำหรับ การสร้างผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม โดยจัดเป็นแบบ Clusters of Excellence จ�ำนวน ๑๐ คลัสเตอร์ เพื่อให้สามารถขับเคลื่อน มหาวิทยาลัยไปในทิศทางที่เป็นเอกภาพมากขึ้น นโยบายดังกล่าวจะช่วยสนับสนุนการสร้างเครือข่ายงานวิจัยของมหาวิทยาลัยใน ประเทศ ไม่เพียงแต่มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติทั้ง ๙ แห่งเท่านั้น แต่จะรวมถึงมหาวิทยาลัยของรัฐ ๒๐ แห่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และสถาบันเทคโนโลยีปทุมวันด้วย เพื่อให้การพัฒนามหาวิทยาลัยของไทยมีความต่อเนื่องและ ยั่งยืน โดยมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติจะเป็นแบรนด์ส�ำหรับการแข่งขันของมหาวิทยาลัยไทยในเวทีระดับโลก” เลขาธิการ กกอ. กล่าว
โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ด้วยปีงบประมาณ ๒๕๕๖ โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัย แห่งชาติ ภายใต้ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้รับงบประมาณสนับสนุนการวิจัยให้มหาวิทยาลัย วิจัยแห่งชาติ ๙ แห่ง เพื่อท�ำวิจัยและพัฒนา โดยกลุ่มคณาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญใน ๖ ซุปราคลัสเตอร์ ได้แก่ เกษตรและอาหาร สุขภาพ อุตสาหกรรม พลังงาน สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ถึงแม้ว่างบประมาณจะถูกปรับลดลงอย่างมาก กระนั้นก็ตามการจัดอันดับมหาวิทยาลัยของ THE และ QS ในปี ๒๕๕๖ และปี ๒๕๕๗ พบว่ามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติของไทยหลายแห่งติดอันดับ โดยมี ความโดดเด่นในสาขาที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ยังมีการจัดอันดับมหาวิทยาลัยกลุ่มประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ (THE: BRICS & Emerging Economies) เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ ที่ผ่านมา โดยมหาวิทยาลัยของ ไทยติดอันดับ ๑ ใน ๑๐๐ ถึง ๕ มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัย มหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งแสดงถึงศักยภาพ ของมหาวิทยาลัยไทยที่สามารถพัฒนาให้ก้าวหน้าสู่การแข่งขันในเวทีโลก ขณะนี้ใกล้สิ้นสุดโครงการในระยะที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๗) ทางส�ำนักบริหารโครงการฯ จึงปรับการด�ำเนินโครงการในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ โดยเน้นผลงานวิจัยเด่นของโครงการวิจัยที่มีผลต่อการสร้างองค์ความรู้และการใช้ประโยชน์สูง ในรูปแบบ ของ Clusters of Excellence จ�ำนวน ๑๐ คลัสเตอร์ ดังนี้ คลัสเตอร์ความเป็นเลิศด้านเศรษฐกิจและสังคมบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ คลัสเตอร์การวิจัยเชิงสังคมศาสตร์เพื่อตอบโจทย์ของประเทศ คลัสเตอร์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมการบ�ำบัดและเภสัชภัณฑ์ คลัสเตอร์ความเป็นเลิศด้านโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ�้ำ คลัสเตอร์ความเป็นเลิศด้านการเกษตรที่ไม่ใช่อาหาร คลัสเตอร์ความเป็นเลิศด้านการเกษตรเพื่ออาหาร คลัสเตอร์ความเป็นเลิศด้านการเกษตรเพื่อสุขภาพ คลัสเตอร์ความเป็นเลิศด้านวัสดุใหม่ส�ำหรับอุตสาหกรรมและภาคการผลิต คลัสเตอร์ความเป็นเลิศด้านพลังงาน คลัสเตอร์ความเป็นเลิศด้านผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย
อนุสารอุดมศึกษา
7
เรื่องเล่าอุดมศึกษา
สกอ. แลกเปลี่ยนการจัดอีเลิร์นนิง ๕ สิงหาคม ๒๕๕๗ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยส�ำนักงานบริหารโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย จัดประชุมวิชาการนานาชาติด้านอีเลิร์นนิง ปี ๒๕๕๗ The Fifth TCU International E-learning Conference 2014 ‘Overcome the Uncertainty of Technology in Education’ ระหว่างวันที่ ๕ - ๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ โรงแรมวินเซอร์ สวีทส์ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดระหว่างนักวิชาการการศึกษา นักวิจัย คณาจารย์ และนิสิตนักศึกษาที่สนใจ โดยครอบคลุมความรู้ที่ทันสมัยด้านอีเลิร์นนิงทั้งในและต่างประเทศ พร้อมทั้งประมวลความรู้ด้านอีเลิร์นนิง ในทุกด้านที่ส�ำคัญจาก นักวิชาการด้านการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ จัดท�ำเป็นคลังความรู้ด้านอีเลิร์นนิง ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ด้านอีเลิร์นนิง จากคลังความรู้ แก่นักวิชาการการศึกษา นักวิจัย คณาจารย์ และนิสิตนักศึกษาที่สนใจ ในรูปแบบและวิธีการต่างๆ เช่น เว็บคลังความรู้ วารสาร สิ่งตีพิมพ์อื่นๆ เป็นต้น ทั้งนี้ ได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธีเปิด รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า เทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต ประจ�ำวัน มีบทบาทต่อการศึกษา การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเทคโนโลยีการศึกษา ได้ปรับเปลี่ยน ห้องเรียนและวิธีการเรียน ให้เป็นการเรียนในรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น ทั้งการเรียนแบบเสมือนจริง