อุดมศึกษาของชุมชน ดร.สุเมธ แย้มนุ่น

Page 1

4/18/2014

การเสวนา เรื่อง อุดมศึกษาของชุ มชน : การออกแบบการจัดการความรู้เพือ่ เสริมสร้ างความเข้ มแข็งชุมชน และ กรณีตัวอย่ างการนําสู่ การปฏิบัติของวิทยาลัยชุมชน โดย ดร.สุ เมธ แย้ มนุ่น นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี งานมหกรรมอุดมศึกษาไทย 2557 วันที่ 23 เมษายน 2557 ณ อาคารศูนย์ การประชุ มอิมแพ็ค ฟอรั่ม ศูนย์ การแสดงสิ นค้ าและการประชุ มอิมแพ็ค เมืองทองธานี 1

วิทยาลัยชุมชน : บทบาทการสร้ างความเข้ มแข็งชุมชนในช่ วงทีผ ่ ่ านมา

จัดการศึกษา/ฝึ กอบรม เพือ่ ตอบสนองกลุ่มเป้าหมายใน จังหวัดทีข่ าดโอกาสทางการศึกษา เข้ าไม่ ถึงการศึกษา

(ระดับปัจเจกบุคคล)  หลักสู ตรอนุปริญญา ปวส. และ ปวช.  ประกาศนียบัตร  หลักสู ตรฝึ กอบรม 2

1


4/18/2014

วิทยาลัยชุมชนในบริบทปัจจุบัน สถาบันอุดมศึกษาตํา่ กว่ าปริญญา  ดําเนินการตามภารกิจของการอุดมศึกษา  การผลิตบุคลากรทีม่ ีคุณภาพ  การวิจัยและพัฒนา /วิจัยชุมชน  การบริการวิชาการ 

ผลผลิตของวิทยาลัยชุมชน  บุคลากรระดับอนุปริญญา  บุคลากรทีม่ คี วามรู้ และทักษะอาชีพ ในชุ มชน

ผลลัพธ์ ของวิทยาลัยชุมชน  ชุ มชนสามารถเข้ าถึง “อุดมศึกษา” มากขึน้  การประกอบอาชีพ ธุรกิจชุ มชน  ความเป็ นพลเมือง และคุณภาพชีวติ  ความสงบ และสั นติสุข 3

บทสรุปทีเ่ ป็ นจุดเปลีย่ นของ วชช.  วิทยาลัยชุ มชนเดินตามกระแสหลักของอุดมศึกษาทีม ่ ่ ุง

ปริญญา  โครงสร้ างการจัดการเรียนการสอนเน้ นความรู้ เชิงวิชาการ

มากกว่ าการส่ งเสริมทักษะ การประกอบอาชีพ  ความหลากหลาย และความแตกต่ างระหว่ างบุคคลสู งมาก  การประกอบอาชีพและการแบ่ งเวลาเพือ่ การเรียนรู้

4

2


4/18/2014

วิทยาลัยชุมชน : บทบาทการสร้ างความเข้ มแข็งชุมชนตามนโยบาย กวชช.

การจัดการความรู้ เพือ่ เสริมสร้ างความเข้ มแข็งชุมชน (ระดับกลุ่มบุคคล หรือชุมชน) โดยใช้ กระบวน ทัศน์ ในการปรับวิธีทาํ งานใหม่  หลักสู ตรอนุปริญญา ปวส. และ ปวช.  ประกาศนียบัตร  หลักสู ตรฝึ กอบรม

“ภายใต้ พนั ธกิจเดิมโดยกระบวนทัศน์ ใหม่ ” 5

กระบวนทัศน์ ใหม่ ในการจัดการศึกษา/ฝึ กอบรมเพือ่ สร้ างความเข้ มแข็งชุมชน ของวิทยาลัยชุมชน

: (นโยบาย กวชช. ชุดปัจจุบัน) “สอนคนชุมชน โดยคนชุมชน ใช้ โจทย์ ชุมชน เพือ่ พัฒนาชุมชน”

