กกอ. กับการยกระดับคุณภาพการอุดมศึกษาไทย โดย ประธาน กกอ. (รองศาสตราจารย์ คุณหญิงสุ มณฑา พรหมบุญ)
23 เมษายน 2557 1
ประเด็นนาเสนอ 1. การลงทุนพัฒนาประเทศผ่ าน สถาบันอุดมศึกษา 2. การปรับปรุงเกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตร 3. การประกันคุณภาพการศึกษา และการ ส่ งเสริมสถาบันอุดมศึกษาสู่ ความเป็ นเลิศ 4. ร่ าง พ.ร.บ. การอุดมศึกษา พ.ศ. .... 2
5. การติดตาม ตรวจสอบ การจัดการศึกษา นอกสถานที่ต้งั และบัณฑิตศึกษา 6. การส่ งเสริมเครือข่ ายมหาวิทยาลัย 7. การพัฒนาระบบการคัดเลือกบุคคลเข้ าศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา 8. การผลิตและพัฒนาครู 3
1. การลงทุนพัฒนาประเทศ ผ่ านสถาบันอุดมศึกษา 1. โครงการขับเคลือ่ นมหาวิทยาลัยไทยสู่ มหาวิทยาลัย ระดับโลก 2. โครงการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ ใน อุดมศึกษาเพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงของบริบทโลก 3. โครงการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษากลุ่มใหม่ ให้ ได้ มาตรฐานการอุดมศึกษาและการเตรียมความพร้ อมสู่ การเป็ น ประชาคมอาเซียน 4
Capacity building
ชุมชนและท้องถิ่น
สร้างความพร้อม (Capacity building) และยกระดับคุณภาพให้ได้ มาตรฐานของประเทศ
National/ASEAN standard universities
สถาบันอุดมศึกษา +ภาคอุตสาหกรรม competitiveness
สถาบันอุดมศึกษากลุ่มใหม่ งบประมาณ 68,000 ลบ.
+
Clusters of Excellence - โครงสร้าง พื้นฐาน - ทุนพัฒนา อาจารย์ - ทุนวิจัย
สถาบันอุดมศึกษากลุ่มเก่า งบประมาณ 47,700 ลบ.
เพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขัน (competitiveness) ของประเทศ
ASEAN/Asian standard universities
Clusters of Excellence - โครงสร้าง พื้นฐาน - ทุนพัฒนา อาจารย์ - ทุนวิจัย
Competitiveness + Escape Middle Income trap
สถาบันอุดมศึกษาที่ติดอันดับ มหาวิทยาลัยโลก งบประมาณ 25,000 ลบ. เพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ และนา ประเทศให้หลุดพ้นจากประเทศ รายได้ปานกลาง
world class universities
5
วัตถุประสงค์ 1. ยกระดับการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยของไทย 2. พัฒนากาลังคนที่มีคุณภาพในระดับสูงเพื่อเปลี่ยนผ่านสังคมไทยสู่สังคมเศรษฐกิจฐานความรู้และ เพิ่มศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในเชิงสร้างสรรค์ 3. ยกระดับทักษะแรงงานและการประกอบธุรกิจที่ใช้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1. ผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมจากงานวิจัย 2. งานวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาของประเทศ 3. กาลังคนคุณภาพสูงก่อให้เกิดการจ้างงาน การลงทุนจากทั้งภายในและภายนอกประเทศ 4. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและหลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง
6
วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา ทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนทุกระดับ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพให้เกิดความเข้มแข็งในการนา มหาวิทยาลัยเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและสังคมโลก 2. พัฒนากระบวนการสร้างองค์ความรู้และพัฒนาบุคลากรของประเทศเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันระดับโลก 3. สร้างเครือข่ายของสถาบันอุดมศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศเพื่อก่อให้เกิดความเข้มแข็งในการยกระดับสู่มหาวิทยาลัยระดับโลก
เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1. อาจารย์และบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษามีคุณวุฒิในภาพรวมทีส่ ูงขึ้น ส่งผลให้การศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศมีคุณภาพและ มาตรฐานที่ดีขึ้น 2. สถาบันอุดมศึกษาไทยมีขีดความสามารถด้านการเรียนการสอนและการพัฒนาองค์ความรูท้ ี่สูงขึ้น สามารถเป็นปัญญาของสังคมและพร้อม ในการเข้าเป็นประชาคมอาเซียน 3. สถาบันอุดมศึกษามีความชัดเจนในการผลิตบัณฑิตและปฏิบัติพันธกิจที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของตน ซึ่งจะส่งผลในภาพรวมต่อการ พัฒนานวัตกรรม ภาคการผลิตและการพัฒนาท้องถิ่นชุมชน 4. ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคในสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญ และมีเครือข่ายความร่วมมือ 5. สถาบันอุดมศึกษามีเครือข่ายการพัฒนากระบวนการสร้างองค์ความรู้ 7
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อยกระดับมาตรฐานการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษากลุ่มใหม่ให้ได้มาตรฐานระดับชาติและนานาชาติ 2. เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษากลุ่มใหม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ - มหาวิทยาลัยราชภัฏ เน้นการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน การผลิตและพัฒนาครู - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เน้นการพัฒนาเทคนิคและการปฏิบัติ - ม.นราธิวาสราชนครินทร์ ม.นครพนม สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พิจารณาตามวัตถุประสงค์ของแต่ละมหาวิทยาลัย เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1. สัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษามีความเหมาะสมกับแต่ละสาขาวิชา 2. นักศึกษามีทักษะด้านภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ 3. นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏและนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มีประสบการในการพัฒนาท้องถิ่นและ วิชาชีพครู 4. ผลงานวิชาการได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่นาไปใช้ประโยชน์ 5. หลักสูตรได้รับการพัฒนาสอดคล้องกับพันธกิจมหาวิทยาลัย 6. เกิดความร่วมมือระหว่างท้องถิ่น ชุมชนและสถานประกอบการ 8
2. การปรับปรุ งเกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตร ปัจจุบัน เกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตรฯ พ.ศ. 2548
- ระดับอนุปริญญา - ระดับปริญญาตรี - ระดับบัณฑิตศึกษา รู ปแบบเดียวสาหรับสถาบันอุดมศึกษาทุกประเภท 9
เกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตร (ใหม่ )
สกอ. มีการศึกษาวิจัย เพือ่ จัดทาข้ อเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษา และเกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา เพือ่ รองรับการจัดการ ศึกษาที่หลากหลาย 1. หลากหลายรู ปแบบตามจุดเน้ นของสถาบันอุดมศึกษา อาทิ - สถาบันอุดมศึกษาที่เน้ นด้ านวิชาการ (Academic University) - สถาบันอุดมศึกษาที่เน้ นการปฏิบัติ (Professional University) เกณฑ์ มาตรฐาน จาแนกได้ ดังนี้