การเรียนออนไลน์ และเรียน จากแหล่งการเรียนรู้ในอินเทอร์เน็ต นักการศึกษาควรติดตามและท�ำความเข้าใจกับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีเหล่านี้ เพื่อน�ำไป วางแผนและน�ำมาใช้ให้เหมาะสมกับการจัดการศึกษา ด้วยการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีต่างๆ จึงมีค�ำถามว่าอะไรคือขั้นต่อไปของ เทคโนโลยีการศึกษา ค�ำตอบคือความไม่แน่นอนที่หลากหลายทางแนวคิด ดังนั้นในการจัดประชุมสัมมนานี้นักการศึกษาจากในประเทศ และต่างประเทศได้มาร่วมกันแบ่งปันประสบการณ์ในหัวข้อ ‘การเอาชนะความไม่แน่นอนของเทคโนโลยีในการศึกษา’ “สกอ. ได้สง่ เสริมการจัดการศึกษาอีเลิรน์ นิงในสถาบันอุดมศึกษาให้มคี ณ ุ ภาพมาตรฐานอย่างต่อเนือ่ ง โดยการสร้างความร่วมมือ กับองค์กร สถาบันการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแบ่งปันทรัพยากร และเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจที่ชัดเจนและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เท่าทัน ในการประชุมครั้งนี้มีการระดมผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญทั้งในระดับชาติและ นานาชาติมาร่วมกันให้ความรู้ในทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาแบบอีเลิร์นนิง ทั้งการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผล ในรูปแบบที่มีคุณภาพและมาตรฐานสูง การใช้เทคโนโลยีอย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ความรู้ความเข้าใจในพฤติกรรมของผู้เรียน ในยุคปัจจุบัน การบริหารจัดการเพื่อความคุ้มค่าและสามารถพึ่งพาตนเองได้ ซึ่ง สกอ. คาดหวังให้มีการน�ำความรู้ที่ได้จากการประชุม เหล่านี้ไปพัฒนาปรับปรุงอีเลิร์นนิงของชาติต่อไป” เลขาธิการ กกอ. กล่าว
8
อนุสารอุดมศึกษา
เรื่องเล่าอุดมศึกษา
สนับสนุนการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗ - นางวราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เป็นประธานในพิธมี อบทุนมูลนิธกิ ารศึกษาเชล ๑๐๐ ปี สนับสนุนการวิจยั ระดับบัณฑิต ศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์วจิ ติ ร ศรีสอ้าน นางวราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา และสถาบันอุดมศึกษาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งนักศึกษาที่ได้รับทุน ขอขอบคุณบริษัท เชลล์ แห่งประเทศไทย จ�ำกัด และมูลนิธิการศึกษาเชล ๑๐๐ ปี ที่ให้ทุน สนับสนุนการวิจัยแก่นักศึกษาอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ซึ่งโครงการวิจัยเหล่านี้นับเป็นรากฐาน ในการพัฒนาวิชาการ และต่อยอดองค์ความรูท้ สี่ ามารถน�ำไปพัฒนาท้องถิน่ และสังคมไทย อีกทัง้ ยังเป็นการเสริมสร้างคุณลักษณะนิสัยของนักศึกษาให้รักและใส่ใจต่อการศึกษาค้นคว้าวิจัย นับเป็นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นก�ำลังส�ำคัญของประเทศชาติ “ส�ำนั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาคาดหวั ง ว่ า นั ก ศึ ก ษาทุ ก ท่ า นที่ ส�ำเร็ จ การ ศึกษาจะพัฒนาตนเองให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ เป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาสังคม และท�ำ คุณประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติ และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่านักศึกษาจะใช้เงินทุนวิจยั ให้เกิดประโยชน์ตอ่ การศึกษาวิจยั ให้สามารถสร้างสรรค์ผลงานวิจยั ทีจ่ ะก่อให้เกิดองค์ความรู้ และนวัตกรรมใหม่ รวมทัง้ สามารถน�ำผลงานวิจยั ไปเผยแพร่ในระดับชาติ และนานาชาติตอ่ ไป” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ สถาบันอุดมศึกษาได้ส่งโครงร่างงานวิจัยเพื่อขอรับทุนสนับสนุน การวิจัยจ�ำนวนทั้งสิ้น ๑๐ แห่ง โดยมีนักศึกษาสมัครขอรับทุนระดับบัณฑิตจ�ำนวน ๓๐ คน ๓๐ โครงร่างงานวิจัย ในการนี้ คณะกรรมการมูลนิธิการศึกษาเชล ๑๐๐ ปี ได้คัดเลือกผลงานวิจัย ที่สมควรได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย จ�ำนวนทั้งสิ้น ๑๑ โครงการ จ�ำแนกเป็นนักศึกษาระดับ ปริญญาเอก จ�ำนวน ๕ คน และนักศึกษาระดับปริญญาโท จ�ำนวน ๖ คน เป็นเงินทุนวิจยั รวมทัง้ สิน้ ๑,๕๘๔,๕๐๐ บาท ทั้งนี้ ผลงานวิจัยที่ได้รับทุนในครั้งนี้ คณะกรรมการฯ ได้พิจารณาคัดเลือก โครงการวิจยั ตามหลักเกณฑ์ ๔ ประการ ดังนี้ ๑. เป็นโครงการวิจยั ทีม่ โี อกาสจะก่อให้เกิดองค์ความรูใ้ หม่ (Innovation) ๒. เป็นโครงการวิจยั ทีส่ ามารถน�ำไปเผยแพร่และตีพมิ พ์ในวารสารระดับนานาชาติได้ ๓. เป็นโครงการวิจยั ทีม่ โี อกาสจะประสบผลส�ำเร็จในการท�ำวิจยั ตามระยะเวลาทีก่ �ำหนด ๔. ผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นจากโครงการวิจัยจะมีผลกระทบต่อวงการวิชาการในเชิงพาณิชย์ และในเชิงสังคม อนุสารอุดมศึกษา
9
เรื่องเล่าอาเซียน
Mother’s day in ASEAN Philippines ตรงกับวันอาทิตย์ที่สอง ของเดือนพฤษภาคม... maligayang araw ng mga nanay “อินา”
Malaysia ฉลองวันแม่ในวันอาทิตย์ ที่สองของเดือนพฤษภาคม... Selamat Hari Ibu “เมาะ, แมะ”
Singapore ตรงกับวันอาทิตย์ที่สอง ของเดือนพฤษภาคม... Mu Qin Jie Kuai Le “มาหมะ” Laos ตรงกับวันที่ ๘ มีนาคม ของทุกปี...สะบายดีวันแม่ “อีแม”
