อนุสารอุดมศึกษา isue 421

Page 1

ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๔๒๑ ประจ�ำเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖ เอกสารเผยแพร่ของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ISSN 0125-2461

อนุ ส ารอุดมศึกษาออนไลน์ www.mua.go.th/pr_web

คาซาน ๒๐๑๓ กีฬาปัญญาชนโลก


สารบัญ

ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๔๒๑ ประจ�ำเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖

เรื่องเล่าอุดมศึกษาไทย

ศธ. เชื่อมโยง ๕ องค์กรหลัก ผลักดันนโยบาย ๓ สกอ. เตรียมพร้อมผู้บริหารระดับกลาง ๔ ไทย - สิงคโปร์ สานความร่วมมือด้านอุดมศึกษา ๕ สกอ. จัดอบรม Training the Trainer ของกองทุนตั้งตัวได้ ๖ WUNCA ครั้งที่ ๒๗ ๗ สกอ. อบรมผู้ปฏิบัติงานด้านยาเสพติด ๘ สกอ. ถ่ายทอดความรู้ STEM Education ๙ ศูนย์ปราบปรามวุฒิปลอม ๙

เรื่องเล่าอาเซียน

ข้อหารือ ไทย - เมียนมาร์

เรื่องพิเศษ ๑ ทศวรรษ ‘สกอ.’ กับก้าวต่อไปของอุดมศึกษาไทย

๑๐

๒๑

๑๒

พูดคุยเรื่องมาตรฐาน

๘ นโยบายการศึกษา

เรื่องแนะน�ำ นายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เหตุการณ์เล่าเรื่อง KAZAN 2013 เล่าเรื่องด้วยภาพ

๑๔ ๑๕ ๑๖

๒๑

๑๖ คณะผู้จัดท�ำ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เลขที่ ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๒๖ เว็บไซต์ www.mua.go.th อีเมล์ pr_mua@mua.go.th นายอภิชาติ จีระวุฒิ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี นางวราภรณ์ สีหนาท นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ชวนี ทองโรจน์ นางสาวสุนันทา แสงทอง นายสุภัทร จ�ำปาทอง นายศิระวิทย์ คลี่สุวรรณ บรรณาธิการ นายกฤษณ์กร วงศ์ไทย กองบรรณาธิการ นางสาวปิยาณี วิริยานนท์ นางชุลีกร กิตติก้อง นายเจษฎา วณิชชากร นางปราณี ชื่นอารมณ์ นายพรชัย สิทธินันทน์ นายจรัส เล็กเกาะทวด ผู้พิมพ์ บริษัท ออนป้า จ�ำกัด


เรื่องเล่าอุดมศึกษาไทย

ศธ. เชื่อมโยง ๕ องค์กรหลัก ผลักดันนโยบาย ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖ - กระทรวงศึกษาธิการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นและผลการด�ำเนินงานของ ๕ องค์กรหลักและ หน่วยงานในก�ำกับ โดยมีนายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมด้วยนายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช รัฐมนตรีชว่ ยว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ และผู้บริหารฝ่ายการเมืองของกระทรวงศึกษาธิการ เข้าร่วมประชุม เพื่อน�ำมาก�ำหนดเป็นนโยบายการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ณ ห้องประชุมราชวัลลภ ทั้งนี้ นายอภิชาติ จีระวุฒิ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมด้วย รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กำ� จร ตติยกวี นางวราภรณ์ สีหนาท และนางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เข้าร่วมประชุมดังกล่าวด้วย นายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยถึงการประชุมดังกล่าวว่า ได้รบั ฟังความคิดเห็นและการรายงานผล การด�ำเนินงานของแต่ละองค์กรหลัก ซึง่ ตนให้ความส�ำคัญกับการรับฟังความคิดเห็นมาก เพือ่ จะได้ทราบถึงสถานะ ความคืบหน้า ปัญหาอุปสรรค ในการด�ำเนินงาน รวมทั้งค้นหาเรื่องส�ำคัญๆ ทางยุทธศาสตร์ที่ต้องก�ำหนดร่วมกันเพื่อน�ำไปก�ำหนดเป็นนโยบายต่อไป ซึ่งจากการรับฟัง พบว่ากระทรวงศึกษาธิการได้น�ำนโยบายรัฐบาลด้านการศึกษามาจ�ำแนกและพัฒนาเป็นแผนยุทธศาสตร์ แผนงานได้เป็นอย่างดีและ มีความชัดเจนในหลายเรื่อง แต่การด�ำเนินงานเพื่อให้แผนยุทธศาสตร์เกิดประสิทธิผลและน�ำไปสู่การปฏิบัตินั้น จะต้องมีการประสาน เชื่อมโยงการท�ำงานอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นหน้าที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการที่จะมอบหมายให้มีผู้ท�ำหน้าที่ประสานเชื่อมโยง การท�ำงานของทั้ง ๕ องค์กรหลัก เพื่อผลักดันนโยบายไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งส่งเสริมการด�ำเนินงานซึ่งกันและกันด้วย “ทั้งนี้ จะด�ำเนินการเรื่องต่างๆ เหล่านี้ให้เกิดความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน โดยจะเน้นและเร่งด�ำเนินการปฏิรูปการเรียนรู้ การเรียน การสอน ควบคู่ไปกับการจัดท�ำระบบทดสอบให้มีความชัดเจนและได้มาตรฐานเพื่อเชื่อมโยงไปยังหลักสูตร รวมทั้งการประเมินผล แต่ละระดับจะสอดคล้องกับเป้าหมายของการปฏิรูปหลักสูตร ตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานถึงระดับอุดมศึกษา” รมว.ศธ. กล่าว อนุสารอุดมศึกษา

3


เรื่องเล่าอุดมศึกษาไทย

สกอ. เตรียมพร้อมผู้บริหารระดับกลาง ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดการประชุมสัมมนาเพือ่ เสริมสร้างและพัฒนาสมรรถนะ ความเป็นผู้น�ำให้กับผู้บริหารระดับกลาง ของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ณ โรงแรมปริ้นพาเลช มหานาค โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ข้าราชการระดับช�ำนาญการพิเศษ และรักษาการในต�ำแหน่งช�ำนาญการพิเศษ ของส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งเป็นผู้บริหารระดับกลางได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะและสมรรถนะความเป็นผู้น�ำ ในด้านต่างๆ ทั้งในด้านการเป็นผู้น�ำทางความคิด และเป็นผู้น�ำการบริหารการประชุม รวมทั้งเป็นผู้น�ำในงานพิธีการต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง ทั้งนี้ได้รับเกียรติจากนายอภิชาติ จีระวุฒิ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธีเปิด นายอภิชาติ จีระวุฒิ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวในพิธเี ปิดว่า บุคลากรถือเป็นหัวใจส�ำคัญในการบริหาร จัดการภาครัฐแนวใหม่ และเป็นกลไกในการขับเคลือ่ นภารกิจขององค์กรให้บรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสถานการณ์ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและมีการแข่งขันอย่างรุนแรง ดังนั้น การเตรียมความพร้อม ของบุคลากร โดยเฉพาะผู้บริหารระดับกลางให้มีสมรรถนะความเป็นผู้น�ำในทุกด้านเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและภารกิจ ขององค์กรซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญในการบริหารความส�ำเร็จขององค์กร “สกอ. ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีทักษะและสมรรถนะความเป็นผู้น�ำ เพื่อให้ ข้าราชการในระดับช�ำนาญการพิเศษ ซึ่งเป็นผู้บริหารระดับกลางได้ศึกษาเรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการท�ำงาน และพัฒนาศักยภาพความเป็นผูน้ ำ� ในด้านต่างๆ เพือ่ จะเป็นประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั งิ านให้มปี ระสิทธิภาพ ซึง่ การประชุมครัง้ นี้ ถือได้ว่าเป็นก้าวส�ำคัญที่จะท�ำให้ข้าราชการระดับช�ำนาญการพิเศษของ สกอ.ทุกคน ได้มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนา สมรรถนะความเป็นผู้น�ำมากขึ้น” เลขาธิการ กกอ. กล่าว