10
(ร่ าง) เกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี ประกอบด้ วย
- หลักสู ตรปริญญาตรีเน้ นวิชาการ ได้ แก่ แบบปกติ และ แบบก้ าวหน้ า (Honors Program) - หลักสู ตรปริญญาตรีเน้ นวิชาชีพ/ด้ านเทคนิค/ปฏิบัติการ ได้ แก่ แบบปกติ และแบบก้ าวหน้ า (Honors Program) (ร่ าง) เกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตรระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบด้ วย หลักสู ตรเน้ นวิชาการ และหลักสู ตรเน้ นวิชาชีพ
11
2. ระดับการศึกษา - ต่ากว่ าปริญญาตรี - ปริญญาตรี - สู งกว่ าปริญญาตรี - หลักสู ตรฝึ กอบรมและหลักสู ตรต่ อเนื่อง(2 ปี )
12
3. จุดเน้ น หลักสู ตรแต่ ละกลุ่มมีลกั ษณะเด่ น หรือมีความแตกต่ างกัน เน้ นด้ านคุณภาพมากกว่ าปริมาณ อาทิ คุณสมบัตผ ิ ู้เข้ าศึกษา วิธีการคัดเลือกผู้เข้ าศึกษา คุณสมบัตอิ าจารย์ โดยเฉพาะหลักสู ตร ระดับบัณฑิตศึกษา การกาหนดสั ดส่ วนอาจารย์ ต่อนักศึกษา การกาหนดหน่ วยกิต เกณฑ์ การวัดผล เกณฑ์ การสาเร็จการศึกษา เป็ นต้ น ผู้สาเร็จการศึกษาแต่ ละหลักสู ตร - ได้ รับการยอมรับ มีความเท่ าเทียมในปริญญาของหลักสู ตร - มีความรู้ ความสามารถที่กาหนดไว้ ในหลักสู ตรได้ จริง 13
ความร่ วมมือภาคการผลิตและสถานประกอบการ (Work Integrated Learning) เพือ่ จัดการศึกษาให้ สอดคล้ องกับตลาดแรงงานทั้งใน เชิงปริมาณและคุณภาพ โดยกระบวนการสร้ างประสบการณ์ ระหว่ างเรียนอย่ างเหมาะสม และสนับสนุนการสร้ างรายได้ ระหว่ างเรียน และสนับสนุนให้ ผู้สาเร็จการศึกษามีงานทาได้ ทันที
14
ส่ งเสริมความร่ วมมือระหว่ างแหล่ งงานกับสถานศึกษา ให้ มากขึน้ ใกล้ ชิดกันมากขึน้ และหลากหลายรู ปแบบ โดย ร่ วมมือกันตั้งแต่ ข้นั ตอนการจัดทาหลักสู ตร เกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตรฯ ต้ องเปิ ดกว้ างให้ อาจารย์ ไป ทางานในภาคการผลิตได้ และเปิ ดโอกาสให้ คนในภาคการผลิต มาสอนหนังสื อในมหาวิทยาลัย ส่ งเสริมหลักสู ตรสหกิจศึกษานานาชาติ 15
3. การประกันคุณภาพการศึกษาและการส่ งเสริม สถาบันอุดมศึกษาสู่ ความเป็ นเลิศ กรอบแนวคิดในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 แก้ ไขเพิม ่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้ หน่ วยงานต้ นสั งกัดและสถานศึกษา จัดให้ มรี ะบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กฎกระทรวงว่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 กาหนดให้ มคี ณะกรรมการประกัน คุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ทาหน้ าที่วางระเบียบหรือออกประกาศ กาหนดหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัตเิ กีย่ วกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา เพือ่ ส่ งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการประกันคุณภาพ ภายในระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดม ศึกษา 16
องค์ ประกอบการประกันคุณภาพรอบใหม่ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริ การวิชาการ การทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม โดยบูรณาการเข้ า
ไปในองค์ ประกอบด้ านการผลิตบัณฑิต การวิจัยและการบริการ วิชาการ องค์ ประกอบอืน ่ ๆ เพิม่ เติมที่สาคัญและจาเป็ น 17
