การศึกษาข้ ามพรมแดน Cross-Border Education โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้ าน
I ปัจจัยที่มี ผลกระทบต่ อ การอุดมศึกษา ในปัจจุบันและ อนาคต
การเปลีย่ นแปลงทีร่ วดเร็ว (CHANGE) ในประชาคมโลก การแข่ งขันทีเ่ ข้ มข้ น (Competition)
2
I ปัจจัยที่มี ผลกระทบต่ อ การอุดมศึกษา ในปัจจุบันและ อนาคต เกิดกระแส สั งคมโลก
โลกาภิวตั น์ (GLOBALIZATION) : Flow of People, Culture, Ideas, Values, Knowledge, Technology, and Economy across Borders, Resulting in a More Interconnected and Interdependent World (KNIGHT) ความเป็ นนานาชาติด้านการอุดมศึกษา (INTERNATIONALIZATION OF HIGHER EDUCATION) : The Process of Integrating an International, Intercultural, and Global Dimension into the Purpose, Functions (Teaching, Research, Service) and Delivery of Higher Education 3 (KNIGHT)
II ยุทธศาสตร์ การสร้ าง ความเป็ นสากล Internationalization Strategies
ใช้ วทิ ยาเขตทีต่ ้งั เป็ นฐาน (At Home: Campus-Based Activities) International Programs
Students Faculty Curriculum
Language 4
II ยุทธศาสตร์ การสร้ าง ความเป็ นสากล Internationalization Strategies
ใช้ ต่างประเทศเป็ นฐาน (Abroad: Cross-Border Education) Subset of Internationalization
Known as: Transnational, Offshore, Borderless Education The Movement of People, Knowledge, Programs, Providers and Curriculum Across National or Regional Jurisdictional Borders
5
III ผู้ให้ บริการข้ าม พรมแดน Cross-Border Providers
สถาบันอุดมศึกษาตามประเพณี (Traditional Higher Education Institutions) จัดตั้งเป็ นมหาวิทยาลัย สถาบันหรือวิทยาลัย เป็ นส่ วนของระบบ การศึกษาในประเทศทีต่ ้งั
6
III ผู้ให้ บริการข้ าม พรมแดน Cross-Border Providers
องค์ กรผู้ให้ บริการใหม่ (New or Alternative Providers) จัดตั้งในรู ปบริษทั หรือองค์ กร นิตบิ ุคคลรู ปอืน่ เพือ่ ให้ บริการการศึกษา โดยมี วัตถุประสงค์ ในการแสวงหากาไร อาทิ
Traded Company: Apollo (USA), APTECH and NITT (India), Informatics (Singapore) Corporate U. : Motorala, Toyota มีท้งั Bricks and Motar or Virtual U. 7
IV กรอบการจัดการศึกษาข้ ามพรมแดน Framework for Cross-Border Education Category
Form and Conditions of Mobility
PEOPLE Students Professors/scholars Researchers/ Experts/consultants
Semester/year abroad Full degrees Field/research work Internships Sabbaticals Consulting
PROGRAMS Course, program subdegree, degree, post-graduate
Twining Franchised Articulated/validated Joint/double award Online/distance
8
IV กรอบการจัดการศึกษาข้ ามพรมแดน Framework for Cross-Border Education Category
Form and Conditions of Mobility
PROVIDERS Institutions Organizations Companies
Branch campus Virtual university Merger/acquisition Independent institutions
PROJECTS Academic projects Services
Research Curriculum Capacity-building Educational services 9
V ผลได้ และ ความเสี่ ยงของ การศึกษาข้ าม พรมแดน
การสร้ างโอกาสความเสมอภาคทาง การอุดมศึกษา (Increased Access) ผลได้
เพิม่ สมรรถนะและความสามารถ ของบุคลากร
การเคลือ่ นย้ ายของแรงงานความรู้ เพิม่ ความเข้ าใจอันดีระหว่ าง ประเทศ 10
V ผลได้ และ ความเสี่ ยงของ การศึกษาข้ าม พรมแดน
การรับรองและการประกัน คุณภาพการศึกษา ความเสี่ ยง
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ธุรกิจการศึกษาและ Degree Mill การเทียบคุณวุฒิ 11
VI สรุป การศึ กษาข้ ามพรมแดน แม้ จะมีการดาเนินการมานานนับศตวรรษ แ ต่ ก็ มี เ พี ย ง บ า ง รู ป แ บ บ เ ช่ น ก า ร ส อ น ท า ง ไ ป ร ษ ณี ย์ (Correspondence) หรื อปริ ญญาภายนอกของมหาวิทยาลัยใน ประเทศอังกฤษ (External Degree) เพิง่ มาขยายตัวมากขึน้ ในระยะ สามทศวรรษทีผ่ ่ านมาในรู ปแบบของการศึกษาข้ ามพรมแดน (CrossBorder Education) โดยที่การจัดการศึกษาเป็ นหน้ าที่ของรัฐ ในแต่ ละประเทศก็จะรั บผิดชอบดูแลคุณภาพมาตรฐานการประกันคุณภาพ และการรั บรองวิทยฐานะของสถาบันการศึ กษาที่ต้ังอยู่ในประเทศ ของตน 12
VI สรุป (ต่ อ) เมื่ อ มี ก ารจั ด การศึ ก ษาข้ า มประเทศ ทั้ ง ในรู ป ของสาขา (Campus) โพ้ นทะเลและการศึกษาออนไลน์ หรื อการศึกษาทางไกลผ่ านสื่ อต่ างๆ ข้ ามพรมแดน การดูแลรั บรองมาตรฐานและคุณภาพการศึ กษาจาก ระบบนี้จึงเป็ นเรื่ องสาคัญที่มีท้ังประโยชน์ และโทษ หรื อความเสี่ ยงที่ ประเทศต่ างๆ และองค์ การศึกษาระดับโลกที่จะต้ องมีนโยบาย และแนว ปฏิบัติที่ชัดเจนกว่ าที่เป็ นอยู่ในปัจจุบัน นั่นก็คือ จะต้ อง “Maximizing Benefits and Minimizing Risks” 13