คำอธิบายเรียงมาตรา กม การทวงหนี้ โดย ทค.เดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ

Page 1

เชิญทนายความที่สนใจ Download

คาอธิบายเรียงมาตรา พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดย ทค. เดชอุดม ไกรฤทธิ์

(ประมาณ ๑๘๑ หน้า) หมายเหตุ ยังรอการประกาศใช้กฎกระทรวงที่จะออกตามพระราชบัญญัตินี้ เพิ่มเติมให้สมบูรณ์

L:\Boss\สว-กฎหมาย\กม-การทวงหนี\้ คาอธิบาย กม.การทวงหนี-้ 25-11-58.doc


๑๒

คานา การเขียนคาอธิบายกฎหมายการทวงถามหนี้เล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการเผยแพร่การ บังคับใช้กฎหมายในรูปแบบของการสร้างวินัยให้สังคมไทยสาหรับผู้ประกอบกิจการทวงถาม หนี้เป็นปกติธุระ สืบเนื่องจากพฤติกรรมทวงหนี้ที่ผ่านมาหลายสิบปี ฝ่ายลูกหนี้จะเป็นผู้ถูกกระทา และเสียเปรียบในเรื่องของความเข้าใจในเงื่อนไข ข้อยกเว้นในทางสัญญาที่ถูกนาไปใช้จนเกิดความ ไม่เป็นธรรมมากขึ้น ซึ่งเป็นเหตุผลสาคัญของหลักการการเสนอกฎหมายพระราชบัญญัติการทวง ถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ ฉบับนี้ อี ก ประการหนึ่ งของการเขี ย นก็ คือ การเรีย บเรีย งที่ ได้ ผู ก โยงกั น กั บ การอภิ ป รายใน ความเห็ น ทางกฎหมายของกรรมาธิ ก าร และสมาชิ ก สภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ งชาติ เพื่ อ ให้ เห็ น เจตนารมย์ ข องผู้ ย กร่างบทมาตราที่ เกี่ ย วข้ อ ง ซึ่ งนอกจากจะเป็ น ประโยชน์ แ ก่ ก ารศึ ก ษา กฎหมายแล้ว ยังเป็นประโยชน์ต่อทนายความ นักกฎหมายที่สนใจการร่างกฎหมาย การเสนอ ญัตติและการอภิปรายก่อนที่จะมีการลงมติแต่ละขั้นตอนจนออกมาเป็นกฎหมายบังคับใช้ด่วน ขอขอบคุณในข้อมูลข่าวสารของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในทุกขั้นตอนของกฎหมายและ ท่านทุกท่านที่มีชื่อปรากฎในการเสนออภิป รายและอนุมัติร่างกฎหมายฉบับนี้ ขอให้เป็นกุศลที่ดี งามบังเกิดแก่ทุกผู้ทุกนาม ทค. เดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘

L:\Boss\สว-กฎหมาย\กม-การทวงหนี\้ คาอธิบาย กม.การทวงหนี-้ 25-11-58.doc


สารบัญ หน้า

พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ ความเป็นมา ข้อดีของพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ พฤติการณ์การทวงหนี้นอกระบบ (ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย) กฎหมายต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง (๑) สหรัฐอเมริกา (๒) ประเทศออสเตรเลีย (๓) ประเทศอังกฤษ หลักการและเหตุผล มาตรา ๑ ชื่อพระราชบัญญัติ มาตรา ๒ วันที่ประกาศใช้ มาตรา ๓ คานิยาม มาตรา ๔ ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมวดที่ ๑ การทวงถามหนี้ (มาตรา ๕ - มาตรา ๑๔) มาตรา ๕ กรณีการจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ มาตรา ๖ กรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เป็นทนายความหรือสานักงานทนายความ มาตรา ๗ คณะกรรมการสภาทนายความและสภานายกพิเศษรายงานการดาเนินการ มาตรา ๘ ข้อควรปฏิบัติในการสอบถามจากบุคคลอื่นและข้อห้ามในการทวงถามหนี้ มาตรา ๙ ข้อควรปฏิบัติในการทวงถามหนี้ มาตรา ๑๐ ผู้ทวงถามหนี้ออกหลักฐานการชาระหนี้ มาตรา ๑๑ ข้อห้ามทวงถามหนี้ในลักษณะต้องห้าม มาตรา ๑๒ ข้อห้ามผู้ทวงถามในลักษณะที่เป็นเท็จ มาตรา ๑๓ ข้อห้ามผู้ทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เป็นธรรม มาตรา ๑๔ ข้อห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ มาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐

หมวดที่ ๒ การกากับดูแลและตรวจสอบ (มาตรา ๑๕ – มาตรา ๓๓) องค์ประกอบคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ อานาจหน้าที่การกากับดูแลการทวงถามหนี้ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีสัญชาติไทย และไม่มีคุณสมบัติในลักษณะต้องห้าม กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่ง กรณีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ การประชุมของคณะกรรมการ

L:\Boss\สว-กฎหมาย\กม-การทวงหนี\้ คาอธิบาย กม.การทวงหนี-้ 25-11-58.doc

๑ ๒ ๒ ๓ ๖ ๑๐ ๑๐ ๑๑ ๑๑ ๑๑ ๓๖ ๓๗ ๔๐ ๕๙ ๖๑ ๖๙ ๘๓ ๘๙ ๑๐๕ ๑๐๘ ๑๐๘ ๑๑๕ ๑๒๑ ๑๒๘ ๑๒๙ ๑๒๙ ๑๓๐


๒ มาตรา ๒๑ คณะกรรมการมีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ มาตรา ๒๒ องค์ประกอบคณะอนุกรรมการ มาตรา ๒๓ กรณีลูกหนี้ บุคคลอื่นได้รับการปฏิบตั ิจากผู้ทวงถามหนีท้ ี่เป็นการขัดต่อ

๑๓๑ ๑๓๒ ๑๓๓

พระราชบัญญัติ มาตรา ๒๔ คณะกรรมการมีอานาจสั่งบุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง ส่งเอกสารหรือ ๑๓๓ หลักฐาน มาตรา ๒๕ อานาจหน้าที่ของกรมการปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ มาตรา ๒๖ สานักงานเศรษฐกิจการคลังรับเรื่องร้องเรียน และมีอานาจหน้าที่ทวงถามหนี้ของ ผู้ให้สินเชื่อซึ่งเป็นนิติบุคคล มาตรา ๒๗ คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด และกรุงเทพฯ มาตรา ๒๘ อานาจหน้าที่คณะกรรมการทวงถามหนี้ประจาจังหวัดและกรุงเทพฯ มาตรา ๒๙ ที่ทาการปกครองจังหวัดและกองบัญชาการตารวจนครบาลรับผิดชอบงานธุรการ มาตรา ๓๐ สถานที่ร้องเรียนเกี่ยวกับการทวงถามหนี้ มาตรา ๓๑ กรณีนายทะเบียนมีคาสั่งไม่รับจดทะเบียนประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ มาตรา ๓๒ การปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๓๓ พนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๓ มาตรา ๔๔ มาตรา ๔๕

หมวดที่ ๓ บทกาหนดโทษ (มาตรา ๓๔ – มาตรา ๔๕) ส่วนที่ ๑ โทษทางปกครอง (มาตรา ๓๔ – มาตรา ๓๘) โทษฝ่าฝืน กรณีไม่ยอมชาระค่าปรับทางปกครอง นิติบุคคลต้องรับโทษปรับทางปกครอง อานาจสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ สิทธิของผู้ทวงถามหนี้ ส่วนที่ ๒ โทษอาญา (มาตรา ๓๙ – มาตรา ๔๕) กรณีไม่จดทะเบียนประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ กรณีให้เชื่อว่าเป็นทนายความ ถูกยึด/อายัดทรัพย์สิน กรณีข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ให้เข้าใจว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามคาสั่ง ขัดขวาง กรณีผู้ทาความผิดเป็นนิติบุคคล คณะกรรมการเปรียบเทียบ

บทเฉพาะกาล (มาตรา ๔๖ – มาตรา ๔๗) มาตรา ๔๖ กรณีผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้อยู่ก่อนพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ มาตรา ๔๗ รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

๑๓๓ ๑๓๖ ๑๓๘ ๑๔๖ ๑๔๗ ๑๔๙ ๑๕๐ ๑๕๑ ๑๕๒

๑๕๓ ๑๕๕ ๑๕๗ ๑๕๘ ๑๕๙ ๑๖๐ ๑๖๑ ๑๖๑ ๑๖๒ ๑๖๓ ๑๖๔ ๑๖๕ ๑๖๘ ๑๗๐


๓ สรุปประเด็นพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ แผนผังพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ แผนผังการทวงถามหนี้ตามกฎหมาย

๑๗๑ ๑๘๐ ๑๘๑


คาอธิบายเรียงมาตรา พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ ความเป็นมา พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘๑ เสนอโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่มีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ต่อประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ เพื่อให้สภานิติบัญญัติแห่ งชาติพิจารณาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับ ชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ โดยมีหลักการและเหตุผลประกอบร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ดังนี้ “โดยที่มีข้อเท็จจริงปรากฏมาอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับการติดตามทวงหนี้ที่มีการกระทาไม่เหมาะสม และไม่เป็นธรรมต่อลูกหนี้หรือผู้บริ โภค รวมถึงการสร้างความราคาญให้แก่บุคคลที่สามที่ไม่ใช่ลูกหนี้ ซึ่ง ส่งผลกระทบต่อสังคมและสร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนโดยรวมเป็นจานวนมาก และเพื่อเป็นแนว ทางแก้ไขปัญหาและสร้างมาตรฐานในการทวงถามหนี้ที่เหมาะสมและเป็นธรรม อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อผู้ประกอบการ ลูกหนี้หรือผู้บริโภคและบุคคลอื่นใดที่เกี่ยวข้องโดยรวม๒” ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้เสนอร่างพระราชบัญญัติการติดตามทวงถามหนี้ อย่างเป็นธรรม พ.ศ. ... ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งได้ลงมติรับหลักการเมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๕๐ และให้ มีการตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาร่างกฎหมายดังกล่าวและคณะกรรมาธิการวิสามัญได้พิจารณา เสร็จสิ้นแล้ว แต่สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้สิ้นสุดสถานะลงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีผลให้พระราชบัญญัติดังกล่าวไม่ได้รับการพิจารณาในวาระที่ ๒ และวาระที่ ๓ จากนั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกแนวปฏิบัติในการติดตามทวงถามหนี้กับลูกหนี้แก่สถาบัน การเงิน ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ผู้ประกอบธุรกิจบัตรเครดิตที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน และผู้ ประกอบธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกากับที่มิใช่สถาบันการเงินทุกแห่งเมื่ อวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๐ แต่ยังคงเป็นเพียงแนวปฏิบัติที่มิได้มีบทลงโทษแก่ผู้ที่ฝ่าฝืน และไม่ครอบคลุมถึงการกากับดูแลการประกอบ ธุรกิจติดตามทวงถามหนี้ หรือการรับจ้าง หรือรับมอบอานาจจากนิติบุคคลผู้ให้สินเชื่อดังกล่าว กระทรวงการคลังจึงได้เสนอว่าร่าง “พระราชบัญญัติการติดตามทวงถามหนี้อย่างเป็นธรรม พ.ศ. ....” ต่อคณะรัฐมนตรี เมื่อวัน ที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ แก้ปัญหาอันเกิดจากการ ติดตามทวงถามหนี้ และสร้างมาตรฐานในการติดตามทวงถามหนี้ที่เหมาะสม และคณะรัฐมนตรีเห็นชอบใน หลั กการของร่ างพระราชบั ญ ญั ติ ฯ ที่ ก ระทรวงการคลั งเสนอ เมื่ อ วัน ที่ ๑๔ กัน ยายน ๒๕๕๓ และส่ งให้ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาตรวจร่างพระราชบัญญัติฯ เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๖ ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฯ ดังกล่าว ตามที่กระทรวงการคลังขอความเห็นชอบ ซึ่งสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาเรียบร้อยแล้ว ๑

ความเป็ นมา : สภานิติบั ญญั ติแห่งชาติ เอกสารประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญั ติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ... (คณะรักษาความสงบ แห่งชาติ เป็นผู้เสนอ) บรรจุระเบียบวาระการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๗ วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ อ.พ. ๓/ ๒๕๕๗ ความเป็ นมาและข้ อดีข องร่างพระราชบั ญ ญั ติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ... : ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เรียบร้อยโดย นายทิศวิณหุ์ เกียรติทัตต์ วิทยากรชานาญการ กลุ่มงานกฎหมาย ๑ สานักกฎหมาย สานักงานเลขาธิการ วุฒิสภา

L:\Boss\สว-กฎหมาย\กม-การทวงหนี\้ คาอธิบาย กม.การทวงหนี-้ 25-11-58.doc


๒ คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตรวจพิจารณาตามที่กระทรวงการคลังเสนอและได้มีการแก้ไขร่างซึ่งแต่เดิมใช้ชื่อว่า “พระราชบัญญัติการติดตามทวงถามหนี้อย่างเป็นธรรม พ.ศ. ....” เป็น “ร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ...” ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องและครอบคลุมกับสาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับการ ควบคุมและการกากับดูแลการทวงถามหนี้จากนั้นได้ส่งให้คณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎรตรวจ พิจารณาก่อนนาเสนอสภาผู้แทนราษฎรพิจารณา ซึ่งต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ จึงมิได้มีการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฯ นี้ ปัจจุบันร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ ฝ่ายกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมของคณะรักษาความสงบ เรียบร้อยแห่งชาติ (คสช.) ได้พิจารณา และทานาเสนอ คสช. ให้ความเห็นชอบและบรรจุเข้าสู่วาระการประชุม สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตามรัฐธรรมแห่งอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซึ่งสามารถสรุป ข้อดีของพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ฯ ได้ดังนี้

ข้อดีของพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยภาพรวม ๑) มีหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการทวงถามหนี้และการควบคุมการทวงถามหนี้ไว้ เป็นการ เฉพาะ ซึ่งจะเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาและสร้างมาตรฐานในการติดตามทวงถามหนี้ที่เหมาะสมและเป็นธรรม อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ประกอบการ ลูกหนี้หรือผู้บริโภคและบุคคลอื่นใดที่เกี่ยวข้องโดยรวม ๒) มีการกากับดูแลครอบคลุมถึงการประกอบธุรกิจติ ดตามทวงถามหนี้ หรือการรับจ้าง หรือรับมอบ อานาจจากนิติบุคคลผู้ให้สินเชื่อ ๓) มีการกาหนดโทษแก่ผู้ทวงถามหนี้ที่มีพฤติการณ์และการกระทาการทวงหนี้ที่ไม่เหมาะสมและไม่ เป็นธรรมต่อลูกหนี้ ไม่ว่าจะเป็นการใช้ถ้อยคาที่เป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลอย่างรุนแรง การคุกคามโดยการ ขู่เข็ญการใช้กาลังประทุษร้าย หรือการทาให้เสียชื่อเสียง รวมถึงการให้ข้อมูลเท็จและการสร้างความเดือดร้อน ราคาญแก่ผู้อื่น ที่มีทั้งโทษทางอาญาและโทษทางปกครอง ๔) ช่วยลดปัญหาการร้องเรียนการติดตามทวงหนี้อย่างไม่เป็นธรรมให้หมดไปจากสังคมไทย ๕) เป็นการขจัดกลุ่มผู้มีอิทธิพลในการทวงหนี้ได้อีกทางหนึ่ง

พฤติการณ์การทวงหนี้นอกระบบ (ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย)๓ เจ้าหนี้นอกระบบ บางรายอาจใช้วิธีการต่าง ๆ ในการติดตามทวงหนี้เพื่อให้ลูกหนี้เกิดความอับอาย เสื่อมเสียชื่อเสียง เกิดความกลัว ข่มขู่ กรรโชก มีการประทุษร้ายต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สินซึ่งเป็นการกระทาที่ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย พฤติกรรมการทวงหนี้ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย มีดังนี้ ๑. ใช้ผู้มีอิทธิพล กลุ่มหรือแก๊งอันธพาลนอกกฎหมาย หรือบุคคลที่ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง ใช้ชื่อเล่น ชื่อปลอม หรือผู้มีประวัติอาชญากรรม ติดตามทวงหนี้ กดดันให้ลูกหนี้หวาดกลัวจะไม่สามารถทามาหากินได้ ตามปกติ ๒. การทวงหนี้ในที่สาธารณะหรือต่อหน้าผู้อื่นในลักษณะประจานหรือทวงกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ ลูกหนี้ เช่น เพื่อนบ้าน เพื่อร่วมงาน ญาติ ผู้บังคับบัญชา เป็นต้น ๓. การทวงหนี้ด้วยการข่มขู่ กรรโชก หรือใช้อาวุธ เช่น ยิงปืนขึ้นฟ้า ปาระเบิดหน้าบ้านเพื่อข่ มขู่ให้ เกิดความเกรงกลัว ๓

ที่มา : เว็บไซด์ของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม เมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๗


๓ ๔. จ้ า งที ม งานทวงหนี้ เป็ น เยาวชนว่ า งงานไม่ เรี ย นหนั ง สื อ หรื อ เป็ น บุ ค คลติ ด ยาเสพติ ด ใช้ จักรยานยนต์หรือพาหนะอื่นติดตามก่อกวน ให้เกิดความหวาดกลัว ๕. โทรศัพท์ทวงหนี้ในเวลาดึก เช้ามืด หรือโทรทั้งวัน ใช้ถ้อยคาหยาบคาย คุกคาม ด่าทอ ๖. เจ้าหนี้นอกระบบที่พฤติการณ์เป็นองค์กรอาชญากรรม ในการติดตามทวงหนี้กับลูกหนี้จะแสดง อานาจด้วยการข่มขู่หวังผลให้ลูกหนี้รายอื่นหวาดกลัว มีการใช้กาลังประทุษร้ายลูกหนี้หรือผู้เกี่ยวข้องที่ไม่ยอม ชาระหนี้ เช่น ฆ่า ทรมาน ทาร้ายร่างกาย เพื่อข่มขู่ให้ลูกหนี้อื่นเกิดความหวาดกลัว ๗. บังคับชาระหนี้ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี เช่น บังคับให้ลูกหนี้หรือบุคคลใน ครอบครัวร่วมหลับนอน หรือให้ลูกหนี้ชดใช้หนี้ด้วยอวัยวะแทน เช่น ให้ลูกหนี้สละไตเปลี่ยนถ่ายทางการแพทย์ ให้ผู้ป่วยฝ่ายเจ้าหนี้แทนการชาระหนี้ หรือบังคับให้กระทาผิดกฎหมาย เช่ น ค้ายาเสพติด หรือไปประกอบ อาชญากรรมอื่น ๘. แอบอ้างทหารหรือตารวจหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตลอดจนแต่งกายเลียนแบบเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ เช่น แต่งชุดทหาร ตารวจ หรือบางครั้งใช้จ้างวานเจ้าหน้าที่รัฐ (พวกประพฤตินอกรีต) ติดตามทวงหนี้ ๙. ประจานให้ลูกหนี้เสื่อมเสียชื่อเสียงด้วยการเปิดเผยความลับ หรือขู่จะนาเรื่องส่วนตัวมาเปิดเผย ต่อสาธารณชนเพื่อสร้างความอับอายให้กับลูกหนี้ ๑๐. หลอกลวงลูกหนี้โดยอ้างข้อความอันเป็นเท็จ หรือแอบอ้างว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือบุคคลใน กระบวนการยุติธรรม ตลอดจนจัดทาเอกสารเท็จ ปลอมแปลงเอกสาร เช่น หมายศาล หมายจับ คาฟ้อง คา พิพากษา หมายบังคับคดี หรือสัญญากู้ปลอมใช้ในการติดตามทวงหนี้เพื่อให้ลูกหนี้หลงเชื่อและหวาดกลัว ๑๑. เจ้าหนี้หลอกลวงให้ลูกหนี้ทาสัญญาลงวันที่ย้อนหลังไปทาสัญญาประนีประนอมยอมในศาลจน ศาลพิพากษาตามยอม เจ้าหนี้จึงมอบเงิน กู้ให้ ลูกหนี้น้อยกว่า ที่ระบุไว้ในคาพิพากษาเมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้ เจ้ าหนี้ ก็จะน าคาพิพ ากษามาบั งคับ คดีลู กหนี้และผู้ ค้าประกัน เป็นเหตุให้ ลูกหนี้ถูกบังคับคดีห รือยึดอายัด ทรัพย์สิน ๑๒. การด าเนิ น คดีกั บ เจ้ าหนี้ น อกระบบกระท าได้ ยาก เพราะขาดหลั กฐานในการพิสู จน์ความผิ ด เนื่องจากมีพฤติกรรมปกปิด อาพราง วางแผนเอารัดเอาเปรียบมีการจัดพยานหลักฐานไว้ฟ้องร้องดาเนินคดีกับ ลูกหนี้ ตลอดจนใช้ จ้างวาน ให้ผู้อื่นกระทาผิดรวมทั้งลูกหนี้จะหวาดกลัวไม่กล้าแจ้งความร้องทุกข์ ๑๓. เมื่อมีการแจ้งความร้องทุกข์ ตารวจและเจ้าหน้าที่ดาเนินการ บางกรณีเมื่อเห็นข้อมูลหลักฐานที่ เจ้าหน้าที่นามาแสดง จะรีบเชื่อว่าเจ้าหนี้เป็นฝ่ายถูก จึงไม่ให้การช่วยเหลือหรือไม่เห็นในทุกข์ร้อนของลูกหนี้ เป็นการสร้างความเดือดร้อนและความไม่เป็นธรรมให้ลูกหนี้เพิ่มยิ่งขึ้น

กฎหมายต่างประเทศที่เกีย่ วข้อง๔ ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินี้ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ศึกษากฎหมายต่างประเทศ ในส่วนที่เกี่ยวกับการติดตามทวงถามหนี้เพื่อนาข้อมูลมาประกอบการพิจารณา สรุปสาระสาคัญได้ ดังนี้ (๑) สหรัฐอเมริกา ได้มีการกาหนดเรื่องการติดตามทวงถามหนี้ไว้ใน Fair Debt Collection Practices Act of 1977 มี วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองลูกหนี้จากการติดตามทวงถามหนี้ที่ไม่เป็นธรรมและป้องกันไม่ให้เจ้าหนี้หรือผู้ติดตาม ทวงถามหนี้ใช้วิธีการติดตามทวงถามหนี้ที่ไม่เหมาะสมในการละเมิดสิทธิต่างๆ ของลูกหนี้ นอกจากนี้ได้ให้

ที่มา : บันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ... สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


๔ อานาจกับคณะกรรมการค้ากลาง (Federal Trade Commission) ในการควบคุมการติดตามทวงถามหนี้ โดย มีสาระสาคัญ ดังนี้ ๑.๑ การติดตามทวงถามหนี้ที่ได้รับความคุ้มครอง หนี้ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองภายใต้ ก ฎหมายฉบั บ นี้ จ ะต้ อ งเกี่ ย วข้ อ งกั บ การด าเนิ น ชีวิตประจาวันโดยปกติของลูกหนี้ เช่น หนี้ที่เกิดจากการติดต่อทางการซื้อขายสินค้าประกัน บริการต่าง ๆ ของ บุคคลหรือครอบครัว แต่ไม่รวมถึงหนี้ที่เกิดขึ้นจากการกู้ยืมธนาคารหรือสถาบันการเงิน หนี้ภาษี ค่าปรับ ค่า เลี้ยงดูสามีหรือภริยาในกรณีหย่าร้าง ค่าเลี้ยงดูบุตร หรือสิทธิเรียกร้องอันเกิดจากการกระทาละเมิด สาหรับลูกหนี้ที่จะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายจะต้องเป็นบุคคลธรรมดาเท่านั้น ส่วน เจ้าหนี้และผู้ติดตามทวงถามหนี้อาจจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ และให้หมายความรวมถึงลูกจ้าง หุ้นส่วนบริษัทในเครือธุรกิจของเจ้าหนี้ที่มิได้ใช้ชื่อตนเอง รวมถึงทนายความหรือสานักงานกฎหมายที่รับจ้าง ติดตามทวงถามหนี้ในนามของเจ้าหนี้ด้วย ๑.๒ ข้อปฏิบัติในการติดตามทวงถามหนี้ กฎหมายฉบับนี้ได้กาหนดข้อปฏิบัติในกาคติดตามทวงถามหนี้เพื่อคุ้มครองลูกหนี้จากการ ติดตามทวงถามหนี้อย่างไม่เป็นธรรมไว้สามเรื่อง ดังนี้ ๑.๒.๑ การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับลูกหนี้จากบุคคลอื่น ในการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับลูกหนี้จากบุคคลอื่น ผู้ติดตามทวงถามหนี้จะต้องแจ้ง รายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับตนเองให้บุคคลนั้นทราบ ในกรณีผู้ติดตามทวงถามหนี้ทราบว่าลูกหนี้ได้แต่งตั้ง ทนายความโดยทราบชื่อและที่อยู่ของทนายความ ผู้ติดตามทวงถามหนี้จะต้องไม่ติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่น นอกจากทนายความของลูกหนี้ เว้นแต่ว่าจะมีความผิดพลาดในการติดต่อสื่อสารกับทนายความ หรือได้รับ อนุญาตจากลูกหนี้หรือได้รับอนุญาตจากศาลเท่านั้น๕ ๑.๒.๒ การติดต่อสื่อสารเพื่อการติดตามทวงถามหนี้ หากผู้ติดตามทวงถามหนี้ทราบว่าลูกหนี้ได้แต่งตั้งทนายความและทราบชื่อและที่ อยู่ของทนายความ ผู้ติดตามทวงถามหนี้จะต้องไม่ติดต่อสื่อสารกับลูกหนี้นอกจากทนายความ เว้นแต่ว่าจะมี ความผิ ดพลาดในการติดต่อสื่ อสารกับทนายความหรือได้รับอนุญ าตจากลู กหนี้ห รือได้รับอนุญาตจากศาล เท่านั้น สาหรับการติดต่อสื่อสารกับบุ คคลอื่น ผู้ติดตามทวงถามหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับ ตนเองให้บุคคลนั้นทราบด้วย๖ ๑.๒.๓ การแจ้งให้ชาระหนี้ การแจ้งให้ลูกหนี้ ชาระหนี้สามารถกระทาได้หลังจากพ้ นระยะเวลาห้าวัน นับแต่ วันที่ได้ติดต่อสื่ อสารกับ ลู กหนี้ เป็ นครั้งแรก ในการแจ้งให้ ช าระหนี้ จะต้องทาหนังสื อส่ งไปยังลูกหนี้ โดยมี เนื้ อหาที่ร ะบุ ถึงจ านวนของหนี้ ชื่อเจ้ าหนี้ รายงานการเงิน และผลบั งคับ ของหนี้ ซึ่งหากลู กหนี้ มีข้อโต้ แย้ง ประการใดจะต้องแจ้งเป็นหนังสือภายในสามสิบวัน หลังจากนั้นผู้ติดตามทวงถามหนี้ต้องหยุดการติดตามทวง ถามหนี้ไว้จนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าหนี้นั้นมีผลบังคับได้จริงหรือได้จัดส่งชื่อและที่อยู่ของเจ้าหนี้ให้กับลูกหนี้ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว๗

๕ ๖ ๗

Section 806 Fair Debt Collection Practices Act 1977 Section 805 Fair Debt Collection Practices Act 1977 Section 809 Fair Debt Collection Practices Act 1977


๕ ๑.๓ ข้อห้ามปฏิบัติในการติดตามทวงถามหนี้ ๑.๓.๑ การสืบเสาะหาข้อมูลเกี่ยวกับลูกหนี้ มีข้อห้ามดังนี้๘ ๑) ไม่กล่าวถึงการที่ลูกหนี้เป็นหนี้ใด ๆ กับบุคคลภายนอก ๒) ไม่ติดต่อสื่อสารกับบุคคลใด ๆ เกินกว่ าหนึ่งครั้ง นอกจากบุคคลนั้นจะร้องขอ หรือมีเหตุผลอันน่าเชื่อได้ว่าการตอบรับในครั้งก่อนเกิดความผิดพลาด และบุคคลนั้นมีข้อมูลเกี่ยวกับลูกหนี้ ที่ สมบูรณ์ ๓) ไม่ติดต่อโดยทางไปรษณียบัตร ๔) ไม่ใช้ภาษาหรือสัญลักษณ์บนซองวัตถุที่บ่งชี้ได้ว่าเป็นบุคคลที่อยู่ในธุร กิจการ ติดตามทวงถามหนี้ ๑.๓.๒ การติดต่อสื่อสารในการติดตามทวงถามหนี้๙ ๑) การติดต่อสื่อสารกับลูกหนี้ ผู้ติดตามทวงถามหนี้ จะต้องไม่ติดต่อสื่อสารกับ ลูกหนี้ในเวลาหรือสถานที่ที่รู้หรือควรจะรู้ได้ว่าลูกหนี้จะไม่ได้รับความสะดวกรวมถึงในสถานที่ประกอบการ ของลูกหนี้ ๒) ผู้ติดตามทวงถามหนี้จะต้องไม่ติดต่อสื่อสารกับลู กหนี้ ถ้าลู กหนี้ปฏิเสธที่จะ ชาระหนี้เป็นหนังสือหรือประสงค์จะให้ผู้ติดตามทวงถามหนี้หยุดการติดต่อสื่อสาร ๑.๓.๓ การแจ้งให้ชาระหนี้ ๑) ผู้ติดตามทวงถามหนี้จะต้องไม่กระทาใด ๆ ที่นามาซึ่งการคุกคาม บังคับ การ ใช้วิธีการติดตามทวงถามหนี้ในทางที่ผิดเพื่อการติดต่อสื่อสารหรือในการติดตามทวงถามหนี้ เช่น การใช้หรือ การคุกคามว่าจะใช้ความรุนแรง หรือจะกระทาความผิดทางอาญา การกระทาที่เป็นการอนาจาร หรือการดู หมิ่น การโฆษณารายชื่อลูกหนี้ที่ปฎิเสธการชาระหนี้ การใช้โทรศัพท์เพื่ อสนทนาซ้าแล้วซ้าอีกหรือต่อเนื่องเพื่อ รบกรวนหรือคุกคาม ๒) ผู้ติดตามทวงถามหนี้จะต้องไม่ใช้การปลอมหรือหลอกลวงในการติดตามทวง ๑๐ ถามหนี้ เช่น การแสดงออกโดยหลอกหลวงว่ามีการรับรองโดยรัฐหรือข้อผูกพันกับประเทศหรือมลรัฐใดๆ การแสดงออกโดยปลอมลักษณะ จานวน สถานะทางกฎหมายของหนี้ว่าได้เริ่มขึ้นแล้ว การแสดงออกโดย หลอกลวงว่าเป็นทนายความหรือเป็นการติดต่อจากทนายความ การแสดงออกว่าหากไม่ชาระหนี้จะมีผลทาให้ เกิดการยึดทรัพย์สิน หรือจับกุม จาคุก หรือขายทรัพย์สินหรืออายัดเงินเดือน ยกเว้นการกระทานั้นจะชอบด้วย กฎหมายและผู้ ติดตามทวงถามหนี้ มีเจตนาที่จะกระทาการนั้น การแสดงออกว่าผู้ติดตามทวงถามหนี้ห รือ บุคคลภายนอกจะดาเนินคดี ยกเว้นการดาเนินคดีดังกล่าวเป็นการชอบด้วยกฎหมายและน่าจะเป็นไปได้ว่าจะมี การดาเนิน คดีเกิดขึ้น การแสดงออกโดยหลอกลวงในการขาย การส่งของที่จะเป็นเหตุให้ลูกหนี้สูญเสียข้อ เรียกร้องหรือข้อต่อสู้ หรือกลายเป็นผู้กระทาผิดในวิธีปฏิบัติในการติดตามทวงถามหนี้ การแสดงออกว่าลูกหนี้ ได้กระทาผิดอาญา การกระจายข้อมูล หรือขู่ว่าจะกระจายข้อมูลเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือทางการเงินไปยัง บุคคลใด ๆ ซึ่งรู้หรือควรจะรู้ว่าเป็นเท็จ การแสดงออกที่ผิดพลาดหรือการให้ข้อมูลปลอม ๓) ผู้ติดตามทวงถามหนี้จะต้องไม่ปฏิบัติการโดยไม่เป็นธรรม หรือไม่มีเหตุผลใน ๑๑ การติดตามทวงถามหนี้ เช่น ก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายต่อบุคคลเกี่ยวกับค่าติดต่อสื่อสารโดยปิดบังวัตถุประสงค์ของ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑

Section 804 Fair Debt Collection Practices Act 1977 Section 805 Fair Debt Collection Practices Act 1977 Section 807 Fair Debt Collection Practices Act 1977 Section 808 Fair Debt Collection Practices Act 1977


