อนุสารอุดมศึกษา issue 443

Page 1

อุดมศึกษา อนุสาร

LOGO

ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๔๔๓ ประจำ�เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๘

เอกสารเผยแพร่ของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ISSN 0125-2461

อนุสารอุดมศึกษาออนไลน์ www.mua.go.th/pr_web


สารบัญ

CONTENT

ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๔๔๓ ประจำ�เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๘

เรื่องเล่าอุดมศึกษา

กกอ. เห็นชอบทีคิวเอฟเภสัชศาสตร์ Measurement of University Internationalisation Forum พัฒนามาตรฐานการเรียนการสอนภาษาไทยในกลุ่มประเทศอาเซียนบวกสาม ปัจฉิมนิเทศครูอาสาสมัครชาวจีน

เรื่องเล่าอาเซียน การประชุมสภาซีเมค ครั้งที่ ๔๘

เรื่องพิเศษ การประชุมรัฐมนตรีศึกษาเอเชีย-ยุโรป ครั้งที่ ๕

เรื่องแนะนำ�

๗ ๑๑ ๑๕

ขอแสดงความยินดี ‘รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม’ รองเลขาธิการ กกอ. คนใหม่

เหตุการณ์เล่าเรื่อง

๑๗

สกอ. ระดมประชาคมอุดมศึกษา ช่วยภัยแผ่นดินไหวที่ประเทศเนปาล

๑๕

๑๗

เล่าเรื่องด้วยภาพ

๒๐

คณะผู้จัดทำ�

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ http://www.mua.go.th pr_mua@mua.go.th www.facebook.com/ohecthailand www.twitter.com/ohec_th ที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ นายสุภัทร จำ�ปาทอง นายขจร จิตสุขุมมงคล นายศิระวิทย์ คลี่สุวรรณ บรรณาธิการ นายกฤษณ์กร วงศ์ไทย กองบรรณาธิการ นางสาวปิยาณี วิริยานนท์ นางชุลีกร กิตติก้อง นายเจษฎา วณิชชากร นางปราณี ชื่นอารมณ์ นายจรัส เล็กเกาะทวด พิมพ์ที่ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๔๓๓ ๒๗๔๒


เรื่องเล่า

อุดมศึกษา

กกอ. เห็นชอบทีคิวเอฟเภสัชศาสตร์ รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะ กรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยหลังจากการประชุมคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๖/๒๕๕๘ ว่า ทีป่ ระชุมได้พจิ ารณาให้ความเห็นชอบ (ร่าง) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับ ปริญญาตรี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘ (หลักสูตรหกปี) ซึง่ ประกอบ ด้วย ๒ กลุม่ สาขาวิชา คือ สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการและสาขา วิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม มีโครงสร้างหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต จ�ำนวนหน่วยกิตรวมไม่นอ้ ยกว่า ๒๒๐ หน่วยกิต โดยประกาศดังกล่าว ก�ำหนดคุณลักษณะของบัณฑิตทีพ่ งึ ประสงค์ ๗ ข้อ คือ (๑) มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ และเจตคติที่ดี เหมาะสมต่อการประกอบ วิชาชีพเภสัชกรรม อุทศิ ตน เสียสละ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม (๒) มีความรูค้ วามสามารถในการประยุกต์และบูรณาการหลักการและ ทฤษฎีทางเภสัชศาสตร์ในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมให้เป็นไปตาม มาตรฐานวิชาชีพของแต่ละสาขาวิชา (๓) สามารถคิดวิเคราะห์และ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและมีวิจารณญาณบนหลักฐานทางวิชาการ รวมทัง้ มีความสามารถด้านการวิจยั (๔) เป็นแบบอย่างทีด่ แี ละเป็นทีพ่ งึ่ ของสังคมด้านยาและสุขภาพ (๕) มีความใฝ่รแู้ ละมีความสามารถในการ เรียนรูต้ ลอดชีวติ (๖) มีภาวะผูน้ �ำ สามารถท�ำงานเป็นทีมและพร้อมน�ำ การเปลีย่ นแปลง และ (๗) มีความสามารถในการสือ่ สารและใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างเหมาะสมและเป็นสากล

เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อไปว่า ในการจัดการศึกษา หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาเภสัชศาสตร์ (หลักสูตรหกปี) ต้องมี มาตรฐานไม่นอ้ ยกว่ามาตรฐานคุณวุฒฉิ บับนี้ ซึง่ มุง่ ให้เกิดมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ ๖ ด้าน คือ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้าน ทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านทักษะการปฏิบตั ทิ างวิชาชีพ ทัง้ นี้ สถาบันอุดมศึกษาใดจัดการศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขา เภสัชศาสตร์ (หลักสูตรหกปี) ต้องปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตาม มาตรฐานคุณวุฒิฉบับนี้ ภายในปีการศึกษา ๒๕๖๐ สิ่งส�ำคัญคือ สถาบันอุดมศึกษาต้องเสนอรายละเอียดของหลักสูตร ซึง่ สภาสถาบัน อุดมศึกษาอนุมตั ใิ ห้เปิดสอนแล้วให้สภาเภสัชกรรมให้ความเห็นชอบ ก่อนทีจ่ ะเสนอส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่สภาเภสัชกรรมเห็นชอบ

3

อนุสารอุดมศึกษา


Measurement of University Internationalisation Forum 4

๘ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - ส�ำนั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา จัดการประชุม ‘Measurement of University Internationalisation Forum’ ณ ห้องประชุมบอลรูม เอ-บี โรงแรมอมารี วอเตอร์เกท เพื่อน�ำเสนอผลการด�ำเนินโครงการ พัฒนารูปแบบและเครื่องมือส�ำหรับวัดหรือติดตามความก้าวหน้า ในการด�ำเนินงานสู่ความเป็นสากลของสถาบันอุดมศึกษาไทย โดย ได้รบั เกียรติจากรองศาสตราจารย์พนิ ติ ิ รตะนานุกลู เลขาธิการคณะ กรรมการการอุดมศึกษา และ Mrs. Luisa Ragher, Deputy Head of EU Delegation to Thailand ร่วมเป็นประธานกล่าวเปิดงาน รวมทั้งมีผู้บริหารและผู้แทนของสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วมการ ประชุม รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะ กรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า การจัดประชุมดังกล่าวเป็นการ ด�ำเนินงานภายใต้โครงการ Thailand-EU Policy Dialogues Support Facility (PDSF) โดยสหภาพยุโรปได้สรรหาผู้เชี่ยวชาญ มาร่วมด�ำเนินงานแบ่งเป็น ๔ ด้าน ได้แก่ (๑) การส่งเสริมความเป็น สากลของการอุดมศึกษาไทย (๒) การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา (๓) การพัฒนากรอบสมรรถนะวิชาชีพของบุคลากร อุดมศึกษา และ (๔) การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรูก้ บั การ ท�ำงาน ส�ำหรับการส่งเสริมความเป็นสากลของการอุดมศึกษาไทย

