เศรษฐศาสตร์การเลือกตั้ง 2550

Page 1

เศรษฐศาสตรการเลือกตั้ง 2550∗ คุปต พันธหินกอง

∗∗

ในสังคมที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยหลักการทั่วไปถือวาอํานาจอธิปไตยนั้น มาจากประชาชน ประชาชนเปนผูใหการยอมรับการมีอยูของผูปกครอง การกระทําใดๆของ ผูปกครองหรือรัฐบาลนั้นจะตองไดรับยินยอม (Consent) จากประชาชน อยางไรก็ตามภายใตสังคมที่ มีประชาชนเปนจํานวนมาก การสอบถามความยินยอมจากประชาชนทุกครั้งที่มีการตัดสินใจทาง การเมืองจึงเปนเรื่องยาก ลาชา และใชตนทุนที่สูง รูปแบบของประชาธิปไตยสมัยใหมจึงมอบอํานาจ การตัดสินใจและสิทธิของประชาชนไปยัง "ตัวแทน" ที่ไดรับการเลือกจากประชาชนใหทําหนาที่นี้ แทนพวกเขา ประชาธิปไตยจึงไดพัฒนาเปนระบบตัวแทน (Representative Democracy) เชนนี้แลวจึง ต อ ง "คั ด สรร" ตั ว แทนที่ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ เ หมาะสม และมี ค วามชอบธรรมที่ จ ะเป น ตั ว แทนของ ประชาชนทั้งประเทศ นั่นคือจะตองเปดโอกาสใหผูที่มีความตองการจะเปนตัวแทนเขามาแขงขัน ประชันความสามารถกัน โดยมีประชาชนเปนผูตัดสินวาใครจะเปนผูชนะ ดังนั้น "การเลือกตั้ง" จึง เปนมรรควิธีที่ประเทศประชาธิปไตยตางใชในการคัดเลือกบุคคลเขาเปนรัฐบาล และถือเป็นกิจกรรม ที่มีความสําคัญในทางกระบวนการทางการเมือง เพื่อการแสดงออกถึงเจตจํานงของประชาชน เมื่อมองในเชิงเศรษฐศาสตรภายใตกรอบตลาดแขงขันสมบูรณแลว จะพบวาการเลือกตั้งนั้น มีลักษณะคลายการแขงขันในระบบตลาดอยูไมนอย ในแงที่วาความสัมพันธระหวางพรรคการเมือง กับประชาชนมีการแลกเปลี่ยนกัน พรรคการเมืองมีสถานะคลายผูผลิตในตลาด (Producer) ที่ไมได ผลิต สิ น คา และบริ ก ารขึ้ น มา แตผ ลิ ต "สั ญ ญา" อย า งหนึ่ งขึ้ น มาวา จะกระทํา การบางอย า งใหแ ก ประชาชน เรียกวา "นโยบาย" ซึ่งประกอบไปดวยนโยบายทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการ ตางประเทศ และประชาชนอยูในฐานะผูบริโภค (Consumer) โดยคะแนนเสียงในมือประชาชนคือ สื่อกลางที่ใชแลกเปลี่ยน ประชาชนจะใชคะแนนเสียงเหลานั้นในการบริโภค "นโยบาย" ที่ตนเอง พอใจมากที่สุด และในเวลาตอมาหากพรรคที่ชนะการเลือกตั้งไมสามารถ “รักษาสัญญา” ที่ใหไวกับ ประชาชนได ประชาชนก็สามารถไปลงคะแนนใหพรรคอื่นๆไดในการเลือกตั้งครั้งตอไป ใน ขณะเดียวกันพรรคที่ไมมี ส.ส. ไดรับเลือกตั้ง ในระยะยาวก็จะตองออกจากตลาดไป อยางไรก็ตามใน สังคมการเมืองจริงๆแลวไมไดมีเงื่อนไขตามนี้ทั้งหมด เชน มีเรื่องตนทุนธุรกรรม (Transaction Cost) เขามาเกี่ยวของ นโยบายในตลาดไมไดมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ (Homogeneous) มีพรรค การเมืองบางพรรคที่มีขนาดใหญ และมีอํานาจเหนือตลาด และที่สําคัญคือประชาชนมีความทรงจํา มี บริบททางประวัติศาสตรเขามาเกี่ยวของ ดังนั้นตัวแบบตลาดแขงขันสมบูรณจึงไมนาจะเปนคําอธิบาย ที่เหมาะสมกับการวิเคราะหการเลือกตั้ง ∗

บทความนําเสนอในงานโครงการแขงขันตอบปญหาทางเศรษฐศาสตร และนําเสนอบทความงานวิจัย/บทความยอ ประจําป 2550 ณ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยแมโจ จ.เชียงใหม เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2551 ∗∗ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปที่ 2 ภาคภาษาไทย คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร


การเลือกตั้งภายใตรัฐธรรมนูญ 2550 มีกติกาที่เปลี่ยนแปลงไป ที่เห็นไดชัดที่สุดก็คือจํานวน ส.ส.ลดลงเหลือ 480 คน การแบงเขตเลือกตั้งก็เปลี่ยนแปลงไป รูปแบบบัญชีรายชื่อ (Party List) ได กลายเปนรูปแบบสัดสวน (Proportional) และรูปแบบแบงเขต จากรูปแบบเขตเดียวมีส.ส.ไดคนเดียว (Single-member Constituency) กลายเปนรูปแบบเขตเดียวสามารถมีส.ส.ไดหลายคน (Multiplemember Constituency) ซึ่งก็มีทั้งสวนที่ดีและสวนที่เปนขอสังเกตอยูหลายประการ ในทางวิชาการ เรื่องรูปแบบการแบงเขตเลือกตั้งที่เหมาะสมที่สุดก็ยังเปนประเด็นที่ยังตองถกเถียงเพื่อหาคําตอบกัน อยู แมจะมีขอครหาวาการเปลี่ยนแปลงพรมแดนการเลือกตั้งครั้งนี้เปนไปเพื่อใหมีการไดเปรียบ เสียเปรียบในบางพรรคการเมืองก็ตาม (Gerrymandering) 1 แตโครงสรางตลาด ก็ยังไมไดเปลี่ยนแปลง ไปอยางชัดเจน และผลการเลือกตั้งก็เปนไปตามที่คนสวนใหญไดคาดการณกันเอาไว หากจะวิเคราะหถึงโครงสรางตลาดการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.2550 ที่ผานมาก็จะ พบวา ทางฝงประชาชน (ผูบริโภค) มีอยูเปนจํานวนมาก โดยมีจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวน 44,002,593 คน ผูมาใชสิทธิจํานวน 32,759,009 คน ดานฝงพรรคการเมือง (ผูผลิต) อยูเปนจํานวน มากมายในตลาด โดยมีพรรคที่สงผูแขงขันลงสมัครรับเลือกตั้งอยูถึง 31 พรรค แตสวนแบงตลาดกลับ มีความมีความกระจุกตัว (Concentration) อยูคอนขางสูง นั่นคือมีเพียงไมกี่พรรคการเมืองเทานั้นที่ ครอบครองเสียงสวนใหญในการเลือกตั้งเอาไว แสดงใหเห็นไดจากตารางดานลาง ตารางแสดงผลการเลือกตั้ง - จํานวน ส.ส. แยกตามภาค พรรค

เหนือ

กลาง

อีสาน

ใต

กทม.

