อนุสารอุดมศึกษา issue 444

Page 1

อุดมศึกษา อนุสาร

LOGO

ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๔๔๔ ประจำ�เดือนมิถุนายน ๒๕๕๘

เอกสารเผยแพร่ของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ISSN 0125-2461

อนุสารอุดมศึกษาออนไลน์ www.mua.go.th/pr_web


สารบัญ

CONTENT

ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๔๔๔ ประจำ�เดือนมิถุนายน ๒๕๕๘

เรื่องเล่าอุดมศึกษา

๒๓

สกอ. ดันนโยบาย ๔ คุณ ๔ สูง พัฒนาอุดมศึกษา สกอ. ของบกว่า ๘ พันล้าน ผลิตครูคุณภาพเข้าสู่ระบบ ระดมสมองพัฒนาโจทย์วิจัยด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ สกอ. เข้ม ดันนโยบาย ‘๔ ต้อง’ คุมรับน้อง สกอ. เตรียมรับสมัครทุนใต้ ปี ๕๘ ร่างรัฐธรรมนูญในมิติอุดมศึกษา Going Global 2015: Connecting cultures, forging futures ดนตรีไทยอุดมศึกษา สนับสนุนทุนวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ ส่งเสริมสหกิจศึกษาเตรียมบัณฑิตเข้าสู่ประชาคมอาเซียน พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสำ�หรับคนพิการ สร้างแนวปฏิบัติที่ดี ‘อาจารย์มืออาชีพ’

เรื่องเล่าอาเซียน ไทย - ลาว สานความร่วมมืออุดมศึกษา

๑๔

๓ ๑๗

เรื่องพิเศษ กกอ. สัญจร...ครั้งที่ ๕

เรื่องแนะนำ�

๑๔ ๑๖ ๒๐

มอบหมายงาน

เหตุการณ์เล่าเรื่อง

๒๑

ดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๔๑ เกษตรศาสตร์เกมส์

เล่าเรื่องด้วยภาพ

๒๓

คณะผู้จัดทำ�

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ http://www.mua.go.th pr_mua@mua.go.th www.facebook.com/ohecthailand www.twitter.com/ohec_th ที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ นายสุภัทร จำ�ปาทอง รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม นายขจร จิตสุขุมมงคล นายศิระวิทย์ คลี่สุวรรณ บรรณาธิการ นายกฤษณ์กร วงศ์ไทย กองบรรณาธิการ นางสาวปิยาณี วิริยานนท์ นางชุลีกร กิตติก้อง นายเจษฎา วณิชชากร นางปราณี ชื่นอารมณ์ นายจรัส เล็กเกาะทวด พิมพ์ที่ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๔๓๓ ๒๗๔๒


เรื่องเล่า

อุดมศึกษา สกอ. ดันนโยบาย

๔ คุณ ๔ สูง พัฒนาอุดมศึกษา รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะ กรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เปิ ด เผยถึ ง นโยบายที่ จ ะพั ฒ นาด้ า น อุดมศึกษา ใน ๔ เดือนข้างหน้าว่า จะผลักดันนโยบาย ๔ คุณ ๔ สูง ให้ออกมาเป็นผลเชิงรูปธรรมให้มากทีส่ ดุ (๑) คุณภาพ/มาตรฐานสูง สกอ. จะผลั ก ดั น มาตรฐานและการจั ด การเรี ย นการสอนให้ ไ ด้ มาตรฐานสู ง เที ย บเคี ย งได้ ใ นระดั บ นานาชาติ อย่ า งมี คุ ณ ภาพ ซึ่งขณะนี้ก�ำลังเร่งด�ำเนินการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๘ ทั้ ง ระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ละระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้ทันสมัยและ เหมาะกั บ สถานการณ์ ข องการจั ด การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาใน ปัจจุบัน (๒) คุณธรรม/ธรรมาภิบาลสูง สกอ. จะส่งเสริม สนับสนุน ให้สถาบันอุดมศึกษาใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการภายใน สถาบันอุดมศึกษาเพิ่มมากขึ้น โดยมุ่งเน้นให้ผู้บริหารและอาจารย์ ใช้หลักความรู้คู่คุณธรรม (๓) คุณค่า/ศักยภาพสูง สกอ. จะมุ่งเน้น ให้สถาบันอุดมศึกษา เตรียมความพร้อมให้อาจารย์ นักวิจยั บุคลากร ตลอดจนนักศึกษา มีศักยภาพสูงในทุกมิติ ทั้งด้านความรู้ ภาษา การปรับตัวให้เข้ากับบริบทใหม่ในการเป็นประชาคมอาเซียน เพื่อให้ เป็นคนที่มีคุณค่าทางสังคม และ (๔) คุณประโยชน์/มูลค่าสูง สกอ. จะส่งเสริม สนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัยในสถาบัน อุดมศึกษา ท�ำงานวิจัยให้มากขึ้น โดยเฉพาะงานวิจัยที่สามารถ ต่อยอดให้มีมูลค่าสูงขึ้นได้ เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและ ประเทศชาติต่อไป ในปีนี้ สกอ. ได้มีความร่วมมือด้านการวิจัยและ พัฒนากับกองทัพบกเพือ่ ส่งเสริมและพัฒนานักวิจยั เพือ่ อุตสาหกรรม

ป้องกันประเทศ โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ สกอ. ได้ใช้งบประมาณ จ�ำนวน ๓๐ ล้านบาท เพื่อสนับสนุนโครงการวิจัยจ�ำนวน ๑๔ โครงการ จากสถาบันอุดมศึกษาจ�ำนวน ๘ แห่ง พัฒนางานวิจัยเพื่อ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ทัง้ ในด้านการขนส่ง การช่าง พลาธิการ การสื่อสาร และด้านอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า นอกจากนี้ สกอ. ยังมี โครงการส�ำคัญที่อยู่ระหว่างขั้นตอนการน�ำเสนอขอความเห็นชอบ และอนุมัติให้ด�ำเนินการจากคณะรัฐมนตรี คือ โครงการคุรุทายาท ซึ่งจะผลิตครู ทั้งสาขาวิชาการศึกษาขั้นพื้นฐานและสาขาวิชาชีพ ในพื้นที่ที่เป็นความต้องการของหน่วยงานผู้ใช้ครู ได้แก่ ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ส�ำนั ก งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา เป็นต้น โดย สกอ. ขอรับงบประมาณสนับสนุน การด�ำเนินงานตลอดโครงการ ๑๕ ปี ในวงเงิน ๘,๑๐๖ ล้านบาท ที่ประกอบด้วย ทุนการศึกษา จ�ำนวน ๓,๔๕๑ ล้านบาท งบพัฒนา ศักยภาพและทักษะความเป็นครู จ�ำนวน ๔,๒๖๐ ล้านบาท งบการ บริหารโครงการ จ�ำนวน ๓๙๕ ล้านบาท

3

อนุสารอุดมศึกษา


สกอ. ของบกว่า ๘ พันล้าน ผลิตครูคุณภาพเข้าสู่ระบบ 4

รองศาสตราจารย์ พิ นิ ติ รตะนานุ กู ล เลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เปิ ด เผยถึ ง โครงการคุ รุ ท ายาท (พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๗๒) ว่า เป็นการน�ำร่องการผลิตครูระบบจ�ำกัดรับ (ระบบปิด) ให้กับส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) โดยใน ระยะเริ่มแรกมีเป้าหมายการด�ำเนินงานปีละไม่มาก เพื่อให้สถาบัน ผลิตครูมีการปรับลดจ�ำนวนการผลิต และปรับบทบาทเป็นการ พัฒนาครูประจ�ำการในพื้นที่ แต่ต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องใน ระยะยาว เพื่อผลิตครูที่มีคุณภาพจ�ำนวนมากพอที่ส่งกระทบต่อ คุณภาพผู้เรียนและคุณภาพของการศึกษาไทย ทั้งนี้ สกอ. ขอรับ งบประมาณสนับสนุนการด�ำเนินงานตลอดโครงการ ๑๕ ปี ในวงเงิน ๘,๑๐๖ ล้านบาท ที่ประกอบด้วย ทุนการศึกษา จ�ำนวน ๓,๔๕๑ ล้านบาท งบพัฒนาศักยภาพและทักษะความเป็นครู จ�ำนวน ๔,๒๖๐ ล้านบาท งบการบริหารโครงการ จ�ำนวน ๓๙๕ ล้านบาท ซึ่งขณะนี้ อยู่ระหว่างขั้นตอนการน�ำเสนอโครงการฯ ขอความเห็นชอบและ อนุ มั ติ ใ ห้ ด�ำเนิ น การจากคณะรั ฐ มนตรี คาดว่ า จะเข้ า ที่ ป ระชุ ม คณะรัฐมนตรีในต้นเดือนมิถุนายนนี้

อนุสารอุดมศึกษา

เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า โครงการคุรทุ ายาท จะผลิต ครูในสาขาวิชา ทั้งสาขาวิชาการศึกษาขั้นพื้นฐานและสาขาวิชาชีพ ในพื้นที่ที่เป็นความต้องการของหน่วยงานผู้ใช้ครู ได้แก่ ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ส�ำนั ก งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา เป็นต้น โดยการคัดเลือกสถาบันอุดมศึกษาที่มี ความเชี่ยวชาญและมีศักยภาพเป็นสถาบันผลิตครูในโครงการฯ โดยค�ำนึงถึงพื้นที่เป็นหลัก (Area Based) โดยมีเป้าหมาย ๒ กลุ่ม ได้แก่ (๑) กลุ่มนิสิตนักศึกษาครูที่ก�ำลังศึกษา เพื่อให้มีครูที่มี คุณภาพเข้าสู่ระบบการศึกษาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยมีเป้าหมาย การด�ำเนินงาน ๕ รุ่น จ�ำนวน ๑๐,๐๐๐ คน (๒) กลุ่มผู้เข้าเรียน วิชาชีพครูใหม่ ผลิตครูจ�ำนวน ๑๐ รุ่น ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๒๕๖๗ รวมจ�ำนวน ๕๘,๐๐๐ คน ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเข้าร่วม โครงการฯ ส�ำเร็ จ การศึ ก ษาและมี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ โ ครงการฯ ก�ำหนด จะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูในสังกัด สพฐ. หรือ สอศ. ในจ�ำนวนกลุ่มผู้เข้าเรียนวิชาชีพครูใหม่ มีทุน การศึกษาประมาณ ๕,๘๐๐ ทุน หรือประมาณร้อยละ ๑๐ ของเป้า หมาย “โครงการคุ รุ ท ายาท จะเป็ น โครงการที่ ดึ ง ดู ด คนดี คนเก่ง เข้ามาศึกษาวิชาชีพครูด้วยหลักสูตรและกระบวนการที่ เน้นการปฏิบัติและการฝึกอบรมที่เข้มข้น และเมื่อส�ำเร็จการศึกษา เป็นครูทมี่ คี วามรูท้ างวิชาการ เชีย่ วชาญทางวิชาชีพ และมีอดุ มการณ์ ในวิชาชีพครู จะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครู ในภู มิ ล�ำเนาของตนเอง เพื่ อ เป็ น การพั ฒ นาชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น และ ลดปัญหาเรื่องการโยกย้าย” เลขาธิการ กกอ. กล่าว