อนุสารอุดมศึกษา

สกอ. ได้ ด�ำเนิ น งานด้ า น Internationalisation Policy & Strategy–Measurement of University Internationalisation Performance and Relative Improvement โดย Mr. Darren McDermott ผู้เชี่ยวชาญจาก EU ได้มาปฏิบัติงานร่วมกับ สกอ. ในช่วงเดือนมกราคม - พฤษภาคม ๒๕๕๘ ในการประชุมครัง้ นี้ Mr. Darren McDermott ได้น�ำเสนอ ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนารูปแบบและเครื่องมือส�ำหรับวัด หรือติดตามความก้าวหน้าในการด�ำเนินงานสู่ความเป็นสากลของ สถาบันอุดมศึกษาไทย ซึ่งสรุปได้ว่า การด�ำเนินงานด้านความเป็น สากลของสถาบันอุดมศึกษาสามารถแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่มด้วยกัน ได้แก่ กลุ่มที่ก�ำลังอยู่ในระยะเริ่มพัฒนาการด�ำเนินงานด้านความ เป็นสากล กลุ่มที่มีการด�ำเนินงานด้านความเป็นสากลอยู่บ้างแล้ว และกลุ่มที่มีความก้าวหน้าในการด�ำเนินงานด้านความเป็นสากล แต่ส่วนใหญ่ยังไม่ได้มีการติดตามประเมินผลอย่างจริงจัง ส�ำหรับ ข้อจ�ำกัดในการด�ำเนินงานสู่ความเป็นสากลที่พบมากที่สุด คือ เรื่องของภาษา งบประมาณ และขาดการสนับสนุนจากรัฐ ทั้งนี้ ผูเ้ ชีย่ วชาญ EU ได้ให้ขอ้ เสนอแนะไว้วา่ สถาบันอุดมศึกษาควรมีการ ติดตามประเมินผลในเชิงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง สกอ. และสถาบัน อุดมศึกษาควรท�ำงานร่วมกันในลักษณะ Community of Practice เพื่อร่วมกันก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ รวมถึงให้มีการแลกเปลี่ยน แนวปฏิบตั ทิ ดี่ ใี นการด�ำเนินงานเพือ่ มุง่ สูค่ วามเป็นสากลทีส่ อดคล้อง กับบริบทของการอุดมศึกษาไทย


พัฒนามาตรฐาน การเรียนการสอนภาษาไทยในกลุ่มประเทศอาเซียนบวกสาม ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา จัดการประชุมระหว่างประเทศเพื่อพัฒนามาตรฐาน การเรียนการสอนภาษาไทยในสถาบันอุดมศึกษาของกลุ่มประเทศ อาเซียนบวกสาม ณ โรงแรมแมนดาริน โดยได้รบั เกียรติจากนางสาว อาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุม นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กล่าวว่า ภาษา คือ มิตทิ มี่ คี วามส�ำคัญมากต่อการ ปฏิสมั พันธ์ของประชาคมโลก แม้จะมีความใกล้ชดิ กันทางภูมศิ าสตร์ แต่ประเทศไทยและประเทศเพือ่ นบ้านอย่างประเทศสมาชิกอาเซียน และมิตรประเทศ ทัง้ จีน เกาหลี และญีป่ นุ่ ยังคงความเป็นเอกลักษณ์ ด้านภาษาของตนเอง อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีทที่ นั สมัยช่วยให้การ ติดต่อสื่อสารและการแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรมเป็นไปได้ สะดวกและเกิดพลวัตของสังคมยุคโลกาภิวตั น์ทดี่ งึ ดูดให้ผคู้ นต้องการ เรียนรู้ซึ่งกันและกัน และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากขึ้นในฐานะ สมาชิกของประชาคมโลก รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า ความส�ำคัญของ การยกระดั บ ภาษาไทยให้เป็น ภาษาเศรษฐกิจของภูมิภ าคเพื่ อ ขับเคลือ่ นประชาคมอาเซียน มีอยู่ ๓ ประการ ดังนี้ ประการแรก การสร้างพื้นที่และส่งเสริมความเข้มแข็งให้ภาษาไทย หรือการท�ำให้ภาษาไทยเป็นที่รู้จักและเป็นภาษา หลักภาษาหนึ่งในภูมิภาค เพื่อเป็นตัวเชื่อมให้ ผูค้ นได้รจู้ กั และเรียนรูภ้ าษาและวัฒนธรรมไทย อันจะน�ำไปสูเ่ ป้าหมายสูงสุด คือ การสร้างความรู้ ความเข้าใจอันดีระหว่างคนไทยและเพื่อนบ้าน ความท้าทายทีต่ อ้ งร่วมกันหาทางออก คือ จะท�ำ อย่างไรให้การเรียนการสอนภาษาไทยมีคณ ุ ภาพและมี

มาตรฐาน ไม่วา่ การเรียนรูน้ นั้ จะเกิดขึน้ ทีป่ ระเทศใดหรือภายใต้บริบทใด นี่คือภารกิจที่เราตั้งเป้าหมายที่จะบรรลุร่วมกันในการประชุมครั้งนี้ ประการที่สอง การสร้างโอกาสและศักยภาพให้แรงงาน นอกจาก นายจ้างไทยจะต้องการแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพแล้ว การมีความ สามารถในการสื่อสารภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพจะสร้างมูลค่า เพิ่มให้กับแรงงาน นอกจากนี้ การที่แรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน สามารถสือ่ สารภาษาไทยได้อย่างทัดเทียมกับเจ้าของภาษายังเป็นการ 5 สร้างความกลมกลืนและความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของกันและกัน ซึง่ เป็น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน และ ประการทีส่ าม การสร้างเครือข่ายครูผสู้ อนภาษาไทย การมีเครือข่าย ครูผสู้ อนภาษาไทยในประเทศต่างๆ จะท�ำให้เกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ระหว่างผูม้ ปี ระสบการณ์สอน มีโอกาสได้รว่ มกันสร้างแนวทางทีพ่ ร้อม น�ำไปปฏิบตั ิ เกิดนวัตกรรม เกิดการแข่งขัน เพือ่ น�ำไปสูก่ ารพัฒนาและ การสัง่ สมความเชีย่ วชาญในองค์ความรูท้ ไี่ ม่มวี นั สิน้ สุด เครือข่ายจะมี พัฒนาการทัง้ ในแนวดิง่ และแนวระนาบ คือ ความลึกล�ำ้ ขององค์ความรู้ และการแผ่ขยายเครือข่ายบุคลากรด้านการสอนภาษาไทยในแต่ละ ประเทศ ดังนั้น เครือข่ายจึงเป็นกลไกส�ำคัญในการพัฒนาการเรียน การสอนภาษาไทยอย่างยัง่ ยืน “สกอ. หวังว่าระบบการศึกษาและบุคลากรด้านการ สอนจะมีบทบาทส�ำคัญในการสนับสนุนให้เยาวชน สามารถสือ่ สารและมีปฏิสมั พันธ์กบั ผูค้ นทีม่ าจาก ต่างชาติ ต่างภาษา และมีที่มาที่หลากหลาย และประเทศไทยจะก้าวไปข้างหน้าพร้อมๆ กับ มิตรประเทศที่มารวมตัวกัน ส่งผลให้เยาวชน คนรุ่นใหม่จะอยู่ร่วมกันอย่างเข้าใจและด้วย ความเกื้อกูล” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวใน ตอนท้าย อนุสารอุดมศึกษา


ปัจฉิมนิเทศ

ครูอาสาสมัครชาวจีน

6

๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - ส�ำนั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา จัดงานปัจฉิมนิเทศครูอาสาสมัครชาวจีน ประจ�ำปี การศึกษา ๒๕๕๗ (กลุ่มที่ ๒) โดยได้รับเกียรติจากนางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธาน เปิดงาน และมาดามซุน หลิง (Sun Ling) ผู้แทนส�ำนักงานส่งเสริม การเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติประจ�ำประเทศไทย คณาจารย์ และครูอาสาสมัครชาวจีน ร่วมงาน ณ โรงแรมรัชดาซิตี้ นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา กล่าวว่า โครงการครูอาสาสมัครชาวจีนในประเทศไทยได้ ด�ำเนินการมาเป็นเวลากว่าสิบปีแล้วและประสบความส�ำเร็จเป็นอย่าง ดียงิ่ ด้วยความร่วมมือร่วมใจของทุกหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งความเสียสละของครูอาสาสมัครชาวจีนที่มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ ในการมาปฏิบตั หิ น้าทีส่ อนภาษาจีนในโรงเรียน สถานศึกษา และสถาบัน อุดมศึกษาไทย ท�ำให้การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยเป็นไป อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันครูอาสาสมัครก็ได้ มีโอกาสเรียนรู้วิถีความเป็นอยู่และวัฒนธรรมไทย ซึ่งเป็นการเพิ่มพูน ประสบการณ์ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการท�ำงานของครูอาสาสมัคร ในอนาคต อนุสารอุดมศึกษา