พลังประชาชน ประชาธิปตย ชาติไทย เพื่อแผนดิน รวมใจไทยฯ มัชฌิมาธิปไตย ประชาราช รวม

47 16 6 1 2 2 1 75

39 35 18 1 2 3 98

102 5 7 12 6 3 135

2 49 2 3 56

9 27 36

รวม ส.ส. แบงเขต 199 132 33 17 8 7 4 400

รวม ส.ส. รวมสุทธิ สัดสวน 34 233 33 165 4 37 7 24 1 9 7 1 5 80 480

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. ขอมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2550 *ปจจุบัน (18 มกราคม พ.ศ.2551) กกต.รับรองส.ส.ไปแลว 460 คนจาก 480 คน ซึ่งเปนจํานวนกวา 95% แลว ดังนั้น ผูเขียนจึงขอใชตารางนี้ตอไปเพราะตัวเลขถือวาเสถียรมากพอสมควรแลว

1

Gerrymandering เกิดขึ้นจากผูวาการรัฐ Massachusetts คือ Elbridge Gerry ในขณะนั้นเห็นวารูปรางของเขตเลือกตั้งมีลักษณะคลายตัว Salamander ใชในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้งที่เปนสาเหตุใหคะแนนนิยมของพรรคการเมืองหนึ่งถูกตัดทอนไปหรือได เพิ่มขึ้นอยางไมยุตธิ รรม


สัดสวนการกระจุกตัวสามารถคํานวณไดจาก Concentration Index (CR) n

CRn = ∑ s i = s1 + s 2 + s3 + ... + s n i =1

โดยที่ s i หาไดจากจํานวนส.ส.ที่พรรค i สามารถทําได หารดวยจํานวนส.ส.ทั้งหมด ในที่นี้ ส.ส.ทั้งหมดมีจํานวน 480 คน หากจะลองคํานวณดูวา 4 อันดับพรรคแรกที่ไดคะแนนเสียงมากที่สุด มีอํานาจตลาดเทาใด สามารถทําไดโดยการแทนคาขอมูลในตาราง ดังนี้ CR 4 =

233 + 165 + 37 + 24 = 0.95625 480

แสดงวา 4 พรรคแรกที่ไดคะแนนเสียงมากที่สุดมีอํานาจตลาดสูงถึง 95.625% ของสวนแบง การตลาดทั้งหมดในประเทศ หากจะเปรียบเทียบสัดสวนการกระจุกตัวของแตละภาค สำหรับจํานวน ส.ส. แบบแบงเขต เพื่อดูวาภาคใดมีสัดสวนการผูกขาดสูงกวาภาคอื่นๆ ก็ทําไดดวยวิธีเดิม แตเปลี่ยน จํานวนฐานไปตามแตละภาค ดังนี้ ภาคเหนือ: CR 4 = 47 + 16 + 6 + 2 = 0.9467 คิดเปน 94.67%

75 39 + 35 + 18 + 3 ภาคกลาง: CR 4 = = 0.9694 คิดเปน 96.94% 98 ภาคอีสาน: CR 4 = 102 + 12 + 7 + 6 = 0.9407 คิดเปน 94.07% 135 49 + 3 + 2 + 2 ภาคใต: CR4 = = 1.00 คิดเปน 100% 56 กรุงเทพฯ: CR4 = 27 + 9 + 0 + 0 = 1.00 คิดเปน 100% 36

สิ่งที่นาสนใจคือภาคเหนือและภาคอีสานมีระดับการกระจุกตัวต่ํากวาคาเฉลี่ยของประเทศ แมจะตางเพียงเล็กนอยก็ตาม ในขณะที่ภาคใตและกรุงเทพฯ การกระจุกตัวใน 4 อันดับแรกมีคาสูง ที่สุดคือรอยละ 100 แสดงใหเห็นวาตลาดการเลือกตั้งมีผูผูกขาดรายใหญเพียงไมกี่รายในทุกภูมิภาค เพราะเหตุใดในเวทีการเมืองถึงมีลักษณะการผูกขาดโดยพรรคใหญ? คําตอบนาจะเปนเรื่อง ของ Wasted Votes หรือคะแนนเสียงที่สูญเปลา เนื่องจากการเลือกตั้ง โดยเฉพาะระบบเขตเดียวเบอร เดียวเปนระบบแพคัดออก และผูชนะในเขตนั้นจะไดเปนส.ส.ทันที (Winner Takes All) หากผู เลือกตั้งเปนผูมีเหตุผลและไมไดตัดสินใจในหองมืด กลาวคือ เปดรับฟงขาวสารตางๆ เขาจะทราบวา พรรคใดหรือผูลงสมัครในเขตตนคนใด “มาแรง” คลายคลึงกับ Bandwagon Effect ในทาง เศรษฐศาสตร 2 ดังนั้นจึงไมมีประโยชนที่เขาจะตัดสินใจเลือกพรรคขนาดเล็กเพราะคะแนนเสียงเพียง 1 เสียงของตนไมอาจสรางความเปลี่ยนแปลงใดๆในผลการเลือกตั้งได ยกตัวอยางเชน นางสาว A ชื่น 2

Bandwagon Effect คือ สภาวะทีค่ วามตองการ หรือการตัดสินใจของคนๆหนึ่ง ไมไดเปนอิสระจากปจจัยรอบขางโดยสมบูรณ แต ขึ้นอยูกับหรือไดรับอิทธิพล (Externality) จากการตัดสินใจของคนๆอื่นในสังคม การตัดสินใจจึงมีลักษณะ “แหตามกัน” ไปใน แนวทางที่คนสวนใหญเปนกัน มีลักษณะเปนพฤติกรรมรวมหมู (Collective Action) สมมติเหตุการณวา อาจารยสั่งการบานไปเมื่อวาน วันนี้อาจารยมาถามนักเรียนวาใครไมไดทํามาบาง หากไมมีใครเริ่มยกมือยอมรับผิดก็จะไมมีใครยกมือเลย แตหากมี 2-3 คนที่ยกมือ คน อื่นๆที่เหลือที่ไมทําการบานก็จะกลายกมือบางเชนกัน


