กลยุทธ์การสอนและประเมินผลที่บรรลุมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานฯ 1

Page 1

กลยุทธ์การสอน ทฤษฎีทางการศึกษา (Steiner, 1988) กล่าวว่า การศึกษาเป็นระบบที่ประกอบไปด้วยระบบ ย่อย ๆ หรือมี องค์ประกอบสาคัญ 4 ประการ คือ ผู้สอน (teacher) ผู้เรียน (student) หลักสูตร (content หรือ curriculum) และการ เรียนการสอน (position for learning) ซึ่งระบบย่อย ๆ ทั้ง 4 ระบบ เป็นสิ่งสาคัญที่มีความเกี่ยวข้องกันและทาให้การศึกษา ดาเนินไปได้ การศึกษาจะไม่สมบูรณ์ถ้าขาดระบบย่อยใดระบบหนึ่งไป เมื่อกล่าวถึง การสอน (teaching) หรือ การเรียนการ สอน (instruction) ซึ่งเป็ นสาระสาคั ญยิ่ง อย่างหนึ่ง ของการศึกษา มีคาหลายค าที่กล่ าวถึงการสอน ทั้งในภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ซึ่งคาเหล่านี้บางครั้งมีการใช้ในความหมายที่แตกต่างกัน แต่บางครั้งใช้ในความหมายเหมือนกัน หรือ ความหมาย คาบเกี่ยวกัน จึงเป็นการยากในการทาความเข้าใจในเรื่องของการสอนให้ตรงกัน ในบทความนี้ เป็นการนาเสนอ เรื่อง กลยุทธ์ การสอน ซึ่งเป็นแนวทางตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา โดยผู้เขียนได้ให้ความหมาย คาว่า กลยุทธ์การสอน และ สาระสาคัญ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนา มคอ. 2 มคอ. 3 และ มคอ. 4 โดยการนาเสนอในเอกสารนี้ เป็นการนาเสนอแนวทาง เรื่องกลยุทธ์การสอน เพื่อการอภิปราย เพื่อหาข้อสรุปให้ต รงกัน ในกรณีที่ผู้อ่านยังคงเห็นว่า กลยุทธ์การสอนที่นาเสนอ ยังไม่ สามารถใช้เป็นกรอบแนวคิดได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งผู้อ่านสามารถพัฒนากรอบแนวคิดเรื่องกลยุทธ์การสอนให้สมบูรณ์ เพื่อประโยชน์ ในการนาไปใช้ต่อไป ความหมายของกลยุทธ์การสอน กลยุทธ์การสอนเป็นคา 2 คามาประกอบกัน ที่สาคัญคือ คาว่า การสอน ต่อไปนี้เป็นการรวบรวมความหมายของการสอน ส่วนหนึ่ง และนามารวมกับคาว่า กลยุทธ์ เพื่อให้ได้ความหมายของ กลยุทธ์การสอน ความหมายของการสอน คาที่มีความเกี่ยวข้องกับการสอน และเรื่องราวเกี่ยวกับการสอนมีเป็นจานวนมาก ในการกล่าวถึงความหมาย กลยุทธ์ การสอน จึงควรกล่าวถึงคาเหล่านี้ เพื่อการสร้างความเข้าใจในเบื้องต้น สาหรับความหมายของการสอน ที่น่าสนใจ คือ 1. ก า ร ส อ น ห ม า ย ถึ ง ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ เ รี ย น แ ล ะ มีประสบการณ์กับสิ่งแวดล้อม และทาให้เกิดการศึกษาวิธีการเรียนรู้ (Dewey, 1916) 2. การสอนเป็นการบอกกล่าว สั่ง อธิบาย ชี้แจง หรือแสดงให้ดู การสอนเป็นการถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และเจตคติ

ต่าง ๆ โดยที่ผู้สอนและผู้รับหรือครูและศิษย์มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันใกระบวนการเรียนรู้ โดยครูเป็นผู้มีบทบาทสาคัญ เป็นผู้จัดการ เรียนรู้ให้เกิดขึ้นตามความคิดเห็นและความสามารถของตน ผู้เรียนหรือศิษย์เป็นผู้รับการถ่ายทอดตามแต่ครูจะให้ การสอนโดย ครูนี้เกิดขึ้นทุกแห่งไม่จากัดเวลาและสถานที่ แล้วแต่สถาณการณ์และความพอใจของครู (ทิศนา แขมมณี, 2545) อยากเห็น

3. ไวลส์ (Kimball Wiles, 1963) ได้ให้ความหมายของการสอนไว้ 4 ความหมายดังนี้ 3.1 การสอน คือ การชี้แนะ หมายถึงช่วยเหลือ แนะแนว จัดวัสดุและส่งเสริมให้คิดทาสิ่งต่าง ๆ ที่ผู้เรียนอยากรู้ 3.2 การสอน คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ โดยที่ผู้สอนเป็นผู้รวบรวมความรู้และจัดความรู้เกี่ยวกับ

เ ก ณ ฑ์ ต า ม ค ว า ม จ ริ ง ใ ห้ ง่ า ย แ ล ะ น่ า ส น ใ จ เ พื่ อ ส ะ ด ว ก แ ก่ ก า ร ที่ ผู้ เ รี ย น จ ะ ไ ด้ เ ข้ า ใ จ แ ล ะ รับไว้ได้ 3.3 การสอน คือ การที่ผู้สอนทางานร่วมกับผู้เรียนเพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการเรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความ รับผิดชอบ รู้จักคิด รู้จักทาด้วยตนเองและ 3.4 การสอน คือ การแนะแนวทางให้แก่ผู้เรียน โดยใช้วิธีสอนแบบต่า ง ๆ และกิจกรรมที่เหมาะสมให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเจริญงอกงามและมีพัฒนาการในทางที่พึงปรารถนา ตรงกับจุดประสงค์ของการศึกษา กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

1

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


4. กูด (Good, 1973) ได้ให้ความหมายของการสอนไว้ 2 ลักษณะ ดังนี้ 4.1 การสอน หมายถึง การกระทาอันเป็นการอบรมสั่งสอนนักเรียนตามสถานศึกษาทั่ว ๆ ไป 4.2 การสอน หมายถึง การจัดสภาพการณ์ สถานการณ์หรือกิจกรรมเพื่อช่วยให้นักเรียนหรือผู้เกี่ยวข้องกับ

กิจกรรมเกิดการเรียนรู้โดยง่าย

5. Lefrancois (2000) กล่าวถึง การสอน ว่า การสอนเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ที่ได้ออกแบบเพื่อประสงค์ ให้ผู้เรียนไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ กลยุทธ์ดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการสื่อสาร ภาวะผู้นา การจูงใจ การจัดการและวินัยชั้นเรียน โดยทั่ ว ไป ในประเทศไทย ค าว่ า การสอน ตรงกั บ ภาษาอั ง กฤษ คื อ teaching และใช้ ค าว่ า การเรียนการสอน ตรงกับภาษาอังกฤษ คือ instruction ยังมีคาที่เกี่ยวข้องกับการสอนอีก เช่น การเรียนรู้ คือ learning การ เรียนการสอน คือ teaching and learning ความหมายของกลยุทธ์ ในพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน (2542) ให้ความหมายของ กลยุทธ์ ไว้ว่า กลยุทธ์ คือ การรบที่มีเล่ห์เหลี่ยม,