“การเรียนภาษาจากเจ้าของภาษานั้นเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะ ช่วยให้ผเู้ รียนได้คนุ้ ชินกับการออกเสียงทีถ่ กู ต้องและพัฒนาการเรียน ภาษาของตนเองได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น นับเป็นโอกาสดีที่นักเรียน นักศึกษาไทยได้เรียนรู้เทคนิคการเรียนภาษาจีนจากครูอาสาสมัคร ชาวจีน ซึง่ เป็นเจ้าของภาษาโดยตรง นอกจากนี้ นักเรียน นักศึกษาไทย ยังมีโอกาสได้เรียนรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมของจีน ซึ่งสะท้อนถึง รากฐานและความคิดของชาวจีนผู้เป็นเจ้าของภาษา อันจะเป็น ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ภาษาจีนในเชิงลึกของนักเรียนนักศึกษาไทย ต่อไป” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า ต้องขอชืน่ ชมการปฏิบตั ิ งานของครูอาสาสมัคร ที่เป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาการเรียน ภาษาจีนของนักเรียน นักศึกษาไทย และหวังว่าการปฏิบัติหน้าที่ และการใช้ ชี วิ ต ในประเทศไทยจะช่ ว ยเสริ ม สร้ า งประสบการณ์ การสอนและความเข้าใจอันดีเกีย่ วกับสังคมและวัฒนธรรมไทยให้แก่ ครูอาสาสมัคร และคงมีโอกาสต้อนรับครูอาสาสมัครกลับมาเยือน ประเทศไทยอีก และหวังว่าโครงการที่เป็นประโยชน์และพัฒนา ความสัมพันธ์อันดีระหว่างจีนและไทยนี้จะได้รับการสนับสนุนอย่าง ต่อเนือ่ งจากหน่วยงานทัง้ ฝ่ายจีนและฝ่ายไทยต่อไป


เรื่องเล่า

อาเซียน

ข้อมูล : ส�ำนักความสัมพันธ์ตา่ งประเทศ สป.ศธ.

การประชุมสภาซีเมค ครั้งที่ ๔๘ การประชุมสภารัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ หรือการประชุมสภาซีเมค (Southeast Asian Ministers of Education Council Conference: SEAMEC) เป็นการประชุมของ กลุม่ ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วย รัฐมนตรีศกึ ษา ของประเทศสมาชิก ๑๑ ประเทศ คือ บรูไนดารุสซาลาม มาเลเซีย กัมพูชา อินโดนีเซีย สปป. ลาว เมียนมาร์ ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ ไทย ติมอร์ - เลสเต และเวียดนาม ประเทศสมาชิกสมทบ ๘ ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา ฝรัง่ เศส เยอรมนี นิวซีแลนด์ เนเธอร์แลนด์ สเปน และสหราชอาณาจักร หน่วยงานทีเ่ ป็นสมาชิกสมทบ ๓ แห่ง คือ สภาระหว่างประเทศด้านการศึกษาทางไกล (International Council on Distance Education: ICDE) มหาวิทยาลัย Tsukuba และบริตชิ เคาน์ซลิ การประชุมสภาซีเมค มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ร่วมกันก�ำหนด นโยบายภายใต้กรอบความร่วมมือซีมีโอ รับทราบความก้าวหน้า ผลส�ำเร็จ และปัญหาอุปสรรคในการด�ำเนินงาน กิจกรรม และ โครงการขององค์การซีมีโอและศูนย์ระดับภูมิภาคของซีมีโอในปีที่ ผ่านมา พิจารณาอนุมตั งิ บประมาณค่าใช้จา่ ยของส�ำนักงานเลขาธิการ ซีมโี อ พร้อมทัง้ พิจารณาแนวทางในการพัฒนาความร่วมมือทางการ ศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมระหว่างประเทศสมาชิกซีมีโอ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดทางด้านการศึกษาในภูมภิ าค ทัง้ นี้ นับตัง้ แต่ ก่อตั้งองค์การได้ก�ำหนดให้มีการประชุมทุกปี โดยประเทศสมาชิก จะผลัดกันเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมในประเทศของตน อย่างไรก็ตาม

เมื่อการประชุมสภาซีเมค ครั้งที่ ๔๖ ในปี ๒๕๕๔ ที่ประเทศบรูไน ดารุสซาลาม ได้มมี ติเห็นชอบให้มกี ารขยายวาระการด�ำรงต�ำแหน่งของ ประธานสภาซีเมค จากเดิม ๑ ปี เป็น ๒ ปี จึงส่งผลต่อก�ำหนดการจัด ประชุมสภาซีเมค เป็นทุก ๒ ปี ประเทศไทย โดยกระทรวงศึกษาธิการเป็นเจ้าภาพจัดการ ประชุมสภาซีเมค ครัง้ ที่ ๔๘ ระหว่างวันที่ ๖ - ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรม Royal Cliff Grand เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี มีผเู้ ข้าประชุม จ�ำนวน ๒๑๐ คน ประกอบด้วย รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ และผูแ้ ทนจากประเทศสมาชิกซีมโี อ สมาชิกสมทบ หน่วยงานทีเ่ ป็น สมาชิกสมทบ ศูนย์/เครือข่ายระดับภูมิภาคของซีมีโอ ส�ำนักงาน เลขาธิการซีมีโอ รวมทั้งเจ้าหน้าที่และผู้สังเกตการณ์จากองค์การ ระหว่างประเทศและองค์กรทีเ่ ป็นหุน้ ส่วนความร่วมมือ โดยมีผบู้ ริหาร ของกระทรวงศึกษาธิการ อาทิ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รองศาสตราจารย์พนิ ติ ิ รตะนานุกลู เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา นายกมล รอดคล้าย เลขาธิกิ าร คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน นายชัยพฤกษ์ เสรีรกั ษ์ เลขาธิการ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา และผูต้ รวจราชการ ตลอดจนผูบ้ ริหาร ของกระทรวงศึกษาธิการ เข้าร่วมในพิธเี ปิดและการประชุมครัง้ นี้ ทัง้ นี้ การเป็นเจ้าภาพจัดประชุมดังกล่าว จะเป็นการผลักดันให้ประเทศไทย มี บ ทบาทมากขึ้ น ต่ อ การก�ำหนดยุ ท ธศาสตร์ แ ละข้ อ ริ เริ่ ม ใหม่ ๆ เพือ่ ด�ำเนินกิจกรรมและโครงการด้านการศึกษาทีเ่ ป็นประโยชน์ทงั้ ต่อ ประเทศไทยและประเทศสมาชิกซีมโี อในอนาคต