ชอบผูสมัครจากพรรค X เปนพิเศษ เพราะเปนผูที่มีความสามารถมาก มีผลงาน มีวิสัยทัศน และขาว สะอาดมีคุณธรรม แตพรรค X เปนพรรคเล็กและไมดัง ในขณะที่ผูสมัครจากอีกพรรคคือพรรค Y นั้น มีคุณสมบัติรองลงมา เธอไมคอยจะ “ปลื้ม” ผูสมัครคนนี้นักเพราะเห็นวาเปนผูมีอิทธิพลในทองถิ่น แตดวยพรรค Y เปนพรรคใหญ และคนในเขตเธอมีแนวโนมจะเลือกผูสมัครจากพรรคนี้ ทำใหเธอ รูสึกวาลงคะแนนใหผูสมัครพรรค X คงไมสงผลอะไรตอคะแนนรวมเพราะเปนสวนนอยมากๆ ผลลัพธคือเธออาจจะมองหา The Second Best ซึ่งอาจจะเปนผูสมัครจากพรรค Y ที่มีโอกาสจะไดรับ เลือกมากกวา หรืออาจจะเลือกชองไมประสงคจะลงคะแนนก็ได 3 แนนอนวาหากคนสวนใหญมี ความคิดแบบเธอ ทําใหพรรคการเมืองขนาดใหญมักจะไดรับเลือกตั้ง ส.ส.ในปริมาณมากกวา จึง ไมใชเรื่องแปลกที่เรามักจะเห็นพรรคการเมืองขนาดเล็กแตมีอุดมการณตองลมลงไปในระยะยาว ทำ ใหผูมีความสามารถที่อยากลงเลนในเวทีการเมืองตองมุงเขาหาพรรคใหญเสมอ แมบางครั้งพรรค ดังกลาวจะมีภาพลักษณที่ไมคอยดีก็ตาม แตก็ตองยอมรับเพื่อแลกกับผลประโยชนที่จะไดรับ ทำให ทายที่สุดตองถูกกลืนไปกับพรรคและกลายเปนสีเทาไป อีกลักษณะหนึ่งที่พบในโครงสรางตลาดการเลือกตั้งคือ ความจงรักภักดีในพรรคหรือตรา สินคา (Brand Loyalty) ความจงรักภักดีนี้จะสงผลกระทบตอผูบริโภคในแงที่วา ผูบริโภคจะมีความ นิยมชมชอบบางสินคาของผูผลิตรายหนึ่งๆมากกวาสินคาเดียวกันจากผูผลิตอื่นๆ (Preference) แมวา สินคานั้นๆจะมีราคาเทากัน ถามองในรูปแบบตลาดพรรคการเมืองก็คือ ความชื่นชมศรัทธากับพรรค การเมืองหรือบุคคลซึ่งอยูในพรรคการเมืองหรือมีสวนเกี่ยวของกับพรรคการเมืองนั้น ซึ่งสิ่งนี้พบมาก ในตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition) และตลาดผูขายนอยราย (Oligopoly) ความ จงรักภักดีในพรรคการเมืองนี้เองที่จะสงผลตอโครงสรางตลาดการเลือกตั้ง ทําใหตลาดมีอุปสรรคใน การเขาแขงขัน (Barrier to Entry) เรียกวา การกีดกันเนื่องจากความนิยมชมชอบ (Preference Barrier) กลาวคือพรรคใหมๆที่เกิดขึ้นจะตองลงทุนหาเสียงเปนจํานวนมาก เพื่อใหพรรคของตนเองเปนที่รูจัก การเจาะตลาดใหมๆทําไดยาก ยกตัวอยางเชน ในภาคอีสานนั้นประชาชนนิยมพรรคพลังประชาชน (โดยนิตินัยถือเปนพรรคใหม แตโดยพฤตินัยคือรางทรงของพรรคไทยรักไทยซึ่งไมถือเปนพรรค ใหม) มากกวาพรรคอื่นๆ ยากที่พรรคอื่นจะเขาไปแยงสวนแบงนี้มาได หรือภาคใตนั้นสวนใหญจะ นิยมเลือกพรรคประชาธิปตยมาตลอด หรือในจังหวัดสุพรรณบุรีที่นิยมพรรคชาติไทย เปนตน ดวยเงื่อนไขที่กลาวมา ทำใหตลาดพรรคการเมืองมีแนวโนมจะเกิดปญหา Adverse Selection ไดงาย 4 โดยผูสมัครที่เปนคนดี มีความสามารถ จะตองไปสังกัดพรรคการเมืองใหญ ซึ่งก็เทากับวา นําพาตนเองเขาไปสูโครงสรางที่ตนเองมีอํานาจตอรองนอย อาจจะเพราะตนเองมีทุนนอยตองพึ่งพา ชื่อเสียงพรรคในการหาเสียง มีขอมูลขาวสารนอย และดวยพัฒนาการของพรรคการเมืองในปจจุบันที่ 3

ความจริงแลวไมวา เธอจะเปลีย่ นไปลงคะแนนใหพรรคใดๆ หรือไมลงคะแนนก็ตาม ก็ไมสงผลอะไรอยูแลว เพราะการกระทําของเธอ เปนสวนนอยเกินกวาที่จะมีอิทธิพลตอคะแนนเสียงโดยรวมได 4 Adverse Selection คือ การที่ตลาดอยูในสภาวะลมเหลว หรือทําใหขนาดของตลาดลดลง มีปริมาณการซื้อขายลดลง หรือตลาดอยูใน สภาพที่เรียกวา “ของเลวไลของดี” อันเนื่องมาจากความไมสามารถของขอมูลขาวสาร


เนนวินัยของพรรคสูง 5 ทำใหผูสมัครตองเชื่อฟงพรรคมาก หรือหากจะไมยอมรับโครงสรางดังกลาว และหันมารวบรวมสมัครพรรคพวกที่มีแนวรวมเดียวกันและตั้งพรรคใหมขึ้นมา ก็มีอุปสรรคกีดกัน การเขาตลาดมากมาย ทําใหผูที่จะอยูรอดในตลาดพรรคการเมืองเหลือเพียงแคผูเลนที่มีทักษะทาง การเมืองสูง (Politically Sophisticated) มีเลหเหลี่ยมที่ดี (Machiavellian) 6 และมีวาทศิลป (Rhetoric) เทานั้น ในขณะที่คุณสมบัติดานความรู ความสามารถ ความซื่อสัตยตรงไปตรงมา (Straightforward) ไมไดชวยใหบุคคลคนๆนั้นอยูรอดไดเลยในเวทีการเมือง 7 การวิเคราะหในอันดับตอไป จะเนนไปที่รูปแบบการจัดตั้งรัฐบาลโดยใชทฤษฎีเกมเปน กรอบสําคัญ (Game Theory as Framework for Analysis) เพื่อดูถึงความเปนไปไดที่พรรคการเมืองจะ รวมกันจัดตั้งรัฐบาลในรูปแบบตางๆกัน โดยผูเขียนจะอาศัยขอสมมติ (Assumption) เพิ่มเติมบาง ประการเพื่อใหการวิเคราะหมีความชัดเจนมากขึ้น ขอสมมติประการแรกคือ เรามุงศึกษาถึงพฤติกรรมของพรรคการเมืองเปนหลัก หนวย พื้นฐานในการวิเคราะหจะไมใชระดับปจเจกบุคคลหรือนักการเมืองเพียงคนเดียว (Individual) แต เปนกลุมคนที่รวมตัวกันเปนพรรคการเมือง (Political Party as a Unit for Analysis) ประการที่สองคือ นักการเมืองและนักเลือกตั้ง และกรรมการบริหารพรรคทุกคนในแตละ พรรคการเมืองมีความเปนสัตวเศรษฐกิจ (Economic Man) ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดทางเศรษฐศาสตร ทั่วๆไป นั่นคือ พฤติกรรมในการตัดสินใจเลือกของมนุษยนั้นมุงจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอ ตนเองหรือพรรคตนเอง (Utility Maximization) ภายใตการไตรตรองดวยเหตุผล (Rationality) ในที่นี้ ประโยชนในสายตาของพรรคการเมืองก็คือการไดรับความนิยมจากประชาชนสูงสุดจากเลือกตั้ง และ การไดรับตําแหนงรัฐมนตรีมากที่สุดในการจัดตั้งรัฐบาล และสามารถรักษาภาพพจนที่ดีในสายตา ประชาชนเอาไวใหไดมากที่สุด ประการถัดมา ทุกๆพรรคการเมืองตางมีความปรารถนาจะเปนรัฐบาล ดังนั้นเขาจะใชทุกๆวิธี ในการเจรจาตอรองกับพรรคอื่นๆเพื่อใหไดมาซึ่งสถานะการเปนรัฐบาล และหลีกเลี่ยงการเปนฝาย คานเทาที่สามารถจะทําได ภายใตขอสมมติที่วาทุกๆพรรคการเมืองมีลักษณะกลัวความเสี่ยง (Risk Averse) ดังนั้นเขาจะกระทําการใดๆในแนวทางอนุรักษนิยมเสมอ (Conservative) เพื่อใหมีการ สูญเสียนอยที่สุด นั่นหมายความวาภายใตผลประโยชนที่เทากันเขาจะเลือกเขารวมรัฐบาลกับพรรคที่ มีความเสี่ยงนอยกวา 5