วิธีการที่ต้องใช้กลอุบายต่าง ๆ, เล่ห์เหลี่ยมในการต่อสู้

อีกความหมายหนึ่งที่น่าสนใจ ซึ่งมีความหมายเกี่ยวข้องกับการศึกษา คือ กลยุทธ์ หมายถึง วิธีการหรือแผนการที่คิด

ขึ้นอย่างรอบคอบ มีลักษณะเป็นขั้นตอน มีความยืดหยุ่นพลิกแพลงได้ตามสถานการณ์ มุ่งหมายเพื่อเอาชนะคู่แข่งหรหือเพื่อหลบ หลีกอุปสรรคต่าง จนสามารถบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ (http://hs8jyx-strategy.blogspot.com/2010/05/blog-post.html) ดังนั้นกลยุทธ์การสอน มีความหมายดังนี้

กลยุทธ์การสอน หมายถึง การออกแบบและการสร้างสิ่งแวดล้อม ประกอบไปด้วยวิธีการหรือแผนการที่คิดขึ้นอย่าง รอบคอบ มีลักษณะเป็นขั้นตอน มีความยืดหยุ่นพลิกแพลงได้ตามสถานการณ์ เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ ได้เรียน และมีประสบการณ์กับสิ่งแวดล้อม และทาให้เกิดการศึกษาวิธีการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังมีคามีเกี่ยวข้องกับ กลยุทธ์การสอน เช่น รูปแบบการสอน (Models of Teaching) หมายถึง การบรรยายถึงสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ รวมถึงพฤติกรรมของ ค รู ใ น ก า ร ใ ช้ รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น นั้ น ๆ รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น ส า ม า ร ถ ใ ช้ ใ น ก า ร ตั้ ง แ ต่ การวางแผนการสอน หลักสูตร และการออกแบบสื่อการสอน รวมถึงโปรแกรมสื่อผสมต่าง ๆ (Joyce, Weil and Calhoun, 2009) กลวิ ธี ก ารสอน (Pedagogy) หมายถึ ง หน้ า ที่ ห รื อ งานของครู การสอน ศิ ล ปะหรื อ วิ ธี ก ารสอน (http://th.w3dictionary.org) โดยทั่วไป มักจะใช้กับการสอนทักษะดนตรี เช่น กลวิธีการสอนเปียโน (Piano Pedagogy) แนวคิดและสาระเรื่องกลยุทธ์การสอนและเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง ในส่วนต่อไปนี้จะกล่าวถึง สาระที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการสอน ซึ่งเป็นสาระที่เกี่ยวข้องกับการสอนในหลายมิติ โดยอิง จากเอกสาร Approaches to Instruction (http://www.sasked.gov.sk.ca/ docs/cethics/approach.html) มิติของการสอนสามารถแบ่งได้เป็น 4 มิติ ตามลักษณะของการจัดสรร หรือตามกรอบแนวคิดที่เป็น ส่วนเล็ก ๆ จนถึง ส่วนใหญ่ ๆ โดยเริ่มจาก ทักษะการสอนเบื้องต้น วิธีสอน กลยุทธ์การสอน และรูปแบบการสอน กรอบการสอน (Instructional Framework) กรอบการสอน ปร ส พอส สร ผสอน ร สอบการสอน อ น ส อน ก การ ก นการสอน ร การ พ ก การสอน พอ า การสอน ปร ส าพ าก น 1. ก การสอนเบื้องต้น (Basic Instructional Skills) ปนพ กรร เบื้องต้นเกี่ยวข้องกับการสอน ทาให้การสอนมี ประสิทธิภาพ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นทักษะทางด้านการสื่อสาร ปร กอบ น า น การ า า การอ ปรา การ น า การอ บา การสา การประเมินผล ร ป การ า ผน การ า ร สรา การ ป ปา า การ การ กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

2

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


2. การสอน (Instructional Methods) เป็ น วิ ธี การที่ ผู้ ส อน นการสรา ส าพ อ น การ ร นการสอน กา น ก กรร ผสอน ผ ร น าร กน นบ ร น นก การสอนแต่ล ะรูป แบบ อา การสอน าก า รอ พ ก 3. ก การสอน (Instructional Strategies) หมายถึง การออกแบบและการสร้างสิ่งแวดล้อม ประกอบไปด้วย วิ ธี ก า ร ห รื อ แ ผ น ก า ร ที่ คิ ด ขึ้ น อ ย่ า ง ร อ บ ค อ บ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น ขั้ น ต อ น มี ค ว า ม ยื ด ห ยุ่ น พลิกแพลงได้ตามสถานการณ์ เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ ได้เรียนและมีประสบการณ์กับสิ่งแวดล้อม และทาให้เกิ ด การศึ ก ษาวิ ธี ก ารเรี ย นรู้ ก การสอน ป น ก า น ผ สอน สอน พ อ บรร า ปร ส การ ร นร ก การสอน ก การสอน า ร (Direct) การสอน า ออ (In irect) การสอน บบ ป ส พน (Interactive) การสอน บบ นนปร สบการ (Experiential) การสอน บบอสร (Independent) กลยุทธ์การสอนที่กล่าวมานี้ มีความ เข้มโดยการเน้นผู้สอนเป็นศูนย์กลาง จนมีความเข้มที่เน้นผู้สอนเป็นศูนย์กลาง ดังแสดงในแผนภูมิต่อไปนี้ แผนภูมิที่ 1 กลยุทธ์การสอน การสอนทางตรง

การสอนทางอ้อม

การสอนแบบมีปฏิสัมพันธ์

การสอนแบบเน้นประสบการณ์

ครูเป็นศูนย์กลาง

การสอนแบบอิสระ

ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

4. รป บบการสอน (Models of Teaching) ปนกรอบเกี่ยวกับการสอน ก ก า าก ส เป็นกรอบที่นาเสนอ ปรั ช ญาที่ ใ ช้ เ ป็ น แนวทาง นการ อก ก า น ก การสอน การสอน ก การสอนเบื้ อ งต้ น รป บบการสอน บบสา าร ก การสอน า รูปแบบการสอน

1. กระบวนการให้ข้อมูล (Information Processing) 2. พฤติกรรม (Behavioral) 3. ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social Interaction) 4. รายบุคคล (Personal)