7

อนุสารอุดมศึกษา


8

การประชุมครั้งนี้เป็นเวทีที่ประเทศสมาชิกจะได้ร่วมกัน ก�ำหนดนโยบายและทิศทางการด�ำเนินงานในอนาคตเพื่อขับเคลื่อน ความร่วมมือด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมของภูมิภาค โดยเชื่อมั่นว่าตลอดการประชุมสภาซีเมค รวมถึงการประชุมโต๊ะกลม ระดับรัฐมนตรี จะสามารถสะท้อนพลังแห่งภูมิปัญญาและความมุ่งมั่น ที่สมาชิกสภาซีเมคจะได้แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและก�ำหนดยุทธศาสตร์ การด�ำเนินงานในอนาคต ทั้งนี้ กระทรวงศึกษาธิการไทยตระหนัก ถึ ง การด�ำเนิ น ความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก ารระหว่ า งประเทศและซี มี โ อ เพือ่ พัฒนาการศึกษาของชาติและภูมภิ าค รวมทัง้ ประสานความร่วมมือ ทัง้ ในระดับพหุภาคีและทวิภาคีกบั ประเทศต่างๆ โดยเฉพาะการพัฒนา ให้พลเมืองของชาติและเยาวชนในยุคปัจจุบันให้สามารถด�ำรงชีวิตใน สังคมดิจทิ ลั และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์ต่อสังคมในองค์รวม นอกจากนี้ ยังให้ความส�ำคัญ ต่อการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มีคุณธรรม มีความรู้ความสามารถ มีทักษะชีวิตและสังคมที่เหมาะสม เป็นพลเมืองของชาติที่พร้อมก้าว สู่การเป็นประชาคมของภูมิภาคในปัจจุบันและเป็นพลเมืองของโลก ในอนาคต พลเรือเอก ณรงค์ พิพฒ ั นาศัย รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ การเปิดประชุมสภาซีเมค ครัง้ ที่ ๔๘

อนุสารอุดมศึกษา


การประชุมเต็มคณะ Plenary Session พลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการของไทย ได้รับเลือกให้ด�ำรงต�ำแหน่งประธานสภาซีเมค และประธานการประชุมสภาซีเมค ครั้งที่ ๔๘ มีวาระ ๒ ปี ต่อจาก H.E. Prof. Dr. Pham Vu Luan รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ และฝึกอบรมของเวียดนาม และ H.E. Dr. Anies Rasyid Baswedan รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมของอินโดนีเซีย ได้รบั เลือกให้ด�ำรงต�ำแหน่งรองประธานสภาซีเมคและรองประธานการ ประชุมสภาซีเมค ครัง้ ที่ ๔๘ โดยรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการไทย ได้กล่าวในโอกาสที่ได้รับเลือกให้ด�ำรงต�ำแหน่งครั้งนี้ว่า จะสานต่อ การด�ำเนินงานในกรอบซีมโี อเพือ่ สร้างภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ให้เป็นภูมิภาคที่มีพลวัตและเป็นกลไกส�ำคัญต่อการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ของภูมิภาค พร้อมทั้งได้ย�้ำถึงเจตนารมณ์ที่จะได้ร่วมมือกับ ประเทศสมาชิก ส�ำนักงานเลขาธิการซีมโี อ ศูนย์ระดับภูมภิ าคของซีมโี อ และเครือข่าย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาการด�ำเนินงาน ของซีมีโอให้มีความเข้มแข็ง มีประสิทธิภาพ และเป็นกลไกส�ำคัญ ในการพัฒนาการศึกษาของประเทศสมาชิกซีมีโอของภูมิภาคอย่าง ต่อเนือ่ งสืบไป สาระส�ำคัญของการประชุมเต็มคณะ • การรับทราบความก้าวหน้าข้อริเริ่มต่างๆ และสรุป ข้อตกลงจากการประชุมผู้อ�ำนวยการศูนย์ระดับภูมิภาคของซีมีโอ ปี ๒๕๕๗ และการติดตามผลการด�ำเนินงานทีเ่ กีย่ วข้องของศูนย์ระดับ ภูมภิ าคของซีมโี อ • การรับทราบและให้ความเห็นชอบสถานะและการใช้ ประโยชน์จากเงินบริจาคโดยสมาชิกสมทบ และประเทศไทยมอบให้แก่ ส�ำนักงานเลขาธิการซีมีโอ สถานะของเงินกองทุนเพื่อการพัฒนาการ ศึกษาของซีมโี อ • การพิจารณาอนุมัติงบประมาณราย ๓ ปี ของซีมีโอ ระหว่างปี ๒๕๕๘/๒๕๕๙ ถึงปี ๒๕๖๐/๒๕๖๑ และงบประมาณพัฒนา บุคลากร จนถึงวันที่ ๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๕๙

• การรับทราบความก้าวหน้าการด�ำเนินโครงการ และกิจกรรมของซีมีโอ ศูนย์ระดับภูมิภาค และที่ด�ำเนินการร่วม กับองค์การระหว่างประเทศ ภาคีเครือข่าย และหุ้นส่วนความ ร่วมมือ อาทิ การด�ำเนินโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปีของ ซีมโี อ การพัฒนาปรับปรุงการจัดท�ำฐานข้อมูลด้านการศึกษาของ ประเทศสมาชิกซีมโี อ โครงการการมีสว่ นร่วมของชุมชนของซีมโี อ การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการศึกษาขั้นพื้นฐานของซีมีโอ การประชุมการศึกษาและการพัฒนาระดับภูมิภาคว่าด้วยวาระ การศึกษาภายหลังปี ๒๕๕๘ และภายหลังการศึกษาเพื่อปวงชน ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การด�ำเนินโครงการ SEAMEO College เพือ่ พัฒนาการศึกษาในทุกระดับ การด�ำเนินงานพัฒนา ตามข้อเสนอแนะที่ได้จากการประชุมหารือเชิงยุทธศาสตร์ระดับ รัฐมนตรีศึกษาของซีมีโอ การประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยการ เสริมสร้างสมรรถนะขององค์การซีมโี อ การด�ำเนินกิจกรรมระดับ ภูมภิ าคในโอกาสครบรอบ ๕๐ ปี องค์การซีมโี อ โครงการความร่วมมือ ระหว่างซีมีโอ และเยอรมนีเกี่ยวกับสุขภาพในโรงเรียน โครงการ ความร่วมมือระหว่างซีมีโอและสหราชอาณาจักรในโครงการ วิจัยด้านการศึกษา รวมถึงโครงการเสริมสร้างความร่วมมือและ กิจกรรมการพัฒนากับกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม การกีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของญี่ปุ่น มหาวิทยาลัย Tsukuba ศูนย์อาเซียน-จีน ธนาคารเพือ่ การพัฒนาแห่งเอเชีย ยูเนสโก และ ยูนเิ ซฟ เป็นต้น ภายหลังเสร็จสิน้ การประชุมเต็มคณะ รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงศึกษาธิการไทย ในฐานะประธานสภาซีเมคและประธาน การประชุมสภาซีเมค ครั้งที่ ๔๘ ได้กล่าวปิดการประชุมครั้งนี้ โดยขอบคุ ณ สมาชิ ก สภาซี เ มคที่ มี ส ่ ว นร่ ว มในการอภิ ป ราย ให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ อันจะน�ำไปสู่การพัฒนาเพื่อให้ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เจริญรุ่งเรืองและยั่งยืนต่อไป

9

อนุสารอุดมศึกษา


การประชุมโต๊ะกลมระดับรัฐมนตรี หัวข้อ ‘ซีมีโอในทศวรรษหน้า’ Ministerial Round-Table Meeting on SEAMEO in the Next Decade