4

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอุดมศึกษาไทย

ไทย - สิงคโปร์ สานความร่วมมือด้านอุดมศึกษา ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมอย่างไม่เป็นทางการ (retreat) ระหว่างผูบ้ ริหารระดับสูงของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากับผูบ้ ริหารระดับสูงของกรมอุดมศึกษา กระทรวงการศึกษา สิงคโปร์ ณ โรงแรมพูลแมน บางกอก คิงพาวเวอร์ กรุงเทพฯ โดยมีรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา รองศาสตราจารย์ชวนี ทองโรจน์ ทีป่ รึกษาด้านพัฒนาภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ นางสาวสุนนั ทา แสงทอง ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน พร้อมผู้บริหารของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เข้าร่วมประชุม รองศาสตราจารย์ก�ำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยว่า จากการหารือแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ด้านการบริหารจัดการการอุดมศึกษาร่วมกับ Mr. Ng Cher Pong รองปลัดกระทรวงการศึกษาสิงคโปร์และคณะผู้บริหารกรมอุดมศึกษา กระทรวงการศึกษาสิงคโปร์ ทั้งสองฝ่ายให้ความสนใจที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูลในเรื่องของนโยบายอุดมศึกษา การก�ำกับดูแลคุณภาพ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน การจัดการศึกษาส�ำหรับผู้พิการ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา “ส�ำหรับแผนงานความร่วมมือด้านอุดมศึกษาระหว่างไทยกับสิงคโปร์ สกอ. ได้เสนอให้กระทรวงการศึกษาสิงคโปร์พิจารณาเข้าร่วม โครงการ ASEAN International Mobility for Students (AIMS) ซึ่งเป็นโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ที่มุ่งพัฒนาสมรรถนะสากล และเตรียมความพร้อมของนักศึกษาในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมพหุวัฒนธรรมรองรับการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียน และฝ่ายไทยได้เสนอให้ฝ่ายสิงคโปร์เข้าร่วมโครงการ ASEAN Citation Index (ACI) เพื่อจัดท�ำฐานข้อมูลดัชนี อ้างอิงวารสารส�ำหรับประเทศในกลุ่มอาเซียน ซึ่งฝ่ายสิงคโปร์ยินดีที่จะแบ่งปันประสบการณ์กับประเทศสมาชิกอาเซียนในการยกระดับ คุณภาพงานวิจัย โดยจะน�ำข้อเสนอดังกล่าวไปหารือกับมหาวิทยาลัยต่อไป นอกจากนี้ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบที่จะมีความร่วมมือในการ ด�ำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพของครูในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน และการผลิตครูทสี่ ามารถบูรณาการวิธกี ารสอนกับเนือ้ หาวิชา เพือ่ ให้ สามารถจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่นักเรียน ทั้งนี้จะมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการส�ำหรับคณบดี คณะศึกษาศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษาไทยในฐานะทีเ่ ป็นหน่วยงานหลักในการผลิตครู ประมาณเดือนกันยายนหรือตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว

อนุสารอุดมศึกษา

5


เรื่องเล่าอุดมศึกษาไทย

สกอ. จัดอบรม

Training the Trainer ของกองทุนตั้งตัวได้

๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดการอบรมหลักสูตร Training the Trainers (TOT) ของกองทุนตั้งตัวได้ ที่เป็นนโยบายส�ำคัญของรัฐบาล น�ำร่อง รุ่นที่ ๑ ณ โรงแรมปรินซ์พาเลซ มหานาค โดยได้รบั เกียรติ จากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานเปิดการอบรม และ มีนายสุภัทร จ�ำปาทอง ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผู้จัดการกองทุนตั้งตัวได้ พร้อมผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจฯ จากเครือข่าย ABI (Authorized Business Incubator) หรือหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจฯ ที่ได้รับอนุมัติ จากคณะกรรมการบริหารกองทุนตั้งตัวได้ ให้จดั ตั้งขึ้นทั้ง ๙ แห่ง รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก�ำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวในพิธีเปิดว่า กองทุน ตั้งตัวได้เกิดขึ้นตามนโยบายของรัฐบาล เพื่อเป็นแหล่งทุนให้แก่นิสิต นักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ที่จะเป็น ผู้ประกอบการ หรือเจ้าของกิจการ โดยถือว่าเป็นการให้โอกาสกับผู้ที่ไม่มีทุนในการประกอบธุรกิจ ซึ่งแนวคิด การสร้างนักศึกษาให้มีความเข้มแข็ง มีศักยภาพ สามารถประสบความส�ำเร็จได้ เป็นเหตุให้มีการพัฒนาหลักสูตร การอบรมดังกล่าวขึ้น โดยการอบรมหลักสูตร TOT ในครั้งนี้ จัดขึ้นเพื่อสร้างวิทยากรหลักสูตรผู้ประกอบการนักศึกษา กองทุน ตัง้ ตัวได้ ซึง่ จะเป็นวิทยากรอบรมนิสติ นักศึกษา และบัณฑิตทีส่ ำ� เร็จการศึกษาไม่เกิน ๕ ปี ให้มศี กั ยภาพในการเป็นผูป้ ระกอบการ ตามเป้าหมายในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ จ�ำนวน ๒๕,๐๐๐ คน เพื่อเป็นผู้ประกอบการใหม่ที่มีศักยภาพในการเป็นผู้ประกอบการ สามารถขอรับการสนับสนุนเงินทุนในการประกอบธุรกิจจากกองทุนตั้งตัวได้ จ�ำนวน ๕,๐๐๐ คน ด้านนายสุภทั ร จ�ำปาทอง ผูช้ ว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า สกอ. ได้รบั มอบหมายจากคณะรัฐมนตรี ให้ดำ� เนินการ ‘กองทุนตัง้ ตัวได้’ ซึง่ เป็นนโยบายส�ำคัญของรัฐบาล และได้รบั งบประมาณในปี ๒๕๕๖ เป็นจ�ำนวน ๕,๐๐๐ ล้านบาท เพื่อเป็นค่าบริหารจัดการ และเงินสนับสนุนการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการที่เป็นนักศึกษา หรือบัณฑิตที่จบมาแล้วไม่เกิน ๕ ปี โดยการด�ำเนินการกองทุนตั้งตัวได้ของรัฐบาลมีเป้าหมายเพื่อมุ่งเน้นในการสร้างธุรกิจนวัตกรรม สร้างโอกาส ให้แก่นกั ศึกษาทีต่ อ้ งการสร้างธุรกิจของตนเอง ซึง่ ต้องมีความคิดสร้างสรรค์ หรือสิง่ โดดเด่นทีแ่ สดงออกมาให้เห็นได้ ส�ำหรับการจัดอบรมหลักสูตร Training the Trainers มีเป้าหมายในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจของผู้ทรงคุณวุฒิ ที่อยู่ในหน่วย ABI ทั่วประเทศ ให้ตรงกัน รวมทั้งการสร้างองค์ความรู้ หรือองค์ประกอบที่ส�ำคัญในการพัฒนา ผู้ประกอบการนักศึกษาซึ่งจะเริ่มด�ำเนินการในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖ เป็นต้นไป

6

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอุดมศึกษาไทย

WUNCA ครั้งที่ ๒๗ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม เชิงปฏิบตั กิ าร ‘การด�ำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพือ่ พัฒนาการศึกษา ครัง้ ที่ ๒๗’ ณ มหาวิทยามหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี โดยได้รบั เกียรติจากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์กำ� จร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผู้แทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานในพิธีเปิด รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กำ� จร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า WUNCA ถือเป็นกิจกรรม ส�ำคัญของนักคอมพิวเตอร์ นักเทคโนโลยีสารสนเทศ และนักบริหารจัดการเครือข่าย รวมถึงคณาจารย์ทสี่ นใจในการน�ำเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการจัดการศึกษาและท�ำวิจัย นอกจากนี้แล้วยังถือเป็นกิจกรรมหลักประจ�ำปีที่ให้ประโยชน์ ต่อการพัฒนาบุคลากรของสถาบันการศึกษา พร้อมทั้งได้สร้างกลไกพัฒนาความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษา เพื่อร่วมกัน จัดงานและสรรหาองค์ความรู้ท่ีเป็นประโยชน์มาเผยแพร่ให้กับบุคลากรในระดับต่างๆ ได้มีโอกาสเรียนรู้ และแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ร่วมกัน “จากการทีร่ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการท่านใหม่ได้ประกาศนโยบายปีแห่งการรวมพลังยกระดับคุณภาพการศึกษา พร้อมทัง้ ได้กำ� หนด ‘เป้าหมายหลักในการพัฒนาและปฏิรปู การศึกษา โดยมุง่ พัฒนาผูเ้ รียนให้สามารถคิด วิเคราะห์ เรียนรู้ ได้ดว้ ยตนเอง มีคณ ุ ลักษณะทีพ ่ งึ ประสงค์ และทักษะทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับศตวรรษที่ ๒๑ ภายในปี ๒๕๕๘’ ซึง่ ทักษะทีจ่ ำ� เป็น ในศตวรรษที่ ๒๑ ทีเ่ ป็นองค์ประกอบและปัจจัยสนับสนุนการศึกษา คงหนีไม่พน้ เรือ่ งการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาใช้สนับสนุนส่งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้ ซึ่งหากมองถึงทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษาของประเทศไทยถือว่า เครือข่าย UniNet เป็นเครือข่ายแรกและเครือข่ายเดียวทีไ่ ด้มกี ารบูรณาการเครือข่ายเพือ่ การศึกษาวิจยั ของประเทศให้เกิดขึน้ และ สามารถรองรับการเชื่อมโยงไปยังสถาบันการศึกษาทุกระดับทั่วประเทศด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว รองเลขาธิการ กกอ. กล่าวต่อไปว่า สิง่ ส�ำคัญอีกประการหนึง่ ทีต่ อ้ งเร่งพัฒนา คือ การพัฒนาแหล่งเรียนรูท้ ผี่ เู้ รียน คณาจารย์ นักวิจยั จะสามารถใช้ประโยชน์และเข้าถึงแหล่งเรียนรูด้ งั กล่าวได้ผา่ นสือ่ อิเล็กทรอนิกส์รปู แบบต่างๆ เพือ่ สนับสนุนกรอบแนวคิด ในการเพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการศึกษามาใช้ในการปฏิรูป การเรียนรู้ อันจะส่งผลถึงภาพใหญ่ของนโยบาย คือ ‘มหาวิทยาลัยติดอันดับโลกมากขึน้ ’ ซึง่ เป็นเป้าหมายหลักทีเ่ ป็นกรอบใหญ่ ของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งนี้ เป้าหมายดังกล่าวจะส�ำเร็จได้จ�ำเป็นต้องได้รับ การสนับสนุน และได้รบั ความร่วมมือร่วมใจจากสถาบันการศึกษาต่างๆ โดยเฉพาะเรือ่ งการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การส่งเสริมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วนในการจัดและสนับสนุนการศึกษาให้เพิ่มมากขึ้น การปฏิรูประบบผลิต และพัฒนาครู ตลอดจนปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สมั พันธ์เชื่อมโยงกัน