๖ การติดต่อ การกระทาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือขู่ว่าจะกระทาการนั้นที่มีผลกระทบต่อการยึดทรัพย์ หรือการ ทาให้สิทธิในทรัพย์สินหมดลง ๔) ผู้ติดตามทวงถามหนี้จะต้องไม่จัดหา ออกแบบหรือรวบรวมมาให้ซึ่งแบบฟอร์ม ที่หลอกลวงที่จะนามาสร้างความเชื่อถือที่ผิด ๆ กับลูกหนี้ว่ามีบุคคลภายนอกได้เข้ามามีส่วนร่วมในการติดตาม ทวงถามหนี้ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วบุคคลนั้นไม่ได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องด้วย๑๒ ๑.๔ บทกาหนดโทษ หากผู้ติดตามทวงถามหนี้กระทาการฝ่าฝืนข้อปฏิบัติหรือข้อห้ามในการติดตามทวงถามหนี้ แล้ว จะต้องชดใช้ค่าเสียหายที่แท้จริงและค่าเสียหายเพิ่มเติมให้กับลูกหนี้ โดยการกาหนดจานวนความรับผิด ทางแพ่ง ศาลต้องพิจารณาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และในกรณีที่เป็นการฟ้องคดีรายบุคคลโดยศาลจะ พิจารณาจานวนครั้งและความต่อเนื่องของการไม่ปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายในการติดตาม ทวงถามหนี้ซึ่งต้องเป็นการกระทาโดยจงใจ และพิจารณาถึงทรัพย์สินของผู้ติดตามทวงถามหนี้และจานวน ค่าเสียหายที่ลูกหนี้จะได้รับผลกระทบ อย่ า งไรก็ ต าม ผู้ ติ ด ตามทวงถามหนี้ อ าจไม่ ต้ อ งรั บ ผิ ด ในการฝ่ า ฝื น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ภ ายใต้ พระราชบัญญัติฉบับนี้ หากผู้ติดตามทวงถามหนี้มีพยานหลักฐานว่าการฝ่าฝืนนั้นเป็นไปโดยไม่จงใจและเป็น ความผิดพลาดโดยสุจริต นอกจากนี้ ศาลยังอาจพิจารณาให้ลูกหนี้สามารถเรียกร้องค่าเสียหายทางจิตใจ ความ เสียหายเพื่อการทาให้เสียเกียรติ การลาบากใจความทุกข์ทรมานทางจิตใจ ความเศร้าโศกทางอารมณ์ที่บุคคล ได้รับและค่าเสียหายเชิงลงโทษได้ด้วย๑๓ ส่วนการฟ้องร้องเพื่อให้รับผิดตามพระราชบัญญัตินี้ต้องยื่นฟ้องภายในเวลาหนึ่งปีนับจาก วันที่กระทาการฝ่าฝืนพระราชบัญญัตินี้ ๑.๕ คณะกรรมการตามกฎหมาย ในสหรั ฐ อเมริ ก าคณะกรรมการควบคุ ม การติ ด ตามทวงถามหนี้ โดยตรง คื อ Federal Trade Commission (คณะกรรมการการค้ากลาง) ทาหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติตามข้อปฏิบัติและข้อห้ าม ปฏิบัติในการติดตามทวงถามหนี้ภายใต้พระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่จะมีกฎหมายอื่นกาหนดให้อยู่ในอานาจหน้าที่ ของหน่วยงานอื่น ในส่วนของการควบคุมการติดตามทวงถามหนี้ คณะกรรมการการค้ากลางมีหน้าที่จะต้อง วินิจฉัยข้อร้องเรียนว่ามีการฝ่าฝืนกฎหมายหรือไม่ นอกจากนี้ คณะกรรมการการค้ากลางยังมีหน้า ที่ต้องทา รายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ตลอดจนคาแนะนาเกี่ยวกับการบังคับใช้พระราชบัญญัติ ฉบับนี้เสนอต่อรัฐสภาปีละครั้งด้วย๑๔ (๒) ประเทศออสเตรเลีย ประเทศออสเตรเลีย มิได้กาหนดมาตรการควบคุมการติดตามทวงถามหนี้อย่างไม่เป็นธรรมไว้เป็น กฎหมายเฉพาะ แต่ได้ มีการน าบทบั ญ ญั ติเกี่ยวกับ การคุ้มครองผู้ บริโภคตาม Trade Practices Act 1974 (กฎหมายว่ า ด้ ว ยวิ ธี ป ฏิ บั ติ ท างการค้ า ค.ศ. ๑๙๗๔) และ Australian Securities and Investment Commission Act ๒๐๐๑ (กฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการหลักทรัพ ย์และการลงทุน ค.ศ. ๒๐๐๑) โดยมี คณะกรรมการแข่ งขั น และคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โภค (Australian Competition and Consumer Commission) และคณะกรรมการหลักทรัพย์และการลงทุนตามกฎหมายดังกล่าวกากับดูแลและควบคุมการคุ้มครองผู้บริโภค (Australian Securities and Investments Commission) ซึ่งจะมีเนื้อหาครอบคลุ มทั้งในส่ วนของผู้ ไ ด้รับ ๑๒ ๑๓ ๑๔

Section 812 Fair Debt Collection Practices Act 1977 Section 813 Fair Debt Collection Practices Act 1977 Section 814 Fair Debt Collection Practices Act 1977


๗ ความคุ้ ม ครอง ข้ อ ปฏิ บั ติ แ ละข้ อ ห้ ามปฏิ บั ติ ในการติ ด ตามทวงถามหนี้ ความรับ ผิ ด และการควบคุ ม โดย คณะกรรมการซึ่งแนวปฎิบั ติดังกล่ าวมีวัตถุประสงค์เพื่อการสนับสนุนให้ มีการติดตามทวงถามหนี้โดยการ กระทาอย่างสุภาพรวมถึงให้ความช่วยเหลือแก่ลูกหนี้ที่ประสบกับภาระทางการเงินอันจะทาให้ความสามารถใน การชาระหนี้ของลูกหนี้ลดลงซึ่งจะมีผลทาให้เจ้าหนี้ไม่ได้รับชาระหนี้ ๒.๑ ขอบเขตการให้ความคุ้มครอง ลูกหนี้ จ ะได้รับ ความคุ้มครองจากมูลหนี้ทุ กประเภทรวมถึงหนี้ที่มีการรับโอนมาเพื่อให้ ติดตามทวงถามหนี้ด้วย ไม่ว่าจะเป็นการรับโอนโดยการขายหรือเป็นผู้แทนของเจ้าหนี้ไม่ว่าวิธีใด ๆ ในฐานะที่ เป็นสิทธิของเจ้าหนี้ สาหรับลูกหนี้ที่จะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายจะเป็นบุคคลหน่วยงานทางธุรกิจ หรือ นิติบุคคลที่เป็นหนี้หรือถูกกล่าวหาว่าเป็นหนี้ ส่วนผู้ติดตามทวงถามหนี้ที่อยู่ภายใต้การควบคุม หมายถึง บุคคลที่ติ ดตามทวงถามหนี้ใน หน่วยของธุรกิจ รวมถึงเจ้าหนี้ ผู้ติดตามทวงถามหนี้อิสระ ผู้รับโอน ตัวแทน ทนายความและบุคคลใด ๆ ที่ ติดตามทวงถามหนี้ในนามของคนอื่น๑๕ ๒.๒ ข้อปฏิบัติในการติดตามทวงถามหนี้ ๒.๒.๑ การติดต่อในการติดตามทวงถามหนี้ ๑) เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้ต้องติดต่อกับลูกหนี้เพื่อวัตถุประสงค์อันสมควร และจาเป็นเท่านั้น และต้องไม่เป็นการติดต่อที่มีลักษณะเป็นอันตรายคุกคาม หรือทาให้ลูกหนี้ต้องอับอายต่อ บุคคลอื่น นอกจากนี้ เจ้าหนี้ห รือผู้ติดตามทวงถามหนี้จะต้องติดต่อกับลูกหนี้ในเวลาที่เหมาะสม เช่น ห้าม ติดต่อในวันหยุดนักขัตฤกษ์ ห้ามติดต่อหลังเวลา ๒๑.๐๐ นาฬิกา เว้นแต่มีเหตุอันสมควร๑๖ ๒) การติดต่อโดยตรงซึ่งหน้า อาจกระทาได้หากลูกหนี้ปฏิเสธหรือไม่ตอบรับการ ติดต่อสื่อสารโดยทางอื่น หรือตามที่มีกฎหมายกาหนดไว้ หากลูกหนี้ได้แต่งตั้งผู้แทน เช่น ที่ปรึกษาทางการเงิน ทนายความ ผู้ปกครองหรือ ผู้ดูแล เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้ต้องไม่ติดต่อกับลูกหนี้โดยตรงหลังจากที่รู้หรือควรรู้ว่ามีการแต่งตั้ง ผู้ แทนแล้ ว เว้น แต่ ห ากไม่มีก ารตอบรับ จากผู้ แทนภายในระยะเวลาอัน ควรหรือการตั้งผู้ แทนไม่ช อบด้ ว ย กฎหมายหรือเป็นการตั้งผู้แทนที่ไม่เกี่ยวข้องกับหนี้หรือลูกหนี้มีความประสงค์ให้ติดต่อกับตนโดยตรง๑๗ ๓) ถ้าเจ้าหนี้และหรือผู้ติดตามทวงถามหนี้ไม่สามารถแสดงให้เห็นถึงความรับผิด ของลูกหนี้ตามกฎหมายได้ หรือถ้าบุคคลภายนอกแจ้งว่าไม่ประสงค์ที่จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับลูกหนี้ เจ้าหนี้หรือ ผู้ติดตามทวงถามหนี้ต้องหยุดการติดต่อกับลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกจนกว่าจะพิสูจน์ความรับผิดของลูกหนี้๑๘ ๔) ถ้าลูกหนี้ปฏิเสธความรับผิดในหนี้ เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้อาจติดต่อ กับลูกหนี้เป็นหนังสือหรือดาเนินการตามกฎหมายกับลูกหนี้ได้ โดยการติดต่อกับลูกหนี้ทางหนังสือนั้น ต้อง เป็นไปเพื่อกล่าวถึงสิทธิเรียกร้องของลูกหนี้หรือเพื่อเสนอแนวทางระงับข้อพิพาทที่เกิดขึ้น๑๙

๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙

Australian Competition and Consumer Commission, Australian Securities and Investment Commission, Debt collection guideline for collectors and creditors, http://www.acc.gov.au, October 2005 อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๘-๑๑) อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๑๙-๒๐) อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๓๒) อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๒๕)


๘ ๒.๒.๒ ข้อปฏิบัติอื่น ๆ ในการติดตามทวงถามหนี้ ๑) เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้ ต้องรักษาข้อมูลส่วนตัวของลูกหนี้ เว้นแต่อาจ เปิ ดเผยข้อมูล เหล่ านั้ น ได้ห ากมีเหตุผ ลที่ เหมาะสมและจาเป็นเพื่ อวัตถุป ระสงค์ในการติดตามทวงถามหนี้ เท่านั้น๒๐ ๒) หากมีการร้องขอของลูกหนี้ ผู้ติดตามทวงถามหนี้ต้องจัดหาข้อมูลและเอกสาร ให้แก่ลูกหนี้ เช่น ในกรณีที่เป็นหนี้เกี่ยวกับผู้บริโภคหรือหนี้บัตรเครดิต เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้ต้อง จัดหารายงานการเงินของจานวนหนี้ รายงานการชาระหนี้ ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียมและค่าปรับ รวมถึงสาเนา หนังสือสัญญาและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และหากมีข้อผิดพลาดในการจัดหาข้อมูลดังกล่าว อาจถือว่าเป็น การกระทาที่หลอกลวงให้เข้าใจผิดหรือเป็นการกระทาที่ไม่สมเหตุผลก็ได้๒๑ ๓) เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้ ต้องไม่เพิกเฉยต่อข้อเรียกร้องหรือข้อโต้แย้ง ของลูกหนี้ โดยเจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้ต้องดาเนินการภายในเวลาอันสมควรเพื่อให้มีการพิจารณาข้อ เรียกร้องหรือข้อโต้แย้งนั้น๒๒ ๔) เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้ต้องติดตามทวงถามหนี้โดยกระทาสุภาพ เป็น ธรรมและเกิดผลได้จ ริง โดยอาจมีการเจรจาต่อรองเพื่ อให้ ลู กหนี้ช าระหนี้ ห รืออาจให้ ความช่วยเหลื อทาง การเงินอันสมควรแก่ลูกหนี้เพื่อค่าใช้จ่ายในการดารงชีพรวมถึงการผ่อนเวลาชาระหนี้ หรือแบ่งการชาระหนี้ ให้แก่ลูกหนี้๒๓ ๒.๒.๓ ข้อห้ามปฏิบัติในการติดตามทวงถามหนี้ ๑) การใช้ ก าลั ง บั ง คั บ หรื อ การรบกวนที่ ไ ม่ เ หมาะสมหรื อ การบั ง คั บ ที่ ไ ม่ ๒๔ เหมาะสม การใช้กาลังบังคับ หมายถึง การใช้ความรุนแรงหรือใช้กาลัง หรือกรณีที่อาจถือ ได้ว่าเป็นความผิดทางอาญา การรบกวนที่ไม่เหมาะสม อาจเกิดขึ้นเมื่อเจ้าหนี้พยายามที่จะกดดันลูกหนี้ อย่ างต่ อ เนื่ อ งให้ ช าระหนี้ โดยไม่ จ าเป็ น ต้ อ งถึ งขนาดเป็ น การกระท าความผิ ด กฎหมายก็ ได้ การบั งคั บ จึ ง หมายความรวมถึงการบังคับหรือคุกคามหรือการบังคับให้ปฎิเสธทางเลือกของลูกหนี้ เช่น เจ้าหนี้หรือผู้ติดตาม ทวงถามหนี้ต้องปฏิบัติต่อลูกหนี้โดยต้องไม่ใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสม ไม่กระทาการดูหมิ่นลูกหนี้ในลักษณะที่ทาให้ ลูกหนี้ได้รับความอับอาย ไม่กระทาการก้าวร้าวหรือคุกคาม ไม่ข่มขู่ว่าจะใช้กาลังบังคับลูกหนี้หรือบุคคลอื่น๒๕ ๒) การหลอกลวงให้เข้าใจผิด๒๖ เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้อาจหลอกลวงให้ลูกหนี้เข้าใจผิดได้แม้ไม่ตั้งใจ ก็ตาม ซึ่งในบางกรณีเจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้อาจต้องเปิดเผยข้อมูลที่เชื่อถือได้เพื่อหลีกเลี่ยงว่าเป็นการ หลอกลวงให้เข้าใจผิด (ก) เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้ต้องไม่แสดงตนโดยไม่เป็นจริง เช่น ต้องไม่ระบุ ว่าตนเป็นทนายความหรือทางานให้กับทนายความหรือเจ้าหน้ าที่ของรัฐ ตารวจหรือศาลซึ่งไม่เป็นความจริง ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖

อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๙-๑๐) อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๒๑) อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๓๘) อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๒๖) Section 60 Trade Practices Act 1974 and Section 12DJ Australian Securities and Investment Commission Act 2001 อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๓๑, ๔๒-๔๓) Section 52(1) Trade Practices Act 1974 and Section 12DJ Australian Securities and Investment Commission Act 2001


๙ รวมถึงกระทาการหลอกลวงให้เข้าใจผิดในรูปของเอกสารข้อความ สัญลักษณ์ใด ๆ หรือรูปแบบหรือสิ่งอื่นอัน คล้ายคลึงกันว่าเป็นของบุคคลดังกล่าว๒๗ (ข) เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้ต้องไม่แสดงออก โดยหลอกลวงเกี่ยวกับหนี้ ผลของการไม่ช าระหนี้ ไม่ข่มขู่ หรือทาให้ กลัวว่าจะเกิดผลทางกฎหมายหากไม่ชาระหนี้ หากกระบวนการ ดังกล่าวไม่อาจเกิดขึ้น เช่น การกล่าวเป็นนัยว่าจะมีการยึด อายัด ทรัพย์สิน เงินเดือน หรือผลประโยชน์อื่น ๆ ของลูกหนี้หรือบุคคลที่ใกล้ชิดกับลูกหนี้ หรือลูกหนี้ต้องรับผิดในค่าธรรมเนียม ค่าปรับที่เพิ่มขึ้น หรือจะมีการ รายงานหนี้ดังกล่าวกับศูนย์ข้อมูลความน่าเชื่อถือทางการเงิน รวมถึงการกล่าวเป็นนัยว่าหากลูกหนี้ไม่ชาระหนี้ จะมีความรับผิดทางอาญา หรือจะดาเนินคดีอาญากับลูกหนี้๒๘ ๓) การกระทาอันไม่สมเหตุผล๒๙ เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้มีความพยายามที่จะใช้อิทธิพลที่ไม่เหมาะสมหรือ กดดันหรือใช้วิธีการที่ไม่ยุติธรรมกับลูกหนี้ เช่น เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้อาศัยข้อด้อยของลูกหนี้ในการ ติดตามทวงถามหนี้ เช่น ความไม่สามารถกระทาการต่างๆ การขาดการศึกษา อายุของลูกหนี้ ความยากจน ความอ่อนแอ ความมึนเมา การไม่ได้รับการอธิบายและช่วยเหลือเมื่อจาเป็น๓๐ ๒.๒.๔ ความรับผิด เจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้ซึ่งฝ่าฝืนข้อปฏิบัติหรือข้อห้ามปฏิบัติในการติดตาม ทวงถามหนีจ้ ะต้องรับผิดดังนี้ ๑) ค่ าปรั บ กรณี ที่ เป็ น การกระท าอั น เป็ น การใช้ ก าลั งบั งคั บ การรบกวนที่ ไม่ เหมาะสม การบังคับที่ไม่เหมาะสม การหลอกลวงให้เข้าใจผิด หรือการกระทาอันไม่สมเหตุสมผล ๒) คาสั่งทางแพ่ง เช่น การออกคาสั่งควบคุมพฤติกรรมในอนาคต หรือคาสั่งทาง แพ่งที่ไม่เป็ น การลงโทษโดยเฉพาะ การโฆษณาแก้ไขพฤติกรรม หรือการลงโทษทางอาญาโดยเฉพาะการ โฆษณาที่เป็นผลร้ายแก่ตน ๓) ค่าเสียหายหรือคาสั่งศาล ลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกที่ได้รับความเสียหายที่ เป็นผลมาจากการกระทาของเจ้าหนี้หรือผู้ติดตามทวงถามหนี้มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายภายใต้กฎหมายนี้ และ ลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกมีสิทธิที่จะเรียกร้องศาลให้มีคาสั่งอื่น ๆ เพื่อบรรเทาความเสียหายแก่ตนได้๓๑ ๒.๒.๔ การควบคุมโดยคณะกรรมการ ประเทศออสเตรเลี ยมี ห น่ ว ยงานที่ มีอ านาจควบคุม การติด ตามทวงถามหนี้ คื อ Australian Competition and Consumer Commission (ACCC) แ ล ะ Australian Securities and Investments Commission (ASIC) โดยมี อ านาจหน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบช่ ว ยเหลื อ ลู ก หนี้ จ ากการกระท าที่ ไม่ เหมาะสม โดยจัดหาบริการที่จาเป็นและผู้เชี่ยวชาญในการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน รับผิดชอบควบคุมหนี้ เกี่ยวกับบัตรเครดิต หนี้เกี่ยวกับบ้าน ครอบครัว หนี้ส่วนบุคคล หนี้ที่มีการชาระหนี้ผ่านคนกลาง เช่น การผ่อน ช าระรถยนต์ หรื อของใช้ภ ายในบ้ าน หนี้ ค่าธรรมเนียมส าหรับ การปรึกษาให้ ความช่วยเหลื อทางการเงิน ประกันภัยและอื่น ๆ รวมถึงการกระทาที่ไม่เหมาะสมที่เกี่ยวกับการติ ดตามทวงถามหนี้ รวมถึงการกระทาที่ หลอกลวงให้ เข้ าใจผิ ด เกี่ ย วกั บ หนี้ ๓๒ นอกจากนั้ น ยั งมี ห น้ าที่ รายงานวิธี ป ฏิ บั ติ ในการติ ด ตามทวงถามหนี้ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒

อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๑๐, ๓๖-๓๗) อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๑๐, ๓๓-๓๕) Part IVA Trade Practices Act 1974 and Part 2, subdivide C Australian Securities and Investment Commission Act 2001 อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๓๐-๓๑, ๔๖) อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๔๘) อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕ (หน้า ๔๙)


๑๐ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างและวิธีปฏิบัติในการติดตามทวงถามหนี้ในปัจจุบัน และรวบรวมผลตอบรับหลังจากมี การให้คาปรึกษาเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติในการติดตามทวงถามหนี้แล้ว (๓) ประเทศอังกฤษ ประเทศอังกฤษมิได้กาหนดมาตรการควบคุมการติดตามทวงถามหนี้ไว้เป็นกฎหมายเฉพาะ แต่ได้มี การนาบัญญัติเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคตาม Consumer Credit Act 1974 (กฎหมายว่าด้วยสินเชื่อของ ผู้บริโภค ค.ศ. ๑๙๗๔) และ Data Protection Act 1998 (กฎหมายว่าด้วยการปกป้องข้อมูล ค.ศ. ๑๙๙๘) โดยมาตรา ๕๕ ของ Data Protection Act 1998 กาหนดว่าการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุ คคลโดยปราศจากการ ยินยอมของหน่วยงานที่เก็บข้อมูลอยู่ถือว่าเป็นการกระทาที่ผิดกฎหมาย โดยในส่ ว นของ Consumer Credit Act 1974 ได้ ก าหนดให้ Office of Fair Trading อั น เป็ น หน่วยงานภายใต้สังกัด กาหนดแนวปฏิบัติของการติดตามทวงถามหนี้ (Debt Collection Guidance) เพื่อ เป็นมาตรฐานให้ผู้ติดตามหนี้กระทาการทวงถามหนี้อย่างเป็นธรรมแก่ลูกหนี้ โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้ ๓.๑ กาหนดว่าการติดต่อทวงถามหนี้ด้วยวิธีการที่ถือว่าเป็นการทวงถามหนี้อย่างไม่เป็นธรรม เช่น เจตนาที่จะใช้เอกสารให้มีความเหมือนหรือคล้ายกับเอกสารทางราชการของศาล ให้ข้อมูล ที่ทาให้ลูกหนี้ เกิดความเข้าใจผิดหรือใช้ประโยชน์จากความไม่รู้ของลูกหนี้ หรือผู้ทวงถามหนี้ที่ติดต่อกับลูกหนี้โดยไม่แสดงตัว ให้ชัดเจนว่าเป็นใคร หรือทางานให้ใคร หรือหน้าที่คืออะไร หรือวัตถุประสงค์ในการติดต่อคืออะไร หรือใช้ ถ้อยคาทางกฎหมายหรือทางเทคนิคที่ไม่มีความจาเป็น เช่น ใช้คาภาษาลาตินหรือติดต่อลูกหนี้ในเวลาที่ไม่ เหมาะสม เป็นต้น ๓.๒ การแสดงตนที่ทาให้ ลูกหนี้เข้าใจผิด ด้วยวิธีการ เช่น การอ้างว่าเป็นเจ้าหน้าที่จากศาล หรือการใช้สัญลักษณ์หรือตราที่ทาให้เข้าใจผิดว่าเป็นเอกสารของรัฐบาล เป็นต้น ๓.๓ การรบกวนหรือรังควาญ ด้วยวิธีการ เช่น การติดต่อลูกหนี้ในเวลาที่ไม่เหมาะสม หรือไม่ แจ้งลูกหนี้เมื่อได้มีการเปลี่ยนหนี้ของลูกหนี้ไปสู่เจ้าหนี้รายใหม่ หรือขู่ว่าจะทาการเปิดเผยรายละเอียดของการ เป็นหนี้ของลูกหนี้ให้แก่บุคคลที่สาม หรือกระทาให้ลูกหนี้ได้รับความอับอายต่อบุคคลที่สามจากการเป็นหนี้ เช่น ไม่ปิดซองจดหมายทวงถามหนี้อันทาให้บุคคลอื่นอาจเปิดอ่านได้ เป็นต้น ๓.๔ การเรียกเก็บค่าใช้จ่ ายในการทวงถามหนี้ ด้วยวิธีการที่ถือว่าไม่เป็นธรรมต่อลูกหนี้ เช่น การเรียกเก็บค่าใช้จ่ายจากลูกหนี้นอกเหนือจากที่กาหนดในสัญญา หรือทาให้ลูกหนี้เกิดความเข้าใจผิดว่าตนมี ความรับผิดตามกฎหมายที่ต้องจ่ายค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม เป็นต้น ๓.๕ การพบลูกหนี้จะต้องไม่กระทาการด้วยวิธีการ เช่น ทวงถามหนี้ต่อตัวลูกหนี้ โดยที่ทราบว่า ในขณะนั้นลูกหนี้ป่วย หรือทวงถามหนี้ต่อลูกหนี้ซึ่งอยู่ในภาวะจิตใจที่ไม่ปกติ เช่น มีปัญหาสุขภาพจิ ต หรือเข้า ไปในเคหสถานของลูกหนี้โดยมิชอบ รวมถึงการไม่ออกจากสถานที่ของลูกหนี้เมื่อได้มีการแจ้งแล้ว หรือติดต่อ ทวงถามหนี้ต่อหน้าลูกหนี้ในสถานที่ที่ไม่เหมาะสม เช่น ที่ทางานหรือโรงพยาบาล เป็นต้น

หลักการ สมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการทวงถามหนี้

ข้อสังเกต เหตุผลความจาเป็นในการเสนอร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ....๓๓ เนื่องจากว่าได้มีปรากฏสภาพข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นทั้งในอดีตที่ผ่านมาแล้วก็จนถึงปัจจุบันเกี่ยวกับการ ทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เหมาะสมเกี่ยวกับพฤติกรรมในเรื่องของการใช้ถ้อยคาที่เป็นการละเมิดสิทธิส่วน ๓๓

ข้อสังเกต ๑ นายอรรถพล อรรถวรเดช กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถาม หนี้พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗


๑๑ บุคคลไปจนถึงการใช้ความรุนแรงต่อผู้ที่เป็นลูกหนี้ทั้งการใช้กาลังแล้วก็การทาให้กระทบต่อชื่อเสียง ร่างกาย แล้ ว ก็ ท รั พ ย์ สิ น ก่อ ให้ เกิ ด ความเดื อ ดร้ อ นร าคาญไม่ เพี ย งแต่ เฉพาะลู ก หนี้ รวมไปถึ งบุ ค คลอื่น คนที่ ส ามที่ เกี่ยวข้องด้วย แล้วก็ในปัจจุบันนี้ยังไม่ได้มีกฎหมายที่กาหนดหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขในการดูแลการทวง ถามหนี้เป็นการเฉพาะ ที่มีก็เป็นเพียงจะหลักเกณฑ์บ้างก็เป็นเพียงแนวปฏิบัติที่ธนาคารแห่งประเทศกาหนด สาหรับคนที่เป็น สถาบัน การเงิน หรือว่า Non - bank ที่อยู่ในความดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทยก็เป็น เพียงแนวปฏิบัติ แต่ว่าก็ยัง ไม่ได้มีบทลงโทษอย่างชัดเจน ทางกระทรวงการคลังก็จึงเสนอร่างกฎหมายฉบับนี้ ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

เหตุผล โดยที่การทวงถามหนี้ในปัจจุบันมีการกระทาที่ไม่เหมาะสมต่อลูกหนี้ไม่ว่าจะเป็นการใช้ถ้อยคาที่เป็น การละเมิดสิ ทธิส่ว นบุ คคลอย่ างรุน แรง การคุกคามโดยขู่เข็ญ การใช้กาลั งประทุษร้าย หรือการท าให้ เสี ย ชื่อเสียงรวมถึงการให้ข้อมูลเท็จตลอดจนการสร้างความเดือดร้อนราคาญให้แก่บุคคลอื่น ประกอบกับปัจจุบัน ยังไม่มีกฎหมายที่กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการทวงถามหนี้และการควบคุมการทวงถามหนี้ไว้ เป็นการเฉพาะ สมควรมีกฎหมายในเรื่องดังกล่าว มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘”

คาอธิบาย เป็นชื่อของกฎหมายที่เป็นทางการที่ต้องมีและกาหนดไว้สาหรับกฎหมายทุกฉบับ

ข้อสังเกต ชื่อพระราชบัญญัติมีความหมายอย่างกว้าง มุ่งประสงค์ที่จะครอบคลุมการทวงถามหนี้ในรูปแบบของผู้ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ครอบคลุมทุกประเภทหนี้ ตัวอย่างของกฎหมายต่างประเทศที่ผู้ยกร่างได้นามาเป็น ข้ออ้างอิงเปรียบเทียบคือของประเทศออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกานั้น เริ่มต้นจากการขยายการบังคับใช้ กฎหมายการแข่ งขั น ทางการค้ า และกฎหมายพาณิ ช ย์ ธุ รกิ จ (Trade Practice Act 1974) ซึ่ งต่ อ มาได้ รั บ พัฒนาการมาเป็นกฎหมายแข่งขันทางการค้า และคุ้มครองผู้บริโภค ค.ศ. ๒๕๑๐ และได้รับพัฒนาการมาเป็น กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคและการค้าที่เป็นธรรม ค.ศ. ๒๐๑๒ ซึ่งในสหรัฐอเมริกาก็เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับ การทวงถามหนี้ที่เป็นธรรม ค.ศ. ๑๙๗๘ และโดยเฉพาะของสหรัฐอเมริกานั้นใช้อย่างมีข้อจากัดกับเรื่องของ ผู้บริโภคเช่นเดียวกันคือเรื่องของการทวงหนี้ส่วนบุคคล และหนี้ที่เกี่ยวกับเรื่องครัวเรือนเท่านั้น มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

คาอธิบาย กฎหมายนี้กากับดูแลการทวงถามหนี้ทั้งในระบบและนอกระบบ โดยคุ้มครองเฉพาะลูกหนี้ที่เป็น บุคคลธรรมดาเท่านั้น ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนที่ ๑๖ ก/หน้า ๑/๖ มีนาคม ๒๕๕๘ ใช้บังคับวันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘


๑๒

ข้อสังเกต ในกรณีที่ร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ฯ๓๔ ประกาศบังคับใช้อาจถือได้ว่าเป็นการยอมรับการให้ สิ น เชื่ อ นอกระบบซึ่ งเป็ น การกระท าที่ ผิ ด กฎหมาย ดั งนั้ น คณะกรรมาธิก ารวิส ามั ญ จึงควรพิ จ ารณาร่ าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ฯ อย่างละเอียดรอบคอบและควรพิจารณาว่าร่า งพระราชบัญญัติการทวงถาม หนี้ ฯ จะสามารถบั งคั บ ใช้ ใช้ระดับใด ทั้งนี้ เนื่องจากผู้ ให้สิ นเชื่อนอกระบบอาจไม่ให้ ความสนใจในการจด ทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เท่าที่ควร มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ผู้ทวงถามหนี้” หมายความว่า เจ้าหนี้ซึ่งเป็นผู้ให้สินเชื่อ ผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วย การคุ้มครองผู้บริโภค ผู้จัดให้มีการเล่นการพนันเป็นปกติธุระตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน และเจ้าหนี้อื่น ซึ่งมีสิทธิรับชาระหนี้อันเกิดจากการกระทาที่เป็นทางการค้าปกติ หรือเป็นปกติธุระของเจ้าหนี้ ทั้งนี้ ไม่ว่า หนี้ดั งกล่าวจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ก็ตาม และให้หมายความรวมถึง ผู้รับมอบอานาจจากเจ้า หนี้ ดังกล่าว ผู้รับมอบอานาจช่วงในการทวงถามหนี้ ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ และผู้รับมอบอานาจจากผู้ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ด้วย

คาอธิบาย คานิยาม “ผู้ทวงถามหนี้” นี้อ่านแล้วอาจทาความเข้าใจยาก เพราะมีการอธิบายความยาว แต่ถ้าจะให้ สรุปเข้าใจได้สั้น ๆ ก็คือ “เจ้าหนี้การเงินทุกประเภท และผู้รับจ้างทวงหนี้กับผู้รับมอบอานาจ” และหนี้สินก็ไม่ จากัดว่าเป็นหนี้ที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ลูกหนี้ก็ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายฉบับนี้

ข้อสังเกต ส่วนแรกที่สาคัญคือคานิยาม ๓๕

คานิยามนี้จะเป็นสาระสาคัญในการที่จะปรากฏในการบัญญัติไว้ ใน พระราชบัญญัติ จะมีในเรื่องของผู้ทวงถามหนี้ ซึ่งจะหมายถึงเจ้าหนี้ที่เป็นผู้ให้สินเชื่อ และผู้ประกอบธุรกิจตาม กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง และหนี้ต่าง ๆ เหล่านี้ รวมทั้งหนี้ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายด้วย แนวทางการดาเนินการเกี่ยวกับการกาหนดเนื้อหาให้มีความครอบคลุมการทวงถามหนี้นอกระบบ สามารถกระทาได้ ๒ รูปแบบ คือ๓๖ ๑) การแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... ให้เนื้อหาครอบคลุมไปถึงการทวง ถามหนี้นอกระบบ โดยการขยายข้อห้ามตามมาตรา ๖ ถึงมาตรา ๑๑ ซึ่งการดาเนินการดังกล่าวอาจต้องใช้ ระยะเวลาในการพิจารณาศึกษาพอสมควร อนึ่ง ในการกาหนดเนื้อหาให้มีความครอบคลุมไปถึงการทวงถาม หนี้นอกระบบต้องคานึงถึงข้อห้ามในการทวงถามหนี้ และกลไกหรือองค์กรในการบังคับใช้กฎหมาย ซึ่งควรมี การกาหนดให้ครอบคลุมและชัดเจน ๒) เสนอให้คณะรัฐมนตรีเสนอร่างพระราชบัญญัติซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการทวงถามหนี้นอกระบบมา อีกฉบับ ซึ่งอาจใช้ชื่อว่า “ร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้อันมิชอบด้วยกฎหมาย พ.ศ. ....” ทั้งนี้ หลักการ และเหตุผ ลต้อ งเกี่ ย วข้ องกั บ การทวงถามหนี้ น อกระบบ อย่ างไรก็ ต ามการด าเนิ น การดั งกล่ าวต้ อ งอาศั ย ระยะเวลาในการดาเนินการ ๓๔ ๓๕ ๓๖

มาตรา ๒ ข้อสังเกตจากสรุปผลการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ... สภานิติบัญญัติ แห่งชาติครั้งที่ ๒ วันจันทร์ที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นายวันชัย ศารทูลทัต รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔


๑๓ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... ควรดาเนินการพิจารณาอย่างรอบคอบและ สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างครอบคลุมทุกกลุ่ม อย่างไรก็ตามคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาและรับฟัง ความคิดเห็นประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว ควรรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับการ ทวงถามหนี้และศึกษากรณีตัวอย่างเกี่ยวกับการทวงถามหนี้มาเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ ทั้งนี้ อาจดาเนินการในลักษณะงานวิจัยก็ได้ การกู้ยื มเงิน จะมีบุ คคลสองฝ่ าย คือ ผู้กู้ และผู้ ให้ กู้ ซึ่งในปัจจุบั นบุคคลทั้ งสองฝ่ ายมีทั้ งบุคคลที่ มี พฤติกรรมดีและพฤติกรรมที่ไม่ดี บุคคลที่มีพฤติ กรรมไม่ได้และมีความรู้ทางด้านกฎหมายก็ย่อมอาศัยช่องว่าง ทางกฎหมายเพื่ อก่อประโยชน์ ให้ แก่ตัว เอง ดังนั้น คณะกรรมาธิการวิสามัญ ควรมีการเสนอให้ มีการแก้ไข เพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ทั้งนี้ เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น กาหนดความหมายของ “ผู้ทวงถามหนี้”๓๗ ให้หมายความรวมถึงผู้ที่ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้และ ผู้รับมอบอานาจจากผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ด้วย เพื่อให้มีความชัดเจนขึ้นและมีความเชื่อมโยงระหว่าง “ผู้ ที่ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้”หรือ“ผู้รับมอบอานาจจากผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้”กับ“ผู้ทวงถามหนี้” กฎหมายฉบับนี้ออกมาเป็นลักษณะกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคใช่ไหม ๓๘ คือลักษณะนี้จะไปตรงซ้าซ้อน กับกฎหมาย สคบ. หรือเปล่า ในปี ๒๕๒๒ จะซ้าซ้อนกันหรือเปล่า กฎหมายฉบับนี้เขามุ่งคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นลูกหนี้แต่ว่าเป็นเฉพาะในเรื่องการทวงถามหนี้ ๓๙ แต่ใน ส่วนของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคปี ๒๕๒๒ กาหนดกรอบในการดูแลไว้อยู่ ๓ เรื่อง คือในเรื่องของการโฆษณา สัญญาแล้วก็เรื่องของฉลาก ฉะนั้น สคบ. ก็จะมีกรอบในการดูแลอยู่ ๓ เรื่องซึ่งไม่ได้รวมถึงเรื่องนี้ กฎหมาย ฉบับนี้ก็จะแยกออกมาในการคุ้มครองผู้บริโภคในเรื่องของการทวงถามหนี้โดยเฉพาะเพราะว่าไม่ได้ อยู่ในกรอบ ของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค คานิยามในมาตรา ๓๔๐ ผู้ทวงถามหนี้ให้รวมถึงผู้ให้สินเชื่อ ก็แสดงว่าคนให้สินเชื่อทวงถามก็ต้องได้รับ ใบอนุ ญาตตามร่าง พ.ร.บ. ตัวนี้ อย่างเช่น หนี้โทรศัพท์เคลื่อนที่ห รือมือถือที่ใช้กันอยู่ อันนั้นไม่เป็นการให้ สินเชื่อ เป็นการค้างชาระหนี้ในการให้บริการรวมอยู่ในนี้หรือเปล่าหรือไม่รวมอย่างไร อีกหนึ่งคือสินเชื่อที่ว่าอยู่ ตามคานิยามในคาจากัดความ มีอยู่ไม่กี่อย่าง แต่จะไปกาหนดไว้ในกฎกระทรวงก็เป็นเรื่องอนาคต แต่ทีนี้ลูกหนี้ หมายความว่าบุคคลธรรมดา ซึ่งมีภาระที่จะต้องชาระหนี้สินเชื่อ ในคานิยามมาตรา ๓ ชัดเจนว่าเป็นบุคคล ธรรมดาเท่านั้น ถ้าลูกหนี้ที่เป็นนิติบุคคลก็ไม่อยู่ในบทบังคับของร่าง พ.ร.บ. ตัวนี้หรือเปล่า ในส่วนของ พ.ร.บ. ทนายความมีบ ทบั ญ ญั ติที่ชัดเจน ในกรณี ที่ทนายความต้องทาอะไร ไม่ต้องทาอะไร และขณะเดียวกันก็มี คณะกรรมการมรรยาททนายความในการที่ จ ะพิ จ ารณาลงโทษทนายความที่ ฝ่ าฝื น หรือ ว่ าผิ ด จริย ธรรม คุณธรรม มีกฎที่ชัดเจน ในคาจากัดความบอกว่าให้หมายความว่า ผู้ให้สินเชื่อก็แสดงว่าทางสถาบันการเงินที่ให้ สินเชื่อ ก็ต้องอยู่ในเกณฑ์ในการที่จะขอรับใบอนุญาตอีกใบหนึ่ง หรือเช่นเดียวกันกับสานักกฎหมายที่เป็นของ ทนายความ บริษัท ต่าง ๆ ที่เป็ น ของทนายความก็ต้องขอใบอนุญ าตอีกใบหนึ่งหรือเปล่ า ในการประกอบ วิชาชีพ ซึ่งคิดว่าเป็นการซ้าซ้อนกันและที่สาคัญคือ โดยเฉพาะของทนายความมีพระราชบัญญัติที่ออกมาบังคับ ชัดเจน รวมถึงบทลงโทษกรณี ที่ทนายความผิ ดจริยธรรม หรือทานอกเหนือจากหน้าที่ ของทนายความ มี ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๒ บันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ... เรื่อง เสร็จที่ ๖๗๘/๒๕๕๖ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๓ พลเอก วิชญ์เทพหัสดิน ณ อยุธยา กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๕ นายวิเชียร ชุบไธสง กรรมาธิการรายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗


๑๔ คณะกรรมการมรรยาทดูแลและโทษหนั ก ลงโทษทุ กกรณี ที่ มีการร้อ งเรียนไปถ้าอยู่ ในข่ายเป็ นการแค่ผิ ด จริยธรรม ไม่ต้องผิดกฎหมายแค่ผิดจริยธรรมลงโทษ ถ้าจะเพิ่มคานิยาม คาว่า “หนี้”๔๑ขยายคาว่า “หนี้” หนี้อะไร แล้วก็ใส่ลงไปว่า ต้องการหนี้ประเภท ไหน นอกระบบ ในระบบ หรือหนี้หลาย ๆ ประเภท พอทวงถามหนี้ก็จะชัดเจนว่า หนี้นั้นหมายถึงหนี้ไหน อะไรบ้าง กฎหมายฉบับนี้ได้ศึกษาและยกร่างขึ้นมาในแนวความคิดของหนี้ในระบบ๔๒ ถ้าเป็นอย่างนั้นพอมาเพิ่ม ว่าให้ครอบคลุมถึงหนี้นอกระบบด้วยนั้น อยากจะให้มีนิยามพิเศษคาว่า “หนี้นอกระบบ” ที่ต้องการนี้คืออะไร ที่อยากจะคุ้มครองการทวงหนี้นอกระบบทั้งหมดเลย แล้วก็คิดว่าเพื่อให้ได้ข้อมูลครบก็ควรจะให้มีผู้ที่เกี่ยวข้อง มาร่วมนิยามคาว่า “หนี้นอกระบบ” คืออะไร เช่นของกฤษฎีกาของกระทรวงการคลัง ของกรมคุ้มครองสิทธิฯ ของสภาทนายความ หรือของเนติบัณฑิตยสภา เอาตัวอย่างทั้งหมดที่เกิดขึ้นนี้ มีการร้องเรียนหรือมีข่าวที่เกิด ความรุนแรงจนกระทั่งถึงตายกันเอาพวกนี้เข้ามาเพื่อที่จะได้คุ้มครองการทวงหนี้ประเภทนี้ ให้อยู่ในกฎหมาย ฉบับนี้ ถ้าหากว่าไม่มีนิยามให้ชัดเจน ข้อความอื่น ๆ ในกฎหมายฉบับนี้ โอกาสที่จะขัดแย้งและบังคับใช้ไม่ไ ด้ สมตามเจตนารมณ์และวัตถุประสงค์ของคณะกรรมาธิการ สังเกตว่าคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้”๔๓ ซึ่งมีนิยามอยู่แล้ว ซึ่งจะกาหนดพฤติกรรมที่ห้ามทาทั้งหลายของผู้ ทวงถามหนี้ ผู้ทวงถามหนี้ขณะนี้ล็อกไว้ที่ผู้ให้สินเชื่ออย่างเดียว คือเป็นหนี้ที่เป็นสินเชื่ออย่างเดียว ถ้าอยากจะ ขยายก็มี ๒ วิธี ก็คืออาจจะเพิ่มนิยามคาว่า “หนี้” หรืออาจจะมาปรับคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ว่านอกจากการ เป็นผู้ให้สินเชื่อแล้ว หมายถึงหนี้อื่น ๆ ด้วย แต่อยากจะให้กลับมาพิจารณาในหลักการสักนิดหนึ่งว่าจะขยาย คือหนี้นอกระบบ มีทั้งสินเชื่อและไม่ใช่สินเชื่อจะขยายลักษณะการทวงถามหนี้ที่ต้องห้ามออกไปถึงหนี้ ราย อื่นๆ ด้วยหรือไม่ การทวงถามหนี้ในลักษณะที่ผิดกฎหมายอยู่แล้วตอนนี้ คือการใช้กาลังข่มขู่ หรือการกรรโชก หรือทาร้ายอะไรทั้งหลายพวกนี้ อาจจะไม่จาเป็นที่จะต้องเอาเข้ามาในกฎหมายนี้ กฎหมายนี้เจตนารมณ์ คือ มองเห็น พฤติกรรมการทวงหนี้ บ างอย่ างซึ่งละเมิดสิทธิ แต่ยังไม่ผิ ดกฎหมาย ก็ทากันอยู่เป็นปกติในขณะนี้ แม้แต่คนดี ๆ ก็คือสถาบันการเงินก็ยังใช้วิธีนั้นทากันอยู่เพื่อให้ได้ผล บางครั้งใช้คดีอาญาไปบีบลูกหนี้หรือไปขู่ ว่าจะดาเนินคดีอาญาทั้งที่อาจจะไม่มีสิทธิดาเนินได้ อะไรอย่างนี้ ไปทวงถามในเวลาไม่เหมาะสม พวกนี้ขณะนี้ ยังไม่ผิดกฎหมาย เลยจาเป็นต้องมีกฎหมายอันนี้ แต่พวกที่ผิดกฎหมายแล้ว อาจจะยังไม่ต้องไปคานึง เพราะมี กฎหมายอื่น ที่จัดการได้อยู่แล้วในเรื่องนั้น เรื่องการสร้างมูลหนี้หรือสร้างระบบบังคับชาระหนี้ในลักษณะที่ไม่เหมาะสมหรือผิดกฎหมายนั้นก็ อาจจะอยู่นอกวัตถุประสงค์ของกฎหมายอันนี้ เพราะว่าต้องการคุมเรื่องการทวงหนี้ Pattern ของการทวงหนี้ ถ้าไม่จากัดนั้นกฎหมายนี้จะกว้างออกไปมากหาที่จบไม่ได้ พิจารณาทบทวนหลักการหนึ่งว่าการทวงถามหนี้ ตามกฎหมาย จะเอามากกว่าสินเชื่อหรือเปล่า ถ้าจะเอามากกว่าจะต้องบอกได้ ว่าจะเอาอะไรบ้างที่เกินไปจาก สินเชื่อ จะต้องมีจุดจบ หมายความว่ามีกรอบของมันไม่ล้าไปกว่านี้ ถ้าเขียนขอบไม่ได้ กฎหมายนี้จะไม่ผ่าน เพราะฉะนั้นต้องตกลงหลักการกันก่อนว่าจะแค่ไหน เท่าที่ทางกระทรวงการคลังยกร่างมา โดยมุ่งที่สินเชื่อว่าใน ระยะเริ่มต้นก็สามารถครอบคลุมไปได้มากพอสมควร รวมถึงหนี้นอกระบบด้วย เห็นล็อกคาว่า นิติบุคคลใน (๑) ๔๑

๔๒ ๔๓

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๗ นายวันชัย ศารทูลทัต รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง รายงานการประชุม คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๓/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๘ นายสัก กอแสงเรือง ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๓/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๙ นายเข็มชัย ชุติวงศ์ ทีป่ รึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๓/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗


๑๕ กับ (๒) ซึ่งพอประกาศใช้กฎหมายจะไม่รวมพวกนายทุนทั้งหลายที่เป็นบุคคลธรรมดาพวกนายทุน อิทธิพล อะไรทั้งหลายนี้แล้ว คิดว่าสามารถแก้ปัญหาได้พอสมควร พฤติกรรมการทวงหนี้หรือการที่จะดาเนินการเพื่อดูแลเป็นหลักการ๔๔ตอนนี้ถ้าดูจากตัวหลักการและ เหตุผล ความจริงในกฎหมายมีคาว่า “หลักการและเหตุผลเพื่อทวงถามหนี้” เหตุผลที่ใช้ทวงถามหนี้จะใช้คาว่า “ทวงถามหนี้ ” มาตลอด ซึ่งคาว่า “หนี้” ตรงประเด็นนี้ที่เรียนตอนแรกว่าคงต้องให้ทาความเข้าใจว่าหนี้คือ อะไร แต่วันนี้ชัดเจนแล้ว มีหนี้ทั้งในระบบและนอกระบบ ก็จะฝากอีกคานิยามหนึ่งว่าในธุรกิจทวงถามหนี้ที่ บอกว่าหมายความว่าการรับจ้างทวงถามหนี้เป็นปกติธุระ แต่เมื่อปรับคานิยามอันนี้ต้องฝาก เพื่อให้สอดคล้อง ธุรกิจทวงถามหนี้ตรงนี้ คาว่า “ปกติธุระ” โดยตรง ก็คือคาว่า “ปกติธุระ” พวกนี้ว่าบางทีไม่ปกติ ซึ่งบางทีถ้าใช้ คาว่า “เพื่อสินจ้าง” จะกว้างไหม คือหมายความว่า ทาการใดก็ตามที่ผู้รับสินจ้างถึงจะไม่ใช่เป็นการค้าปกติ คือ ครั้งเดียวก็ผิดถือว่ากระทาผิดอันนี้ เพราะฉะนั้นว่า “เพื่อสินจ้าง” ช่วยพิจารณาตรงนี้ด้วยว่าถ้าหากว่าจะทาให้ ชัดเจน เพราะว่าการทวงถามหนี้นอกระบบครั้งเดียวก็ได้ไม่ใช่เป็นธุรกิจการค้า ฉะนั้นจ้างใครก็ได้ ที่จะทาอะไร ขึ้นมาสักอย่างหนึ่งอันนี้ก็เห็นบอกว่าธุรกิจทวงถามหนี้คือบางทีไม่ใช่ธุรกิจแต่ว่ารับจ้างทาไม่ใช่เป็นธุรกิจ เป็น ประเด็นที่คิดว่าถ้าหากว่าไล่มาตั้งแต่ต้นตามที่ตกลงกัน ก็จะมาดูคาว่า “ธุรกิจทวงถามหนี้” ซึ่งไม่ใช่ทวงถามหนี้ ที่ไม่ใช่ธุรกิจก็มี ที่เป็นธุรกิจก็มี ซึ่งธุรกิจนี้ความจริงแล้ว คาว่า “ธุรกิจทวงถามหนี้” แทบไม่ต้องคุมเลยอย่าง ทางส านั กงานทนายความหรื ออะไรอย่ างนี้ คือ ธุรกิจที่ ปกติที่ ทาถูกต้อ งเพราะฉะนั้น ไม่ต้องไปควบคุมกั น เพราะว่าบางทีมีระบบอยู่แล้ว ถ้าจะเรี ย กค าว่ า หนี้ ในระบบ หนี้ น อกระบบ ๔๕จะไปใช้ ค าว่า “หนี้ ไม่ ว่าจะชอบหรื อไม่ ช อบด้ ว ย กฎหมายนี้” ก็จะทาให้ Cover ไปถึงว่าหนี้การพนันหรือหนี้กู้เงินเกินอัตรา หรือว่าในบทความนี้จริง ๆ อาจจะ ทาให้เข้าใจผิดไปเที่ยวผู้หญิงแล้วไม่ยอมจ่ายสตางค์ยึดตั วเอาไว้ ไม่ใช่หนี้ในระบบแล้วไม่น่าจะ Cover ถึงใน ส่วนที่กาลังพูดถึง เพราะว่าอ่าน ๆ ไปก็จะงง ไปเที่ยวผู้หญิงแล้วไม่ยอมจ่าย ๕,๐๐๐ บาท จ่ายให้แค่ ๓,๐๐๐ บาท แล้วก็ไปกระชากสร้อยคอเขาจะเอาพระไปจานาอะไรอย่างนี้ อาจจะใช้คาที่เป็นกฎหมายเลยก็ได้ เพราะ หนี้นอกระบบว่าเป็นคาที่ลารอง ที่เรียกอาจจะใช้ว่าหนี้ไม่ว่าชอบหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย อันนี้จะ Cover ถึง ข้อสังเกตคานิยามถึงผู้ทวงถามหนี้ ๔๖ผู้ทวงถามหนี้เป็นผู้ที่ดาเนินการทวง แล้วก็มาจากคาว่า “ผู้ให้ สินเชื่อ” ผู้ให้สินเชื่อคือเจ้าหนี้ เจ้าหนี้พอโยงไปแล้ว คาว่า “สินเชื่อ” สินเชื่อคือมูลหนี้ สินเชื่อคือตัวมูลหนี้ว่า เกิดอะไรขึ้นบ้าง คือสินเชื่อที่ให้แก่บุคคลธรรมดากู้ยืมเงิน ให้บริการบัตรเครดิต การให้เช่าซื้อ การให้เช่าแบบ ลิสซิ่ง ธุรกรรมแฟ็กเตอริง และสินเชื่อในรูปแบบอื่น ประเด็นในเรื่องของคาว่า “ตัวมูลหนี้” หนี้อะไรบ้าง คาว่า “สินเชื่อ” จะเปิดกว้างให้ไปอยู่ในกฎกระทรวง แต่พอในกฎกระทรวงบอกว่าในรูปแบบอื่น สิ่งที่รูปแบบอื่นที่มี ลักษณะทานองเดียวกันลักษณะทานองเดียวกัน ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง เพราะฉะนั้นจะถูกบังคับด้วยว่า หนี้นั้นก็จะเป็นหนี้กู้ยืม หนี้บัตรเครดิต หนี้ให้เช่าซื้อแบบลิสซิ่ง ธุรกรรมแฟ็กเตอริง เพราะฉะนั้นก็จะถูกจากัด ถอยหลังเข้าไปอยู่ในกลุ่มนี้เท่านั้น จะขยายออกไปกว้างจะไปได้หรือไม่อย่างที่พูดกัน ก็เลยคิดว่าถ้าหากเห็นว่า ประเด็นที่เป็นมูลหนี้และคาว่า “หนี้” ว่าอะไรที่เป็นมูลหนี้ แล้วในคาว่า “สินเชื่อ” ถ้ามองเป็นหนี้รูปแบบอื่น ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงจะเป็นไปได้ไหมว่าจะขยายให้กว้างขึ้นจะเป็นไปได้ไหม เป็นข้อสังเกตให้พิจารณา เพราะว่าขณะนี้ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงอยู่ตามที่มีบังคับอยู่แล้ว แต่ถ้าจะเปิดกว้างคาว่า “หนี้” ซึ่งหนี้ ๔๔ ๔๕ ๔๖

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๘ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๑๑ ศาสตราจาย์สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๓/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี”้ ข้อสังเกต ๑๒ นายมนตรี เอีย่ มสะอาด ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ รายงานการประชุม คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๗


๑๖ ตามประมวลกฎหมายแพ่ง ว่าเป็นหนี้อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ซึ่งตรงนี้ถ้าเปิดกว้างตรงนั้นจะเป็นไปได้ หรือไม่ ประเด็นให้คิดเพราะจะไปโยงถึงคาว่าลูกหนี้ แต่ประเด็นมันโยงคาว่า “ลูกหนี้” เพราะว่าพอปรับคา นิยามคาว่า “ลูกหนี้” หมายถึงบุคคลธรรมดาเป็นลูกหนี้ ความสาคัญของคาว่า “หนี้” ขึ้นมาแล้ว เป็นมูลของ หนี้ อันนี้ก็อย่างที่เรียนทั้งหมดที่ยากจะฟังความคิดเห็นก็คือว่าตอนนี้ในประเด็นทั้ง ๓ คานิยาม คาว่า “หนี้” เป็นประเด็นที่ยกขึ้นมาว่าหนี้จะไปถึงรูปแบบไหน เพราะจะไปบังคับถึงคาว่าใครเป็นเจ้าหนี้ แล้วก็ใครมาเป็น ลูกหนี้ แล้วก็วิธีทวงถามหนี้ คือพนันบอล๔๗ อยากจะเอาเฉพาะพนันบอลที่เห็นชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งก็เป็นเจ้าหนี้ มีการทวงถาม ซึ่งบางทีก็ค่อนข้างรุนแรง ซึ่งคิดว่าตรงนี้คือถ้าจะต้องการให้คลุมถึง เขียนให้ชัดตรงนี้ เพราะอย่างที่เรียนไป แล้วว่าไม่ได้เข้าไปในลักษณะผู้ประกอบธุรกิจทางกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค เป็นเจ้าหนี้ ไม่ใช่เกิดจากการ ให้บริการ การเกิดจากการให้บริการเป็นเรื่องไม่ใช่หมายถึงว่าเข้าไปเล่นพนันในบ่อน อันนั้นอาจจะมีค่าบริการ ในการเข้าไปเล่น แต่หมายถึงการไปก่อนิติสัมพันธ์ในลักษณะที่เป็นการพนันบอลกัน แล้วเกิดหนี้ขึ้นมา พนัน ไม่ว่าจะพนันอะไรก็แล้วแต่ เป็นหนี้ที่ไม่ได้เกิดจากสัญญาซื้อขายหรือว่าสั ญญาให้บริการ การซื้อ – ขายบริการ ก็เลยอยู่ในกรอบที่ทางที่ประชุมต้องการ สาหรับการเริ่มต้นคือไม่นิยามเรื่องหนี้ แต่เป็นนิยามเรื่องเจ้าหนี้ เห็นว่าหลักการก็ไม่ได้ต่างอะไรกับ ตรงนี้ ถ้าสมมุติว่าเริ่มต้นว่าเจ้าหนี้หมายถึงอะไร เพียงแต่บอกว่าเจ้าหนี้หมายความว่าผู้ ให้กู้ยืมเงิน ผู้ประกอบ ธุรกิจหรือบุคคลอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวงแล้ว ผู้ทวงถามหนี้บอกหมายความว่าเจ้าหนี้ ให้หมายความ รวมถึงผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ คือผลเหมือนกันในการที่จะนิยามเจ้าหนี้ออกมาต่างหากหรือไม่ก็ตาม มอง ว่าก็ต้องไม่ไประบุ แต่จากการที่มาใส่คาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ไม่ได้ระบุเป็นเจ้าหนี้ แต่หมายถึงว่าเป็นที่เข้าใจได้ ก็คือคนให้กู้ยืมเงินคือเจ้าหนี้ใช่ไหม คนที่เป็นผู้ประกอบธุรกิจขายสินค้าอะไรต่าง ๆ ก็เป็นเจ้าหนี้ เป็นเพียงแต่ วิธีการเดียว ซึ่งคิดว่าไม่จาเป็นต้องไปแยกนิยามเจ้าหนี้ออกมาต่างหากสามารถรวมตัวละครอยู่ในคาว่า “ผู้ทวง ถามหนี้” แล้วจะเขียนอย่างไรให้ชัดก็เพิ่มตรงนี้ได้ การไปเขียนระบุหมายถึงว่าหนี้อะไรบ้าง อะไรต่าง ๆ ก็จะ ไปสู่ปัญหาว่ายิ่งเขียนยิ่งแคบ เขียนละเอียดอย่างไร ก็ไม่มีทางที่จะให้ครอบคลุมได้ทั้งหมด ควรที่จะเอากลุ่มที่ สาคัญ ก็คือคนปล่ อยเงิน กู้ กลุ่ มหนึ่ ง คนขายสิ นค้า ขายบริการ ก็คล้ายจะหมดแล้ว เหลือเจ้าหนี้พนันหรือ แม้กระทั่งสหกรณ์อะไรต่าง ๆ ที่มีการปล่อยสินเชื่อก็เข้ามาในนี้หมด ถ้าทาเป็นทางการค้าปกติ ทาเป็นปกติธุระ เขาไม่ใช่ว่าเป็นครั้งเป็นคราวนานๆ ทาที ไม่ได้ทาเป็นปกติ เพราะฉะนั้นการทาธุรกรรมอะไรต่ างๆ ของทาง สหกรณ์อะไรต่าง ๆ เข้าอยู่ตรงนี้อยู่แล้วไม่หนีไป แทบจะหมดแล้วทาสัญญาไม่ว่าจะเรื่องเงิน เรื่องจ้างแรงงาน จ้างทาของ รับขน ซื้อ – ขาย มาอยู่ในนี้หมดแล้ว จะมีปัญหาอุปสรรค แล้วทาไม่ใช่เรื่องง่าย ยิ่งเขียนจะยิ่ง กลายเป็นไปรุ่มร่าม แล้วจะยิ่งทาความเข้าใจยาก จะยิ่งซับซ้อน อย่างไรแล้วมีแนวทางชัดเจนแน่นอน เพราะ อยากจะเอาหนี้ เอาเจ้าหนี้ เอาลูกหนี้เข้ามา คาว่า “เจ้าหนี้ผู้ให้สินเชื่อ” คาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ”๔๘ ก็จะมาขยายต่อว่าจะต้องเป็นบุคคลซึ่งให้สินเชื่อ เป็นทางการค้าปกติไม่ได้หมายถึงเป็นเพื่อนฝูงกัน เป็นอะไรกั นปล่อยให้กู้เป็นครั้งคราวอย่างนี้ไม่ใช่ เขาไม่ใช่ เป็นผู้ให้สินเชื่อ เพราะฉะนั้นก็จะถูกล็อกว่าซึ่งเป็นผู้ให้สินเชื่อจะต้องเป็นทางการค้าปกติ กลุ่มบุคคลที่ ๒ ก็คือผู้ ประกอบธุรกิจตามกฎหมายบริการคุ้มครองผู้บริโภคก็คือผู้ขายสินค้าหรือผู้บริการ ซึ่งก็เป็นพ่อค้า ซึ่ งก็เป็นเรื่อง ๔๗

๔๘

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๑๓ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุม คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๑๔ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุม คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๗


๑๗ ที่ทาเป็นทางการค้าปกติอยู่แล้ว ไม่ใช่ว่าเป็นการขายแค่ครั้งคราวตามกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กลุ่มบุคคลคือ กลุ่มเป็นเจ้าหนี้พนัน ซึ่งคาว่า “ผู้จัดให้มีการเล่นหรือการพนันตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน ” เน้นลงไปว่า จะต้องไปเป็นปกติธุระคือเป็นเจ้ามือเป็นตามปกติที่จัดให้เล่น ซึ่งคาว่า “ผู้จัดให้มีการเล่นตามกฎหมายว่าด้วย การพนัน” รวมถึงทั้งเจ้าหนี้ที่ได้รับอนุญาตให้จัดตามกฎหมายหรือเจ้ามือที่ไม่ได้รับอนุญาต เพราะฉะนั้นพนัน บอลออนไลน์อะไรพวกนี้ที่ไม่ได้รับอนุญาตก็มาเข้าตามนี้ ซึ่งคาว่า “การเล่นการพนัน” หมายความว่าการเล่น รวมถึงการแข่งขันหรืออะไรต่าง ๆ ที่ได้รับอนุญาตให้จัดทาเป็นปกติธุระไม่ใช่ไปทาแค่ครั้งคราว ไม่ใช่อย่างเช่น กรณีที่ว่าออกงานกาชาดแล้วมากระทรวง หน่วยงานต่าง ๆ มามีการละเล่น แล้วก็ให้รางวัลอย่างนี้เขาไม่ได้ทา ปกติธุระ แต่ต้องหมายถึงว่าคนที่จัดเล่นเป็นปกติธุ ระ หรือว่าอย่างเช่นกรณีจัดเล่นพนันกันหน้างานศพอะไร อย่างนี้เป็นครั้งคราวหรือว่าเพื่อนมาเล่นกัน ไปเที่ยวแล้วก็ไปเล่นกันตามต่างจังหวัดอย่างนี้ก็จะไม่เข้าตรงนี้ เพราะว่าจะต้องเป็นคนที่จัดให้มีการเล่นหรือการพนันเป็นปกติธุระเลย ก็พยายามล็อกเอาไว้ตรงนี้ ในนิ ย ามคาว่า “ผู้ ให้ สิ น เชื่อ ” กับ “สิ น เชื่อ ” ถ้ ามีก ฎหมายเกี่ยวกับ เรื่องสิ น เชื่อของธุรกิจสถาบั น การเงินมีสินเชื่อในลักษณะแบบอื่น ๆ ที่ไม่ใช่เป็นลักษณะทานองเดียวกันกับสินเชื่อเดิมก็จะสามารถมาเข้า เจ้าหนี้นี้ได้ ก็คือหมายถึงเจ้าหนี้ซึ่งมีสิทธิรับชาระหนี้อันเกิดจากการกระทาที่เป็นทางการค้าปกติหรือเป็นปกติ ธุระของเจ้าหนี้ ก็มาล็อกเลยว่าไม่ว่าจากการกระทานั้นไม่ได้เป็นทางการค้า แต่ทาอยู่เป็นปกติตัวเจ้าหนี้หรือว่า เป็นทางการค้า ซึ่งกรณีนี้ไปคิดถึงกรณีเจ้าหนี้บางกลุ่ม ตัวอย่างเช่นกรณีที่บริษัทใหญ่ ๆ ไปทาสัญญากับชาวไร่ ชาวนา แล้วก็ให้ยืมคล้ายๆ ออกไปก่อนพวกอุปกรณ์ในการที่จะปลูกพืชผลที่เรียกกันว่า Farm contract อะไร พวกนี้ แล้วก็ได้ผลผลิตมาก็จะต้องส่งให้กับตัวบริษัทนี้ ซึ่งกรณีนี้เข้าใจว่าตัวบริษัทเวลาให้ ไม่ได้ให้เงิน ไม่ได้ให้ อะไร แต่เป็นการให้สิ่งของ ให้อะไรไป แล้วเวลาทวงกับชาวไร่ ชาวนาก็คงทวงสิ่งของที่ให้ไป ไม่ใช่เป็นการให้กู้ ให้ยืมเงิน ซึ่งก็เป็นตัวอย่างหนึ่งที่คิดว่า กรณีนี้ก็ไม่ใช่เป็น ผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง ผู้บริโภค เพราะไม่ได้ขายสินค้าหรือขายบริการ หรืออาจจะตีความได้ ก็สุดแต่การตีความแต่ยังไม่ชัดเจน เขียน ไว้ตรงนี้เพราะว่าการทวงหนี้อาจจะไม่ใช่เป็นทวงค่าสินค้า ทวงค่าบริการ ซึ่งตีเป็นเงินได้ แต่ว่าอาจจะทวง สิ่งของ กรณีนี้ยังไม่ได้คลุมถึง ซึ่งตามบทนิยามที่เขียนให้กว้างว่า “หนี้” หมายถึงข้อผูกพันที่ลูกหนี้จะต้องชาระ เป็นเงิน สิ่งของหรือบริการ ซึ่งกว้าง เลยมาเขียนไว้ตรงนี้เป็นบทกวาดเอาไว้ แต่บทกวาดอันนี้ก็จะต้องเน้นว่า เขาจะต้องเป็นเจ้าหนี้ที่เป็นทางการค้าปกติหรือเป็นปกติธุระ สาหรับหลักการอื่น ๆ ที่ตามมา ก็ไม่ได้เพิ่มเติม อะไรมากก็จ ะสอดคล้ อง เพื่อเป็ น การอธิบ ายให้ ท ราบชัดเจนว่าผู้ท วงถามหนี้ ตัวลู กหนี้ห มายถึงตัวบุ คคล ธรรมดา ส่วนผู้ให้สินเชื่อกับสินเชื่อก็คือพวกหนี้ในระบบก็นาเสนอพิจารณาในเบื้องต้น หลักการเรื่องคานิยาม เจ้าหนี้ ลูกหนี้๔๙ ทางที่ประชุมเคยพิจารณากันไปครั้งหนึ่งแล้ว แล้วก็มีมติว่าไม่ สมควรที่จะบัญญัติเอาไว้ เพราะว่าแม้กระทั่งในประมวลแพ่งเองเกี่ยวกับเรื่องหนี้ก็ไม่ มีการเขียนว่าหนี้ใหม่หรือ อะไร แล้วก็เป็นที่เข้าใจก็คือหนี้เป็นภาระผูกพันที่จะต้องชาระหนี้ไม่ว่าจะหนี้นั้น แล้วยังจะมีทั้งหนี้เงิน หนี้ กระทาการ รถเบนซ์กระทาการตามมาอีก เห็นว่าไม่จาเป็นต้องไปยึดติดคาว่า หนี้หมายถึงอะไร เพราะคาว่า หนี้ ส ามารถเข้ า ใจได้ อ ยู่ แ ล้ ว จากค านิ ย ามทวงถามว่ า หนี้ คื อ หนี้ อ ะไรบ้ า ง เป็ น หนี้ เกี่ ย วกั บ อะไรบ้ า ง เพราะฉะนั้นนิยามศัพท์ที่เป็นกฎหมายคาว่า หนี้ เป็นความหมายกว้าง ๆ นี้ก็ไม่จาเป็น เพราะไม่อย่างนั้นจะ กลายเป็นหนี้กระทาการ รถเบนซ์กระทาการ ซึ่งไม่ต้องการไม่ได้ เพียงแต่บังคับว่าหนี้นั้น ไม่ว่า จะเป็นหนี้อะไร ก็ ต าม หนี้ นั้ น ก็ ต้ อ งเกิ ด จากที่ เจ้ าหนี้ เขาท าเป็ น ปกติ ในลั ก ษณะจานองธุร กิ จ ความส าคั ญ อยู่ต รงนั้ น แต่ ความสาคัญไม่ได้อยู่ตรงที่ว่าหนี้หมายถึงอะไร เพราะหนี้ประชาชนก็เข้าใจอยู่แล้วว่าหนี้หมายถึงอะไร แต่การ จะมาบัญญัตินิยามไม่ได้เกิดประโยชน์ในการไปอธิบาย เพราะว่าตอนนี้อยู่ที่ภาวะผู้ทวงถามก็คือเจ้าหนี้ไหนบ้าง ๔๙

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี”้ ข้อสังเกต ๑๕ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗


๑๘ ซึ่งก็เข้าใจว่าตรงนี้น่าจะใช้ได้ แล้วก็บังคับได้ชัดเจนดี สาหรับตรงส่วนของสินเชื่อ สินเชื่อถ้าความหมายของ ชาวบ้านทั่ว ๆ ไป เข้าใจ หมายถึงกู้ยืมเงิน แต่สินเชื่อตามนิยามนี้เป็นตามกฎหมาย เป็นส่วนหนึ่งของการบังคับ ธุรกิจสถาบันการเงิน แล้วก็เป็นส่วนหนึ่งของตัวกฎหมายพวกบัตรเครดิตอะไรพวกนี้ใช่ไหม ซึ่งไม่ได้เกิดจาก การให้เงินโดยตรงที่เข้าใจกันเป็นเครดิตเป็นอะไรพวกนี้ แล้วไปชาระ แต่สุดท้ายก็คือเป็นเรื่องเงินจะเป็นเงิน ทางนี้ แต่เรื่องให้เช่าซื้อ ให้เช่าแบบลิสซิ่ง ธุ รกรรมแฟ็กเตอริงก็ไม่ใช่เรื่องเงินโดยตรง เลยมานิยามใส่คาว่า สินเชื่อ เพราะว่าถ้าดูตามกฎหมาย เพราะเป็นสถาบันการเงินก็ไม่ได้มีนิยามคาว่า สินเชื่อ มีแต่พูดถึงว่าธุรกรรม ที่มีลักษณะคล้ายคาว่า สินเชื่อ แล้วก็มีนิยามคาว่า การให้สินเชื่อ การให้สินเชื่อตามนิยามพระราชบัญญัติธุรกิจ สถาบันการเงินฯ บอกว่าการให้กู้ยืมเงินหรือซื้อ หรือลด รับช่วงซื้อลดตั๋วเงิน เป็นเจ้าหนี้เนื่องจากได้จ่ายบริษัท หรือจ่ายเงินเพื่อประโยชน์ ของผู้ค้าหรือเป็ นเจ้าหนี้ เนื่องจากการจ่ายเงินตามภาระผู กพัน ตาม Letter of credit ดูภาระผูกพัน จะเห็นได้ว่า กระบวนการที่เกี่ยวกับเรื่องให้สินเชื่อกว้างไกล การที่จะไปบอกว่าสินเชื่อ หมายถึงหนี้อะไรบ้างก็อาจจะไม่จาเป็น เพียงแต่เป็นระบบอยู่แล้วว่าสินเชื่อนี้ เป็นสินเชื่อที่จะต้องกู้ยืมเงิน บัตรเครดิตให้เช่าซื้อ สิ่งเหล่านี้เกิดหนี้ขึ้นมาจากธุรกรรมดังกล่าว ก็จะถือว่าเป็นสินเชื่อทันที แล้วก็รวมไปถึง สินเชื่อที่มีลักษณะทานองเดียวกัน ซึ่งอาจจะมีธุรกรรมใหม่ ๆ ที่เป็นทานองเดียวกันกับการกู้ยืมเงิน บัตรเครดิต ให้เช่าซื้อ แต่ออกมาเป็นนวัตกรรม รูปแบบธุรกิจแบบใหม่นี้ แต่สุดท้ายนี้ก็จะนาไปสู่ว่าจะต้องชาระเงินอะไร พวกนี้ ก็จะเข้าตรงรูปแบบอื่นที่มีลักษณะทานองเดียวกัน หรือว่าถ้ามีปัญหาว่าจะเป็นสินเชื่อตามนิยามนี้ไหม ก็ ยังสามารถไปตีความได้ในคาว่า ผู้ทวงถามหนี้ ได้อยู่แล้ว เพราะว่าผู้ทวงถามหนี้กลุ่มสุดท้าย ระบุเลยว่าเจ้าหนี้ ซึ่งมีสิทธิรับหนี้อันเกิดจากการกระทาที่เป็นการค้าปกติ หรือเป็นของเจ้าหนี้ อันนี้คุมอยู่แล้ว ไม่จะแปลว่าเป็น สินเชื่อหรือไม่ก็ตามมาเข้าอันนี้เป็นทีม เห็นว่าคาว่านิยามคาว่าหนี้ เจ้าหนี้ ลูกหนี้ ไม่จาเป็น ทางที่ประชุมก็ได้ พิจารณาเรื่องนี้เห็นว่าการเขียนกฎหมายที่จะให้ประชาชนเข้าใจติดอยู่ตามตัวละคร ตัวเจ้าหนี้ ซึ่งเป็นผู้ทวง ถามหนี้ เป็นที่เข้าใจได้อยู่แล้ว กรณี ที่เพิ่มเข้ามาตรงนี้ ๕๐ แล้ วสอดคล้องกับคาว่า หนี้นอกระบบที่อยากให้ เห็ น เหมือนกับ เด่นชัด ออกมาเลย อย่างเช่น กรณีหนี้การพนัน ซึ่งเป็นเรื่องที่มีปัญหามากเลย มีการไปทวงถามแล้วถึงขั้นไปทาร้ายกัน อะไรกัน ถึงเสียชีวิตด้วย ถ้าเกิดว่าจะใส่ไว้อย่างนี้ เห็นว่าไม่เหมาะอยู่กับผู้ทวงถามหนี้จะอยู่ในสินเชื่อหรืออะไร ทานองนี้ อย่างนี้ได้ไหม แล้วก็ไม่ต้องไปพูดถึงกฎกระทรวง คือแค่นี้แก้ปัญหาบ้านเมืองให้ได้ ก่อนแก้ปัญหาสิ่งที่ เกิดขึ้นในวันนี้ที่อยากเห็น แล้วคนอ่านเข้าใจทันทีเลย ถ้าเกิดไม่มีไว้ บอกว่าอยู่กฎกระทรวง บางทีคนมองไม่ ออก คือจะไปมองเหมือนกับที่มองว่า พ.ร.บ. ทวงถามหนี้เป็นเฉพาะหนี้ในระบบไม่มีนอกระบบ แต่ถ้าเกิดมีคา ว่าเรื่องการพนันเข้ามา คือจะเห็นชัดเลยว่าอันนี้คือหนี้นอกระบบ เพราะฉะนั้นถ้าเผื่อว่ามีไว้จะเห็นชัด เพียงแต่ ว่าอาจจะอยู่ ต รงไหน อัน นี้ อาจจะเป็ น เรื่ องเทคนิ คของกฎหมาย แล้ วไม่ต้ องไปกฎกระทรวงอะไรอีกแล้ ว กฎหมายฉบั บ นี้ เอาแค่ นี้ ถ้ า ออกไปแค่ นี้ แ ล้ ว บั ง คั บ ได้ ตรงใจประชาชนแล้ ว ตรงใจกั บ สิ่ ง ที่ เกิ ด ขึ้ น กั บ สถานการณ์บ้านเมืองในวันนี้ เพียงแต่ว่าจะอยู่ตรงไหน อย่างไร เนื่องจากจะไป Scope๕๑ คนที่อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายฉบับนี้ คือผู้ทวงถามหนี้ เห็นว่าน่าจะไป ขยายคาว่า สิ น เชื่อ คือในความเห็ น ว่าขอบเขตของความเข้าใจ คาว่า สิ นเชื่อ ก็มีอยู่อย่างจากัด แล้ วก็ใน กฎหมายฉบับอื่นก็จะมีคานิยามในธุรกรรมของสินเชื่อ ในรูปแบบที่เป็นธุรกิจทางการเงิน ที่อาจจะไม่ใช่ขยาย ไปถึงเรื่องของการพนัน หรือว่าเรื่องของการซื้อขาย คือถ้าจะขยายขอบเขตคานิยามไม่ให้ไปอยู่ในผู้ทวงถามหนี้ ๕๐ ๕๑

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๑๖ พลตารวจเอก ชัชวาลย์ สุขสมจิตร์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๑๗ นายอรรถพล อรรถวรเดช กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗


๑๙ แต่ ไปอยู่ ในคา ๆ หนึ่ ง ความเห็ น คิด ว่าถ้าอย่างนั้ น ไม่ ควรจะใช้คาว่า “สิ นเชื่ อ ” มาเป็น หลั กแล้ ว ควรจะ เปลี่ยนเป็นคาอื่นที่มีความหมายในลักษณะที่กว้างกว่านี้ เพราะว่าถ้า ใช้คาว่า “สินเชื่อ” เป็นตัวตั้ง แล้วก็ขยาย ออกไปนี้ เกรงว่าจะเกิดความสับสน ทาไมต้องเป็นปกติธุระด้วย๕๒ เจ้ามือบ่อนที่จัด แต่ถ้าไม่ใช่บ่อน ๕๓ เพื่อนเล่นกัน เล่นเป็นครั้งคราว นิยามคาว่า “เจ้าหนี้อื่นซึ่งมีสิทธิ ชาระหนี้อันเกิดจากการกระทาที่เป็นทางการค้าปกติ หรือเป็นปกติธุระของเจ้าหนี้ ” พอเติมคาว่า “ไม่ว่าจะ ชอบด้วยกฎหมาย” จุดประสงค์ต้องการว่าเป็นหนี้ที่ทากันตามปกติ แต่อาจจะมีการทาสัญญา ทาอะไรแล้วไม่ ชอบเป็นหนี้สามัญ หนี้ธรรมดาก็ตาม หรือไม่มีหลักฐาน แต่ก็เกรงเหมือนกันว่าจะตีความหมายรวมถึงกรณีหนี้ ที่เกิดจากการค้ายาบ้าซึ่งก็ทาเป็นปกติอยู่เหมือนกัน คือความหมายต้องการเฉพาะหนี้ ที่ไม่ได้ขัดต่อความสงบ แต่ไม่ชอบเพราะไม่มีหลักฐาน หรือทาสัญญาไม่ชอบ แต่ไม่ต้องการให้คลุมถึงพวกรับจ้างฆ่าคน รับจ้างเป็นปกติ ธุระ หรือว่าฆ่าคนเป็นปกติธุระแล้วเกิดหนี้ขึ้นไม่ต้องการให้มาใช้กฎหมายนี้ ให้ เข้าใจเจตนารมณ์ว่าต้องการ คลุมเท่านี้เท่านั้น “ผู้ให้สินเชื่อ” หมายความว่า (๑) บุคคลซึ่งให้สินเชื่อเป็นทางการค้าปกติ หรือ (๒) บุคคลซึ่งรับซื้อหรือรับโอนสินเชื่อต่อไปทุกทอด

คาอธิบาย คานิยามนี้เป็นการบัญญัติกฎหมายให้มีความชัดเจนขึ้นเท่านั้นว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” รวมถึง “ผู้รับโอน” ด้วย ความจริงตามหลักกฎหมายเรื่องการโอนสิทธิเรียกร้อง ผู้รับโอนก็ต้องรับสิทธิและหน้าที่ของผู้โอนอยู่แล้ว แต่ผู้ยกร่างกฎหมายคงเห็นว่ามีโทษทางอาญาอยู่ด้วยเลยต้องการความชัดเจน ลดข้อโต้แย้งว่า “ผู้รับโอน” ไม่ใช่ “ผู้ให้สินเชื่อ” เพราะกฎหมายไมได้เขียนไว้ชัดเจน การนิยามข้างต้นจึงจาเป็น

ข้อสังเกต ส่วนผู้ให้สินเชื่อนั้นจะเป็นทั้งบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ คือได้ทั้ง ๒ สถานะ๕๔ ผู้ให้สินเชื่อนอกระบบส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับข้าราชการฝ่ายความมั่นคง ๕๕ดังนั้น ควรมีการกาหนดให้ ข้าราชการฝ่ายความมั่นคงหรือ ปลัดกระทรวงกลาโหมมาดารงตาแหน่งกรรมการกากับการทวงถามหนี้ ทั้งนี้ เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นและเพื่อให้เกิดความเป็นธรรม การกาหนดคานิยามคาว่า “เจ้าหนี้”๕๖ควรกาหนดโดยนาคานิยามต่าง ๆ ในมาตรา ๓ มากาหนดให้มี ความครอบคลุมหนี้ทั้งสองประเภท คือ หนี้ในระบบและหนี้นอกระบบ นิยามศัพท์ในเรื่องของผู้ให้สินเชื่อ ในนิยามศัพท์ผู้ให้สินเชื่อนั้น ได้กาหนดไว้ว่า (๑) บุคคลซึ่งให้สินเชื่อ เป็ น ทางการค้าปกติ ตรงนี้ ถ้าบุ คคลที่ให้ สิ นเชื่อพูดง่าย ๆ ว่า ไม่ได้มีทางการค้าปกติในการให้ สิ นเชื่อได้ให้ สินเชื่อไปแล้ว แล้วไปทวงถามหนี้ในลักษณะที่ผิดไปจากพระราชบัญญัติฉบับนี้ บุคคลผู้เป็นผู้ทวงถามหนี้หรือ ๕๒

๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๑๘ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดอกเตอร์บวรศักดิ์ อุวรรณโณ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๑๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๓ จากสรุปผลการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถาม หนี้ พ.ศ. ... สภานิติบัญญัติแห่งชาติครั้งที่ ๔ วันจันทร์ที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๗


๒๐ เป็นเจ้าหนี้จะต้องรับผิดตามกฎหมายนี้หรือไม่ เพราะนิยามศัพท์ไม่ครอบคลุมถึงเขา แล้วการที่นิยามศัพท์ เฉพาะ ซึ่งเป็นการให้บริการทางการค้าปกติอาจจะเป็นช่องว่างที่จะให้ผู้ที่มีอาชีพในการที่จะให้สินเชื่ อหาทาง ออกว่าเขาไม่ได้ดาเนินการเป็นทางการค้าปกติที่อาจจะหลุดไปจากพระราชบัญญัตินี้ เห็นว่าถ้ากาหนดไว้แคบ เช่นนี้อาจจะเป็นช่องทางหนึ่ง ก็คือเป็นช่องโหว่ให้ผู้ที่ให้สินเชื่อเป็นทางการค้าปกติอาศัยช่องทางว่าเขาไม่ได้ให้ สินเชื่อเป็นทางการค้าปกติ กับประเด็นที่ ๒ ก็คือผู้ให้สินเชื่อที่ไม่ได้เป็นทางการค้าปกติอาจจะกระทาผิดตาม ร่างพระราชบัญญัตินี้ แต่ไม่เข้าข่ายที่จะต้องรับโทษตามพระราชบัญญัตินี้๕๗ จุดประสงค์ของร่างกฎหมายฉบับนี้ต้องการที่จะควบคุมผู้ทวงถามหนี้ที่อยู่ในระบบและนอกระบบ ซึ่ง ทาเป็นทางการค้าปกติ ก็คือมีอาชีพทางด้านปล่อยสินเชื่อหรือว่าให้กู้ยืมอะไรต่าง ๆ เหล่านี้ ร่างกฎหมายฉบับ นี้ไม่ต้องการที่จะไปควบคุมดูแลการทวงถามหนี้ ซึ่งเจ้าหนี้นั้นไม่ใช่เป็นเจ้าหนี้อาชีพ ซึ่งอาจจะมีเกิดจากการ ที่ว่าเป็นหนี้กันระหว่างเพื่อนฝูง คนรู้จักกันเป็นครั้งคราว การปล่อยให้กู้หนี้ยืมสินเป็นครั้งคราว และไปทวงถาม หนี้นั้น กฎหมายฉบับนี้ไม่ต้องการควบคุมแก้ไขปัญหา เพราะเนื่องจากว่ากฎหมายฉบับนี้ต้องการแก้ปัญหาที่ เกิดขึ้นในสังคม ก็คือเกิดขึ้นจากที่เจ้าหนี้ที่ปล่อยเงินกู้เป็นอาชีพ ก็จะมามีการก่อให้ เกิดความเดือดร้อนกับ ลูกหนี้ ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีอยู่ เพราะฉะนั้นกฎหมายฉบับนี้ ไม่ต้องการให้ไปคลุมถึงกรณีที่เพื่อนฝูงให้กู้ยืมกัน แต่ถ้าเป็นการทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่ถูกต้อง มีการคุกคาม ถึงแม้จะเป็นในระดับแบบเพื่อนฝูง ซึ่งก็อาจจะ เป็นทางกฎหมายอาญาที่จะต้องมาแก้ไขปัญหาตรงส่วนนั้น เพราะกฎหมายฉบับนี้ต้องการที่ จะแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้นในสังคมสาหรับปัญหาถามว่า แล้วจะแก้ไขปัญหาอย่างไรสาหรับกรณีที่เจ้าหนี้เงินกู้ที่ทาเป็นอาชีพ แต่ พยายามอ้างว่าตัวเองไม่ได้ทาเป็นอาชีพ อันนั้นก็เป็นเรื่องที่ต้องพิสูจน์กันในขั้นตอนการบังคับใช้กฎหมายว่า เขาเป็นผู้ปล่อยสินเชื่อทางการค้าปกติหรือไม่ ก็ต้องพิสูจน์กันในชั้นนั้น เพราะฉะนั้นการบัญญัติในลักษณะนี้ เป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว แล้วก็ไม่สามารถที่จะไปเขียนกฎหมายอุดช่องว่างว่า กรณีที่เขาเป็นเจ้าหนี้ทางการค้าปกติ แล้วมาอาศัยช่องทางนี้ก็มีได้ในทางปฏิบัติ แต่ก็ต้องเป็นการพิสูจน์กันในชั้นบังคับใช้กฎหมาย ทีนี้สาหรับที่ท่าน ประธานสอบถามเกี่ยวกับเรื่องว่าเจ้าหนี้กับลูกหนี้เป็นใคร ซึ่งตัวกฎหมายฉบับนี้ต้องการให้คลุมถึงทั้งเจ้าหนี้ใน ระบบและเจ้าหนี้นอกระบบ เพราะฉะนั้นก็จะมาเริ่มต้นจากตัวละครตรงของผู้ทวงถามหนี้ว่า ผู้ทวงถามหนี้ซึ่ง เป็นเจ้าหนี้นอกระบบ ในระบบมีกลุ่มไหนบ้างก็พอจะแยก ๆ ได้เป็นหลายกลุ่ม๕๘ กลุ่มแรก ก็คือเจ้าหนี้ซึ่งเป็นผู้ให้สินเชื่อ ซึ่งคาว่า ผู้ให้สินเชื่อ มีนิยามอธิบายมาว่า สินเชื่ออะไรบ้าง ซึ่ง จากผู้ให้สินเชื่อก็ยังมีนิยามสินเชื่ออีก ซึ่งตามความหมายที่เข้าใจกัน คือเป็นเรื่องการให้กู้ยืมเงิน หรือว่าพวก การให้ บ ริการบั ตรเครดิต การให้ เช่าซื้อ ซึ่งส่วนใหญ่ ก็มักจะเป็นเรื่องหนี้ในระบบ รวมทั้งเจ้าหนี้เงินกู้ห รือ เอกชนที่อยู่ทางต่างจังหวัด ตามท้องถิ่นที่เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ ตรงส่วนนี้ก็จะมาเข้าอยู่ในกลุ่มแรก กลุ่มที่ ๒ ทางคณะกรรมาธิการก็ไปนึกถึง เขาไม่ใช่ เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ แต่เป็นพ่อค้าที่ขายสินค้าหรือ บริการ ซึ่งประกอบอาชีพค้าขายบริการ แล้วมีการท้วงหนี้จากลูกหนี้ที่มาเป็นลูกค้าซื้อสินค้าหรือรับบริการ ก็ จะถูกควบคุมตามกฎหมายฉบับนี้ด้วย ถึงแม้ไม่ใช่เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ เพราะเป็นพ่อค้า แล้วก็จะมีการท้วงถามหนี้ อยู่เหมือนกัน กลุ่มต่อไปทางคณะกรรมาธิการก็ไปนึกถึงปัญหาที่เกิดขึ้นมาก ก็คือกลุ่มเจ้าหนี้เงินพนัน ซึ่งบังคับ กาหนดไว้ว่า เฉพาะผู้ให้เล่นการพนันที่เป็นปกติธุระเท่านั้น แล้วก็กากับตอนท้ายของนิยามนี้ว่าหนี้นั้น ไม่ว่าหนี้ นั้นจะเป็นหนี้โดยชอบหรือกฎหมายหรือไม่ เพราะฉะนั้นความหมายก็หมายถึงว่า ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหนี้พนัน ผู้จัด ๕๗ ๕๘

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๔ นายมนุชญ์ วัฒนโกเมร สมาชิกสภานิติบัญญัตแิ ห่งชาติ ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้ง ที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๕ นายวรรณชัย บุญบารุง กรรมาธิการวิสามัญ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประชุมสภานิติ บัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗


๒๑ ให้มีการเล่นซึ่งได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยพนัน หรือไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยพนัน อย่างเช่น บอล เจ้ามือบอล หวยออนไลน์ (Online) อะไรต่าง ๆ ซึ่งเวลานี้ก็จะถูกบังคับตามกฎหมายฉบับนี้ทันที่ว่ าการ ทวงถามหนี้ถ้าทวงถามไม่ถูกต้องตามกฎหมายฉบับนี้จะถูกลงโทษ กลุ่มต่อไปทางคณะกรรมาธิการพยายามกวาดถึงว่า นอกจากมีหนี้เงินกู้ หนี้สัญญาซื้อขาย หรือบริการ ต่าง ๆ ก็อาจจะมีกลุ่ม หรือว่าหนี้พนันก็อาจจะมีกลุ่มหนี้อื่นที่เจ้าหนี้เป็นผู้ประกอบกิจการทางการค้าปกติ ซึ่ง อาจะมีกลุ่มอื่นที่ทางคณะกรรมาธิการอาจจะคาดไม่ถึงว่า มีเจ้าหนี้ในกลุ่มนี้อยู่ ซึ่งอาจจะเป็นไปได้ว่าเป็นกรณี ที่ว่า อย่างเช่นกรณีคอนแทร็ค ฟาร์ม (Contract farm) ที่มีการให้สินค้าเกษตรกับชาวเกษตรกร ปุ๋ยอะไรต่างๆ ไปใช้ก่อนแล้วก็ค่อยมาชาระทีหลัง ก็คล้าย ๆ ว่าไปเอาราคาสินค้าทีหลัง ไม่ได้ขายปุ๋ยขายสินค้าโดยตรง เขียน ไว้ว่า ถ้าเขาทาเป็นการค้าปกติแล้วก่อให้เกิดหนี้ขึ้นมานี้ แล้วไปทวงถามหนี้ก็จะถูกบังคับตามกฎหมายฉบับนี้ คณะกรรมาธิการได้พิจารณาตรงส่วนนี้ ซึ่งไม่ได้หมายความว่าเป็นหนี้อย่างเช่นที่บางทีเข้าใจเจ้าหนี้ เงินกู้คิดดอกเบี้ยเกินอัตราอะไรพวกนี้ ซึ่งก็เป็นโมฆะในตรงส่วนของดอกเบี้ย คือหมายถึงหนี้อื่น ๆ อย่างเช่น ตัวอย่างเจ้าหนี้การพนัน ซึ่งเป็นหนี้สามัญคือถ้าไม่ได้รับอนุญาตให้เล่นการพนัน แล้วไปจัดให้มีการเล่นพนัน หนี้เหล่านี้เป็นหนี้สามัญ ซึ่งตามกฎหมายไม่สามารถที่จะฟ้องร้องบังคับคดีได้ แต่เกิดเจ้าหนี้นี้มาบังคับชาระหนี้ โดยการทวงถามหนี้ที่ไม่ถูกต้อง ก็จะลงโทษเขาด้วยเพราะว่าเป็นกลุ่มใหญ่ ซึ่งส่วนใหญ่หนี้นอกระบบนี้มักจะ เป็นหนี้ที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ไม่รวมถึงหนี้ซื้อขายยาเสพติด หรือรวมหรือเปล่า๕๙ รวมถึงหนี้ทุกอย่าง๖๐ ถ้าตัวเจ้าหนี้นั้นได้ประกอบธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นการขายสินค้า ให้บริการ ให้เงินกู้ หรือประกอบธุรกิจอะไรต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดหนี้ขึ้นมาแล้วไปทวงถามหนี้นั้นก็จะถูกบังคับตามกฎหมายฉบับนี้ ตามความเข้าใจหมายความว่าการทวงถามหนี้ใช้บังคับเฉพาะบุคคลธรรมดาไม่ใช่นิติบุคคล๖๑ แต่จะไป ขัดกับเรื่องของนิยามว่า นิยามของสินเชื่อหมายความว่า สินเชื่อที่ให้แก่บุคคลธรรมดาโดยการให้กู้ยืมเงิน การ ให้บริการบัตรเครดิต การให้เช่าซื้อ การให้เช่าแบบลีสซิ่ง และสินเชื่อในรูปแบบอื่นที่มีลักษณะทานองเดียวกัน ที่ขัดก็คือหมายความว่าสินเชื่อในระบบที่การให้บริการบัตรเครดิต การให้เช่าซื้อ การให้เช่าแบบลีสซิ่ง ส่วนมาก จะทาในรูปแบบนิติบุคคล อยากจะทราบคาอธิบาย จุ ด ประสงค์ ข องคณะกรรมาธิ ก ารที่ แ ก้ ไขนิ ย ามผู้ ให้ สิ น เชื่ อ จากนิ ติ บุ ค คลเป็ น บุ ค คลนั้ น ๖๒ ซึ่ ง มี ความหมายรวมถึงทั้งนิติบุคคลและบุคคลธรรมดา นิยามคาว่าบุคคลตามกฎหมายประมวลแพ่งรวมทั้ง ๒ กลุ่ม ซึ่งก็จะทาให้คลุมถึงทั้งผู้ให้สินเชื่อซึ่งอยู่ในระบบ พวกสถาบันการเงินอะไรต่าง ๆ ก็จะเป็นนิติบุคคล ซึ่งแต่เดิม นี้กฎหมายฉบับ นี้ต้องการเฉพาะเป็น สินเชื่อในระบบเท่านั้น พอจะขยายไปจนถึงสินเชื่อนอกระบบซึ่งก็คือ เจ้าหนี้เงินกู้ ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาที่อยู่ต่างจังหวัด หรือแม้กระทั่งเป็นบริษัท ห้างร้านต่าง ๆ ที่ปล่อยสินเชื่อไป ซึ่งไม่ใช่สถาบันการเงินก็จะถูกคลุมถึงทั้งหมดว่าบุคคลเหล่านี้ ก็จะต้องถูกบังคับ พอไปดูนิยามคาว่า สินเชื่อ ซึ่ง จะเห็นได้ว่า ในกรณีที่เป็นบุคคลธรรมดานั้นที่ปล่อยสินเชื่อ ก็จะได้แก้ว่า เป็นกรณีบุคคลธรรมดาโดยการให้ กู้ยืมเงิน ซึ่งกรณี นี้ก็เป็ นทั้งที่เป็น สถาบัน การเงินหรือไม่ใช่สถาบันการเงิน เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ธรรมดาก็จะถูก บังคับตามนี้ แต่ในกรณีที่เป็นการให้บริการบัตรเครดิตอะไรต่าง ๆ เหล่านี้ ลีสซิ่ง ส่วนใหญ่ก็คือต้องเป็นนิติ บุคคลเท่านั้นที่จะสามารถประกอบธุรกิจตรงนี้ แล้วก็จะเป็นผู้ให้สินเชื่อได้ เพราะฉะนั้นตามนิยามของทั้ง ๒ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๖ ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๘ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๘ นายสุธรรม พันธุศักดิ์ กรรมาธิการวิสามัญ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประชุมสภานิติ บัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๘


๒๒ อย่างก็คือ ผู้ให้สินเชื่อกับสินเชื่อนี้ก็จะคลุมทั้งหนี้ในระบบและหนี้นอกระบบ รวมทั้งบุคคลธรรมดาและก็นิติ บุคคลด้วย มีข้อสังเกต ๒ – ๓ เรื่องเกี่ยวกับกฎหมายฉบับนี้๖๓ ประการแรก มีความรู้สึกว่ากฎหมายเขียนลักษณะเพื่อให้ขยายตัว จะสังเกตว่า ผู้ให้สินเชื่อตั้งต้นเป็น นิติบุคคลผู้ให้สินเชื่อ ก็ดูเหมือนว่าจะไม่คุมถึงคนธรรมดาที่เป็นพวกเจ้าหนี้มีอิทธิพลอะไร แต่มี (๓) ที่ให้ขยาย โดยออกกฎกระทรวงได้ อย่างเช่นสินเชื่อคืออะไร เขียนไว้เจาะจง แต่ก็ให้ขยายตัวได้ คือมีการที่จะกาหนด สินเชื่อแบบแปลก ๆ ใหม่ ๆ ต่อไปในกฎกระทรวง ข้อสังเกตประการที่ ๒ แนวความคิดดั้งเดิมน่าจะเอาผิดกับคนที่ทวงหนี้นอกรอบระบบ หรือพวกที่ใช้ อิทธิพลข่มขู่อะไรพวกนั้น แต่การเขียนแล้วตัวบทจะใช้กับผู้ให้สินเชื่อในระบบก่อนเป็ นส่วนใหญ่ ก็คือพวก แบงก์ทั้งหลาย ส่วนพวกนอกระบบคิดว่าต้องพัฒนาไปอีกขั้นหนึ่ง พอดูกฎหมายแล้วก็มีหลายคนสงสัยว่าจะไม่ คุมไปถึง ทีนี้ประเด็นคือว่าสถาบันที่ให้สินเชื่อในระบบน่าจะอยู่ในความควบคุมของใครอยู่แล้ว ยกตัวอย่างเช่น พวกแบงก์ทั้งหลายคงเป็นไปไม่ได้ที่จะไปทวงหนี้แบบลักษณะที่รังเกียจต้องมาเขียนกฎหมายเอาผิด แบงก์ชาติ ก็คุมอยู่แล้วหรือพวกสถาบันการเงินอื่น ๆ ที่ใช้คาว่า “นิติบุคคล ซึ่งให้สินเชื่อเป็นปกติธุระ” ส่วนพวกที่อยู่นอก ระบบเป็นพวกผู้มีอิทธิพลตามต่างจังหวัด หรืออะไรที่ปล่อยให้กู้เงินเรียกดอกเบี้ยสูง ๆ มีการทวงถามโดยการ ใช้กาลัง เข้าใจว่าจะยังไม่อยู่ในกฎหมายนี้จนกว่าจะมีการออกกฎกระทรวงกันออกไป ขอบเขตหรือเป้าหมายที่ จะไปควบคุมตรงกับที่ตั้งปณิธานหรือเป็นเหตุผลของการบัญญัติกฎหมายนี้หรือไม่ ประการสุดท้าย ยกตัวอย่างเคยมีคาพิพากษาฎีกา ซึ่งไม่แน่ใจว่าเปลี่ยนแนวไปหรือยั งตอนนี้ ก็คือว่า การทวงหนี้โดยใช้กาลังหรือโดยข่มขู่ ศาลฎีกาไม่ได้มองว่าเป็นกรรโชก หรือไม่ได้มองว่าเป็นการชิงทรัพย์หรือ อะไรลักษณะนั้น คล้าย ๆ กับว่าเขามีสิทธิที่จะทาได้ ซึ่งอันนี้ต้องแก้โดยกฎหมายอันนี้ ให้พวกอย่างนั้นผิด กฎหมาย ถ้ าเผื่ อ ว่ าไม่ ผิ ด เกี่ ย วกั บ ทรั พ ย์ ก็ ต้ อ งถื อ ว่ า ผิ ด กฎหมายเฉพาะได้ อั น นี้ ก็ อ าจจะสมเจตนารมณ์ เพราะฉะนั้ น สิ่ งที่น่ าจะต้องคุย กัน ให้ ตกผลึ กก็คือขอบเขตมุ่งที่จะเอาผิ ดกับตรงไหนอย่างไร แล้ วตอนออก กฎหมายแรกต้องมีการประชาสัมพัน ธ์ ให้ คนรู้น่าจะต้องชัดเจนกับบรรดาชาวบ้านว่า กฎหมายแก้ปัญ หา ข้อเท็จจริงสามารถคุ้มครองเขา จากการทวงหนี้พวกเจ้าหนี้หน้าเลือดอะไรทั้งหลายได้จริง ๆ ไม่แน่ใจว่าถ้า ออกไปโดยยังต้องการการเจริญเติบโตอีกขั้นตอนหนึ่ง อีกเท่าไรถึงจะมีบทคุ้มครองตรงนั้น พิจารณาร่วมกับทางกระทรวงการคลังในเรื่องที่จะแก้ไขปรับปรุงให้ครอบคลุมถึงเรื่องหนี้นอกระบบ ด้วย และเรื่ องกลไกของผู้ ใช้ อานาจว่าจะกาหนดหลั กเกณฑ์ กันอย่ างไร เพื่ อให้ ส อดคล้ องกับกรณี ที่ มีการ เพิ่มเติมหลักการ เรื่องหนี้นอกระบบเข้ามา๖๔ แนวทางที่แก้ไขในเรื่องการที่จะให้ครอบคลุมถึงหนี้นอกระบบนั้น แก้ไขนิยาม คาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ตาม (๑) ซึ่งแต่เดิมนี้เน้นเฉพาะหนี้ในระบบ คือหนี้สถาบันการเงินหรือ Non bank เพราะฉะนั้นก็จะใช้คาว่า “นิติบุคคลซึ่งให้สินเชื่อ” เป็นทางการค้าปกติ ซึ่งก็คือหมายถึงสถาบันการเงินต่าง ๆ ปรับแก้เป็นว่า “บุคคลซึ่ง ให้สินเชื่อ” ธรรมดาเพราะว่ากรณีหนี้นอกระบบพวกนายทุนอะไรต่าง ๆ ไม่สามารถที่จะให้สิ นเชื่อเป็นทาง การค้ า ปกติ ได้ เพราะต้ อ งถู ก ควบคุ ม โดยตามกฎหมายสถาบั น การเงิน อะไรต่ าง ๆ เพราะฉะนั้ น ก็ เขี ย น เนื่องจากว่าบุคคลนี้ อาจจะเป็น บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ ซึ่งก็ให้สินเชื่อ คาว่า “สินเชื่อ” เนื่องจาก นิยามกว้าง รวมถึงกับสินเชื่อที่ให้เรื่องการกู้ยืมเงิน บัตรเครดิต เช่าซื้อ Leasing อะไรพวกนี้ เพราะฉะนั้นก็คุม ๖๓ ๖๔

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๐ นายสงคราม สกุลพราหมณ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยาม “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๑ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๗