กลยุทธ์การสอน

1. กลยุทธ์การสอน า ร (Direct) 2. กลยุทธ์การสอน า ออ (Indirect) 3. กลยุทธ์การสอนเน้นป ส พน (Interactive) 4. กลยุทธ์การสอน นนปร สบการ (Experiential) การสอน บบอสร (Independent)

วิธสี อน 1. การบรรยาย (Lecture) 2. การสืบสอบ (Inquiry) 3. การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) 4. กรณี ศึกษา (Case Study) 5. การอภิปราย (discussion) 6. สัมมนา (Seminar) 7. สถานการณ์จาลอง (Simulation)

ทักษะการสอนเบือ้ งต้น 1. การวางแผน 2. การนาเสนอ 3. การตั้งคาถาม 4. การให้คาแนะนา 5. การสาธิต 6. การประเมินผล

ผน าพ

า ส พน ร า รป บบการสอน ก ก นการสอน

การสอน การสอน

กลยุทธ์การสอน 1. กลยุทธ์การสอนทางตรง (Direct Instructional Strategy) ได้แก่ กลยุทธ์การสอนที่เน้นผู้สอนเป็นศูนย์กลาง โดยผู้สอนมีบทบาทในการดาเนินการสอนอย่างมาก ผู้เรียนมีบทบาทในการปฏิบัติกิจกรรมน้อย กลยุทธ์การสอนทางตรงเหมาะ แก่การสอนที่เน้นการให้ข้อมูล ถ่ายทอดสาระวิชาเบื้องต้น หรือซับซ้อน ซึ่งผู้สอนเป็นผู้กาหนด และวางแผนการให้ความรู้ทั้งหมด ด้วยตนเอง ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยการฟัง หรือการทากิจรรมบางอย่างที่เน้นการใช้ความคิด หรือทักษะเบื้องต้น มิได้เน้น ทักษะปฏิบัติ ที่ซับซ้อน เป็นกลยุทธ์การสอนที่ใช้เวลาน้อยในการถ่ายทอดความรู้ ก การสอน า รง ปนก นิยมใช้ กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

3

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


าก ส โดยเฉพาะการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา ตัวอย่างวิธีสอนที่ใช้ในกลยุทธ์การสอนทางตรง ได้แก่ การบรรยาย การสาธิต การถามตอบ การฝึกฝนและฝึกปฏิบัติ การสอนแบบวิภาษวิธี เป็นต้น ตารางที่ 1 กลยุทธ์การสอนทางตรง เทคนิค/วิธีการสอน 1) การบรรยาย (Lecture) 2) การสาธิต (Demonstration) 3) การถามตอบ (Questioning)

4) การฝึกฝนและฝึกปฏิบัติ (Drill and Practice) 5) การสอนแบบวิภาษวิธี (Dialectic)

ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ งุ่ เน้น -

การฟัง การสรุปสาระสาคัญ การบันทึก การสังเกต การเรียนรู้ทางตรง การคิด การตอบคาถามให้ ตรงคาถาม - การหาข้อมูล - การปฏิบัติซ้า ๆ เพื่อความ เข้าใจ การโต้แย้ง ให้เหตุผลตาม ความคิดเห็นของตนที่แตกต่างไป จากผู้อื่น การทาความเข้าใจใน ความเห็นไม่ตรงกัน -

บทบาทผูเ้ รียน การฟัง การจดบันทึก การสรุป สาระสาคัญ การสังเกต การปฏิบัติตามคาแนะนา การแก้ปัญหา การค้นคว้าหารความรู้ การพูด การ รวบรวมข้อมูลในการตอบคาถาม การทาแบบฝึกหัด เพื่อการเรียนรู้จาก การปฏิบัติซ้า ๆ และสรุปความเข้าใจ การคิดหาเหตุผล ด้วยการศึกษา ค้นคว้า แสดงหลักฐานทางวิชาการ

2. กลยุทธ์การสอนทางอ้อม (Indirect Instructional Strategy) ปนก การสอน นนผ ร น ปน น ก า เช่น การสบสอบ (Inquiry) การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning) การ กป า (Problem Solving) การสรา ผัง น (Concept Mapping) กร ก า (Case tu ies) การอ ปรา พอส อน า ( e ective Discussion) ก ก า าน ก ปร ส ผ อ อเป็นการเรียนรู้แบบ คอนสตรักติวิสต์ (Constructivism) ซึ่งมีจุดประสงค์ สาคัญ คือ การสอนให้ผู้เรียนรู้จักกระบวนการเรียนรู้ในเวลาเดียวกับการเรียนรู้เรื่องสาระวิชานั้น ๆ เป็นการสอนให้ผู้เรียนมี ความสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างมีขั้นตอนได้ ทาให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ลักษณะของการสอนแบบคอนสตรักติ วิสต์ ที่สาคัญ คือ ผู้เรียนมีบทบาทสาคัญในการดาเนินกิจกรรม การเรียนรู้ สภาพการสอนต้องเป็นประชาธิปไตย กิจกรรมต่าง ๆ ต้องเน้นปฏิสัมพันธ์และเน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง า สา กบ กร บ นการ า กนกบผ าน และบทบาทของครู เป็นผู้ให้ความสะดวกในการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญของตนเอง พึ่งตนเองในการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง ตารางที่ 2 กลยุทธ์การสอนทางอ้อม เทคนิค/วิธีการสอน 1) การสืบสอบ (Inquiry Process) กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ งุ่ เน้น - การศึกษาค้นคว้า - การเรียนรู้กระบวนการ - การตัดสินใจ 4

บทบาทผูเ้ รียน ศึกษาค้นคว้า เพื่อสืบค้น ข้อความรู้ด้วยตนเอง ณรุทธ์ สุทธจิตต์


ตารางที่ 2 กลยุทธ์การสอนทางอ้อม เทคนิค/วิธีการสอน 2) การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning) 3) การแก้ปัญหา (Problemsolving)

4) การสร้างแผนผังแนวคิด (Concept Mapping) 5) กรณีศึกษา (Case Studies)

6) การอภิปรายเพื่อสะท้อนความคิด (Reflective Discussion)

ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ งุ่ เน้น -

ความคิดสร้างสรรค์ การสังเกต การสืบค้น การให้เหตุผล การอ้างอิง การสร้างสมมติฐาน การศึกษาค้นคว้า การวิเคราะห์ สังเคราะห์ประเมินผล ข้อมูล การลงข้อสรุป การแก้ปัญหา การคิด การจัดระบบความคิด การค้นคว้าหาความรู้ การอภิปราย การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การแสดงความคิดเห็น การวิเคราะห์ การตีความ การสื่อความหมาย การสรุปความ