Myanmar ตรงกับวันอาทิตย์ที่สอง ของเดือนพฤษภาคม... “อะเหม่” Vietnam ตรงกับวันที่ ๘ มีนาคม ของทุกปี... “แม๊”
Cambodia ตรงกับวันอาทิตย์ที่สอง ของเดือนพฤษภาคม... reak reay tngai mae “กุนแม”
Brunei ตรงกับวันอาทิตย์ ที่สองของเดือน พฤษภาคม... “เมาะ,แมะ”
Thailand วันแม่ตรงกับวันคล้ายวัน พระราชสมภพของสมเด็จ พระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ทุกวันที่ ๑๒ สิงหาคมของทุกปี... “คุณแม่” Indonesia ตรงกับวันที่ ๒๒ ธันวาคม ของทุกปี เดิมทีเป็นวันฉลอง จิตวิญญาณสตรีของอินโดนีเซีย... Selamat Hari ibu “อีบุ”
Cr: http://www.knowasean.com/, FB: Asean by MAC
10
อนุสารอุดมศึกษา
เรื่องพิเศษ
กกอ. สัญจร
เครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน
ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดการประชุม กกอ. สัญจร ครั้งที่ ๒ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ เครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน ในระหว่างวันที่ ๕ – ๗ สิงหาคม ๒๕๕๗ ประกอบด้วยกิจกรรมการประชุมเสวนา ร่วมกับเครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน การประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ และการเยี่ยมชม (Site Visit) สถาบันอุดมศึกษาในเครือข่าย ๔ เส้นทาง คือ เส้นทางที่ ๑ วิทยาลัยดุสิตธานี และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (วิทยาเขตสุวรรณภูมิ) เส้นทางที่ ๒ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ (วิทยาเขตรังสิต) และสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ เส้ น ทางที่ ๓ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลสุ ว รรณภู มิ และ เส้นทางที่ ๔ สถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธยา และมหาวิทยาลัยปทุมธานี เครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบนมีสถาบันอุดมศึกษาจ�ำนวน ๔๕ แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยของรัฐ ๙ แห่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏ ๗ แห่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ๒ แห่ง และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ๒๗ แห่ง
อนุสารอุดมศึกษา
11
เรื่องพิเศษ
รองศาสตราจารย์ คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ ประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้เสนอภาพรวม ของนโยบายคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาที่ จ ะยกระดั บ คุณภาพการอุดมศึกษาไทยใน ๘ ประเด็นดังนี้ (๑) การลงทุนพัฒนาประเทศผ่านสถาบันอุดมศึกษาใน ๓ โครงการใหญ่ คือ โครงการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไทยสู่ มหาวิทยาลัยระดับโลก โครงการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษากลุ่มใหม่ให้ได้มาตรฐานการอุดมศึกษาและโครงการพัฒนาศักยภาพ ของทรัพยากรมนุษย์ในอุดมศึกษา (๒) การปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ให้มีความหลากหลาย ครอบคลุมทั้งสายวิชาการ วิชาชีพและปฏิบัติการ (๓) การประกันคุณภาพการศึกษา และการส่งเสริมสถาบันอุดมศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (๔) ร่าง พ.ร.บ.การอุดมศึกษา พ.ศ. .... เพื่อเป็นเครื่องมือในการส่งเสริม พัฒนา และยกระดับของประเทศให้ก้าวไปสู่ ความเป็นเลิศในระดับนานาชาติ และเป็นเครื่องมือก�ำหนดมาตรการในการก�ำกับดูแลสถาบันอุดมศึกษาที่ยังขาดความเข้มแข็ง ให้สามารถจัดการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา (๕) การติดตาม ตรวจสอบ การจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งที่ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ และในปลายปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้เริ่มมีการติดตาม ตรวจสอบการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก และสถาบัน อุดมศึกษาเอกชนที่เปลี่ยนประเภทแล้ว (๖) การส่งเสริมเครือข่ายมหาวิทยาลัยทัง้ ๙ เครือข่ายให้มคี วามเข้มแข็ง เน้นความร่วมมือ และมีระบบการบริหารจัดการทีด่ ี (๗) การพัฒนาระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา เพื่อปรับปรุงระบบในปัจจุบันให้มีประสิทธิภาพ และเสมอภาคมากยิ่งขึ้น (๘) การผลิตพัฒนาครู และผู้บริหารการศึกษา ให้มีการผลิตครูที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
12
อนุสารอุดมศึกษา
เรื่องพิเศษ