อนุสารอุดมศึกษา

7


เรื่องเล่าอุดมศึกษาไทย

สกอ. อบรมผู้ปฏิบัติงานด้านยาเสพติด ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดพิธีมอบวุฒิบัตร โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านด้านการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถาบันอุดมศึกษา ปี ๒๕๕๖ กลุม่ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ ห้องคัทลียา โรงแรม เอเชีย แอร์พอร์ท จังหวัดปทุมธานี โดยได้รับเกียรติจากนางวราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธีมอบวุฒิบัตร นางวราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวภายหลังพิธี มอบวุฒบิ ตั รว่า ในปี ๒๕๕๖ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาด�ำเนินงานด้านการป้องกัน ยาเสพติด ๒ เรื่อง คือ (๑) การสนับสนุนงบประมาณให้เครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา ๙ เครือข่าย โดยร่วมกับส�ำนักงาน ปปส.ภาค จัดท�ำโครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหา ยาเสพติด เพื่อสร้างระบบเฝ้าระวังและป้องกันยาเสพติด ให้แก่นิสิตนักศึกษาให้สอดคล้อง กับความจ�ำเป็น ความชุกและสภาพปัญหายาเสพติดในแต่ละพื้นที่ และ (๒) การพัฒนา ศักยภาพอาจารย์ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาเพื่อเสริมให้การปฏิบัติงาน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมีประสิทธิภาพควบคู่กันไป โดยจัดฝึกอบรม ๕ รุ่น แบ่งตามกลุ่มภูมิภาค คือ กลุ่มกรุงเทพมหานคร กลุ่มภาคใต้ ณ จังหวัดสงขลา กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ จังหวัดขอนแก่น กลุ่มภาคเหนือ ณ จังหวัดอุตรดิตถ์ และ กลุ่มภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดปทุมธานี “สกอ. จั ด โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพเจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า นการป้ อ งกั น แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา ปี ๒๕๕๖ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา ได้เพิ่มพูนความรู้ ทักษะที่จ�ำเป็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เสริมสร้างเจตคติเชิงบวกในการท�ำงาน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยในปีนี้มีผู้เข้าอบรม ๕ กลุ่ม มีจ�ำนวนรวมกว่า ๒๘๐ คน ซึ่งเชื่อได้ว่าทุกท่านจะได้น�ำประโยชน์ที่ได้รับจาก การฝึกอบรม ไปประยุกต์ใช้กับงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบัน อุดมศึกษา ช่วยกันเฝ้าระวังดูแล มิให้นิสิตนักศึกษาเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดได้ การช่วยป้องกันไม่ให้นิสิตนักศึกษา ซึ่งเป็นเยาวชนชั้นน�ำของประเทศ ปลอดภัยจากสิ่งเร้า สิง่ ยัว่ ยวนใจให้หลงผิดได้เป็นกุศลเจตนาทีม่ คี ณ ุ ค่ายิง่ ทัง้ ต่อเยาวชน ต่อครอบครัว ต่อประเทศชาติ ในภาพรวม” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว

8

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอุดมศึกษาไทย

สกอ. ถ่ายทอดความรู้ STEM Education ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๖ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดการบรรยายพิเศษ เรือ่ ง ‘STEM Education: การจัดการศึกษา วิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์’ ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ประเสริฐ ณ นคร อาคารส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยได้รบั เกียรติจากนางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธาน นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า STEM Education คือ การเรียนรู้เนื้อหาและ ทักษะทางด้านวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยี ซึ่งล้วนเป็นวิชาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ ความสามารถที่จะด�ำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพในโลกศตวรรษที่ ๒๑ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีความเป็นโลกาภิวัฒน์ ตั้งอยู่บนฐานความรู้ และเต็มไปด้วยเทคโนโลยี อีกทั้งวิชาทั้งสี่เป็นวิชาที่มีความส�ำคัญอย่างมากกับการเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงของประเทศ และเป็นประเด็นที่อยู่ในความสนใจของประชาคม การศึกษาไทยในขณะนี้ เนือ่ งจากยุทธศาสตร์การปฏิรปู การศึกษาไทยรอบใหม่เน้นกระบวนการปฏิรปู ครูทงั้ ระบบ เน้นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารในการจัดการเรียนการสอน และรวมถึงการปฏิรปู หลักสูตรโดยเฉพาะการสร้างความเข้มแข็งของการจัดการเรียน การสอนสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ หรือ STEM Education “หากเราได้รบั ความรูเ้ พิม่ เติมในแง่มมุ หลากหลายจากผูม้ ปี ระสบการณ์เกีย่ วกับ STEM Education โดยตรง จะช่วยเสริมความเข้าใจ ให้ดียิ่งขึ้น และจะสามารถน�ำความรู้นี้ไปใช้ในทางปฏิบัติเพื่อให้การปฏิรูปการศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล สกอ. รู้สึกเป็นเกียรติที่ศาสตราจารย์เมธี เวชารัตนา นักวิชาการไทยในสหรัฐอเมริกาที่เชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ จาก New Jersey Institute of Technology หนึ่งในสมาชิกผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมนักวิชาชีพไทยในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา หรือ ATPAC และด�ำรงต�ำแหน่งนายกสมาคมระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๒ รับเชิญมาเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียน การสอนสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ร่วมกันแบบบูรณาการ โดยใช้กรณีศกึ ษาจากสหรัฐอเมริกา เพื่อน�ำมาปรับใช้กับการจัดการศึกษาในประเทศไทยให้สามารถผลิตทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพสูง เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ของบัณฑิตและประเทศไทยในภาพรวม” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว

ศูนย์ปราบปรามวุฒิปลอม ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา - รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กำ� จร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปิดเผยถึงกรณีการร้องเรียน เรื่องวุฒิการศึกษาปลอม และมหาวิทยาลัยเถื่อน ว่า ขณะนี้ทางส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาได้ เ ปิ ด ศู น ย์ ป ราบปรามวุ ฒิ ป ลอม โดยผู ้ ที่ มี ข้อสอบถาม ข้อสงสัย ข้อแนะน�ำ หรือข้อร้องเรียนใดๆ สามารถโทรศัพท์มายัง ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หมายเลข ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ ทั้งนี้ แนะน�ำ ให้นักเรียน นิสิต นักศึกษา ผู้ปกครอง ศึกษารายละเอียดหลักสูตรและสถาบัน อุดมศึกษาต่างๆ ก่อนที่จะเข้าไปศึกษา โดยสามารถดูรายละเอียดต่างๆ ได้จาก เว็บไซต์ ‘รู้ก่อนเรียน’ www.mua.go.th/users/knowing