บทบาทผูเ้ รียน ศึกษา ค้นพบข้อความรู้และ ขั้นตอนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ศึกษา แก้ปัญหาอย่างเป็น กระบวนการและฝึกทักษะการเรียนรู้ ที่สาคัญด้วยตนเอง จัดระบบความคิดของตนให้ ชัดเจน เห็นความสัมพันธ์ ได้ฝึกคิดวิเคราะห์อภิปรายเพื่อ สร้างความเข้าใจแล้ว ตัดสินใจเลือกแนวทาง แก้ปัญหา มีอิสระในการแสดงความคิดเห็น มีบทบาทมีส่วนร่วมในการสะท้อน ความคิดของตนเองจากสิ่งที่เรียนรู้

3. ก การสอน บบ ป ส พน (Interactive Instructional Strategy) ปนก การสอน นนผูเรียน เ ป็ น ศู น ย์ แ ล ะ ก า ร ส อ ส า ร ร า สอ ฝา นการอ ปรา ก ป น อ ก การสอน บบนสา าร การ ร นการสอน นรป บบ อ การอ ปรา รอ ร าน ก ก อ อ า อ การสอน บบ ป ส พน น การอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole-class Discussion) การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion) การร า ( rainstormin ) การ ร น บบร อ (Cooperative Learning) การ กป าแบบมีส่วนร่วม (Cooperative Problem Solving) เป็นต้น ตารางที่ 3 ก เทคนิค/วิธีการสอน

กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

การสอน บบ ป ส พน

ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ งุ่ เน้น

5

บทบาทผูเ้ รียน

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


1) การอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - - การแสดงความคิดเห็น Class Discussion) - การวิเคราะห์ - การตีความ - การสื่อความหมาย - ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - การสรุปความ

กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

6

มีอิสระในการแสดงความคิดเห็น มี บทบาทมีส่วนร่วม ในการสร้างข้อความรู้

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


ตารางที่ 3 ก เทคนิค/วิธีการสอน 2) การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion)

3) การระดมพลังสมอง (Brainstorming) 4) การสัมมนา (Seminar)

กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

การสอน บบ ป ส พน (ต่อ)

ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ งุ่ เน้น -

กระบวนการกลุ่ม การวางแผน การแก้ปัญหา การตัดสินใจ ความคิดระดับสูง ความคิดสร้างสรรค์ การแก้ไขข้อขัดแย้ง การสื่อสาร การประเมินผลงาน การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การมีส่วนร่วม การแสดงความคิดเห็น ความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การวางแผน กระบวนการกลุ่ม ความคิดระดับสูง การแก้ไขปัญหา การแก้ไขข้อขัดแย้ง การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ การประเมินผลงาน การนาเสนอรายงาน

7

บทบาทผูเ้ รียน รั บ ผิ ด ชอบต่ อ บทบาทหน้ า ที่ ข อง ตนเองในฐานะผู้นากลุ่มหรือสมาชิกกลุ่ม ทั้ ง ในบทบาทการท างานและบทบาท เกี่ ย วกั บ การรวมกลุ่ ม ในการสร้ า ง ข้อความรู้หรือผลงานกลุ่ม

แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลาย ในเวลาอันรวดเร็ว รั บ ผิ ด ชอบต่ อ บทบาทหน้ า ที่ ข อง ตนเองในฐานะผู้นากลุ่มหรือสมาชิกกลุ่ม ทั้ ง ในบทบาทการท างานและบทบาท เกี่ ย วกั บ การรวมกลุ่ ม ในการสร้ า ง ข้อ ความรู้ หรื อ ผลงานกลุ่ ม มี อิ ส ระใน การแสดงความคิดเห็น มีบทบาทมีส่วน ร่วมในการสร้างข้อความรู้

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


ตารางที่ 3 ก เทคนิค/วิธีการสอน

การสอน บบ ป ส พน (ต่อ)

ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ งุ่ เน้น

5) การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning)

-

6) การ กป าแบบมีส่วนร่วม (Cooperative Problem Solving)

-

กระบวนการกลุ่ม การสื่อสาร ความรับผิดชอบร่วมกัน ทักษะทางสังคม การแก้ปัญหา การคิดแบบหลากหลาย การสร้างบรรยากาศการทางาน ร่วมกัน การศึกษาค้นคว้า การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค้าข้อมูล การลงข้อสรุป การแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม การสื่อสาร ความรับผิดชอบร่วมกัน ทักษะทางสังคม การคิดแบบหลากหลาย การสร้างบรรยากาศการทางาน ร่วมกัน

บทบาทผูเ้ รียน เรียนรู้บทบาทสมาชิก กลุ่มมีบทบาท หน้าที่ รู้จักการไว้วางใจให้เกียรติและรับ ผังความคิ ดเห็น ของเพื่อนสมาชิ กกลุ่ม และรั บ ผิ ด ชอบการเรี ย นรู้ ข องตนและ เพื่อน ๆ ในกลุ่ม

ศึ ก ษ า แ ก้ ปั ญ ห า อ ย่ า ง เ ป็ น กระบวนการและฝึ กทักษะการเรียนรู้ที่ สาคัญด้วยตนเอง และกลุ่ม เรียนรู้ บทบาทสมาชิกกลุ่มมีบทบาทหน้าที่ รู้จัก การไว้วางใจให้เกีย รติและรับฟังความ คิ ด เห็ น ของเพื่ อ นสมาชิ ก กลุ่ ม และ รับผิดชอบการเรียนรู้ของตนและเพื่อน ๆ ในกลุ่ม

4. กลยุทธ์การสอนเน้นประสบการณ์ (Experiential Instructional Strategy) ปนก การสอน บบอปน ผ ร น ปน น ก า การ ร นร นนก กรร ปน ก การ การ ร น การสอน นนการ า ผน นาการ ร นร ปปรบ กบบรบ อน น น ก า (Field Study) ส านการ า อ ( imulation) ก (Games) บ บา ส (Role Play) การบูรณาการ (Integration) การสาร ( urvey) เป็นต้น ตารางที่ 4 กลยุทธ์การสอนเน้นประสบการณ์ เทคนิค/วิธีการสอน 1) ทัศนศึกษา (Field Study)

กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ งุ่ เน้น -

การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม การสื่อสาร

บทบาทผูเ้ รียน กาหนดโครงการ วางแผนด้วยตนเอง ดาเนินการในสถานที่จริง เก็บข้อมูลตาม แผนที่ได้วางไว้ สรุปน าเสนอเรื่อ งราว จากการศึกษาดูงาน และรับผิดชอบการ เรียนรู้ของตนและเพื่อน ๆ ในกลุ่ม

8

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


2) สถานการณ์จาลอง (Simulation) 3) เกม (Games)

-

ความรับผิดชอบร่วมกัน ทักษะทางสังคม การแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก การวิเคราะห์ การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การแก้ปัญหา

4) บทบาทสมมติ (Role Play)

- มนุษยสัมพันธ์ - การแก้ปัญหา - การวิเคราะห์

5) การบูรณาการ (Integration)

- การผสานความรู้ ต่างสาขา - การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง - ทักษะทางสังคม - กระบวนการกลุ่ม - การสื่อสาร - การแก้ปัญหา

กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

9

ไ ด้ ท ด ล อ ง แ ส ด ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ต่าง ๆ ในสถานการณ์ที่จาลองใกล้เคียง สถานการณ์จริง ได้เล่มเกมด้วยตนเองภายใต้กฎหรือ กติ ก าที่ ก าหนด ได้ คิ ด วิ เ คราะห์ พฤติกรรมและเกิดความสนุ กสนานใน การเรียน ได้ลองสวมบทบาทต่าง ๆ และศึกษา วิเคราะห์ความรู้สึกและพฤติกรรมตน มี ส่ ว นร่ ว มในการเรี ย นทั้ ง ทางด้ า น ร่างกาย จิตใจและการคิด ดาเนินการ เรี ย นด้ ว ยตนเองทั้ ง ในห้ อ งเรี ย นและ สถานการณ์ จ ริ ง ศึ ก ษา ปฏิ บั ติ ด้ ว ย ต น เ อ ง ทุกเรื่อง ร่วมแรงร่วมใจด้วยความเต็มใจ

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


ตารางที่ 4 กลยุทธ์การสอนเน้นประสบการณ์ (ต่อ) เทคนิค/วิธีการสอน 6) การสารวจ (Survey)

ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ งุ่ เน้น -

การค้นคว้าหาความรู้ การรวบรวมข้อมูล การแก้ปัญหา การวิเคราะห์ข้อมูล

บทบาทผูเ้ รียน ศึก ษาค้ น คว้ า ข้ อ ความรู้ ใ นลั ก ษณะ กลุ่มปฏิบัติการด้วยตัว เองทุกเรื่อ ง ใน สถานการณ์จริง

5. กลยุ ท ธ์ ก ารสอนแบบอิ ส ระ (Independent Instructional Strategy) า กลยุ ท ธ์ การสอน สน บสน น ผ ร น น พ นาการ าน า สร า สรร การพ พา น อ การพ นา น ผ ร น สา าร รา ป า ส อน า สน อ ป บ อ า น พอ ร า พรอ สา รบอ นส ป น ป ปอ า ร ร ผ ร น า ปน อ า สา าร นการ ร นร อ ได้แก่ การสอนที่เน้นวิจัยเป็นฐาน (Research-Based Instruction) การบันทึกการเรียนรู้ (Journal) การสอนคอมพิวเตอร์ช่วย (Computer Assisted instruction-CAI) การ สอนที่เ น้น การทาโครงงาน (Project-Based Instruction) การสอนแบบปฏิบัติงานเต็มเวลา (Field Experience Instruction) ตารางที่ 5 กลยุทธ์การสอนแบบอิสระ เทคนิค/วิธีการสอน

ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ งุ่ เน้น

1) การสอนที่เน้นวิจัยเป็นฐาน (Research-Based Instruction)

- การค้นคว้าอย่างเป็นระบบด้วย ตนเอง - การเขียนรายงาน - การนาเสนอ 2) การบันทึกการเรียนรู้ (Journal) - การเขียนอย่างเป็นระบบ ตาม แนวทางที่กาหนดไว้ - การวิเคราะห์ 3) การสอนคอมพิวเตอร์ช่วย - การเรียนรู้ด้วยตนเอง ตาม (Computer Assisted instructionคาแนะนา CAI) - การสรุปสาระสาคัญ

บทบาทผูเ้ รียน การศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง อย่างเป็นระบบ ตามวิธีวิทยาการวิจัย โดยมีผู้สอนเป็น ที่ปรึกษา การนาเสนอสาระเรื่องราว ตามกรอบที่ได้รับมอบหมาย การ วิเคราะห์ การเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามคาแนะนา การสรุปสาระสาคัญ และการนาเสนอผล

ตารางที่ 5 กลยุทธ์การสอนแบบอิสระ (ต่อ) เทคนิค/วิธีการสอน 4) การสอนเน้นการทาโครงงาน (Project-Based Instruction) กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

ทักษะ/พฤติกรรมทีม่ งุ่ เน้น - การกาหนดสาระด้วยตนเอง - การศึกษา ค้นคว้า 10

บทบาทผูเ้ รียน การเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามคาแนะนา การสรปุส าระส าคั ญ และการน าเสนอ ผล ณรุทธ์ สุทธจิตต์


5) การสอนแบบปฏิบัติงานเต็มเวลา - การดาเนินงานด้วยตนเองใน (Field Experience Instruction) สภาพจริง - การตัดสินใจ แก้ปัญหา - การประยุกต์ใช้ความรู้ ในสถานการณ์จิรง

ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ น ส ภ า พ ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง ค รู เ ป็ น ผู้ นิ เ ท ศ ก์ ให้คาแนะนา ช่วยแก้ปัญหา

การออกแบบกลยุทธ์การสอน ในการออกแบบกลยุทธ์การสอนมีหลักการที่สาคัญ ที่ควรคานึงถึงดังนี้ 1. จ า น ว น ผู้ เ รี ย น ถ้ า ผู้ เ รี ย นมี เ ป็ น จ าน วนมาก กลยุ ท ธ์ ก ารสอน ที่ เ หมาะส มมั ก จะเ ป็ น กลยุ ท ธ์ การส อนทางตรง เนื่ องจากเป็ น กลยุ ท ธ์ ที่ ส ามารถใช้ ไ ด้ อ ย่ า งดี เพราะการส อนทางตรงเน้ นบทบาทค รู ไม่ เ น้ น บ ทบ า ท ผู้ เ รี ย น ม า ก นั ก ค รู เ ป็ น ผู้ ด า เ นิ น กิ จ ก ร ร มก า ร เ รี ยน ก า ร ส อ น ผู้ เ รี ย น มี ส่ ว น ใ น ก า ร เ รี ย น การสอนไม่มากนัก ปกติมักเป็นการนั่งฟังการสอน ไม่มีกิจกรรมหลากหลาย ทาให้การวัดผลเป็นไปได้โดยสะดวก ในกรณีที่มี ผู้เรียนจานวนน้อย กลยุทธ์การสอนที่เหมาะสมน่าจะเป็นกลยุทธการสอนทางอ้อม จนถึงกลยุทธ์การสอนแบบอิสระ ซึ่งผู้เรียนมี โอกาสกระทากิจกรรมต่าง ๆ มากขึ้น โดยครูจาเป็นต้องติดตามผลการเรียนของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเกี่ยวข้องกั บการวัดผล ที่ต้องมีหลายรูปแบบ สรุปได้ดังนี้ 1.1 เมื่อผู้เรียนกลุ่มใหญ่ การสอนที่เหมาะสมคือ การบรรยาย จนขนาดของกลุ่มเล็กลงตามลาดับ จนเป็น ผู้เรียนคนเดียว การสอนที่เหมาะสม คือ การสอนแบบรายบุคคล 1.2 เมื่อขนาดกลุ่มเริ่มเล็กลง การสอนบรรยาย สามารถผนวกเป็นการสอนที่มีปฏิสัมพันธ์มากขึ้นได้ ได้แก่ การอภิปรายในลักษณะต่าง ๆ ตารางที่ 6 การออกแบบการสอนตามขนาดของกลุม่ ผูเ้ รียน กลุม่ ใหญ่ บรรยาย