เนื่องจากทฤษฎีประชาธิปไตยสมัยใหมตองการใหพรรคการเมืองมีลักษณะเปนสถาบันทางการเมือง (Political Institution) ที่เขมแข็ง ดังนั้นจึงตองการความเปนเอกภาพ (Unity) สูง 6 คํานี้มีที่มาจาก Machiavelli นักปรัชญาการเมืองชาวอิตาลี ผูเขียนหนังสือเรือ่ ง The Prince ที่กลาวถึงคุณสมบัติตางๆที่ผูปกครอง ประเทศควรจะมีและไมควรจะมี ประการหนึ่งเขาสนับสนุนใหผูปกครองมีลักษณะหนาไหวหลังหลอก 7 ดังนั้นผูเขียนจึงมีความเห็นวาการเรียกรองใหนักการเมืองมีคุณธรรมจึงเปนเรื่องที่เสียสติ (Absurd) เพราะเปนปญหาเชิงโครงสรางที่ ทําใหคนดีอยูไมได และที่สําคัญคือนักการเมืองก็เปนเพียงปุถุชนที่มีกิเลสไมตางจากเจาตัวคนทีก่ ําลังเรียกรองคุณธรรม แตถาหากเราได ผูที่มีคุณธรรมก็เปนเรื่องดี ถือเปนขอยกเวนที่จะไมเกิดขึน้ บอย ดังนั้นสิ่งที่สังคมตองการคือนักการเมืองที่มีความรับผิดชอบ (Accountability) มากกวา นั่นคือเมื่อทําผิดตองยอมรับความผิด แสดงสปริตดวยวิธีตางๆ ซึ่งตองอาศัยแรงกดดันจากภาคสังคมดวย


ประการสุดทายคือ การเลือกตั้งอยูภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (Parliamentary System) ซึ่งประกอบไปดวยทั้งฝายรัฐบาลและฝายคาน ดังนั้นทุกๆพรรคไมสามารถ เปนผูจัดตั้งรัฐบาลพรอมกันไดทั้งหมด และโดยทั่วไปแลวในโลกจะพบวาพรรคที่ไดคะแนนอันดับ หนึ่งและอันดับสองมักจะเปน "คูปรับ" ตลอดกาล เชน พรรคแรงงาน (Labour Party) และพรรค อนุรักษนิยม (Conservative Party) ในอังกฤษ หรือแมจะไมใชระบอบรัฐสภาแตเปนระบอบ ประธานาธิบดีก็มีลักษณะที่ไมตางกัน เชนในอเมริกาคือพรรคเดโมแครตและพรรคริพับลิกัน เปนตน จึงมีขอสมมติอีกวาพรรคอันดับหนึ่งและพรรคอันดับสองจะไมเปนรวมกันเปนรัฐบาลอยางแนนอน หลังจากที่ไดวางขอสมมติเสร็จเรียบรอยแลว ตอไปเราจะลองมาดูกันวา สวนผสมของพรรค ในการจัดตั้งรัฐบาลจะสามารถออกมาในรูปแบบใดไดบาง เรื่องนี้เปนสิ่งที่คนพูดถึงกันมาก และ คาดคะเนไปตางๆนานา ตั้งแตวันที่ 23 ธันวาคม 2550 หลังปดหีบเลือกตั้งไมกี่นาที ผลเอ็กซิท โพล (Exit Poll) ชี้ชัดวา พรรคพลังประชาชนเปนพรรคที่มีคะแนนนําและจะไดเปนพรรคจัดตั้งรัฐบาล เรื่อยมาจนถึงวันที่ กกต.ประกาศผลการเลือกตั้งอยางเปนทางการในวันที่ 25 ธันวาคม 2550 แมวา ณ วันนี้แนวโนมของการจับขั้วจะเริ่มชัดเจนขึ้นแลว แตผูเขียนก็ยังตองการที่จะนําเสนอวิธีการประยุกต เอาทฤษฎีเกมไปใชในการคาดการณ เพื่อลองเพิ่มมุมมองใหมๆ ที่มีลักษณะสหวิทยาการใหกับการ วิเคราะหการเมืองไทย สวนผสมที่ 1 : พรรคประชาธิปตย รวมกับพรรคที่มีคะแนนอันดับ 3 – 7 จัดตั้งรัฐบาลและพรรคพลัง ประชาชนกลายเปนฝายคานพรรคเดียว สวนผสมนี้เปนที่พูดกันหนาหูมากในชวงแรกๆ โดยเฉพาะในชวงกอนการเลือกตั้งไมกี่วัน แตเมื่อผลคะแนนโดยคราวๆออกมาความเชื่อนี้ก็เริ่มซา แตก็ยังมีคนยืนยันวาเปนไปไดอยูไมนอย พรรครัฐบาล : 165 + 37 + 24 + 9 + 7 + 5 = 247 เสียง พรรคฝายคาน : 233 เสียง รูปแบบนี้พรรคฝายคานจะมีความเขมแข็งมาก เพราะเปนพรรคเดียวคือพลังประชาชน ขณะที่รัฐบาลจะเปนรัฐบาลผสม ที่มีคะแนนเสียงเกินครึ่งหนึ่งมาแบบปริ่มๆ นั่นคือเกินมา 7 คน หาก รวมกันไดสําเร็จ ความเสี่ยงก็ยังไมหมดไป เนื่องจากในการออกเสียงในสภาเพื่อผานมติตางๆ รัฐบาล จะเสียงแตกไมไดเลย และตองมาใหครบองคประชุมทุกครั้ง ซึ่งนาจะลําบากแนนอนในภายภาคหนา แตกอนจะไปถึงขั้นนั้นเรามาลองดูกันวาในขั้นแรกคือการรวมขั้วกัน จะมีความเปนไปไดมากนอย เพียงใด ขอมูลดานลางเปน Pay-off Matrix แสดงจํานวนรัฐมนตรีที่แตละพรรคจะได

พรรคของเรา (พรรคชาติไทย)

เขารวมกับ ปชป. เขารวมกับ พปช.