ในขณะที่ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวถึงภาพรวม การอุดมศึกษาไทย และแนวนโยบายส�ำคัญของ สกอ. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนสถาบันอุดมศึกษา ว่าในขณะนี้มีสถาบันอุดมศึกษา ในสังกัดและในก�ำกับของสกอ. จ�ำนวน ๑๗๓ แห่ง ซึ่งมีจ�ำนวนมากเมื่อเทียบกับจ�ำนวนนักศึกษาที่ลดน้อยลงเรื่อยๆ ดังนั้นสถาบัน อุดมศึกษาจึงจะต้องตระหนักถึงการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและสร้างความโดดเด่น เนื่องจากนักศึกษาจะมีทางเลือกมากขึ้น สามารถเลือกเข้าศึกษาต่อในสถาบันทีม่ คี ณ ุ ภาพ บัณฑิตทีจ่ บมามีอตั ราการจ้างงานและค่าตอบแทนสูง และสถานประกอบการจะรับ บัณฑิตจากสถาบันที่มีความน่าเชื่อถือในด้านคุณภาพเข้าท�ำงาน ทั้งนี้ สกอ. มีนโยบายเพื่อส่งเสริมสนับสนุนสถาบันอุดมศึกษา แบ่งเป็น นโยบายเร่งด่วน และนโยบายส่งเสริมระยะกลาง “นโยบายเร่งด่วน คือ การเสนอร่างพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา เพื่อยกระดับประสิทธิภาพอุดมศึกษา โดยใช้ โครงสร้างของ กกอ. เป็นกลไกส�ำคัญในการก�ำกับดูแลอุดมศึกษา ส�ำหรับในเรื่องมาตรฐานการจัดการศึกษา มาตรฐานหลักสูตร จะวัดที่คุณภาพบัณฑิต โดยมีกองทุนอุดมศึกษาเป็นกลไกส่งเสริมส�ำหรับสถาบันที่ปฏิบัติดี จัดการศึกษามีคุณภาพ ซึ่งขณะนี้ ร่างพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา อยู่ในการพิจารณาของ กกอ. และจะน�ำไปรับฟังความคิดเห็นจากประชาคมมหาวิทยาลัยต่อไป นอกจากนี้จะส่งเสริม การพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สกอ. จะพยายามเร่งรัดในส่วนนี้ต่อไปเพื่อสนับสนุนการวิจัยในอุดมศึกษา โดยมีประเด็นส�ำคัญที่จะต้องพิจารณาคือ เรื่อง การจัดอันดับ สถาบันอุดมศึกษา (Ranking) และการสร้างความโดดเด่นตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยในแต่ละกลุ่มประเภทต่างๆ ส�ำหรับ นโยบายส่งเสริมระยะกลาง มีจุดเน้นเพื่อส่งเสริมสนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาใน ๓ ด้าน คือ (๑) สร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ (๒) แก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม และชุมชนท้องถิ่น และ (๓) ความเป็นเลิศทางวิชาการ” เลขาธิการ กกอ. กล่าว เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า มีประเด็นส�ำคัญที่จะต้องพิจารณาคือ (๑) การปรับระบบเงินเดือนและค่าตอบแทน ข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัย (๒) การส่งเสริมการวิจัยที่สร้างผลกระทบต่อการพัฒนาอาจารย์ โดยการสร้างผลงาน วิชาการสายรับใช้สังคม และการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) เข้าสู่ต�ำแหน่งทางวิชาการ รวมถึงการวิจัยร่วมกับภาค อุตสาหกรรม และการบริการสังคม (๓) การสร้างความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยและภาคอุตสาหกรรม โดยการวิจัยร่วมกัน การให้บริการวิชาการ การจัดรูปแบบการเรียนการสอนร่วมกับภาคอุตสาหกรรม และ (๔) การส่งเสริมคุณภาพบัณฑิต/หลักสูตร โดยการจัดการศึกษาในรูปแบบ Work Integrated Learning (WIL) ให้มีความหลากหลายและครอบคลุมสาขาวิชามากยิ่งขึ้น เพื่อ ให้เกิดการบูรณาการระหว่างการเรียนกับการท�ำงาน และคุณภาพบัณฑิตตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ
อนุสารอุดมศึกษา
13
เรื่องพิเศษ
ด้านศาสตราจารย์ นายแพทย์ ภิ ร มย์ กมลรั ต นกุ ล อธิ ก ารบดี จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ในฐานะประธานกรรมการบริ ห ารเครื อ ข่ า ย อุดมศึกษาภาคกลางตอนบน กล่าวถึงการด�ำเนินงานในภาพรวมเครือข่าย อุดมศึกษาภาคกลางตอนบน ว่าได้มีการด�ำเนินโครงการเฉพาะกิจในหลายเรื่อง ทั้งเครือข่ายวิจัย เครือข่ายสหกิจศึกษา เครือข่ายบ่มเพาะวิสาหกิจ เครือข่าย พัฒนานิสิตนักศึกษา เครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาอาจารย์ เครือข่าย อุดมศึกษาเพื่อการปฏิรูปการศึกษา เครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อสนองโครงการ ในพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เครือข่าย อุดมศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาทั่วไป และเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาการ ประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยในการด�ำเนินการในระยะ ต่ อ ไปจะเน้ น การก�ำหนดนโยบาย ทิ ศ ทางการพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยให้ ชั ด เจน เพื่ อ รองรั บ สถานการณ์ ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว ของประเทศและ ของโลก รวมทั้งการบริหารจัดการเครือข่ายให้มีความเข้มแข็ง รวดเร็ว และมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
14
อนุสารอุดมศึกษา
เรื่องพิเศษ
ส�ำหรับการประชุมเสวนาร่วมกับเครือข่ายอุดมศึกษา ภาคกลางตอนบน ได้มีการจัดช่วงการเสวนา โดยมีอธิการบดี หรือผูแ้ ทนสถาบันสมาชิกเครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน จ�ำนวน ๓๐ แห่ ง น�ำเสนอวิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น เลิ ศ /ผลงาน ที่โดดเด่น (Best Practice) ของสถาบัน รวมถึงประเด็น ที่ประสงค์จะเสวนาร่วมกับคณะกรรมการการอุดมศึกษา ใน ๓ ด้าน ประกอบด้วย ด้านการวิจัยและพัฒนา จ�ำนวน ๗ สถาบัน ด้านการจัดการเรียนการสอน จ�ำนวน ๑๗ สถาบัน และด้านการบริการวิชาการ จ�ำนวน ๖ สถาบัน ซึ่งท�ำให้ คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้มีโอกาสรับฟังการน�ำเสนอ ผลงานดีเด่นของสถาบันในเครือข่ายฯ และได้ร่วมเสวนา แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ที่ เ ป็ น ประโยชน์ อ ย่ า งยิ่ ง ในการ ก�ำหนดนโยบายด้านการศึกษาที่ส�ำคัญต่อไป ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา สัญจร ครั้งที่ ๓ จะจัดขึ้นในระหว่างวันที่ ๑ - ๒ ตุลาคม ๒๕๕๗ ณ เครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน โดยมี มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นแม่ข่าย