กลุม่ กลาง บรรยาย+อภิปราย

กลุม่ เล็ก บรรยาย+อภิปราย อภิปราย+บรรยาย

คนเดียว การสอนรายบุคคล

2. ลักษณะสาระ โดยปกติ สาระพื้นฐานของวิชาใดวิชาหนึ่ง มีเป็นจานวนมาก จาเป็นต้องใช้เวลาในการสอนอย่าง ร ว ด เ ร็ ว เ พื่ อ ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ข อ ง ส า ร ะ พื้ น ฐ า น ใ ห้ กั บ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ อ ย่ า ง ค ร บ ถ้ ว น ทาให้ครูมีบทบาทมากในการสอน ในขณะที่ผู้เรียนเป็นผู้ฟัง การใช้กลยุทธ์การสอนที่เน้นบทบาทครูจึงมีความเหมาะสม ถ้า ลั ก ษ ณ ะ ส า ร ะ ที่ ลึ ก ซึ้ ง ห รื อ ส า ร ะ ขั้ น สู ง ก ล ยุ ท ธ์ ก า ร ส อ น ค ว ร เ น้ น ผู้ เ รี ย น เ ป็ น ส า คั ญ เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในสาระนั้น ๆ การใช้กลยุทธ์การสอนแบบอิสระ เช่น การสอนแบบโครงการ จึงมี ความเหมาะสม หรือการสอนแบบคอนสตรักติวิสต์ ได้แก่ การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการเรียนรู้สาระในขณะเดียวกับ การเรียนรู้เพื่อเข้าใจกระบวนการแสวงหาความรู้ในตนเองด้วย 3. ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง ก ล ยุ ท ธ์ ก า ร ส อ น ก า ร เรี ย น รู้ ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ กิ ดขึ้ น ไ ด้ เมื่ อ ค รู ใ ช้ กลยุ ท ธ์ ก ารสอนหลากหลาย เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นมี โ อกาสเรี ย นรู้ ไ ด้ ห ลายรู ป แบบ ซึ่ ง บางรู ป แบบอาจจะไม่ ถู ก อัธยาศัย ผู้จะไม่รสู้ ึกเบื่อหน่ายจนเกินไป 4. บริบทสนับสนุน การออกแบบกลยุทธ์การสอนที่มีประสิทธิภาพ ควรมีบริบทสนับสนุนหลากหลาย เพื่อนาไปสู่การ เรียนรู้ที่น่าสนใจ เช่น การมีสื่อ หรือเทคโนโลยีเพรียบพร้อม ทาให้การสอนประสบผลสาเร็จมากขึ้น กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

11

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


มาตรฐานการเรียนรู้และกลยุทธ์การสอน กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2552 ได้ ใ ห้ ค าจ ากั ด ความของกลยุ ท ธ์ การสอนในเอกสารแนวทางการปฏิบัติตามกรอบคุณวุฒิมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ว่า

“กลยุทธ์การสอน หมายรวมถึง การจัดเงื่อนไขการเรียนรู้ วิธีการสอน เทคนิคการสอน การจัด กิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ นอกจากต้องเลือกใช้กลยุทธ์ที่เหมาะสมกับการ เรียนรู้แต่ละด้านแล้ว การเรียนรู้ด้านเดียวกันในแต่ละสาขาวิชาและแต่ละระดับคุ ณวุฒิอาจมีความ แตกต่างกัน มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาจึงควรแสดงความสาคัญของกลยุทธ์การสอน พร้อมทั้งให้ตัวอย่าง กลยุทธ์การสอนที่เหมาะสม ให้สามารถเลือกใช้ได้” ใน มคอ. 2 หมวดที่ 4 กาหนดให้มีการอธิบายกลยุทธ์การสอนที่ใช้ในรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรที่จะพัฒนาความรู้ และทักษะเหล่านั้น โดยให้อธิบายวิธีการที่ใช้ตลอดหลักสูตร และเน้นการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สาหรับมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน ซึ่งสามารถนาในรูปแบบของตารางสรุปได้ดังนี้

กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

12

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


ตารางที่ 7 มาตรฐานผลการเรียนรู้และกลยุทธ์การสอน มาตรฐานผลการเรียนรู้ระดับ ปริญญาตรี ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral)

ด้านความรู้ (Knowledge)

รายละเอียด

กลยุทธ์การสอน

สามารถจั ด การปั ญ หาทางคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และ วิชาชีพโดยใช้ดุลยพินิ จ ทางค่ านิยม ความรู้สึกของผู้อื่ น ค่ า นิ ย มพื้ น ฐาน และจรรยาบรรณวิ ช าชี พ แสดงออกซึ่ ง พฤติกรรมทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม อาทิ มีวินัย มี ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ เป็นแบบอย่างที่ดี เข้าใจผู้อื่นและเข้าใจโลก เป็นต้น

มีองค์ความรู้ในสาขาวิชาอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ ต ร ะ ห นั ก รู้ ห ลั ก ก า ร แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี ใ น องค์ ความรู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ส าหรั บ หลั ก สู ต รวิ ช าชี พ มีความเข้าใจเกี่ยวกับความก้าวหน้าของความรู้เฉพาะด้าน ในสาขาวิชา และตระหนักถึงงานวิจัยในปัจจุบันที่เกี่ยวข้อง กั บ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ ก า ร ต่ อ ย อ ด อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ส่ ว น ห ลั ก สู ต ร วิ ช า ชี พ ที่ เ น้ น การปฏิ บั ติ จะต้ อ งตระหนั ก ในธรรมเนี ย มปฏิ บั ติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์

กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

13

-

การบรรยาย การสาธิต การถามตอบ การฝึกฝนและฝึกปฏิบัติ การสอนแบบวิภาษวิธี การ กป า การอ ปรา พอส อน า การอภิปรายกลุ่มใหญ่ การอภิปรายกลุ่มย่อย การร า การสัมมนา การ ร น บบร อ การ กป าแบบมีส่วนร่วม บ บา ส การบูรณาการ การสอนที่เน้นการทาโครงงาน การสอนแบบปฏิบัติงานเต็มเวลา การบรรยาย การถามตอบ การสอนแบบวิภาษวิธี วิธกี ารสบสอบ การเรียนแบบค้นพบ การ กป า การสรา ผัง น กร ก า การอ ปรา พอส อน า การอภิปรายกลุ่มใหญ่

