อนุสารอุดมศึกษา issue 439

Page 1

อุดมศึกษา อนุสาร

LOGO

ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๔๓๙ ประจำ�เดือนมกราคม ๒๕๕๘

เอกสารเผยแพร่ของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ISSN 0125-2461

‘ นนทรีเกมส์ ’ มิตรภาพและความปรองดอง เหนือชัยชนะ

อนุสารอุดมศึกษาออนไลน์ www.mua.go.th/pr_web


สารบัญ

CONTENT

๑๗

ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๔๓๙ ประจำ�เดือนมกราคม ๒๕๕๘

เรื่องเล่าอุดมศึกษา สกอ. ระดมสมองช่วยต้านคอร์รัปชั่น สกอ. บูรณาการ ๙ เครือข่าย แก้ไขปัญหายาเสพติด

เรื่องเล่าอาเซียน การเตรียมการของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

เรื่องพิเศษ อุดมศึกษามอบ ‘ของขวัญปีใหม่’ สู่ชุมชน ๓ สร้าง - สร้างความรู้ สร้างอาชีพ สร้างความสุข

เรื่องแนะนำ�

๑๑ ๑๕

ขอแสดงความยินดี ' นายสุภัทร จำ�ปาทอง ' รองเลขาธิการ กกอ. คนใหม่

๑๕

๒๑

เหตุการณ์เล่าเรื่อง

๑๗

นนทรีเกมส์

เล่าเรื่องด้วยภาพ

๒๑

คณะผู้จัดทำ�

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ http://www.mua.go.th pr_mua@mua.go.th www.facebook.com/ohecthailand www.twitter.com/ohec_th รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กำ�จร ตติยกวี นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ นายสุภัทร จำ�ปาทอง นายศิระวิทย์ คลี่สุวรรณ ที่ปรึกษา บรรณาธิการ นายกฤษณ์กร วงศ์ไทย กองบรรณาธิการ นางสาวปิยาณี วิริยานนท์ นางชุลีกร กิตติก้อง นายเจษฎา วณิชชากร นางปราณี ชื่นอารมณ์ นายจรัส เล็กเกาะทวด พิมพ์ที่ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๔๓๓ ๒๗๔๒



พระราชดำ�รัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๘

วันพุธ ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗

ประชาชนชาวไทยทัง้ หลาย บัดนีถ้ งึ วาระจะขึน้ ปีใหม่ ข้าพเจ้าขอส่งความปรารถนาดี มาอวยพร แก่ทา่ นทุกๆ คน ให้มคี วามสุข ความเจริญ ซึง่ เป็นสิง่ ทีท่ กุ คนปรารภปรารถนา. ในปีใหม่นี้ ขอให้ประชาชนชาวไทยตัง้ ใจให้เทีย่ งตรงแน่วแน่ ไม่วา่ จะ ท�ำการสิง่ ใด ให้คดิ ให้ดี ให้รอบคอบและรอบด้าน เพือ่ ให้การกระท�ำนัน้ บังเกิดผล เป็นความสุขความเจริญทีแ่ ท้จริงและยัง่ ยืน ทัง้ แก่ตนเองและประเทศชาติ. ขออานุภาพแห่งคุณพระรัตนตรัยและสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ จงคุม้ ครองรักษา ท่านทุกคน ให้มคี วามสุขสวัสดี พร้อมด้วยพรอันเป็นมงคลทุกประการ.


เรื่องเล่า

อุดมศึกษา

สกอ.

ระดมสมองช่วยต้านคอร์รัปชั่น ๘ มกราคม ๒๕๕๘ - ส�ำนั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา จัดการสัมมนา เรื่อง ‘เก่งจริง ต้องไม่โกง’ เพื่อ เป็นการเปิดโอกาสให้มีการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง ผู้บริหาร บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และนิสิตนักศึกษาในการแก้ปัญหา การทุจริตคอร์รัปชั่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทุจริตคอร์รัปชั่นใน สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ทั้ ง ระดั บ ผู ้ บ ริ ห ารและนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา โดยได้ รับเกียรติจากนางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษาเป็นประธานเปิดการสัมมนา ณ โรงแรมเอเชีย นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กล่าวว่า สกอ. ในฐานะหน่วยงานกลางด้านการ อุดมศึกษาตระหนักถึงปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่น จึงได้ให้การสนับสนุน เครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา ๙ เครือข่าย ในการด�ำเนินงาน โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ‘มหาวิทยาลัย โปร่งใส บัณฑิตไทยไม่โกง’ ใน ๒ ส่วน ส่วนแรก สถาบันอุดมศึกษา ต้องมีการน�ำหลักความโปร่งใสมาใช้ในการบริหารจัดการและดูแล มหาวิทยาลัย เป็นมาตรการส�ำคัญทีจ่ ะช่วยป้องกันการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ซึ่งมหาวิทยาลัยมีความจ�ำเป็นที่จะต้องมีมาตรการ แนวทาง และ กิจกรรมในการสร้างความโปร่งใสให้เป็นรูปธรรม เพื่อให้ได้รับการ ยอมรับและเชือ่ ถือ และสร้างแนวคิด จิตส�ำนึก และค่านิยมทีถ่ กู ต้อง ดีงาม ในการดูแลรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชน สังคม และบ้านเมือง รองเลขาธิ ก าร กกอ. กล่ า วต่ อ ว่ า ส่ ว นที่ ส อง นิ สิ ต นักศึกษา ในฐานะพลังส�ำคัญทีจ่ ะเป็นผูน้ �ำในการต่อสูแ้ ละเปลีย่ นแปลง ประเทศไทย บัณฑิตยุคใหม่ที่ปราศจากการครอบง�ำทางความคิด ของการทุ จ ริ ต บั ณ ฑิ ต ที่ ถู ก วางรากฐานแห่ ง ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต

เป็นบัณฑิตไทยไม่โกง ไม่ทุจริตคอร์รัปชั่นในทุกรูปแบบ เช่น การ ไม่ทุจริตในการสอบ การไม่คัดลอกผลงาน เป็นต้น นอกจากนี้ บัณฑิตยุคใหม่ต้องรู้จักด�ำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ไขว่คว้าชือ่ เสียง เกียรติยศ เงินทอง ด้วยวิธกี ารทุจริตคอร์รปั ชัน่ ให้สร้างภูมคิ มุ้ กันให้แก่ตนเองด้วยการขัดเกลาอบรมจิตใจให้เป็นคน มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม ทัง้ ความคิดและการกระท�ำ มุง่ ท�ำประโยชน์ให้ แก่ประเทศชาติบา้ นเมืองอย่างภาคภูมใิ จ ก่อนขยายไปสูค่ นรอบข้าง กลายเป็นค่านิยมต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ทุกรูปแบบในสังคมไทย “รั ฐ บาลและคณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ มี ค วาม พยายามแก้ ไขปั ญ หาการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดย ขับเคลื่อนการด�ำเนินงานผ่านยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐) ในลักษณะ การบูรณาการการท�ำงานและงบประมาณระหว่างหน่วยงานเพื่อ มุ่งเน้นการสร้างจิตส�ำนึกของประชาชนให้มีทัศนคติและค่านิยมใน การต่อต้านการทุจริต การประสานความร่วมมือกับเครือข่ายภาคี ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การพัฒนากลไกการด�ำเนินงาน ทัง้ ในด้านการสร้างบุคลากรทีม่ ปี ระสิทธิภาพ หรือการสร้างกลไกทาง กฎหมายทีม่ คี วามเข้มแข็ง โดยก�ำหนดวิสยั ทัศน์ คือ สังคมไทยมีวนิ ยั โปร่งใส ยึดมัน่ ในคุณธรรม จริยธรรม และร่วมป้องกันและปราบปราม การทุจริต เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษา ในฐานะที่เป็นองค์กรพัฒนาทรัพยากรบุคคลระดับสูงของชาติจึง จ�ำเป็นต้องมีบทบาทส�ำคัญในการปลูกฝังคุณลักษณะด้านคุณธรรม จริยธรรม และความซือ่ สัตย์สจุ ริต ให้เกิดขึน้ กับนิสติ นักศึกษา และ บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาต่อไป” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว

5

อนุสารอุดมศึกษา


สกอ. บูรณาการ ๙ เครือข่าย

แก้ไขปัญหายาเสพติด

6

๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ - ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา จัดการประชุมสัมมนาโครงการรณรงค์ปอ้ งกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษาประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ณ โรงแรมกรุงศรีรเิ วอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ สรุปผลการด�ำเนินงานโครงการรณรงค์ปอ้ งกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ของเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา ๙ เครือข่าย พร้อมทั้งชี้แจงกรอบการด�ำเนินงานโครงการรณรงค์ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบัน อุดมศึกษา ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ภายใต้แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ปั ญ หายาเสพติ ด ปี ๒๕๕๘ ตลอดจน สนับสนุนเครือข่ายเพือ่ การพัฒนาอุดมศึกษา บูรณาการร่วมกับส�ำนักงาน ปปส. ภาค/กทม. ในการจัดท�ำแผนงานโครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา ประจ�ำปี งบประมาณ ๒๕๕๘ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ ย าเสพติ ด ในพืน้ ที่ โดยได้รบั เกียรติจากนางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธเี ปิด และบรรยาย พิเศษในหัวข้อ ‘การขับเคลือ่ นงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา ปี ๒๕๕๘’

อนุสารอุดมศึกษา

นางสาวอาภรณ์ แก่ น วงศ์ รองเลขาธิ ก ารคณะ กรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาทีต่ อ้ ง ได้รบั การแก้ไขโดยเร่งด่วนและต่อเนือ่ ง เพือ่ ยุตกิ ารแพร่ระบาดของ ปัญหายาเสพติด โดยเฉพาะในกลุม่ เด็กและเยาวชน การทบทวน ผลด�ำเนิ น งานด้ า นการป้ อ งกั น และแก้ ไขปั ญ หายาเสพติ ด ในปีที่ผ่านมา มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งในการก�ำหนดแนวทาง การบูรณาการแผนการด�ำเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบาย ของรัฐบาลและสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในพื้นที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป “สกอ. คาดหวังว่าการประชุม สัมมนาครัง้ นี้ จะสามารถด�ำเนินการจัดท�ำ แผนเชิงบูรณาการโครงการรณรงค์ปอ้ งกัน และแก้ ไขปั ญ หายาเสพติ ด ในสถาบั น อุดมศึกษา ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ระหว่ า งเครื อ ข่ า ยเพื่ อ การพั ฒ นาอุ ด มศึ ก ษา ๙ เครือข่าย กับส�ำนักงาน ปปส. ภาค และ ปปส. กทม. เพือ่ ให้การด�ำเนินการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถาบันอุดมศึกษาปี ๒๕๕๘ เป็นส่วนส�ำคัญในการขับเคลือ่ น สังคมเพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดของยาเสพติดในทุกพื้นที่ของ ประเทศไทย” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว


แผนยุทธศาสตร์การป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด แผนยุ ท ธศาสตร์ ก ารป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หา ยาเสพติ ด พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๒ ภายใต้ แ ผนปฏิ บั ติ ก าร ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ปี ๒๕๕๘ เพื่อน�ำไปใช้เป็น กรอบทิศทางแผนการด�ำเนินงานของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวม ๘ แผนยุทธศาสตร์หลัก ดังนี้ (๑) การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติด (๒) การควบคุมตัวยาและผูค้ า้ ยาเสพติด (๓) การแก้ไขปัญหาผูเ้ สพผูต้ ดิ ยาเสพติด (๔) ความร่วมมือระหว่างประเทศ (๕) การสร้างและพัฒนาระบบรองรับการคืนคนดี ให้สงั คม (๖) การสร้ า งสภาพแวดล้ อ มเพื่ อ ป้ อ งกั น ปั ญ หา ยาเสพติด (๗) การมีสว่ นร่วมภาคประชาชน (๘) การบริหารจัดการอย่างบูรณาการ แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ปี ๒๕๕๘ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารเป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ในการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ ๑ การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไป เกี่ ย วข้ อ งกั บ ยาเสพติ ด และเป็ น หน่ ว ยงานสนั บ สนุ น ในการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ ๖ การสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกัน ปัญหายาเสพติด และยุทธศาสตร์ที่ ๗ การมีสว่ นร่วมภาคประชาชน

การขั บ เคลื่ อ นงานด้ า นการป้ อ งกั น และแก้ ไ ข ปั ญ หายาเสพติ ด ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ปี ๒๕๕๘ ส�ำนั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษามีแผนการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑. การสนับสนุนเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา ๙ เครื อ ข่ า ยจั ด ท�ำโครงการรณรงค์ ป ้ อ งกั น และแก้ ไขปั ญ หา ยาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา โดยสนับสนุนให้สถาบันแม่ข่าย เครือข่าย ๙ เครือข่าย เป็นผูน้ �ำการบูรณาการแผนงาน/โครงการ ร่วมกับส�ำนักงาน ปปส. ภาค/กทม. ๒. การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านด้านการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา เพือ่ เป็นการ เสริมสร้างศักยภาพเจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านด้านการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา ให้มอี งค์ความรู้ ประสบการณ์ ในการด�ำเนินงาน สร้างขวัญและก�ำลังใจ ภายใต้ความปลอดภัย ในการปฏิบตั งิ าน ซึง่ ในการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าทีใ่ นปีนี้ จะเน้น เรือ่ งความปลอดภัยและการสร้างขวัญและก�ำลังใจในการปฏิบตั งิ าน โดยแบ่งเป็น ๕ กลุม่ ดังนี้ กลุม่ ที่ ๑ กลุม่ ภาคเหนือ กลุม่ ที่ ๒ กลุม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุม่ ที่ ๓ กลุม่ กรุงเทพมหานคร กลุม่ ที่ ๔ กลุม่ ภาคกลางและภาคตะวันออก กลุม่ ที่ ๕ กลุม่ ภาคใต้

