การจัดการความรู้เพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนวิทยาลัยชุมชนตราด
จุดแรกเริ่มต้น พ.ศ. ๒๕๕๒ จัดเสวนา เรื่อง “ทิศทางการพัฒนา ท้องถิ่นด้านสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว เชิงนิเวศตาบลเนินทราย อาเภอเมือง จังหวัด ตราด” โดยผลการเสวนาพบว่าชุมชนต้องการ ให้มีการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวโดยเน้น "การท่องเที่ยวในสวน" และ“ทรัพยากร ธรรมชาติที่มีในชุมชน” พ.ศ. ๒๕๕๒ ดาเนินการวิจัยเรื่อง “การพัฒนา เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศตาบล เนินทราบ อาเภอเมือง จังหวัดตราด” โดย ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากโครงการวิจัย และนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ ชุมชนฐานราก ประจาปีการงบประมาณ 2553 เครือข่ายอุดมศึกษาภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๕๔ ดาเนินการภายใต้โครงการจัดการความรู้ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและสังคม โดยใช้ทุนทางวัฒนธรรม ได้รับการจัดสรร งบประมาณจากสานักบริหารงานวิทยาลัย ชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕ ดาเนินการภายใต้โครงการการจัดการ ความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน ภายใต้กจิ กรรมหลัก : การจัดการความรู้เพื่อ การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนและการ สืบสานวัฒนธรรม
กลยุทธ์การทางาน ประเมินศักยภาพชุมชน -สารวจของดี หรือสิ่งที่สามารถ นามาเป็นจุดขายสาหรับการท่องเที่ยว ได้ -ประเมินความพร้อมของคนใน ชุมชนในการปรับเปลี่ยนเป็นชุมชน ท่องเที่ยว สืบค้นวิถีชีวิต วิทยาลัยร่วมกับชุมชนใน การศึกษาและรวบรวมองค์ความรู้ที่ เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมของชุมชน เพื่อนามาจัดทา เป็นสารสนเทศชุมชนและเผยแพร่กับ นักท่องเที่ยว ผลิตหลักสูตรเพิ่มสมรรถนะ วิทยาลัยได้ร่วมกับสถาบันการ ท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism Institute : CBT-I) จัดทาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการ จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อเพิ่ม ศักยภาพการทางานให้กับชุมชน รวมถึงจัดให้ชุมชนได้มีการศึกษาดูงาน ผงาดกล้าจัดการท่องเที่ยว จัดทัวร์นาร่อง
งานวิจัย “การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปสับปะรดบ้านเนินดินแดง ตาบลเนินทราย อาเภอเมือง จังหวัดตราด ” จัดการความรู้ จัดการความรู้ ได้หลักสูตรเกี่ยวกับการจัดการ ท่องเที่ยวโดยชุมชน ดังนี้ ๑.หลั ก สู ต รฝึ ก อบรมการบริ ห าร จัดการท่องเที่ยวชุมชน ๒.หลักสูตรฝึกอบรมการผลิตถ่านและ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ๓.หลั ก สู ต รฝึ ก อบรมการออกแบบ โปรแกรมท่องเที่ยว ๔.หลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อ การท่องเที่ยว ๕.หลักสูตรการสื่อความหมายท้องถิ่น ถอดบทเรียน ๑. คณะทางานของวิทยาลัยถอดบทเรียน การทางานเพื่อให้การทางานในปีงบประมาณ ต่อไปมีประสิทธิภาพมากที่สุด พบว่า การ ทางานในพื้นที่ที่ใหญ่เกินไป (ทาทั้งตาบล) เกิดปัญหาในเรื่องของการประสานงานและ ปัญหาเรื่องการรวมตัวกันยากของคนใน ระดับตาบล ๒.ถอดบทเรียนการทางานร่วมกัน ระหว่างคณะทางานของวิทยาลัยกับชุมชน พบว่า ชุมชนต้องการให้มีผลิตภัณฑ์ที่มีใน ท้องถิ่นเพื่อสามารถจัดทาเป็นของฝาก/ ของที่ระลึกให้กับนักท่องเที่ยว
ก้าวสู่การพัฒนา พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบ้านแหลมมะขาม ตาบลแหลมงอบ อาเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด - ดาเนินการภายใต้กรอบการทางานของการท่องเที่ยว เชิงนิเวศตาบลเนินทราย อาเภอเมือง จังหวัดตราด และ ความ ร่วมมือกับสถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism Institute : CBT-I) รวมถึง มหาวิทยาลัย ศิลปากร -เกิดหลักสูตรเพิ่มสมรรถนะ (เพิ่มเติม) ๑.หลักสูตรการเก็บข้อมูลวัฒนธรรมชุมชน ๒. หลักสูตรการตั้งราคาและการกระจายผลประโยชน์
การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปสับปะรดบ้านเนินดินแดง ตาบล เนินทราย อาเภอเมือง จังหวัดตราด -ดาเนินการภายใต้กรอบการดาเนินงาน “ประชุมทีมงาน ประสานชุมชน คิดค้นสูตรเด็ด เบ็ดเสร็จผลิตภัณฑ์” -เกิดหลักสูตรพัฒนาทักษะฯ ๑.หลักสูตรการจัดการความรู้ด้านการแปรรูป สับปะรด ๒.หลักสูตรการจัดการผลผลิตและการตลาด ๓.หลักสูตรการออกแบบฉลากและบรรจุภัณฑ์ ๔.หลักสูตรการแปรรูปเห็ด