๒๓ ได้ทั้งกรณีที่เป็นสถาบันการเงิน สินเชื่อที่เป็นสถาบันการเงิน สินเชื่อที่ไม่ใช่สถาบันการเงินได้ด้วย เนื่องจาก นิยามสินเชื่อกว้าง จากัดกรอบว่าคนที่เป็นลูกหนี้ต้องเป็นบุคคลธรรมดาเท่านั้นที่คุ้มครอง ไม่คุ้มครองนิติบุคคล เพราะฉะนั้น (๑) การแก้ไขก็จะสอดคล้องกับนิยามสินเชื่อ ก็จะทาให้คุมทั้งหนี้ในระบบแล้วก็หนี้นอกระบบ และรวมทั้ง (๒) กรณีที่รับซื้อ รับโอนต่อไปทุกทอดนี้ก็ได้ทั้งในระบบและนอกระบบเหมือนกันเป็นหลักการแรก ที่ได้ปรับแก้ และกลไกของกระบวนการ เนื่องจากเดิมหลักการใช้เฉพาะหนี้ในระบบ เพราะฉะนั้นให้สานักงาน เศรษฐกิจการคลังมาเป็นเจ้าภาพดูแลและกระทรวงการคลังเป็นผู้รักษาการ พอเปลี่ยนหลักการเป็นหนี้นอก ระบบด้วย ส่วนใหญ่คนที่เกิดปัญหา คือหนี้นอกระบบ เพราะฉะนั้นปัญหาที่เกิดขึ้นให้ทางกระทรวงมหาดไทย ซึ่งจะดูแลเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยเรื่องนี้แทน แต่ก็ยังไม่ตัดสานักงานเศรษฐกิจการคลังออกไป เพราะว่า สานักงานเศรษฐกิจการคลังจะรับมอบหมายจากคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ไปกากับสถาบันการเงิน ในการทวงหนี้ หลักสาคัญที่จะพิจารณาก็คือมาตรา ๓ เป็นหัวใจ๖๕ เนื่องจากว่าเจ้าหนี้คือผู้ทวงเป็นผู้ทวงถาม เจ้าหนี้ ผู้ ให้ สิ น เชื่ อ นี้ จ ะเป็ น ผู้ ท วงถาม แล้ ว ก็ มีลู ก หนี้ เพราะฉะนั้ น ต้ อ งมาดู ว่าผู้ ให้ สิ น เชื่อ ที่ จะทวงถามได้นี้ มี ห นี้ อะไรบ้าง เพราะฉะนั้นถ้าไปจากัดจะมาดูว่าวัตถุประสงค์ว่าจะรวมทุกหนี้ หนี้นอกระบบและในระบบ หนี้ใน ระบบนี้คงไม่มีปัญหา แต่หนี้นอกระบบจะคิดอย่างไรว่าอันไหนนอกระบบ เพราะฉะนั้นคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้” คือเจ้าหนี้กับ ลูกหนี้เป็นจุดสาคัญที่สุดที่จะต้องพิจารณา ถ้าเจ้าหนี้ผู้ทวงถามหนี้ไปให้จากัดความว่าคือผู้ให้ สินเชื่อซึ่งอาจจะแคบไป ถ้าผู้ให้สินเชื่อตามหลักธนาคารก็คือการกู้ยืมเงินธรรมดานี้เอง แต่อันนี้ในการจากัด ความคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ (๑) เป็นบุคคลซึ่งให้สินเชื่อเป็นทางการค้าปกติ ทางการค้าปกติก็คือชอบ ทีนี้ถ้าบอก ว่าผู้ให้สินเชื่อเป็นบุคคลผู้ประกอบอาชีพหารายได้ วัตถุประสงค์ก็คือให้สินเชื่อลักษณะเป็นการประกอบอาชีพ หารายได้ เช่น ให้กู้ยืมเงินแต่นอกระบบ คือประกอบธุรกิจอาจจะหารายได้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นอีกเรื่อง หนึ่ง อาจจะไม่อยู่ในคาจากัดความคาว่า “สินเชื่อ” ปกติ ให้การกู้ยืมเงินธรรมดาหรือดอกเบี้ยร้อยละ ๒ ร้อย ละ ๓ อะไรอย่างนี้ ก็เป็นการประกอบอาชีพหารายได้ ส่วนมากพวกหนี้นอกระบบนี้ผู้ประกอบอาชีพหารายได้ ที่อาจจะไม่ถูกต้องตามกฎหมายบางส่วน หรืออาจจะมีการกาหนดลักษณะหนี้ขึ้นมา ส่วนลูกหนี้คงไม่มีปัญหา อะไรเพราะลูกหนี้ก็คือผู้เดือดร้อน เพราะฉะนั้นรู้ว่าเจ้าหนี้ หนี้อะไร คาจากัดความนี้ เพราะว่ามาตราอ้างก็เป็น ส่วนประกอบเท่านั้นเอง เพราะฉะนั้นถ้าพูดถึงหลักการเจ้าหนี้ให้ครอบคลุมทั้งหมดโดยไม่ใช่ตัวคาว่า “สินเชื่อ” อย่างเดียวก็อาจจะครอบคลุมได้ คืออยากให้ครอบคลุมไปถึงหนี้นอกระบบแต่จากัดเฉพาะที่เป็นสินเชื่อ๖๖ คือที่จะเป็นหนี้นอกหรือใน อยู่ที่นิ ยามคาว่า “ผู้ให้ สินเชื่อ” คือถ้าจะไปจากัดเฉพาะนิติบุคคล คือนิติบุคคลส่วนใหญ่ทาปกติเป็นหนี้ใน ระบบเป็นพวกสถาบันการเงิน ถ้าจะให้คลุมไปถึงพวกมีอิทธิพลซึ่งเป็นคนธรรมดานี้จาเป็นจะต้องปรับนิยามคา นี้ แต่ถ้าเผื่อว่าจะขยายตัวหนี้หรือลูกหนี้จากสินเชื่อ ซึ่งขณะนี้หนี้เขาล็อกไว้เฉพาะสินเชื่อแล้ว ว่าแม้จะออก กฎกระทรวงก็ต้องเป็นสินเชื่อในรูปแบบอื่ น เพราะฉะนั้นเป็นหนี้อื่นที่ไม่ใช่สินเชื่อ จะไม่สามารถไปกาหนด กฎกระทรวงได้ก็จะไม่รวมหนี้พนัน เพราะหนี้พนันไม่ใช่สินเชื่อ หนี้พนันก็จะอยู่นอกกรอบ ถ้าจะเอาหนี้พนัน เข้ามาก็จ าเป็ น จะต้องเพิ่มถ้าเป็ น ตอนนี้ คือเพิ่มตรงผู้ ทวงถามหนี้ว่านอกจากผู้ ให้ สินเชื่อก็จะเป็นคนอื่นใน ลั ก ษณะที่ ป ล่ อ ยหนี้ อย่ างอื่น คื อ ท าให้ Simple มากขี้ น ท าให้ ง่ายลง เพราะเข้าใจว่าร่างนี้ เดิ ม ร่างมาบน Concept ที่ว่าเป็นหนี้ในระบบไปเน้นสถาบันการเงิน หนี้สินเชื่ออะไรพวกนั้น ทีนี้ถ้าเกิดว่าเปลี่ยนอาจจะต้อง ทาให้นิยามทั้งหลายง่ายลง คลุมมากขึ้น คือแทนที่จะเป็นผู้ทวงถามหนี้แล้วมีผู้ให้สินเชื่อแล้วมีสินเชื่ออีก ๓ คา ๖๕

๖๖

มาตรา ๓ นิยาม “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๒ นายสงคราม สกุลพราหมณ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๓/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยาม “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๓


๒๔ โยงกันนี้ เอาเจ้าหนี้อย่างเดียวเลย แล้วก็เจ้าหนี้นี้ก็ทุกอย่างเลยซึ่งเป็นคนก่อหนี้อยู่ในข่ายได้หมดทานองนั้น แล้วก็ลูกหนี้ก็เพิ่งเห็นปัญหาในนี้ไปล็อกเลยว่าต้องมีภาระผูกพันที่ต้องชาระหนี้ ทีนี้พวกหนี้ที่ผิดกฎหมายหนี้ พนันนี้จริง ๆ แล้วลูกหนี้ไม่ได้มีภาระต้องชาระหนี้ตามกฎหมายแต่เป็นหนี้ที่ถูกข่มขู่มากที่สุดโดยระบบนอก กฎหมาย เพราะฉะนั้นคือว่าต้องการจะควบคุมการทวงถาม แม้จะไม่มีความผูกพันตามกฎหมายแต่ไปก่อหนี้ โมฆะนั้นขึ้นแล้วก็เป็นเหตุให้มีการทวงถามหนี้ ก็ต้องการจะไปควบคุมการทวงถามหนี้ในลักษณะนั้นด้วย เห็น ด้วยในลักษณะนั้น ก็คงต้องพิจารณาว่าอยู่ที่นิยาม ๒ – ๓ คาตรงนี้ ผู้ทวงถามหนี้ผู้ให้สินเชื่อ ๓ คานี้ไปด้วยกัน เป็นพวกหนึ่ง ลูกหนี้อีกกลุ่มหนึ่งที่ว่ารูปแบบพฤติกรรมที่จะควบคุมหรือจะห้ามก็เห็นด้วยว่าเขียนมาค่อนข้ างดี ครอบคลุมแล้ว หลักการได้ว่าจะให้ใครทาอะไร ใครรักษาการอะไร จากประเด็นที่ว่าผู้ให้สินเชื่อ ๖๗ เข้าใจว่าหมายถึงอะไรก็คือปล่อยกู้ใช่ไหม ในนิยามผู้ทวงถามหนี้ก็จะ บอกว่าหมายความว่าผู้ให้สินเชื่อ เพราะต้องการตัดตัวบุคคลที่ว่าให้เพื่อนยืมเงินนี้ไม่ใช่ไม่เป็นสินเชื่อทางการค้า ปกติก็จะคลุมหมด ไม่ว่าจะเป็นสินเชื่อนอกระบบ ในระบบ ซึ่งตอนท้ายจะเขียนประกอบเพิ่มเข้าไปด้วย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นหนี้ที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ก็ตาม ประกอบเข้าไปอีกทีก็ได้ ก็จะไปรวมถึงคนที่ปล่อยเงินกู้ ผู้ให้ สินเชื่อที่ไม่เป็นทางการค้าก็ดี เพิ่มตัวละครเข้าไปอย่างที่เคยเสนอว่าผู้เป็นเจ้าหนี้อันเกิดจากการพนัน ตัวละคร อันนั้น ก็จะเป็นหนี้พนันแล้วเข้ามา แล้วก็อีกกลุ่มหนึ่งที่เห็นว่าควรเพิ่มเข้ามาก็คือผู้เป็นเจ้าหนี้อันเกิดจากการ ประกอบกิจการค้า ซึ่งประกอบกิจการค้าไม่ว่าจะบริการ ไม่ว่าจะสินค้านี้ก็จะเข้ามา ถ้าทางที่ประชุมต้องการให้ คลุมถึงตัวบุคคลเหล่านี้ด้วย พอต่อมาก็จะอธิบายได้ตัวละคร ๓ กลุ่ม อาจจะเพิ่มกลุ่มไหนเข้าไปก็เพิ่มตัวละคร เข้าไป เสร็จแล้วก็จะมารวมถึงตัวผู้รับมอบอานาจก็จะบอกว่า “หรือผู้รับมอบอานาจจากบุคคลดังกล่าวข้างต้น ที่ให้มาทวงอีกทีหนึ่ง คือผู้รับมอบอานาจช่วงในการทวงถามหนี้แล้วให้หมายความรวมถึงผู้ประกอบธุรกิจทวง หนี้ แล้วผู้รับมอบจากผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ด้วยแล้ว ” ก็ประกอบต่อท้ายไปอีกที แล้ว “ทั้งนี้ ไม่ว่าจะ เป็นหนี้ที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ก็ตาม” เพื่อให้ชัดเจนลงไปเลยว่าหนี้กลุ่มบุคคล ๓ คนข้างต้นเป็นหนี้ที่ชอบ ด้วยกฎหมายหรือไม่ชอบกฎหมาย แต่จริง ๆ ถ้าหนี้พนันบอกถึงตัวอยู่แล้ว ไม่ชอบด้วยกฎหมาย แต่ต่อไป อาจจะเป็นหนี้ที่ได้รับการพนันหรือไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายก็ได้เหมือนกัน ไม่ต้องมีนิยามคาว่า “ผู้ให้ สินเชื่อ” สินเชื่อซึ่งตอนนั้นไปมุ่งถึงเรื่องการประกอบกิจการในระบบ Bank เท่านั้น ไม่ต้องไปเพิ่มตัวละครอะไร อีกแล้ว นิยามผู้ให้สินเชื่อ ซึ่งสินเชื่อก็ตัดออกไปได้ ส่วนลูกหนี้นั้นก็เหลือแต่เพียงว่า “ลูกหนี้” ให้หมายความ รวมถึงบุคคลธรรมดาซึ่งเป็นผู้ค้าประกันหนี้ด้วยใช่ไหม คลุมหมด ถ้าต้องการคลุมถึงผู้ค้าประกันก็จะได้ ทั้งใน ระบบ และนอกระบบ ความหมายตามความเข้าใจหนี้ในระบบ ๖๘ หนี้นอกระบบ หนี้ในระบบ หมายถึง หนี้ในระบบสถาบัน การเงินหรือพวก Non – Bank ซึ่งเป็นไปตามร่างเดิม แต่อันนั้นคือความหมายหนี้ในระบบระบบที่มีมีการผ่าน ทางสถาบันการเงิน แต่พอพูดถึงเรื่องนอกระบบ หมายถึง เจ้าหนี้ปล่อยเงินกู้ตามต่างจังหวัดอะไรพวกนี้ นี่คือ นอกระบบซึ่งไม่ได้รับอนุญาตในการปล่อยเงินกู้ไม่ได้ทาธุรกิจ แต่ก็เอาพ่วงเข้ามาด้วยอยู่แล้วตามบทนิยามคา ว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” เพราะว่าไปตัดคาว่า “นิติ” ออก เหลือแต่ “บุคคล” บุคคลซึ่งให้สินเชื่อเป็นทางการค้าปกติ ซึ่งคลุมถึงนอกระบบอยู่แล้วชัดเจน แน่ใจว่าคลุมถึงนอกระบบของเจ้าหนี้เงินกู้ต่างจังหวัดอะไรพวกนี้ชัดเจนไม่ มีปัญหา กลุ่มนี้จะถูกบังคับตามกฎหมายฉบับนี้ นอกระบบตรงส่วนที่ไม่ได้เป็นผู้ให้สินเชื่อ ก็คือพวกขายสินค้า ทางการเกษตรหรืออะไรพวกนี้ หรือทางผู้ให้บริการ หนี้เหล่านี้ที่ค้าขาย ขายสินค้าหรือให้บริการอะไรต่าง ๆ ๖๗ ๖๘

มาตรา ๓ นิยาม “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๔ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๓/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยาม “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๕ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๗


๒๕ เข้ามาอยู่ตามนี้แล้ว พวกนอกระบบ กลุ่มนี้เข้ามาค่อนข้างชัดเจนไม่มีปัญหาตามนิยามคาว่า ผู้ประกอบธุรกิจ แต่นี่ยังเหลือกรอบขอบเขตที่ยังไม่ชัดเจนก็คือพวกหนี้ที่ผิดกฎหมาย หรือว่าหนี้บางอย่างที่ถูกกฎหมายก็คือหนี้ ที่มีการพนันตามชอบด้วยกฎหมาย ตรงส่วนนี้ยังไม่ได้เขียนเอาไว้ เพราะว่าไม่ได้เข้ากลุ่มผู้ให้สินเชื่อไม่ได้เข้า กลุ่มผู้ประกอบธุรกิจ ซึ่งคิดว่าไม่เข้าพวกผู้ประกอบธุรกิจไปจากัดอยู่เฉพาะเรื่องขายสินค้ากับขายบริการ แต่ กรณีพนันบอลนี้ไม่ได้เกิดจากการขายสินค้าหรือขายบริการ แต่ว่าเป็นการพนันกันแล้วเกิดหนี้ขึ้นมา ตรงนี้ยัง ไม่ได้เขียนเห็นว่าอาจจะมีประเด็นพวกหนี้เฉพาะเหล่านี้หลากหลาย ตรงนี้คิดว่าน่าจะไปอยู่คาว่า “และบุคคล ตามที่กฎกระทรวง” น่าจะได้ตรงนั้นโยนไปเรื่องกฎกระทรวงที่จะพิจารณาเป็นเฉพาะ ๆ แต่ถ้าทางที่ประชุมจะ เห็นว่าเรื่องพนันเป็นเรื่องที่สาคัญอาจจะเขียนลงไปได้ว่า “เจ้าหนี้อันเกิดจากการพนัน” ก็จะคลุมถึงเจ้าหนี้ที่ เป็นการพนันทันที ซึ่งเข้าใจว่าที่ประชุมคงเข้าใจว่าคงต้องการ เพราะว่าพนันที่ถูกกฎหมายหรือไม่ หรือว่าจะ เอาทั้ งหมดเลยทั้ งหนี้ พ นั น บอล ออนไลน์ อะไรต่ าง ๆ จะไปคุ้ ม ครองลู ก หนี้ที่ ไปเล่ น พนั น หรือ อะไรพวกนี้ ต้องการคุ้มครองไหม คงต้องถกเถียงกันในเรื่องหลักการว่าจะเอาอย่างไร เพราะฉะนั้นเรียนว่านอกระบบ ใน ระบบตอนนี้ชัดเจนส่วนหนึ่งแล้ว จะเหลือไม่ชัดเจนพวกหนี้พนัน หนี้ที่ไม่ถูกต้อง เสนอความเห็นว่าเวลาที่ขยายคาว่า “เจ้าหนี้”๖๙ คือเจ้าหนี้มีนิยามในหลายตัว แต่ก่อนขยายความคา ว่า “เจ้าหนี้” หลาย ๆ เรื่องอย่างเช่น ผู้ให้สินเชื่อ ซึ่งตอนนี้กาลังขยายความเฉพาะเจ้าหนี้แต่ว่าไปตีกรอบว่า เฉพาะผู้ให้สินเชื่อ แต่ว่าพอมีเพิ่มคาว่า “ผู้ประกอบธุรกิจ” ถ้าเสนอว่าใช้คาว่า “เจ้าหนี้” แล้วขยายความว่ามี ใครบ้างได้ไหม อย่างเช่นเป็นผู้ให้สินเชื่อ ซึ่งมีลักษณะเป็นทางการค้าปกติหรือว่าผู้ให้สินเชื่อ เพราะลักษณะ ปั จ จุ บั น เจ้ าหนี้ มี ห ลายแบบที่ ร้ องเรี ย นเข้ามาในมูล นิ ธิ จะมี ลั กษณะเป็ น สหกรณ์ ก็ มี เป็ น ลั ก ษณะเหมื อ น ประกอบธุรกิจ Micro finance ที่มีหนี้หลาย ๆ แบบเข้ามาอยู่ในบริษัท เดียวกัน ซึ่งบางเรื่องไม่ทราบว่าอิงกับ สถาบั น การเงิน อย่ างเดี ย ว พอค าว่า “สิ น เชื่ อ ” กลายเป็ น ว่ าอิ งกั บ สถาบั น การเงิน อย่ างเดี ย ว คื อ เวลาที่ ประชาชนมองคาว่า “สินเชื่อ” หมายถึงสินเชื่อที่ทากับสถาบันการเงิน แต่ถ้าเกิดว่าขยายคาว่า “เจ้าหนี้” แล้ว มีคาว่า “สินเชื่อ” หรือว่า “ผู้ประกอบธุรกิจ ” หรือว่าคนที่ขายสินค้าที่เหมือนกับสินค้าการเกษตรเข้าไป จะ ขยายความแบบนี้ในลักษณะนี้ได้หรือไม่ เพราะไปดูนิยามของเจ้าหนี้ในพจนานุกรมจะขยายคาว่า “ผู้ขายเชื่อ” หรือให้กู้ยืมทรัพย์แก่บุคคลหรือที่เรียกว่า “ลูกหนี้” เพราะฉะนั้นสามารถขยายความแบบนี้ได้หรือไม่ หมายถึง ว่าเป็นการขยายความคาว่า “เจ้าหนี้” ได้ไหม เพื่อให้ครอบคลุมทั้งหนี้นอกระบบแล้วก็หนี้ในระบบ เพราะว่า หนี้บางทีมีวิธีการซิกแซกมากมายอย่างบางคนไปซื้อทองแล้วก็ไปเสียค่ากาเหน็จ แต่ปรากฏว่าไม่ได้กาเหน็จ แต่ ไม่ได้ไปซื้อทองจริง แต่ไปกู้ยืมเงินเหมือนเอาบัตรไปกดหรืออะไร ไปกดทั้งหลาย แล้วคนที่ทวงหนี้เข้ามาหลัก ๆ เป็น Out source ก็คือบริษัทติดตามทวงถามหนี้ที่ไม่ใช่ถูกตีกรอบโดยสถาบันการเงินที่มีแนวนโยบายของ ธนาคารแห่งประเทศไทยดูแลอยู่ ซึ่งสถาบันการเงินพอมีแนวนโยบาย พยายามที่จะไม่ทวงหนี้เองจะขายหนี้ ให้กับ Out source เร็วขึ้น เพราะฉะนั้นแต่ก่อนหนี้ปัจจุบันมีแค่ ๓ - ๔ เดือน ก็ยังอยู่ในสถาบันการเงิน แต่ เมื่อใดที่มีการควบคุมเฉพาะผู้ประกอบธุรกิจทวงหนี้ เชื่อว่าสถาบันการเงินไม่ทวงหนี้เอง ก็จะโยนให้ตรงนั้น เพราะว่าสถาบันการเงินไม่ต้องรับผิดชอบ เพราะเนื่องจากว่ าถ้ากฎหมายนี้ไปไม่ถึงเจ้าหนี้ เจ้าหนี้คือสถาบัน การเงินจะกลายเป็นว่าคนที่ได้รับผลกระทบหรือคนที่ถูก พ.ร.บ. นี้ควบคุมชัดเจนก็คือคนที่ติดตามทวงถามหนี้ ที่เป็น Out source หรือคนที่มาจดทะเบียนเท่านั้น แต่ว่าปัจจุบันคนที่ติดตามทวงถามหนี้จะเป็นสานักงาน กฎหมายหรือว่าบริษัทที่ไปซื้อหนี้ที่เป็นหนี้ NPL หนี้ที่ติดตามหนี้ไม่ได้แล้วมาบริหารจัดการ พวกนี้ต้องใช้วิธี ทวงหนี้ ทุ กรูป แบบ เสนอว่าถ้าสามารถที่จ ะเป็น นิ ยามเพื่ อให้ ครอบคลุ มได้ไหม ค าว่า “เจ้าหนี้ ” เคยมีตั ว พจนานุกรมที่กาหนด ๖๙

มาตรา ๓ นิยาม “ผู้ให้สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๖ นางนฤมล เมฆบริสุทธิ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๗


๒๖ “สิน เชื่อ ” หมายความว่า สิน เชื่อที่ให้แ ก่บุ ค คลธรรมดาโดยการให้ กู้ยืมเงิน การให้บริการบั ตร เครดิต การให้เช่าซื้อ การให้เช่าแบบลิสซิ่ง และสินเชื่อในรูปแบบอื่นที่มีลักษณะทานองเดียวกัน

คาอธิบาย ความเข้าใจง่าย ๆ คือระบบการจ่ ายเงินผ่ อนช าระทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นการกู้ยืมเงิน หรือการ บริโภคซื้อสินค้าด้วยสัญญาในรูป แบบใด ๆ ที่มีลักษณะเป็นการผ่อนชาระก็อยู่ในบังคับของกฎหมายฉบับนี้ ทั้งหมด

ข้อสังเกต การกาหนดคานิ ย ามคาว่า “สิ น เชื่อ ” ควรมีการกาหนดให้ มีความชัดเจนเพื่ อให้ เกิดความเข้าใจที่ ตรงกัน๗๐ เรื่องของคานิยามว่า “สินเชื่อ” สินเชื่อนี้ก็จะเป็นสินเชื่อที่ให้กับบุคคลธรรมดา เพราะฉะนั้นจะเน้นว่า ลูกหนี้นั้น ลูกหนี้ก็คือเป็นบุคคลธรรมดา ส่วนเจ้าหนี้นั้นเป็นได้ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล อย่างที่ปรากฏ ในคาว่า ลูกหนี้นั้นจะเป็นลูกหนี้บุคคลธรรมดา ซึ่งรวมทั้งผู้ค้าประกันด้วย๗๑ คือเรื่องกฎหมายฉบับนี้จาได้ว่าทางกระทรวงการคลังครั้งนั้นมาชี้ แจงว่า กฎหมายฉบับนี้เป็นกฎหมาย ที่ทวงหนี้โดยสถาบันทางการเงิน แต่วันนี้มีการแก้ร่างขึ้นมา กฎหมายนี้แปลงจากพวกที่ปล่อยกู้ใต้โต๊ะ ใต้ดิน เอาขึ้นมาบนโต๊ะ แล้วรัฐจะได้ทางภาษี แต่วันนี้จะเป็นช่องว่าง นอกนั้นว่ากฎหมายฉบับนี้ดีมากเพราะวันนี้ รัฐบาลจะได้มีรายได้เพิ่มมาอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งรายได้ตัวนี้เป็นรายได้ที่คนไม่เคยมองเห็น เพราะว่าไปปล่อยกู้กันอีก ระดับหนึ่ง ๒๐ เปอร์เซ็นต์ ๓๐ เปอร์เซ็นต์ แต่ถ้ากฎหมายฉบับนี้ออกไปแล้วจะทาให้เงินขึ้นมาอยู่บนโต๊ะ แต่ แปลกอยู่ นิ ดหนึ่ ง เรื่อ งสิ น เชื่ อที่ บ อกว่าเป็ น เรื่องของบุ ค คล แต่พ อมาดูก ารทวงหนี้ม าตรา ๕ บุ คคลใดจะ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ แล้วกลับไปดูสินเชื่อคานิยาม สินเชื่อที่ให้แก่บุคคลธรรมดาโดยการให้กู้ยืมเงิน การ ให้บ ริการบัตรเครดิต ถ้าพวกที่อยู่ใต้ดินขึ้นมาบนโต๊ะแล้ว แล้วมาปล่อยกู้กันโดยที่ถูกต้องโดยชอบธรรมจะ ดอกเบี้ยเท่าไร ถ้าเป็นร้อยละ ๒๐ ร้อยละ ๓๐ อีก กฎหมายนี้ก็จะเกิดช่องโหว่ มีการตั้งบริษัทที่แปลงจากรูป ของบริษัทเงิน ทุน หรือบริษัทเครดิต ฟองซิเอร์ (Credit Foncier) หรือทรัสต์ (Trust) ตรงนี้จะแปลงได้ไหม เพราะเกิดมีคาว่า สินเชื่อ เสร็จแล้วพอมาหมวด ๑ การทวงถามหนี้ มาตรา ๕ บุคคลใดจะประกอบธุรกิจทวง ถามหนี้ ต้องจดทะเบี ยนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ต่อนายทะเบียน หมายความว่า ต่อไปนี้การปล่อย สินเชื่อให้แก่บุคคลธรรมดาโดยการให้กู้ยืมเงิน การให้บริการบัตรเครดิต การให้เช่าซื้อ การให้เช่าแบบลีสซิ่ง แต่ท่านตัดธุรกรรมแฟ็กเตอริง ธุรกรรมแฟ็กเตอริงก็คือปล่อยสินเชื่ออีกประเภทหนึ่งของเครื่องจักร และสินเชื่อ ในรูปแบบอื่น ตัดตรงนี้ออกไม่เป็นไร และสินเชื่อในรูปแบบอื่นที่มีลักษณะทานองเดียวกัน อันนี้กับการทวงถาม หนี้คล้าย ๆ ว่าเหมือนการล้อของกฎหมาย แต่อยากจะเรียนถามว่า ต่อไปนี้ถ้าจะเปิดบริษัททางการเงินจะเปิด ได้เลยหรือเปล่า แล้วจะแปลงเป็นนิติบุคคลกลายเป็นรูปอื่นได้หรือเปล่า๗๒ พอตัดนิ ติบุ คคลออกไปแล้ว นิ ติบุ คคลก็ยังอยู่ เพราะคาว่า บุคคล หมายถึงบุคคลธรรมดาและนิติ บุคคล เป็นความหมายที่กว้างขึ้น และสงสัยว่าธุรกรรมแฟ็กเตอริงไปตัดทาไม๗๓ สาเหตุที่มีการตัดธุรกรรมแฟ็กเตอริงออกจากนิยามสิ นเชื่อ เพราะว่าเจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้ ต้องการที่จ ะดูแลผู้ ท วงถามหนี้ ซึ่งเป็ น การให้ สิ นเชื่อแก่บุคคลธรรมดา นั่ นหมายความว่าลู กหนี้คือบุ คคล ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๓

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๖ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๓ พันตารวจโท พงษ์ชัย วราชิต กรรมาธิการวิสามัญ ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/ ๒๕๕๗ วันศุกร์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙


๒๗ ธรรมดา แต่ว่าถ้าแฟ็กเตอริงโดยส่วนใหญ่จะเป็นการให้กับนิติบุคคลหรือในลักษณะที่ไปประกอบกิจการก็เลย ควรจะที่ต้องตัดออก๗๔ คือจะคุ้มครองเฉพาะการให้สินเชื่อแก่บุคคลธรรมดา บุคคลธรรมดาที่เป็นลูกหนี้ จะถูกทวงถามหนี้ กฎหมายนี้จะคุ้มครอง แต่หากเป็นนิติบุคคลก็จะไม่ถูกคุ้มครองในมาตรา ๕ ดังนั้นธุรกรรมแฟ็กเตอริงส่วนใหญ่ นิติบุคคลเป็นคนที่จะทาก็เลยตัดไป๗๕ สมมติเอาเรื่องจริงเลยก็ได้ วันนี้เขาอยากซื้อรถเข็นสักคันหนึ่งเพื่อที่ว่าจะมาทาค้าขาย ขอประทาน โทษค้าขายก็ไม่ได้ไปเปิดร้านค้าที่ไหน ขายกันข้างถนน อันนี้ตีความว่าอย่างไร๗๖ คาถามของท่านคือหมายความว่าใครจะซื้อ บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล๗๗ แม่ค้าทั่วไปบุคคลธรรมดา๗๘ จะซื้ออะไร๗๙ อย่างเช่น นาย ก ต้องการที่จะซื้อร้านเล็ก ๆ๘๐ ในกรณีที่เป็นคาถาม และเป็นตัวอย่าง ก็คือพ่อค้า แม่ค้าในตลาดซื้อรถเข็นมา ถามว่าเข้ากฎหมาย ฉบับนี้ไหม เป็นเพราะเป็นบุคคลธรรมดา แล้วก็ไปสร้างสินเชื่อสร้างหนี้ขึ้นมา เพราะฉะนั้นก็จะสามารถมีการ ทวงถามหนี้ที่ควบคุมโดยกฎหมายนี้๘๑ มีข้อสังเกต คาว่า “หนี้นอกระบบ”๘๒ หนี้นอกระบบจะเอาหนี้อะไร เพราะว่าเนื่องจากนิยามสินเชื่อ ตามร่างเดิมนี้ไปกากับเฉพาะเรื่องกู้ยืมเงิน คือถ้าพูดถึงหนี้นอกระบบ ก็จะมีเรื่องกู้ยืมเงินหรือการให้เช่าซื้อ การ ให้เช่าซื้อก็เป็นหนี้นอกระบบ เพราะเข้าใจว่าไม่ใช่สถาบันการเงินมาให้เช่ าซื้อ แต่หมายถึงว่าร้านขายเครื่อง ไฟฟ้าหรืออะไรต่าง ๆ ซึ่งเป็นเอกชนธรรมดา เขาให้เช่าซื้อแล้วก็ทวงหนี้ที่เช่าซื้อไป ก็จะโยงเฉพาะเรื่องเงิน เรื่องเช่าซื้อ แต่หนี้อย่างอื่นที่ก่อให้เกิดขึ้นซึ่งไม่ใช่เรื่องหนี้เงิน หนี้กระทาการ หนี้จ้างทาของ หนี้อะไรต่าง ๆ จะ ไม่อยู่ในกรอบของกฎหมายฉบับนี้ ถึงแม้จะเป็นเรื่องเจ้าหนี้และเขาอาจจะไปทวงหนี้ในลักษณะที่ไม่เหมาะสมก็ ตามขึ้นอยู่กับนโยบายของที่ประชุม คาว่า “หนี้นอกระบบ” จะเอาหนี้อะไรบ้าง หนี้เงิน หนี้เช่าซื้อ จะรวมถึง หนี้ ก ารท าของ หนี้ ให้ กระท าการหนี้ แรงงาน หนี้ อะไรต่าง ๆ เพราะจะมีเรื่อ งทั้ งรับ คน ทั้ งอะไรสารพั ด ที่ ก่อให้เกิดเป็นหนี้กันขึ้นมาหนี้เงินอาจจะไม่ใช่เรื่องการกู้ยืมเงินก็ได้ ในนิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ออกกฎกระทรวงได้ในนิยามคาว่า “สินเชื่อ”๘๓ ก็สามารถจะเพิ่มรูปแบบ ของสิ น เชื่อให้ คลุ มไปถึงหนี้ อื่น ๆ ได้ แต่ ว่ามีข้ อสั งเกตคื อว่า การที่ ไปตั ดคาว่า “นิ ติบุ คคล” ออก ให้ เป็ น “บุคคล” เฉย ๆ ซึ่งก็จะครอบคลุมทั้งนิติบุคคลและบุคคลธรรมดาด้วย แต่อยากจะเสนอว่าใน (๑) การที่ระบุว่า เป็ น บุ คคลซึ่งให้ สิ น เชื่อเฉย ๆ อาจจะกว้างไป หรือเปล่ า คือจริง ๆ ไม่ น่าจะไปมุ่งหมายถึงการให้ กู้ยืมเงิน ระหว่างกันและระหว่างเพื่อนฝูง ระหว่างอะไร ซึ่งเรื่องเป็นการส่วนตัวทานองนี้ หรือว่าการกู้ยืมเงินครั้ง ๒ ครั้ง ๗๔ ๗๕ ๗๖ ๗๗ ๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๕ นางธัญทิพย์ สรรพโชติวัฒน์ ผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประชุมสภานิติบัญญัตแิ ห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๗๒ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๗๒ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๗๒ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๒ นายสัก กอแสงเรือง กรรมาธิการวิสามัญ ประชุมสภานิติบัญญัตแิ ห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๖๔ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๔ นายเช็มชัย ชุติวงศ์ ที่ปรึกษากรรมาธิการวิสามัญ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๗


๒๘ ใครมาหยิบยืม ความจริงแล้วมุ่งหมายลักษณะของคนที่ให้กู้เงินเป็นทางค้าปกติ คือพวกที่มีอาชีพในการปล่อย สินเชื่อและเรียกดอกเบี้ยแพง ๆ ถ้ายิ่งให้นิยามตรงนี้เยอะเจ้าพนักงานจะลงไปเกี่ยวข้องกับชีวิตปกติของพวก ชาวบ้านนี้เยอะด้วย เพราะว่าเขาจะมีอานาจต่อไปเรื่องบางเรื่องซึ่งเป็นเรื่องส่วนตัวหรือว่าเป็นเรื่องระหว่าง กันเอง ซึ่งไม่ได้ก่อให้เกิดผลกระทบมาก อาจจะยังไม่จาเป็นที่จะต้องลงไปคุมเงินถึงขนาดนั้น เพราะต่อไปจะมี ทั้งมาตรการทางปกครอง และที่สาคัญคือมีความผิดอาญาพ่วงมาด้วย เกรงว่าจะไปกระทบในลักษณะนั้นด้วย เพราะฉะนั้ นในเบื้ องต้นกรอบผู้ให้สิ นเชื่อถ้าจะให้กว้างที่สุด คือให้ สินเชื่อทุกรูปแบบเลย ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ส่วนตัว เพื่อนฝูงหรืออะไรก็ตามแต่ หมดเลยทุกอย่าง แต่ถ้าเผื่อว่าจะจากัดลงเฉพาะคนที่ประกอบเป็นการค้าก็ เป็นไปได้ รูปแบบ Pattern ของการทวงหนี้ ซึ่งต้องการจะห้ามหรือควบคุมตามนี้ก็น่าจะค่อนข้างเหมาะสม ซึ่ง เป็นข้อมูลเข้าใจว่าเป็นของกรมคุ้มครองสิทธิฯ ของกระทรวงยุติธรรมที่พูดถึงรูปแบบการทวงหนี้ที่ไม่เหมาะสม แบบต่าง ๆ ก็คิดว่าในนี้ครอบคลุม อาจต้องแยกออกมาไม่อยู่ในนี้คือการสร้างนิติสัมพันธ์ในลักษณะที่เป็นการ บังคับชาระหนี้ที่ไม่เหมาะสม ที่ไม่ใช่ทวงถามหนี้ เช่น ยกตัวอย่างสมมุติว่าทาสัญญากู้ดอกเบี้ยแพง ๆ อย่างนี้ อยู่ในสัญญาเลย ไม่ใช่เรื่องทวงหนี้หรอก หรือว่าการทาสัญญากู้ในลักษณะที่ว่ายังไม่ให้เงินลูกหนี้แล้วมีการเอา ไปฟ้องบังคับที่ศาลทายอมความกัน เพื่อที่จะบังคับชาระหนี้ได้อย่างสะดวกทานองนี้ ซึ่งอันนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับ การเท็จ เกี่ยวกับการที่จะบังคับ ชาระหนี้ที่ลัดขั้นตอนของศาลก็ไม่ได้เป็นเรื่องทวงหนี้ พวกนี้มีระบบที่จะไปได้ อยู่แล้ว เรื่องที่เป็นเรื่องของการใช้ กาลัง การข่มขืนใจ การทาร้าย อันนี้จะมีกฎหมายอาญาอื่นรองรับอยู่แล้ว และเท่าที่ไปเช็กกับคาพิพากษาฎีกา ถ้าการทวงถามหนี้ก้าวไปถึงขั้นที่เป็นการทาร้ายกัน ข่มขู่กันศาลก็ไม่ยอม บังคับอยู่แล้ว ส่วนมากที่ศาลยอมคือไปขู่ว่าจะไปแจ้งความตารวจอะไรทานองนี้ อันนี้ศาลบอกว่าเป็นการใช้ สิทธิโดยสุ จ ริต เพราะฉะนั้ น ต้องมาพิจ ารณาอีกทีว่าจะถือเป็นรูปแบบที่ไม่เหมาะสมหรือเปล่า ถ้าตัดพวก เกี่ยวกับการบังคับชาระหนี้ ซึ่งไม่ใช่การทวงถามนี้ออกไป คิดว่าเขียนมาในนี้ค่อนข้างเหมาะสมแล้ว ประเด็นใหญ่อยู่ตรงที่กลไกที่ผู้แทนเอามาจากโครงสร้างของ ปปง. คือมีกรรมการระดับชาติและมี กรรมการธุรกรรมคล้าย ๆ กันมีกรรมการระดับชาติกาหนดนโยบาย Pattern การทวงถามหนี้และมีกรรมการ ที่ลงไปดูพฤติกรรมแต่ละคนที่จะไปรับเรื่องราวร้องทุกข์และเป็นคนวินิจฉัยว่าใครผิด ใครถูกในระดับจังหวัด เท่าที่ดูจะคล้าย ๆ กรรมการธุรกรรมของ ปปง. ตัดคาว่า “นิติ” ออก แล้วคือเป็นบุคคลทั้งนิติบุคคล ซึ่งหมายถึงสถาบันและหมายถึงคนธรรมดาด้วย คนธรรมดาอย่างต่างจังหวัดอาจจะมีพวกนายทุนเงินกู้ อาจจะมีคนที่มีอิทธิพลในต่างจังหวัดตามท้องถิ่น ซึ่งให้ ชาวบ้านกู้เงินอยู่เป็นปกติธุระเป็นการสร้างอิ ทธิพลอย่างหนึ่ง ในการที่เป็นเจ้าหนี้บรรดาชาวบ้านทั้งหลายพวก นี้บางทีในการทวงถามก็อาจจะใช้พฤติการณ์ที่ไม่เหมาะสมอย่างที่ไม่อยากจะให้ทา พวกนี้ที่ตอนนี้อยู่ในใจคือ การให้กู้ยืมเงิน บางทีเป็นเรื่องที่ระวัง อาจจะเป็นเพื่อนฝูงหรือว่าคนสนิทกันหรืออะไรกัน หรือทากันเป็นครั้ง คราว ถ้าเอาเข้ากลไกที่สร้างให้มีหน้าที่กากับดูแล ก็จะต้องรับภาระเยอะเหมือนกัน ต้องไปสอดส่องดูแลหมด ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างเพื่อนฝูงอะไรอาจจะไม่จาเป็นต้องมาอยู่ในนี้ การปรับนิติบุคคลออกเหลือแค่บุคคล จะ ครอบคลุมไปถึงบรรดาพวกหนี้นอกระบบได้ กฎหมายไปบังคับใช้กับหนี้นอกระบบ๘๔ ประเด็นประกอบธุรกิจในการปล่อยเงินกู้นอกระบบไม่สนใจ ในการที่จะมาขออนุญาตทวงถาม เพราะว่าการที่ไปปล่อยเงินกู้อย่างนั้นผิดกฎหมายอยู่แล้ว ไม่มีใครต่ากว่า ร้อยละ ๑๐ ต่อเดือนอยู่แล้ว แล้วกาลังจะยอมรับให้หนี้นอกระบบเข้าสู่ระบบหรือเปล่า ผลจากการที่ สมมติ กฎหมายฉบับนี้ออกไป จะถือว่าเป็นการยอมรับหนี้นอกระบบไหม จริง ๆ หนี้นอกระบบผิดกฎหมายอยู่แล้ว ๘๔