พรรคอื่น เขารวมกับ ปชป. เขารวมกับ พปช. (6,6) (0,8) (8,0) (4,5)


ภายใตการวิเคราะหดวยทฤษฎีเกม จํานวนโควตารัฐมนตรีที่แตละพรรคจะไดรับจัดสรรคือ ตัวแปรสําคัญ ดังนั้นวิธีการประมาณคา Pay-off ในตารางดานบนนี้จึงควรจะมีความสมเหตุสมผล พอสมควร เพราะจะสงผลตอผลลัพธของเกมสดวย ในที่นี้จะใชวิธีการอยางงายนั่นคือ การเทียบ บัญญัติไตรยางศ จํานวนรัฐมนตรีทั้งหมดมี 35 ตําแหนงคงที่ สวนตําแหนงรองนายกรัฐมนตรีเปนตัวแปรที่ไม คงที่ไมสามารถคาดการณจํานวนที่แนนอนได จึงเห็นวาไมควรจะนํามาคิดรวมดวย อยางไรก็ตาม รัฐมนตรีอาจเปนคนภายนอกก็ได ดังนั้นตัวเลขจึงอาจคลาดเคลื่อนไดเล็กนอย จํานวน ส.ส. รวมที่จะกอตั้งรัฐบาลมี 247 เสียง จํานวนรัฐมนตรี 35 คน จํานวน ส.ส. พรรคประชาธิปตยมี 165 คน

ไดโควตา

จํานวน ส.ส. พรรคชาติไทยมี 37 คน

ไดโควตา

จํานวน ส.ส. พรรคเพื่อแผนดินมี 24 คน

ไดโควตา

จํานวน ส.ส. พรรครวมใจไทยฯมี 9 คน

ไดโควตา

จํานวน ส.ส. พรรคมัชฌิมาฯมี 7 คน

ไดโควตา

จํานวน ส.ส. พรรคประชาราชมี 5 คน

ไดโควตา

35 × 165 = 23 คน 247 35 × 37 = 6 คน 247 35 × 24 = 3 คน 247 35 × 9 = 1 คน 247 35 × 7 = 1 คน 247 35 × 5 = 1 คน 247

*จุดทศนิยมที่คํานวณไดของทุกพรรคปดเศษลง ยกเวนพรรคชาติไทยซึ่งเปนพรรคอันดับ สองจึงนาจะมีอํานาจตอรองมากที่สุดจึงปดเศษขึ้น เพื่อใหผลรวมเปน 35 คนพอดี ขณะที่หากใชวิธีเดียวกันคํานวณ โดยสมมติใหพรรคพลังประชาชนเปนผูจัดตั้งรัฐบาลเราได วา (ขอไมแสดงการคํานวณอยางละเอียด) พรรคพลังประชาชนไดโควตา 26 คน พรรคชาติไทย 4 คน พรรคเพื่อแผนดิน 2 คน พรรครวมใจไทยฯ พรรคมัชฌิมาฯ และประชาราชแบงกันไปพรรคละ 1 คน ตัวเลขที่คํานวณไดคือคาผลลัพธของแตละกลยุทธใน Pay-off Matrix ดานบน จากตาราง เราจะสมมติตัวเองใหเปนพรรคการเมืองสักพรรคหนึ่ง ในที่นี้จะสมมติเปน พรรคชาติไทย และใหพรรคอื่นๆแทนพรรคเพื่อแผนดิน พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา พรรคมัชฌิมา ธิปไตย และพรรคประชาราช โดยพรรคเราและพรรคอื่นมี 2 ทางเลือกคือ เขารวมกับพรรค ประชาธิปตย หรือเขารวมกับพรรคพลังประชาชน โดยถาหากวาพรรคที่ตนรวมดวยไดเปนรัฐบาล พรรคตนก็จะได โควตารัฐมนตรีดวย ในขณะที่พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา พรรคมัชฌิมาธิปไตย และพรรคประชาราช นั้นไมคอยมีอํานาจตัดสินใจมากนักเพราะไมวาจะไปอยูพรรคใดก็ไดโควตาไม ตางกัน จึงนาจะมีนโยบายตั้งรับ (Passive) เสียมากกวา ตัวแสดงที่สําคัญในเกมจึงเปนพรรคชาติไทย และพรรคเพื่อแผนดินวาจะไปทางใด