การประกันคุณภาพการศึกษาจะดาเนินการตั้งแต่ ระดับหลักสู ตร/สาขาวิชาต่ างๆ ระดับคณะวิชา ระดับสถานศึกษา โดยสถาบันจะมีการประเมินตนเอง และ สกอ. จะเข้ าไปติดตามตรวจสอบคุณภาพทุกสามปี 18
การพัฒนาตัวบ่ งชี้และเกณฑ์ การประเมิน 1. ตัวบ่ งชี้เดิมทีด่ าเนินการแล้ วได้ คะแนนเต็ม จะไม่ นามาใช้ เป็ นตัวบ่ งชี้ในรอบต่ อไป 2. เกณฑ์ การประเมินสามารถตรวจสอบได้ ชัดเจน 3. ไม่ เน้ นกระบวนการ ให้ เป็ นอิสระแก่ สถาบันที่จะ ดาเนินการ เพือ่ ให้ ได้ ผลลัพธ์ ทมี่ คี ุณภาพ หากประเมิน กระบวนการ จะมีเกณฑ์ การประเมินผลผลิต/ผลลัพธ์ ใน กระบวนการนั้นๆ ด้ วย 19
กรณีทไี่ ม่ ต้องดาเนินการประกันคุณภาพภายใน มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่ได้ มาตรฐานไม่ ตา่ กว่ า
ที่ สกอ. กาหนด เช่ น ใช้ เกณฑ์ EdPEx เป็ นเครื่องมือในการบริหาร องค์ การมาดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับคณะ/สถาบัน ระดับหลักสู ตร ได้ รับการรับรองในระดับนานาชาติ เช่ น AACSB หรือ AUN QA เป็ นต้ น หรือหลักสู ตรวิชาชีพที่ได้ รับการประเมินเพือ่ การรับรองจาก สภาวิชาชีพ การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก - ระดับสถาบัน World Ranking ไม่ ต่ากว่ า 500 - ระดับกลุ่มสาขาวิชา World Ranking ไม่ ต่ากว่ า 200 20
ความเชื่อมโยงกับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ของ สมศ. กกอ. กาหนดนโยบายให้ มคี วามเชื่อมโยงระหว่ างตัวบ่ งชี้ของ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ สกอ. และตัวบ่ งชี้การประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสี่ ของ สมศ. โดย - หากเป็ นตัวบ่ งชี้ตัวเดียวกัน ขอให้ ใช้ เหมือนกัน หากไม่ สามารถ ใช้ เหมือนกันได้ แต่ สามารถเก็บข้ อมูลพืน้ ฐาน ผ่ านระบบ CHE QA Online เพือ่ ให้ สมศ. ดึงไปประเมินได้ ม/ส จะได้ ไม่ ต้องทางานซ้าซ้ อน - หรือ การดาเนินการในตัวบ่ งชี้ของ สกอ. สามารถตอบตัวบ่ งชี้ ของ สมศ. ได้ ด้วย เป็ นต้ น 21
pre – audit หลักสู ตร ปัจจุบัน สกอ. สอบทานการเปิ ดดาเนินการหลักสู ตรต่ างๆ ของ สถาบันอุดมศึกษา ว่ าดาเนินการตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตร และ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ หรือไม่
Post Audit หลักสู ตร สกอ. จะทาหน้ าที่ประเมินและให้ การรับรองหลักสู ตรต่ างๆ (Program Accreditation) ว่ ามีการดาเนินการ (IQA) เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตรและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ (TQF) โดยบัณฑิตที่ ผลิตออกมาจะมีผลลัพธ์ การเรียนรู้ ตามที่ระบุไว้ ในแต่ ละสาขาวิชา 22
4. ร่ าง พระราชบัญญัตกิ ารอุดมศึกษา พ.ศ. .... ปี 2542 มีการปฏิรูปการศึกษา มีการกระจายอานาจ การจัดการศึกษาไปยังสถาบันอุดมศึกษา โดยคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (กกอ.) มีหน้ าที่เสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอุดมศึกษาทีส่ อดคล้ องกับความต้ องการ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
23
ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ภาครัฐไม่ สามารถกากับดูแลเชิงนโยบายได้ คุณภาพการศึกษาตา่ ลง (ปัญหาการจัดการศึกษา นอกสถานทีต่ ้งั / การขายปริญญา/ จ่ ายครบจบแน่ / การจ้ างทาวิทยานิพนธ์ ปัญหาการกระจายโอกาส (ระบบการรับนักศึกษา) ฯลฯ 24