ระดมสมองพัฒนาโจทย์วิจัยด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะ กรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เปิ ด เผยถึ ง ความคื บ หน้ า ตามบั น ทึ ก ข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการวิจยั และพัฒนาระหว่างส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษากับกองทัพบก ว่า อุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศเป็นอุตสาหกรรมหนึง่ ทีเ่ ป็นโอกาสและมีศกั ยภาพทีจ่ ะสร้าง และพัฒนาให้ตอบสนองตรงตามความต้องการด้านอุตสาหกรรม ป้ อ งกั น ประเทศของกองทั พ และก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต ่ อ ภาค เศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งหลายประเทศในโลก ทั้งสหรัฐอเมริกา รัสเซีย จีน รวมถึงประเทศอาเซียน เช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิ ง คโปร์ ได้ พั ฒ นาอุต สาหกรรมด้านนี้อย่างจริงจัง เพราะ นอกจากจะเป็นการสร้างความมั่นคงในด้านการทหารของชาติแล้ว ยังเป็นการน�ำรายได้เข้าสู่ประเทศและสร้างงานให้แก่ประชาชน เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมประเภทอื่นได้อีกด้วย ดังนั้นหากทุกฝ่าย ทีเ่ กีย่ วข้องมีเป้าหมายร่วมกันในการทีจ่ ะพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศ ก็จะสามารถผลักดันให้เกิดการเติบโต ความก้าวหน้า และ น�ำมาซึ่งกระบวนการผลิตสนับสนุนอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ที่สามารถลดการพึ่งพาเทคโนโลยีและนวัตกรรมจากต่างประเทศได้ เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อไปว่า ส�ำหรับการส่งเสริมและ พัฒนานักวิจัยเพื่ออุตสาหกรรมป้องกันประเทศในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ นัน้ สกอ. ได้ใช้งบประมาณจ�ำนวน ๓๐ ล้านบาท เพือ่ สนับสนุน โครงการวิจยั พัฒนางานวิจยั เพือ่ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ทัง้ ใน ด้านการขนส่ง การช่าง พลาธิการ การสือ่ สาร และด้านอืน่ ๆ ได้เป็น อย่างดี จ�ำนวน ๑๔ โครงการ จากสถาบันอุดมศึกษาจ�ำนวน ๘ แห่ง ได้แก่ (๑) การพัฒนาเกราะแข็งกันกระสุนพอลิเมอร์สิทสมรรถนะ สูงจากเมตริกประเภทพอลิเบนซอกซาซีนเสริมแรงด้วยใยชนิดต่างๆ (๒) รถตรวจจับวัตถุระเบิดและระบบตัดสัญญาณจุดชนวนระเบิด (๓) การพัฒนาการออกแบบและผลิตชุดแหวนยางกันซึมที่ใช้ใน

ปืนใหญ่หนักกระสุนวิถรี าบ แบบ 34 FH N-45 A1 ขนาด ๑๕ มม. (๔) การเพิม่ สมรรถนะของระบบสือ่ สารแบบควบรวมด้วยเทคโนโลยี ระบุพิกัดจากดาวเทียมหลายระบบเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจ ทางทหาร (๕) การพัฒนากระสุนส่องวิถีจากปลอกกระสุนเหลือใช้ (๖) ชุดจ�ำลองเครือ่ งมือตรวจสอบสารพิษสนาม (๗) พลุกบั ดักหมึกสี (๘) ฐานข้อมูลภูมิประเทศเพื่อสถานการณ์ฝึกกรมรบพิเศษที่ ๕ (๙) การป้องกันการสูญเสียธาตุผสมของใบจักรแมงกานีสอะลูมเิ นียม บรอนซ์ (๑๐) การปรับปรุงสมบัติความต้านทานการสึกหรอของ สเตเตอร์ที่ใช้ในระบบขับเคลื่อนเครื่องพ่นน�้ำ (๑๑) แหล่งจ่ายก�ำลัง ชนิดเคลื่อนย้ายได้ส�ำหรับใช้ในงานทางการทหาร (๑๒) การพัฒนา ระบบสัง่ การป้อมปืนระยะไกลด้วยท่าทางการเคลือ่ นไหวของสัญญาณ มือ (๑๓) คอนกรีตประสิทธิภาพสูงส�ำหรับก�ำแพงป้องกันกระสุนและ กัมมันตรังสี และ (๑๔) เครือข่ายเซนเซอร์ไร้สายเพื่อตรวจจับการ บุกรุกพื้นที่ระวังป้องกัน ซึ่งเมื่อเร็วๆ นี้ได้มีการร่วมกันก�ำหนดโจทย์ วิจัยด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศเพื่อเพิ่มศักยภาพของกองทัพ และการป้องกันประเทศ เพือ่ ให้ได้โจทย์วจิ ยั ด้านอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศที่ตรงกับความต้องการของกองทัพบก และสอดคล้องกับ ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของการจัดท�ำโครงการวิจยั ตลอดจนให้ นักวิจัยของมหาวิทยาลัยเห็นถึงความต้องการของผู้ใช้และสอดคล้อง กับความสามารถของนักวิจยั “ทัง้ นี้ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษามี น โยบายจะส่ ง เสริ ม การพั ฒ นานั ก วิ จั ย ด้ า น อุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยจะสนั บ สนุ น งบประมาณจ�ำนวน ๕๐ ล้านบาท โดยคาดว่าจะเปิดรับข้อเสนอ โครงการจากนักวิจัยทั้งประเทศ ประมาณเดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ จึงขอเรียนเชิญผู้ที่สนใจติดตามข่าวได้จากเว็บไซต์ของส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาต่อไป” เลขาธิการ กกอ. กล่าว

5

อนุสารอุดมศึกษา


สกอ. เข้ม ดันนโยบาย

6

รองศาสตราจารย์ พิ นิ ติ รตะนานุ กู ล เลขาธิ ก ารคณะ กรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ได้จัดท�ำและเวียนแจ้งประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เรือ่ ง การจัดกิจกรรมต้อนรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ไปยั ง สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาในสั ง กั ด /ในก�ำกั บ ของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งได้ก�ำหนดนโยบาย ‘๔ ต้อง’ ในการจัดกิจกรรมต้อนรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ของ สถาบันอุดมศึกษา (๑) ต้องมุ่งเสริมสร้างกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์และ ก่อให้เกิดภาพลักษณ์เชิงบวกแก่สาธารณชน (๒) ต้องเคารพสิทธิ เสรี ภ าพ และหลั ก ความเสมอภาค ไม่ มี ค วามรุ น แรงและห้ า ม ล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคลทั้งทางร่างกายและหรือจิตใจ ไม่ดื่มสุรา และเสพสิ่งมึนเมาทุกชนิด (๓) ต้องไม่กระทบต่อการเรียนการสอน และ (๔) ต้องอยูใ่ นความรับผิดชอบ ก�ำกับดูแลของผูบ้ ริหาร คณาจารย์ บุคลากรทุกคณะ/ภาควิชา และนิสิตนักศึกษารุ่นพี่ รวมถึงต้องให้ ค�ำปรึกษาในการจัดกิจกรรมให้มีลักษณะสร้างสรรค์ ไม่ขัดต่อระเบียบ สถาบัน กฎหมาย วัฒนธรรม ประเพณี และมารยาททางสังคมที่ดีงาม เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อไปว่า สกอ. ได้ก�ำหนดมาตรการ ให้สถาบันอุดมศึกษาเปิดเผยรูปแบบกิจกรรม เพื่อสร้างความเข้าใจ กับนิสติ นักศึกษา บุคลากร ผูป้ กครอง และประชาชนทัว่ ไป ให้เข้าใจ วัตถุประสงค์ นโยบาย และมาตรการ ตลอดจนร่วมตรวจสอบการ จัดกิจกรรมได้ โดยให้นิสิตนักศึกษาใหม่เข้าร่วมกิจกรรมด้วยความ สมัครใจ รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองเข้ามาสังเกตการณ์การจัด กิจกรรมได้ และรุ่นพี่ที่จัดกิจกรรมจะต้องได้รับการคัดเลือก และ มี ก ารเตรี ย มความพร้ อ มพั ฒ นาทั ก ษะก่ อ นการจั ด กิ จ กรรม ทั้ ง นี้ ให้สถาบันอุดมศึกษามีบทลงโทษทางวินยั อย่างเข้มงวดกับนิสติ นักศึกษา

อนุสารอุดมศึกษา

‘๔ ต้อง’

คุมรับน้อง

รวมถึงผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรมที่ขัดต่อหลัก สิทธิมนุษยชนขัน้ พืน้ ฐาน หลักความเสมอภาค และกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ของสถาบัน โดยให้ออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับหรือหลักเกณฑ์และ มาตรการในการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับแนวนโยบายของ สกอ. ตลอดจนจัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังผ่านสื่อต่างๆ เพื่อติดตาม แลกเปลี่ยน เรียนรู้ แก้ไขปัญหา และประสานกับสือ่ มวลชนและผูป้ กครอง “สถาบันอุดมศึกษาควรมีการประเมินผลและแลกเปลีย่ น เรี ย นรู ้ ก ารจั ด กิ จ กรรมต้ อ นรั บ น้ อ งใหม่ แ ละประชุ ม เชี ย ร์ มี ก าร ยกย่ อ งชมเชยนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาที่ มีก ารจั ด กิ จ กรรมอย่ างสร้า งสรรค์ ให้เป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณชนในโอกาสอันควร ทั้งนี้ ให้ผู้บริหาร สถาบันอุดมศึกษาแต่ละสถาบัน ถือเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบ ในการด�ำเนินการตามนโยบายและมาตรการข้างต้นอย่างเคร่งครัด” เลขาธิการ กกอ. กล่าว เลขาธิการ กกอ. กล่าวในตอนท้ายว่า กิจกรรมต้อนรับ น้องใหม่และประชุมเชียร์ เป็นประเพณีทสี่ บื ทอดมายาวนานในสถาบัน อุดมศึกษา มีปณิธานเพื่อถ่ายทอดความสัมพันธ์ของนิสิตนักศึกษา รุ่นพี่สู่รุ่นน้อง ให้เกิดความสามัคคี มีระเบียบวินัย ความภาคภูมิใจ ในสถาบัน และมีการช่วยเหลือเกือ้ กูลฉันพีน่ อ้ ง ดังนัน้ เพือ่ ให้ประเพณี การรับน้องใหม่และการประชุมเชียร์ในสถาบันอุดมศึกษาเป็นไปด้วย ความเรียบร้อย ธ�ำรงไว้ซึ่งปณิธานที่ดีงาม อีกทั้งมีลักษณะในการ จัดกิจกรรมทีส่ ร้างสรรค์ อบอุน่ ประทับใจ และเสริมสร้างการพัฒนา นิสิตนักศึกษา สกอ. ได้จัดการประชุมชี้แจงนโยบาย เรื่อง การจัด กิจกรรมต้อนรับน้องใหม่และประชุมเชียร์ในสถาบันอุดมศึกษาในวันที่ ๒๓ มิถุนายน ที่ผ่านมา เพื่อชี้แจงนโยบายและระดมความคิดเห็น ให้มกี ารจัดกิจกรรมรับน้องอย่างสร้างสรรค์