อนุสารอุดมศึกษา

9


เรื่องเล่าอาเซียน

ข้อหารือ ไทย - เมียนมาร์

จาก ‘อนุสารอุดมศึกษา’ ฉบับที่แล้ว น�ำเสนอการจัดสัมมนาวิชาการเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านอุดมศึกษาระหว่าง ไทย - เมียนมาร์ และการจัดนิทรรศการการศึกษาไทย ณ ไดมอนด์ จูบิวลี่ ฮอลล์ กรุงย่างกุ้ง สาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมาร์ เมือ่ วันที่ ๑๓ - ๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ ทีผ่ า่ นมา โดยมีนายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกรัฐมนตรี ซึง่ ด�ำรงต�ำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น เป็นประธานเปิดงาน ในการเดินทางไปร่วมงานในครั้งนั้น นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกรัฐมนตรี ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น ยังได้มีโอกาสหารือร่วมกับ H.E. Dr. Myo Myint รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการศึกษา เมียนมาร์ ในวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๖ ณ ไดมอนด์ จูบิวลี่ ฮอลล์ กรุงย่างกุ้ง สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ โดยมี สาระส�ำคัญ ดังนี้ นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการกล่าวขอบคุณ Dr. Myo Myint รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการศึกษาเมียนมาร์ที่ให้ความร่วมมือในการจัดงานสัมมนาวิชาการและนิทรรศการการศึกษา ในครั้งนี้เป็นอย่างดียิ่ง กระทรวงศึกษาธิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดงานครั้งนี้จะเป็นการกระชับความสัมพันธ์ระหว่าง สองประเทศให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ตลอดจนส่งเสริมและขยายความร่วมมือด้านการศึกษาระหว่างสองประเทศซึ่งจะน�ำไปสู่ การด�ำเนินความร่วมมือในสาขาทีท่ งั้ สองฝ่ายสนใจร่วมกัน รวมถึงการแลกเปลีย่ นความรู้ ความเชีย่ วชาญระหว่างกันมากขึน้ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการไทยกล่าวถึงนโยบายเรียนฟรี ๑๒ ปีของกระทรวง ศึกษาธิการ ซึ่งการศึกษาภาคบังคับก�ำหนดให้เด็กเรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๙ ปี ทั้งนี้งบประมาณด้านการศึกษา ของไทยคิดเป็นร้อยละ ๒๐ ของงบประมาณภาพรวมของประเทศ ซึ่งยังคงไม่เพียงพอต่อการพัฒนาการศึกษา Dr. Myo Myint รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการศึกษาเมียนมาร์ กล่าวว่า ความร่วมมือระหว่างไทย - เมียนมาร์ ในครั้งนี้ จะช่วยส่งเสริมความร่วมมือด้านอุดมศึกษาในสาขาที่ทั้งสองฝ่ายมีความสนใจร่วมกัน โดยเห็นว่าการศึกษา เป็นหัวใจส�ำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เมื่อปี ๒๕๔๗ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้เข้ามา จัดนิทรรศการการศึกษาไทยในเมียนมาร์และได้รบั ความสนใจจากนักเรียน นักศึกษาเมียนมาร์จำ� นวนมาก การจัดงานครัง้ นี้ ก็มผี บู้ ริหารระดับสูงจากสถาบันการศึกษาของเมียนมาร์หลายแห่งมาร่วมงาน ย่อมเป็นโอกาสทีจ่ ะได้แลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะหว่างกัน กระทรวงการศึกษาเมียนมาร์มุ่งส่งเสริมให้เด็กๆ ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานมากขึ้น ส�ำหรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษา มุ่งเน้นเรื่องคุณภาพ และประสงค์ให้มกี ารพัฒนาความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาทั้งสองฝ่ายมากขึ้น

10

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องเล่าอาเซียน

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการศึกษาเมียนมาร์ กล่าวถึงการจัดการศึกษานอกโรงเรียนในเมียนมาร์ว่า กระทรวง การศึกษาเมียนมาร์ต้องการจะพัฒนาศักยภาพของครูที่สอนในสถาบันการศึกษานอกโรงเรียนเหล่านี้ จึงประสงค์จะเรียนรู้ จากประสบการณ์ของไทยที่มีความเข้มแข็งมากด้านการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ศูนย์ฝึกอบรมในเมียนมาร์มีอยู่แล้ว จึงต้องการครูที่มีศักยภาพจากประเทศไทยมาช่วยพัฒนาการจัดการศึกษานอกโรงเรียนของเมียนมาร์ให้มีความเข้มแข็งขึ้น ในการนี้ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการไทยแจ้งว่า ไทยลงทุนในการจัดการศึกษานอกโรงเรียน เพือ่ ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ หากกระทรวงการศึกษาเมียนมาร์สนใจเรียนรูจ้ ากประสบการณ์ของไทยขอเชิญส่งคณะผูแ้ ทน เดินทางมาเยือนไทยเพื่อศึกษาดูงานและหารือร่วมกันต่อไป ฝ่ายไทยเสนอให้ฝ่ายเมียนมาร์พิจารณาการเข้าร่วมโครงการ ASEA-UNINET On-Place Scholarship Programme ซึง่ เป็นความร่วมมือระหว่างส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เครือข่าย ASEA-UNINET ออสเตรีย และสถาบันอุดมศึกษาไทย ทีเ่ ป็นสมาชิกเครือข่าย ASEA-UNINET โดยการจัดสรรทุนให้แก่อาจารย์ นักศึกษาและบุคคลทัว่ ไปทีม่ สี ญ ั ชาติลาวและกัมพูชา เพื่อมาศึกษาในระดับปริญญาโทหลักสูตรนานาชาติในสาขาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ ณ สถาบัน อุดมศึกษาไทยที่เป็นสมาชิกเครือข่าย ASEA-UNINET เป็นระยะเวลาไม่เกิน ๒ ปี ทั้งนี้ ฝ่ายเมียนมาร์ได้ตอบรับที่จะเข้าร่วม โครงการดังกล่าวซึ่งจะได้หารือกันในรายละเอียดต่อไป ฝ่ายไทยเสนอให้มีการจัดการประชุมอย่างไม่เป็นทางการ (Retreat) ระหว่างผู้บริหารส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษากับผู้บริหารหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบการบริหารจัดการการอุดมศึกษาของเมียนมาร์ เพือ่ เตรียมความพร้อมของ บุคลากรอุดมศึกษาและนักศึกษาสูก่ ารรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน และเพือ่ สร้างความคุน้ เคยระหว่างกัน รวมถึงการแลกเปลีย่ น เรียนรู้นโยบายและแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการการอุดมศึกษา และด�ำเนินกิจกรรมความร่วมมือระหว่างกัน ขณะนี้ ไทยได้จดั การประชุมร่วมกับ ๖ ประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว คือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ลาว สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และบรูไน ดารุสซาลาม ทั้งนี้ ฝ่ายเมียนมาร์ไม่ขัดข้องหากจะได้ริเริ่มจัดประชุมร่วมกัน เพราะได้ให้ความส�ำคัญกับการแลกเปลี่ยน เรียนรูป้ ระสบการณ์และการกระตุน้ ให้ผบู้ ริหารระดับสูงตืน่ ตัวเพือ่ เตรียมความพร้อมรองรับการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ปัจจุบันพบว่ามีนักเรียน นักศึกษาชาวเมียนมาร์เข้ามาศึกษาต่อในประเทศไทยมากขึ้น และความต้องการด้าน การเรียนการสอนภาษาเมียนมาร์และภาษาไทยมีเพิม่ มากขึน้ ทัง้ นี้ หลักสูตรภาษาไทย (Thai language program) ในเมียนมาร์ มีการเปิดสอนเฉพาะระดับปริญญาตรีเท่านั้น ในอนาคตเมียนมาร์ต้องการขยายการเปิดสอนหลักสูตรภาษาไทยให้มากขึ้น เพราะหากคนของสองประเทศสือ่ สารกันได้จะเกิดประโยชน์อย่างยิง่ โดยเฉพาะในเชิงเศรษฐกิจ จึงต้องการพัฒนาความร่วมมือ กับไทยด้านการเรียนการสอนภาษา นอกจากนี้ นักศึกษาชาวเมียนมาร์ในประเทศไทยสนใจศึกษาต่อหลักสูตรการโรงแรม และการบริการเพราะหวังว่าจะสามารถกลับมาท�ำงานในประเทศได้ ขณะนี้ Yangon University of Foreign Languages ได้ส่งอาจารย์สองคนไปศึกษาต่อระดับปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัย นเรศวรและก�ำลังจะเดินทางไปศึกษาเพิ่มเติมอีกสองคน จึงหวังว่าเมื่อกลับมาแล้วจะได้สร้างหลักสูตรในระดับปริญญาโท ต่อไปได้ ปัจจุบนั มีครูชาวไทยสองคนสอนอยูท่ ี่ Yangon University of Foreign Languages ในอนาคตต้องการขยายเรือ่ งการสอน ภาษาไทยมากขึ้น และคาดว่าจะเปิดหลักสูตรภาษาไทยที่เมืองมัณฑะเลย์ด้วย ปัจจุบนั มีแรงงานชาวเมียนมาร์ในประเทศไทยกว่าสองล้านคน หากมีเด็กทีเ่ ป็นลูกของแรงงานเหล่านีเ้ มือ่ กลับมาอยู่ ที่เมียนมาร์ ก็ประสงค์ให้กลับมาต่อยอดการศึกษาขั้นพื้นฐานในประเทศได้ กระทรวงการศึกษาเมียนมาร์ต้องการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านการสอนภาษา การแลกเปลี่ยนบุคลากรและ อาจารย์ระหว่างกัน จึงหวังว่าจะได้รบั ความร่วมมือจากไทยในการส่งผูเ้ ชีย่ วชาญมาร่วมพัฒนาสมรรถนะและศักยภาพในสาขา ที่ขาดแคลนให้แก่อาจารย์ชาวเมียนมาร์ เนื่องจากประเทศไทยมีสถาบันอุดมศึกษาไทยที่มีความเข้มแข็งในหลายสาขา และ หน่วยงานไทยหลายแห่งก็ได้จดั สรรทุนให้กบั ชาวเมียนมาร์ เช่น กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง วัฒนธรรม เป็นต้น