อนุสารอุดมศึกษา
15
เรื่องแนะน�ำ
รู้จัก ‘Thai SAA’ ‘สมาคมนักกิจการนักศึกษาแห่งประเทศไทย’ หรือ ‘สกท.’ มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า ‘Thailand Student Affairs‘สมาคมนั Association’ อ ‘Thai SAA’ เป็หรืนอความคิ านักงานคณะกรรมการการอุ ดมศึกษาAffairs โดย กกิจการนักศึกหรื ษาแห่ งประเทศไทย’ ‘สกท.’ดริมีเริช่มื่อของส เป็นภาษาอั งกฤษว่า ‘Thailand Student คณะกรรมการประสานความร่ วมมือดระหว่ างสถาบักงานคณะกรรมการการอุ นอุดมศึกษาไทยกับสมาคมกิ การนักศึกษาภาคพื้นเอเชียแปซิวมมื ฟิกอ Association’ หรือ ‘Thai SAA’ เป็นความคิ ริเริม่ ของส�ำนั ดมศึกษาจโดยคณะกรรมการประสานความร่ ระหว่ างสถาบัThailand) นอุดมศึกษาไทยกั บสมาคมกิ จการนั ศึกษาภาคพื ิก (APSSA Thailand) ที่เวห็ัตนถุควรให้ มีกเารจั (APSSA ที่เห็นควรให้ มีการจั ดตั้ง ก‘สมาคมนั กกิ้นจเอเชี การนัยกแปซิ ศึกฟษาแห่ งประเทศไทย’ โดยมี ประสงค์ พื่อดเป็ตัน้ง ‘สมาคมนั กิจการนักศึกษาแห่ งประเทศไทย’ วัตถุประสงค์เพื่อเป็ นศูนย์ากงเสริ ลางการแลกเปลี ศูนย์กกลางการแลกเปลี ่ยนข้ อมูลข่าวสารโดยมี การประสานงาน และสร้ มความสัม่ยพันข้ นธ์ออมูันลข่ดีารวสาร ะหว่าการประสานงาน งบุคลากรด้าน และสร้ างเสริสมิตความสั พันธ์อันดีระหว่ านกิ้งจเป็ การนิ นักศึกษาในสถาบั นอุดมศึกดษา ้งเป็นตัวแทนและศู นย์กลาง กิจการนิ นักศึกมษาในสถาบั นอุดางบุ มศึคกลากรด้ ษา รวมทั นตัสวิตแทนและศู นย์กลางการติ ต่อรวมทั ประสานงานของบุ คลากรด้ าน การติ ต่อประสานงานของบุ คลากรด้ านกิาจงการนิ ิตนักศึกษากับหน่วยงานต่ าง ๆ ทั้งภายในประเทศและต่ างประเทศ พร้อมทั กิจดการนิ สิตนักศึกษากับหน่ วยงานต่ ๆ ทั้งสภายในประเทศและต่ างประเทศ พร้อมทั้งพัฒนาสมรรถนะบุ คลากรด้ าน้ง พัฒกินาสมรรถนะบุ านกิงจเสริ การนิ นักศึกษาและส่าเนิ งเสรินมงานด้ ศักยภาพในการด�ำเนิ านกิจการนินสอุิตดนัมศึ กศึกกษา ษาในสถาบั จการนิสิตนักศึคลากรด้ กษาและส่ มศัสกิตยภาพในการด านกิจการนิสิตนันกงานด้ ศึกษาในสถาบั ตลอดจนน อุดมศึ ษา ตลอดจนพั ้ ส่าเนิ งเสรินมกิและด�ำเนิ กรรมวิชาาการด้ านกิจสการนิ ศึกษาในสถาบั ดมศึกกษาซึ ษา ่ซึง ขณะนี ง่ ขณะนี้ ้ พัฒกนาองค์ ค วามรูฒ้ นาองค์ ส่ง เสริคมวามรู และด จ กรรมวินกิชจาการด้ นกิ จการนิ ิต นักสศึติ กนักษาในสถาบั นอุนดอุมศึ ส�ำนัสกานังานคณะกรรมการการอุ ดมศึกดษาอยู ่ระหว่่ราะหว่ งการด�ำเนิ นการยกร่ างข้อบัางงข้ คับอบัเพืง่อคัด�ำเนิ ยนขอจัดยตันขอจั ้ง ‘สมาคม กงานคณะกรรมการการอุ มศึกษาอยู างการด าเนินการยกร่ บ เพืน่อการจดทะเบี ดาเนินการจดทะเบี ดตั้ง นักกิ‘สมาคมนั จการนักศึกกกิษาแห่ ง ประเทศไทย’ จการนักศึกษาแห่งประเทศไทย’ ทั้ ง นีทั้ ้งคณะกรรมการบริ ห ารสมาคม ว ยวยนายกสมาคม นายทะเบียยนน นี้ คณะกรรมการบริ หารสมาคมประกอบด้ ประกอบด้ นายกสมาคมอุอุปปนายก นายก เลขาธิ เลขาธิกการ าร เหรั เหรัญญญิญิกก นายทะเบี ประชาสั มพันมธ์พันและกรรมการอื ่น ๆ ่นรวมแล้ วไม่น้อวยกว่ ๑๕ าคน๑๕แต่คน ไม่เกิแต่ น ไ๒๑ โดยมีคนผู้อโดยมี �ำนวยการส�ำนั กส่งเสริานั มและพั ฒนาม ประชาสั ธ์ และกรรมการอื ๆ รวมแล้ ไม่นา้อยกว่ ม่เกิคน น ๒๑ ผู้อานวยการส กส่งเสริ ศักยภาพนั ศึกษากยภาพนั ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุ ดมศึกษา เป็นเลขาธิ การสมาคม และพัฒกนาศั กศึกษาสานักงานคณะกรรมการการอุ ดมศึ กษา เป็นเลขาธิการสมาคม หลัหลั งจากการจั ด ตั ้ ง ‘สมาคมนั ก กิ จ การนั ก ศึ ก ษาแห่ ง ประเทศไทย’ เรียบร้อยแล้ สมาคมจะได้ ด�ำเนินการเตรีดาเนิ ยมการจั งจากการจัดตั้ง ‘สมาคมนักกิจการนักศึกษาแห่งประเทศไทย’ เรีวยบร้ อยแล้ว สมาคมจะได้ นการด สัมมนาของสมาคมกิจการนักศึกษาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ ๑๕ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่ประเทศไทย โดยมีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เตรียมการจัดสัมมนาของสมาคมกิจการนักศึกษาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ ๑๕ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่ประเทศไทย ได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพจัดสัมมนา ซึ่งจะเป็นการแสดงศักยภาพของประเทศในการจัดสัมมนาระดับนานาชาติ และส่งเสริมให้ โดยมีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพจัดสัมมนา ซึ่งจะเป็นการแสดงศักยภาพของประเทศในการจัด บุคลากรและนักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการท�ำงานระดับประเทศ สร้างวิธีการท�ำงานให้มีความเป็นระบบ เรียนรู้การท�ำงานจาก สัมมนาระดับนานาชาติ และส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทางานระดับประเทศ สร้างวิธีการ ประสบการณ์ตรง และกระตุ้นให้เกิดการตื่นตัวพัฒนางานด้านกิจการนิสิตนักศึกษาและการบริการนิสิตนักศึกษาเพื่อเตรียมความ ทางานให้มีความเป็นระบบ เรียนรู้การทางานจากประสบการณ์ตรง และกระตุ้นให้เกิดการตื่นตัวพัฒนางานด้านกิจการ พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนต่อไป นิสิตนักศึกษาและการบริการนิสิตนักศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนต่อไป เกร็ดความรู้