10

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย ในฐานะ ประธานสภาซีเมค ได้กล่าวน�ำในการประชุมถึงความมุ่งมั่นของ องค์การซีมโี อในการพัฒนาและปรับเปลีย่ นแนวทางการท�ำงานให้กา้ ว ทันกระแสโลกมาโดยตลอด รวมทัง้ พยายามก�ำหนดวิสยั ทัศน์ในการ มองไปข้างหน้า ซึง่ นับได้วา่ เป็นเรือ่ งทีด่ ี อย่างไรก็ตาม ในการประชุม โต๊ะกลมหัวข้อ ‘ซีมีโอในทศวรรษหน้า’ จะเน้นการมองไปข้างหน้า เพือ่ ส่งเสริมการท�ำงานขององค์การ โดยกรอบการหารือเชิงนโยบาย ในครัง้ นีอ้ า้ งอิงตาม ๗ ประเด็น ซึง่ ทีป่ ระชุมหารือเชิงยุทธศาสตร์ระดับ รัฐมนตรีศึกษาของซีมีโอ ได้เห็นพ้องร่วมกันเมื่อคราวการประชุม ในเดือนกันยายน ๒๕๕๗ ที่ สปป. ลาว ดังนี้ ๑) การส่งเสริมการจัดการศึกษาและการดูแลเด็กปฐมวัย ๒) การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ๓) การเตรียมความพร้อมของผูบ้ ริหาร ครู และนักเรียน เพือ่ รับมือในสภาวะฉุกเฉิน ๔) การส่งเสริมการศึกษาและฝึกอบรมด้านเทคนิคและ อาชีวะให้แก่ผเู้ รียนและผูป้ กครอง ๕) การปฏิ รู ป การศึ ก ษาและการให้ ค วามส�ำคั ญ กั บ วิชาชีพครู ๖) การสร้างเอกภาพด้านการอุดมศึกษาและการวิจยั ๗) การปรับหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ ๒๑ ทัง้ นี้ ทีป่ ระชุมได้มกี ารอภิปรายเพือ่ แลกเปลีย่ นข้อคิดเห็น และแลกเปลีย่ นแนวทางทีด่ รี ะหว่างกัน โดยมีขอ้ เสนอแนะ ๕ ประเด็น ได้แก่ (๑) การใช้ประโยชน์จากศูนย์ระดับภูมภิ าคของซีมโี อ จ�ำนวน

อนุสารอุดมศึกษา

๒๑ แห่ง (๒) การเชือ่ มโยง ๗ ประเด็นระดับภูมภิ าคไปสูก่ ารให้การ ศึกษาเพื่อการเป็นพลเมืองโลกที่มีคุณภาพ (๓) การสนับสนุนการ พัฒนาครูและการสร้างมาตรฐานสมรรถนะของครู โดยใช้เวทีการ พระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรีเนื่องในโอกาสวันครูโลก เพือ่ แลกเปลีย่ นประสบการณ์รว่ มกัน (๔) การสนับสนุน การเคลือ่ นย้าย แลกเปลี่ยนด้านความรู้และทักษะฝีมือในทุกระดับ และ (๕) การ ส่งเสริมบทบาทสถาบันครอบครัวในการจัดการศึกษา นอกจากนี้ ที่ประชุมยังได้อภิปรายถึงการพัฒนาการศึกษาในภูมิภาคด้วยการ เชื่อมโยงเป้าหมาย การท�ำงานร่วมกันระหว่างซีมีโอและอาเซียน วาระการศึกษาเพือ่ ปวงชนภายหลังปี ๒๕๕๘ การทบทวนการท�ำงาน ขององค์การซีมโี อและศูนย์ระดับภูมภิ าค รวมทัง้ การเสริมสร้างความ เข้มแข็งให้กบั องค์กรเพือ่ ให้เป็นทีร่ จู้ กั ทัง้ ในภูมภิ าคนีแ้ ละภูมภิ าคอืน่ โดยมอบให้ ที่ ป ระชุ ม เจ้ า หน้ า ที่ อ าวุ โ สของซี มี โ อไปพิ จ ารณาใน รายละเอียดต่อไป ในท้ายสุดของการประชุม รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ศึกษาธิการไทย ได้กล่าวเน้นย�้ำถึงการลดความเหลื่อมล�้ำทางการ ศึกษา การพัฒนาคุณภาพครู และการส่งเสริมการฝึกอบรม ในสาย อาชีพเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ให้สามารถเตรียม ความพร้อมสูก่ ารมีงานท�ำในตลาดโลก ซึง่ หลายประเทศต่างมีปญ ั หา ในเรื่องดังกล่าว โดยต้องเร่งด�ำเนินการเพื่อให้บรรลุผลอย่างเป็น รูปธรรมต่อไป ในการจั ด งานครั้ ง นี้ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาได้ส่งบุคลากรเข้าร่วมปฏิบัติงานเป็นเจ้าหน้าที่ ประสานงาน (Liaison Officer) ติดตามรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการประเทศสมาชิกอาเซียน ได้แก่ สปป. ลาว มาเลเซีย สิงคโปร์ ในระหว่างการเข้าร่วมการประชุมสภาซีเมค


เรื่อง

พิเศษ

การประชุมรัฐมนตรีศึกษาเอเชีย-ยุโรป

...ครั้งที่ ๕

การประชุ ม รั ฐ มนตรี ศึ ก ษาเอเชี ย -ยุ โรป ครั้ ง ที่ ๕ (The 5th ASEM Education Ministers’ Meeting: ASEMME5) ภายใต้หัวข้อหลัก ‘ASEM Education Collaboration for Results’ ซึ่งกระทรวงการศึกษาและวิทยาศาสตร์ของสาธารณรัฐ ลัตเวียเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ระหว่างวันที่ ๒๗ - ๒๘ เมษายน ๒๕๕๘ ณ กรุงรีกา สาธารณรัฐลัตเวีย มีผู้แทนประเทศสมาชิกจาก ภูมิภาคเอเชียและยุโรปเข้าร่วมการประชุม รวมจ�ำนวน ๑๙๖ คน จาก ๔๖ ประเทศ และ ๑๑ องค์กรระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง ส�ำหรับประเทศไทย นายกฤษณพงศ์ กีรติกร รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วย รองศาสตราจารย์พนิ ติ ิ รตะนานุกลู เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา และนายอมรวิ ช ช์ นาครทรรพ ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะคณะผู้แทนไทยได้เข้าร่วมการประชุมครั้งนี้ การประชุม ASEMME5 ที่ประชุมได้หารือความร่วมมือ ในสาขาที่เป็น Policy Areas ๔ ด้าน ได้แก่ (๑) Quality Assurance and Recognition (๒) Engaging Business

11

and Industry in Education (๓) Balanced Mobility และ (๔) Lifelong Learning (LLL) including Vocational Education and Training รวมทั้ ง ได้ มี ก ารอภิ ป รายในหั ว ข้ อ ที่ เ กี่ ย วกั บ การจั ด การศึ ก ษาที่ มุ่ ง สู ่ ก ารเพิ่ มพู น ทั ก ษะความรู ้ ที่ จ�ำเป็ นต่อโลก แห่ ง การท�ำงาน และการใช้ เ ทคโนโลยี เ พื่ อ การเรี ย นรู ้ ใ ห้ เ กิ ด ประสิทธิภาพสูงสุด ในการนี้ ที่ประชุมได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และน�ำเสนอทิศทางการพัฒนาการศึกษา รวมถึงแนวทางความร่วมมือ ระหว่างภูมภิ าคเอเชียและยุโรปให้มากขึน้ ส�ำหรับประเด็นท้าทายของ การศึกษาทีท่ กุ ประเทศก�ำลังเผชิญอยูม่ คี วามคล้ายคลึงกันในเรือ่ งของ ระบบการศึกษาที่ไม่สามารถด�ำเนินการได้ทันกับสังคมที่เปลี่ยนแปลง ไปอย่างรวดเร็ว การจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับโลกของการท�ำงาน ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปและสั ง คมสู ง วั ย การวิ จั ย ของมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ยั ง ไม่ ส ามารถตอบสนองตามความต้ อ งการของภาคอุ ต สาหกรรม การสร้างคนรุ่นใหม่ให้เป็นผู้ประกอบการ ปัญหาการว่างงานของ บัณฑิต ปัญหาการศึกษาของชนกลุ่มน้อยและผู้อพยพ ปัญหาคุณภาพ ครู และการสร้างระบบประกันคุณภาพการศึกษาให้มีความเข้มแข็ง อนุสารอุดมศึกษา