7

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่า

อาเซียน

8

การเตรียมการของสถาบันอุดมศึกษา

เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

ภายใต้ข้อตกลงของอาเซียนที่ก�ำหนดเป้าหมายการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ สิ่งที่ท้าทายต่อการศึกษาไทย คือ การเปิด เสรีการค้าบริการด้านการศึกษาและการรวมตัวของประชาชาติในอาเซียน การเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษาส่งผลให้เกิดการเคลือ่ นย้ายองค์ความรู้ ภาษาและวัฒนธรรมระหว่างกัน ขณะเดียวกันการรวมตัวเป็นประชาคม อาเซียนจะท�ำให้การเคลื่อนย้ายก�ำลังคน นักเรียน นักศึกษา และบุคลากร ทางการศึกษาเป็นไปโดยสะดวกขึ้น ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้ก�ำหนดนโยบายรองรับการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนไว้หลายประการ เช่น การสร้างความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียนและการเปิดเสรีการค้าบริการ ด้านการศึกษา การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากร ให้มีสมรรถนะที่จ�ำเป็นส�ำหรับศตวรรษที่ ๒๑ การพัฒนามาตรฐานการศึกษา การส่งเสริมแลกเปลีย่ นนักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร ท�ำให้เกิดความตืน่ ตัว เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว

อนุสารอุดมศึกษา


การเปิดและการปิดภาคเรียนให้สอดคล้องกับประเทศในกลุ่มอาเซียน การพิจารณาปรับเวลาเปิดและปิดภาคเรียนเพื่อให้ สอดคล้องกันทั้งภายในอาเซียนและสากล นับเป็นส่วนหนึ่งของ การเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน โดยสถาบันอุดมศึกษาจะปรับเปลีย่ นช่วงเวลาเปิดและปิดภาคเรียน ให้อยูใ่ นช่วงกลางเดือนสิงหาคม - กันยายน ซึง่ สอดคล้องกับประเทศ ในภูมิภาคอื่นๆ ทั่วโลก ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยแต่ละกลุ่มได้มีการ ท�ำความเข้าใจและเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับการปรับช่วงเวลา เปิด - ปิดภาคเรียน ซึ่งแนวทางการด�ำเนินการจะใช้วิธีปรับเวลา เปิดและปิดภาคเรียนแบบค่อยเป็นค่อยไป ตามความพร้อมของ แต่ละสถาบันหรือหลักสูตร โดยเริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๖ และคาดว่าสถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่จะปรับเปลี่ยนเวลาให้ตรง กับสากลได้ในปีการศึกษา ๒๕๕๗ ปัจจุบันหลักสูตรนานาชาติ ในสถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ได้เปิดการเรียนการสอนในช่วงเดือน สิงหาคม - กันยายนอยู่แล้ว ทั้ ง นี้ การปรั บ เวลาเปิ ด และปิ ด ภาคเรี ย นในระดั บ อุดมศึกษาดังกล่าว จะไม่มผี ลกระทบต่อนักเรียนในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานหรืออาชีวศึกษา (กรณีไม่ปรับเวลาตาม) แม้ว่าจะมี ความห่างของระยะเวลาในการปิดภาคเรียนมากยิ่งขึ้น แต่จะเป็น ประโยชน์แก่นักเรียน นักศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๖ ซึ่งจะสามารถใช้เวลาในห้องเรียนได้เต็มที่มากยิ่งขึ้น ไม่ต้อง เร่งเตรียมตัวเพือ่ สอบเข้ามหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ช่องว่างของเวลา ที่เกิดขึ้นสถาบันอุดมศึกษาสามารถใช้ส�ำหรับเตรียมความพร้อมให้ แก่นักศึกษาในการเข้าสู่ระบบอุดมศึกษา พัฒนาทักษะด้านภาษา หรือทักษะด้านอื่นๆ เพิ่มเติมให้แก่นักศึกษาได้

การปรับเปลี่ยนช่วงเวลาการเปิดและปิดภาคเรียน ของสถาบันอุดมศึกษาเพือ่ ให้สอดคล้องกับนานาประเทศทัว่ โลก รวมถึงประเทศในกลุ่มอาเซียน จะเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนา อุดมศึกษา การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตโดยรวม โดยเฉพาะอย่างยิง่ เป็นการเพิ่มโอกาสในการแลกเปลี่ยนบุคลากรและนักศึกษา ให้มีความสะดวกมากยิ่งขึ้น ซึ่งกลไกการแลกเปลี่ยนจะเป็นการ เปิดโลกทัศน์และพัฒนาศักยภาพบัณฑิตไทยให้แข่งขันได้ใน ระดับสากล และเป็นการเตรียมความพร้อมให้มีทักษะส�ำหรับ ประกอบอาชีพในอนาคต รวมทั้งช่วยสร้างความกลมกลืนของ การอุ ด มศึ ก ษาอั น จะส่ ง ผลให้ เ กิ ด การลดช่ อ งว่ า งของความ แตกต่างทางด้านภาษาและวัฒนธรรมระหว่างกัน นอกจากนี้ หากมีการปรับเวลาในการเปิดและปิด ภาคเรียนในระดับอุดมศึกษา จะสามารถใช้โอกาสนีใ้ นการพัฒนา ระบบการรับนักศึกษา ทั้งระบบกลาง (Admission) และระบบ รับตรง ให้เกิดความเป็นธรรม เท่าเทียม และประหยัด เป็นประโยชน์แก่นักเรียนนักศึกษามากยิ่งขึ้น ด้วยโดยรวม ซึ่งจะเป็นประโยชน์ ในการพัฒนาประเทศ ให้ เจริ ญ ก้ า วหน้ า ต่อไปในอนาคต

9

อนุสารอุดมศึกษา


การปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รการเรี ย นการสอนให้ ส อดคล้ อ งกั บ ประชาคมอาเซียน

10

การจัด การศึก ษาระดับ อุด มศึก ษาในปั จ จุ บัน อยู ่ ใ นภาวะ ที่มีการแข่งขันสูง ทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ คุณภาพ และมาตรฐานในการจัดการศึกษาเป็นปัจจัยส�ำคัญที่บ่งชี้ศักยภาพใน การแข่งขัน โดยเฉพาะในระดับนานาชาติ การพัฒนาหลักสูตรให้มี คุณภาพและมาตรฐานระดับสากลเป็นกลไกหนึ่งที่จะเพิ่มความเข้มแข็ง ทางวิชาการให้แก่สถาบันอุดมศึกษา ซึง่ สถาบันอุดมศึกษาสามารถก�ำหนด ความเข้มข้นของเนื้อหาของรายวิชาและหลักสูตรในระดับต่างๆ ได้เอง โดยต้องมีความเข้มข้นของความเป็นนานาชาติด้วย เพื่อให้เพียงพอ ต่อการใช้ชีวิตและท�ำงานในอนาคตของบัณฑิต ในการจัดท�ำและพัฒนาหลักสูตรการเรียน การสอน การประกันคุณภาพการศึกษา นับเป็นหัวใจ หลั ก ของการสร้ า งและด�ำรงความน่ า เชื่ อ ถื อ ของ หลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งจะน�ำไปสู่การ เชื่ อ มโยงและเป็ น ที่ ย อมรั บ ของนานาประเทศ รวมถึงการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการด�ำเนินการ แลกเปลี่ ย นนั ก ศึ ก ษาและการเที ย บโอนหน่ ว ยกิ ต ระหว่างกัน นอกเหนื อ จากความรู ้ ท างวิ ช าการและ ความเชี่ยวชาญเฉพาะศาสตร์แล้ว สถาบันอุดมศึกษาควรส่งเสริม ในเรื่ อ งความสามารถด้ า นทั ก ษะในการสื่ อ สาร การด�ำรงชี วิ ต ในสังคมพหุวฒ ั นธรรม การเรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง การพัฒนาความเป็นผูน้ �ำ การท�ำงานเป็นทีม ปัจจุบันประเทศไทยมีหลักสูตรนานาชาติ ๑,๐๔๔ หลักสูตร และมีสถาบันอุดมศึกษาจ�ำนวนมากที่สามารถรองรับนักศึกษาชาวไทย และชาวต่างชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาที่สถาบันอุดมศึกษาไทย มี ค วามเข้ ม แข็ ง เช่ น วิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ เวชศาสตร์ เขตร้ อ น เกษตรเขตร้อน เทคโนโลยีชีวภาพ การท่องเที่ยว การโรงแรม การบริหาร จัดการ เป็นต้น