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


ตารางที่ 7 มาตรฐานผลการเรียนรู้และกลยุทธ์การสอน (ต่อ) มาตรฐานผลการเรียนรู้ระดับ ปริญญาตรี

ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skill)

รายละเอียด

กลยุทธ์การสอน

สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทาความเข้าใจและสามารถ ป ร ะ เ มิ น ข้ อ มู ล แ น ว คิ ด แ ล ะ ห ลั ก ฐ า น ใ ห ม่ ๆ จ า ก แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล ที่ ห ล า ก ห ล า ย แ ล ะ ใช้ข้อมูลที่ได้ในการแก้ใขปัญหาและงานอื่น ๆ ด้วยตนเอง สามารถศึ ก ษาปั ญ หาที่ ค่ อ นข้ า งซั บ ซ้ อ นและเสนอแนะ แนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ โดยคานึงถึง ทาง ภาคทฤษฎี ประสบการณ์ทางภาคปฏิบัติ และผลกระทบจาก การตัดสินใจ สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจอันถ่องแท้ใน เนื้อหาสาระทางวิชาการและวิชาชีพ สาหรับหลักสูตรวิชาชีพ นักศึกษาสามารถใช้วิธีการปฏิบัติงานประจาและหาแนวทาง ใหม่ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม

กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

14

-

การอภิปรายกลุ่มย่อย การร า การสัมมนา การ ร น บบร อ การ กป าแบบมีส่วนร่วม นกา ส านการ า อ การสาร การสอนที่เน้นวิจัยเป็นฐาน การบันทึกการเรียนรู้ การสอนคอมพิวเตอร์ช่วย การสอนที่เน้นการทาโครงงาน การสอนแบบปฏิบัติงานเต็มเวลา การถามตอบ การฝึกฝนและฝึกปฏิบัติ การสอนแบบวิภาษวิธี วิธกี ารสบสอบ การเรียนแบบค้นพบ การ กป า การสรา ผัง น กร ก า การอ ปรา พอส อน า การอภิปรายกลุ่มย่อย การร า การสัมมนา การ กป าแบบมีส่วนร่วม นกา

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


ตารางที่ 7 มาตรฐานผลการเรียนรู้และกลยุทธ์การสอน (ต่อ) มาตรฐานผลการเรียนรู้ระดับ ปริญญาตรี

รายละเอียด

กลยุทธ์การสอน

ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและ ความรับผิดชอบ (Interpersonal Skill and Responsibility)

มี ส่ ว นช่ ว ยและเอื้ อ ต่ อ การแก้ ปั ญ หาในกลุ่ ม ได้ อ ย่ า ง สร้างสรรค์ ไม่ว่าจะเป็นผู้นาหรือสมาชิกของกลุ่ม สามารถ แ ส ด ง อ อ ก ซึ่ ง ภ า ว ะ ผู้ น า ในสถานการณ์ที่ไม่ชัดเจนและต้องใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ ใน การแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่าง เหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่มรับผิดชอบใน การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งพัฒนาตนเองและอาชีพ

ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and information Technology Skills)

สามารถศึ ก ษาและท าความเข้ า ใจประเด็ น ปั ญ หา สามารถเลื อ กและประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคนิ ค ทางสถิ ติ ห รื อ คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการศึกษาค้นคว้า และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปั ญหา ใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศในการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ประมวลผล แปล ความหมาย และนาเสนอข้อมูล สารสนเทศอย่างสม่าเสมอ สามารถสื่อสารได้อ ย่างมีประสิทธิ ภาพทั้งในการพูด การ เขียน สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนาเสนอที่เหมาะสม สาหรับ

กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

15

-

ส านการ า อ การบูรณาการ การสาร การสอนที่เน้นวิจัยเป็นฐาน การสอนที่เน้นการทาโครงงาน การสอนแบบปฏิบัติงานเต็มเวลา การอ ปรา พอส อน า การ กป า การอภิปรายกลุ่มย่อย การร า การสัมมนา การ ร น บบร อ การ กป าแบบมีส่วนร่วม นกา ส านการ า อ การบูรณาการ การสอนที่เน้นวิจัยเป็นฐาน การสอนที่เน้นการทาโครงงาน การบรรยาย การสาธิต การถามตอบ การฝึกฝนและฝึกปฏิบัติ การสอนแบบวิภาษวิธี การสบสอบ การเรียนแบบค้นพบ การ กป า การสรา ผัง น ด

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


ตารางที่ 7 มาตรฐานผลการเรียนรู้และกลยุทธ์การสอน (ต่อ) มาตรฐานผลการเรียนรู้ระดับ ปริญญาตรี

รายละเอียด

กลยุทธ์การสอน

กลุ่มบุคคลที่แตกต่างกันได้

- กร ก า - การอ ปรา พอส อน า - การอภิปรายกลุ่มใหญ่ - การอภิปรายกลุ่มย่อย - การร า - การสัมมนา - การ ร น บบร อ - การ กป าแบบมีส่วนร่วม - การบันทึกการเรียนรู้ - การสอนคอมพิวเตอร์ช่วย - การสอนที่เน้นการทาโครงงาน จากตาราง แสดงให้เห็นว่าแนวทางดังกล่าวสามารถใช้กลยุทธ์การสอนได้หลากหลายวิธี และควรเลือกกลยุทธ์การ ส อ น ใ ห้ เ ข้ า กั บ ร ะ ดั บ ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น ยิ่ ง ร ะ ดั บ สู ง ม า ก ขึ้ น ยิ่งเน้นการใช้ทักษะปฏิบัติ และกระบวนการคิดวิเคราะห์ในการเรียนการสอน รวมถึงเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และมี บทบาทมากขึ้นเช่นกัน ในเรื่องของมาตรฐานผลการเรียนรู้ ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2552) ได้นาเสนอแนวคิดกระบวนการการผลิตบัณฑิตของ ประเทศไทยตามกรอบคุณลักษณะ 4 ด้าน คือ ด้านความรู้ (Knowledge) ความคิด (Thinking) ความสามารถ (Skill) และ คุณธรรมจริยธรรม (Ethics) และจัดระดับขั้นในแต่ละด้านมี 4 ระดับ คือ ระดับพื้นฐาน (Basic) ระดับก้าวหน้า (Advanced) ระดับเชิงรุก (Proactive) และระดับเป็นเลิศ (Excellent) ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจ และสามารถใช้เป็นกรอบแนวคิดในการ กาหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้และกลยุทธ์การสอนให้มีความลึกซึ้งได้เช่นกัน สรุป กลยุทธ์การสอนที่นามาใช้เพื่อให้มาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านประสบผลสาเร็จ ควรเป็นกลยุทธ์การสอนที่มี ความเหมาะสมกับสาระเรื่องราวในมาตรฐาน และควรใช้กลยุทธ์การสอนหลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในหลาย ส ถ า น ก า ร ณ์ จ า ก ก ร อ บ ข อ ง ก ล ยุ ท ธ์ ก า ร ส อ น ก ล ยุ ท ธ์ ก า ร ส อ น บางกลยุทธ์มีความเหมาะสมกับการนาในใช้กับมาตรฐานผลการเรียนรู้ทุกประเภท แต่กลยุทธ์การสอนบางกลยุทธ์มีความ เหมาะสมกับมาตรฐานผลการเรียนบางประเภท หรือบางสาระเนื้อหาเท่านั้ น ในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้เต็มตาม ศักยภาพมากที่สุด ผู้กาหนดกลยุทธ์การสอนควรมีความรู้ และความชานาญในการเลือกใช้กลยุทธ์การสอน การเรียนรู้เรื่องกล ยุทธ์การสอนจึงมีความจาเป็น เพื่อทาให้ผู้เรียนมีพัฒนาการในการเรียนรู้ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่ได้กาหนดไว้