12

ที่ประชุม ASEMME5 ได้ให้การรับรอง Conclusions by the Chairs ซึง่ เป็นถ้อยแถลงร่วมกันในการสนับสนุนและส่งเสริม ความร่วมมือด้านการศึกษาภายใต้สาขาความร่วมมือทีส่ �ำคัญ ๔ ด้าน ซึ่งในถ้อยแถลงดังกล่าว ที่ประชุมได้ให้ความเห็นชอบข้อริเริ่มใหม่ และกิจกรรมความร่วมมือทีจ่ ะมีการด�ำเนินงานในอนาคต อีกทัง้ เน้นยำ�้ ถึงบทบาทของการศึกษาซึง่ เป็นปัจจัยส�ำคัญในการส่งเสริมการพัฒนา อย่างมีสว่ นร่วมและยัง่ ยืน รวมถึงบทบาทของการศึกษาต่อการสร้าง นวัตกรรม การช่วยขจัดปัญหาการว่างงานและความยากจน การสร้าง ความเชื่อมโยงของภาคประชาชน ความเชื่อมโยงด้านข้อมูลข่าวสาร และการสร้างความร่วมมือในระดับสถาบัน อีกทั้งให้มีการพัฒนา ความรู้ความเข้าใจในความแตกต่างของระบบการศึกษาเพื่อน�ำไปสู่ การเทียบเคียงระบบการศึกษาระหว่างกัน ซึง่ เอือ้ ต่อการเคลือ่ นย้าย นักศึกษาและบุคลากรที่สมดุล ตลอดจนการสร้างความร่วมมือที่ เข้มแข็งระหว่างสองภูมภิ าค บทบาทของไทยในการผลักดันการด�ำเนินงานความร่วมมือในกรอบ รัฐมนตรีศกึ ษาเอเชีย-ยุโรป การเข้าร่วมประชุม ASEMME5 แสดงถึงบทบาทการมี ส่วนร่วมของประเทศไทยในการผลักดันความร่วมมือใน ๔ สาขา

อนุสารอุดมศึกษา

ดังกล่าวให้เกิดผลเป็นรูปธรรม และในปัจจุบันประเทศไทยโดย ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้มีส่วนร่วมริเริ่มด�ำเนิน โครงการ ASEM Work Placement Programme เพื่อให้มีการ แลกเปลีย่ นการฝึกงานของนักศึกษา รวมทัง้ สร้างเสริมประสบการณ์ และความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมของทั้งสองภูมิภาค โดยส�ำนั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาได้ เ ป็ น เจ้ า ภาพจั ด การประชุม 1st Expert Meeting of the ASEM Work Placement Programme เมือ่ เดือนมกราคม ๒๕๕๘ ซึง่ ทีป่ ระชุมได้เห็นชอบร่วมกัน ในการด�ำเนินโครงการน�ำร่อง ASEM Work Placement Programme ในปี ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ ซึง่ ก�ำหนดให้มกี ารแลกเปลีย่ นนักศึกษาฝึกงานเป็น เวลา ๒ - ๖ เดือน โดยแต่ละประเทศทีเ่ ข้าร่วมโครงการจะส่งนักศึกษา ระดับปริญญาตรีและปริญญาโท จ�ำนวน ๕ - ๑๐ คน เข้าร่วมโครงการ โดยไม่จ�ำกัดสาขา ประเทศทีเ่ ข้าร่วมโครงการในระยะน�ำร่อง ๕ ประเทศ ได้แก่ เยอรมนี เบลเยียม บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย และไทย ผลสื บ เนื่ อ งจากการที่ ส�ำนั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม 1st Expert Meeting of the ASEM Work Placement Programme เมื่อเดือนมกราคม ๒๕๕๘ ได้น�ำไปสูก่ ารลงนามใน Letter of Intent ร่วมกันระหว่าง ๕ ประเทศ ในที่ประชุม ASEMME5 เพื่อเป็นการแสดงเจตจ�ำนง


ที่ จ ะร่ ว มด�ำเนิ น โครงการภายใต้ ข ้ อ ก�ำหนดที่ เ ห็ น ชอบร่ ว มกั น ทั้ ง นี้ รองศาสตราจารย์พนิ ติ ิ รตะนานุกลู เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นผูแ้ ทนประเทศไทยร่วมลงนามใน Letter of Intent ดังกล่าว นอกจากนี้ ในสาขาความร่วมมือด้าน Balanced Mobility ประเทศไทยเป็น ๑ ใน ๕ ประเทศ คือ เกาหลี สิงคโปร์ ไทย สวีเดน และเบลเยียม ทีเ่ ป็น contributing partner ในโครงการ ASEM DUO Fellowship Programme ซึ่งเป็นโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและ อาจารย์สองทางเพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการเคลือ่ นย้ายนักศึกษาและอาจารย์ ที่สมดุลระหว่างภูมิภาคเอเชียและยุโรป โดยส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาสนับสนุนงบประมาณให้นกั ศึกษาไทยไปศึกษาและท�ำวิจยั ในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป และให้นักศึกษาจากประเทศสมาชิก สหภาพยุโรปมาศึกษาและท�ำวิจยั ในไทยในลักษณะการแลกเปลีย่ นเป็นคู่ การหารือทวิภาคี นอกจากการเข้าร่วมการประชุม ASEMME5 นายกฤษณพงศ์ กีรติกร รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะ ได้หารือความ ร่วมมือในระดับทวิภาคีกับเยอรมนีและฟินแลนด์ ทั้งสองประเทศมีท่าที ทีด่ มี ากทีจ่ ะร่วมมือกับประเทศไทย เนือ่ งจากมีความร่วมมือกับประเทศไทย มายาวนานในหลายเรือ่ ง แต่เป็นงานพัฒนาในระดับโครงการเล็กระยะสัน้ เป็นส่วนใหญ่ โดยการหารือในครั้งนี้เน้นที่การพัฒนากลไกและประเด็น ปฏิรูปการศึกษาระยะยาวของประเทศไทย ซึ่งประเทศไทยสามารถ ใช้ประโยชน์จากความเข้มแข็งของทัง้ สองประเทศและความเป็นพันธมิตร ทีด่ มี าช่วยพัฒนาความเข้มแข็งของอุดมศึกษาไทย

13

อนุสารอุดมศึกษา


การหารือกับ Dr. Georg Schütte, State Secretary, Federal Ministry of Education and Research ของเยอรมนี เน้นความร่วมมือเรือ่ งการผลิตครูชา่ งรุน่ ใหม่ประมาณ ๒,๐๐๐ คน และ ช่างเทคนิคอีกประมาณ ๘,๐๐๐ คน ในระยะเวลา ๕ ปี เพือ่ เป็นแรงกระตุน้ ให้กบั การ พัฒนาก�ำลังคนระดับอาชีวศึกษาทีจ่ ะเป็นจุดปฏิรปู ส�ำคัญของประเทศไทย และ เป็นระบบทีเ่ ยอรมนีมคี วามเข้มแข็ง เนือ่ งจากเป็นระบบทีท่ �ำให้ตลาดแรงงานของ เยอรมนีมแี รงงานมีฝมี อื ทีต่ รงกับความต้องการของภาคธุรกิจ และความร่วมมือ เรือ่ งทุนพัฒนาอาจารย์รนุ่ ใหม่ จ�ำนวน ๑๖,๐๐๐ ทุน ส�ำหรับมหาวิทยาลัยทัง้ หมด รวมถึงมหาวิทยาลัยกลุม่ ใหม่ คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล เพื่อเป็นก�ำลังอาจารย์รุ่นใหม่ในการพัฒนาการสอนและการวิจัยใน มหาวิทยาลัยไทยในระยะยาว ซึ่งส่วนหนึ่งในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก็นา่ จะร่วมมือกับเยอรมนีได้ดเี หมือนการศึกษาระดับอาชีวศึกษา