หากเปนไปตามสวนผสมที่ 1 คือพรรคเราและพรรคอื่นเขารวมกับพรรคประชาธิปตยเพื่อ จัดตั้งรัฐบาล จะพบวาพรรคเราจะไดรับตําแหนงรัฐมนตรี 6 คน ในขณะที่พรรคอื่นจะไดตําแหนง รวมกัน 6 คนเชนกัน ซึ่งจะมากกวาการที่พรรคเราและพรรคอื่นเขารวมกับพลังประชาชน เพราะ พรรคเราจะไดตําแหนงรัฐมนตรีเพียง 4 คน และพรรคอื่นๆจะไดตําแหนงรัฐมนตรีรวมกัน 5 คน ที่ เปนเชนนี้เนื่องจาก สัดสวนส.ส.ของพรรคขนาดกลางและเล็ก นั้นเปนสัดสวนที่นอยเมื่อเปรียบเทียบ กับพรรคที่เปนแกนนําจัดตั้งรัฐบาล หรืออาจกลาวไดวาพรรคพลังประชาชนมีอํานาจตอรองสูงกวา พรรคประชาธิปตย เนื่องจากมีคะแนนเสียงสูงกวา ทําใหพรรคพลังประชาชนไมตอง “งอ” พรรค ขนาดกลางและเล็กมากนัก เพราะเพียงแคตนไดพรรคเล็กเพียง 1-2 พรรคก็สามารถจัดตั้งรัฐบาลได แลว หากมีพรรคเล็กๆมาตอรองขอตําแหนงรัฐมนตรีมากๆเขา พรรคพลังประชาชนก็อาจจะตอบ ปฏิเสธไปแลวไปรวมกับพรรคอื่นที่ยินดีจะไมตอรองมากก็ยอมได ในขณะที่พรรคประชาธิปตยตอง ใชแรงงอที่สูงกวา เนื่องจากตองการอยางนอยถึง 4 พรรคแรกขึ้นไปจึงจะจัดตั้งรัฐบาลได ทําใหพรรค เล็กๆมีอํานาจตอรองสูง เพื่อใหไดตําแหนงรัฐมนตรีมากๆ หากไมใหตนก็จะไปอยูกับพรรคพลัง ประชาชน ทําใหพรรคประชาธิปตยตองยอมใหตําแหนงรัฐมนตรีที่มากกวา อยางไรก็ตาม แมการที่พรรคเล็กไปรวมกับประชาธิปตยทั้งหมด จะใหผลตอบแทนที่สูงกวา การไปรวมกับพรรคพลังประชาชนทั้งหมด แตถาพรรคอื่นๆพรอมใจกันทิ้งพรรคชาติไทยไปรวมกับ พรรคพลังประชาชนละจะเกิดอะไรขึ้น? แนนอนวาคะแนนของพรรคเรารวมกับพรรคประชาธิปตย จะไดแคเพียง 165 + 37 = 202 เสียงเทานั้น ทําใหไมเพียงพอตอการจัดตั้งรัฐบาลอยางแนนอน ทำให ตําแหนงรัฐมนตรีที่คาดหวังไวกลายเปน 0 ทันที ในขณะที่พรรคอื่นๆอาจจะไดตําแหนงรัฐมนตรี เพิ่มขึ้นจาก 6 คนเปน 8 คนก็ได เนื่องจากไมมีพรรคชาติไทย เขาไปเปนสวนแบง (ตัวหารนอยลง) ในทางกลับกัน หากพรรคเราและพรรคอื่นตกลงกันแลววาจะรวมกับพรรคประชาธิปตย แตเราเปน ฝายหักหลังเสียเองจะเกิดอะไรขึ้น? จะกลายเปนวาพรรคจัดตั้งรัฐบาลจะมี 233 + 37 = 270 เสียง ซึ่ง ในสภาวะแบบนี้พรรคเราจะมีอํานาจตอรองพรรคพลังประชาชนมากขึ้น (เนื่องจากเปนพรรคเดียว ที่มารวมดวย หากไมรับฉันเธอก็จะตองเปนฝายคาน) จึงอาจจะตอรองตําแหนงรัฐมนตรีเพิ่มขึ้นเปน 8 คนก็ได ดังนั้นจะพบวา ไมวาพรรคเราหรือพรรคอื่น ตางก็มีกลยุทธเดนเหมือนกัน นั่นคือการรวมกับ พรรคพลังประชาชน เพราะใหผลตอบแทนที่สูงกวาเสมอไมวาอีกฝายหนึ่งจะรวมกับพรรคใดก็ตาม ยกตัวอยางเชน หากพรรคอื่นรวมกับประชาธิปตย ทางเลือกที่ดีที่สุดของเราคือรวมกับพลังประชาชน เพราะจะไดตําแหนงรัฐมนตรีมากกวา (8 > 6) หรือหากพรรคอื่นรวมกับพลังประชาชนทางเลือกที่ดี ที่สุดของเราก็คือรวมกับพรรคพลังประชาชนเชนกัน (4 > 0) หรือในทางกลับกัน หากพรรคเรารวม กับประชาธิปตย ทางเลือกที่ดีที่สุดของพรรคอื่นคือรวมกับพรรคพลังประชาชน (8 > 6) หรือหาก พรรคเรารวมกับพรรคพลังประชาชน ทางเลือกที่ดีที่สุดของพรรคอื่นคือรวมกับพรรคพลังประชาชน เชนกัน (5 > 0)


เกมลักษณะนี้เรียกวา Prisoner’s Dilemma ที่แตละฝายไมไวใจกัน และการเลือกทางเลือกที่ กาวราว (Assertive) จะทําใหผลประโยชนของตนสูงกวา ทั้งที่หากทั้งคูเชื่อใจกัน ไมหักหลังกันจะได ผลตอบแทนที่สูงสําหรับทั้งสองฝาย นั่นคือจุด (6,6) ซึ่งมีประสิทธิภาพแบบพาเรโต (Pareto’s Efficiency) แตเนื่องจากเวทีการเมืองทุกคนตองการผลประโยชนสูงสุด จากเดิมตกลงกันวาจะรวมกับ ประชาธิปตย แตเมื่อตางฝายตางกลัวความเสี่ยง และเห็นวาการไปรวมกับพลังประชาชนจะได ผลตอบแทนมากกวาและไมเสี่ยง หากพรรคเราและพรรคอื่นคิดเชนนี้พรอมกัน ผลสุดทายจึงไปตกอยู ตรงขอสรุปที่วา “ทุกๆพรรคจะรวมกับพรรคพลังประชาชน” และพรรคประชาธิปตยจะเปนฝายคาน พรรคเดียว ณ จุด (4,5) ซึ่งเปนดุลยภาพแบบแนช (Nash Equilibrium) สวนผสมที่ 2 : มีบางพรรคเทานั้นที่ยินดีจะไปรวมกับพรรคพลังประชาชน และพรรคอื่นๆที่เหลือไม ยินดีรวมดวยและหันมารวมกับประชาธิปตยแทน สวนผสมนี้อาจจะออกมาหลายรูปแบบ เชน พรรคพลังประชาชนรวมกับพรรคชาติไทยและ พรรคเพื่อแผนดิน สวนพรรคที่เหลือรวมกับพรรคประชาธิปตย เปนตน ซึ่งพรรครัฐบาลจะมีคะแนน เสียงรวมกัน 294 เสียง และพรรคฝายคานมี 186 เสียง ซึ่งก็มีความเปนไปไดวาพรรคชาติไทยจะจับมือ กับพรรคเพื่อแผนดินเปนพันธมิตรกัน แตไมไดรวมพรรคกัน นั่นคือ เธอจะไปอยูกับใครฉันจะไป ดวย (อาจเปรียบไดกับ Cartel ในทางเศรษฐศาสตร) ซึ่งจะการรวมเปนพันธมิตรอาจชวยสรางอํานาจ ตอรองตอพรรคพลังประชาชนที่มากขึ้นได เนื่องจากพรรคพลังประชาชนเองก็อาจไมตองการให พรรครวมรัฐบาลมีจํานวนมากเกินไปก็เปนได (มีมากๆก็ปวดหัวกับการแบงสรรผลประโยชนใหลง ตัว) แตสิ่งที่พรรคพลังประชาชนตองยอมแลกก็คือ ยอมสละเกาอี้รัฐมนตรีที่จะตองแบงสรรไปให พรรคชาติไทยและเพื่อแผนดินใหมากขึ้นเพื่อเปนแรงจูงใจ กลาวคือ ถาพรรคพลังประชาชนไมชอบ ใหมีพรรครวมรัฐบาลมากๆ ก็จะมีตนทุนที่สูงขึ้นคือตองยอม “งอ” 2 พรรคนี้มากขึ้น เพราะทั้งสอง พรรคมีเสียงรวมกันถึง 61 เสียง แตอยางไรก็ตาม เกมแหงการตอรองอาจพลิกผันไดถาพรรคพลังประชาชนมีความรูสึก “หวง” เกาอี้รัฐมนตรีมากกวา และหันไปรวมกับพรรคที่เล็กกวาแทน นั่นคือพรรครวมใจไทยฯ พรรค มัชฌิมาธิปไตย และพรรคประชาราชที่มีอํานาจตอรองนอยกวา (เพราะสามพรรครวมกันไดเพียง 21 เสียงเทานั้น แตก็เพียงพอสําหรับจัดตั้งรัฐบาลแลว) ดังนั้นหากพรรคเพื่อแผนดินและพรรคเพื่อ แผนดินเลนตัวมากเกินไป (ขอโนนขอนี่มากเกินไป) อาจจะตองกลายเปนฝายคานโดยไมรูตัว แสดง ไดดังตารางขางลางนี้ (ตัวเลข Pay-off Matrix ปรับปรุงจากกรณีที่พรรคพลังประชาชนเปนรัฐบาล)