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่อง

พิเศษ

11

อุดมศึกษามอบ ‘ของขวัญปีใหม่’ สู่ชุมชน ๓ สร้าง - สร้างความรู้ สร้างอาชีพ สร้างความสุข ในช่วงเทศกาลปีใหม่ ๒๕๕๘ ทีผ่ า่ นมา รัฐบาลมีนโยบายให้ ทุกกระทรวงจัดหา ‘ของขวัญ’ เพื่อสร้างความสุขให้แก่ประชาชน เป็นรูปธรรม โครงการ ‘อุดมศึกษา สร้างความรู้ สร้างอาชีพ สร้างความสุข สู่ชุมชน’ เป็นของขวัญที่ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งใจมอบให้แก่ประชาชน ในชุ ม ชนต่ า งๆ โดยมอบหมายให้ วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชน ๒๐ แห่ ง ทั่วประเทศ จัดฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น ไม่เสียค่าใช้จ่าย ระหว่าง วันที่ ๕ - ๓๑ มกราคม ๒๕๕๘ เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านวัฒนธรรม ประเพณี งานอาชี พ ซึ่ ง มี ห ลั ก สู ต รที่ น ่ า สนใจหลากหลาย เกี่ยวกับการท�ำอาหาร การท�ำของใช้ ของที่ระลึก งานฝีมือ การดูแล ผู้สูงอายุ การเกษตร ด้านภาษา และอื่นๆ อาทิ กิจกรรมการถ่ายทอด ความรู้เพื่อการสืบสานวัฒนธรรมชาติพันธุ์ หลักสูตรการนวดแผนไทย เบื้องต้น หลักสูตรช่างแต่งหน้า - เสริมสวยเบื้องต้น อนุสารอุดมศึกษา


ทั้งนี้ มีประชาชนได้ให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมในหลักสูตรต่างๆ ที่วิทยาลัยชุมชนทั่วประเทศ ดังนี้

12

วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน กิจกรรมการถ่ายทอดความรู้เพื่อการ สืบสานวัฒนธรรมชาติพันธุ์ไทยใหญ่ • การเรียนรู้ชาติพันธุ์ไทยใหญ่ • การร่ายกลอน เสภา และวรรณกรรม ชาติพันธุ์ไทยใหญ่ • การแสดงดนตรีชาติพันธุ์ไทยใหญ่ • การปรุงอาหารชาติพันธุ์ไทยใหญ่ • ชมการแสดงการละเล่นชาติพันธุ์ ไทย ใหญ่ วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น • ปุ๋ยหมักชีวภาพ (๓๐ ชั่วโมง) • การถนอมอาหาร (๓๐ ชั่วโมง) • การนวดแผนไทยเบือ้ งต้น (๒๓ ชัว่ โมง) วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น • การออกแบบเครื่องประดับเพื่ออาชีพ • การสร้างสรรค์วัสดุต่างๆ (งานประดิษฐ์) วิทยาลัยชุมชนสงขลา ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น • การท�ำดอกไม้จันทน์ • การท�ำขนมไทย • การท�ำขนมกลุ่มสตรี

อนุสารอุดมศึกษา

วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี การแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน (๔๐ ชั่วโมง) ขนมไทยพื้นฐาน (๓๐ ชั่วโมง) ภาษาอังกฤษเพื่อบุคลากร เจ้าหน้าที่ และ พนักงานทั่วไปในส�ำนักงาน (๓๐ ชั่วโมง) การขยายพันธุ์พืช (๑๐๐ ชั่วโมง) การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร (๖๐ ชั่วโมง) เทคนิคการเพาะเลี้ยงปลา (๑๕๕ ชั่วโมง) ช่างซ่อมเครื่องยนต์เล็ก (๑๕๐ ชั่วโมง) วิทยาลัยชุมชนระนอง ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้นพัฒนา ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก (๖๐ ชั่วโมง) วิทยาลัยชุมชนน่าน ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น • การเพาะเห็ดฟางกองเตี้ย (๙๐ ชั่วโมง) • การใช้งานอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น (๑๕ ชั่วโมง) • การแสดงพื้นเมืองน่าน (ฟ้อนล่องน่าน) (๓๕ ชั่วโมง) • การนวดฝ่าเท้า (๖๐ ชั่วโมง) • ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจ�ำวัน (๓๐ ชั่วโมง) วิทยาลัยชุมชนหนองบัวล�ำภู ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้นการเพาะเห็ดฟาง กองเตี้ย (๓๐ ชั่วโมง) วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น • การพัฒนาศักยภาพมัคคุเทศก์ท้องถิ่น อาเซียน (๓๐ ชั่วโมง) • การท�ำขนมไทย (๓๐ ชั่วโมง)

วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร การใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปเพือ่ ประมวลผลค�ำ (๔๐ ชั่วโมง) ภาษาไทย - พม่า ระดับ ๑ (๓๐ ชั่วโมง) ภาษาไทย - พม่า ระดับ ๒ (๓๐ ชั่วโมง) ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารภาษา พม่า ระดับ ๓ (๓๐ ชั่วโมง) เทคนิคการถ่ายภาพและตัดต่อวิดีโอ (๔๕ ชั่วโมง) การใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปตารางท�ำการ สเปรดชีท (๓๐ ชั่วโมง) วิทยาลัยชุมชนพิจิตร ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น • การท�ำเบเกอรี่ (ขนมจีบ - ซาลาเปา) • การท�ำน�้ำเต้าหู้ - ปาท่องโก๋ วิทยาลัยชุมชนแพร่ การปลูกและการดูแลรักษาต้นห้อม (๔๐ ชั่วโมง) การปลูกและการดูแลรักษาต้นชา (๔๐ ชั่วโมง) การท�ำปุ๋ยหมัก ชีวภาพ (๔๐ ชั่วโมง)


วิทยาลัยชุมชนยะลา ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น • การท�ำปุ๋ยชีวภาพ • ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก • การผูกผ้า จับจีบผ้า ในงานพิธีต่างๆ • การเพาะเห็ดฟาง • การเย็บผ้าคลุมผมสตรี • การแปรรูปผลิตภัณฑ์ขนม • การจัดดอกไม้ • การตัดซ่อมแซมเสื้อผ้า • การตัดเย็บกระเป๋าลดโลกร้อน วิทยาลัยชุมชนยโสธร ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น • การท�ำกระเป๋าจากเชือกร่ม (๔๕ ชั่วโมง) • การท�ำผลิตภัณฑ์จากผ้าใยบัว (๔๕ ชั่วโมง) วิทยาลัยชุมชนพังงา ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น • เบเกอรี่เบื้องต้น (๓๐ ชั่วโมง) • ช่างแต่งหน้า เสริมสวยเบื้องต้น (๘ ชั่วโมง) • ปุ๋ยหมักชีวภาพ (๑๕ ชั่วโมง)