3


4/18/2014

การจําแนกพันธกิจของวิทยาลัยชุมชน รู ปแบบที่ 1

การจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาท้ องถิ่นชุมชน : TRACK ชุมชน

รู ปแบบที่ 2

การจัดการศึกษาเพือ่ การประกอบอาชีพ : TRACK อาชีพ

รู ปแบบที่ 3

การจัดการศึกษาระดับอนุปริญญา : TRACK อนุปริญญา

 ต่ อยอดโครงการจัดการความรู้ เพือ่ เสริมสร้ างความเข้ มแข็งของชุมชน  มุ่งส่ งเสริมความร่ วมมือ การพัฒนาเพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ  ตอบสนองความต้ องการ มิตเิ ศรษฐกิจ การสร้ างรายได้ การเป็ นผู้ประกอบการ ความสงบ และสันติสุขในชุมชน

 การเลือกสรรอาชีพที่มีความต้ องการระดับชาติ – ท้ องถิน่  มุ่งเน้ นความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ เพือ่ การประกอบอาชีพ (Competency based Education)  จัดในรูปชุดการเรียนรู้ (Modular System)  National Certificate และ Institutional Certificate

 ศึกษาต่ อระดับปริญญาที่มีคุณภาพสู ง  มีความยืดหยุ่น และเอือ้ อํานวยให้ เกิดการเรียนรู้ ที่ทันสมัย  ปรับเข้ าสู่ ระบบ Modular และ หลักสู ตรฐานสมรรถนะ

7

การจัดการศึกษาฐานสมรรถนะ (Competency based Education)  เป็ นกระบวนการของสถานศึกษาทีต่ ้ องการปรับเปลีย่ นหลักการจัด การศึกษาทีเ่ น้ นองค์ ความรู้ทไี่ ด้ จากอาจารย์ (ตํารา) ไปสู่ ความสามารถ ในการปฏิบัติงานของผู้เรียน  เป็ นการศึกษาทีม่ ่ ุงเน้ นผลของการศึกษา คือ สมรรถนะทีต่ อบสนอง ความต้ องการในตลาดแรงงานทีก่ าํ หนดโดย นายจ้ าง หรือ มืออาชีพ  สมรรถนะโดยธรรมชาติแล้วจะมีความซับซ้ อนและมีปัญหาในการวัด และการประเมิน

8

4


4/18/2014

กระบวนทัศน์ ใหม่ • พันธกิจด้ านชุ มชน Track : ชุ มชน • พันธกิจสั มพันธ์ กบั ชุ มชน Community Engagement • การจัดการความรู้ Knowledge Management • ความเชื่อมโยงเป็ นเครือข่ าย Networking

โครงการจัดการความรู้ เพือ่ เสริมสร้ างความ เข้ มแข็งของชุมชน “Project-Based”

วิทยาลัยชุมชน ต้ องเตรียมพร้ อมการ เปลีย่ นแปลงเข้ าสู่ การศึกษาฐานชุมชน (Community-Based Education) และ การวิจัยฐานชุมชน (Community-Based Research) 9

การศึกษาฐานชุมชน : Community-Based Education การศึกษาฐานชุมชน หรื อ การศึกษาชุมชน (Community Education) เป็ นการศึกษาที่มีแบบแผนเฉพาะแตกต่างกันตามสภาพแวดล้อมของชุมชน การศึกษาที่ต้องทํางานร่ วมกับชุมชน มีลกั ษณะเป็ นการศึกษาสําหรับผูใ้ หญ่ (Adult Education) และผูด้ อ้ ยโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม การศึกษาชุมชน มีวตั ถุประสงค์เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคคลหรื อกลุ่มคนในชุมชนทุกวัย ผ่านกิจกรรมในชุมชน ความสามารถของชุมชน และคุณภาพชีวติ การมีส่วนร่ วมในระบอบ ประชาธิปไตย นักวิชาการศึกษาชุมชน (Community Educators) มีความสามารถพัฒนาทักษะและวิธีการทํางาน ร่ วมกับชุมชน ตลอดจนวิธีการจัดองค์กรชุมชน (Community Organizing) และการทํางานเป็ นกลุ่ม (Group Work Skills) การศึกษาชุมชน มีพฒั นาการมายาวนานในหลายประเทศทั้งยุโรปและอเมริ กา จนมีการจัดตั้ง สมาคมการศึกษาชุมชนนานาชาติ (International Community Education Association)