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๔ นายวิเชียร ชุบไธสง กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัตกิ ารทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๗


๒๙ ตั้งแต่ผิด พ.ร.บ. ห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา การไปทวงถามลูกหนี้ ถ้ามีพฤติการณ์ที่ไม่เหมาะสม อย่างเช่น เมื่อเร็ว ๆ นี้มีการไปทวงถาม แล้วก็มีการไปทาร้ายร่างกายลูกหนี้ มีการตัดมือ ตรงนี้ทางสภาทนายความก็ได้ เข้ าไปช่ ว ยเหลื อ กรณี นั้ น เท่ าที่ พ บจากการร้อ งเรียน ไม่ เคยเกรงกลั ว กฎหมายเลยส าหรับ หนี้ น อกระบบ ประเด็นน่าจะพิจารณาให้รอบคอบว่าผลกระทบที่จะตามมากรณีกฎหมายนี้ออกไปจะบังคับได้จริงหรือเปล่า มองไปข้างหน้าว่าบรรดาลูกน้องลูกสมุนของนายทุนที่ออกเงินกู้นอกระบบแล้วจะมาทวงหนี้ ใครจะมากล้าขอ จดทะเบียนต่อนายทะเบียนตาม พ.ร.บ. นี้ อีกประการหนึ่ง คือหนี้ในระบบ เพราะตามกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกากับประเทศออสเตรีย บังคับใช้เฉพาะหนี้ในครัวเรือน ไม่บังคับหนี้ สถาบันการเงิน หมายความว่าหนี้ส ถาบันการเงินจะมีธนาคาร กลางคอยควบคุมกากับดูแลอยู่ ก็เป็นห่วงหนี้นอกระบบมีมาตั้งแต่สมัยอัล คาโปนนั่นก็คือทวงหนี้นอกระบบ พยายามไปใช้เฉพาะเท่าที่จาเป็นเท่านั้น ถ้า พ.ร.บ. ตัวนี้ออกมาถ้าพิจารณาโดยไม่รอบคอบ จะทาให้หนี้ใน ระบบลูกหนี้ให้ปล่อยสินเชื่อรายย่อยไปพึ่งหนี้ นอกระบบมากขึ้นไหม เพราะสถาบันการเงินเองเชื่อว่าต้องมอง ว่าถ้าออกไปแล้ว เส้นความผิดระหว่างกฎหมายกับความถูกต้องบางมาก แล้วมีโทษทั้งจาทั้งปรับ โทษปรับก็ เริ่มตั้งแต่ ๑ แสนบาท โทษจาตั้งแต่ ๑ ปีถึง ๕ ปี ค่อนข้างจะเป็นห่วงว่ากาลังจะไล่ลูกหนี้ ในระบบออกไปสู่หนี้ นอกระบบหรือไม่ กฎหมายฉบับนี้ถ้าหากว่าครอบคลุมถึงหนี้นอกระบบได้บางประการ๘๕ อย่างเช่นตัวอย่างความผิดทาง อาญา อย่างน้อย ๆ คนที่ไปทวงหนี้ในลักษณะนี้ ที่เป็นปกติธุระการค้าปกติ ถ้าเขาไปทวงหนี้ที่มีปัญหาเกิดขึ้น แล้วมีการร้องเรียนเข้ามาเขาโดนอันดับแรกเลยไม่ได้มาจดทะเบียน ซึ่งโทษทางอาญาอื่น ๆ เล่นงานกันไม่ได้ แต่อันดับแรกเล่นงานเขาได้ ไม่ได้มาลงทะเบียน ต้องถูกปรับไม่เกิน ๑ แสนบาทแล้ว จาคุกไม่เกิน ๑ ปี แล้วก็ คือวิธีการแรก ๆ เล่นงานได้แล้ว หนี้ระบบที่ดาเนินการ ส่วนพฤติกรรมในการทวงหนี้ ก็คงจะต้องเขียนไว้ใน ลักษณะซึ่งมีข้อจากัดอยู่บางประการ ที่ประชุมพิจารณาว่า พฤติกรรมในการทวงหนี้ที่สาคัญ ๆ แล้วก็ตกผลึก ออกมาโดยกระบวนการรับ ฟังความคิดเห็ น จากทุ ก ๆ ฝ่ าย มีปั ญ หาอะไรในสั งคมปั จจุบัน แล้ ว ก็เขียนให้ ครอบคลุมเอาไว้ หลักการกว้าง ๆ ส่วนจะผิดไม่ผิด ต้องยกให้ทางกระบวนการศาลยุติธรรมเป็นผู้วินิจฉัยเอง ว่า พฤติกรรมอย่างนี้ผิดต่อ พ.ร.บ. นี้หรือไม่ประการใด จะวางกรอบพฤติกรรมแค่ไหนเพียงไร สินเชื่อเปลี่ยนเป็นการให้กู้ยืมเงินก็ตรง ๆ๘๖ ง่าย ๆ เข้าใจ ไม่มีปัญหา แต่การกู้ยืมเงินตามนิยามสินเชื่อ เดิมไม่ได้หมายถึงเฉพาะการกู้ยืมเงิน เพราะเน้นเรื่องในระบบมัน ก็จะไปหมดในเรื่องบัตรเครดิต ให้เช่าซื้อของ สถาบันการเงินเหล่านี้ ถ้าเกิดมีหนี้ขึ้นมาแล้ว ไม่ใช่เป็นเรื่องการกู้ยืมเงินโดยตรง แต่เกิดจากการบริการแล้วเกิด หนี้เหล่านี้ขึ้นมา ไม่ว่าแฟ็กเตอริง สินเชื่อเหล่านี้ก็ต้องไปดูกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กฎหมายสถาบันการเงินไม่ สามารถที่จะต้องมานั่งเขียนนิยามเพื่อทาแฟ็กเตอริง หมายถึงอะไร ตัวนิยามจะรุ่มร่าม อ่านแล้วเข้าใจยาก เป็น เรื่องอะไรที่กฎหมายเฉพาะมีกาหนดไว้แล้วเป็นเรื่องที่ผู้ใช้กฎหมายก็ต้องตามไปดูกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ผู้ทวงถามหนี้หมายความว่าเจ้าหนี้ ซึ่งเป็นผู้ให้สินเชื่อ ๘๗ แล้วให้หมายความรวมถึงผู้รับมอบอานาจ จากเจ้าหนี้ดังกล่าว ผู้ประกอบธุรกิจและอะไรพวกนี้ แต่ว่าคุ้มครองผู้บริโภค จัดให้มีการพนันอะไร บอกว่าให้ เอาออก แล้วมาใส่ในคาว่า สินเชื่อ สินเชื่อนี้ก็จะหมายความว่าสินเชื่อที่ให้แก่บุคคลธรรมดาโดยการให้กู้ยืม ให้ บัตรเครดิต ให้เช่าซื้อ ให้เช่าลิสซิ่ง แล้วเมื่อสักครู่นี้ที่ประชุมเพิ่งตัดธุรกิจแฟ็กเตอริงออก และสินเชื่อในรูปแบบ ๘๕ ๘๖ ๘๗

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๕ นายธานี อ่อนละเอียด เลขานุการคณะกรรมธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๖๑ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๗ ศาสตราจารย์กิตติคุณบวรศักดิ์ อุวรรณโณ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง รายงาน การประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗


๓๐ อื่นที่มีลักษณะทานองเดียวกัน ตามที่มีกาหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้การให้สินเชื่อดังกล่าวจะชอบด้วยกฎหมาย หรือไม่ก็ตาม คือพอเขียนสินเชื่ออย่างนี้แล้วแปลว่าไม่จาเป็นจะต้องไปนิยามคุ้มครองผู้บริโภคการพนันอะไร แล้ว จะไปอยู่ในกฎกระทรวงใช่ไหม ซึ่งแปลว่าผู้ทวงถามหนี้ตอนต้นไม่จาเป็นต้องไประบุละเอียดอย่างนั้นแล้ว ใช่ไหม เพราะจะมาอยู่ในคาว่า สินเชื่อ แล้ว เพราะคาว่าชอบหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายก็ตาม จะขยายคาว่า สินเชื่อ เพราะฉะนั้นคาว่า ผู้ทวงถามหนี้ ก็ไม่ต้องยาวอย่างที่ไปใส่ในร่างนี้ เข้าใจว่าตรงส่วนนี้ที่นาไปใส่ไว้ตรงสินเชื่อ ๘๘ เพราะเนื่องจากว่าลักษณะในเรื่องพ่อค้า การค้าขายของ การขายสินค้าหรือการให้บริการไม่ได้เป็นลักษณะสินเชื่อโดยสภาพของมัน เพราะฉะนั้นตัวกฎกระทรวงจะไป กาหนดว่าสิน เชื่อ ในรูป แบบอื่น ที่ ห นี ไปจากสินเชื่อเลยก็รู้สึ กจะไปไกล บอกว่าจะไปออกพวกกระทรวงมา เกี่ยวกับเรื่องพ่อค้าขายของหรือว่ามีหนี้ที่จะทวงถามอะไรอย่างนี้ หรือการ Contract อะไรต่าง ๆ ซึ่งก็ไม่ใช่ เป็นเรื่องให้สินเชื่อเหมือนกัน คิดว่าไม่น่าที่จะไปเติมในนิยามคาว่า สินเชื่อ เพราะความหมายจะขัดกันกับไม่คุม ถึงสินเชื่อในลักษณะแบบอื่น เห็นว่ามาใส่ในคาว่า ผู้ทวงถาม นี้ก็จะกว้างขึ้น ส่วนสินเชื่อก็เป็นไปตามเดิมว่า สินเชื่อที่เข้าใจ ซึ่งตรงนี้อาจจะสับสนจะมีหนี้อยู่ ๒ ประเภท๘๙ ประเภท ๑ อยู่ในนิยามของคาว่า ผู้ทวงถามหนี้ ได้แก่ ผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค ผู้จัดให้มีการเล่นการพนัน เจ้าหนี้อื่นซึ่งรับชาระหนี้ อันเป็นการกระทาที่เป็นทางค้าปกติ นี่คือกลุ่มหนึ่ง กับอีกกลุ่มหนึ่งคือเจ้าหนี้ซึ่งให้กู้ยืม ให้บริการบัตรเครดิต ให้เช่าซื้อ ให้เช่าแบบลิสซิ่ง จะตัดคาว่า สินเชื่อในรู ปแบบอื่น ที่มีลักษณะทานองเดียวกัน ใช้คาว่า สินเชื่อใน รูปแบบอื่น ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้การให้สินเชื่อดังกล่าวจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ก็ตาม แล้วคุณ ไปออกกฎกระทรวงเอาการพนัน อะไรสารพัดของคุณ แต่ถ้าเขียนอย่างนี้สับสน แปลว่าต้องดู ๒ ที่ อันหนึ่งดูที่ ผู้ทวงถาม อีกอันหนึ่งมาดูที่สินเชื่อ ต้องเริ่มต้นตรงผู้ทวงถามหนี้๙๐ ซึ่งกลุ่มแรกก็คือเจ้าหนี้ผู้ให้สินเชื่อ ซึ่งตรงนี้ก็ยังไม่ชัดเจนว่าผู้ให้สินเชื่อ หมายความว่าอย่างไร เพราะฉะนั้นนิยามคาว่า ผู้ให้สินเชื่อกับสินเชื่อก็จะตามมา ก็จะอธิบายกลุ่ม เฉพาะกลุ่ม นี้ เจ้าหนี้ซึ่งเป็นผู้ให้สินเชื่อ ส่วนกลุ่มอื่น ๆ ก็จะตามมาเรื่องพนัน เรื่องค้าขายสินค้าให้บริการ แต่ถ้าเป็นกรณีที่ ถ้าจะไปเติมไว้ในนิ ยาม นิย ามคาว่า สิน เชื่อนี้ ไปคุมถึงสินเชื่อในรูปแบบอื่น ถึงแม้จะตัดคาว่า ที่มีลั กษณะ ทานองเดียวกัน แต่ไปให้ออกกฎกระทรวง ซึ่งคิดว่าการไปออกกฎกระทรวงกาหนดเรื่องหนี้การพนัน เรื่องหนี้ ซื้อขาย แล้วบอกว่าให้เป็ นสินเชื่อนี้จะมีปัญหาเรื่องความไม่สอดคล้องกับหลักเป็นที่เข้าใจว่าไม่ใช่เป็นเรื่อง สินเชื่อจะกลายเป็นว่าออกอะไรก็ได้ ในพระราชบัญญัติประมงบอกว่าสัตว์น้าให้หมายความรวมถึงวัว๙๑ สาหร่าย และพืชอย่างอื่นด้วย และ ปะการั งด้ ว ย ความจริ ง อั น นี้ เรี ย กภาษากฎหมายว่ า Term of arts แต่ ว่ า ไม่ ใช่ ในความเป็ น จริ ง แต่ เพื่ อ ประโยชน์แห่งการบัญญัติกฎหมายให้สั้นกะทัดรัด ให้คานิยามได้ เพราะฉะนั้นความเห็นสินเชื่อที่พูดถึงกู้ยืม บัตรเครดิตให้เช่าซื้อ ให้เช่าแบบลิสซิ่งนี้เป็นธุรกิจที่อยู่ในกฎหมายธุรกิจสถาบันการเงินของแบงก์ชาติ ทีนี้พอไป ขยายว่ากฎหมายฉบับนี้ให้รวมถึงลูกหนี้นอกระบบด้วย ก็ต้องคิด Beyond กฎหมายธุรกิจสถาบันการเงินแล้ว พอ Beyond ท่านถึงไปเอากฎหมายพนันเข้ามา เสร็จแล้วก็มีหนี้อย่างอื่นคุ้มครองผู้บริโภค หนี้อะไรพวกนี้ จึ ง คิดว่าตั ดคาว่า ที่ มีลั ก ษณท านองเดีย วกัน ออกแล้ ว ก็ใส่ กฎกระทรวง แล้ วก็เติมค าว่า ทั้งนี้ การให้ สิ น เชื่ อ ดังกล่าวจะชอบหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายก็ตาม ถ้ากฎกระทรวงน้อยไปเห็นว่าเรื่องนี้สาคัญมาก ควรจะได้รับ ๘๘ ๘๙ ๙๐ ๙๑

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๘ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๑๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๘๓ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๒๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๘๔ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “สินเชื่อ” ข้อสังเกต ๒๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๘๓


๓๑ การพิจารณาในระดับสูงกว่านั้นจะเป็นพระราชกฤษฎีกาได้ถ้าเห็นว่าเรื่ องสาคัญมาก เพราะว่าในการออกอนุ บัญญัติ ถ้าเป็นเรื่องสาคัญมาก เช่น เรื่องการใช้บังคับกฎหมายในเรื่องเวลา ในเรื่องสถานที่ เรื่องบุคคล ทาเป็น พระราชกฤษฎีกาได้ เห็นว่าเป็นเรื่องใหญ่จะออกอะไรเข้ามาอยู่ในนี้เป็นพระราชกฤษฎีกาก็ได้ แต่ถ้าเห็นว่าเป็น กฎกระทรวงเฉย ๆ ก็เข้า ครม. เข้า ครม. แล้วก็รัฐมนตรีประกาศจบ แต่ถ้าเป็นพระราชกฤษฎีกานี่ก็ต้องเข้า ครม. แล้วกราบบังคมทูลขึ้นไป แล้วก็ประกาศราชกิจจานุเบกษา “ลูกหนี้” หมายความว่า ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา และให้หมายความรวมถึง ผู้ค้าประกันซึ่ง เป็นบุคคลธรรมดาด้วย

คาอธิบาย ความชัดเจนของคานิยามนี้ก็คือว่า “ลูกหนี้” หมายถึง “บุคคลธรรมดา” เท่านั้น รวมถึงผู้ค้าประกัน ด้วย ในทางปฏิบัติหากเป็นนิติบุคคลที่เป็นลูกหนี้ การข่มขู่ การทวงหนี้ที่ขาดจริยธรรมเกิดขึ้นได้ไหม ความ จริงก็ เกิดขึ้น ได้เหมือ นกัน คือผ่ านไปยั งกรรมการบริษั ทหรือ แม้แต่ ส มาชิกในครอบครัว ก็เคยมีการคุ กคาม เช่นเดียวกัน ซึ่งจะเป็นประเด็นข้อกฎหมายว่าในกรณีเช่นนั้น กรรมการ (บุคคลธรรมดา) กับครอบครัวของ บริษัทที่เป็นหนี้เมื่อถูกคุกคามข่มขู่จะไม่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายฉบับนี้หรือ

ข้อสังเกต การกาหนดคานิยามคาว่า “ลูกหนี้” ควรกาหนดให้มีความครอบคลุม เนื่องจากการกาหนดให้ลูกหนี้ หมายความว่า “บุคคลธรรมดาซึ่งเป็นลูกหนี้ ...” จะทาให้ครอบคลุมเฉพาะบุคคลธรรมดาเท่านั้นไม่ครอบคลุม ถึงนิติบุคคล๙๒ คาว่า “ลูกหนี้ หมายความว่าบุคคลธรรมดาซึ่งมีภาระผูกพันที่จะต้องชาระหนี้สินทั้งนี้ให้หมายความ รวมถึงบุคคลค้าประกันหนี้สินด้วย”๙๓ ข้อสังเกตก็คือลูกหนี้เป็นคนธรรมดาไม่ใช่นิติบุคคลถ้าลูกหนี้เสียชีวิตตาย ไปไม่มีบทบัญญัติในกฎหมายว่าให้เจ้าหนี้ไปทวงถามกับใคร คือเมื่อเจ้าหนี้มีลูกหนี้แล้วลูกหนี้ตายหนี้ก็ตกทอดไปยังกองมรดก ๙๔ ก็คือผู้รับมรดกทายาทโดยธรรม หรือทายาทโดยพินัยกรรมจะเป็นลูกหนี้เข้ามาเป็นหนี้แทนเจ้ามรดก ก็ต้องไปทวงกันตรงนั้น กฎหมายฉบับนี้แบ่งออกมาเป็น ๔ ประเภทคือ๙๕ เจ้าหนี้ ผู้รับจ้างทวงหนี้ ลูกหนี้ แล้วก็คณะกรรมการ กากับการทวงหนี้ โครงสร้าง พ.ร.บ. ทวงหนี้นี้ก็คือขอบเขตวัตถุประสงค์ ที่จะให้ครอบคลุมถึงหนี้นอกระบบ หนี้นอกระบบนี้ที่ว่ากรณีให้สินเชื่อในบทนิยามศัพท์ของมาตรา ๓ ก็เขียนไว้ชัดเจนว่าการให้สินเชื่อ เดิมเลยนี้ ให้สินเชื่อในหนี้ในระบบแต่ว่าลูกหนี้ คาว่า “ลูกหนี้” หมายความถึงบุคคลธรรมดาซึ่งมีภาระผูกพันที่จะต้อง ชาระหนี้สินเชื่อ คาว่า “ภาระผูกพัน” เป็นภาระผูกพันที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ แต่ถ้าสมมุติไปกาหนดใน ลูกหนี้ที่มีภาระผูกพันไม่ว่าจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย ก็จะครอบคลุมถึงหนี้นอกระบบหมด เลย สินเชื่อมีตัวที่จะให้เกิดความยืดหยุ่นได้ก็คือ รูปแบบอื่นที่มีลักษณะเดียวกันตามที่กาหนดเป็นกฎกระทรวง กฎกระทรวงก็จ ะไปกาหนดถึงประเภทสิ น เชื่อต่ าง ๆ ได้ อยู่แล้ ว กฎกระทรวงก็ไปกาหนดได้ ก็คือมีค วาม ๙๒ ๙๓ ๙๔

๙๕

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ลูกหนี้” ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๖ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ลูกหนี้” ข้อสังเกต ๒ พลตารวจโท จักรทิพย์ ชัยจินดา กรรมธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัตกิ ารทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ลูกหนี้” ข้อสังเกต ๓ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดอกเตอร์บวรศักดิ์ อุวรรณโณ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่ สองรายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วัน จันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ลูกหนี้” ข้อสังเกต ๔ นายธานี อ่อนละเอียด เลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๓/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗


๓๒ ยืดหยุ่นพอแล้ว คิดว่าสินเชื่อนี้ความหมายน่าจะพอ แต่คาว่า “ลูกหนี้” ถ้าหากว่าไปเติมบุคคลธรรมดาซึ่งมี ภาระผูกพัน ภาระผูกพันนี้ชอบอย่างเดียวหรือ แต่ในร่างเดิมนี้น่าจะภาระผูกพันที่ชอบด้วยกฎหมาย แต่ถ้า สมมุติว่าเติมว่าบุคคลธรรมดาซึ่งมีภาระผูกพันที่จะต้องชาระหนี้ไม่ว่าชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ในลักษณะอย่าง นี้จะครอบคลุมไปถึงหนี้นอกระบบด้วย คงไม่ต้องไปแก้มากก็ครอบคลุมไปถึงหนี้นอกระบบ ทีนี้ในโครงสร้างที่ ๓ ก็คือพฤติกรรมที่จะถือว่าละเมิดหรือไม่ มีความผิดอยู่แล้ ว กระบวนกฎหมายอาญากาหนดไว้คงจะต้องยึด ๖ พฤติกรรมมีบอกถึง ๖ พฤติกรรมที่จะทาความผิดได้อย่างเช่น ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ใช้วาจาภาษาดูหมิ่นถาก ถาง มี ๖ พฤติกรรม เขียนไว้ชัดเจนแล้วก็คงจะยึดร่างเดิมไว้เป็นหลักพฤติกรรมแค่นี้ยังไม่มีบรรจุไว้ในกฎหมาย อาญาหรือกฎหมายอื่น ๆ แล้ว แต่ว่าจะเพิ่มเติมอะไร ในกระบวนการรับฟ้งความคิดเห็น จาก ๓ ฝ่าย เจ้าหนี้ ผู้รับทวงหนี้ก็ดี ลูกหนี้ก็ดี ลูกหนี้ก็มีทั้งดี ลูกหนี้เลว เจ้าหนี้ดี เจ้าหนี้เลว อะไรที่คิดว่ากฎหมายอื่นครอบคลุมไม่ ถึงแล้วน่าจะเป็นประโยชน์โดยคานึงถึงทั้งบริบทของเจ้าหนี้ด้วย ไม่ใช่จะไปดูแลเฉพาะลูกหนี้อย่างเดียว ต้อง ดูแลเจ้าหนี้ที่ดี ๆ ด้วย ดูผลกระทบทั้ง ๒ ด้าน อันนี้ก็จะขออนุญาตถึงพฤติกรรมของการกระทาความผิดใน โครงสร้างที่ ๓ ว่าจะกาหนดพฤติกรรมว่ามีอะไรบ้างที่จะละเมิดต่อกฎหมายฉบับนี้ ส่วนพฤติกรรมการทวงหนี้นั้นก็มีกฎกระทรวงยืดหยุ่ นอยู่แล้ว ว่าครอบคลุมไม่ถึง เอาหนี้การพนันไป อยู่ในกฎกระทรวงเลยก็ได้ ครั้งหน้าก็ไปประกาศว่าสินเชื่อนั้นก็ให้หมายความรวมถึงอะไร แต่ถ้าสมมุติว่าเพิ่ม หนี้นอกระบบด้วย หนี้ที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ก็ตามอะไรอย่างนี้ ทั้งชอบและไม่ชอบก็คลุมหนี้นอกระบบ ส่วนพฤติกรรมนี้จะขออนุญาต คาว่า “ลูกหนี้” ก็น่าจะครอบคลุมถึงหนี้นอกระบบว่าชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย เป็น ลูกหนี้ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายก็น่าจะถึงหนี้นอกระบบ ส่วนจะเป็นประเภทไหน หนี้การพนันคงไม่ต้องเขียน เพราะว่าหนี้การพนันก็เป็นหนี้ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายแล้วครอบคลุมถึงลูกหนี้ที่มีภาระผูกพันจะต้องชาระหนี้จะ ชาระถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ก็ตามอะไรอย่างนี้ก็น่าจะครอบคลุม ส่วนปัญหาว่าคาว่า “ลูกหนี้”๙๖ ไปบอกว่าที่มีภาระผูกพันไปหมายถึงว่าหนี้นอกระบบด้วย ซึ่งยังไม่ได้ ตรวจสอบ ได้ความรู้มาว่ากรณีหนี้เรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา หนี้เป็นโมฆะ ซึ่งถ้าเข้าใจผิดก็ต้องขอโทษ คือเห็น บอกว่าถ้าหนี้เล็กไม่เกินอัตราหนี้ก็เป็นโมฆะเลยใช่ไหม ไม่สามารถที่จะบังคับชาระหนี้ได้ใช่หรือไม่ แต่ว่าตอน แรกเข้าใจว่าโมฆะเฉพาะดอกเบี้ย แต่ที่เรียกดอกเบี้ยเกินอัตราเป็นโมฆะ ก็เข้าใจว่าน่าจะโมฆะเฉพาะดอกเบี้ย เพราะฉะนั้นตัวหนี้ว่าไม่ไปคลุมถึง ถึงแม้จะเขียนนิยามแก้ไขลูกหนี้ ก็ไม่ไปคลุมถึงหนี้ที่ผิดศีลธรรม ถึงแม้ว่าใน ประมวลแพ่ง มีเรื่องหนี้ผิดศีลธรรมอยู่เหมือนกันพยายามศึกษาเรื่องหนี้ในธรรม ซึ่งประมวลแพ่งเขียนอยู่หลาย มาตรา พวกหนี้ในธรรมไม่ได้ไปคุมถึง ถึงแม้จะมีเรื่องหนี้พนันบอลเข้ามา แต่ไม่คุมไปถึงเรื่องหนี้รับจ้างฆ่าคน หนี้อะไรพวกนี้ คงไม่มาเข้าอยู่เป็นเรื่องหนี้ในธรรม แล้วก็ไม่อยู่ในกฎหมายฉบับนี้อยู่แล้วที่จะคุ้มครอง ถ้าเป็นกรณีหนี้พนันบอล ยังไม่แน่ใจว่าอยากจะคุ้มครองด้วยหรือไม่ การที่ไปเล่นพนันบอลออนไลน์ อะไรต่าง ๆ ซึ่งบางทีก็เป็นประชาชนทั่วไป แต่ว่าหนี้พนันบอลเข้าใจว่าก็คือเป็นหนี้ในธรรม เพราะมีประมวล แพ่งพูดถึงเอาไว้ว่าถ้าชาระหนี้แล้ว ริบคืนเงินไม่ได้ ถือว่าเป็นหนี้เกิดขึ้นมาแล้ว แต่คล้าย ๆ เป็นหนี้ธรรมดา หนี้ สามัญที่บังคับไม่ได้ตามกฎหมาย แต่เกิดหนี้ขึ้นมาแล้ว ตามคาอธิบายหนี้พนันเกิดหนี้มาแล้ว แต่เข้าใจว่าไม่ น่าจะไปรวมถึงเรื่องหนี้รับจ้างฆ่าคนตาย เรื่องอะไรพวกนี้ไม่น่าไปคลุมถึง ซึ่งประเด็นเรื่องหนี้พนันบอล เรื่อง หนี้ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ในหลักการตรงส่วนนี้ เขียนเอาอะไรไว้ตรงไหนเลยว่าต้องเป็นหนี้ตามกฎหมาย เขียน ทุกช่องเอาไว้คานิยาม คาว่า “ลูกหนี้” แล้วตัดคาว่า “มีภาระผูกพัน” ออกไปแล้ว

๙๖

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ลูกหนี้” ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๗


๓๓ อยากจะเรียนอย่างนี้ว่าหนี้ที่เกิดจากการพนันแบ่งเป็น ๒ ประเภท๙๗ ประเภทที่ชอบด้วยกฎหมาย ได้รับใบอนุญาตถูกต้อง พวกนี้ประเภทหนึ่ง ประเภทที่ไม่ได้รับอนุญาตก็อีกประเภทหนึ่ง เพราะฉะนั้นมีทั้งชอบ และไม่ชอบด้วยกฎหมายทั้ง ๒ อย่าง ประเด็นหนี้พนันบอลมีทั้งถูกกฎหมาย ๙๘ ผิดกฎหมาย แต่พอมาถึงเรื่องหนี้พนันบอลก็เลยมีความคิด เหมือนกันว่าจะอยู่ในกลุ่มไหน เพราะว่าไม่ใช่เป็นผู้ให้ สินเชื่อ นอกจากว่าเจ้าหนี้พนันบอล จ่ายเงินให้ ก่อน ให้ยืมเงินไปก่อน หรือว่าขายชิพอะไรอย่างนี้ มีการเซ็นไปก็อาจจะถือว่าเป็นการให้ยืมเงินไปเล่น แต่เป็นกรณีที่ พนันกันแล้วยังไม่ได้มีมูลอะไรกันขึ้นมาเลย ก็ไม่ใช่ เรื่องผู้ประกอบธุรกิจอีกตามร่างนี้ ไปเปิดช่องว่าแล้วบุคคลอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง เพราะว่า จะทาให้กว้างมากกว่าตัวไม่ว่ากฎกระทรวงในนิยามสินเชื่อหรือว่ากฎกระทรวงในนิยามผู้ให้สินเชื่อ ซึ่งก็ยังถูก จากัดอยู่เฉพาะในเรื่องสินเชื่อ แต่กรณีผู้ทวงถามหนี้ที่ลองไปเสนอเพิ่มขึ้นมาว่าและบุคคลอื่นตามที่ กาหนดใน กฎกระทรวงสามารถไปเพิ่มเติมได้เลยในกฎกระทรวงว่าจะหมายถึงใครบ้าง เพราะว่าถ้ากลุ่มพวกเจ้าหนี้พนันที่ ประกอบมิชอบด้วยกฎหมายไม่ใช่เรื่องให้สินเชื่อ อาจจะเป็นเรื่องผู้ประกอบธุรกิจหรือไม่ แต่การประกอบธุรกิจ ไปจากัดอยู่เฉพาะตามกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคก็คือขายสินค้า ให้บริการอะไรต่าง ๆ ซึ่งก็ไม่น่าไปคลุมถึงเรื่อง ผู้ประกอบธุรกิจทางด้านการพนันบอลพวกนี้ แล้วก็กลายเป็นเจ้าของบ่อนพนันที่ถูกกฎหมายเขาเป็นเจ้าหนี้ ซึ่ง หนี้อันนี้ไม่ได้อยู่ในกลุ่มนิยามคาว่า “ผู้ทวงถามหนี้ ” “ผู้ให้สินเชื่อ” หรือว่า “ผู้ประกอบธุรกิจ ” ก็คงต้องไป เขียนไว้ในบุคคลอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ทาไมไม่คุ้มครองนิ ติบุคคล ๙๙ รัฐธรรมนูญเยอรมันและรัฐธรรมนูญไทยเห็ นตรงกันแล้ว ณ วันนี้ ว่า บุคคลกับ นิติบุ คคลได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ เฉกเช่นเดียวกัน เว้นแต่โดยสภาพจะคุ้มครองไม่ได้ เพราะฉะนั้น ลองคิดดูว่าถ้าเป็นบริษัทแล้วเป็นหนี้ แล้วโดนทวงแบบไม่ชอบด้วยกฎหมายกลับไม่ได้รับความ คุ้มครอง เพราะฉะนั้นจะเป็นบุคคลธรรมดา หรือเป็นนิติบุคคลก็คิดว่าเมื่อสิ่งนั้นเป็นสิ่งที่ทาไม่ชอบก็ควรจะไม่ ชอบเหมือนกัน ที่กาหนดคุ้มครองบุคคลธรรมดา๑๐๐ เนื่องมาจากปัญหาสภาพข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นปัจจุบัน แล้วรวมไป ถึงเรื่องอานาจต่อรองของตัวลูกหนี้ ซึ่งบุคคลธรรมดาจะเป็นลูกหนี้กลุ่มที่มีปัญหามากกว่าตัวนิติบุคคลก็เลย เสนอมาคุ้มครองเฉพาะบุคคลธรรมดา เรื่องลูกหนี้ ข้อความ ๑๐๑ “ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึงบุคคลธรรมดา ผู้ค้าประกันหนี้สินเชื่อด้วย” ถ้า หากว่าทวงแต่ลูกหนี้อย่างเดียว แล้วผู้ค้าประกันไปทวงผู้ค้าประกันก็ไม่ผิดตาม พ.ร.บ. นี้ ถ้าไม่ได้หมายความ รวมถึง หรือว่าผู้ค้าประกัน หรื อว่าผู้ที่มาชาระหนี้แบบอื่น อย่างเช่นค้าประกันด้วยบุคคลหรือค้าประกันด้วย ทรัพย์อาจจะมอบบัตรเครดิตมา ซึ่งไม่ได้เป็นลูกหนี้มอบบัตรเครดิตให้มาหักเงินกด ATM ให้เอง แทนลูกหนี้ อย่างนี้ พวกนี้โดนทวงถามก็ไม่ผิดตาม พ.ร.บ. หนี้