แนวทางการแก้ไข ให้ มีกฎหมายว่ าด้ วยการอุดมศึกษาเป็ นเครื่องมือใน การส่ งเสริม พัฒนา และยกระดับของประเทศให้ ก้าวไปสู่ ความเป็ นเลิศในระดับนานาชาติ และทันกับความเปลีย่ นแปลง ทางด้ านเศรษฐกิจและสั งคมโลก และเป็ นเครื่องมือกาหนด มาตรการในการกากับดูแลสถาบันอุดมศึกษาที่ยงั ขาดเข้ มแข็ง ให้ สามารถจัดการศึกษาให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา
25
หลักการสาคัญ รับรองความเป็ นอิสระ/ ประกันเสรีภาพทางวิชาการของ
สถาบันอุดมศึกษา โดยให้ เป็ นไปตามกฎหมายจัดตั้ง สถาบันอุดมศึกษา ให้ มค ี ณะบุคคลรับผิดชอบการอุดมศึกษา/ Commissioner และทางานเต็มเวลา ใช้ การเงินเป็ นกลไกในการกากับนโยบาย และสนับสนุนให้ สถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา และมีมาตรการลงโทษ ในกรณีสถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาไม่ ได้ มาตรฐานการอุดมศึกษา 26
สร้ างให้ สภามหาวิทยาลัยเข้ มแข็ง/ รั บผิดชอบ สร้ างกลไกการคุ้มครองนักศึกษา/ การกระจายโอกาส/
ความเสมอภาค ให้ มีระบบข้ อมูลอุดมศึกษาเพือ ่ การกาหนดนโยบาย ทีถ่ ูกต้ องแม่ นยา
27
5. การติดตาม ตรวจสอบ การจัดการศึกษานอกสถานที่ต้งั และบัณฑิตศึกษา 1) การตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ต้งั ของสถาบันอุดมศึกษา กกอ. ได้ ตระหนักถึงความสาคัญของคุณภาพการจัดการศึกษานอกสถาน ที่ต้งั จึงได้ ดาเนินการ ดังนี้ - ดาเนินโครงการตรวจเยีย่ ม ปี 2554 - ดาเนินโครงการตรวจประเมิน ปี 2555 – ปัจจุบัน กฎกระทรวงว่ าด้ วยการจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั ของ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการว่ าด้ วยการจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ พ.ศ. 2552 28
แนวทางการจัดการศึกษานอกสถานทีต่ ้งั ตามนโยบาย กกอ. เหตุผลและความจาเป็ นต้ องมีความชัดเจน
ไม่ จัดการศึกษาทับซ้ อนพืน้ ที่
ไม่ ควรจัดการศึกษาหลักสู ตรปริญญาเอก
29
แนวทางการดาเนินงานต่ อไป ปรับปรุ งกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงศึกษาธิการเกีย่ วกับ
การจัดการศึกษานอกสถานทีต่ ้งั ของสถาบันอุดมศึกษา (อยู่ในขั้นตอนการ พิจารณาของกฤษฎีกา) จุดเน้ น - การจัดการศึกษานอกสถานทีต่ ้งั จะต้ องได้ รับอนุญาตจากรัฐมนตรี โดยคาแนะนาของ กกอ. - ไม่ จัดการศึกษานอกสถานทีต่ ้งั ในระดับปริญญาเอก - ต้ องเป็ นไปตามความต้ องการกาลังคนของประเทศ เป็ นสาขาวิชา ทีข่ าดแคลน และสถาบันอุดมศึกษามีความเชี่ยวชาญ (พิจารณาจากผลการ ประเมินคุณภาพ) - การอนุญาตให้ จัดการศึกษานอกสถานทีต่ ้งั มีระยะเวลากาหนด ฯลฯ 30
สรุ ปข้ อมูลศูนย์ การจัดการศึกษานอกสถานที่ต้งั ที่อยู่ระหว่ างการดาเนินการ ปี งบประมาณ 2555 - ปัจจุบัน รายการ ศูนย์ ท้งั หมดที่มีสถานภาพดาเนินการ (เริ่มโครงการตรวจประเมิน : ก.พ. 55) ศูนย์ ท้งั หมดที่มีสถานภาพดาเนินการ (ข้ อมูล : มี.ค. 57) 1. ยังไม่ ได้ ไปตรวจ 2. ตรวจประเมินแล้ ว 2.1 ศูนย์ ที่ยงั ไม่ สิ้นสุ ดกระบวนการ (อยู่ระหว่ างทักท้ วง, ทบทวน, แจ้ งผล) 2.2 ศูนย์ ที่สิ้นสุ ดการทักท้ วง/ตรวจซ้า ระดับผลการประเมิน ผ่ าน ต้ องปรั บปรุ ง ไม่ ผ่าน หมายเหตุ : จานวนสถาบันและศู นย์ นับซ้าได้
สถาบัน
ศูนย์
หลักสู ตร/สาขาวิชา
61
256
661
57