เกร็ดความรู้ ประเทศไทยเคยเป็นเจ้าภาพจัดสัมมนาของสมาคมกิจการนักศึกษาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก (Asia Pacific ประเทศไทยเคยเป็นเจ้าภาพจัดสัมมนาของสมาคมกิจการนักศึกษาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก (Asia Pacific Student Student Services Association International Conference) จานวน ๒ ครั้ง ดังนี้ Services Association International Conference) จ�ำนวน ๒ ครั้ง ดังนี้ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ทบวงมหาวิทยาลัยหรือสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในปัจจุบัน ได้ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ทบวงมหาวิทยาลัยหรือส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในปัจจุบัน ได้สนับสนุน สนับสนุนให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดการสัมมนาของสมาคมกิจการนักศึกษาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ ๔ ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดการสัมมนาของสมาคมกิจการนักศึกษาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ ๔ ระหว่างวันที่ ๒๓ - ๒๕ ระหว่างวันที่ ๒๓ – ๒๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๗ ณ โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีหัวข้อการประชุมว่า มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๗ ณ โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีหัวข้อการประชุมว่าด้วยเรื่อง ‘Student Development ด้วยเรื่อง ‘Student Development for Professionalism in a Dynamic Technological Environment’ for Professionalism in a Dynamic Technological Environment’ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการสัมมนา ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ส�ำนั กงานคณะกรรมการการอุ กษา าได้ นเจ้าภาพจัดการสั มนาของ ของสมาคมกิ จ การนั ก ศึ ก ษาภาคพื ้ น เอเชี ย แปซิ ฟิ ก ครั้ ง ที่ ๙ดมศึระหว่ งวัรนับทีเกี่ ย๖รติ–ให้๙เป็กรกฎาคม พ.ศ.ม๒๕๔๗ สมาคมกิ จการนั กศึกยษาภาคพื ฟิก ครั้งที่ ๙ โดยมี ระหว่าสงวัมาคมสถาบั นที่ ๖ - ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ณงมหาวิ ทยาลัยอัสสัและ มชัญ ณ มหาวิ ท ยาลั อั ส สั ม ชั้นญเอเชีวิ ทยแปซิ ยาเขตบางนา น อุ ด มศึ กพ.ศ. ษาเอกชนแห่ ประเทศไทย วิทสถาบั ยาเขตบางนา สมาคมสถาบั อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย นอุดมศึกษาในสัดงกัการประชุ ดส�ำนักงานคณะกรรมการ นอุดมศึกโดยมี ษาในสั งกัดสานักนงานคณะกรรมการการอุ ดมศึกษาร่และสถาบั วมเป็นกรรมการในการจั ม ในหัวข้อการ การอุ ดมศึ วมเป็ กรรมการในการจั ดการประชุ ม ในหัวข้Professionalism, อการประชุมว่าด้วยเรื ่อง ‘Power Learning of Youth: and Developing ประชุ มว่กาษาร่ ด้วยเรื ่องน‘Power of Youth: Developing Cooperative Social Professionalism, Cooperative Learning and Social Responsibility’ Responsibility’
16
อนุสารอุดมศึกษา
เหตุการณ์เล่าเรื่อง
อนุสารอุดมศึกษา
17
เหตุการณ์เล่าเรื่อง
เปิดโลกทัศน์ - สร้างมิตรภาพ ใน ‘APSSA
2014’
‘การเปิ ด โลกทั ศ น์ แลกเปลี่ ย นทั ศ นคติ เรี ย นรู ้ วั ฒ นธรรม สั ม ผั ส วิ ถี ชี วิ ต สร้ า ง มิตรภาพ’ เป็นประสบการณ์เต็มเปี่ยมที่ตัวแทนนิสิตนักศึกษาไทย ได้เก็บเกี่ยวมาจากการสัมมนา ของสมาคมกิจการนักศึกษาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ ๑๔ (The 14th Asia Pacific Student Services Association International Conference) ในหัวข้อ ‘Transforming experience: Paradigm shift & global best practices to build effective personal and professional capabilities’ ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ ๗ - ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ มหาวิทยาลัยโดชิชา วิทยาเขต อิมาเดกาวา เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น
18
อนุสารอุดมศึกษา
เหตุการณ์เล่าเรื่อง
นางวราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เล่าว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเห็นว่าการสัมมนาของสมาคม กิจการนักศึกษาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก เป็นโอกาสดีส�ำหรับนิสิตนักศึกษาไทย และ บุคลากรของ สกอ. จะได้รับทราบแนวทาง และแลกเปลี่ยนแนวคิด วิธีการในการ ปรับปรุงการด�ำเนินงานด้านการบริการและการพัฒนาศักยภาพนิสิตนักศึกษา ให้สอดคล้อ งกับความต้อ งการและการเปลี่ย นแปลงของสัง คม เพื่ อ ยกระดั บ คุณภาพการบริการนิสิตนักศึกษา น�ำไปสู่การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็น บัณฑิตที่มีความสมบูรณ์พร้อม เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าต่อประเทศและ พัฒนาสู่การเป็นพลเมืองโลก