๙๗ ๙๘

๙๙ ๑๐๐ ๑๐๑

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ลูกหนี้” ข้อสังเกต ๖ นายสัก กอแสงเรือง ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ลูกหนี้” ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ลูกหนี้” ข้อสังเกต ๑๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๘๓ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ลูกหนี้” ข้อสังเกต ๑๘ นายอรรถพล อรรถวรเดช กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ลูกหนี้” ข้อสังเกต ๑๙ นายธานี อ่อนละเอียด เลขานุการคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗


๓๔ ถ้าใส่คาว่า ผู้ค้าประกัน ๑๐๒ ความจริงในกฎหมายลักษณะหนี้ ลูกหนี้มีลูกหนี้ชั้นต้น ก็คือลูกหนี้ที่เป็น หนี้เองไปกู้ยืมเงินก็เป็นลูกหนี้ชั้นต้น ในเมื่อไม่เชื่อก็ให้ประกันด้วยบุคคลหรือทรัพย์ เอาบุคคลมาค้าประกัน ผู้ ค้าประกันถ้าว่ากันตามศัพท์คือลูกหนี้ชั้นที่ ๒ คือต้องมาไล่เบี้ยเอากับลูกหนี้ชั้นต้นก่อน แล้วไปไล่เบี้ยกับลูกหนี้ ชั้นที่ ๒ แต่ทั้ง ๒ คนนี้ในทางกฎหมายเป็นลูกหนี้ทั้งคู่ เพราะฉะนั้นถึงติงว่า ถ้าใช้คาว่า “ผู้ค้าประกัน” นี้ต้องใส่ ผู้จานอง เพราะฉะนั้นเอาออกเสีย ลูกหนี้ก็คือลูกหนี้ของเจ้าหนี้ จะเป็นลูกหนี้ชั้นต้นหรือลูกหนี้ชั้น ๒ ก็แล้วแต่ หนี้ก็เป็นลูกหนี้ทั้งนั้น ถึงได้เอาออกร่างเดิมที่เขียนว่ารวมถึงผู้ค้าประกันด้วย “ธุรกิจทวงถามหนี้ ” หมายความว่า การรับจ้างทวงถามหนี้ไม่ว่าโดยตรง หรือโดยอ้อมเป็นปกติ ธุระ แต่ไม่รวมถึงการทวงถามหนี้ของทนายความซึ่งกระทาแทนลูกความของตน

คาอธิบาย กฎหมายฉบับนี้ใช้บังคับกับ “ผู้รับจ้าง” ที่รับจ้างทวงถามหนี้ทั่วไป ซึ่งไม่จาเป็นต้องนับว่ารับจ้างกี่ครั้ง ผู้เขียนเห็นว่ารับจ้างครั้งเดียวก็เข้าข่ายบังคับของกฎหมายฉบับนี้แล้ว ส่วนผู้ประกอบวิชาชีพทนายความที่ทา การแทนลูกความมีกฎข้อบังคับเดียวกับมรรยาททนายความครอบคลุมอยู่แล้ว จึงไม่นากฎหมายฉบับนี้มาใช้ บังคับกับผู้เป็นทนายความในการทวงถามหนี้แทนลูกความของตนเป็นรายคดี ๆ ไป

ข้อสังเกต การกาหนดนิยาม “ธุรกิจทวงถามหนี้” หมายความว่า การรับจ้างทวงถามหนี้เป็นปกติธุระโดยตรง หรือโดยอ้อม ซึ่งการกาหนด “เป็นปกติธุระ” นั้นอาจไม่ถูกต้องเนื่องจากการให้สินเชื่อนอกระบบส่วนใหญ่เป็น เรื่องที่ผิดกฎหมายจึงไม่ใช่การดาเนินการที่เป็นปกติธุระ๑๐๓ ธุรกิจทวงถามหนี้ หมายความว่า การรับจ้างทวงถามหนี้เป็นปกติธุระโดยตรงหรือโดยอ้อม ๑๐๔ คาว่า “เป็ น ปกติ ธุ ร ะ” ค านี้ ว่ า คื อ ถ้ า เป็ น หนี้ น อกระบบคนที่ รั บ จ้ า งทวงถามหนี้ บ างที ไม่ ใช่ เป็ น ปกติ ธุ ร ะ ก็ คื อ หมายความว่าอาจจะเป็นสักครั้ง ๒ ครั้งที่ได้ไปทาการทวงหนี้ จะต้องพิจารณาว่าเมื่อปรับ แล้ว ไม่ใช่เป็นปกติ ไม่ปกติ ขอให้พิจารณาคานิยามคานี้ เพราะว่าอันนี้เป็นสาระสาคัญของร่างกฎหมายฉบับนี้ด้วยว่าผู้ที่รับจ้าง ทวงถามหนี้นั้นเป็นใคร ซึ่งคิดว่ากรณีที่ดูกันอยู่นี้คงเป็นเรื่องทีท่ าแบบไม่ปกติ ข้อสังเกตเหมือนกันว่าไม่ควรคลุมถึงเรื่องที่ไม่ได้ ทาการค้า๑๐๕ ก็อาจจะแก้ไขนิยามโดยเน้นตัดเรื่อง “ปกติ” ออกไปเหลือแต่ “ทางการค้า” แต่ก็จะต้องเรียนถามทางผู้แทนกระทรวงการคลังว่าจะเขียนอย่างไร ไม่ให้หมายความถึงเฉพาะสถาบันเท่านั้น คือกลัวเพราะประโยคนี้เข้าใจว่าหมายถึงสถาบันการเงินที่จะต้องไป จดทะเบียนไปอะไรต่าง ๆ ได้รับอนุญาตทางสถาบันการเงินหรือ Non – bank แต่ถ้าใช้คาว่า “บุคคลซึ่งให้ สินเชื่อไปทางการค้า” ก็คือพวกเจ้าหนี้เงินกู้ พวกอะไรต่าง ๆ ที่ให้กู้เป็นทางการค้า แต่ก็ทาเป็นปกติ จะทา อย่างไรที่ให้เขียนแล้วรวมถึงตรงบุคคลนี้ แต่ว่าไม่ได้หมายความว่าเฉพาะสถาบันการเงิน เพราะยังไม่ได้ปรึกษา ทางกระทรวงการคลังตรงนี้ว่าจะเขียนอย่างไรให้รวมถึงเจ้าหนี้ที่ทาเป็นการค้าตามปกติไม่ใช่ว่าคล้าย ๆ เป็น ผู้ใหญ่ใจดีให้เงินให้ทองเป็นครั้งคราว แต่คิดดอกคิดอะไรอย่างนี้ แต่ไม่ได้ทาเป็นการค้าปกติ

๑๐๒ ๑๐๓ ๑๐๔

๑๐๕

มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ลูกหนี้” ข้อสังเกต ๒๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๘๓ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ธุรกิจทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ธุรกิจทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๒ นายวันชัย ศารทูลทัต รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึง่ รายงานการประชุม คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ธุรกิจทวงถามหนี้” ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๖๔


๓๕ “ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติ ดต่อลูกหนี้ ” หมายความว่า ที่อยู่อาศัยหรือสถานที่ทางานของลูกหนี้ และให้หมายความรวมถึง หมายเลขโทรศัพท์และโทรสาร และสถานที่ติดต่อโดยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือโดยสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอื่น ที่สามารถติดต่อกับลูกหนี้ได้ด้วย

คาอธิบาย ความหมายโดยรวมของคานิยามคาว่า “ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้ ” นั้น ก็คือที่อยู่อาศัยและ ที่ทางานของลูกหนี้ตามปกติในสังคมปัจจุบัน และรวมถึงการติดต่อทางสังคมออนไลน์ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของ สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทใดที่สามารถติดต่อกับลูกหนี้ได้ก็รวมอยู่ในความหมายนี้ทั้งหมด สรุปก็คือ ข้อมูลที่อยู่ของลูกหนี้ที่สามารถตามถึงตัวได้ในชีวิตประจาวันตามปกติกับในสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ

ข้อสังเกต กาหนดคานิยามคาว่า “ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้ ” ว่าสามารถกระทาได้ ทางใด และมีวิธี ใดบ้าง “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้

คาอธิบาย คานิยามคาว่า “คณะกรรมการ” ที่บัญญัติไว้ในลักษณะนี้ว่าให้หมายความว่าคณะกรรมการกากับการ ทวงถามหนี้ เป็นลักษณะการบั ญญัติกฎหมายตามที่ถือปฏิบัติกัน และโดยปกติก็ต้องไปดูคาอธิบายที่อยู่ใน มาตราที่เกี่ยวข้องซึ่งในพระราชบัญญัตินี้คือคณะกรรมการที่กาหนดไว้ในมาตรา ๑๕

ข้อสังเกต เป็นรูปแบบของการบริหารกฎหมายที่นอกเหนือจากรัฐมนตรีผู้รักษาการแล้ว กฎหมายของประเทศ ไทยเกือบทุกฉบับก็จะมีคณะกรรมการทาหน้าที่เป็นผู้ช่วยรัฐมนตรีผู้รักษาการในการบริหารกฎหมายซึ่งอยู่ใน มาตรา ๑๖ ของพระราชบัญญัติฉบับนี้ “นายทะเบียน” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งให้เป็นผู้มีหน้าที่รับ จดทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้

คาอธิบาย ค านิ ย ามค าว่ า “นายทะเบี ย น” ซึ่ ง ในกฎหมายฉบั บ นี้ ห มายถึ ง นายทะเบี ย นที่ รั ฐ มนตรี ว่ า การ กระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งตามมาตรา ๖ และมาตรา ๒๙ ของพระราชบัญญัติฉบับนี้ ซึ่งแบ่งเป็นนายทะเบียน ในส่วนกลางคือ กรุงเทพมหานคร และนายทะเบียนในส่วนภูมิภาค

ข้อสังเกต มีข้อแตกต่ างกัน ระหว่างนายทะเบียนในส่ วนกลางและส่ วนภูมิภ าค กล่าวคือในส่ ว นกลางใช้นาย ทะเบียนซึ่งสังกัดสานักงานตารวจแห่งชาติ ส่วนในต่างจังหวัดใช้นายทะเบียนสังกัดกระทรวงมหาดไทย ทั้งนี้ ตามมาตรา ๒๙(๑)


๓๖ “พนักงานเจ้ าหน้าที่ ” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งตามการ เสนอแนะของคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

คาอธิบาย คานิ ย ามคาว่า “พนั กงานเจ้ าหน้ าที่ ” ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งนั้น ก็เป็นการ บริหารกฎหมายในลักษณะระดับรองจากคณะกรรมการตามคานิยามข้างต้น คือได้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ ได้รับการแต่งตั้งตามกฎหมายนี้ให้ปฏิบัติหน้าที่และบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย ซึ่ งหน้าที่ของพนักงาน เจ้ าหน้ าที่ ก็จ ะมีบั ญ ญั ติไว้ในตอนท้ายของกฎหมายตามแบบของการยกร่างกฎหมายของประเทศไทยอี ก เช่นเดียวกัน

ข้อสังเกต พนักงานเจ้าหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายนี้ที่จะรวบรวมข้อเท็จจริงของการบริหารกฎหมายและ การฝ่าฝืนกฎหมายเพื่อเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายและลงโทษผู้กระทา ความผิดทั้งทางปกครองและทางอาญา “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

คาอธิบาย รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ซึ่งเดิมทีตามที่ยก ร่างขี้นมาครั้ งแรกกาหนดไว้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง แต่หลังจากที่ได้มีการเสนอร่างกฎหมาย ขึ้ น มาจนกระทั่ ง ถึ ง การพิ จ ารณาขั้ น สุ ด ท้ า ยก็ ไ ด้ เปลี่ ย นรั ฐ มนตรี ผู้ รั ก ษาการให้ เป็ น รั ฐ มนตรี ว่ า การ กระทรวงมหาดไทย

ข้อสังเกต รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้มีด้วยกัน ๒ คน คือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ตามความในมาตรา ๔ และให้ปฏิบัติหน้าที่ในส่วนที่เกี่ยวกับอานาจหน้าที่ ของตน แต่สาหรับการออกกฎกระทรวงให้เป็นหน้าที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มาตรา ๔ ให้ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงการคลั ง และรั ฐ มนตรี ว่ า การกระท รวงมหาดไทย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ในส่วนที่เกี่ยวกับอานาจและหน้าที่ของตน และให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทยมีอานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

คาอธิบาย ผู้รักษาการมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้รักษาการหลักตามกฎหมายฉบับนี้ และยังเข้า ร่วมเป็ นประธานคณะกรรมการกากับ การทวงถามหนี้ และมีอานาจในการออกกฎกระทรวงหรือประกาศ เพื่อให้สอดคล้องกับอานาจหน้าที่และความพร้อมต่อการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งนี้ ยังคงให้อานาจรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลัง เข้ามาร่วมกากับดูแลในส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะการกากับดูแลหนี้ในระบบ


๓๗

ข้อสังเกต ร่างเดิมกาหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นรัฐมนตรีผู้รักษาการตามกฎหมาย และให้มี อานาจออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิ บัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ๑๐๖ แต่ในชั้นพิจารณากฎหมายได้ เปลี่ยนเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบหลัก ดูกฎกระทรวงหน้า ......

หมวด ๑ การทวงถามหนี้ มาตรา ๕ บุคคลใดจะประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ต้องจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ต่อนายทะเบียน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง บุคคลซึ่งจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามวรรคหนึ่งแล้ว ต้องประกอบธุรกิจทวงถาม หนี้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการประกาศกาหนด

คาอธิบาย กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ (หน้า .....) ซึ่งได้กาหนดรูปแบบของคาขอ รายละเอียด คาขอแก้ไขเปลี่ยนแปลง และหนังสือ สาคัญการจดทะเบียน การประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ต้องจดทะเบียนต่อนายทะเบียน ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ กาหนด หากการปะรกอบธุรกิจทวงถามหนี้เป็นทนายความหรือสานักงานทนายความ ให้จดทะเบียนต่อนาย ทะเบียนสภาทนายความ และให้คณะกรรมการสภาทนายความมีอานาจสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนได้ และมี อานาจวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งไม่รับจดทะเบียน รวมทั้งมีอานาจออกข้อบังคับในส่วนที่เกี่ยวข้องได้เท่าที่ไม่ขัด หรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ อนึ่ง คณะกรรมการสภาทนายความและสภานายกพิเศษต้องรายงานการดาเนินการเพื่อทราบเป็น ประจาทุก ๓ เดือนต่อคณะกรรมการ

ข้อสังเกต กาหนดให้ ผู้ป ระกอบธุรกิจทวงถามหนี้ต้องจดทะเบียนประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ และกาหนดให้ บุคคลซึ่งจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ต้องประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามที่คณะกรรมการกากับ การทวงถามหนี้ประกาศกาหนด เช่น ผู้ที่จะทาหน้าที่ทวงถามหนี้ สถานที่ทางาน หรือการรายงาน เป็นต้น๑๐๗ การทวงถามหนี้นั้นจะอยู่ในหมวด ๑ ของพระราชบัญญัติสาระสาคัญก็คือว่า ผู้ที่จะมาทาการทวงถาม หนี้ได้นั้นจะต้องมีการจดทะเบียน การจดทะเบียนนั้น ก็จะเป็น ๒ ส่วนคือ บุคคลทั่วไป จดทะเบียนต่อนาย ทะเบียน โดยมีหลักเกณฑ์และวิธีการ เงื่อนไข ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง แต่อีกแห่งหนึ่งก็คือ ทนายความ หรือว่าสานักงานทนายความที่ประสงค์จะประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้เป็นปกติธุระให้มาจดทะเบียนตาม ข้อบังคับของสภาทนายความ๑๐๘

๑๐๖ ๑๐๗ ๑๐๘

มาตรา ๔ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๕ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๕ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕


๓๘ ในมาตรา ๕๑๐๙ บุคคลผู้ประกอบธุรกิจทวงหนี้รวมหรือไม่รวมถึงการทาหน้าที่หรือการดาเนินการของ ผู้ประกอบวิชาชีพโดยเฉพาะทนายความแล้วรวมทั้งหนี้ทางแพ่งของบุคคลทั้งหลายทั่วประเทศ การกู้ยืมเงิน การละเมิดหรือการอย่างอื่นที่มีหนี้ แล้วก็ถ้าเขาทวงเองได้หรือไม่ แล้วก็มอบให้ทนายความทวงถามได้หรือไม่ หรือว่ามหาวิทยาลัยต่าง ๆ ที่มีการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย หรือให้คาแนะนาทางกฎหมาย หรือศูนย์ กฎหมายของมหาวิทยาลัยสถาบันการศึกษารวมทั้งของเนติบัณฑิตยสภาด้วย เนติบัณฑิตยสภาจะทาได้หรือไม่ จะต้องมาอบรมแล้วมาขอใบอนุญาตแล้วต้องมาเสียค่าธรรมเนียมด้วยหรือไม่อย่างไร ประเด็นแรกร่างกฎหมายฉบับนี้กาหนดว่า๑๑๐ กรอบของผู้ให้สินเชื่อคือนิติบุคคลที่ให้สินเชื่อเป็นทาง การค้าปกติ แล้วก็นิติบุคคลที่รับซื้อหรือรับโอนสินเชื่อนั้น ถ้าหนี้อันนั้นอยู่ในกรอบอันนี้รวมไปถึงการให้สินเชื่อ ตามร่างนี้ ก็คือการกู้ยืมเงิน การให้เช่าซื้อ บัตรเครดิต ลิสซิ่ง แฟ็คเตอริ่ง คือกรอบของการให้สินเชื่อ ในส่วน ของลูกหนี้ก็กาหนดว่าเป็นลูกหนี้บุคคลธรรมดา ถ้าหนี้แต่งตั้งด้วยกรอบนี้ผู้ที่รับประกอบธุรกิจแล้วไปทวงถาม หนี้ ในลั ก ษณะแบบนี้ ก็ อ ยู่ ภ ายใต้ ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้ แล้ ว ก็ จ ะต้ อ งมี ห ลั ก เกณฑ์ แ ละข้ อ ห้ ามที่ จ ะ ดาเนินการตามร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ด้วย ถามทางกระทรวงการคลังว่าในมาตรา ๕๑๑๑ บุคคลใดประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ต้องจดทะเบียน ที่นี้ นิติบุคคลที่ว่านี้สถาบันการเงินจะเป็นนิติบุคคล สถาบันการเงิน จะต้องมีลูกหนี้ซึ่งตามกฎหมายแล้วบางครั้งก็ ต้องมีการบอกกล่าวบังคับจานองบอกเลิกสัญญา เพราะว่าหนี้นั้นกฎหมายบัญญัติไว้โดยชัดแจ้งว่าการจะฟ้อง บั งคับ จ านองได้ต้องบอกกล่ าวบั งคับ จานองก่อนในเวลาอันสมควรคือเจ้าหนี้ ที นี้ถ้าเจ้าหนี้ประกอบธุรกิจ สถาบันการเงินจะบอกเลิกสัญญาเองจะถือว่าเป็นการทวงถามหนี้ไหม แล้วผู้ประกอบธุรกิจสถาบันการเงินไม่มี วัตถุประสงค์ในการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ซึ่งกฎหมายถ้าจะไปจดทะเบียนเพิ่มขึ้นมาไปขออนุญาตนี้ ต้องไป ขอแบงค์ชาติต้องไปอีกขั้นตอน เพราะฉะนั้นประเด็นนี้ก็คือว่าสถาบันการเงินจะไปจดทะเบียนประกอบธุรกิจ ทวงถามหนี้คงไม่ได้ เพราะฉะนั้นปัจจุบันนี้สถาบันการเงินส่วนมาก ก็จะมีทนายประจาเป็นพนักงานเลยก็ทวง ถามในนามธนาคารเลยบอกกล่าวบังคับ จานอง เพราะไม่บอกกล่าวบังคับ จานองหรือไม่บอกเลิกสัญญานี้ไป ฟ้องศาลก็จะต้องยกฟ้องเพราะยังไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย เพราะฉะนั้นก็จะถามว่าถ้าสถาบันการเงินจะทวงถาม หนี้เองหรือมีทนายความในนั้นทวงถามหนี้จะทาอย่างไร คนที่อยู่ภายใต้ร่างกฎหมายฉบับนี้จะมี ๓ กลุ่ม๑๑๒กลุ่มแรกคือ กลุ่มเจ้าหนี้ กลุ่มที่ ๒ คือกลุ่มที่รับมอบ อานาจมาจากเจ้าหนี้ไปทวง แล้วก็กลุ่มที่ ๓ ก็คือ ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ กลุ่มที่ ๑ กับกลุ่มที่ ๒ ไม่ต้องมา จดทะเบียนต่อ สศค. เฉพาะกลุ่มที่ ๓ เท่านั้น คือคนที่ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เท่านั้นที่ต้องมาจดทะเบียน กับ สศค. ในส่ ว นของเจ้ าหนี้ มีสิ ทธิที่ จ ะทวงหนี้ได้ อยู่แ ล้ ว เพี ย งแต่ ว่าจะต้ องอยู่ภ ายใต้ห ลั กเกณฑ์ ของร่ าง กฎหมายฉบับนี้ แต่ว่าไม่ต้องไปจดทะเบียน เฉพาะผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เท่านั้นที่มาจดทะเบียน ธุรกิจทวงถามหนี้มาตราที่เกี่ยวข้องในกฎหมายนั้นคือมาตรา ๕๑๑๓ต้องการให้มาจดทะเบียน แต่คนที่ รับจ้างทวงหนี้แม้จะเป็นครั้งเดียวถ้าไปทวงหนี้ในพฤติกรรม ในมาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ นี้ก็ผิด เหมือนกัน เพียงแต่ว่าธุรกิจทวงถามหนี้ พูดง่ายทาง สศค. ต้องการจะ Regulate ออกหลักเกณฑ์ว่าคุณต้องทา นั่นนี่มาจดทะเบียนแล้วดูแล กาหนดหลักเกณฑ์อะไร เพราะฉะนั้นจะไม่ไปเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการทวงถาม หนี้ คือต้องระวังว่ากาลังดูเฉพาะเรื่องทวงถามหนี้ ที่เป็นการบังคับชาระหนี้โดยไม่ชอบ เข้าไปเที่ยวซึ่งจะต้อง ๑๐๙ ๑๑๐ ๑๑๑ ๑๑๒ ๑๑๓

มาตรา ๕ ข้อสังเกต ๓ นายสัก กอแสงเรือง ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๕ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔ มาตรา ๕ ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙ มาตรา ๕ ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔ มาตรา ๕ ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๓


๓๙ จ่ายสตางค์แล้วไม่ยอมจ่ายก็จะยึดทรัพย์สินอะไรอย่างนี้ อันนั้นเป็นการบังคับชาระหนี้โดยไม่ชอบก็ต้องไปว่า กันอีกส่วนหนึ่ง แต่นี้ดูแลเฉพาะเรื่องทวงถามหนี้ถ้าไม่ระวังตรงนี้จะบานปลายไป พิจารณาตัวผู้ทวงถามหนี้๑๑๔ลาดับแรกก็คือผู้ให้สินเชื่อ การแก้ไขนิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” รวมไปถึง บุคคลธรรมดาด้วยว่าไม่จาเป็นต้องเป็นนิติบุคคล ซึ่งแต่เดิมตามร่างมุ่งหมายอยู่เฉพาะเป็นหนี้ในระบบคือตัว ธนาคาร Non - bank หรืออะไรต่าง ๆ พวกนี้ที่จะเป็นผู้ให้สินเชื่อ แต่จะขยายไปเรื่องผู้ให้สินเชื่อ ซึ่งเป็นการ ให้กู้ยืมเงินรวมถึงหนี้นอกระบบด้วย ซึ่งความหมายตามที่เข้าใจกันก็คือหนี้นอกระบบคือหมายถึง หนี้ที่เจ้าหนี้ ผู้ให้สินเชื่อไม่ใช่เป็นสถาบันการเงินเป็นบุคคลธรรมดาทั่วไปที่จะมาให้สินเชื่อ เพราะฉะนั้นตัวนิยามคาว่า “ผู้ให้ สิน เชื่อ” พอมาปรับแก้ไขบทนิยามคาว่า “ผู้ให้สินเชื่อ” ก็จะคลุมถึงทั้งการให้กู้ยืมเงินทั้งในระบบและนอก ระบบ ปัญหาที่มักจะประสบปัญหาจากการทวงถามหนี้ก็คือเป็นเรื่องหนี้ทางการเกษตรที่ทางชาวไร่ ชาวนา ไปซื้ อ สิ น ค้ า จากบริ ษั ท ห้ า งร้ า นที่ เป็ น สิ น ค้ า ทางการเกษตร พวกปุ๋ ย อะไรต่ า งๆ จะมี ก ารทวงถามจาก ผู้ประกอบการตรงส่วนนี้ก็คือไม่ใช่เป็นผู้ให้สินเชื่อ แต่เป็นเจ้าหนี้ในลักษณะการขาย จะเขียนบทนิยามให้คลุม ถึงบุคคลกลุ่มนี้ได้อย่างไร ซึ่งก็ไปดูแบบของตัวกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งจะคุ้มครองผู้บริโภคทั้งการขาย สินค้า แล้วก็การรับบริการ เพราะเรื่องบริโภคจะมี ๒ อย่าง คือตัวสินค้ากับตัวบริการ ซึ่งก็เป็นไปได้ว่าตัวลูกหนี้ ที่ไปรับบริการอะไรต่าง ๆ ก็อาจจะมีการทวงถามจากผู้ประกอบอาชีพที่ให้บริการหรือว่าเป็นผู้ประกอบอาชีพที่ ขายสินค้า ก็เลยไปเพิ่มนิยาม คาว่า “เรื่องทางผู้ประกอบธุรกิจ” มา ซึ่งนิยามคาว่า “ผู้ประกอบธุรกิจ” กลุ่มนี้ กลุ่มที่ ๒ มีวิธีการเขียนอยู่ ๒ แบบ ถ้าเขียนแบบละเอียดโดยไปเอานิยามของตัวกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคมา เขียนกากับเอาไว้ว่า ผู้ประกอบธุรกิจหมายถึงผู้ขายสินค้า ผู้ให้บริการ แล้วก็ไปนิยาม คาว่า “ขาย” หมายถึง อะไร “สินค้า” หมายถึงอะไร “บริการ” หมายถึงอะไร ก็จะเป็นล้อนิยามของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคมา กับ อีกแบบหนึ่งก็เขียนแบบทานองเดียวกับพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้ บริโภคที่ให้นิยามคาว่า “ผู้ประกอบ ธุรกิจ” หมายความว่าผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค ก็โยนไปตัวกฎหมายได้เลยว่า ผู้ประกอบธุรกิจ ผู้คุ้มครองบริโภค แน่นอนว่าก็เป็นผู้ที่ทาการค้าขาย ไม่ว่าจะค้าขายสินค้าหรือให้บริการ ถ้ามี หนี้ขึ้นมาแล้วไปทวงถามหนี้จากลูกหนี้ ซึ่งเป็นผู้รับบริการหรือผู้ซื้อสินค้าไปก็จะต้องถูกบังคับตามกฎหมายนี้ ตัวบุคคลในเรื่องนิยามผู้ประกอบธุรกิจ ในกฎหมายพระราชบัญญัติวิธีบริโภคก็ใช้ทานองนี้อยู่แล้ว เพียงแต่ พ.ร.บ. วิธีบริโภคฯ เขียนเพิ่มเติมไปด้วยว่า หมายถึงผู้ประกอบการทางกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิด ต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าไม่ปลอดภัย แต่เรื่องกฎหมายฉบับหลังมีจุดประสงค์ในอีกแบบหนึ่ง ซึ่งคิด ว่าไม่จาเป็นใช้คาว่า “ผู้ประกอบธุรกิจทางกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค” ก็ครอบคลุมหมดแล้ว คาว่า “นอกระบบ” หมายถึง รวมถึงนอกระบบในลักษณะที่ผิดศีลธรรมไปเลย เรื่องพนันบอล หรือแม้กระทั่งพอไป พูดถึงหนี้นอกระบบในลักษณะที่เป็นหนี้ผิดกฎหมายแล้ว ทางฝ่ายเลขานุการ ทางเจ้าหน้าที่สภามาปรึกษา เหมือนกันว่าหรือจะกลายเป็นคลุมไปถึงหนี้พ่อค้ายาเสพติดระหว่างกัน ยาบ้าแล้วมีการมาทวงเงินกัน ก็จะเอา กฎหมายนี้ เข้ าไปก ากั บ ด้ ว ย ซึ่ งคิ ด ว่าอาจจะไม่ จ าเป็ น ต้ อ งไปถึ งพวกหนี้ ที่ ผิ ด กฎหมาย พวกหนี้ เหล่ านั้ น เพราะว่าถ้าทวงกัน ซึ่งจริง ๆ ก็คงทวงกันแบบลักษณะรุนแรง อันนั้นก็เป็นไปตามกฎหมายอาญาทั่ว ๆ ไป ไม่ ต้องมาเอาตามกฎหมายฉบับนี้ เพราะกฎหมายฉบับนี้จะได้เพิ่มมาจากกฎหมายอาญา นอกจากการข่มขูท่ าร้าย ร่างกายก็ค งจะมีเรื่อ งที่ ท วงหนี้ ไม่ ค่อ ยเหมาะสมผิ ดเวลา ซึ่ งตรงนี้ คาว่า “นอกระบบ” ของก็ คงไม่ต้ องไป คุ้มครองถึงตัวคนที่กระทาความผิดทางกฎหมาย รับจ้างยิงปืนแล้วมีหนี้ติดกันเข้าใจว่ากรรมาธิการคงไม่ได้มุ่ง ไปถึงขนาดนั้นกับคาว่า “นอกระบบ” ก็เลยไม่ได้เอาตรงในกลุ่มนี้เข้ามา แต่เนื่องจากว่ามีข้อแง่คิดอย่างหนึ่งว่า มีหนี้บางอย่าง ซึ่งในทางกฎหมายเรียกว่า “หนี้ในธรรม” ซึ่งหนี้ในธรรมจะมีเขียนอยู่หลายมาตรา ซึ่งเป็นหนี้ที่ ๑๑๔

มาตรา ๕ ข้อสังเกต ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๗


๔๐ ไม่สามารถทวงถามหนี้กันได้ ไม่สามารถที่จะฟ้องร้องบังคับชาระหนี้ได้ แต่ถ้าลูกหนี้ไปชาระหนี้ให้แล้วก็จะเรียก คืนในฐานะมีคนได้ ไม่ได้ ตัวอย่างเช่น หนี้ขาดอายุความ หนี้พนัน ซึ่งจะมีหนี้พนันด้วยในประมวลแพ่งก็เขียน หนี้พนันหรือหนี้ที่ไม่มีพยานหลักฐานทาเป็นหนังสือ กรณีกู้ยืมเงินไม่มีหลักฐานไม่มีหนังสือเหล่านี้ หนี้เกิดขึ้น แล้ว แต่ไม่สามารถที่จะฟ้องร้องเรียกให้ บังคับชาระหนี้ได้ ซึ่งก็เป็นเรื่องการฟ้องร้อง กรณีถ้าเกิดมีการทวงหนี้ ไม่เหมาะสมขึ้นมา ถึงแม้จะฟ้องร้องไม่ได้แต่ทวงหนี้ไม่เหมาะสม มีการข่มขู่ ทวงไม่เป็นเวลา พวกคุณจะต้องให้ เจ้ า หนี้ ก ลุ่ ม นี้ เข้ ามาถู ก ลงโทษตามกฎหมายฉบั บ นี้ ถู ก ควบคุ ม โดยกฎหมายฉบั บ นี้ ด้ ว ย แล้ ว กลุ่ ม นี้ ก็ ไม่ จาเป็นต้องมีการเขียนไว้โดยเฉพาะว่าหนี้เจ้าหนี้ มีพนัน เนื่องจากว่าพยายามไปแก้ไขตัวนิยามคาว่า “ลูกหนี้” อยู่แล้ว เพราะว่าลูกหนี้เคยมีมติเบื้องต้นไปแล้วว่าบุคคลธรรมดา ซึ่งมีภาระผูกพันที่จะต้องชาระสินเชื่อเห็นควร ตัดคาว่า “มีภาระผูกพันที่จะต้องชาระสินเชื่อ” ออกไป เพราะว่าถ้าไปใช้คานี้จะกลายเป็นคล้าย ๆ เหมือนกับ เป็นหนี้ตามกฎหมาย มีภาระผูกพันที่จะต้องบังคับชาระก็คือหนี้ในระบบ หนี้ที่ถูกต้องหนี้ที่สามารถทวงถามกัน ได้เท่านั้น ก็จะทาให้หนี้ในธรรมกลุ่มนี้เข้ามาอยู่ในการถูกควบคุมตามกฎหมายฉบับนี้ด้วย ถึงแม้จะฟ้องร้อง บังคับชาระหนี้กันไม่ได้ก็ตาม หลักการอย่างนี้น่าจะครอบคลุมหมด ข้อสังเกตมาตรา ๕ วรรคสอง หลั ก การคื อ หมายความว่ า ๑๑๕กฎกระทรวง หลั ก เกณฑ์ วิ ธีก ารอะไรต่ า ง ๆ ที่ จ ะจดทะเบี ย นโดย รัฐมนตรีมว่าการกระทรวงมหาดไทยจะเป็นคนกาหนดทั้งหมดว่า คุณ สมบัติเป็นอย่างไร วิธีการยื่น ยื่นกัน อย่างไร แล้วก็ค่าธรรมเนียมอะไรต่าง ๆ ก็จะกาหนดไว้ในกฎกระทรวงของรัฐมนตรีว่ากากระทรวงมหาดไทย ส่วนของคณะกรรมการสภาทนายความในการที่จะออกข้อบังคับก็แน่นอนว่าจะออกข้อบังคับที่ขัดหรือแย้งกับ กฎกระทรวงไม่ได้ แล้วก็ต้องปฏิบัติตามนั้นเวลารับจดทะเบียน ทางคณะกรรมการสภาทนายความก็ต้องมาดู กฎกระทรวงฉบับนี้ว่า คุณสมบัติอะไรบ้างที่กาหนดไว้ก็ต้องปฏิบัติตามนั้น รวมทั้งค่าธรรมเนียมด้วยซึ่งเข้าใจว่า เวลาการเก็บค่าธรรมเนียมแล้วก็คงต้องมีการส่งไปทางกระทรวงมหาดไทย ค่าธรรมเนียมเก็บแล้วจะไปให้ใคร เพราะเนื่ องจากว่าตรงนี้ การทางานเป็ น การทางานของทางทนายไม่ใช่เกี่ยวกับ ทางนายทะเบี ยนของทาง มหาดไทยแล้ว ค่าธรรมเนียมควรจะเป็นของทางคณะกรรมการสภาทนายความ ซึ่งโดยหลักการคงพอเข้าใจได้ เพราะว่าใครออกแรงคนนั้นก็ต้องได้ แต่ค่าธรรมเนียมจะเก็บเท่าไรเป็นไปตามกฎกระทรวง คือจะไม่มีลักษณะ ลักลั่นกันระหว่างผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ระหว่างคนธรรมดากับทนายความจะเหมือนกันทุกอย่าง เพียงแต่ ว่าควรใช้ดุลยพินิจในการที่จะรับจดทะเบียนเป็นเรื่องของทางคณะกรรมการสภาทนายความ จัดเก็บแล้วก็คง เข้าของทางสภาทนายไปตรงนี้ คงไม่ต้องไปเขียนลักษณะว่าค่าธรรมเนียมจัดส่งอะไรอย่างไร น่าจะเข้าใจได้ คือ เป็นผู้ใช้อานาจแล้วก็เป็นผู้เก็บค่าธรรมเนียม มาตรา ๖ ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เป็นทนายความหรือสานักงานทนายความ ให้ คณะกรรมการสภาทนายความตามกฎหมายว่าด้วยทนายความทาหน้าที่นายทะเบียนรับจดทะเบียนโดย ต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวงและประกาศตามมาตรา ๕ ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เป็นทนายความหรือสานักงานทนายความ ให้คณะกรรมการ สภาทนายความตามกฎหมายว่าด้วยทนายความมีอานาจสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนตามมาตรา ๓๗ ที่เป็น อานาจของคณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ ให้สภานายกพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยทนายความมีอานาจวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งไม่รับจดทะเบียน ที่เป็นอานาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยตามมาตรา ๓๑ หรือคาสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนที่ ๑๑๕