สกอ. เตรียมรับสมัครทุนใต้ ปี ๕๘ รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะ กรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยถึงโครงการทุนอุดมศึกษาเพื่อ การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระยะที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ กลุ่มที่ ๑ ส�ำหรับนักเรียนที่ไม่สามารถสอบเข้าศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษาได้ ว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ยังคง ร่วมกับสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดจัดโครงการทุนอุดมศึกษาเพื่อ การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยในปีนี้มีสถาบันอุดมศึกษา เข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน ๘๔ แห่ง โดยอนุเคราะห์ที่นั่งในการ เข้าศึกษา พร้อมให้ทุนค่าเล่าเรียนจ�ำนวน ๒,๓๒๓ ที่นั่ง ซึ่งผู้ได้ รับทุนในล�ำดับที่ ๑ - ๑๒๕ จะได้รับสิทธิ์ที่นั่งในการเข้าศึกษา เป็นกรณีพิเศษ และได้รับทุนค่าเล่าเรียนจากสถาบันอุดมศึกษา ตลอดระยะเวลาการศึกษาของหลักสูตร ตามเงื่อนไขที่สถาบัน อุดมศึกษาก�ำหนด พร้อมทั้งได้รับทุนค่าครองชีพเป็นเงินจ�ำนวน ๔๐,๐๐๐.-บาท/ปี ก ารศึ ก ษา ตามระยะเวลาการศึ ก ษาของ หลักสูตรจากส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยเบิกจ่าย เงิ น ทุ น ผ่ า นสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ส�ำหรั บ ผู ้ ไ ด้ รั บ ทุ น ในล�ำดั บ ที่ ๑๒๖ เป็นต้นไป จะได้รับสิทธิ์ที่นั่งในการเข้าศึกษาเป็นกรณี พิเ ศษ และ/หรื อ ได้ รั บ ทุ นค่า เล่ าเรี ยนจากสถาบั นอุด มศึก ษา ตลอดระยะเวลาการศึกษาของหลักสูตร ตามเงื่อนไขที่สถาบัน อุดมศึกษาเป็นผู้ก�ำหนด โดย สกอ. ได้ประกาศรับสมัครทุน ตัง้ แต่วนั ที่ ๒ มิถนุ ายนทีผ่ า่ นมา ทางเว็บไซต์ www.mua.go.th

“ทั้งนี้ ผู้สมัครจะต้องไปสมัครด้วยตนเอง ระหว่างวันที่ ๒๗ - ๒๙ มิถนุ ายน ๒๕๕๘ ณ อาคารเรียนรวม (อาคาร ๑๙) มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ระหว่างเวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. ไม่เว้นวันหยุดราชการ สกอ. จะประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ ผ่านทางเว็บไซต์ www.mua.go.th ในวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘ หลังจากนั้น สกอ. จะจัดปฐมนิเทศผู้รับทุนโครงการทุนอุดมศึกษา เพื่ อ การพั ฒ นาจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ และสอบสั ม ภาษณ์ ผู ้ ส มั ค ร รั บ ทุ น โดยคณะกรรมการกลาง ณ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตปัตตานี จังหวัดปัตตานี ในวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๘ สถาบัน อุดมศึกษาด�ำเนินการสอบสัมภาษณ์และรายงานตัวตามเงือ่ นไขทีก่ �ำหนด ณ สถาบันอุดมศึกษา ในระหว่างวันที่ ๒๐ - ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ และ สกอ. จะประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์ได้รับทุนตามโครงการฯ ภายใน เดือนสิงหาคม ๒๕๕๘ ทางเว็บไซต์ www.mua.go.th ซึ่งสามารถ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่เว็บไซต์ www.mua.go.th หรือ สอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมที่ โทร.๐๒ ๖๑๐ ๕๔๑๙” เลขาธิการ กกอ. กล่าว เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า ส่วนการด�ำเนินโครงการทุนใต้ กลุม่ ที่ ๒ ส�ำหรับนักเรียนทีส่ ามารถสอบเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาได้ ซึ่ ง พิ จ ารณาจากนั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ ๑ ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ที่ มี ผ ล การเรียนดี ฐานะยากจน ความประพฤติดี โดยเน้นสาขาขาดแคลน หรือสาขาทีม่ คี วามต้องการของพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้ จ�ำนวน ๑๒๕ ทุน สกอ.จะเริม่ ด�ำเนินการรับสมัครประมาณเดือนธันวาคม ๒๕๕๘

7

อนุสารอุดมศึกษา


ร่างรัฐธรรมนูญในมิติอุดมศึกษา รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะ กรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยถึงข้อคิดเห็นเกี่ยวกับ ร่างรัฐธรรมนูญในประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องหรือมีผลกระทบ ต่ออุดมศึกษา ว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้ ร ่ ว มประชุ ม กั บ ประธานที่ ป ระชุ ม อธิ ก ารบดี แ ห่ ง ประเทศไทย ประธานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และ นายกสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย เกีย่ วกับร่าง รัฐธรรมนูญทีค่ ณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้เสนอสภาปฏิรปู แห่งชาติ ซึ่งได้ข้อคิดเห็น ๓ ด้านหลัก ดังนี้ (๑) ด้านหน้าที่พลเมืองและสิทธิของพลเมือง เห็นว่า การสร้ า งความเป็ น พลเมื อ งที่ ดี มี ๒ ลั ก ษณะ คื อ การปลู ก ฝั ง และการส่ ง เสริ ม ดั ง นั้ น การก�ำหนดช่ ว งอายุ ข องพลเมื อ งจึ ง มี ความส�ำคั ญ โดยการปลู ก ฝั ง ต้ อ งเริ่ ม ตั้ ง แต่ ช ่ ว งปฐมวั ย จนถึ ง มัธยมศึกษา และการส่งเสริมควรเป็นในระดับอุดมศึกษา นอกจากนี้

8

Going Global 2015: Connecting cultures, forging futures

๑ - ๓ มิถุนายน ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุ กูล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เข้าร่วมการประชุม Going Global 2015: Connecting cultures, forging futures ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจั ก ร โดยมี ผู ้ น�ำด้ า นการศึ ก ษาและผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย จาก ๘๐ ประเทศทั่วโลกเข้าร่วมการประชุม หัวข้อหลักในการประชุม ครั้งนี้ ได้แก่ (๑) Academic discipline and subject culture (๒) Organizational cultures และ (๓) National, regional and local cultures ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนเชิงนโยบายและเปิดมุมมอง เกี่ยวกับพัฒนาการของอุดมศึกษาโลก ที่สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ใน การด�ำเนินงานเชิงรุกเพือ่ ส่งเสริมความเป็นสากลของอุดมศึกษาไทย ทัง้ ยัง เป็นเวทีที่เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมงานได้สร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างผู้ก�ำหนดนโยบายทางการศึกษาจากทั่วโลก ประเด็ น ส�ำคั ญ จากการประชุ ม มี ดั ง นี้ (๑) รัฐบาลอังกฤษตั้งเป้าหมายในการเพิ่มมูลค่าการ ส่งออกด้านการศึกษาจาก ๑๘ พันล้านปอนด์ เป็น ๓๐ พันล้านปอนด์ ในปี ๒๐๒๐ ซึ่งการที่จะ บรรลุ เ ป้ า หมายดั ง กล่ า วจ�ำเป็ น ต้ อ งดึ ง ดู ด ให้นักศึกษาที่เก่งและฉลาดที่สุดมาเรียน ในประเทศเพิ่ ม ขึ้ น (๒) การพั ฒ นา อนุสารอุดมศึกษา

การคุ้มครองเสรีภาพทางวิชาการ เห็นว่ามีหลายด้าน หลายมิติ จึงสมควรวางกรอบเสรีภาพทางวิชาการภายใต้กรอบมาตรฐานในทาง วิชาการ (๒) ด้ า นการคลั ง และงบประมาณ การก�ำหนดให้ มี หลักธรรมาภิบาลเกี่ยวกับการเงินการคลังในรัฐธรรมนูญ เห็นว่า สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาจะต้ อ งมี ค วามคล่ อ งตั ว ในการบริ ห ารงาน การจัดการด้านงบประมาณและการบริหารงานบุคคลจะต้องเป็นไป อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง หลั ก การดั ง กล่ า วจะต้ อ งปรากฏใน กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญที่จะต้องรองรับหลักการดังกล่าวไว้ (๓) ด้านการปฏิรูปด้านการศึกษา เห็นว่ารัฐควรมีการ วางแผนในการก�ำหนดจ�ำนวนสถาบันอุดมศึกษาให้เหมาะสมกับ จ�ำนวนประชากรและค�ำนึงถึงคุณภาพในการจัดการศึกษา นอกจากนี้ การให้สภาวิชาชีพมีอ�ำนาจในการเข้ารับรองหลักสูตรการศึกษา จะต้องค�ำนึงถึงมาตรฐานการศึกษาที่รัฐก�ำหนด

การอุดมศึกษาไปสู่สากล เน้นให้ผู้บริหารมหาวิทยาลัยต้องพิจารณา ปัจจัยที่น�ำไปสู่ความส�ำเร็จในมิติอื่นๆ ประกอบด้วย โดยไม่ค�ำนึง ถึงเฉพาะจ�ำนวนนักศึกษาต่างชาติ จ�ำนวนบันทึกความเข้าใจ หรือ จ�ำนวนหลักสูตรนานาชาติเท่านั้น นอกจากนี้ ผู้บริหารต้องพิจารณา ให้รอบด้านในการพัฒนามหาวิทยาลัยเพื่อให้ได้รับการจัดอันดับ ในระดับต่างๆ ที่จะน�ำไปสู่การเปลี่ยนจาก ‘คู่ความร่วมมือ’ ไปสู่ การเป็น ‘คู่แข่งขัน’ (๓) คุณภาพกับการจัดการศึกษา ผู้เข้าร่วมงาน ได้ เ น้ น ว่ า ต้ อ งพั ฒ นาระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของแต่ ล ะ ประเทศให้มีความเข้มแข็ง ซึ่งจะส่งผลให้การจัดการศึกษาเป็นไป อย่ า งมี คุ ณ ภาพและได้ รั บ การยอมรั บ คุ ณ วุ ฒิ ร ะหว่ า งกั น ทั้ ง นี้ ในปัจจุบันภาคอุดมศึกษาก�ำลังเผชิญกับปัญหาการจัดการศึกษาที่ ขาดคุณภาพ ทัง้ ระบบการศึกษาไม่สามารถด�ำเนินการได้ทนั กับสังคม ที่เปลี่ยนแปลง การจัดการศึกษาไม่สอดคล้องกับโลกแห่งการท�ำงาน (๔) การจัดการศึกษาข้ามชาติก�ำลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ในรูปแบบที่หลากหลายตามความต้องการของผู้เรียน แต่ในปัจจุบัน ยังไม่มีมาตรฐานระดับนานาชาติที่จะก�ำกับดูแลการจัดการศึกษา ข้ามชาติ ดังนัน้ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องทัง้ ในระดับนโยบายและระดับปฏิบตั ติ อ้ ง ร่วมกันก�ำกับดูแลคุณภาพของการจัดการศึกษา คุณภาพของนักศึกษา และหลักสูตรที่เปิดสอน เพื่อให้เกิดคุณภาพอย่างแท้จริง


ดนตรีไทยอุดมศึกษา รองศาสตราจารย์ พิ นิ ติ รตะนานุ กู ล เลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา เปิ ด เผยถึ ง กิ จ กรรมเพื่ อ เฉลิ ม พระเกียรติ สมเด็ จพระเทพรัตนราชสุด าฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ว่า ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดและก�ำกับส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา และสถาบันอุดมศึกษาสังกัดหน่วยงานอื่น ด�ำเนินโครงการ เฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ภายใต้ชื่องาน ‘วิศิษฏศิลปินสรรพศิลป์สโมสร’ ซึ่งก�ำหนด จัดขึ้นระหว่างวันที่ ๑๔ - ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ณ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ พร้อมทั้งให้นิสิตนักศึกษาได้เห็นถึงคุณค่า และ ร่วมสืบสาน เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย ทั้งนี้ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะเสด็จพระราชด�ำเนิน ทรงเปิดงาน ในวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า ในการจัดงาน ‘วิศิษฏศิลปิน สรรพศิลป์สโมสร’ เป็นการรวมงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๑๖ และงานดนตรี ไ ทยอุ ด มศึ ก ษา ครั้ ง ที่ ๔๒ เป็ น งานเดี ย ว โดยมี รูปแบบและกิจกรรมเฉลิมฉลองในลักษณะการแสดงดนตรีไทยวง มหาดุริยางค์ และการบรรเลงดนตรีไทยของกลุ่มภาค การแสดง นาฏศิลป์และศิลปวัฒนธรรมไทย อาทิ โขน หนังใหญ่ หุ่นคน หุ่นละคร เล็ก ลิเก ละครนอก ละครใน หมากรุกคน วัฒนธรรมท้องถิ่น/รายภาค