อนุสารอุดมศึกษา

11


เรื่องพิเศษ

ทศวรรษ ‘สกอ.’ กับก้าวต่อไป ของอุดมศึกษาไทย

๗ กรกฎาคม ๒๕๔๖ ถือเป็นจุดเริ่มต้นทศวรรษของส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูประบบราชการ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๕ ในการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการบริหารราชการ กระทรวง ทบวง กรม โดยกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีการยุบรวม ทบวงมหาวิทยาลัยและส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติมาอยู่ภายใต้กระทรวงศึกษาธิการ แล้วปรับ เป็นหน่วยงานทีม่ ี ๕ องค์กรหลัก คือ ส�ำนักงานปลัด กระทรวง ส� ำ นั ก งานเลขาธิ ก ารสภาการศึ ก ษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส� ำ นัก งานคณะกรรมการการอุด มศึก ษา และ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีหวั หน้า ส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีเจ้ากระทรวง นายอภิชาติ จีระวุฒิ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เล่าถึงพัฒนาการอุดมศึกษาใน ๑๐ ปีทผี่ า่ นมา ว่า การจัดการอุดมศึกษาไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด โดยเฉพาะในเรื่องของจ�ำนวนสถาบันอุดมศึกษา เมื่อ ๑๐ ปีที่แล้วส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีสถาบันอุดมศึกษาในสังกัด/ในก�ำกับ รวมวิทยาลัยชุมชน จ�ำนวน ๙๒ แห่งทั่วประเทศ และในปัจจุบันได้เพิ่มเป็น ๑๗๒ แห่ง ซึ่งถือเป็นการกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับ อุดมศึกษาในแนวกว้าง โดยมีหวั ใจส�ำคัญคือ การกระจายอ�ำนาจในการอนุมตั หิ ลักสูตรและอนุมตั ปิ ริญญาทุกระดับ ให้แก่สภาสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่ง เพือ่ ให้มอี สิ ระทางวิชาการอย่างเท่าเทียมกันทัง้ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและ เอกชน และในอีกมิตหิ นึง่ จะพบว่าการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษามีการพัฒนาศาสตร์สาขาวิชาใหม่ๆ อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ในรูปแบบสาขาวิชาเฉพาะทาง และสาขาวิชาทีบ่ รู ณาการ ๒ - ๓ ศาสตร์มารวมกัน แสดงว่าองค์ความรูท้ างวิชาการ มีการสร้างสรรค์ใหม่ทง้ั แนวกว้างและแนวลึก “นับตัง้ แต่ปี ๒๕๔๗ สกอ. ทีเ่ ป็นหน่วยงานกลางก�ำกับดูแลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ได้ดำ� เนินนโยบายส�ำคัญ เพื่อสนับสนุนคุณภาพภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาหลายประการ ทั้งด้านมาตรฐานการอุดมศึกษา ได้ก�ำหนด เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี-โท-เอก พ.ศ. ๒๕๔๘ และต่อมาในปี ๒๕๕๒ ได้กำ� หนดกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education/TQF) เพื่อเป็นหลักการพัฒนา ผูเ้ รียนให้มคี ณ ุ ลักษณะและมาตรฐานผลการเรียนรูท้ คี่ าดหวังด้วยวงจรคุณภาพ ผ่านกลยุทธ์การเรียนการสอน การวัด และประเมินผล รวมทัง้ ศักยภาพคณาจารย์ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ได้กำ� หนดหลักเกณฑ์ตวั บ่งชีก้ ารประกัน คุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษาผ่านระบบสารสนเทศ CHE QA Online เมือ่ ปี ๒๕๕๓ ร่วมกับการตรวจเยีย่ ม (Site Visit) โดยคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒทิ กุ ปีการศึกษา ซึง่ ถ้าใน ๒ - ๓ ปีขา้ งหน้า สถาบันอุดมศึกษาทีผ่ ลการประเมิน มีศกั ยภาพสูงมากจะสามารถปรับเข้าสู่ระบบเกณฑ์คณ ุ ภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (EdPEx) เพือ่ การแข่งขันระดับ นานาชาติ แทนทีร่ ะบบ CHE QA Online ด้านการก�ำหนดทิศทางนโยบาย ได้กำ� หนดกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปี ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๖๕) เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาวิสัยทัศน์ พันธกิจให้เหมาะสมกับศักยภาพของ ๔ กลุม่ สถาบันอุดมศึกษา และการส่งเสริมสนับสนุนนโยบายระดับโครงการ โดยการส่งเสริมภารกิจให้สถาบันอุดมศึกษาจัดตั้งศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ (University Business Incubators) และ

12

อนุสารอุดมศึกษา


เรื่องพิเศษ

หน่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญา (Technology Licensing Office) เพื่อเป็นกลไกให้สถาบันอุดมศึกษาสร้างวงจร รายได้จากการน�ำผลงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์พัฒนาสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ และ การผลิตภาคอุตสาหกรรม ตลอดจนมีนโยบายส่งเสริมให้จดั การศึกษาในรูปแบบสหกิจศึกษา (Cooperative Education) และขยายสูร่ ปู แบบการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการท�ำงาน (Work- integrated Learning) เพือ่ ส่งเสริมการพัฒนา คุณภาพบัณฑิต” เลขาธิการ กกอ. กล่าว ส�ำหรับทิศทางการปรับตัวของอุดมศึกษาเข้าสู่ทศวรรษหน้า เลขาธิการ กกอ. กล่าวว่า การจัดการศึกษาระดับ อุดมศึกษาในปัจจุบันถือเป็นสินค้าสาธารณะ (Public goods) ที่ประชากรโลกจากทุกประเทศสามารถเข้าถึงบริการ ทางการศึกษาได้อย่างเสรีโดยไม่มขี ดี จ�ำกัด อันเนือ่ งมาจากการพัฒนาอย่างรวดเร็วของระบบเทคโนโลยี และกลยุทธ์ การบริการทางการศึกษาที่หลากหลาย ในรูปแบบ e-Learning, Distance Learning หรือการขยายวิทยาเขตขนาดเล็ก ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศอื่น กอรปกับสังคมไทยให้ความส�ำคัญกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ใน ๒ ปีข้างหน้าที่กลุ่มประเทศอาเซียนจะมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรี ด้านสินค้า บริการ แรงงานฝีมือ การลงทุน ดังนั้น ระบบอุดมศึกษาไทยควรเตรียมขับเคลื่อนการปรับตัวในทุกมิติ โดยส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จะเน้นส่งเสริมสนับสนุนในประเด็นหลัก อาทิ (๑) การสร้างเสริมคุณภาพหลักสูตรด้วยกลไกกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดย มีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษาผ่านระบบ CHE QA online และการส่งเสริมให้สถาบัน อุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูงเข้าสู่ระบบเกณฑ์คณ ุ ภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (EdPEx) (๒) การส่งเสริมระบบก�ำกับ ดูแลอุดมศึกษาโดยให้อสิ ระในการบริหารจัดการ (Autonomy) แก่สถาบันอุดมศึกษา โดยต้องค�ำนึงถึงการตรวจสอบได้ (Accountability) ของสถาบันอุดมศึกษา (๓) ระบบสนับสนุนงบประมาณเพื่อการวิจัยและงานสร้างสรรค์ในสถาบัน อุดมศึกษาเพือ่ เสริมสร้างขีดความสามารถเชิงการแข่งขัน และสนับสนุนการเงินอุดมศึกษาผ่านรูปแบบกองทุน กรอ. ต้องด�ำเนินนโยบายคูข่ นานกัน โดยมุง่ เน้นให้จดั การศึกษาในสาขาวิชาชีพขาดแคลน หรือสาขาวิชาทีเ่ ป็นไปตามแผน พัฒนาก�ำลังคน และความต้องการของประเทศ (๔) ส่งเสริมการเข้าสู่ต�ำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์ที่เป็น นักวิชาการสายรับใช้สงั คมให้เข้าสู่ต�ำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ (ผศ.) รองศาสตราจารย์ (รศ.) และศาสตราจารย์ (ศ.) โดยระบบประเมินผลงานวิจัย บริการวิชาการ สร้างองค์ความรู้ และต�ำราที่มคี วามหลากหลาย “ในขณะเดียวกันสถาบันอุดมศึกษาควรด�ำเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐ สังคม เศรษฐกิจ โดยสถาบัน อุดมศึกษาควรก�ำหนดอัตลักษณ์ให้ชัดเจนว่ามุ่งหมายที่จะเป็นสถาบันอุดมศึกษาในกลุ่มเน้นการผลิตบัณฑิต หรือกลุ่มสถาบันฯ เฉพาะทาง หรือกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัย เพื่อแสดงการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิตให้ชัดเจน นอกจากนี้ สถาบันอุดมศึกษาแต่ละกลุ่มควรมีทิศทางที่ชัดเจนในบทบาทการวิจัย และสามารถน�ำผลงานวิจัย เทคโนโลยี ผลงานสร้างสรรค์ใช้เป็นทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) เพื่อสร้างวงจรรายได้ของสถาบัน ทัง้ นี้ การพัฒนาหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาจะต้องเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตทีม่ สี มรรถนะสูง ทัง้ องค์ความรู้ และทักษะการปฏิบัติงานได้จริง สอดคล้องตามความต้องการขององค์กรผู้ใช้บัณฑิต โดยการจัดหลักสูตรแบบ Work-integration Learning รวมทั้งพัฒนาเครือข่ายอุดมศึกษาในประเทศและเครือข่ายอุดมศึกษาระดับ นานาชาติ เพื่อสร้างความร่วมมือในการพัฒนาผลงานวิจัย ถ่ายทอดแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ เทคโนโลยี คณาจารย์ และนักศึกษา ตลอดจนเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของวิทยาลัยชุมชนอย่างเหมาะสม ทั้งกลุ่มพัฒนาทักษะ และกลุ่มที่มีความสามารถศึกษาต่อในระดับสูง” เลขาธิการ กกอ. กล่าว สถาบันอุดมศึกษาไทยจ�ำเป็นต้องให้ความส�ำคัญและมุง่ เน้นคุณภาพการเรียนการสอนทีม่ คี ณ ุ ภาพให้แก่ผเู้ รียน เพือ่ ให้เป็นบัณฑิตทีม่ คี ณ ุ ลักษณะตามความต้องการของตลาดแรงงานทีข่ ยายเป็นพืน้ ทีภ่ มู ภิ าคอาเซียน ซึง่ จะมีการแข่งขัน ด้วยศักยภาพบุคคลอย่างมาก เนือ่ งจากการเคลือ่ นย้ายแรงงานเสรี ในแง่มมุ ของสถาบันอุดมศึกษาจะมีคแู่ ข่งขันหรือ คู่เทียบการให้บริการทางการศึกษาจากทั่วโลกมากขึ้น ดังนั้น แม้ว่าสถาบันอุดมศึกษาจะได้รับอิสระในการบริหาร จัดการ (Autonomy) แต่ก็ต้องมีการตรวจสอบได้ (Accountability) มีธรรมาภิบาลที่ดี (Good Governance) ก�ำกับอย่าง เข้มแข็งเช่นเดียวกัน จึงจะมีประสิทธิภาพในการสร้างคุณภาพแก่บัณฑิตอุดมศึกษา ในขณะเดียวกัน การพัฒนา คุณภาพหลักสูตร คณาจารย์ และการวิจัยจะเป็นสิ่งส�ำคัญ โดยเฉพาะสถาบันอุดมศึกษาที่ต้องแสวงหาเครือข่าย พันธมิตรทางวิชาการ ในขณะที่ประชาชนผู้รบั บริการจะมีโอกาสเลือกใช้บริการทางการศึกษามากขึ้นเช่นกัน อนุสารอุดมศึกษา