14

อนุสารอุดมศึกษา

การหารือกับ Ms. Anita Lehikoinen, Permanent Secretary, Ministry of Education and Culture ของฟินแลนด์ เน้นที่การศึกษาระดับพื้นฐานซึ่งน่าจะเป็นความร่วมมือระยะยาว ในการปฏิรูปการศึกษา โดยเฉพาะในเรื่องการผลิตและพัฒนาครู การพัฒนา หลักสูตร และการวางระบบวิจยั รองรับการปฏิรปู ระยะยาว เป็นงานเชิงการพัฒนา ศักยภาพ (capacity building) และการวิจัยเชิงระบบ (system research) ที่ครอบคลุมการท�ำงานกับกลุ่มคณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ และเครือข่ายครู ทัง้ หมด รวมถึงองค์กรกองทุน เช่น ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจยั (สกว.) และส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ที่ท�ำวิจัยเชิงระบบทางการศึกษา อยู่บ้างแล้ว โดยเฉพาะเรื่องการวิจัยเชิงระบบที่จะเป็นกลไกที่ท�ำให้การปฏิรูป การศึ ก ษาของไทยเดิ น หน้ า ไปบนฐานข้ อ มู ล ความรู ้ ไม่ ใช่ ค วามเห็ น หรื อ การคาดการณ์จากประสบการณ์


เรื่อง

แนะนำ� ขอแสดงความยินดี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม รองเลขาธิการ กกอ. คนใหม่ การประชุ ม คณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ วั น อั ง คารที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ มี ม ติ อ นุ มั ติ ต ามที่ ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เสนอการบรรจุกลับ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม พนักงานมหาวิทยาลัย ต�ำแหน่งรองอธิการบดี มหาวิทยาลัย มหิดล มาเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ และแต่งตั้งให้ด�ำรง ต�ำแหน่งรองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่วันที่ ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ แต่ ง ตั้ ง เป็ น ต้ น ไป เพื่ อ ทดแทน ต�ำแหน่งที่ว่าง อนุ ส ารอุ ด มศึ ก ษาฉบั บ นี้ ขอน�ำประวั ติ ข อง รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา มาลงในคอลัมน์เรื่องแนะน�ำ ดังนี้

15

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม Soranit Siltharm, MD Line ID; soranit09 email; soranit.sil@mahidol.ac.th, soranit09@gmail.com facebook; Soranit Siltharm

ตําแหน่ง รองศาสตราจารย์ สาขาศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อนุสารอุดมศึกษา


ตําแหน่งวิชาการ

๑. ผู้ทรงคุณวุฒิกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) ๒. อาจารย์ประจํา สาขาวิชาศัลยศาสตร์อุบัติเหตุ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ๓. อาจารย์ประจํา Burn Unit โรงพยาบาลศิริราช ๔. อาจารย์ประจํางานโภชนศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลศิริราช ๕. อาจารย์ประจํา Facial fracture clinic โรงพยาบาลศิริราช ๖. ที่ปรึกษาคลินิกศูนย์แพทย์พัฒนา ๗. ศัลยแพทย์ ในทีมแพทย์ประจ�ำพระองค์ฯ

ตําแหน่งบริหาร

16

• รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล (๒๒ มกราคม ๒๕๕๘ - ปัจจุบัน) • รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยมหิดล (ธันวาคม ๒๕๕๐ - ธันวาคม ๒๕๕๘) • ผู้อํานวยการศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล (ธันวาคม ๒๕๕๐ - ธันวาคม ๒๕๕๘) • Director of PENSA center (Parenteral and Enteral Society of Asia) (๒๕๕๔ - ปัจจุบัน) • นายกสมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดําและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย (SPENT = Society of Parenteral and Enteral Nutrition of Thailand (มกราคม ๒๕๕๕ - ปัจจุบัน) • รองคณบดีฝ่ายนโยบายและสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (ตุลาคม ๒๕๔๗ - ธันวาคม ๒๕๕๐) และรองคณบดีฝ่าย การศึกษาก่อนปริญญา (ตุลาคม ๒๕๔๙ - ธันวาคม ๒๕๕๐) • รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (ตุลาคม ๒๕๔๕ - กันยายน ๒๕๔๗) • รองคณบดีฝ่ายนโยบายและแผน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (ตุลาคม ๒๕๔๓ - กันยายน ๒๕๔๕) • กรรมการการแพทย์และกรรมการบริหาร คลินิกศูนย์แพทย์พัฒนา

การศึกษาและฝึกอบรม ๒๕๕๑ ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.รุ่น ๕๑) ๒๕๕๑ หลักสูตรนักบริหารระดับสูงมหาวิทยาลัย (นบม. ๑๙) ๒๕๔๕ วุฒิบัตรเวชศาสตร์ครอบครัว ๒๕๔๕ วุฒิบัตรเวชศาสตร์ฉุกเฉิน (Critical Care) ๒๕๔๓ ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย ๒๕๓๘ Department of Surgery, State University of New York at Syracuse, New York, USA- Certificate in Clinical Fellow in Surgical Nutrition ๒๕๓๗ - ๒๕๓๘ Jaycee Burn Center, Department of Surgery, University of North Carolina at Chapel Hill, North Carolina, USA- Certificate in Research Fellow in Burn and Trauma ๒๕๓๓ วุฒิบัตรศัลยศาสตร์ทั่วไป คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๕๒๗ ปริญญาบัตร แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๕๒๔ ปริญญาบัตร วิทยาศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ประวัติการรับราชการ ๑. รับราชการกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่ ๑ เมษายน ๒๕๒๗ - ๓๐ กันยายน ๒๕๓๔ • โรงพยาบาลขอนแก่น • โรงพยาบาลด่านช้าง สุพรรณบุรี • โรงพยาบาลเสนา พระนครศรีอยุธยา ๒. รับราชการคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๓๕ - ๘ ธันวาคม ๒๕๕๐ ๓. พนักงานมหาวิทยาลัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๐ - ปัจจุบัน อนุสารอุดมศึกษา


เหตุการณ์

เล่าเรื่อง

สกอ. ระดมประชาคมอุดมศึกษา ช่วยภัยแผ่นดินไหวที่ประเทศเนปาล

จากเหตุการณ์แผ่นดินไหว ขนาด ๗.๘ แมกนิจดู เมือ่ วันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๘ ณ ประเทศเนปาล ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อชีวติ และทรัพย์สินเป็นอย่างมาก และเพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย แผ่นดินไหวในประเทศเนปาลเป็นไปด้วยความรวดเร็ว สอดคล้องกับ นโยบายของรัฐบาลและข้อสัง่ การของนายกรัฐมนตรี ส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา จึงได้ท�ำหนังสือเวียนแจ้งขอความร่วมมือ ไปยังสถาบันอุดมศึกษา เพือ่ ให้ความช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยแผ่นดินไหว ประเทศเนปาล รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะ กรรมการการอุดมศึกษา เล่าถึงการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย แผ่นดินไหวประเทศเนปาล ในส่วนของประชาคมอุดมศึกษาว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้มีหนังสือแจ้งขอความ ร่วมมือสถาบันอุดมศึกษา ๔ เรือ่ ง ดังนี้ (๑) ขอความร่ ว มมื อ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ มี ก ารเรี ย น การสอนทางด้านแพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ สนับสนุน ให้บุคลากรทางการแพทย์ที่มีประสบการณ์และมีความประสงค์ ไปช่วยเหลือผูบ้ าดเจ็บจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว ร่วมลงทะเบียนกับ แพทยสภา หรือประสานไปยังศูนย์ปฏิบตั กิ ารช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย แผ่นดินไหว (วอร์รูม) กระทรวงสาธารณสุข ในการจัดทีมแพทย์ ในการให้ความช่วยเหลือ (๒) ขอความร่วมมือสถาบันอุดมศึกษาที่มีการเรียนการ สอนทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ สนับสนุนให้บคุ ลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ ประสานไปยังวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในการจัดทีมผูเ้ ชีย่ วชาญด้านวิศวกรรมศาสตร์ เพือ่ ช่วยเหลือด้านการ ตรวจสอบอาคารทีไ่ ด้รบั ความเสียหาย