อ้างอิง กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

16

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


ทิศนา แขมมณี. 2545. ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ . กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ไพฑูรย์ สินลารัตน์. 2552. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย: จากการวิจัยสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ราชบัณฑิตยสถาน. 2542. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2552. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552. (Thai Qualifications Framework for Higher Education) (TQF:HEd). กรุงเทพมหานคร: สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา. Dewey, John. 1916. Democracy and Education. NY: Macmillan. Good, Carter V. 1973. Dictionary of Education. New York: McGraw Hill. http://hs8jyx- strategy.blogspot.com/2010/05/blog-post.html. (3 สิงหาคม 2554). http://th.w3dictionary.org. (6 สิงหาคม 2554). Saskatchewan Education. 1991. Instructional Approaches: A Framework for Professional Practice. http://www.sasked.gov.sk.ca/docs/cethics/approach.html. (6 กันยายน 2556). Joyce, Bruce, Marsha Weil and Emily Calhoun. 2009. Models of Teaching. 8th ed. Boston, MA: Pearson. Lefrancois, Guy R. 2000. Psychology for Teaching. Belmont, CA: Wadsworth/Thomson Learning. Steiner, Elizabeth. 1988. Methodology of Theory Building. Sydney: Educology Research Associates. Wiles, Kimball. 1963. The Changing Curriculum of the American High School. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

ภาคผนวก การผลิตบัณฑิตด้านการเรียนการสอนตามคุณลักษณะบัณฑิต 4 ด้าน (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2552) คุณลักษณะบัณฑิต

ด้านความรู้

ด้านความคิด

ระดับพืน้ ฐาน (Basic) -สร้างความรู้พื้นฐาน -ให้บัณฑิตมีความรู้ทั่วไปและ ความรู้ตามวิชาชีพ -มี วิ ธี ก ารสอนที่ ห ลากหลาย เ ห ม า ะ ส ม กั บ ธ ร ร ม ช า ติ เนื้ อ หาวิ ช า และระดั บ ของ ผู้เรียนลดการบรรยาย -จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ที่ หลากหลายเหมาะสมกั บ ธรรมชาติ เนื้ อ หาวิ ช าและ ระดับของผู้เรียน ในการกระตุ้น ให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์อย่าง มีวิจารณญาณ -มีทักษะในการกลั่นกรอง และ ย่ อ ยความคิ ด ที่ ไ ด้ จ ากการ เรียนรู้

กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

กระบวนการผลิตบัณฑิตด้านการเรียนการสอน ระดับก้าวหน้ (Advanced) ระดับเชิงรุก (Proactive) -นาเทคโนโลยีสารสนเทศมา -เน้นระหว่างวิชาความรู้กับชีวิต ใช้ในการจัดการเรียนการสอน จริง รวมทั้งการเน้นประสบการณ์ -ก ร ะ จ า ย โ อ ก า ส ท า ง ตรง กระบวนการคิ ด การ การศึ ก ษาอย่ า งกว้ า งขวาง เ ชื่ อ ม โ ย ง ท ฤ ษ ฎี กั บ และทั่วถึง การปฏิบัติ -จัดการเรียนการสอนในเชิง -ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ค้ น พบ นวัตกรรมเป็นหลัก ความรู้ด้วยตนเอง -จั ด การเรี ย นการสอนโดย -มี ก ระบวนการเรี ย นรู้ ที่ ส ร้ า ง ประสบการณ์ จ ริ ง เพื่ อ ให้ ความเป็ น ผู้ น าทางวิ ช าการและ ผู้ เ รี ย นสามารถวิ เ คราะห์ วิชาชีพ สั ง เคราะห์ น วั ต กรรม และ -ให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์เป็น รู้จัก ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้ คิ ด รู้ วิ ธี เ รี ย น เพื่ อ ให้ ศึ ก ษา ค้นคว้าด้วยตนเองได้

17

ระดับเป็นเลิศ (Excellent) -การค้ น คว้ า และวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ เนื้อหาสาระของวิชาในหลักสูตร -ค้ น หาความรู้ โ ดยวิ ธี วิ จั ย และ น า เ ส น อ ส า ร ะ ค ว า ม รู้ ด้ ว ย การพูด และการเขีย นที่ถู กต้ องเป็ น ระบบ -กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความช่างสังเกต ช่างคิด เพื่อต่อยอดความคิดเดิมให้ เ กิ ด องค์ความรู้ใหม่

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


ด้านความสามารถ

-การเรียนการสอนที่มีรูปแบบ การเรี ย นรู้ ที่ ห ลากหลายตาม ความสนใจและความถนัดของ ผู้เรียน -เน้นการสอนให้ปฏิบัติได้ทาได้ โดยการฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านท า โครงการ -ส่ ง เสริ ม ให้ ใ ช้ สื่ อ ประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้

กลยุทธ์การสอน 2557 – เมษายน 57

-เปลี่ ย นจากกระบวน”การ สอน” เป็น “การเรียน” โดย ให้ ผู้เ รี ย นเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเอง เกิ ด ความอยากรู้ แ ละเรี ย นรู้ วิธีการแสวงหาความรู้ -กาหนดหัวข้อให้ทารายงาน หรือกาหนดการสอนแบบกลุ่ม ย่อย

18

-เปิ ด โอกาสให้ ผู้เ รี ย นได้ ค้ น พบ ความรู้ด้วยตนเองและนาเสนอสิ่ง ที่ค้นคว้า -ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะ การเชื่อมโยงความรู้ในสาขาวิชา กับวิชาในสาขาอื่น

-ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ค้ น พบความรู้ ด้ ว ย ตนเอง -ค้นหาความรู้โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ -นาเสนอความรู้ด้วยการพูดและการ เขียนที่ถูกต้องและมีเนื้อหาที่ทันสมัย ทันเหตุการณ์ และลงมือปฏิบัติจริง -รู ป แบบการจั ด การศึ ก ษาต้ อ งมี ความหลากหลายความความ ต้องการของผู้เรียน

ณรุทธ์ สุทธจิตต์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.