13


พูดคุยเรื่องมาตรฐาน

๘ นโยบายการศึกษา

‘อนุสารอุดมศึกษา’ ฉบับนี้ ขอน�ำเสนอ ๘ นโยบายการศึกษา ของนายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาคนใหม่ ซึ่งได้แถลงเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ที่ผ่านมา เพื่อเร่งรัดด�ำเนินการตามนโยบายรัฐบาล และสานต่องานที่ได้ด�ำเนินการไปแล้ว ทัง้ นี้ ได้กำ� หนดให้ปี ๒๕๕๖ จากนีไ้ ปเป็น ‘ปีแห่งการรวมพลังยกระดับคุณภาพการศึกษา’ โดยมีเป้าหมายมุง่ พัฒนาผูเ้ รียนให้สามารถ คิด วิเคราะห์ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และทักษะที่จ�ำเป็นส�ำหรับศตวรรษที่ ๒๑ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ๘ นโยบาย ที่จะเร่งรัดด�ำเนินการตามนโยบายรัฐบาล และสานต่องานที่ได้ด�ำเนินการไว้แล้ว ๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยปฏิรูปให้มคี วามเชื่อมโยงกันทั้งหลักสูตร และการเรียนการสอน ให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับการเรียนรู้ยุคใหม่ การพัฒนาครู และการพัฒนาระบบการทดสอบ การวัดและประเมินผลที่ได้มาตรฐานและเชื่อมโยงกับหลักสูตรและการเรียนการสอน และการพัฒนาผู้เรียน ๒. ปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครู ให้มจี ำ� นวนการผลิตทีส่ อดคล้องกับความต้องการ มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรปัจจุบนั รองรับ หลักสูตรใหม่ และการเรียนรู้ในโลกยุคใหม่ รวมทั้งพัฒนาระบบประเมินวิทยฐานะครูให้เชื่อมโยงกับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ดูแลระบบ สวัสดิการ และลดปัญหาทีบ่ ั่นทอนขวัญ ก�ำลังใจของครู ให้ส่งผลต่อประสิทธิภาพการเรียนการสอนและคุณภาพผู้เรียน ๓. เร่งน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ในการปฏิรูปการเรียนรู้ สร้างมาตรฐานการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) และพัฒนาเนือ้ หาสาระ พัฒนาครู และการวัดประเมินผล ที่ได้มาตรฐาน รวมทั้งเพื่อเป็นเครื่องมือให้เกิดระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตในสังคมไทย ๔. พัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษาให้มีมาตรฐานเทียบได้กับระดับสากล ให้สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ โดยผลักดันให้เกิดการใช้กรอบคุณวุฒิวิชาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ มาใช้กำ� หนดทักษะความรู้ความสามารถที่สอดคล้องกับ ความต้องการของผู้ใช้ ผู้มีงานท�ำ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้า โดยได้รับค่าตอบแทนตามสมรรถนะที่เพิ่มขึ้น โดยไม่ขึ้นกับวุฒิการศึกษา ทั้งแบบอนุปริญญาหรือปริญญา ๕. ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาเร่งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน มากกว่าการขยายเชิงปริมาณ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยให้มีการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของไทย เพื่อเป็นแนวทางพัฒนา คุณภาพ มาตรฐาน และจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนาสู่การเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก (World Class University) ให้มากขึ้น ๖. ส่งเสริมให้เอกชนและทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษามากขึ้น สนับสนุนความร่วมมือแบบเป็นหุ้นส่วนทางการศึกษารัฐและเอกชน (Public Private Partnership) ตลอดจนเปิดโอกาสให้เอกชน มีส่วนร่วมในการออกแบบหลักสูตร เป็นวิทยากร สนับสนุนการฝึกงานและเรียนรู้การท�ำงานจริงในสถานที่ท�ำงาน ๗. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มอายุได้รับบริการการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาส และการพัฒนากองทุนเงินกู้ยืมที่ ผูกกับรายได้ในอนาคต (ICL) ให้สามารถเป็นกลไกในการพัฒนาคุณภาพ เพิ่มโอกาสและผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับความต้องการของ ประเทศ โดยขอให้ด�ำเนินการให้เป็นไปตามแนวคิดของกองทุน ICL ตามที่ได้ก่อตั้งหรือริเริ่มขึ้นมา ซึ่งต้องอาศัยผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้สนใจ ที่เคยด�ำเนินการ เข้ามาช่วยด�ำเนินการอย่างจริงจัง ๘. พัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้วยการสนับสนุนและพัฒนาการศึกษาและสถานศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้สอดคล้องกับเศรษฐกิจ สังคม อัตลักษณ์ และความต้องการประชาชนในท้องถิ่น โดยให้ความส�ำคัญกับความปลอดภัย การสร้างขวัญก�ำลังใจให้กับนักเรียน ครู และบุคลากร ทางการศึกษา ๕ กลไก ในการขับเคลื่อน

๑. เร่งรัดจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ๒. จัดตั้งสถาบันเพื่อวิจัยหลักสูตรและพัฒนาการเรียนการสอน ๓. สร้างความเข็มแข็งของกลไกการวัดผล ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล ๔. เร่งรัดให้มพี ระราชบัญญัติอุดมศึกษา ๕. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด

14

อนุสารอุดมศึกษา

๒ แนวทาง บริหารจัดการ

๑. ตั้งคณะกรรมการหรือคณะท�ำงานเพื่อขับเคลื่อนเรื่องส�ำคัญต่างๆ ๒. จัดประชุมปฏิบัติการ (workshop) อย่างเป็นระบบ


เรื่องแนะนำ�

นายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

ประวัติการศึกษา มัธยมศึกษา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอเมริกัน วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา ประวัติการท�ำงาน ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๒๙ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา เขต ๑ พรรคประชาธิปัตย์ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๑ กรรมาธิการการคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๓๑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฉะเชิงเทรา เขต ๑ พรรคประชาชน ๒๒ มีนาคม ๒๕๓๕ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฉะเชิงเทรา เขต ๑ พรรคความหวังใหม่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๓๕ กรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาศึกษาแนวทางแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๑ มีนาคม ๒๕๓๘ โฆษกพรรคความหวังใหม่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๘ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฉะเชิงเทรา เขต ๑ พรรคความหวังใหม่ ๘ สิงหาคม ๒๕๓๘ ประธานคณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๓๙ โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ๒๗ เมษายน ๒๕๔๒ เลขาธิการพรรคความหวังใหม่ รองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย ๖ มกราคม ๒๕๔๔ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔ รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี ๒๗ มกราคม ๒๕๔๕ รองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย ๕ มีนาคม ๒๕๔๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม คนที่ ๓๘ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๕ รองนายกรัฐมนตรี ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย ๑๑ มีนาคม ๒๕๔๘ รองนายกรัฐมนตรี ๒ สิงหาคม ๒๕๔๘ - ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ๒ เมษายน ๒๕๔๙ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๙ รักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไทย ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) มหาวชิรมงกฎ (ม.ว.ม.)