เพลงเรือ เพลงอีแซว ล�ำตัด เพลงลูกทุ่ง โนรา จากนิสิต นักศึกษา ทัว่ ประเทศ นอกจากนี้ ยังมีการเสวนาวิชาการและการจัดนิทรรศการ พระอั จ ฉริ ย ภาพด้ า นดนตรี แ ละนาฏศิ ล ป์ ในสมเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และการออกร้านอาหาร ๔ ภาค สินค้าหัตถกรรมของนิสิต และสินค้าอื่นๆ ในการจัดงานครั้งนี้ ได้มีการออกแบบตราสัญลักษณ์ ‘เฉลิมพระเกียรติวิศิษฏศิลปิน ๖๐ พรรษา’ ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของงาน โดยได้รับพระราชานุ ญาตแล้ว ซึ่งได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ภิญโญ สุวรรณคีรี ราชบัณฑิต และศิลปินแห่งชาติ เป็นผู้ออกแบบ เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า นอกจากนี้ สกอ. ยังร่วมกับ มหาวิทยาลัยบูรพาจัดงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๔๑ ในระหว่าง วันที่ ๕ - ๗ มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ มหาวิทยาลัยบูรพา โดยการจัด งานมีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วม จ�ำนวน ๘๓ แห่ง นิสิต นักศึกษา คณาจารย์ ประมาณสองพันกว่าคน และมีการเปิดนิทรรศการ มีการ บรรเลงดนตรีไทย เช่น กลุ่มปี่พาทย์ ขิม จะเข้ ซอด้วงและซออู้ ขลุ่ย เพียงออ และซอสามสาย ของนิสติ นักศึกษาจากทุกภูมภิ าคของไทย “งานดนตรีไทยอุดมศึกษา เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่ มีใจรักในดนตรีไทยได้มีโอกาสแสดงฝีมือ ทักษะด้านดนตรีไทย อันท�ำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และความสมัครสมานสามัคคี ในหมู่นักดนตรีไทย นิสิต นักศึกษา ครู อาจารย์ของสถาบันต่างๆ รวมทั้งช่วยส่งเสริมอนุรักษ์ดนตรีไทย อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ที่ล�้ำค่า ตลอดจนเป็นการสร้างเครือข่ายทางวิชาการและวัฒนธรรม อันดีงาม และเกิดการพัฒนาในทุกๆ ด้าน” เลขาธิการ กกอ. กล่าว

9

อนุสารอุดมศึกษา


สนับสนุนทุนวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ 10

๕ มิถุนายน ๒๕๕๘ - ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดการ ปฐมนิเทศผู้รับทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ โดย ได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธีเปิด ณ ห้องกมล ทิพย์ โรงแรมเดอะสุโกศล รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะ กรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิ จั ย ได้ ร ่ ว มมื อ ท�ำงานกั บ ส�ำนั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เพือ่ ยกระดับความเข้มแข็งทางวิชาการ สร้างความมัน่ คง และความเจริญก้าวหน้าให้แก่ประเทศด้วยการให้ทนุ สนับสนุน และ ส่งเสริมให้นักวิจัยมีโอกาสท�ำงานวิจัยอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะ นั ก วิ จั ย รุ ่ น ใหม่ ซึ่ ง จะก้ า วไปเป็ น นั ก วิ จั ย อาชี พ ต่ อ ไปในอนาคต ซึ่ ง สอดคล้ องกั บ เป้าหมายในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสั ง คม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ที่ต้องการเพิ่มอันดับ ความสามารถในการแข่ ง ขั น ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เ ทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรม ตลอดจนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ประเทศไทยสามารถ แข่งขันในเวทีโลกได้อย่างยั่งยืน “สกอ. ได้จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนทุนวิจัย แก่นักวิจัยในทุกระดับ ทั้งอาจารย์รุ่นใหม่ รุ่นกลาง และรุ่นอาวุโส

อนุสารอุดมศึกษา

ซึ่งในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ทาง สกอ. จะร่วมกับ สกว. ในการ สนั บ สนุ น ทุ น ต่ า งๆ โดยเฉพาะทุ น พั ฒ นาศั ก ยภาพในการท�ำงาน วิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่” เลขาธิการ กกอ. กล่าว เลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อว่า สกอ. และ สกว. ได้มีการ สนับสนุนทุนพัฒนาศักยภาพในการท�ำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ มาอย่ า งยาวนานกว่ า ๑๐ ปี ได้ ส นั บ สนุ น ทุ น วิ จั ย กว่ า ๓,๐๐๐ โครงการ โดย สกอ. และ สกว. ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ นั ก วิ จั ย รุ ่ น ใหม่ ไ ด้ ท�ำวิ จั ย อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง หลังจากจบปริญญาเอก และก้าวไปสู่การท�ำงานวิจัยในระดับที่สูงขึ้น อีกทั้งการให้มีนักวิจัยที่ปรึกษาจะท�ำให้นักวิจัยรุ่นใหม่ได้มีโอกาส ท�ำงานวิจยั ร่วมกับนักวิจยั อาวุโส และเกิดการสร้างทีมวิจยั ทีเ่ ข้มแข็ง เพื่อพัฒนางานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์ในระยะยาว เกิดการสร้าง ผลงานวิจัยพื้นฐานที่มีคุณภาพ ตลอดจนสร้างความเชื่อมโยงและ ความร่วมมือระหว่างนักวิจัยทั้งในประเทศและในระดับนานาชาติ “การประชุ ม ในวั น นี้ ถื อ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการรั บ ทุ น นั ก วิ จั ย รุ ่ น ใหม่ ที่ จ ะได้ ม ารั บ ทราบข้ อ มู ล และข้ อ ปฏิ บั ติ ต ่ า งๆ ในการรับทุน รวมถึงวิธกี ารบริหารจัดการทุน ซึง่ จะส่งผลให้การด�ำเนิน การวิจัยประสบความส�ำเร็จในอนาคต ทั้งนี้ ขอเป็นก�ำลังใจให้กับ นักวิจัยรุ่นใหม่ท�ำงานวิจัยได้ประสบความส�ำเร็จตามที่คาดไว้ และ น�ำงานวิจัยมาพัฒนาประเทศต่อไป” เลขาธิการ กกอ. กล่าว


ส่งเสริมสหกิจศึกษาเตรียมบัณฑิต

เข้าสู่ประชาคมอาเซียน

๖ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๘ - ส�ำนั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ร่วมกับสมาคมสหกิจศึกษาไทย เครือข่ายเพื่อการ พัฒนาอุดมศึกษา ๙ ภูมิภาค สถาบันอุดมศึกษา สถานประกอบการ ตลอดจนเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนารูปแบบ สหกิจศึกษา ร่วมจัดงานวันสหกิจศึกษาไทย ครั้งที่ ๖ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ภายใต้ค�ำขวัญ ‘มองภาพสหกิจศึกษาไทย เมื่อโลก ไร้พรมแดน’ มีวัตถุประสงค์ในการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในการ ศึกษาแบบสหกิจศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกย่องและให้เกียรติแก่ ผู้ท�ำคุณประโยชน์ให้กับสหกิจศึกษาในประเทศ รวมทั้งเป็นการ สร้ า งปฏิ สั ม พั น ธ์ อั น ดี เพื่ อ ให้ ทุ ก ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชนตระหนั ก และเล็ ง เห็ น ความส�ำคั ญ ในประโยชน์ ของระบบสหกิจศึกษาของไทยในปัจจุบัน ซึ่งในงานประกอบด้วย กิจกรรมการเสวนา Best Practice ของการด�ำเนินการสหกิจศึกษา ร่วมกับสถานประกอบการและนิทรรศการผลงานของเครือข่ายพัฒนา สหกิจศึกษาทั่วประเทศ โดยได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธาน พิธีเปิด และบรรยายพิเศษ เรื่อง ‘สหกิจศึกษา : กลไกการพัฒนา บัณฑิตสู่สากล’ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น รองศาสตราจารย์ พิ นิ ติ รตะนานุ กู ล เลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า การด�ำเนินงานส่งเสริม สหกิจศึกษาในปัจจุบันจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมุ่งจัดเตรียมความ พร้อมคุณภาพของบัณฑิตที่จบการศึกษาให้พร้อมเข้าสู่ประชาคม อาเซียนและประชาคมโลก ซึง่ สกอ. พร้อมภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ได้ ร ะดมความคิ ด เห็ น และวางกรอบนโยบายสู ่ ภ าคปฏิ บั ติ ใ น

สถานศึกษาที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่อง การจัดงานวันสหกิจศึกษาไทย ครั้งที่ ๖ เป็นการแสดงถึงผลลัพธ์ในเชิงคุณภาพของผลการเข้าร่วม สหกิจศึกษาของบัณฑิตในแต่ละสถาบันทีไ่ ด้สร้างผลงานเชิงประจักษ์ ตลอดจนนวัตกรรมทางความคิดที่น่าสนใจ น�ำไปสู่การผลักดันและ ส่งเสริมให้สังคมประเทศชาติได้รับประโยชน์จากหลักสูตรสหกิจ ศึกษาในหลากหลายสถาบันทั่วประเทศ ปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษา ที่ด�ำเนินการสหกิจศึกษามีจ�ำนวน ๑๑๗ แห่ง หรือร้อยละ ๖๗ จากจ�ำนวนมหาวิทยาลัยทั้งหมดทั่วประเทศ มีจ�ำนวนนักศึกษา สหกิ จ ศึ ก ษาประมาณ ๓๖,๗๓๕ คน และองค์ ก รผู ้ ใช้ บั ณ ฑิ ต หรือสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา จ�ำนวน ๑๔,๒๔๖ แห่ง “จากผลการวิ จั ย และการศึ ก ษาหลายฉบั บ ยื น ยั น ถึ ง ประโยชน์และคุณค่าของสหกิจศึกษา ว่าสามารถช่วยให้นักศึกษา ที่ ผ ่ า นหลั ก สู ต รสหกิ จ ศึ ก ษาได้ ง านเร็ ว กว่ า และมากกว่ า บั ณ ฑิ ต ที่ไม่ได้เข้าร่วมสหกิจศึกษา ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ในคุ ณ ภาพบั ณ ฑิ ต สหกิ จ ศึ ก ษาสู ง กว่ า บั ณ ฑิ ต ที่ ไ ม่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว ม สหกิ จ ศึ ก ษา และจากผลการส�ำรวจของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาพบ ว่า นักศึกษาที่ผ่านสหกิจศึกษามีวุฒิภาวะและความรับผิดชอบสูง ขึ้น โดยเฉพาะการมีความพร้อมต่อการก้าวไปสู่โลกความเป็นจริง ในวิชาชีพและการด�ำเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพสามารถรับผิดชอบ ทั้ ง ต่ อ ตนเอง ครอบครั ว และสั ง คมได้ จึ ง เป็ น เหตุ ส�ำคั ญ ให้ ประเทศชาติ ส ามารถเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งได้ ต ามเป้ า หมายของภาครั ฐ วางไว้” เลขาธิการ กกอ. กล่าว