วิทยาลัยชุมชนตาก ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น • การท�ำยาหม่องสมุนไพร • การท�ำพิมเสนน�้ำลูกกลิ้ง • การผสมเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ • การท�ำซูชิข้าวหอมนิลห่อสาหร่าย หน้าต่างๆ • การท�ำกระเป๋าแฟชั่น (กระเป๋า มือถือและกระเป๋าเครื่องส�ำอาง) • หลักสูตรคอมพิวเตอร์เบื้องต้น (๓๐ ชั่วโมง) • หลักสูตรศิลปะการแต่งโต๊ะด้วยผ้า (๓๐ ชั่วโมง) • หลักสูตรการเลี้ยงโคขุน (๒๔ ชั่วโมง) • หลักสูตรขนมไทย (๓๐ ชั่วโมง) • หลักสูตรการเพาะเห็ดเศรษฐกิจ (๔๐ ชั่วโมง) • หลักสูตรการท�ำไส้กรอกสมุนไพร (๘ ชั่วโมง) • หลักสูตรการท�ำลูกประคบ (๑๕ ชั่วโมง) • หลักสูตรช่างเครื่องปรับอากาศ (๖๐ ชั่วโมง) • หลักสูตรนวดหน้า แต่งหน้า (๔๕ ชั่วโมง) • หลักสูตรภาษาพม่าเพื่อการสื่อสาร (๓๐ ชั่วโมง) • หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (๓๐ ชั่วโมง) วิทยาลัยชุมชนตราด โภชนาการที่ดีสานรักผู้สูงอายุ วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้นการประดิษฐ์ ของช�ำร่วยและการท�ำขนมอบเบเกอรี่

วิทยาลัยชุมชนสตูล ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น • การท�ำเครป • การท�ำผัดไทยเพื่ออาชีพ • การท�ำขนมดอกจอก/ขนมจาก • การท�ำก๋วยเตี๋ยวราดหน้าเพื่ออาชีพ • การท�ำซาลาเปาทอด • การท�ำเบเกอรี่เพื่ออาชีพ • การเพาะเห็ดนางฟ้า • การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า • การท�ำผลิตภัณฑ์น�้ำเห็ดเพื่อสุขภาพ • การท�ำแหนมเห็ด • การสกัดสารก�ำจัดศัตรูพืช • การผลิตปุ๋ยชีวภาพ • การเพาะถั่วงอก • การตลาดออนไลน์ • การท�ำผ้าบาติก • การท�ำว่าวควาย • การจัดดอกไม้สด • การจักสานจากก้านจาก • การนวดฝ่าเท้า • พัฒนาแอพพลิเคชั่นบน inventor2 • การตัดต่อวิดีโออย่างง่าย • โรตี ชาชัก • การท�ำตะลิงปลิงน�้ำพริกเผา • การท�ำน�้ำพริกเห็ด • การท�ำขนมโดนัท • การท�ำกะหรี่ปั๊บ • ผลิตภัณฑ์เชือกร่ม

13

วิทยาลัยชุมชนปัตตานี โครงการเลี้ยงไก่ตอน (๓๐ ชั่วโมง) อนุสารอุดมศึกษา


ของขวัญปีใหม่ ๒๕๕๘ ที่กระทรวงศึกษาธิการมอบให้กับประชาชน ภายใต้ชื่อ ‘เรียนรู้...สู่อาชีพ’ มีจำ�นวน ๕ โครงการ

14

(๑) ครูพระราชทาน...สัญญาณจากฟ้า จัดโดยส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนให้สงู ขึน้ ให้ทกุ โรงเรียนมีครูสอนครบชัน้ สอนตรงตามวิชาเอก และให้ครูได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพ การเรี ย นการสอน รวมถึ ง การประเมิ น ผลโดยไม่ ต ้ อ งทิ้ ง ห้องเรียน ด้วยการให้โรงเรียนขนาดเล็กจัดการเรียนการสอน โดยใช้โทรทัศน์ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) รับสัญญาณจาก โรงเรียนวังไกลกังวล จากนั้นจะมีการขยายผลโครงการฯ ไปสู่ โรงเรียนประถม ขยายโอกาสโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ปรับเปลี่ยนการพัฒนาครู การประชุมมอบนโยบายผู้บริหาร ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และการจัดสอนเสริมผ่านทาง DLTV (๒) กศน. ฝึกอาชีพ ‘หนึ่งคน...หนึ่งอาชีพ’ จัดโดย ส�ำนั ก งานส่ ง เสริ ม การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษา ตามอั ธ ยาศั ย เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาอาชี พ ให้ประชาชนทั่วไปที่ว่างงานและต้องการเข้าสู่อาชีพใหม่ หรือ ผู้ที่ต้องการต่อยอดอาชีพเดิม โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เป็นหลักสูตร ระยะสัน้ ทีเ่ ป็นความต้องการของตลาด สถานทีฝ่ กึ อาชีพ คือ กศน. ต�ำบล/แขวง จ�ำนวน ๗,๔๒๔ แห่งทั่วประเทศ ระยะเวลาการฝึก อาชีพ ระหว่างวันที่ ๕ - ๑๕ มกราคม ๒๕๕๘ (๓) อาชีวะ ซ่อม สร้างเสริม ส่งสุข จัดโดยส�ำนักงานคณะ กรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อให้บริการตรวจซ่อม บ�ำรุงรักษา อุปกรณ์ประกอบอาชีพและเครือ่ งใช้ในครัวเรือนให้กบั ประชาชน สร้างระบบสาธารณูปโภค ศาสนสถาน โรงเรียน สนามกีฬา

อนุสารอุดมศึกษา

ในชุ ม ชนให้ มี ค วามสมบู ร ณ์ ยิ่ ง ขึ้ น เสริ ม สร้ า งการพั ฒ นาอาชี พ โดยการพัฒนาอาชีพเดิม ฝึกอาชีพเสริม และสร้างอาชีพใหม่ และ จัดท�ำหลักสูตรการฝึกอาชีพระยะเวลาตั้งแต่ ๓ - ๗๕ ชั่วโมง และ ส่งสุขโดยการให้บริการตรวจรถพร้อมใช้ ถนนปลอดภัยแน่นอน จ�ำนวน ๑๒๕ จุดทั่วประเทศ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ส�ำหรับ กิจกรรมซ่อม สร้าง และเสริม มีระยะเวลาด�ำเนินการตั้งแต่เดือน มกราคมถึงเดือนสิงหาคม ๒๕๕๘ และกิจกรรมส่งสุข ให้บริการใน ช่วงเทศกาลปีใหม่ (ระหว่างวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๗ - ๕ มกราคม ๒๕๕๘) และเทศกาลสงกรานต์ (ระหว่างวันที่ ๑๑ - ๑๗ เมษายน ๒๕๕๘) (๔) สัปดาห์อาชีวะเอกชน สร้างคน สร้างชาติ จัดโดย ส�ำนั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาเอกชน ซึ่ ง มี ก าร จัดตั้งศูนย์บริการประชาชน ซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า รถจักรยานยนต์ การจัดกิจกรรมจิตอาสา การให้บริการสังคม การบ�ำเพ็ ญ ประโยชน์ และกิ จ กรรมพั ฒ นาสิ่ ง แวดล้ อ มและ สาธารณูปโภค โดยนักเรียนอาชีวศึกษาเอกชนทั่วประเทศ ซึ่งได้ ด�ำเนินการระหว่างวันที่ ๑ - ๗ ธันวาคม ๒๕๕๗ และจะด�ำเนินการ อย่างต่อเนื่องไปตลอดปี ๒๕๕๘ (๕) อุดมศึกษา สร้างความรู้ สร้างอาชีพ สร้างความสุข สู่ชุมชน จัดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีการจัด ฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น โดยวิทยาลัยชุมชน ๒๐ แห่ง เพื่อพัฒนา ทักษะและเสริมสร้างประสบการณ์ด้านอาชีพและด้านคุณภาพชีวิต โครงการดังกล่าวจัดขึ้นส�ำหรับประชาชนทั่วไป ด�ำเนินการตั้งแต่ วันที่ ๕ - ๓๑ มกราคม ๒๕๕๘ (๓๐ - ๑๐๐ ชั่วโมง)