อนุสารอุดมศึกษา

15


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

KAZAN 2013 เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ณ กรุงบรัสเซล ‘เมืองคาซาน’ ได้รับการประกาศ ให้เป็นเมืองเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก ฤดูร้อน ครัง้ ที่ ๒๗ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยสาธารณรัฐทาทาร์สถานได้รับการลงเสียงให้เป็นประเทศเจ้าภาพ จากกลุ่มคณะผู้บริหาร ๒๐ ประเทศ จากทั้งหมด ๒๗ ประเทศสมาชิกของสหพันธ์กีฬามหาวิทยาลัยโลก โดยจัด การแข่งขันขึ้นระหว่างวันที่ ๖ - ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ที่ผ่านมา ตราสัญลักษณ์ ตราสัญลักษณ์การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก ฤดูร้อน ครั้งที่ ๒๗ พ.ศ. ๒๕๕๖ ออกแบบโดยการรวมตัวอักษร ค�ำว่า ‘Universiade’, ‘Kazan’, ‘Russia’, ‘2013’ และ ดวงดาว อีก ๕ ดวง สัญลักษณ์ของสหพันธ์กฬี ามหาวิทยาลัยโลก เข้าไว้ดว้ ยกันในรูปสีเ่ หลีย่ มแนวตัง้ ประกอบกันเป็นตัวอักษร U สีด�ำ บนพื้นหลังสีขาว ซึ่งดวงดาว ๕ ดวง เพื่อแสดงถึง ๕ ทวีป ส�ำหรับสัญลักษณ์ของการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก ฤดูร้อน พ.ศ. ๒๕๕๖ มาจากดอกทิวลิป ซึ่งเป็นส่วนประกอบอยู่ในเครื่องประดับของชาวทาทาร์ และเป็น สัญลักษณ์ของการฟืน้ ฟู นอกจากนัน้ ดอกไม้ยงั แสดงถึงช่วงเวลาฤดูรอ้ น และหมายรวมถึง เยาวชน การพัฒนา ความสนุกสนาน และความสุข

U are the World ค�ำขวัญ การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกถูกจัดขึ้นภายใต้ค�ำขวัญ ‘Excellence in Mind and Body’ หรือ ‘ยอดเยี่ยมทั้งกายและใจ’ และในการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก แต่ละครั้งจะมีค�ำขวัญประจ�ำการแข่งขันซึ่งถูกเสนอโดยคณะกรรมการจัดการแข่งขัน และ ได้รบั การอนุมตั จิ ากสหพันธ์กฬี ามหาวิทยาลัยโลก โดยในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก ฤดูร้อน พ.ศ. ๒๕๕๖ ครั้งนี้ มีค�ำขวัญประจ�ำการแข่งขัน คือ ‘U are the world’ ซึ่งแปล ได้ทั้ง 2 ความหมาย คือ ‘You are the world’ และ ‘Universiade is the world’

16

อนุสารอุดมศึกษา

สัญลักษณ์น�ำโชค ‘Uni’ เสือดาวหิมะมีปีก สัญลักษณ์ ประจ�ำชาติของสาธารณรัฐทาทาร์สถาน ได้ รั บ เลื อ กให้ เ ป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ น� ำ โชค ประจ�ำการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก ฤดูร้อน พ.ศ. ๒๕๕๖


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

ส�ำหรับในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก ครั้งที่ ๒๗ ‘คาซาน ๒๐๑๓’ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา โดยคณะกรรมการบริ ห ารกี ฬ า มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ก.ก.ม.ท.) ได้ส่งนักกีฬา ๘๒ คน และเจ้าหน้าที่ ๕๔ คน รวม ๑๓๖ คน เข้าร่วมการแข่งขัน ๘ ชนิดกีฬา ได้แก่ กรีฑา แบดมินตัน วอลเลย์บอล วอลเลย์บอลชายหาด ยิงปืนและเป้าบิน เทนนิส ยกน�้ำหนัก และ มวยสากลสมัครเล่น โดยมีนายปรีชา ประยูรพัฒน์ เป็นหัวหน้าคณะนักกีฬา

อนุสารอุดมศึกษา

17


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

18

นางวราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมด้วย ศาสตราจารย์ประสาท สืบค้า ประธานคณะกรรมการบริหาร กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เข้าร่วมพิธีเปิดการแข่งขันกีฬา มหาวิทยาลัยโลก ครั้งที่ ๒๗ ‘คาซาน ๒๐๑๓’ ณ คาซาน อารีน่า เมืองคาซาน สหพันธรัฐรัสเซีย ซึง่ จัดขึน้ ระหว่างวันที่ ๖ - ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ในโอกาสนี้ ได้รว่ มชมการแข่งขันกีฬา และให้กำ� ลังใจนักกีฬา ทีมชาติไทยในการแข่งขันกีฬาชนิดต่างๆ นางวราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวถึงการเข้าร่วมการแข่งขันครั้งนี้ ว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษาเห็ น ถึ ง ประโยชน์ ใ นการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นานิ สิ ต นักศึกษา เพื่อเป็ น ก�ำ ลัง ของประเทศชาติใ นอนาคต โดยเฉพาะ ด้านการกีฬา ดังนั้น นักกีฬาและเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายต้องเก็บเกี่ยว ประสบการณ์ให้คุ้มค่า เพื่อน�ำกลับมาพัฒนาการกีฬาของไทยต่อไป ให้ได้มากที่สุด ที่ส�ำคัญต้องตั้งเป้าหมายว่าไปท�ำหน้าที่อะไร และ จะได้อะไรที่เป็นประโยชน์กลับมา ทัง้ นี้ รองเลขาธิการ กกอ. ได้ให้โอวาทกับคณะนักกีฬา นอกจาก การแข่งขันกีฬา คือ การไปอยูใ่ นต่างประเทศ จะต้องศึกษาถึงวัฒนธรรม ประเพณี สิง่ ใดทีเ่ ป็นข้อห้าม หรือข้อปฏิบตั ติ อ้ งถือปฏิบตั โิ ดยเคร่งครัด การเดิ น ทางจะต้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย ในการแข่ ง ขั น หรื อ การเชียร์กีฬาต้องมีความสุภาพ หลีกเลี่ยงปัญหาการทะเลาะวิวาท โดยเด็ดขาด และเมือ่ มีโอกาสควรแสดงภาพลักษณ์ วัฒนธรรมอันดีงาม และความมี น�้ ำ ใจนั ก กี ฬ าของคนไทยให้ ช าวต่ า งชาติ ไ ด้ รู ้ จั ก และ เกิดความประทับใจ “การเป็นนักกีฬาที่ดีและประสบความส�ำเร็จในการแข่งขันได้ ย่ อ มอาศั ย ปั จ จั ย หลายอย่ า ง อาทิ ทั ก ษะความสามารถพิ เ ศษ การฝึกซ้อม และการมีระเบียบวินัย โดยมีผู้ฝึกสอนเป็นผู้ชี้แนะ ให้ทราบถึงจุดเด่นจุดด้อย เพื่อปรับปรุง แก้ไข เพิ่มประสิทธิภาพและ โอกาสความส�ำเร็จในการแข่งขัน” รองเลขาธิการ กกอ. กล่าว

อนุสารอุดมศึกษา


๒๓

เหตุการณ์เล่าเรื่อง

Medal table # CC ๑ RUS ๒ CHN ๓ JPN ๔ KOR ๕ BLR ๖ UKR ๗ USA

๑๕๕ ๒๖ ๒๔ ๑๗ ๑๓ ๑๒ ๑๑

THA ๒

๗๕ ๒๙ ๒๘ ๑๒ ๑๓ ๒๙ ๑๔

๖๒ ๒๒ ๓๒ ๑๒ ๑๔ ๓๖ ๑๕

T ๒๙๒ ๗๗ ๘๔ ๔๑ ๔๐ ๗๗ ๔๐

๑๕

เหรียญทอง แบดมินตันชายเดี่ยว นายทนงศักดิ์ แสนสมบูรณ์สขุ ยิงเป้าบิน สกีตบุคคลหญิง นางสาวอิศราภา อิ่มประเสริฐสุข เหรียญเงิน ปืนยาวท่านอน ๕๐ เมตร บุคคลหญิง นางสาวธัญลักษณ์ โชติพิบูลศิลป์ ปืนยาวท่านอน ๕๐ เมตร ทีมหญิง นางสาวธัญลักษณ์ โชติพิบูลศิลป์ นางสาวสุนันทา มัจฉาชีพ และนางสาววิชชุดา ไพจิตรกาญจนกุล ยิงเป้าบิน สกีตทีมหญิง นางสาวนัชญา สุทธิ์อาภรณ์ นางสาวอิศราภา อิ่มประเสริฐสุข และนางสาวนัชชา สุทธิ์อาภรณ์ ปืนสั้นอัดลมหญิง นางสาวธันยพร พฤกษากร เทนนิส หญิงคู่ นางสาวนพวรรณ เลิศชีวกานต์ และนางสาววรัชญา วงศ์เทียนชัย ยกน�้ำหนักหญิง รุ่น ๗๕ กิโลกรัม นางสาวชิดชนก พูลทรัพย์สกุล ยกน�้ำหนักหญิง รุ่น ๕๓ กิโลกรัม นางสาวกิตติมา สุธานันต์ เหรียญทองแดง แบดมินตันหญิงเดี่ยว นางสาวพรทิพย์ บูรณะประเสริฐสุข แบดมินตันทีมผสม นายพิสิษฐ์ พูดฉลาด นายอิงครัตน์ อภิสุข นายอัครวินท์ อภิสุข นายสุวัฒน์ ไพศาลสมสุข นายเสริมสิน วงศ์ญาพรหม นายทนงศักดิ์ แสนสมบูรณ์สุข นางสาวพรทิพย์ บูรณะประเสริฐสุข นางสาวสาวิตรี อมิตรพ่าย นางสาวรวินดา ประจงใจ นางสาวชนิดา จุลรัตนมณี นางสาวพชรกมล อากรสกุล และนางสาวพิจิตรจันทร์ หวังไพบูลย์กิจ ปืนสั้นมาตรฐานหญิง นางสาวธันยพร พฤกษากร ปืนสั้นอัดลม ทีมหญิง นางสาวธันยพร พฤกษากร นางสาวกนกกาญจน์ ไชยมงคล และนางสาวภัทรสุดา โซวสง่า วอลเลย์บอลหญิง นางสาวอรอุมา สิทธิรักษ์ นางสาวปิยะนุช แป้นน้อย นางสาวอ�ำพร หญ้าผา นางสาวนุศรา ต้อมค�ำ นางสาวจรัสพร บรรดาศักดิ์ นางสาวมลิกา กันทอง นางสาวพรพรรณ เกิดปราชญ์ นางสาวสนธยา แก้วบัณฑิต นางสาวแก้วกัลยา กมุลทะลา นางสาวเอ็มอร พานุสิทธิ์ นางสาวทัดดาว นึกแจ้ง และนางสาวฐาปไพพรรณ ไชยศรี ยกน�้ำหนักหญิง รุ่น ๔๘ กิโลกรัม นางสาวพนิดา ค�ำศรี อนุสารอุดมศึกษา