พรรคชาติไทย

ตอรองมาก ตอรองนอย

พรรคเพื่อแผนดิน ตอรองมาก ตอรองนอย (0,0) (0,3) (4,2) (5,0)


หากทั้งสองพรรคตอรองมากเกินไป จะตองกลายเปนฝายคาน สงผลใหไมไดตําแหนง รัฐมนตรีเลย (0,0) หากเกิดสภาวะเชนนี้ผูที่ตอรองนอยกวาจะไดเปรียบ เชนพรรคเพื่อแผนดินยอม ตอรองใหนอยลง ขณะที่พรรคชาติไทยยังยืนกรานจะตอรองตอไป ผลก็คือการรวมตัวกันจะลมเหลว เนื่องจากความตองการไมตรงกันเสียแลว (Cartel จะสําเร็จก็ตอเมื่อสมาชิกทุกคนมีนโยบายไปในทาง เดียวกัน) และพรรคที่ยังตอรองมากๆจะตองกลายเปนฝายคานไปและไมมีตําแหนงรัฐมนตรี นั่นคือ จุด (0,3) ทําใหพรรคชาติไทยไมไดโควตารัฐมนตรีเลย ขณะที่พรรคเพื่อดินแยกตัวไปรวมกับพรรค พลังประชาชน และพรรคอื่นๆก็จะเขามารวมดวยเปนรัฐบาล 278 เสียง หรือหากเปนไปในทาง กลับกันก็คือจุด (5,0) เปนตน หากอาศัยขอสมมติที่วา พรรคตองการเปนรัฐบาล พรรคไมชอบความ เสี่ยง และพรรคตองการตําแหนงรัฐมนตรีสูงสุดแลว จุดดุลยภาพก็คือทั้งพรรคชาติไทยและพรรคเพื่อ แผนดินจะตองตอรองพรรคพลังประชาชนใหนอยลง จึงจะใหความพึงพอใจสูงสุด ดังนั้นเกม ลักษณะนี้ผูที่ชนะคือผูที่ยืนกรานตอรองมากเกินไป โดยมีผลตอบแทนที่จุด (4,2) สวนผสมที่ 3 : พรรคพลังประชาชนจะเปนฝายจัดตั้งรัฐบาลรวมกับพรรคอื่นๆที่เหลือ ปลอยใหพรรค ประชาธิปตยเปนฝายคานพรรคเดียว จากที่เราไดลองอาศัยทฤษฎีเกมในการวิเคราะหไปแลวในสวนผสมแรก บนพื้นฐานของขอ สมมติที่ไดกลาวไวแลว จะพบวาพรรคพลังประชาชนมีความไดเปรียบอยูเสมอนั่นคือ พรรคขนาด กลางและเล็กจะเขามารวมรัฐบาลกับพรรคพลังประชาชนในทายที่สุด สวนผสมที่ 3 จึงเปนสวนกลับ ของสวนผสมที่ 1 นั่นเอง นั่นคือ พรรครัฐบาล: 233 + 37 + 24 + 9 + 7 + 5 = 315 เสียง พรรคฝายคาน: 165 เสียง หากเราจะลองสมมติใหเกมนี้ตอไปอีก ใหเปนเกมที่มีการผลัดกันเลน (Sequential Game) จากเดิมที่เราใชเกมรูปแบบที่ผูเลนทุกคนตัดสินใจพรอมกัน สมมติใหมีผูเลน 2 กลุมคือ กลุม A แทน พรรครวมใจไทยฯ พรรคมัชฌิมาฯ และพรรคประชาราชรวมกัน และกลุม B แทนพรรคชาติไทยและ พรรคเพื่อแผนดินรวมกัน โดยให A ไดเปนผูตัดสินใจกอนวาจะรวมกับพรรคการเมืองใด (3,6)

รวมกับ พปช. รวมกับ พปช.

B

รวมกับ ปชป. (3,0)

A

รวมกับ พปช. รวมกับ ปชป.

B

(0,6)

รวมกับ ปชป. (3,9)


รูปดานบนเปนแผนภาพแบบ Extensive Form ที่ยังคงใชคา Pay-off ที่ไดคํานวณเอาไวเมื่อ ตอนแรก ในเกมนี้เราจะพบวาการใชยุทธวิธีการขู (Threats) ก็เปนอีกหนึ่งทางเลือกที่สามารถทําได เชนกัน โดยพรรคกลุม B อาจจะวางเงื่อนไขบางประการเพื่อขูวา หากพรรคพลังประชาชนไมกระทํา ตามนี้ เขาจะไมยอมเขารวมรัฐบาล หรืออาจจะบอกวาหากไมไดคนของพรรคตนเองเปนส.ส. กระทรวงบางกระทรวงก็จะไมยินยอมเชนกัน แตคำขูของพรรคชาติไทยนั้นขาดความนาเชื่อ (Noncredibility) เพราะหากพรรคกลุม A ตัดสินใจรวมกับพลังประชาชนจริงๆแลว ทางเลือกที่ดีที่สุดของ กลุมพรรค B ก็คือการเขารวมกับพลังประชาชนเชนกัน หากจะยังยืนยันตามที่ไดประกาศไวก็จะ พลาดโอกาสเปนรัฐบาลไป (อยาลืมวาขอสมมติของเราคือทุกพรรคตองการเปนรัฐบาล) ยิ่งกวานั้น พรรคพลังประชาชนอาจโตตอบกลับดวยการประกาศวา ตนสามารถจัดตั้งรัฐบาลไดแลว ซึ่งเปนการ ประกาศที่มีความนาเชื่อถือ (Credibility) มากกวา เพื่อกดดันพรรคชาติไทยใหลดการตอรองลง ดังนั้น จากแผนภาพดังกลาว ทางเลือกที่ดีที่สุดของพรรคชาติไทยก็คือ การเขารวมกับพรรคพลังประชาชน เสียตั้งแตแรก ขณะเดียวกันถากลุมพรรค A ตัดสินใจรวมกับพรรคประชาธิปตย ทําใหกลุมพรรค B มี แนวโนมที่จะรวมกับพรรคประชาธิปตยเชนกันเนื่องจากมีโอกาสไดจัดสรรโควตาในจํานวนที่สูงกวา ดังนั้นพรรคพลังประชาชนเองสามารถแกลําไดดวยการเพิ่มตําแหนงรัฐมนตรีจากเดิม 6 ใหสูงขึ้นกวา 9 ตําแหนง เพื่อจูงใจใหกลุมพรรค B เขารวมจัดตั้งรัฐบาลไดเชนกัน และกลยุทธนี้พรรคประชาธิปตย ไมสามารถนํามาใชดึงดูดใจกลุมพรรค B เมื่อกลุมพรรค A จะเขารวมกับพลังประชาชนได เพราะการ ดึงกลุมพรรค B มากลุมเดียวนั้นไมเพียงพอแกการจัดตั้งรัฐบาล จากกรอบวิเคราะหทฤษฎีเกม จึงพอจะสรุปไดวา พรรคใดก็ตามที่มีคะแนนเสียงนําพรรค อันดับสองในระดับที่พอสมควร แตไมเกินครึ่งของจํานวน ส.ส. จะเปนผูไดเปรียบเสมอไมวาจะเลน เกมในรูปแบบใดก็ตาม ดังนั้น ไมวาเกมจะออกมาในรูปแบบใดก็ตาม โอกาสที่พรรคพลังประชาชน จะเปนผูจัดรัฐบาลรวมกับพรรคที่เหลือ ยกเวนพรรคประชาธิปตย มีอยูสูงมาก แตอยางไรก็ตาม ความ เสี่ยง (Uncertainty) ของเกมก็มีอยูเชนกัน คนสวนใหญมองวาใบเหลือง-ใบแดง จากกกต. จะเปน ประเด็นสําคัญ ที่ดูเหมือนวาพรรคพลังประชาชนจะโดนเพงเล็งประเด็นนี้มากที่สุด ใบเหลืองนั้นไม นาจะเปนปญหาเพราะหากมีการเลือกตั้งใหมในเขตใด พรรคดั้งเดิมที่ชนะไปกอนหนานี้ก็จะไดเปนผู ชนะอีกครั้งอยางไมตองสงสัย แตสําหรับใบแดงนั้นหมายถึงการตัดสิทธิผูสมัครในเขตนั้นไปเลย 8 ความผิดสวนใหญก็เปนประเด็นเรื่องการซื้อสิทธิขายเสียง อีกประการหนึ่งก็คือเรื่องความผิดระดับ