รวมทั้งเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ พัฒนาศักยภาพนักศึกษาในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ และในกลุ่ม ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก สกอ. จึงได้มีการสนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว มาอย่างต่อเนื่อง “ส�ำหรับในปีนี้ สกอ. และสถาบันอุดมศึกษาไทย ๙ แห่ง ได้ส่งผู้บริหาร อาจารย์ และนิสิตนักศึกษารวม ๔๗ คน เข้าร่วมการสัมมนาของสมาคมกิจการ นักศึกษาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ ๑๔ ซึ่งนิสิต นักศึกษา ได้เข้ากลุ่มท�ำ กิจกรรมและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนนักศึกษาจากประเทศต่างๆ ใน ๔ หัวข้อย่อย คือ การศึกษา เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสันติสุข นับว่าเป็นโอกาส ที่ท้าทายส�ำหรับนิสิตนักศึกษาไทย ทั้งการแสดงทัศนคติ ความคิดเห็นในประเด็น ต่างๆ ร่วมกับเพือ่ นต่างชาติ การแลกเปลีย่ นเรียนรูว้ ฒ ั นธรรม และวิถชี วี ติ ตลอดจน การสร้างมิตรภาพร่วมกัน” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว นอกจากนี้ ประเทศไทยได้รับเป็นเจ้าภาพจัดการสัมมนาของสมาคม กิจการนักศึกษาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ ๑๕ ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ เพื่อแสดง ศักยภาพของประเทศในการจัดสัมมนาระดับนานาชาติ และส่งเสริมให้บุคลากร และนั ก ศึ ก ษาได้ มี ส ่ ว นร่ ว มในการท�ำงานระดั บ ประเทศ ตลอดจนกระตุ ้ น ให้ เกิดการตื่นตัวในการพัฒนางานด้านกิจการนิสิตนักศึกษาและการบริการนิสิต นักศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนต่อไป
อนุสารอุดมศึกษา
19
เหตุการณ์เล่าเรื่อง
“ภาษาไม่ได้เป็นปัญหาต่อการเรียนรู้ หลายๆ คนที่เข้าร่วมสัมมนาใน ครั้งนี้ ไม่ได้มีทักษะทางด้านภาษาที่ดีเลิศ แต่สิ่งที่ทุกคนมีคือ ความมุมานะและ ความพยายามที่จะเรียนรู้” เป็นสิ่งที่ นางสาวณัฐธิดา ตั้งโสภณพงศ์ นักศึกษา ชั้ น ปี ที่ ๔ คณะการสร้า งเจ้ า ของธุ ร กิ จ และบริ หารกิ จ การ (School of Entrepreneurship and Management) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาลัย นานาชาติ ประทับใจ และอยากจะสนับสนุนให้นักศึกษาไทยเอาเป็นแบบอย่าง ซึ่งจากการเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ ท�ำให้ได้เห็นโลกกว้างขึ้น โดยการสัมผัส และ เรียนรู้จากเจ้าของประเทศ โดยเฉพาะการด�ำเนินชีวิตของชาวญี่ปุ่น ทั้งเรื่อง ระเบียบวินัย และความซื่อตรง อีกทั้งยังได้สร้างมิตรภาพข้ามพรมแดน “สมาชิกในกลุ่มเศรษฐกิจได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน และระดมความคิด เกี่ยวกับปัญหาต่างๆ ทั้งเรื่องเศรษฐกิจ การเมือง และผู้น�ำในมุมมองต่างๆ ซึ่งพบว่า ความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นปัจจัยหนึ่งที่เป็นจุดเริ่มของปัญหาต่างๆ อาทิ ความยากจน การศึกษา สิ่งแวดล้อม ปัญหาเหล่านี้จะลดน้อยลงหากบุคคล ที่ท�ำธุรกิจ หรือใช้ชีวิตอยู่ในสังคมมีความรับผิดชอบต่อการกระท�ำของตนและ เข้าใจถึงผลกระทบที่ตามมา ซึ่งเราสามารถน�ำแนวคิดในการปลูกฝังการเป็น ผู้ประกอบการที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและเยาวชนไทย ก็จะสามารถยกระดับสภาพสังคมไทยให้ดียิ่งขึ้น” นายชัชพิมุข ทิพยมาศโกมล นักศึกษาชั้นปีที่ ๓ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เล่าถึงประสบการณ์ในการ ร่วมสัมมนาครัง้ นี้ ว่า ได้รบั ประสบการณ์รว่ มกับเพือ่ นนักศึกษาต่างชาติ ทั้งจากกิจกรรมที่ถูกก�ำหนดไว้ในการสัมมนา โดยแต่ละคนต่างน�ำ เอาความรู้และประสบการณ์จากมหาวิทยาลัยและประเทศของตน มาแลกเปลี่ยนกัน ท�ำให้ตัวเราได้เปิดมุมมองใหม่ๆ รวมถึงได้เรียนรู้ ข้อมูลต่างๆ ที่ไม่ได้เรียนในสาขาวิชาชีพของตนเอง นอกจากนี้ยังได้ มีโอกาสเรียนรู้วัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่นจากการสนทนากันอย่างเป็น กันเองท�ำให้เกิดความสนิทสนมและยังคงรักษาสายสัมพันธ์ต่อไปได้ “จากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหัวข้อสิ่งแวดล้อม มีเรื่องที่น�ำมาปรับใช้กับสังคมไทยได้ อาทิ การสร้างความตระหนัก ให้แก่นักศึกษาในการใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่า มุ่งเน้นลดการใช้ พลังงานโดยการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน ของทุกคนเพียงเล็กน้อยก็สามารถช่วยในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้ และแนวคิ ด ที่ น ่ า สนใจ คื อ การคั ด แยกขยะอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เช่ น โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ คอมพิ ว เตอร์ แท็ บ เล็ ต น� ำ ส่ ง ให้ แ ก่ บ ริ ษั ท หรื อ หน่วยงานในความร่วมมือ เพือ่ ซ่อมแซมและปรับปรุงให้อยูใ่ นสภาพดี น�ำไปแจกให้กับผู้ด้อยโอกาส ให้สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ ถือเป็นการรักษาสิ่งแวดล้อมและการบริการสังคมไปพร้อมกัน”
20
อนุสารอุดมศึกษา
เหตุการณ์เล่าเรื่อง