เรื่อง

แนะนำ� ขอแสดงความยินดี

นายสุภัทร จำ�ปาทอง

รองเลขาธิการ กกอ. คนใหม่

ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๗ มีมติเห็นชอบแต่งตั้งนายสุภัทร จ�ำปาทอง ผู้ตรวจราชการ กระทรวงศึกษาธิการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวง ให้ด�ำรงต�ำแหน่ง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทั้งนี้ ตั้งแต่ วันทีท่ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตัง้ เป็นต้นไป เพือ่ ทดแทน ต�ำแหน่งที่ว่าง อนุสารอุดมศึกษาฉบับนี้ ขอน�ำประวัติของนายสุภัทร จ�ำปาทอง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาคนใหม่ มาลงในคอลัมน์เรื่องแนะน�ำ ดังนี้

15

ประวัติ นายสุภัทร จ�ำปาทอง

Mr. Suphat Champatong, Ph.D. วัน เดือน ปีเกิด : ต�ำแหน่งปัจจุบัน :

๑๔ กันยายน ๒๕๐๕ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ สาขา สถาบัน สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) สถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ร.ม.) บริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

อนุสารอุดมศึกษา


ประวัติการรับราชการ เริ่มรับราชการเมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๓๑ ในต�ำแหน่ง สถาปนิก ๓ กองพัฒนาอาคารสถานที่กรมการฝึกหัดครู กระทรวง ศึกษาธิการ โดยมีต�ำแหน่งทางราชการที่ส�ำคัญ ดังนี้ วัน เดือน ปี ต�ำแหน่ง สังกัด ๒๐ ก.พ. ๒๕๔๖ สถาปนิก ๘ วช ส�ำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ ๑๓ ก.ค. ๒๕๔๘ นักวิชาการศึกษา ๘ ว ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ๑๑ เม.ย. ๒๕๕๑ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักประสานและ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ส่งเสริมกิจการอุดมศึกษา ๑๖ พ.ค. ๒๕๕๕ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักมาตรฐานและ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประเมินผลอุดมศึกษา ๒๒ มี.ค. ๒๕๕๖ ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การอุดมศึกษา ๑๑ ธ.ค. ๒๕๕๗ ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ๒๐ ม.ค. ๒๕๕๘ รองเลขาธิการคณะกรรมการ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การอุดมศึกษา

ประวัติการฝึกอบรมที่ส�ำคัญ

16

คุณวุฒิ หลักสูตร สถาบัน ประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน (รุ่นที่ ๗) สถาบันพระปกเกล้า Certificate Regional Labor Market Course The World Bank &The Ministry of for East Asia and Pacific Employment and Labor, Republic of Korea Diploma APEC e-Learning Training Program Asia-Pacific Economic Cooperation (APEC) ประกาศนียบัตร นักบริหารการเงินการคลังภาครัฐระดับสูง (รุ่นที่ ๑) กรมบัญชีกลาง

การศึกษาดูงานต่างประเทศ การศึกษาดูงานและประชุมวิชาการ ประเทศ Building Mechanical System เยอรมนี ฟินแลนด์ การบริหารงานภาครัฐ สเปน ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ เวียดนาม การพัฒนาและใช้ประโยชน์งานวิจัย การบ่มเพาะธุรกิจ และ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย ฟินแลนด์ อิสราเอล การจัดการทรัพย์สินทางปัญญา จีน สิงคโปร์ ไต้หวัน เวียดนาม Work-Intregrated Learning สหรัฐอเมริกา ไต้หวัน การอุดมศึกษา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน อินโดนีเซีย e-Learning เกาหลีใต้

อนุสารอุดมศึกษา


เหตุการณ์

เล่าเรื่อง

นนทรีเกมส์

17

ในโอกาสที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ครบรอบ ๗๒ ปี ของการสถาปนามหาวิทยาลัย และครบรอบ ๓๖ ปี ของการสถาปนาวิทยาเขต ก�ำแพงแสน มหาวิทยาลัยจึงแสดงความจ�ำนงเสนอตัวเป็นเจ้าภาพจัด การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๔๒ ซึ่งทางคณะ กรรมการบริหารกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ได้มีมติในที่ประชุม ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๖ เห็นชอบให้มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๔๒ ตามที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์แจ้งความจ�ำนง โดยการแข่งขัน ในครั้ ง นี้ ใช้ ชื่ อ ว่ า ‘นนทรี เ กมส์ ’ ก�ำหนดจั ด การแข่ ง ขั น ระหว่ า งวั น ที่ ๑๕ - ๒๔ มกราคม ๒๕๕๘ ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต ก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม โดยมีการจัดการแข่งขันกีฬา ๓๓ ชนิดกีฬา คือ กรีฑา ว่ายน�้ำ บาสเกตบอล ฟุตบอล วอลเลย์บอล กอล์ฟ ซอฟต์บอล เซปักตะกร้อ ดาบสากล เทควันโด เทนนิส เทเบิลเทนนิส แบดมินตัน มวยสากล ยิงปืน ยูโด รักบี้ ฟุตบอล ๗, ๑๕ คน ฮอกกี้ วอลเลย์บอลชายหาด เปตอง คาราเต้โด เรือพาย ลีลาศ ฟุตซอล แฮนด์บอล ขีม่ า้ ครอสเวิรด์ บริดจ์ หมากกระดาน ดาบไทย มวยไทยสมัครเล่น ปีนหน้าผา กีฬาทางอากาศ อนุสารอุดมศึกษา


แนวคิดหลักของการจัดการแข่งขัน

ตัวน�ำโชคของการแข่งขัน (mascot)

ประกอบด้วย ๕ ประการ ได้แก่ ‘Green’ คื อ ความเขี ย วขจี บ ริ เวณสนามการ แข่งขัน มีการรักษาสิ่งแวดล้อม ‘Clean’ คือ ความสะอาดของสถานที่ ความ โปร่งใสในการตัดสินกีฬา และการมีน�้ำใจนักกีฬา ‘Safety’ คื อ ความปลอดภั ย ในการแข่ ง ขั น ความเป็นอยู่ อาหาร การเดินทาง ‘Healthy’ คือ การมีสุขภาพกาย ใจที่ดี เน้นการ มีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ‘Wealthy’ คือ นักกีฬา เจ้าหน้าที่ คณะกรรมการ จัดการแข่งขันจะได้รับความสุขตลอดการแข่งขัน