197
519
7 56
12 194
33 486
10
22
54
53
167
422
26 16 38
43 39 105
98 80 244 31
หลักสู ตรการจัดการศึกษานอกสถานที่ต้งั จาแนกตามระดับปริญญา (519 หลักสู ตร/สาขาวิชา)
ปริญญาโท (136 หลักสู ตร) 26%
ปริญญาเอก (5 หลักสู ตร) 1% ปริญญาตรี (378 หลักสู ตร) 73%
32
จานวนหลักสู ตรที่มผี ลการประเมินที่สิ้นสุ ดจาแนกตามประเภท ของสถาบันและระดับผลประเมิน ผ่าน
ต้ องปรับปรุ ง
ไม่ ผ่าน 104 45
9 6 3
14 10 5
69
27
25
29
27
24
25
33
8 18
3 1 14 22 4 16 21 1 12 19 3
2 2
12.นิตศิ าสตรบัณฑิต
15 11.ครุศาสตร์ อตุ สาหกรรมมหาบัณฑิต
30
10.บัญชีบัณฑิต
3 29 18 17
17 12 0 26
14.อืน่ ๆ
จานวนหลักสู ตรทีต่ รวจประเมิน
13.เทคโนโลยีบัณฑิต
33
9.ศิลปศาสตรบัณฑิต
2 33 39
8.ครุศาสตรบัณฑิต/ศึกษาศาสตรบัณฑิต
จานวนหลักสู ตรทีผ่ ่ าน
7.บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
42 50
6.ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต/ครุศาสตรม หาบัณฑิต
21 51
5.วิทยาศาสตรบัณฑิต
51
4.รัฐประศาสนศาสตร์ มหาบัณฑิต/ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
106
3.รัฐปรศาสนศาสตรบัณฑิต/รัฐศาสตร บัณฑิต
21
2.พุทธศาสตรบัณฑิต/ศาสนศาสตร บัณฑิต
1.บริหารธุรกิจบัณฑิต
หลักสู ตรที่นิยมเปิ ดสอน ณ ศูนย์ นอกสถานที่ต้งั จานวนหลักสู ตรทั้งหมด
134
15 14 14 43 56
34
2) การกากับติดตามการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา กกอ. ชุดปัจจุบัน เน้ นการติดตาม ตรวจสอบ การจัดการศึกษา ในระดับปริญญาเอก อยู่ระหว่ างการพัฒนาระบบ กลไก และเกณฑ์ ในการ ติดตามการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก (ศาสตราจารย์ กติ ติคุณสมหวัง พิธิยานุวฒ ั น์ ) ติดตาม ตรวจสอบ การจัดการศึกษาระดับปริ ญญาเอก ทุกหลักสู ตร เริ่มภายในปี งบประมาณ 2557 35
6. การส่ งเสริมเครือข่ ายมหาวิทยาลัย แนวคิดและวัตถุประสงค์ การสร้ างเครือข่ าย สถาบันอุดมศึกษา
ศักยภาพการวิจัย
คุณภาพบัณฑิต เครือข่ ายอุดมฯ ชุ มชน/ท้ องถิ่น
ความเข้ มแข็งของ ชุ มชนและสั งคม
- ความร่ วมมือ ทางวิชาการ - การใช้ ทรัพยากร ร่ วมกัน - การจัดสรร บทบาทหน้ าที่
ภาคการผลิต/ ภาคอุสาหกรรม
หน่ วยงานภาครัฐ/ เอกชน
ขีดความสามารถในการ แข่ งขันของประเทศ 36
เครือข่ ายเพือ่ การพัฒนาอุดมศึกษา 9 เครือข่ าย (1) เหนือตอนบน (มช.) (2) เหนือตอนล่ าง (มน.)
(5) กลางตอนล่ าง (มจธ.)
(3) อีสานตอนบน (มข.) (4) อีสานตอนล่ าง (มทส.)
(6) กลางตอนบน (จฬ.) (7) ตะวันออก (มบ.)
(8) ใต้ ตอนบน (มวล.)
(9) ใต้ ตอนล่ าง (มอ.) 37
โครงสร้ างเครือข่ ายเพือ่ พัฒนาอุดมศึกษา (ในปัจจุบัน)
ระดับ A
คณะกรรมการอานวยการกลาง (สกอ.) นโยบาย สนับสนุน กากับติดตาม
ระดับ B
คณะกรรมการระดับพืน้ ที่ 9 เครือข่ าย (แม่ ข่ายเป็ นประธาน) : ถ่ ายทอดจาก A สู่ สมาชิก บริหารจัดการ ติดตาม
ระดับ C
คณะกรรมการเชิงประเด็น : กิจกรรม/โครงการ
- เครือข่ ายวิจยั - เครือข่ ายสหกิจศึกษา -เครือข่ าย QA -เครือข่ ายพัฒนา นศ. -เครือข่ าย อพ.สธ. - เครื อข่ายเฉพาะกิจ -เครือข่ าย UBI 38
7. การพัฒนาระบบการคัดเลือกบุคคลเข้ าศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา สรุ ปสถานการณ์ และปัญหา สถาบันอุดมศึกษาเป็ นผู้มีบทบาทโดยตรงในการคัดเลือก