11

อนุสารอุดมศึกษา


พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ

การจัดการศึกษาสำ�หรับคนพิการ 12

๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนา ศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาส�ำหรับคนพิการ ในระดับอุดมศึกษา (หลักสูตรส�ำหรับคณาจารย์ผู้สอนและหลักสูตร ส�ำหรับเจ้าหน้าทีเ่ ทคโนโลยีสารสนเทศ) โดยได้รบั เกียรติจากนางสาว อาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็น ประธานในพิธเี ปิด ณ โรงแรมแกรนด์ จอมเทียน พาเลซ จังหวัดชลบุรี นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กล่าวว่า จากผลการส�ำรวจจ�ำนวนนักเรียน นิสิต นั ก ศึ ก ษาพิ ก ารที่ ศึ ก ษาอยู ่ ใ นสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาในสั ง กั ด และ ก�ำกับส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๗ มีจ�ำนวนทั้งสิ้น ๒,๘๕๔ คน ซึ่งเป็นจ�ำนวนที่เพิ่มขึ้นในทุกปี ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็ น การลดอุ ป สรรคและเพิ่ ม โอกาสในการเข้ า ถึ ง การศึ ก ษาของนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาพิ ก าร สกอ. ได้ ก�ำหนดนโยบาย ยุ ท ธศาสตร์ แ ละมาตรการจั ด การศึ ก ษาส�ำหรั บ คนพิ ก ารขึ้ น เพื่ อ มุ ่ ง เน้ น ให้ ค นพิ ก ารได้ รั บ โอกาสและบริ ก ารทางการศึ ก ษา เท่าเทียมกับคนทั่วไป รวมทั้งได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาเปิ ด โอกาสและรั บ คนพิ ก ารเข้ า ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ อุดมศึกษามากยิ่งขึ้น และเนื่องจากคนพิการแต่ละประเภทมีความ ต้องการที่หลากหลายและแตกต่างกันออกไป ดังนั้น การเพิ่มพูน ความรู ้ แ ละพั ฒ นาทั ก ษะที่ จ�ำเป็ น ให้ แ ก่ ค ณาจารย์ ผู ้ ส อนนิ สิ ต นักศึกษาพิการเป็นอีกหนึ่งปัจจัยส�ำคัญที่ต้องรีบด�ำเนินการ เพื่อให้

อนุสารอุดมศึกษา

คณาจารย์ผู้สอนต้องมีทักษะความรู้และความเข้าใจถึงความต้องการ ของคนพิการเหล่านั้นด้วย “นักศึกษาพิการเป็นกลุม่ ส�ำคัญทีจ่ �ำเป็นต้องใช้เทคโนโลยี เพื่อช่วยอ�ำนวยความสะดวกในการเข้าถึงการศึกษา การพัฒนา ศั ก ยภาพของเจ้ า หน้ า ที่ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ (IT) เป็นอีกหนึ่ง โครงการส�ำคั ญ ที่ ต ้ อ งการให้ ผู ้ ที่ มี ค วามรู ้ ความสามารถ และ เชี่ยวชาญด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้น�ำทักษะความรู้ที่ได้ รับไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ การฝึกอบรมจะช่วยให้ได้รับการ เพิม่ พูนทักษะความรูจ้ ากการฝึกปฏิบตั ิ และการเดินทางไปศึกษาดูงาน ในหน่ ว ยงานที่ มี ค วามเป็ น เลิ ศ ด้ า นการจั ด เทคโนโลยี สิ่ ง อ�ำนวย ความสะดวกทางด้านการศึกษาส�ำหรับคนพิการ จะเป็นประโยชน์ อย่ า งสู ง สุ ด และน�ำความรู ้ ที่ ไ ด้ รั บ ไปใช้ ใ นการให้ บ ริ ก ารแก่ นิ สิ ต นักศึกษาพิการต่อไป” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อไปว่า สกอ. ได้สนับสนุน งบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์ สื่อ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกทางการ ศึกษาให้แก่สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีนักศึกษาพิการศึกษาอยู่ และสนั บ สนุ น งบประมาณในการจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ห รื อ หน่ ว ยบริ ก าร สนับสนุนนักศึกษาพิการ (Disability Support Services Center DSS Center) ขึ้นในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งปัจจุบันมี ๓๓ ศูนย์ ในทุกภูมิภาคทั่วประเทศ พร้อมทั้งได้ด�ำเนินการพัฒนาศักยภาพ บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการศึกษาส�ำหรับคนพิการควบคูก่ นั มา อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี ๒๕๕๒


สร้างแนวปฏิบัติที่ดี

‘อาจารย์มืออาชีพ’ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ‘TQF and The Professional Standards Framework’ โดยได้รับเกียรติ จากนายสุภัทร จ�ำปาทอง รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เป็นประธานในพิธีเปิด และ Mr. Gerard Madill ผู ้ เชี่ ย วชาญจากสหภาพยุ โรป เข้ า ร่ ว มโครงการ ณ โรงแรม เซ็นจูรี่ พาร์ค นายสุภัทร จ�ำปาทอง รองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กล่าวว่า จากแนวโน้มการจัดการศึกษาที่เน้น Outcome base ผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษาตามที่ก�ำหนด ไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จึงเป็น สาเหตุให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนการออกแบบหลักสูตร การจัด การเรียนการสอน การวัดและการประเมินผลผูเ้ รียน เพือ่ ให้บรรลุ ตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พึงประสงค์ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการ ศึกษาเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ปัจจัยส�ำคัญที่จะท�ำให้ ประสบความส�ำเร็จได้คอื อาจารย์ อาจารย์ตอ้ งมีความเป็นอาจารย์ มืออาชีพ คือ เป็นผู้มีความรู้ในศาสตร์นั้นๆ มีประสบการณ์ ในการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล และทัศนคติ ที่ดีในความเป็นอาจารย์

13

“การประชุ มเชิ ง ปฏิ บัติ ก ารครั้ ง นี้ จั ด ขึ้ น เพื่ อ แลกเปลี่ยน เรียนรู้และร่วมกันสร้างแนวปฏิบัติที่ดีของการเป็นอาจารย์มืออาชีพ โดยผู ้ เชี่ ย วชาญจากสหภาพยุ โรปมาเป็ น ผู ้ น�ำเสนอแนวคิ ด และ ประสบการณ์ ใ นการพั ฒ นาอาจารย์ ต ามกรอบมาตรฐานอาจารย์ มืออาชีพของระบบการศึกษาของโลกและของกลุ่มประเทศตะวันตก รวมทั้งแลกเปลี่ยนความรู้และแนวทางการพัฒนาอาจารย์มืออาชีพ กับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยบางแห่ง ซึ่งได้ริเริ่มด�ำเนินการ เกี่ยวกับการพัฒนากรอบมาตรฐานอาจารย์มืออาชีพมาบ้างแล้ว ทั้งนี้ เพื่อน�ำตัวอย่างและประสบการณ์ต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศไปใช้ ในการพัฒนาอาจารย์ให้มีความเป็นมืออาชีพ เพื่อให้กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิที่ก�ำหนดไว้ประสบผลส�ำเร็จและน�ำไปปฏิบัติได้จริง และจะ ส่งผลให้ได้บัณฑิตที่มีผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นไปตามผลลัพธ์การเรียนรู้ ที่ได้ก�ำหนดไว้แล้ว จึงนับเป็นโอกาสที่ดีที่ผู้แทนจากสถาบันอุดมศึกษา ทุ ก แห่ ง ได้ ม าร่ ว มกั น พั ฒ นาแนวทางการจั ด การเรี ย นการสอนเพื่ อ ให้ บ รรลุ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง TQF ร่ ว มรั บ ฟั ง แนวคิ ด แสดง ความคิ ด เห็ น และหาแนวทางร่ ว มกั น ในการประยุ ก ต์ ใช้ PSF ใน บริบทของอุดมศึกษาไทย ซึ่งสิ่งที่ได้รับจากการประชุมเชิงปฏิบัติการ ในครั้งนี้จะช่วยพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการอุดมศึกษาของไทย ในอนาคตได้” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่า

อาเซียน

ไทย - ลาว สานความร่วมมืออุดมศึกษา 14

ส�ำนั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ได้ เ ตรี ย ม ความพร้อมเพื่อรองรับการรวมตัวของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยการสร้างความคุ้นเคยแบบรายบุคคลกับผู้บริหารระดับสูงของ หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบการอุดมศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียนอืน่ อีก ๙ ประเทศ เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับระบบอุดมศึกษา นโยบายการ บริหารจัดการการอุดมศึกษา และร่วมกันแก้ไขปัญหาทางการ อุดมศึกษาทีม่ รี ว่ มกัน การจัดการประชุมอย่างไม่เป็นทางการ (retreat) ร่วมกับหน่วยงานที่รับผิดชอบการบริหารจัดการการอุดมศึกษา ของกลุ ่ ม ประเทศอาเซี ย น ได้ด�ำเนิน การให้ผู้บ ริหารระดั บสู ง ของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้รู้จักกับผู้บริหาร ระดับสูงที่รับผิดชอบการบริหารจัดการการอุดมศึกษาของประเทศ สมาชิกอาเซียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความคุ้นเคยระหว่าง ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานที่รับผิดชอบการบริหารจัดการการ อุดมศึกษาของประเทศอาเซียนต่างๆ พร้อมทัง้ สร้างช่องทางในการ ติดต่อระหว่างกันได้โดยตรงให้มีความรวดเร็วและสะดวก เพื่อการ แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการก�ำหนดนโยบายและ การบริหารจัดการการอุดมศึกษาของประเทศอาเซียนอืน่ ๆ ตลอดจน สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของการอุดมศึกษาไทย เมือ่ วันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ทีผ่ า่ นมา ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดการประชุมอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผูบ้ ริหารระดับสูงของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

อนุสารอุดมศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ ราชอาณาจักรไทย กับผู้บริหารระดับสูงของ กรมการศึกษาชั้นสูง กระทรวงศึกษาธิการและกีฬา สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ครัง้ ที่ ๕ ณ โรงแรมพินนาเคิล แกรนด์ จอมเทียน รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดชลบุรี โดยได้รับเกียรติจาก นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดม ศึกษา เป็นประธานการประชุม และ Mr. Seng Xiongchunou รองอธิ บ ดี ก รมการศึ ก ษาชั้ น สู ง กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารและกี ฬ า สปป.ลาว เข้าร่วมประชุม นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เปิดเผยถึงแผนงานความร่วมมือระหว่างส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาและกรมการศึกษาชั้นสูง กระทรวง ศึกษาธิการและกีฬา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ระหว่าง ปี ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ ว่า จากการประชุมอย่างไม่เป็นทางการระหว่าง ผูบ้ ริหารระดับสูงของ สกอ. กับผูบ้ ริหารระดับสูงของกรมการศึกษา ชัน้ สูง กระทรวงศึกษาธิการและกีฬา สปป.ลาว ครัง้ ที่ ๕ ทีผ่ า่ นมา ที่ ป ระชุ ม ได้ เ ห็ น ชอบแผนงานความร่ ว มมื อ ในด้ า นต่ า งๆ ดั ง นี้ (๑) การจัดตั้งศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ ซึ่งเบื้องต้นฝ่ายลาวเสนอขอ ให้ฝ่ายไทยส่งวิทยากรไปให้ความรู้ในการสัมมนาเกี่ยวกับการจัดตั้ง ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ (๒) การจัดฝึกอบรมด้านการบริหารการเงิน โดยฝ่ายลาวขอให้ สกอ. จัดการฝึกอบรมด้านการบริหารการเงิน ให้แก่เจ้าหน้าทีก่ รมการศึกษาชัน้ สูง สปป.ลาว (๓) การวิจยั ในระดับ มหภาค โดยฝ่ายลาวขอให้ สกอ. จัดการฝึกอบรมและดูงานด้าน