นายศุภชัย วงศ์สุริย์ฉาย นักศึกษาชั้นปีที่ ๔ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เล่าว่า ได้มีโอกาสเปิดรับทัศนคติ มุมมอง และแนวคิดใหม่ๆ ที่ยังไม่มีโอกาสสัมผัส โดยส่วนตัวอยากเลือกน�ำเอาข้อดีของกิจกรรมของ เพื่อนต่างชาติที่เข้าร่วมสัมมนาด้วยกัน มาปรับประยุกต์กับกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยของเรา เพื่อพัฒนาต่อยอดกิจกรรมของเรา ให้ดียิ่งขึ้น “สิ่งที่นักศึกษาในกลุ่มหัวข้อสันติสุขแสดงความคิดเห็นล้วนแต่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง อาทิ ปัญหาของการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ หรือ Social Network ที่ไม่ถูกต้อง ปัญหาการเหยียดสีผิวในชาติตะวันตก หรือปัญหาเกี่ยวกับชนชั้นระหว่างคนรวย กับคนจน ซึ่งเป็นปัญหามาอย่างยาวนาน ในการพูดคุยได้มีการน�ำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ โดยสิง่ ทีส่ ามารถน�ำมาปรับใช้กบั สังคมไทยได้คอื การลดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน โดยเน้นการให้ความรูท้ างการศึกษาอย่าง ทั่วถึง ให้ทุกคนสามารถด�ำรงชีพได้ด้วยตนเอง ไม่ถูกเอาเปรียบจากคนที่มีความรู้มากกว่า”
นายสุวัฒน์ แช่มช้อย นักศึกษาชั้นปีที่ ๔ คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยคริสเตียน กล่าวถึงประสบการณ์ ในการเข้าร่วมสัมมนาที่เมืองเกียวโตครั้งนี้ว่า นอกจากได้เปิดรับความรู้ ทัศนคติ และมุมมองต่างๆ แล้ว เรายังได้เรียนรู้วัฒนธรรม ระเบียบวินัย ความเชื่อ และได้รับมิตรภาพที่ดีจากเพื่อนต่างชาติ ต่างสถาบัน และต่างภาษา รวมทั้งความเป็นกันเองที่นักศึกษา เจ้าภาพมอบให้ “ในการเป็นเจ้าภาพจัดสัมมนาครั้งต่อไปของประเทศไทย จะเป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาไทยได้แสดงศักยภาพ ความรู้ และความสามารถทางด้านต่างๆ ทั้งภาษา การแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการแก้ไขปัญหาต่างๆ ซึ่งจะเป็นประสบการณ์ที่ดี ส�ำหรับนักศึกษาไทย อีกทั้งยังเป็นโอกาสในการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ รวมถึงสถานที่ ท่องเที่ยวต่างๆ ต่อเพื่อนนักศึกษาต่างชาติด้วย” หลังจากนี้ไปอีก ๒ ปี ประเทศไทยคงต้องเตรียมความพร้อมของนิสิตนักศึกษาไทยในการเป็นเจ้าภาพ และเจ้าบ้านที่ดี ในการจัดสัมมนาของสมาคมกิจการนักศึกษาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ ๑๕ ให้เป็นเวทีที่เปิดกว้างให้เยาวชนในภาคพื้นเอเชีย แปซิฟิกได้แสดงศักยภาพ น�ำเสนอความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของสังคมโลกต่อไป พบกัน APSSA 2016 ที่ประเทศไทย
อนุสารอุดมศึกษา
21
เล่าเรื่องด้วยภาพ
๑๒ สิ ง หาคม ๒๕๕๗ - นางสาวอาภรณ์ แก่ น วงศ์ รองเลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึก ษา ร่ วมพิธี เปิ ด งานเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา ๘๒ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ ของ กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ‘เทิดไท้พระผู้ทรงเป็นแม่ และครูแห่งแผ่นดิน’ พร้อมประกอบพิธีถวายเครื่องราช สักการะ ณ บริเวณเวทีหน้ากระทรวงศึกษาธิการ
22
อนุสารอุดมศึกษา
เล่าเรื่องด้วยภาพ
๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๗ - รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมประชุมคณะทำ�งานเฉพาะกิจเพื่อพิจารณาการแก้ไข กฎบัตรเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ณ โรงแรมอมารี วอเตอร์ เ กท โดยมี น างสาวจุ ไ รรั ต น์ แสงบุ ญ นำ � รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวต้อนรับ และ Prof. Ainun Na’im ปลัดกระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรม อินโดนีเซีย กล่าวเปิดการประชุม
๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ - นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา รับแจกัน ดอกไม้ แ สดงความยิ น ดี ใ นโอกาสเข้ า รั บ ตำ � แหน่ ง รองเลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา จาก นายสุภัทร จำ�ปาทอง ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา พร้อมผู้บริหารและข้าราชการสำ�นักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ณ ห้องรองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา
๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ - ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชาญ เลิศวิภาตระกูล ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา UniNet เข้าร่วมเป็นประธานเปิดโครงการประกวดแอพพลิเคชั่น CAT Apps Awards 2014 ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคาร CAT Tower บางรัก โดยการจัดงานครั้งนี้เป็นความร่วมมือระหว่างสำ�นักงานบริหารเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ บริษัท กสท. โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมให้นิสิต นักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษา ได้สร้างสรรค์ผลงานแอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และนำ�ผลงานมาใช้ งานหรือพัฒนาในเชิงธุรกิจของบริษัท กสท. โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน) อนุสารอุดมศึกษา
23