(๓) ขอความร่วมมือสถาบันอุดมศึกษา ทีม่ นี กั ศึกษาเนปาล ศึกษาอยู่ในประเทศไทย ประสานขอความร่วมมือนักศึกษาเนปาล ทีส่ ามารถสือ่ สารภาษาฮินดี ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย สมัครเป็นล่าม เดินทางไปกับทีมแพทย์ และพิจารณาให้ความอนุเคราะห์ชว่ ยเหลือ นักศึกษาเนปาลทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวตามความ จ�ำเป็นและเหมาะสม (๔) ขอความร่วมมือ สถาบันอุดมศึกษาจัดโครงการ/ กิจกรรมระดมเงินบริจาค หรือจัดตัง้ ศูนย์รบั บริจาคเพือ่ รับบริจาคเงิน หรือสิ่งของส�ำหรับให้ความช่วยเหลือ โดยรวบรวมเงินบริจาคร่วม สมทบโครงการ ‘หัวใจไทย ส่งไปเนปาล’ ของรัฐบาล หรือหน่วยงาน ราชการ หรือองค์กรสาธารณกุศลอื่นๆ ที่มีความน่าเชื่อถือ ส�ำหรับ สิ่งของให้รวบรวมและน�ำส่งได้ที่ศูนย์ด�ำรงธรรมทุกจังหวัด ทั้งนี้ ขอให้ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาแจ้ ง การด�ำเนิ น การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ต่างๆ กลับมายังส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อจะได้ รวบรวมผลการด�ำเนินการในภาพรวม ‘ประชาคมอุดมศึกษาไทย ร่วมใจช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยแผ่นดินไหวเนปาล’ ขณะนี้ สกอ. ได้เปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย ประเภท บัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “สกอ. ร่วมใจ ช่วยภัย ชาวเนปาล” เลขที่ บั ญ ชี ๐๑๓-๐-๒๕๘๖๒-๘ เพื่ อ เป็ น ช่ อ งทางหนึ่ ง ในการ รับบริจาคร่วมสมทบกับรัฐบาลไทย ตั้งแต่บัดนี้ จึงขอเชิญชวน ประชาคมอุ ด มศึ ก ษา บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา และประชาชน ทั่วไป ร่วมบริจาคเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหว ประเทศ เนปาล และหากต้องการใบเสร็จรับเงินเพื่อลดหย่อนภาษี กรุณา ส่งหลักฐานการโอนเงินทางอีเมล pr_mua@mua.go.th หรือ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐

17

อนุสารอุดมศึกษา


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

18

เมื่อวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๘ เวลา ๑๑.๕๖ น. ตามเวลามาตรฐานเนปาล ได้เกิดเหตุแผ่นดินไหว ขนาด ๗.๘ แมกนิจูด จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยูห่ า่ งจากเมืองลัมชุง ประเทศเนปาล ไปทางตะวันออก-ตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ ๓๔ กิโลเมตร และศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ที่ระดับความลึกประมาณ ๑๕ กิโลเมตร นับเป็นแผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดของประเทศเนปาล นับแต่เหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล - รัฐพิหาร พ.ศ. ๒๔๗๗ แผ่นดินไหวนีย้ งั ท�ำให้เกิดหิมะถล่มบนยอดเขาเอเวอร์เรสต์ ท�ำให้มผี เู้ สียชีวติ อย่างน้อย ๑๗ คน ยอดผูเ้ สียชีวติ มีมากกว่า เหตุการณ์หิมะถล่มที่ยอดเขาเอเวอเรสต์ พ.ศ. ๒๕๕๗ ท�ำให้เป็นวันที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดบนเขาดังกล่าว อาคารเก่าแก่หลาย ศตวรรษทีเ่ ป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกในหุบเขากาฐมาณฑุได้รบั ความเสียหาย รวมทัง้ บางส่วนของจัตรุ สั กาฐมาณฑุดรู บ์ าร์

อนุสารอุดมศึกษา


19

อนุสารอุดมศึกษา


เล่าเรื่อง

ด้วยภาพ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกลู เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมงาน แสดงผลงาน ‘มิติใหม่การศึกษา เดินหน้าประเทศไทย’ ณ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีเปิด

20

๒๓ เมษายน ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์ พินติ ิ รตะนานุกลู เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้ อ มด้ ว ยนางสาวอาภรณ์ แก่ น วงศ์ และ นายสุ ภั ท ร จ�ำปาทอง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมงานแถลงผลงาน ๖ เดือน กระทรวงศึกษาธิการ ณ กระทรวงศึกษาธิการ อนุสารอุดมศึกษา


๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา หารือ ข้อราชการร่วมกับผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานวิจัยและพัฒนาการ ทางทหาร กองทัพบก ณ ห้องรับรอง ชั้น ๔

21

๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา รับมอบ เงินบริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหว ประเทศเนปาล จากรองศาสตราจารย์ ป ระเสริ ฐ ปิ ่ น ปฐมรั ฐ อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล (มทร.) ธั ญ บุ รี และ นายสุเมธ แย้มนุน่ นายกสภามหาวิทยาลัย และรับมอบเงินบริจาค จากมูลนิธิธรรมกิจไพศาล เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย ประเทศ เนปาล อนุสารอุดมศึกษา


๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมสัมมนา เรื่อง ‘นวัตกรรมการ สอนภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ ๒๑’ ซึ่งส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี จัดขึ้น ณ ห้องแมนดาริน เอบี โรงแรมแมนดาริน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ ผู ้ ส อนภาษาอั ง กฤษได้ เข้ า ใจ แนวทางการสอนแนวใหม่ และได้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และความคิดเห็นด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

22

๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานพิธมี อบเกียรติบตั รแก่ส�ำนัก/หน่วยงาน และ ผู้ที่ได้รับรางวัลในกิจกรรมตามโครงการ ‘ส่งเสริมการ จัดการความรูใ้ นองค์กรของส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา’ ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุม ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน

๒๐ เมษายน ๒๕๕๘ - นายสุภัทร จ�ำปาทอง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวต้อนรับ Mrs.Karin Reinhard และเป็ น ประธานการประชุ ม เครือข่ายพัฒนาสหกิจศึกษา ๙ เครือข่ายและคณะท�ำงาน ณ ห้องประชุ​ุมพันเอกอาทร ชนเห็นชอบ ๒

อนุสารอุดมศึกษา


ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

LOGO

เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ http://www.mua.go.th pr_mua@mua.go.th www.facebook.com/ohecthailand www.twitter.com/ohec_th


LOGO

PRAY FOR ร่วมสมทบกับ รัฐบาลไทย

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เชิญชวนประชาคมอุดมศึกษา บุคลากรทางการศึกษา และประชาชนทั่วไป ร่วมบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหว ประเทศเนปาล ผ่านบัญชี ธนาคารกรุงไทย ประเภทบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี

'สกอ. ร่วมใจ ช่วยภัย ชาวเนปาล' เลขที่บัญชี

๐๑๓-๐-๒๕๘๖๒-๘ ตั้งแต่บัดนี้

หากต้องการใบเสร็จรับเงินเพื่อลดหย่อนภาษี กรุณาส่ง หลักฐานการโอนเงิน พร้อมชื่อ-สกุล ที่อยู่ และเบอร์โทรศัพท์ ทางอีเมล pr_mua@mua.go.th หรือ ทางโทรสาร ๐ ๒๓๖๔ ๕๕๒๔-๒๖ ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.