นโยบายที่ เ กี่ ย วกั บ การวิ จั ย ในระดั บ มหภาค (๔) การเชิ ญ ผู ้ แ ทน จากกรมการศึกษาชั้นสูง สปป.ลาว เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ในหั ว ข้ อ “TQF and the Development of Professional Standards Framework” (๕) การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา โดยฝ่ า ยลาวขอให้ สกอ. ส่ ง ผู ้ เชี่ ย วชาญด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพ การศึ ก ษาไปร่ ว มแลกเปลี่ ย นความรู ้ ประสบการณ์ ตลอดจนให้ ค�ำปรึ ก ษา แนะน�ำแนวทางการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา (๖) การจั ด การศึ ก ษาดู ง านด้ า นการเก็ บ ข้ อ มู ล ภาวะ การมีงานท�ำของบัณฑิตและความพึงพอใจของผู้จ้างงาน โดยฝ่ายลาว ขอให้ สกอ. จัดการศึกษาดูงานด้านการเก็บข้อมูลภาวะการมีงานท�ำ ของบั ณ ฑิ ต และความพึ ง พอใจของผู ้ จ ้ า งงานให้ แ ก่ เจ้ า หน้ า ที่ จ าก กรมการศึกษาชั้นสูงและมหาวิทยาลัยของ สปป.ลาว (๗) การจัดการ ศึ ก ษาดู ง านหน่ ว ยงานบริ ห ารจั ด การเครื อ ข่ า ยการศึ ก ษาวิ จั ย โดย ฝ่ า ยลาวขอให้ สกอ. จั ด การศึ ก ษาดู ง านหน่ ว ยงานบริ ห ารจั ด การ เครื อ ข่ า ยการศึ ก ษาวิ จั ย ให้ แ ก่ เจ้ า หน้ า ที่ จ ากกรมการศึ ก ษาชั้ น สู ง และมหาวิทยาลัยของ สปป.ลาว (๘) ฝ่ายลาวจะจัดส่งผู้เชี่ยวชาญ ภาษาลาว ๒ คนมาเป็นบรรณาธิการร่วมในการจัดท�ำพจนานุกรม ภาษาลาว-ไทย-อังกฤษ ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่อง และ (๙) ฝ่ายไทย เสนอให้ มี กิ จ กรรมร่ ว มระหว่ า งนั ก ศึ ก ษาไทยกั บ นั ก ศึ ก ษาลาว โดยจะหารือในรายละเอียดต่อไป

15

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่อง

พิเศษ

กกอ. สัญจร...ครั้งที่ ๕

16

ในระยะเวลา ๑ ปีทผี่ า่ นมา ตัง้ แต่เดือนเมษายน ๒๕๕๗ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้จดั ประชุมคณะกรรมการ การอุดมศึกษาสัญจร ๔ ครัง้ และกิจกรรมเยีย่ มชมสถาบันอุดมศึกษาใน เครือข่ายอุดมศึกษา ๔ เครือข่าย คือ เครือข่ายอุดมศึกษาภาคตะวันออก เครื อ ข่ า ยอุ ด มศึ ก ษาภาคกลางตอนบน เครื อ ข่ า ยอุ ด มศึ ก ษา ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตอนบน และเครื อ ข่ า ยอุ ด มศึ ก ษา ภาคเหนือตอนบน ซึ่งคณะกรรมการการอุดมศึกษา และผู้บริหาร ของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประโยชน์จากการ รับฟังปัญหา ข้อเท็จจริง และร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ ประสบการณ์กับผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษาในการยกระดับ คุณภาพอุดมศึกษาไทย และหาแนวทางในการขับเคลื่อนนโยบาย ของคณะกรรมการการอุดมศึกษาสู่การปฏิบัติให้เห็นผลเป็นรูปธรรม พร้อมทัง้ ร่วมกันสร้างศักยภาพการท�ำงานของเครือข่ายอุดมศึกษา เมือ่ ต้นเดือนมิถนุ ายนทีผ่ า่ นมา ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาได้จดั การประชุม กกอ. สัญจร ครัง้ ที่ ๕ ณ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ และเครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนล่าง ในระหว่าง

อนุสารอุดมศึกษา

วันที่ ๘ - ๑๐ มิถนุ ายน ๒๕๕๘ โดยมี กิจกรรมการเยีย่ มชม (Site Visit) สถาบันอุดมศึกษาในเครือข่ายภาคใต้ตอนล่าง ใน ๓ เส้นทาง คือ (๑) มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ - มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา - มหาวิทยาลัยฟาฏอนี (๒) มหาวิทยาลัยทักษิณ (วิทยาเขต พัทลุง) - มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (๓) วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนสตู ล - มหาวิ ท ยาลั ย ราชมงคลศรี วิ ชั ย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การประชุมเสวนาร่วมกับเครือข่าย อุดมศึกษาภาคใต้ตอนล่าง ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษา ๙ แห่ง และ วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชน ๕ แห่ ง ได้ แ ก่ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มหาวิ ท ยาลั ย ทั ก ษิ ณ มหาวิ ท ยาลั ย นราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ มหาวิทยาลัย ฟาฏอนี วิ ท ยาลั ย พุ ท ธศาสนานานาชาติ วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนสตู ล วิทยาลัยชุมชนปัตตานี วิทยาลัยชุมชนยะลา วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส และวิทยาลัยชุมชนสงขลา และการประชุม กกอ. ครั้งที่ ๗/๒๕๕๘


รองศาสตราจารย์ คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ ประธาน กรรมการ ได้เสนอภาพรวมของนโยบายคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทีจ่ ะยกระดับคุณภาพการอุดมศึกษาไทย ใน ๘ ประเด็น ดังนี้ (๑) การลงทุนพัฒนาประเทศผ่านสถาบันอุดมศึกษา ใน ๓ โครงการใหญ่ คื อ โครงการขั บ เคลื่ อ นมหาวิ ท ยาลั ย ไทย สูม่ หาวิทยาลัยระดับโลก โครงการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษากลุม่ ใหม่ ให้ได้มาตรฐานการอุดมศึกษา และโครงการพัฒนาศักยภาพของ ทรัพยากรมนุษย์ในอุดมศึกษา (๒) การปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ให้มคี วามหลาก หลาย ครอบคลุมทัง้ สายวิชาการ สายวิชาชีพ หรือปฏิบตั กิ าร (๓) การประกันคุณภาพการศึกษา และการส่งเสริมสถาบัน อุดมศึกษาสูค่ วามเป็นเลิศ (๔) ร่าง พ.ร.บ. การอุดมศึกษา พ.ศ. .... และการแยก ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาออกจากกระทรวงศึกษาธิการ เป็นกระทรวงการอุดมศึกษา (๕) การติ ด ตาม ตรวจสอบ การจั ด การศึ ก ษานอก สถานทีต่ งั้ การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก และสถาบันอุดมศึกษา เอกชนทีเ่ ปลีย่ นประเภทแล้ว (๖) การส่งเสริมเครือข่ายมหาวิทยาลัย ทัง้ ๙ เครือข่าย ให้มคี วามเข้มแข็ง เน้นความร่วมมือและมีระบบการบริหารจัดการทีด่ ี (๗) การพัฒนาระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษา เพื่อปรับปรุงระบบในปัจจุบันให้มีประสิทธิภาพ และเสมอภาคมากยิง่ ขึน้ (๘) การผลิต พัฒนาครูและผู้บริหารการศึกษา ให้มี การผลิตครูที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ ทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ

ในขณะที่ รองศาสตราจารย์ พิ นิ ติ รตะนานุ กู ล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้น�ำเสนอนโยบายการ พัฒนาอุดมศึกษา ในภาพรวมการอุดมศึกษาไทยและนโยบาย ๔ คุณ ๔ สูง พัฒนาอุดมศึกษา ดังนี้ ภาพรวมการอุ ด มศึ ก ษาไทย ในขณะนี้ มี ส ถาบั น อุดมศึกษาในสังกัดและในก�ำกับของ สกอ. จ�ำนวน ๑๕๖ แห่ง และมี ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ ไ ม่ สั ง กั ด กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร อีกจ�ำนวนหนึ่ง ซึ่งในสถานการณ์ปัจจุบันแนวโน้มจ�ำนวนสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาจะเพิ่ มมากขึ้ น ในขณะที่ จ�ำนวนนั ก เรี ย นที่ จะเข้า สู่ อุดมศึกษามีแนวโน้มลดลง จ�ำนวนที่นั่งในสถาบันอุดมศึกษามี มากกว่าผู้ที่สมัครเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ดังนั้นสถาบัน อุดมศึกษาจึงควรหยุดขยายตัวในเชิงปริมาณ พร้อมทั้งทบทวน ภารกิจ (Reprofiling) ให้สอดคล้องกับบริบททีเ่ ปลีย่ นแปลงไป การรับนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนให้มากขึน้ เป็นแนวทางหนึง่ ใน การแก้ปัญหา โดยมีประเด็นส�ำคัญอยู่ที่คุณภาพ เนื่องจากผู้เรียน มีทางเลือกมากขึ้นที่จะเลือกเข้าศึกษาต่อในสถาบันที่มีคุณภาพ และมีความพร้อม ส�ำหรับจ�ำนวนผูด้ �ำรงต�ำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ มี ต�ำแหน่ ง ทางวิ ช าการระดั บ รองศาสตราจารย์ ขึ้ น ไปเพี ย ง ร้อยละ ๑๕ และในจ�ำนวนนี้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับศาสตราจารย์ เพียงร้อยละ ๒ เท่านั้น ซึ่งเป็นสัดส่วนที่น้อยมาก ในขณะที่ มี ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาจ�ำนวนมากเมื่ อ เที ย บกั บ ต่ า งประเทศ ซึ่งผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางวิชาการมีความสัมพันธ์กับคุณภาพของ สถาบัน เนือ่ งจากปรัชญาอุดมศึกษา คือ การสร้างองค์ความรูใ้ หม่ สร้างงานวิจยั และนวัตกรรม

17

อนุสารอุดมศึกษา


นโยบาย ๔ คุณ ๔ สูง พัฒนาอุดมศึกษา คุ ณ ภาพ/มาตรฐานสู ง โดยยกระดั บ คุ ณ ภาพ การอุดมศึกษาของประเทศไทยให้มีมาตรฐานเทียบเคียงได้ใน ระดับอาเซียนและระดับนานาชาติ โดยยกระดับคุณภาพบัณฑิต อาจารย์ และงานวิจยั

18

คุ ณ ธรรม/ธรรมาภิ บ าลสู ง โดยใช้ ห ลั ก ความรู ้ คู ่ คุ ณ ธรรม หลั ก ธรรมาภิ บ าลในการบริ ห ารจั ด การสถาบั น อุดมศึกษา สร้างความเข้มแข็งให้กรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษา และสถาบันอุดมศึกษาต้องรับผิดชอบต่อผลผลิตที่ผลิตออกมา คุณค่า/ศักยภาพสูง โดยส่งเสริมการพัฒนาอาจารย์ นักวิจยั บุคลากร และนักศึกษา ให้มศี กั ยภาพสูงทุกมิติ โดยการ สร้างเครือข่ายการท�ำงาน การให้ทนุ พัฒนาอาจารย์และบุคลากร การพัฒนานักศึกษาให้มี Soft Skill มีความสามารถในการ ปรับตัว มีทกั ษะทางภาษาและทักษะทางวิชาชีพ คุณประโยชน์/มูลค่าสูง โดยการต่อยอดงานวิจัย ให้มีมูลค่าสูงขึ้นเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน และสร้างประโยชน์ตอ่ การพัฒนาสังคมและประเทศ เน้นการสร้าง ความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมและชุมชน ส่งเสริมการวิจัย ในสายรับใช้สงั คม สร้างนักวิจยั รุน่ ใหม่ ส่งเสริมโครงการ Talent Mobility เป็นต้น