‘แสนรัก’ เป็นโคเนื้อพันธุ์ ก�ำแพงแสน มี ลั ก ษณะนิ สั ย ที่ น ่ า รั ก น่าเอ็นดู แข็งแรง ร่าเริง สนุกสนาน เป็ น มิ ต รกั บ ทุ ก คน จนเป็ น ที่ ม าของ ชื่ อ แสนรั ก โดย ‘แสน’ ได้ ม าจาก ค�ำว่ า ก�ำแพงแสน ส่ ว นค�ำว่ า ‘รั ก ’ ได้มาจากค�ำว่า น่ารัก ซึ่งโคเนื้อพันธุ์ ก�ำแพงแสนเป็นโคที่ทางมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิ ท ยาเขตก�ำแพงแสนได้ ศึ ก ษาค้ น คว้ า วิ จั ย ปรั บ ปรุ ง พั น ธุ ์ ม ายาวนาน จนมี ชื่ อ เสี ย งเป็ น ที่ รู ้ จั ก และได้ รั บ ความนิ ย มจากเกษตรกรอย่ า งแพร่ ห ลาย ใช้ สี เขี ย วเพื่ อ สื่ อ ถึ ง สถาบั น เปลวไฟบนคบเพลิ ง เป็ น ตั ว เลข ๔๒ สื่ อ ถึ ง การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๔๒

สัญลักษณ์ประจ�ำการแข่งขัน (Official Logo)

18

เป็ น การน�ำดอกนนทรี ม าจั ด เป็ น องค์ ป ระกอบ พร้อมกับลายเส้นตัวเลข ๔๒ ที่แสดงการเคลื่อนไหวเพื่อสื่อ ถึงการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๔๒ ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เ ป็ น เจ้ า ภาพ ห่ ว งห้ า ห่ ว ง หมายถึง มิตรภาพและความสามัคคีของสถาบันอุดมศึกษา ทัว่ ประเทศ ๕ กลุม่ ทีเ่ ข้าร่วมการแข่งขันกีฬาครัง้ นี้ สีทใี่ ช้มคี วาม หลากหลายเพื่อสื่อถึงสีสัน ความสนุกสนานที่หลายสถาบัน ได้เข้าร่วมการแข่งขัน สีเหลือง มาจากดอกนนทรี สีเขียว เป็นสีประจ�ำมหาวิทยาลัย สีชมพู มาจากดอกชมพูพันธุ์ทิพย์ สี ฟ ้ า อมเขี ย ว เป็ น สี แ สดงถึ ง ความสมบู ร ณ์ ข องธรรมชาติ ของสถาบัน โดยรวมทัง้ แผ่นน�ำ้ และป่าไม้ สีเทา เป็นสีแห่งความ เป็นกลาง หมายถึง ความเป็นกลางของเจ้าภาพในครั้งนี้

อนุสารอุดมศึกษา

ความส�ำเร็จที่จะเกิดขึ้นในครั้งนี้ ทางมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ อ าศั ย ศั ก ยภาพของ นิสิต นักศึกษา ร่วมกับนักเรียนในโรงเรียนต่างๆ จ�ำนวนมากกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ในการเป็นอาสาสมัครการแข่งขัน ตลอดจนบุคลากร ทางด้านการกีฬาของมหาวิทยาลัย ที่มีประสบการณ์ในการจัดการ แข่งขันกีฬาทั้งในระดับชาติและนานาชาติ และสิ่งที่ส�ำคัญ คือ เครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ ของชุ มชนรอบข้ า งมหาวิ ท ยาลัย ได้แก่ องค์การบริหารส่วนต�ำบล เทศบาลต�ำบล อ�ำเภอ วัด และโรงเรียน ในพื้ น ที่ อ�ำเภอก�ำแพงแสน จั ง หวั ด นครปฐม ภายใต้ โ ครงการ ‘โครงการ ๙ บวร’ (บ้ า น วั ด โรงเรี ย น) ของมหาวิ ท ยาลั ย ฯ ร่วมถึงมหาวิทยาลัยเครือข่ายในเขตภาคกลางตะวันตก จ�ำนวน ๒๔ สถาบัน ในการร่วมเป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันครั้งนี้ และ การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนต่างๆ ดั ง นั้ น การเตรี ย มความพร้ อ มของมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ในการเป็ น เจ้ า ภาพการจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ า มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๔๒ ‘นนทรีเกมส์’ จะเป็น การสร้างมิติของการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย โดยเน้นการ มีส่วนร่วมในกิจกรรมมากกว่าเหรียญรางวัลการแข่งขัน และน�ำ เครือข่ายความร่วมมือกับชุมชนมาสร้างวัฒนธรรมทางด้านการกีฬา ของชาติที่ดีงามสืบต่อไป


เกร็ดกีฬา กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างมหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศไทย โดยเริ่มต้นจัดการ แข่งขันครัง้ แรก เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ทีม่ หาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมการแข่งขัน ๘ มหาวิทยาลัย มีการจัดการแข่งขัน มาแล้วรวม ๓๘ ครั้ง โดยในครั้งที่ ๓๙ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์รับหน้าที่เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน ก่อนปี พ.ศ. ๒๕๐๐ การแข่งขันกีฬาระหว่างมหาวิทยาลัยยังมีไม่มากนัก โดยมีมหาวิทยาลัยทีเ่ ข้าร่วมการแข่งขันเพียง ๕ มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในการแข่งขันในครั้งนั้นยังไม่ได้เรียกว่า กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย รวมทั้งรูปแบบการแข่งขัน ก็ไม่ได้รวมการแข่งขันกีฬาหลายชนิดมาแข่งพร้อมกันอย่างเช่นปัจจุบนั จนกระทัง่ พ.ศ. ๒๕๑๓ ได้มกี ารจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย แห่งประเทศไทยอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเปลี่ยนแปลงรูปแบบการแข่งขันให้มีการรวมเอากีฬา ชนิดต่างๆ มาแข่งพร้อมกันโดยใช้เวลาจัดการแข่งขันประมาณ ๑ สัปดาห์ ในการจัดการแข่งขันครั้งแรกนั้น มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วม ๘ มหาวิทยาลัย ใน ๑๒ ชนิดกีฬา ปัจจุบัน การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทยจัดขึ้นต่อเนื่องเป็นประจ�ำ ซึ่งมหาวิทยาลัย ทีม่ คี วามพร้อมและสมัครใจจะหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน โดยมีส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การสนับสนุน เรื่องงบประมาณในการจัดการแข่งขัน