บุคคลเข้ าศึกษาทีจ่ ะกาหนดรู ปแบบการคัดเลือก ปัจจุบันการคัดเลือกบุคคลเข้ าศึกษาในระดับอุดมศึกษา มี 2 ระบบ ได้ แก่ 1) ระบบกลาง (Admissions) และ 2) ระบบรับตรง/ โควต้ า ดาเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษา หรือกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา 39
สมาคมอธิการบดีแห่ งประเทศไทย(สอท.) ดาเนินการ
ทั้งระบบกลางและคัดเลือก ระบบรับตรง ผ่ าน Clearinghouse ส่ งผลกระทบต่ อหลายฝ่ าย เช่ น ปัญหาการวิง่ รอกสอบ ปัญหาค่ าใช้ จ่ายของนักเรียนและผู้ปกครอง ปัญหาการสละสิ ทธิ์ ปัญหาการทิง้ ห้ องเรียนไปกวดวิชา ปัญหาการพ้ นสภาพ นักศึกษา (รีไทร์ )
40
เกิดแนวคิดในการปรับระบบการคัดเลือกนักศึกษา ลดภาระการสอบของนักเรียน ไม่ ลดความสนใจในห้ องเรียนของนักเรียน เรียบครบตามหลักสู ตร เป็ นระบบทีส ่ ามารถคัดเลือกเด็กทีส่ ามารถ เรียนได้ จริงๆ การสอบต้ องมีความยุตธ ิ รรมและเท่ าเทียม 41
แนวนโยบายของ กกอ. ปรับปรุ งระบบให้ มป ี ระสิ ทธิภาพและเสมอภาค มากขึน้ ควรมีระบบ Central Admissions หรือ Network
Admissions ตามกลุ่มสาขาวิชา สนับสนุน การทดสอบด้ วยข้ อสอบมาตรฐานต่ างๆ กาหนดเกณฑ์ มาตรฐานขั้นต่าของการรับเข้ าเรียนใน สาขาต่ าง ๆ ควรให้ มีระบบ Provisional admissions, Bridge Programs, Advanced Placement และระบบ Exit Exams ส่ งเสริมให้ นักศึกษามีสมรรถนะสากลด้ านภาษา 42
8. การผลิตและพัฒนาครู ปัญหาคุณภาพการศึกษา คุณภาพนักเรียน ดูได้ จากความสามารถในการแข่ งขันของ นักเรียน เมือ่ เทียบเคียงกับนักเรียนในระดับสากลอยู่ในอันดับท้ าย ๆ โดยดูจากผลคะแนนการประเมินของ PISA คุณภาพครู คนเก่ งไม่ เรียนครู ขาดแคลนครู สายวิทย์ /คณิต สอนไม่ ตรงกับสาขา บัณฑิตครู มีทักษะ สมรรถนะตา่ กว่ าที่คาดหวัง ระบบผลิตครู ที่มศี ักยภาพและมีความพร้ อม จะเป็ นแนวทางการแก้ ปัญหาดังกล่ าว
43
หลักสู ตรการผลิตครู ในปัจจุบัน มีดังนี้ หลักสู ตรการผลิตครู การศึกษาขั้นพืน ้ ฐานระดับปริญญาตรี
(หลักสู ตร 5 ปี ) เพือ่ การผลิตบัณฑิตทีม่ ีคุณภาพ สกอ. ได้ จัดทากรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ (TFQ) สาขาครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ (หลักสู ตร 5 ปี ) เพือ่ ให้ สถาบันอุดมศึกษาปรับปรุงหลักสู ตร ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิ เน้ นมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิต 5 ด้ าน หลักสู ตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชี พครู (ป.บัณฑิต) เป็ น การรับผู้ทจี่ บสาขาอืน่ มาเรียนต่ อวิชาชีพครูอกี 1 ปี หลักสู ตรปริญญาโททางการศึกษา เช่ น โครงการ สควค. 44
กาลังการผลิตครู ของสถาบันอุดมศึกษาในปัจจุบัน ปัจจุบันมีสถาบันฝ่ ายผลิตครู ประมาณ 84 แห่ ง แบ่ งเป็ น 1) มหาวิทยาลัยรัฐ (เดิม) 18 แห่ ง 2) มหาวิทยาลัยไม่ จากัดรับ 1 แห่ ง 3) มหาวิทยาลัยราชภัฏ 40 แห่ ง 4) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 12 แห่ ง 5) สถาบันการศึกษาเอกชน 9 แห่ ง 6) สถานศึกษานอกสั งกัด 4 แห่ ง (ส.พลศึกษา, ส.พัฒนศิลป์ , ม.มหามกุฏราชวิทยาลัย, ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) 45
จานวนการรับเข้ านักศึกษา ครุศาสตร์ -ศึกษาศาสตร์ (ปี การศึกษา 2551-2556) จานวน (คน)
20,000
ปี การศึกษา 46
ประมาณการจานวนผู้สาเร็จการศึกษา ครุศาสตร์ -ศึกษาศาสตร์ (ปี การศึกษา 2551-2556) จานวน (คน)
20,000
ปี การศึกษา
47