10

5


4/18/2014

การวิจยั ฐานชุมชน (Community-based research) • การวิจัยฐานชุมชน หรือ การวิจัยภาคประชาชนเป็ นการวิจัยเชิงปฏิบัติการทีพ่ ฒ ั นา ความรู้ และกระบวนการหาความรู้ โดยใช้ ภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น มีการพัฒนากระบวนการ การมีส่วนร่ วม ร่ วมกันเรียนรู้ และถ่ ายทอดความรู้ แก่ กนั ด้ วยวิธีการสื่ อสารแบบปากต่ อ ปาก

• ประเด็นการวิจัยภาคประชาชน มี 6 ประเด็น การวิจัยเพือ่ แก้ ไขปัญหาในชุ มชน เช่ น ยาเสพติด ความขัดแย้ งในชุ มชน การวิจัยเพือ่ แก้ ไขปัญหาจากภายนอกชุ มชน เช่ น นโยบายของรัฐทีก่ ระทบวิถีชุมชน การวิจัยเพือ่ นําใช้ ภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น เช่ น แพทย์ พนื้ บ้ าน สมุนไพร การวิจัยเพือ่ การธํารงไว้ ของฐานทางสั งคม เช่ น ประวัติศาสตร์ ประเพณี การวิจัยเพือ่ การพัฒนาทางเลือกของชุ มชน เช่ น เกษตรกรรมยัง่ ยืน ธุรกิจชุ มชน การวิจัยเพือ่ เชื่อมต่ อนโยบายต่ างๆ เช่ น การอนุรักษ์ ป่า ดิน นํา้ 11

เป้ าประสงค์ การวิจัยฐานชุ มชน การวิจยั ฐานชุมชน มิใช่ การทําวิจยั ให้ ได้ ผลงานวิจยั แต่ ต้ องการให้ กระบวนการวิจยั นําไปสู่ เป้าประสงค์ หรือผลลัพธ์ ในสิ่ ง ทีต่ ้งั ปรัชญาไว้ แบบองค์ รวม ประกอบด้ วย • • • • •

คุณภาพชีวติ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน การคงอยู่ของสั งคมและวัฒนธรรมพืน้ ฐาน ทางเลือกในการช่ วยเหลือตัวเอง การพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมทีช่ ุ มชนเป็ นผู้กาํ หนด 12

6


4/18/2014

ความสํ าคัญของบทบาทใหม่ ของวิทยาลัยชุมชน • การเปิ ดประตูเข้ าใกล้ ชิดชุมชนอย่ างแท้ จริง และเป็ นส่ วนหนึ่งของ ชุมชนตามหลักการของพันธกิจสั มพันธ์ กบั ชุมชน (Community engagement) • การธํารงอยู่ของชุมชน คือ ความอยู่รอดของวิทยาลัยชุมชน • ส่ งผลให้ วทิ ยาลัยชุมชนต้ องปรับตัวอย่ างรุ นแรง เมื่อเปลีย่ นจาก การศึกษาฐานความรู้ เป็ น การศึกษาฐานชุมชน

13

กระบวนทัศน์ ใหม่ การเปลีย่ นแปลง 3 ระดับของวิทยาลัยชุมชน ระดับที่ 1 การยกระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ ของวิทยาลัยชุมชน องค์ ความรู้ ในชุ มชน

กระบวนการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนของชุ มชน

ระดับที่ 2 การยกระดับความเชี่ยวชาญของบุคลากรของวิทยาลัยชุ มชน ผู้ประสานงานโครงการ

นักวิชาการการศึกษาชุ มชน

นักบริหารการวิจัยชุ มชน

ระดับที่ 3 การยกระดับการบริหารจัดการของวิทยาลัยชุ มชน การบริหาร หลักสู ตร

การบริหารจัดการการศึกษา ฐานชุ มชน

การบริหารจัดการ งานวิจัยฐานชุ มชน 14

7


4/18/2014

การปรับตัวในระยะสั้ น • พันธกิจสั มพันธ์ กบั ชุ มชน (Community Engagement)  การร่ วมคิด ร่ วมทํา กับองค์ กรต่ างๆ ในชุ มชน  ผลการดําเนินการต้ องเกิดประโยชน์ ร่วมกัน  ใช้ ความรู้และเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน  เกิดผลกระทบต่ อชุ มชนทีป่ ระเมินได้ • การเพิม่ ประสิ ทธิภาพของการบริหารจัดการโครงการ (Project Based)  พัฒนากระบวนการบริหารจัดการโครงการทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ  จัดระบบบุคลากรให้ เหมาะสมกับการบริหารจัดการโครงการ  วางเป้าหมายของโครงการให้ เกิดผลทีช่ ุ มชน ซึ่งสามารถวัด - ประเมินได้ 15

การจัดบุคลากรประจําโครงการ คณะกรรการบริหารโครงการ จํานวนประมาณ 5 คน ประกอบด้ วย ประธาน ผู้แทนชุ มชน นักวิชาการชุ มชน ผู้แทนองค์ กรบริหารส่ วนท้ องถิน่ ผู้แทนองค์ กรเอกชน

หัวหน้ าโครงการ หรือ ผู้จัดการ โครงการ  เป็ นนักวิชาการชุ มชน มีความรู้ ความเข้ าใจการวิจัยฐานชุ มชน หรือการศึกษาฐานชุ มชน  นักวิชาการประจําโครงการ 1 – 2 คน

16

8


4/18/2014

ในระยะยาว การปรับโครงสร้ างการบริหารให้ รองรับพันธกิจชุมชน – สวชช. และ วชช. ปรับปรุงเป้าหมาย ตัวบ่ งชี้ความสํ าเร็จของ วชช. เพือ่ ความมั่นคง ของชุมชน ปรับระบบการกําหนดตําแหน่ งให้ มตี าํ แหน่ งนักวิชาการการศึกษา ชุมชน นักวิจยั ชุมชน และเส้ นทางความก้ าวหน้ าในอาชีพ ปรับระบบการจัดสรรงบประมาณจากความสํ าเร็จของการพัฒนา ชุมชน 17

กรณีตัวอย่ าง และบทสรุป การออกแบบหลักสู ตรการจัดการความรู้สู่ ชุมชน การจัดการความรู้ เรื่อง “การจัดการการท่ องเทีย่ วโดยชุมชน” : พืน้ ทีช่ ุมชนบ้านแหลมงอบ และตําบลเนินทราย ของวิทยาลัยชุมชนตราด การจัดการความรู้ เรื่อง “การพัฒนาศักยภาพของชุมชนเพือ่ ส่ งเสริม การท่ องเทีย่ วตามแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดสตูล” : พืน้ ทีช่ ายฝั่งจังหวัดสตูล ของวิทยาลัยชุมชนสตูล

การจัดการความรู้ เรื่อง “วัฒนธรรมไทใหญ่ ” : พืน้ ทีอ่ ําเภอเมือง แม่ ฮ่องสอน และชุมชนเครื อข่ าย ของวิทยาลัยชุมชนแม่ ฮ่องสอน 18

9


4/18/2014

Q & A 19

10


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.