อนุสารอุดมศึกษา


ด้านรองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในฐานะประธานกรรมการบริหาร เครื อ ข่ า ยอุ ด มศึ ก ษาภาคใต้ ต อนล่ า ง กล่ า วถึ ง พั น ธกิ จ ของ เครื อ ข่ า ยฯ ภาคใต้ ต อนล่ า ง ประกอบด้ ว ย (๑) การสร้ า ง ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งเครื อ ข่ า ยอุ ด มศึ ก ษา กกอ. และ สกอ. เพื่ อ คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (Quality Driving) (๒) ส่ ง เสริ ม ให้ เครือข่ายมีสว่ นร่วมรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) โดยเฉพาะภาคใต้ตอนล่างทีม่ คี วามหลากหลายพหุวฒ ั นธรรม และ (๓) ส่งเสริมการเชื่อมโยงเครือข่ายฯ กับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม และภาคส่วนต่างๆ (Networking Linkage) เพื่อให้เกิดการ แลกเปลี่ยน/มีโจทย์การพัฒนาและแก้ปัญหาร่วมกันป้อนกลับ สู่ระบบอุดมศึกษา โดยผลการด�ำเนินงานเครือข่ายมีการด�ำเนิน โครงการ/กิจกรรม อาทิ เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอน เครือข่าย วิจยั เครือข่ายบัณฑิตอุดมคติไทย เครือข่ายสหกิจศึกษา เครือข่าย บ่มเพาะวิสาหกิจ เครือข่ายแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด เครือข่ายการประกันคุณภาพภายใน เครือข่ายอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืช ในการเสวนาร่วมกับเครือข่ายฯ ในเรื่อง ‘บทบาท สถาบันอุดมศึกษากับการพัฒนาภาคใต้’ โดย ศาสตราจารย์วรี ะศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ได้เชิญนักวิชาการอาวุโส ด้านสังคมศาสตร์ของประเทศ ศาสตราจารย์รัตติยา สาและ ศาสตราจารย์อ�ำนวย ยัสโยธา ศาสตราจารย์ครองชัย หัตถา และศาสตราจารย์อารี วิบูลย์พงศ์ มาร่วมเสวนากับ กกอ. สกอ. และอธิ ก ารบดี ห รื อ ผู ้ แ ทนสถาบั น สมาชิ ก เครื อ ข่ า ยฯ จ�ำนวน ๑๔ แห่ง ใน ๒ ประเด็น คือ การพัฒนาก�ำลังคนภาควิทยาศาสตร์ อนุสารอุดมศึกษา

และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาภาคใต้ และชุดวิจัยทางสังคมศาสตร์ ทีม่ ผี ลกระทบต่อภาคใต้ การเสวนาทั้ง ๒ ประเด็นดังกล่าว เป็นการยกระดับ การท�ำงานของเครือข่ายอุดมศึกษาในพืน้ ทีใ่ ห้มี Impact ต่อการแก้ไข ปัญหาและพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และส่งผลกระทบ ทีส่ �ำคัญต่อประเทศ ซึง่ จะสร้างความภาคภูมใิ จให้กบั สถาบันอุดมศึกษา โดยมีนักวิชาการระดับมันสมองของประเทศ ทั้งในด้านคติชนวิทยา ด้านภูมิศาสตร์ ด้านภาษาและวัฒนธรรม ด้านเศรษฐศาสตร์ และ ด้านวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ มาช่วยก�ำหนดโจทย์วจิ ยั และสร้างเครือข่าย นักวิจัยรุ่นใหม่มาช่วยท�ำงานเพื่อประเทศชาติ โดยมีฐานความคิดว่า การแก้ไขปัญหาและการพัฒนาภาคใต้ในปัจจุบนั องค์ความรูเ้ กีย่ วกับ สั ง คมและมนุ ษ ย์ เ ป็ น สิ่ ง ส�ำคั ญ ที่ สุ ด ในการอยู ่ ร ่ ว มกั น ของมนุ ษ ย์ การสร้างชุดวิจัยเพื่อน�ำองค์ความรู้ไปแก้ไขปัญหาภาคใต้จึงเป็น ภารกิจที่ส�ำคัญของอุดมศึกษา เพื่อให้รู้จักตัวตนของภาคใต้อย่าง แท้จริง ตัวตนทางภูมิศาสตร์ ตัวตนทางวัฒนธรรม การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการความขัดแย้ง และการปรับสภาพ ความคิดในการอยู่ร่วมกัน โดยมีมิติทางด้านเศรษฐกิจ มิติทางด้าน สุขภาวะเข้ามาช่วยให้สงั คมมีความสุข มีความเป็นอยูด่ ี ซึง่ ต้องมีการวิจยั และพัฒนาก�ำลังคนทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามาช่วยด้วย นอกจากนั้น ที่ประชุมยังมีแนวคิดสนับสนุนให้สถาบัน ทั ก ษิ ณ คดี ศึ ก ษาเป็ น ศู น ย์ ค วามรู ้ แ ห่ ง ชาติ เพื่ อ สร้ า งผู ้ รู ้ แ ละ องค์ความรู้เผยแพร่องค์ความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับภาคใต้ รวมทั้งเป็น แหล่งรวมนักคิด นักปราชญ์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศที่จะมี กิจกรรมร่วมกันเพือ่ สร้างสรรค์งานวิชาการต่างๆ

19

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่อง

แนะนำ� มอบหมายงาน

20

รองศาสตราจารย์ พิ นิ ติ รตะนานุ กู ล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยถึงการ มอบอ�ำนาจในส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่า เนื่องจากได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์สรนิต ศิลธรรม ให้ด�ำรง ต�ำแหน่งรองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตั้งแต่วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๘ ที่ผ่านมา เพื่อให้ การปฏิบตั ริ าชการของ สกอ. เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล จึงได้มคี �ำสัง่ ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ที่ ๑๙๑/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๘ เรื่ อ ง มอบอ�ำนาจให้ ป ฏิ บั ติ ร าชการแทน เลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา โดยได้ มอบอ�ำนาจให้ (๑) นางสาวอาภรณ์ แก่ น วงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา สั่งและ ปฏิ บั ติ ร าชการแทนเลขาธิ ก ารคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ในราชการของส�ำนักยุทธศาสตร์อดุ มศึกษา ต่างประเทศ (ยกเว้นโครงการหรืองานที่เกี่ยวข้องกับ ทุนการศึกษา) ส�ำนักส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ นักศึกษา (ยกเว้นโครงการหรืองานที่เกี่ยวข้องกับ ทุนการศึกษา) สถาบันวิจยั จุฬาภรณ์ สถาบันเทคโนโลยี แห่งเอเชีย (AIT) ศูนย์ภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ว่ า ด้ ว ยการอุ ด มศึ ก ษาและการพั ฒ นา (SEAMEO RIHED) และส�ำนั ก งานเลขานุ ก ารเครื อ ข่ า ย มหาวิ ท ยาลั ย อาเซี ย น (AUN) (๒) นายสุ ภั ท ร จ�ำปาทอง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา สั่งและปฏิบัติราชการแทนเลขาธิการคณะกรรมการ

อนุสารอุดมศึกษา

การอุ ด มศึ ก ษาในราชการของส�ำนั ก ประสานและ ส่งเสริมกิจการอุดมศึกษา ส�ำนักอ�ำนวยการ (ยกเว้น กลุ่มงานบริหารบุคคล) ส�ำนักงานบริหารเทคโนโลยี สารสนเทศเพือ่ พัฒนาการศึกษา โครงการมหาวิทยาลัย ไซเบอร์ไทย และกองทุนตัง้ ตัวได้ (๓) รองศาสตราจารย์ สรนิ ต ศิ ล ธรรม รองเลขาธิ ก ารคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษา สั่ ง และปฏิ บั ติ ร าชการแทนเลขาธิ ก าร คณะกรรมการการอุดมศึกษา ในราชการของส�ำนัก มาตรฐานและคุณภาพอุดมศึกษา ส�ำนักนโยบายและ แผนการอุดมศึกษา โครงการหรืองานที่เกี่ยวข้องกับ ทุนการศึกษา (ของส�ำนักส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะ บุคลากร ส�ำนักส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และส�ำนักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ) สถาบัน คลังสมองของชาติ และส�ำนักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและ วิจยั ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ (๔) นายขจร จิ ต สุ ขุ ม มงคล ผู ้ ช ่ ว ยเลขาธิ ก ารคณะกรรมการการ อุดมศึกษา รักษาการในต�ำแหน่งที่ปรึกษาด้านระบบ บริ ห าร สั่ ง และปฏิ บั ติ ร าชการแทนเลขาธิ ก ารคณะ กรรมการการอุดมศึกษาในราชการของส�ำนักส่งเสริม และพัฒนาสมรรถนะบุคลากร (ยกเว้นโครงการหรืองาน ทีเ่ กีย่ วข้องกับทุนการศึกษา) และส�ำนักนิตกิ าร ทัง้ นี้ ให้การปฏิบตั ริ าชการของส�ำนักติดตาม และประเมินผลอุดมศึกษา กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มงานบริหารบุคคล ส�ำนัก อ�ำนวยการ และกลุ่มงานกิจการเลขาธิการ ขึ้นตรงต่อ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา


เหตุการณ์

เล่าเรื่อง

จาก ๑๐ กันยายน ๒๕๐๙ จุดเริม่ ต้นของงานดนตรีไทย อุดมศึกษาครั้งแรก ซึ่งในขณะนั้นใช้ชื่องานว่า ‘งานชุมนุมสังสรรค์ ดนตรีไทย’ โดยมีวงเกษตรเป็นเจ้าภาพจัดงาน ณ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มี นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาจาก ๕ สถาบั น ร่ ว มงาน ได้ แ ก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (ศิรริ าช) และมหาวิทยาลัย ศิลปากร จากวันนั้นถึงวันนี้...เป็นเวลาเกือบ ๔๙ ปี ที่สถาบัน อุดมศึกษาผลัดกันเป็นเจ้าภาพจัดงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ๔๑ ครัง้ จาก ‘งานชุมนุมสังสรรค์ดนตรีไทย’ ในครั้งแรก ได้เปลี่ยนชื่อมา เป็น ‘งานสังสรรค์นกั ดนตรีไทย’ ในครัง้ ที่ ๒ และได้เปลีย่ นมาเป็น ‘งานดนตรีไทยอุดมศึกษา’ ในครัง้ ที่ ๔ จนถึงปัจจุบนั ซึง่ มหาวิทยาลัย บู ร พาเป็ น เจ้ า ภาพจั ด งานดนตรี ไ ทยอุ ด มศึ ก ษา ครั้ ง ที่ ๔๑ จัดระหว่างวันที่ ๕ - ๗ มิถนุ ายน ๒๕๕๘ ณ หอประชุมธ�ำรง บัวศรี มหาวิทยาลัยบูรพา มีสถาบันอุดมศึกษา ๘๓ แห่ง เข้าร่วมงาน โดยได้รบั เกียรติจาก รองศาสตราจารย์พนิ ติ ิ รตะนานุกลู เลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานเปิดงาน รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะ กรรมการการอุดมศึกษา เล่าว่า ดนตรีไทยเป็นอัตลักษณ์อนั โดดเด่นที่ แสดงถึงความเป็นไทย และเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล�ำ้ ค่าทีส่ บื ทอด กันมาตัง้ แต่รนุ่ บรรพบุรษุ เพือ่ ส่งต่อให้แก่คนรุน่ หลังได้รว่ มกันอนุรกั ษ์ และสืบสานให้คงอยู่สืบไป การจัดงานดนตรีไทยอุดมศึกษาเกิดขึ้น ครั้งแรกในปี ๒๕๐๙ ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีสถาบัน อุดมศึกษาเข้าร่วมงานจ�ำนวน ๕ สถาบัน ต่อมาสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ เห็นถึงความส�ำคัญจึงได้ขอเข้าร่วมงานมากขึน้ ตามล�ำดับ ในจ�ำนวน นี้รวมถึงสถาบันอุดมศึกษานอกสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา อาทิ โรงเรียนเหล่าทัพ วิทยาลัยแพทย์และพยาบาลทหาร ต�ำรวจ ตลอดจนสถาบันอุดมศึกษาสังกัดอืน่ อีกจ�ำนวนหนึง่ ซึง่ การจัด งานดังกล่าวได้ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนือ่ ง จนเป็นประเพณีส�ำคัญของ ประชาคมอุดมศึกษา

“ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยบูรพาที่ได้รับเป็นเจ้าภาพการ จัดงานด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจ รวมถึงให้ความส�ำคัญและมีส่วนร่วม ในการสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมทีด่ งี าม รวมถึงสถาบันอุดมศึกษา ทุกแห่ง นิสติ นักศึกษาทุกคน ตลอดจนเจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้องทุกฝ่าย ทีไ่ ด้รว่ มกันผลักดันและสร้างงานทีม่ คี ณ ุ ค่า” เลขาธิการ กกอ. กล่าว ส�ำหรั บ การจั ด งานดนตรี ไ ทยอุ ด มศึ ก ษา ครั้ ง ที่ ๔๒ คณะกรรมการส่ ง เสริ ม และประสานงานการจั ด งานดนตรี ไ ทย อุดมศึกษา ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๗ มีมติอนุมัติให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นเจ้าภาพจัด งาน ‘วิศิษฏศิลปินสรรพศิลป์สโมสร’ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลอง พระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ โดยการรวมงานศิลป วัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ ๑๖ และงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๔๒ ไว้ด้วยกัน ก�ำหนดการจัดงานระหว่างวันที่ ๑๔ - ๑๗ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๘ ณ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย โดยสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนิน เป็นประธานเปิดงาน ในวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ทั้งนี้ รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้ส่งมอบตราสัญลักษณ์เจ้าภาพงาน ดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๔๒ ให้รองศาสตราจารย์ธนิต ธงทอง รองอธิการบดี ปฏิบัติการแทนอธิการบดีในภาระหน้าที่ด้านกิจการ นิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งกล่าวว่า ส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษาหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะได้รว่ มกับสถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ง จัดกิจกรรมเพือ่ เทิดพระเกียรติ แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้อย่างยิง่ ใหญ่ และสมพระเกียรติ

21

อนุสารอุดมศึกษา


เกษตรศาสตร์เกมส์

22

‘เกษตรศาสตร์ เ กมส์ ’ กี ฬ าบุ ค ลากรส�ำนั ก งานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา ครั้งที่ ๓๔ ซึ่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับมอบหมายให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ระหว่างวันที่ ๑ - ๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๘ ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม ภายใต้ค�ำขวัญประจ�ำการแข่งขันที่ว่า ‘มิตรภาพ สร้างสรรค์ สามัคคี’ ในการแข่งขันครัง้ นีจ้ ดั ให้มกี ารแข่งขันทัง้ หมด ๒๑ ชนิด กีฬา ได้แก่ ฟุตบอลชาย วอลเลย์บอล กรีฑา ว่ายนำ�้ กอล์ฟ เซปัก ตะกร้อ เทนนิส เทเบิลเทนนิส แบดมินตัน วอลเลย์บอลชายหาด เปตอง ลีลาศ เรือพาย ฟุตซอล โบว์ลงิ่ สนุกเกอร์-บิลเลียด ตะกร้อลอดห่วง แอโรบิก ครอสเวิรด์ หมากกระดาน เดิน-วิง่ และจักรยานเพือ่ สุขภาพ รวมทั้งสิ้น ๔๔๔ เหรียญทอง มีคณะนักกีฬาจาก ๖๑ สถาบัน เข้าร่วมการแข่งขัน เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๘ นายสุภัทร จ�ำปาทอง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธี เปิดการแข่งขันกีฬาบุคลากรส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ครัง้ ที่ ๓๔ ‘เกษตรศาสตร์เกมส์’ โดยกล่าวเปิดการแข่งขันว่า กีฬา คือ ปัจจัยส�ำคัญประการหนึง่ ทีจ่ ะช่วยสร้างคน สร้างชาติ ท�ำให้คนมีวนิ ยั รูแ้ พ้ รูช้ นะ และรูอ้ ภัย มีความรัก ความสามัคคี มีความเป็นน�ำ้ หนึง่ ใจเดียวกัน และมีความเข้มแข็งสมบูรณ์พร้อม ทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ อันจะน�ำไปสูก่ ารเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ให้เจริญก้าวหน้ายิง่ ขึน้ ต่อไป “การแข่งขันกีฬาบุคลากรส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เป็นส่วนหนึง่ ของการพัฒนาและการส่งเสริมด้านกีฬาของ ประเทศ เป็นพืน้ ฐานทีน่ �ำไปสูค่ วามเข้มแข็งของการแข่งขันกีฬาในระดับ ชาติและระดับสากล นอกจากนี้บุคลากรแต่ละสถาบันยังจะมีโอกาส ได้แลกเปลีย่ นความรูป้ ระสบการณ์ และความสามารถทีเ่ ป็นประโยชน์ ร่วมกันในด้านต่างๆ อีกด้วย ซึง่ สกอ. หวังว่าการแข่งขันครัง้ นีจ้ ะเป็น แบบอย่างทีด่ ี โดยเฉพาะในด้านการจัดการแข่งขันด้านคุณภาพและ มาตรฐานของนักกีฬา ด้านสถิตแิ ละการพัฒนาศักยภาพต่างๆ ด้าน กติกาและมารยาทในการแข่งขัน รวมไปถึงการสร้างความสัมพันธ์ ทีด่ รี ะหว่างนักกีฬาและสถาบันการศึกษา” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว สรุปเหรียญรางวัล มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

รวม

๖๑ ๖๐ ๓๒ ๒๑ ๒๑

๔๘ ๕๑ ๒๐ ๒๖ ๒๒

๔๗ ๔๔ ๒๔ ๓๕ ๓๔

๑๕๖ ๑๕๕ ๗๖ ๘๒ ๗๗

ตราสัญลักษณ์ประจ�ำการแข่งขัน (Official Logo)

ลักษณะรูปทรง มีองค์ประกอบของพญานาคเล่นคลื่นน�้ำ โดยใช้ สี เ ขี ย วซึ่ ง เป็ น สี ป ระจ�ำของมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มีลักษณะพลิ้วไหวรูปทรงคล้ายเปลวเพลิง บ่งบอกถึงการแข่งขันกีฬา โดยมีดอกชมพูพันธุ์ทิพย์ซึ่งเป็นดอกไม้ที่มีอยู่มากมายในวิทยาเขต ก�ำแพงแสน โดยกลีบดอกชมพูพันธุ์ทิพย์จะแทนด้วยสีแดง สีน�้ำเงิน สีเหลือง สีฟ้า และสีชมพู สื่อความหมายถึงสถาบันต่างๆ ที่มาร่วม การแข่งขัน โดยในกลีบดอกชมพูพันธุ์ทิพย์จะมีสัญลักษณ์คนชูมือ สีขาว หมายถึงความร่วมมือ มีมติ รภาพ ร่วมสร้างสรรค์ความสามัคคี และ การแข่งขันด้วยความโปร่งใสขาวสะอาด ของบุคลากรทีม่ าร่วมการแข่งขัน กีฬาในครัง้ นี้ ค�ำว่า ‘เกษตรศาสตร์เกมส์’ เป็นลักษณะ โค้งเป็นคลืน่ รับ กับสัญลักษณ์ทเี่ ป็นลักษณะพญานาคเล่นคลืน่ น�ำ้

มาสคอตประจ�ำการแข่งขัน ‘ไก่ ต ะเภาทองเกษตรศาสตร์ ’ เป็ น ไก่ ลู ก ผสมสอง สายพัน ธุ์ โดยลักษณะทั่วไปมีรูปร่างสมส่วนสวยงามทั้งเพศผู้แ ละ เพศเมี ย มี ห งอนแบบจั ก รและหงอนหิ น แบบไก่ พื้ น เมื อ ง ขนสี เหลืองทอง แข้งสีเหลือง จะงอยปากเหลือง หนังเหลืองเรียบเนียน และยังเลีย้ งง่าย แข็งแรง ทนโรคเช่นเดียวกับไก่พนื้ เมืองของไทย ในการแข่งขันครัง้ นี้ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้จดั ส่งคณะนักกีฬา จ�ำนวน ๙๒ คน เข้าร่วมการแข่งขัน ๑๑ ชนิดกีฬา และได้ ๒ เหรียญทอง จากว่ายน�ำ้ ฟรีสไตล์ ชาย ๕๐ เมตร และเทเบิล เทนนิส หญิงเดีย่ ว อาวุโส ๒ เหรียญเงิน จาก ว่ายน�ำ้ กรรเชียง ชาย ๕๐ เมตร และ ทุม่ น�ำ้ หนักหญิง และ ๔ เหรียญทองแดง จากว่ายนำ�้ กบ ชาย ๕๐ เมตร ครอสเวิรด์ หญิง เทเบิลเทนนิส หญิงเดีย่ ว ทัว่ ไป และกรีฑา ขว้างจักร หญิง มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

รวม

๑๗ ๑๓ ๑๒ ๑๐ ๒

๑๘ ๑๕ ๘ ๑๒ ๒

๒๙ ๑๘ ๗ ๑๑ ๔

๖๔ ๔๖ ๒๗ ๓๓ ๘


เล่าเรื่อง

ด้วยภาพ

๗ มิถนุ ายน ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์พนิ ติ ิ รตะนานุกลู เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมด้วยรองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรนิต ศิลธรรม รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เฝ้ารับเสด็จฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการเสด็จพระราชด�ำเนินเปิด ‘อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๕๐ พรรษา’ และทรงเปิดประชุมวิชาการนานาชาติความร่วมมือทางทันตแพทย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง ณ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

23

๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์พินิติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เฝ้ารับเสด็จฯ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ในการเสด็จทรงเปิดงาน ‘ครบเครื่องเรื่องการเรือน ครั้งที่ ๕’ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - รองศาสตราจารย์ พิ นิ ติ รตะนานุกูล เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธาน เปิดงาน ‘สหวิทยาการ งานวิจัย และนวัตกรรมของอุดมศึกษาเพื่อ การพัฒนาท้องถิ่นไทย ก้าวไกลสู่อาเซียน’ หรือ ราชภัฏวิจัย ครั้งที่ ๓ (International Academic & Research Conference of Rajabhat University (INARCRU III)) ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๔๐ แห่งทั่วประเทศ ส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ส�ำนั ก งานคณะกรรมการวิ จั ย แห่ ง ชาติ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย เครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษา ภาคใต้ตอนบน ร่วมกันจัดขึ้น ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช อนุสารอุดมศึกษา

อนุสารอุดมศึกษา


LOGO

PRAY FOR ร่วมสมทบกับ รัฐบาลไทย

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เชิญชวนประชาคมอุดมศึกษา บุคลากรทางการศึกษา และประชาชนทั่วไป ร่วมบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหว ประเทศเนปาล ผ่านบัญชี ธนาคารกรุงไทย ประเภทบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี

'สกอ. ร่วมใจ ช่วยภัย ชาวเนปาล' เลขที่บัญชี

๐๑๓-๐-๒๕๘๖๒-๘ ตั้งแต่บัดนี้

หากต้องการใบเสร็จรับเงินเพื่อลดหย่อนภาษี กรุณาส่ง หลักฐานการโอนเงิน พร้อมชื่อ-สกุล ที่อยู่ และเบอร์โทรศัพท์ ทางอีเมล pr_mua@mua.go.th หรือ ทางโทรสาร ๐ ๒๓๖๔ ๕๕๒๔-๒๖ ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.