8

ผูเขียนมีความเห็นวา การใหใบแดงกับส.ส.ที่มีความผิดนั้น อาจเปนการกระทําที่ขัดกับหลักประชาธิปไตยไดในบางกรณี ในเรื่อง ความเปนตัวแทนของประชาชน เพราะเมื่อการใหใบแดงผูสมัครที่ไดคะแนนเปนลําดับถัดมาจะไดขึ้นเปนส.ส. แทน ซึ่งบุคคลดังกลาว ไมใชตัวแทนที่เปนความตองการของประชาชนในเขตนัน้ จริงๆ (อาจจะไดคะแนนเสียงประมาณ 15-25% ของประชากรในเขตนั้น เทานั้น) ทางเลือกที่ดีกวาคือเปดโอกาสใหพรรคการเมืองที่มีผูสมัครที่โดนตัดสิทธิในเขตนั้น ไดสงผูสมัครคนใหมเขาแขงขันดวย เปน การตัดสิทธิที่คน ไมใชที่พรรค


พรรค ซึ่งอาจเปนเหตุใหยุบพรรคนั้นๆได ดังนั้นผลการคาดการณโดยทฤษฎีเกมจึงอยูภายใตภาวะ ความไมแนนอน และอาจคลาดเคลื่อนไปจากนี้ได ทฤษฎีเกมนั้นมีขอจํากัดที่สําคัญประการหนึ่งนั่นคือ “ตัวละครที่เราวิเคราะหจะตองมีความ สมเหตุสมผล” นั่นคือการตัดสินใจจะตองมีแบบแผน รูจักเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดดวยการตัดสินใจบน หลักเหตุผล ไมอาศัยอารมณความรูสึก 9 และมีขอมูลขาวสารที่คอนขางดี ซึ่งการนําเอามาวิเคราะหกับ การเมืองจึงอาจใหผลลัพธที่ไมตรงกับความเปนจริงเสมอไป เนื่องจากการเมืองเปนสภาพที่มีคานิยม อุดมการณ อคติ และการเลือกที่รักมักที่ชัง อีกทั้งยังมีขอจํากัดมากมายในการตัดสินใจ เชน เงื่อนไข เวลา ผลประโยชนภายในกลุมการเมืองของพรรคที่ขัดแยงกันและคนภายนอกไมรู และกิจกรรมการ ตัดสินใจหลายๆอยางก็มักเปนความลับ ดวยขอจํากัดดังกลาว การนําเอาทฤษฎีเกมไปใชอธิบาย การเมืองในระดับแนวโนมกวางๆ หรือการคาดการณโดยสังเขป จึงจะเหมาะสมกวา

9

ทฤษฎีเกมโดยอาศัย Nash Equilibrium บางครั้งไมเปนจริงหากผูเลนมีลักษณะ “ถาฉันไมได ก็อยาหวังวาคุณจะได” หรือ “ฉันไมยอม ใหใครไดมากกวาฉันเปนอันขาด” ลักษณะเชนนี้ไมสมเหตุสมผลเพราะทางทฤษฎีเกมถือวา ผลประโยชนของตนเองเทานั้นที่สําคัญ ที่สุด โดยไมสนใจวาคนอื่นจะไดผลประโยชนมากหรือนอยกวาเรา ขอใหเราไดมากที่สุดเปนพอ ทั้งที่ในความเปนจริงคนเรา เปรียบเทียบตนเองกับผูอื่นอยูบอยครั้ง บางคนเราก็พอใจมากกวาที่เห็นตนเองและคูแขงไมไดประโยชนอะไรเลย ดีกวาที่จะเห็นตนเอง ดอยกวาหรือไดนอยผลตอบแทนกวา ดังนั้นถาเกมเปนลักษณะนี้ควรใช Maximin Equilibrium จะเหมาะสมกวา


เอกสารและหนังสืออางอิง Pindyck, Robert S. and Rubinfeld, Daniel E. (2005). Microeconomics, (6th ed.), International Edition, Prentice-Hall. ชยันต ตันติวัสดาการ. เอกสารประกอบคําบรรยาย วิชา ศ.311 เรื่องทฤษฎีเกม. คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร, 2541. ชลิดาภรณ สงสัมพันธ. คําบรรยายในหองเรียนวิชา ร.211 ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตร. คณะ รัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (3 ธันวาคม 2550) นรินทร โอฬารกิจนันท. เอาตัวรอดดวยทฤษฎีเกม. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเดคิซูกิ ดอท เน็ท, 2549. นิพนธ พัวพงศกร. เอกสารประกอบคําบรรยาย วิชา ศ.311 เรื่องทฤษฎีเกม (ตอนใหม). คณะ เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2537. รังสรรค ธนะพรพันธุ. คูมือการเมืองไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพคบไฟ, 2544. วิไลวรรณ วรรณนิธิกุล. เอกสารประกอบคําบรรยาย วิชา ศ.481 เรื่องกรอบแนวคิดเศรษฐศาสตร อุตสาหกรรมดั้งเดิม. คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2548. สุพรรณี ชะโลธร. ภูมิศาสตรการเมือง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2539. สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.). ผลการเลือกตั้งอยางเปนทางการ. (25 ธันวาคม 2550)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.