19

สรุปตารางการแข่งขัน สถาบัน

รวม

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๕๘

๕๗

๕๓

๑๖๘

สถาบันการพลศึกษา

๔๓

๔๒

๔๒

๑๒๗

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

๓๕

๓๒

๕๐

๑๑๗

มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต

๓๐

๑๒

๒๐

๖๒

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

๒๒

๒๐

๒๙

๗๑

มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

๑๙

๑๐

๑๓

๔๒

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

๑๔

๑๘

๓๒

๖๔

มหาวิทยาลัยสยาม

๑๔

๒๙

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

๑๓

๑๗

๔๑

๗๑

มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎร์ธานี

๒๐

ที่มา: เว็บไซต์ http://www.kps.ku.ac.th/nontrigame/ อนุสารอุดมศึกษา


ปิดฉาก 20

๒๔ มกราคม ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็น ประธานในพิธีปิดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๔๒ ‘นนทรีเกมส์’ ณ สนามกีฬากลาง ๑ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน โดยชื่นชมการจัดการแข่งขัน กี ฬ าในครั้ ง นี้ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ เ ป็ น เจ้าภาพ ภายใต้ความร่วมมือ ความพร้อมเพรียง ความสามัคคี ของ ๑๑๑ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ซึ่ ง การจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ า มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย มิไ ด้เน้ นการชิ งชั ย หรื อการ แพ้ ช นะเป็ น หลั ก แต่ จ ะเน้ น การมี น�้ ำ ใจการเป็ น นั ก กี ฬ า เน้นมิตรภาพและความปรองดองเหนือชัยชนะเป็นหลัก นอกจากนี้ แ ล้ ว ทางมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ในฐานะเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ยังได้จัดกิจกรรมให้มีการ แลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมของสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ซึ่งเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า การจัดกิจกรรมในครั้งนี้จะช่วย ปลูกฝังคุณลักษณะเยาวชนไทยอันดีงามในอนาคต

อนุสารอุดมศึกษา

‘นนทรีเกมส์’

ส�ำหรั บ การจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ ามหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ประเทศไทย ครั้ ง ที่ ๔๓ ‘กรั น เกราเกมส์ ’ มหาวิ ท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี ไ ด้ รั บ เกี ย รติ ใ ห้ เ ป็ น เจ้ า ภาพจั ด การแข่ ง ขั น โดย ศาสตราจารย์ ป ระสาท สื บ ค้ า ประธานคณะกรรมการ บริหารกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ก.ก.ม.ท.) ส่งมอบธง คณะกรรมการบริ ห ารกี ฬ ามหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ประเทศไทยให้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ตรีเนตร สาระพงษ์ รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนา นักศึกษา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เจ้าภาพครั้งต่อไป ซึ่งได้ ก�ำหนดจัดแข่งขันในเดือนมกราคม ปี ๒๕๕๙ ชิงชัย ๒๔ ชนิด กีฬา ได้แก่ กรีฑา ว่ายน�้ำ บาสเกตบอล ฟุตบอล วอลเลย์บอล เซปั ก ตะกร้ อ ดาบสากล เทควั น โด เทนนิ ส เทเบิ ล เทนนิ ส แบดมินตัน มวยสากลสมัครเล่น ยิงปืน ยูโด วอลเลย์บอลชายหาด เปตอง เรือพาย ลีลาศ ฟุตซอล ครอสเวิร์ด บริดจ์ หมากกระดาน มวยไทยสมัครเล่น และบีบีกัน เป็นกีฬาสาธิต โดยมีมาสคอต การแข่งขันเป็นปลาบึก ที่มีชื่อว่า ‘บึกบึน’ และ ‘บัวบาน’ พบกันที่ ‘กรันเกราเกมส์’


เล่าเรื่อง

ด้วยภาพ ๗ มกราคม ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมงาน ฉลองวั น เด็ ก แห่ ง ชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ และน�ำเด็ ก และ เยาวชนดีเด่นเข้าเยี่ยมคารวะพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เนื่องในโอกาสวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ โดยมีพลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ นายกฤษณพงศ์ กีรติกร และพลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และผูบ้ ริหารกระทรวง ศึกษาธิการ เข้าร่วม ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบรัฐบาล

21

๑๔ มกราคม ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์ คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ ประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมด้วยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และผู้บริหารส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมรับฟังการบรรยายพิเศษในหัวข้อ ‘นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการปฏิรูป ประเทศ’ จากนายพิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนการประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา ครั้งที่ ๑/๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน อนุสารอุดมศึกษา


๑๔ มกราคม ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมด้วย ผู้บริหารส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มอบกระเช้าสวัสดีปีใหม่แก่รองศาสตราจารย์ คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ ประธาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา เนื่องในโอกาสขึ้นปีใหม่ ๒๕๕๘ ณ ห้องประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

22

๕ มกราคม ๒๕๕๘ - นายสุภัทร จ�ำปาทอง ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ รักษาราชการแทน รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมด้วย ผูบ้ ริหารส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มอบกระเช้า สวัสดีปีใหม่แก่รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และนางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เนือ่ งใน โอกาสขึ้นปีใหม่ ๒๕๕๘ และรับกระเช้าสวัสดีปีใหม่จาก ผูบ้ ริหารส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ณ ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา อนุสารอุดมศึกษา


๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๘ - นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้ อ มด้ ว ยผู ้ บ ริ ห าร ข้ า ราชการ และเจ้ า หน้ า ที่ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมท�ำบุญ ใส่ บ าตร และร่ ว มงานสุ ข สั น ต์ วั น ปี ใ หม่ ๒๕๕๘ ของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีพลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายกฤษณพงศ์ กี ร ติ ก ร และพลเอก สุ ร เชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมงาน ณ กระทรวงศึกษาธิการ

23

๒๒ มกราคม ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมด้วยนางสาว อาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ นายสุภัทร จ�ำปาทอง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลี้ ย งรั บ รองอาหารกลางวั น เพื่ อ เลี้ ย งต้ อ นรั บ H.E. Mr.Paul Robilliard เอกอัครราชทูตออสเตรเลียประจ�ำประเทศไทยคนใหม่ เพือ่ ส่งเสริมและกระชับความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างผูบ้ ริหารทัง้ สองฝ่าย ณ ห้องอาหารจีนหลินฟ้า โรงแรม เดอะ สุโกศล

๒๐ มกราคม ๒๕๕๘ - นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ต้ อ นรั บ Mr.Hajime Onga เลขานุการเอก สถานเอกอัครราชทูต ญีป่ นุ่ ประจ�ำประเทศไทย ในโอกาสเข้าเยีย่ มคารวะและหารือ ข้อราชการ ณ ห้องประชุมบริหาร ชั้น ๓

อนุสารอุดมศึกษา


ค่านิยม

๑๒ ประการ

หนึ่งรักชาติศาสนาพระมหากษัตริย์ สองซื่อสัตย์เสียสละอดทนได้ สามกตัญญูพ่อแม่สุดหัวใจ สี่มุ่งใฝ่เล่าเรียนเพียรวิชา ห้ารักษาวัฒนธรรมประจ�ำชาติ หกไม่ขาดศีลธรรมศาสนา เจ็ดเรียนรู้อธิปไตยของประชา แปดรักษาวินัยกฎหมายไทย เก้าปฏิบัติตามพระราชด�ำรัส สิบไม่ขาดพอเพียงเลี้ยงชีพได้ สิบเอ็ดต้องเข้มแข็งทั้งกายใจ สิบสองไซร้คิดอะไรให้ส่วนรวม

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

LOGO

เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ http://www.mua.go.th pr_mua@mua.go.th www.facebook.com/ohecthailand www.twitter.com/ohec_th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.