19


เหตุการณ์เล่าเรื่อง

นักกีฬา ‘เหรียญทอง’ คาซาน ๒๐๑๓

‘สอง’ ทนงศักดิ์ แสนสมบูรณ์สุข เหรียญทองแบดมินตันชายเดี่ยว และเหรียญทองแดงแบดมินตันทีม

เกิดวันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๓๓ อายุ ๒๒ ปี นักศึกษาชั้นปีที่ ๓ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม นักกีฬาแบดมินตันทีมชาติไทย มือวางอันดับที่ ๒๐ ของโลก (Badminton World Federation: BWF World Ranking) ผลงานที่ผ่านมา เหรียญทองแบดมินตันชายเดี่ยว กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๔๐ พลบดีเกมส์

เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ‘สอง’ ทนงศักดิ์ แสนสมบูรณ์สุข แข่งขันแบดมินตันชายเดีย่ วในรอบชิงชนะเลิศกับ เกา หวน จากประเทศจีน (มือวางอันดับที่ ๒๗ ของโลก) ผลปรากฏว่า เอาชนะสองเกมรวด ด้วยคะแนน ๒๑ - ๑๒ และ ๒๑-๑๗ คว้าเหรียญทองเหรียญแรกให้กับนักกีฬาไทย ในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก ฤดูร้อน ครั้งที่ ๒๗ ‘คาซาน ๒๐๑๓’ ได้ส�ำเร็จ

‘วอร์ม’ อิศราภา อิ่มประเสริฐสุข

เหรียญทองยิงเป้าบิน สกีตบุคคลหญิง และเหรียญเงินยิงเป้าบิน สกีตทีมหญิง

เกิดวันที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๘ อายุ ๑๘ ปี นิสิตชั้นปีที่ ๑ ภาควิชาสังคมวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานที่ผ่านมา - เหรียญทองแดงยิงเป้าบิน สกีตทีมหญิง เอเชี่ยนเกมส์กวางโจว ๒๐๑๐ - เหรียญทองแดงยิงเป้าบิน สกีตบุคคลหญิง การแข่งขันยิงเป้าบินเยาวชนนานาชาติ (International Junior Competition, Suhl-Germany 2012) ณ เมืองซูทล์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

20

อนุสารอุดมศึกษา


เล่าเรื่องด้วยภาพ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ - นายอภิชาติ จีระวุฒิ เลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา มอบกระเช้าแสดงความยินดีกับนายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ ในโอกาสเข้ารับต�ำแหน่งรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงศึกษาธิการ ณ ห้องประชุมราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ

๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๖ - นายอภิชาติ จีระวุฒิ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานพิธีเปิดงาน ‘กิจกรรมศิลปะ ดนตรี และกีฬา’ โดยมีนางวราภรณ์ สีหนาท และนางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา นางสาวสุนนั ทา แสงทอง ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน พร้อมผู้บริหารและข้าราชการส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เข้าร่วมงาน ณ ห้องโถง ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา

๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖ - นายอภิชาติ จีระวุฒิ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมพิธี เปิ ด ตั ว และสั ม มนา ‘๔ หลั ก สู ต รเทคโนโลยี เพือ่ อนาคต’ พร้อมเป็นสักขีพยานในพิธลี งนาม ความร่วมมือระหว่างสถาบันวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ชั้ น สู ง (สวทน.) หรื อ ไทยเอสที (Thailand Advanced Institute of Science and Technology: THAIST) กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับ ๗ สถาบันการ ศึกษา เพือ่ เปิดตัวน�ำร่อง ‘๔ หลักสูตรเทคโนโลยี เพื่ อ อนาคต’ โดยมี น ายพี ร พั น ธุ ์ พาลุ สุ ข รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี เป็นประธานในพิธี ณ ศูนย์การประชุม แห่งชาติสิริกิต์ิ

อนุสารอุดมศึกษา

21


เล่าเรื่องด้วยภาพ

๙ กรกฎาคม ๒๕๕๖ - นายอภิชาติ จีระวุฒิ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธานในพิธีเปิดสถาบันเทคโนโลยี ยานยนต์มหาชัย พร้อมเยีย่ มชมการจัดการ ศึกษา โดยมีนายภักดี ฐานปัญญา อธิการบดี และนางมาลี ฐานปัญญา ผู้รับใบอนุญาต ให้การต้อนรับ ณ สถาบันเทคโนโลยียานยนต์ มหาชัย

๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ - นายอภิชาติ จีระวุฒิ เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็นประธาน ในพิธีสงฆ์เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ครบ ๑๐ ปี โดยมี นายสุชาติ เมืองแก้ว อดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กำ� จร ตติยกวี นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา รองศาสตราจารย์ ชวนี ทองโรจน์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาภูมิปัญญา ท้ อ งถิ่ น นางสาวสุ นั น ทา แสงทอง ที่ ป รึ ก ษา ด้ า นนโยบายและแผน นายสุ ภั ท ร จ� ำ ปาทอง ผู ้ ช ่ ว ยเลขาธิ ก ารคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ผู้บริหาร และข้าราชการส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เข้าร่วมงาน ณ ห้องโถง ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา

22

อนุสารอุดมศึกษา


เล่าเรื่องด้วยภาพ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๖ - นางสาวอาภรณ์ แก่นวงศ์ รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา ให้การต้อนรับและหารือร่วมกับคณะ ดู ง านกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารของสาธารณรั ฐ ประชาชนบั ง กลาเทศ ณ ห้องประชุมบริหาร ชั้น ๔ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๖ - รองศาสตราจารย์ชวนี ทองโรจน์ ทีป่ รึกษาด้านพัฒนาภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ เป็นประธานพิธีเปิดการอบรมโครงการพัฒนา ศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาบันอุดมศึกษา กลุม่ ภาคเหนือ ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ณ โรงแรมสีหราช จังหวัดอุตรดิตถ์

๒๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ - นางสาวสุนนั ทา แสงทอง ทีป่ รึกษาด้านนโยบายและแผน ร่วมการเสวนาพิเศษ “ท้องถิน่ -ชุมชน.. พลั ง ขั บ เคลื่ อ นประเทศไทย” และ ร่วมแสดงความยินดีในวาระครบรอบ ๖๓ ปี หนังสือพิมพ์สยามรัฐรายวัน ณ ห้องบอลรูม ศูนย์การประชุมแห่งชาติ สิริกิติ์

อนุสารอุดมศึกษา

23


เลื อ กเรี ย นอะไร

..มหาวิ ท ยาลั ย ไหน..ไร ซึ่ ง ป ญ หา ตรวจสอบกอนตัดสินใจ ตรวจสอบขอมูลไดที่ http://www.mua.go.th/users/bhes/index.htm หรือสอบถามขอมูลไดที่หมายเลข ๐ ๒๖๑๐ ๕๓๗๘ - ๘๐ หลักสูตรทุกสาขาวิชา

• ตองเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และผานการรับทราบจาก สกอ. • ตองผานการรับรองจากองคกรวิชาชีพ (กรณีสาขาวิชาที่ตองสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ) • ตองผานการรับทราบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กรณีหลักสูตรที่จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง)

สถาบันอุดมศึกษา

• ควรผานมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน • ควรผานมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกจาก สมศ. • ควรมีขอมูลระบบการลงทะเบียนที่ถูกตอง • ควรมีรายชื่อและคุณวุฒิของอาจารยประจำหลักสูตรจากเอกสารหลักสูตร ที่ผานการรับทราบจาก สกอ. • ควรใหบริการตางๆ ตามสิทธิที่นิสิตนักศึกษาพึงจะไดรับ

สำนั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา (สกอ.) ๓๒๘ ถนนศรี อ ยุ ธ ยา แขวงทุ ง พญาไท เขตราชเทวี กรุ ง เทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศั พ ท ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๐๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๕๕๒๔-๖ http://www.mua.go.th Facebook : www.facebook.com/ohecthailand Twitter : www.twitter.com/ohec_th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.