มาตรา ๕ ข้อสังเกต ๙ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗


๔๑ เป็นอานาจของคณะกรรมการตามมาตรา ๓๘ ค าวินิจฉัยของสภานายกพิเศษให้เป็น ที่สุด ทั้งนี้ ให้น า ระยะเวลาในการอุทธรณ์ และการวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ให้คณะกรรมการสภาทนายความมีอานาจออกข้อบังคับในส่วนที่เกี่ยวข้องได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้ง กับ พระราชบั ญ ญั ติ นี้ ข้ อ บั งคั บ นั้ น เมื่ อ ได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากสภานายกพิ เศษตามกระบวนการใน กฎหมายว่าด้วยทนายความ และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้

คาอธิบาย ความในมาตรา ๖ นี้ หมายถึงทนายความหรือสานักงานทนายความที่ทนายความเป็นเจ้าของ และ ประสงค์ที่จะประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้เป็นปกติธุระ โดยคิดค่าจ้างการทวงถามหนี้เช่นเดียวกับผู้ประกอบ ธุร กิ จ การทวงถามหนี้ โดยทั่ ว ไป แต่ ไ ม่ ใ ช่ ก ารทวงถามหนี้ แ ทนลู ก ความเป็ น รายบุ ค คลรายคดี ตามที่ ทนายความโดยปกติก็จะออกหนังสือทวงหนี้ให้ชาระหนี้แก่ตัวความของทนายความผู้นั้นก่อนมีการฟ้องคดี ดังนั้นต้องมีความชัดเจนว่าทนายความหรือสานักงานที่ประสงค์จะประกอบธุรกิจ การทวงถามหนี้ แต่อาจจะไม่ เป็ น ทนายความว่าความในคดีให้ แก่ผู้ว่า จ้ าง กรณี ดังกล่ าวนี้จึงต้องมาจดทะเบียนกับคณะกรรมการสภา ทนายความตามกฎกระทรวงและประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้ตามความในมาตรา ๕ เช่นเดียวกันกับ ผู้ ประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้โดยทั่วไป ส่วนความในวรรคสองเป็นวิธีการบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายกรณีที่ทนายความหรือสานักงาน ทนายความไม่ปฏิบัติตามข้อถือปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายฉบับนี้ หรือตามคาสั่งของคณะกรรมการ กากับการทวงถามหนี้ สาหรับวรรคสามเป็นกรณีของการอุทธรณ์กรณีทนายความหรือสานักงานทนายความถูกปฏิเสธไม่รับ จดทะเบียน ซึ่งก็เช่นเดียวกันเป็นการอุทธรณ์ไปตามพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ คือให้สภานายก พิเศษแห่งสภาทนายความเป็นผู้มีอานาจวินิจฉัยอุทธรณ์การไม่รับจดทะเบียน หรือการเพิกถอนการจดทะเบียน ผู้ประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้ของทนายความหรือสานักงานทนายความ และ วรรคสี่เป็นเรื่องของวิธีการออกข้อบังคับซึ่งก็เป็นไปตามปกติของพระราชบัญญัติ ทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘

ข้อสังเกต ๑) ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีโดยลาดับดังนี้ ก. สานักงานทนายความนั้น เนื่องจากว่ามีองค์กรดูแลคือ สภาทนายความ แล้วก็มีกฎหมายที่ ควบคุมจรรยาบรรณของทางทนายความ ในการที่ทนายความหรือสานักงานทนายความจะจดทะเบียนที่จะ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้นั้น ก็ให้ยื่นจดทะเบียนต่อคณะกรรมการสภาทนายความ อันนี้ก็เป็นส่วนที่เพิ่มตรงนี้ ขึ้นมา แต่อย่างไรก็ตามในการที่จะจดทะเบียนนั้น หลักเกณฑ์ วิธีการต่าง ๆ นั้นเป็นหลักเกณฑ์ วิธีการเดียวกัน กับที่บุคคลทั่วไปจดทะเบียนต่อ นายทะเบียน นอกจากนั้นแล้วก็จะเป็นเรื่องของการที่ถ้าหากว่าไม่รับการจด ทะเบียน ถ้าบุคคลธรรมดาต้องอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย สาหรับสภาทนายความนั้น ถ้าไม่ รับ จดทะเบี ยนก็อุทธรณ์ ต่อสภานายกพิเศษ ในบทบัญ ญัตินี้ก็จะมีบทบัญ ญัติเรื่องของการเพิกถอนการจด ทะเบียน ซึ่งการเพิกถอนการจดทะเบียนนั้น แล้วก็ได้มีการที่กาหนดให้มีการอุทธรณ์ เช่นเดียวกันกับทางด้าน ทนายความ ก็จะมีการเพิกถอนจดทะเบียนได้ในหลักเกณฑ์เดียวกัน แต่ว่าเป็นอานาจของคณะกรรมการ สภา ทนายความ ที่สาคัญในส่วนนี้ที่บทบัญญัติไว้ในเรื่องของการประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้ที่เพิ่มเติมขึ้นมา๑๑๖

๑๑๖

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕


๔๒ ข. มาตรา ๖ วรรคสาม ที่คณะกรรมาธิการเพิ่มขึ้นใหม่ ให้คณะกรรมการสภาทนายความเข้ามา ดูแลการทวงถามหนี้ มาตรา ๖ วรรคสี่ จึงเพิ่มขึ้นมาใหม่เติมอานาจหน้าที่ของสภาทนายความ ผมขอเรียนถาม เป็ น ความรู้ สภานายกพิ เศษของสภาทนายความคื อ ใคร ๑๑๗ สภานายกพิ เศษแห่ ง สภาทนายความคื อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ตาม พ.ร.บ. ทนายความ๑๑๘ ค. มาตรา ๖ วรรคสี่ ประเด็นปัญหาในมาตรา ๖ วรรคสี่ ไม่ใช่เป็นกรณีซึ่งคณะกรรมการสภา ทนายความกับ สภานายกพิ เศษท าลั กษณะไขว้อานาจกัน แต่เป็น เรื่องของการที่ เมื่อมีการดาเนินการของ คณะกรรมการสภาทนายความก็ดี หรือว่าบทบาทของสภานายกพิเศษก็ดี ที่กระทาการไปตามบทบาทอานาจ หน้าที่ของพระราชบัญญัติสภาทนายความ ถ้าดาเนินการไปตามบทบาทแล้วหากไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ คณะกรรมการกากับทวงถามหนี้ตามพระราชบัญญัตินี้มีอานาจแจ้งให้คณะกรรมการสภาทนายความ ดาเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ หรือถ้าสภานายกพิเศษนี้ดาเนินการไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ ก็ให้คณะกรรมการแจ้งไปให้สภานายกพิเศษดาเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ มิใช่ว่า คณะกรรมการสภาทนายความนี้จะไปท้วงติงอานาจสภานายกพิเศษ แล้วก็ไม่ใช่ สภานายกพิเศษมาท้วงติง คณะกรรมการสภาทนายความ ขอกราบเรียนเพิ่มเติม แล้วก็บทบาทที่ทางพระราชบัญญัติฉบับนี้ไปดาเนินการ เกี่ยวกับเรื่องให้ทนายความมาดาเนินการเกี่ยวกับเรื่องจดทะเบียนและเพิกถอน ก็เนื่องจากว่ามีองค์กรก็คือ สภาทนายความดู แลกากับ อยู่ แล้ ว ก็จ ะมีบทบาทเพิ่ มเติมเกี่ยวกับเรื่องมารยาททนายความ ก็เลยให้ ส ภา ทนายความไปดูแลในฐานะรับจดทะเบียนและการเพิกถอนทะเบียน๑๑๙ ถ้ามองภาพรวมอีกภาพหนึ่ง ๑๒๐ ก็คือถ้าใช้พฤติกรรมเป็นตัวกาหนดว่า ถ้าเอามาตรา ๖ ก็ถือว่าผิด สมมุติว่าการทวงถามหนี้ไม่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือการรับจ้างก็ดี หรือไม่ถึงกับรับจ้าง อาจจะ มอบหมายโดยมีหรือไม่มีค่าตอบแทนอะไรก็อาจจะเขียนให้เข้าหมด แต่ว่าอีกภาพหนึ่งก็คือ ถ้าประเภทที่ไม่ ชอบหรือไม่ถูกต้อง จะมาจดทะเบียนมาตรา ๕ ได้ไหม ถ้าไม่ได้จะมีความผิดตามมาตรา ๕ อีกกระทงหนึ่งหรือ เปล่า กฎหมายทั้งระบบต้องดูตรงนี้ด้วย ประเด็นของทางทนายความ๑๒๑ ต้องการที่จะไม่ให้กฎหมายฉบับนี้ไปครอบคลุมถึงการปฏิบัติหน้าที่ ของทนายความในการที่จะทวงถามหนี้ให้ลูกความ ซึ่งทางทนายความมีมารยาททนายความควบคุมอยู่แล้ว ซึ่ง ถ้าเป็นหลักการทานองนี้ก็จะทานองเดียวกันกับพวกธุรกิจสถาบันการเงินต่าง ๆ ซึ่งก็มีแนวทางของแบงก์ชาติที่ ก าหนดมาให้ ป ฏิ บั ติ ซึ่ งถ้ าไม่ ป ฏิ บั ติ ก็ มี บ ท Sanction อยู่ เหมื อ นกั น แต่ บ ท Sanction จะเบามากเพราะ เนื่องจากว่าเป็นเรื่องการลดเครดิตของธนาคารนั้น ทาให้แบงก์ชาติถูกตรวจสอบกระบวนการมากขึ้น จะต้อง ทาเอกสารมากขึ้น แต่กระบวนการที่จะไปทาธุรกิจสถาบันการเงินที่จ ะลงโทษที่หนักร้ายแรงกว่านั้นก็ไม่มี เป็น คล้ายๆ เพิ่มภาระในการที่จะต้องมานั่งทาเอกสารชี้แจงอะไรต่าง ๆ แต่มาประเด็นตรงส่วนของทนายความ ตรงส่วนที่เป็นข้อห่วงใย ตรงส่วนที่ว่าถ้าทนายความดาเนินการในการทวงถามหนี้แล้วจะต้องมาจดทะเบียน ตามกฎหมายฉบับนี้ เฉพาะตรงส่วนนี้ จะเรียนว่าตามร่างฉบับนี้ ธุรกิจทวงถามหนี้หมายความถึงเฉพาะคนที่ ดาเนินกิจการเพื่อทวงถามหนี้โดยเฉพาะอย่างเดียว ซึ่งก็จะไม่รวมถึงกรณีที่ว่าทางทนายความปฏิบัติหน้าที่ใน การทวงถามหนี้ให้ลูกความ ซึ่งเป็นเรื่องดาเนินการตามปกติของทนายความอยู่แล้วที่เป็นลูกความก็จะสามารถ ที่จะต้องดาเนินการในการยื่น Notice ที่ทวงถามตามปกติ ตรงนั้นการดาเนินการของทนายความตรงส่วนนี้ไม่ ๑๑๗ ๑๑๘ ๑๑๙ ๑๒๐ ๑๒๑

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๘๑ มาตรา ๖ วรรคสี่ ข้อสังเกต ๔ นายธานี อ่อนละเอียด เลขานุการคณะกรรมาธิการ ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๘


๔๓ จาเป็นต้องมาจดทะเบียนตามกฎหมายฉบับนี้ในการเป็นผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ซึ่งถ้าคาว่า “ธุรกิจทวง ถามหนี้” นิยามอาจจะยังไม่ชัดเจนก็อาจจะเพิ่มเติม เข้าไปได้ว่าจากเดิมหมายความว่าการรับจ้างทวงถามหนี้ เป็นปกติธุระโดยตรงหรือโดยอ้อม ก็อาจจะเพิ่มว่า ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการทวงถามหนี้ของทนายความ ซึ่งก็ทาแทน ลูกความของตน ก็จะไม่ต้องมาจดทะเบียน แต่เข้าใจว่าข้อเป็นห่วงเป็นใยของทนายความห่วงตรงที่ว่ากรณีทวง ถามไม่เหมาะสมหรือข่มขู่ ซึ่ งทางทนายความได้ชี้แจงว่าทั้ง ๒ กรณีนี้มาเข้าในเรื่องมารยาททนายความที่จะ ควบคุมกันได้อยู่แล้ว ที่จะสามารถควบคุมในกรณีถ้าทาไม่ถูกต้องก็อาจจะถูกเพิกถอนทะเบียนไปได้ แล้วยิ่ง กรณีถ้าการกระทานั้นเป็นความผิดอาญาก็ยังบวกด้วยเรื่องอาญาเข้าไปอีก ตรงนี้ก็ต้องมีการถกอภิปรายกัน เพราะว่าตรงกฎหมายฉบับนี้ยังคลุมถึงพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งข้อเท็จจริงว่าการดาเนินการของผู้ประกอบ อาชีพต่าง ๆ ที่มีทะเบียนจรรยาบรรณในการควบคุม ไม่ว่าจะเป็นแพทย์อะไรต่าง ๆ มีในลักษณะบางส่วนที่ เป็นการกระทาแล้วผิดจรรยาบรรณอะไรต่าง ๆ ก็จะถูกทางสภาวิช าชีพควบคุม ซึ่งเป็นเรื่องอานาจของรัฐ แต่ โยนไปให้ทางสภาวิชาชีพควบคุมกันเอง ในเรื่องทางด้านวินัยก็ให้ไปใช้อานาจรัฐคุมได้ แต่การกระทาที่ถูกทาง วินัยนั้นก็จะเห็นได้ว่าทางผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นแพทย์ วิศวะ อะไรต่าง ๆ แม้จะถูกทางวินัยแล้ว หากชัดเจนการกระทาดังกล่าว มีการกระทาความผิดทางอาญา หรือทางอะไรที่สังคมต้องการควบคุมก็จะโดน เป็นในลักษณะ ๒ ครั้ง ซึ่งไม่ถือว่าเป็นการลงโทษซ้าซ้อนในกาลเดียวกัน เพราะว่าลักษณะจุดประสงค์คนละ จุดประสงค์ อย่างเช่นกรณีวิศวะ ทนายความไปทาอะไรที่ไม่ถูกต้องหลอกหลวงหรืออะไรต่าง ๆ ก็ จะต้องถูก ทางอาญา ทีนี้ประเด็นถ้าทางท่านสภาทนายความเห็นว่าเรื่องความรุนแรงมีทางอาญาควบคุมอยู่แล้ว แต่ทีนี้ใน ส่วนที่เป็นพฤติกรรมไม่เหมาะสมตรงนี้โทษทางสังคมที่เป็นทางด้านอาญา ทางบ้านเมืองที่ไม่ใช่เรื่องทางวินัยยัง ไม่มีอยู่ ซึ่งร่างฉบับนี้ก็จะเข้ามาคลุมทั้งในเรื่องที่ความไม่เหมาะสม แล้วก็เรื่องทางอาญาออกมาเป็นเฉพาะ สุดท้ายแล้วว่าจะให้ทนายความถูกควบคุมหรือไม่ หรือว่ามาตรการที่มีอยู่จะเพียงพอหรือไม่ ก็ทานองเดียวกับ หมออะไรต่าง ๆ ที่เป็ น การกระทาความผิดรักษาคนไข้อะไรไม่ถูกต้องก็อาจจะถูกลงโทษทางอาญา คาว่า “อาญา” ในที่นี้ก็ขึ้นอยู่กับว่าอาญาของรัฐที่กาหนดขึ้นมาปัจจุบันก็มีเฉพาะอาญา เรื่องการข่มขู่ เรื่องการใช้ ความรุนแรงเท่านั้นที่สามารถใช้บังคับกับทนายความได้ ถ้าทนายไปข่มขู่ ทนายความก็นอกจากจะโดนทางวินัย แล้ ว ยั งโดนทางด้ านอาญาด้ ว ย แต่ กฎเกณฑ์ สั งคมตอนนี้ มี เฉพาะแค่ นี้ ที นี้ ก็ขึ้ น อยู่กั บ ว่าต้อ งการที่ จะให้ กว้างไกล เข้าใจว่าทนายตอนนี้ไม่ได้ห่วงใยเรื่องอาญาที่เป็นข่มขู่อะไร เพราะว่าเพียงแต่ว่าจะมาถูกลงโทษตาม กฎหมายฉบับนี้หรือไปเรื่องอาญาทั่วไปเท่านั้นโดนอยู่แล้ว กรณีทนายความที่ข่มขู่ก็จะโดนทั้งวินัยแล้วก็โดนทั้ง เรื่องทางอาญา แต่ตรงที่ว่าการกระทาการทวงหนี้ที่เป็นการไม่เหมาะสม ซึ่งโทษตามกฎหมายฉบับนี้ เน้นเป็น เรื่องโทษทางปกครอง มีแต่ทางปกครองไม่ใช่เรื่องคดีอาญา เรื่องปรับ เรื่องอะไร การกระทาพฤติกรรมทวงหนี้ ไม่เป็ น เวลา แยกเป็ น โทษทางปกครอง จริ ง ๆ ไม่ ใช่โทษทางอาญา ซึ่ งโทษทางปกครองจะว่า ไปบางทีก็ ดู คล้ายคลึงกับเรื่องโทษทางวินัยอยู่เหมือนกัน ซึ่งการลงโทษทางวินัยกับของทนายอะไรต่าง ๆ การจดทะเบียนก็ เป็นอานาจทางปกครองที่รัฐมอบไปให้สภาวิชาชีพทา แต่ปัญหาว่ามีเรื่องปกครอง เรื่องปรับ นอกจากว่าทาง ทนายจะโดนถอนทะเบียนอะไรไปแล้ว ยังโดนปรับตรงส่วนนี้ จะเห็นด้วยกับทางทนายความหรือไม่ว่าทาง พฤติกรรมก็ปล่อยให้เป็นเรื่องทางปกครองของทางทนายความไป เสนอข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณา องค์กรสภาทนายความ๑๒๒มีบทบังคับในการที่จะเอาผิดกับทนายความที่มีการฝ่าฝืนจรรยาบรรณอย่าง ชัดเจนอยู่แล้ว แล้วเป็นองค์กรวิชาชีพอิสระ ซึ่งมีกฎหมายควบคุมมีโทษทางอาญาใน พ.ร.บ. ทนายความด้วย บางประการ ในกรณีที่ทนายความไปล่วงละเมิด แน่นอนไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมายก็ถูกลงโทษ ตามกฎหมาย ข่มขู่ก็ว่ากันไปทางอาญา กรรโชกทรัพย์ก็ว่ากันไปทางอาญา ทาร้ายร่างกายก็ว่ากันไป ซึ่งมุมมองตัวนี้ของสภา ๑๒๒

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๗ นายวิเชียร ชุบไธสง กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวง ถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๗


๔๔ ทนายความมีกฎหมายชัดเจนในการที่จะดาเนินการกับคนที่กระทาความผิดอยู่แล้ว ประกอบกับเมื่อเป็นองค์กร อิสระ แล้วก็มีกฎหมายควบคุมอยู่ต่างหาก ก็ไม่สมควรที่จะอยู่ในบังคับของกฎหมายพิเศษลักษณะนี้ ถ้ามีเรื่อง มีปัญหาก็พร้อมที่จะไปขึ้นต่อศาล พร้อมที่จะไปว่ากันในประมวลกฎหมายอาญา หรือประมวลกฎหมายแพ่ง แต่ทีนี้ปัญหาถ้าทนายความอยู่ภายใต้กฎหมายฉบับนี้ ทนายความทุกคนต้องไปจดทะเบียนในการที่จะขอการ ติดตามทวงถามหนี้ เพราะว่าการติดตามทวงถามหนี้หมายถึงการที่ทนายความไปรับงานจากสถาบันการเงิน ไม่ ว่าจะเป็นบังคับจานองหรือเช่าซื้ออะไรก็แล้วแต่มาฟ้อง ซึ่งกฎหมายกาหนดบั ญญัติว่าต้องออกหนังสือบอก กล่าว พอมาออกหนั งสื อบอกกล่าวก็จะมีประเด็น ต้องไปขออนุญาตถ้าดูตามเนื้อหาของกฎหมาย ตรงนี้ที่ ทนายความส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดไม่ค่อยสบายใจในกฎหมายตัวนี้ ยกตัวอย่างที่ลงรายละเอียดคือถ้าบังคับกับ ทนายความด้ ว ยอย่ างเช่น วัน นี้ นั ด ศาลตอน ๐๙.๐๐ นาฬิ กา แล้ วบั งเอิญ ลู ก หนี้นั ด ว่าจะช าระเงิน จะให้ ทนายความถอนฟ้อง บังเอิญทนายความเกิดไปโทรศัพท์ก่อน โทรศัพท์สอบถามว่า ท่านได้ชาระเงินหรือยัง เรา จะถอนฟ้องให้ ก่อน ๐๙.๐๐ นาฬิกา ก็มีความผิด พอมีความผิดปัญหาอย่างอื่นก็จะตามมา เป็นข้อเท็จจริงที่ อยากจะให้ ม องลงไปลึ ก ๆ ก็ จ ะเกิ ด ปั ญ หาอย่ า งนั้ น ตรงนี้ ไ ม่ น่ า จะบั ง คั บ ใช้ กั บ กรณี ท นายความที่ มี พระราชบัญญัติควบคุมกากับดูแลอย่างดีอยู่แล้วเบื้องต้น ในกรณีธุรกิจทวงถามหนี้๑๒๓ กฎหมายฉบับนี้ไม่คลุมถึงการปฏิบัติหน้าที่ของทนายความให้กับลูกความ เพราะฉะนั้นการที่ทางทนายความเป็นทนายความให้กั บสถาบันการเงินต่าง ๆ แล้ว ไปดาเนินการทวงถามหนี้ ไม่ต้องมาขออนุญาต เพราะไม่ใช่เป็นการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้โดยเฉพาะ ธุรกิจทวงถามหนี้หมายถึงว่า รับจ้างทวงหนี้ที่เป็นปกติธุระ ก็คือหมายถึงทาอาชีพนี้อาชีพเดียว มีใครเข้ามาในสานักงานทนายแล้วขอให้ ดาเนินการทวงถามหนี้ โดยตรงอย่างนี้ทั้ง ๆ ที่ไม่ได้เป็นลูกความมา ถ้าทางทนายความทาเสียจนเป็นปกติ เป็น อาชีพบางทีคิดค่าตอบแทนต้องมาขออนุญาต แต่ถ้าเป็นในแบงก์ต่าง ๆ เป็นลูกความ เป็นอะไรกันแล้วไม่ต้อง ขออนุญาต ถึงแม้จะทาเป็นปกติธุระให้กับแบงก์นี้ เพราะแบงก์นี้เป็นลูกความอยู่ทุกเรื่ องก็ตาม ก็ไม่ต้องขอ อนุญาต ข้อมูลจะเน้น ย้าว่าตรงนั้นคลุมถึงหรือไม่อย่างนั้น อาจจะเขียนเพิ่มเติมบทนิยามลงไปให้ชัดเจนใน ธุรกิจทวงถามหนี้ก็ได้ว่า ทั้งนี้ไม่รวมถึงการทวงถามหนี้ของทนายความ ซึ่งกระทาแทนลูกความของตน ถ้าเพิ่ม ตรงนี้ก็จะได้ตัดปัญหา แต่ตรงส่วนของเรื่อ งการกระทาอื่น ๆ ที่ไม่เหมาะสมว่ามีแนวความคิดที่ว่าเรื่องวินัย เรื่อ งทางวินั ย เรื่ องทางอาญา เรื่ องทางอาญา อย่ างเช่นกรณี เรื่องการที่ท นายความเปิด เผยความลั บ ของ ลูกความ ซึ่งก็ผิดจรรยาบรรณของทนายความเหมือนกัน แล้วก็ยังมาโทษทางอาญาตามมาตรา ๓๒๓ แห่ ง ประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งต้องลงโทษที่ไม่ให้ พวกแพทย์ พวกทนายความเปิดเผยความลับ ก็มีแนวความคิด ที่ว่าอาจจะมีอาญาซ้าซ้อนลงมาได้ หรือความผิดต่อในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งทนายความก็อาจจะโดนตรง ส่วนนี้ บ่ อย ถ้ามีการกระทาอะไรที่ไม่ถูกต้องในเรื่องกระบวนการยุติธรรมก็จะมีอีก ตรงนี้ก็ขึ้นอยู่ จุดความ เหมาะสมเท่านั้น เรื่องข่มขู่ทางทนายความคงไม่โต้แย้งอะไรมาก เพราะว่าข่มขู่ ไม่โดนฉบับนี้ก็ไปโดนทั่วไปอยู่ แล้ว แต่จะเหลืออยู่เฉพาะกรณีที่พฤติกรรมไม่เหมาะสม ทวงไม่เป็นเวลาตอนนี้ยังไม่ได้เป็นความผิดอาญา แต่ ถ้ากาหนดเข้าไปแล้ว มีปัญหาว่าจะไปขัดแย้งต่อหลั กการอะไรหรือเปล่า ซึ่งเรียนแล้วว่าสามารถซ้ากันได้ แล้ว กรณี นี้เป็นเรื่องโทษทางปกครอง เหลือประเด็นว่าทวงหนี้ไม่เหมาะสมของทนายความว่าจะกาหนดไว้ไหม เพียงแต่ยกเว้นให้ด้วย การทวงหนี้ ๑๒๔จากตัวอย่างหรือจากกรณีศึกษาทั้งหมด ไม่มีข้อเท็จจริงว่าเป็นการกระทาของทนาย หรือเกิดจากทนายหรือรบกวนจากทนาย หรือข่มขู่จากทนาย ข้อเท็จจริงไม่มี ถ้าดูร่างกฎหมายฉบับนี้ตลอด ๑๒๓ ๑๒๔

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๘ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๙ นายสัก กอแสงเรือง ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๗


๔๕ แล้วไม่มี แต่มีจากกลุ่มที่ให้สินเชื่อของสถาบันการเงินรวมทั้ง Non bank ด้วย เนื่องจากว่าอัตราดอกเบี้ยสูง กาไรจูงใจ พอกาไรเยอะนอกจากถ้าจ้ างทวงหนี้ปกติ คิดเป็นค่าบริการปกติ ไม่ค่อยมีปัญ หาเท่าไร ส่ วนที่มี ปัญหาคือไปตั้งเปอร์เซ็นต์จากรายได้ ทวงถามหนี้สาเร็จ ตรงนี้คือปัญหาของพวกนี้จริง ๆ เลย เนื่องจากว่า อัตราดอกเบี้ยเมื่อไม่มีหลักประกัน ก็กลายเป็น ๑๘ ๒๐ ๒๔ ๓๐ ยังมีเลยเวลาผิดนัด พอไปตั้งตรงนั้นสูง ๆ กาไรตรงนี้เป็นตัวเลขมหาศาลเลย ถ้ าทวงได้เท่าไรกาไรของบริษัทเพิ่มที่เป็นตัวเลข ถ้าไปดูตรงนี้คิดว่าแบงก์ ชาติควรจะมีตัวเลขว่า ๑. อัตราค่าจ้างปกติในการทวงหนี้ ควรจะกาหนดมาตรฐานเท่าไร แล้วการจ้างต้องไม่ เกินตรงนี้ ห้ามให้มีส่วนแบ่ง ทนายนี้เรียกส่วนแบ่งไม่ได้ เพราะฉะนั้นการทวงหนี้ของสถาบันการเงิน ซึ่งเป็นมือ อาชีพก็ห้ามไม่ให้เรียกจากส่วนแบ่งเลยไม่ให้เปอร์เซ็นต์สูง ๆ เลย ปัญหาตรงนี้ลดทันที แล้วปัญหาจะน้อยมาก เรื่องที่เป็นการกระทาที่เกิดจากทนายความ การเข้าสู่วิชาชีพทนายความหรือการเข้าสู่เป็นเนติบัณฑิตยากมาก ตอนนี้อัตราสอบนี้ประมาณ ๑๕ เปอร์เซ็นต์โดยเฉลี่ยของเนติบัณฑิตก็เหมือนกันของทนายความก็เหมือนกัน เพราะฉะนั้นทุกคนกลัวใบอนุญาตถูกถอนหรือถูกลงโทษ เพราะฉะนั้นปัญหาตรงนี้องค์กรสภาวิชาชีพทาได้ดี เพราะฉะนั้นพฤติกรรมการทวงหนี้ ที่ใช้มาตรการอย่างนั้น อาจจะต้องไปกาหนดว่า ๑. การทวงหนี้ที่ฝ่าฝืน กฎหมาย ฝ่าฝืนความสงบเรียบร้อย ฝ่าฝืนศีลธรรมอันดี ถ้าเอาตรงนี้ก็จะเป็นอีกกรอบหนึ่งที่ไม่ต้องไปเขียนลง รายละเอีย ดอย่ างนี้ ถ้ าไปบอกว่าทวงหนี้ การพนั น อะไรต่ ออะไร คิด ว่าเป็ นกฎหมายที่ ห ลายประเทศไม่ มี กฎหมายอย่างนี้ พัฒนาบอกว่าเอาหนี้นอกระบบด้วย ตรงนี้ยิ่งเขียนนิยามลาบากมากให้ครอบคลุ มทุกอย่าง เหตุการณ์ในอนาคตที่จะครอบคลุมได้ทั้งหมดนี่ลาบาก คงชินกับเรื่องของการออกนอกระบบเยอะเหลือเกิน ออกนอกแนวของกรอบกฎหมายไปได้เร็วมาก แล้วทุกอย่างสามารถที่จะพัฒนาก้าวหน้าได้เร็วให้มาก ส่วนที่ เกิดจากวิชาชีพที่เป็นการทวงหนี้ที่ไม่เหมาะสมไม่น่าห่วงเท่าไร มีกรอบอย่างอื่นที่น่าจะควบคุมได้มากกว่า การทวงถามหนี้กับธุรกิจทวงถามหนี้ ๑๒๕ ที่สภาทนายความเป็นห่วงกังวล ก็มีเหตุผลที่เป็นห่วงธุรกิจ ทวงถามหนี้ไม่ใช่การทวงถามหนี้ปกติของเจ้าหนี้ แต่หมายถึงมีคนที่ตั้งตัวประกอบธุรกิจหนี้รับจ้างเขาทาหน้าที่ นี้เลย พวกนี้ก็คือ ๑. ต้องไปจดทะเบียน ต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ที่จะออกต่อไป แล้วก็จะต้องทวงถามหนี้ไม่ ขัดกฎหมายนี้ด้วย นี้คือบริษัทธุรกิจทวงถามหนี้ แต่ถ้าเป็นเจ้าหนี้หรือผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ให้ทวงถาม หนี้ ซึ่งผู้รับมอบอานาจนี้ คิดว่าตรงกับทนายความ เพราะว่าเจ้าหนี้ทั้งหลายส่วนมากก็ไม่ทวงถามเอง เพราะไม่ รู้กฎหมาย ไม่รู้จะเขียน Notice อย่างไร ก็ต้องมาพึ่งทนาย ทนายจึงเป็นผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ อันนี้ไม่ได้ บังคับให้จดทะเบียน ไม่ได้บังคับให้ต้องไปปฏิบัติตามกฎเกณฑ์อะไรที่ทางบ้านเมืองออก แต่จะถูกบังคับว่าวิธี ทวงถามหนี้ คุ ณ จะท าขั ด กฎหมายมาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ อะไรไม่ ได้ จะต้ อ งใช้ วิ ธี ที่ เหมาะสม เพราะฉะนั้นภาระซึ่งจริงๆ ทาอยู่แล้ว เพียงแต่ว่าข้อความที่เขียนใน Notice คือถ้าไม่ใช่นักกฎหมายอ่านบางที รู้สึกรุนแรง แล้วบางทีอ่านแล้วตกใจก็มี แต่ว่าอันนั้นไม่ได้ขัดกฎหมาย เป็นการเขียนเพื่อให้เกิดผลทางกฎหมาย ซึ่งจาเป็นจะต้องเลือกใช้คา ไม่น่ามีปัญหาอะไร แต่ถ้าเมื่อไรสานักงานทนายความไปตั้งตัวเป็นบริษัท หรือเป็น คนที่รับจ้างทวงนี้ประกอบเข้าไปด้วยต้องจดทะเบียน ซึ่งก็ไม่ได้มีมากนัก เพราะว่าสานักงานทนายความรับว่า ความกับลูกความก็ไม่มีเวลาเหลือแล้วความจริงแล้ว แล้วก็ทวงถามหนี้เรียกว่า ทวงในเกมในเรื่องที่ลูกความเข้า มาติดต่อไม่ใช่เป็นธุรกิจรับทวงถามหนี้ คือทนายความ ถ้าประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ต้องจดทะเบียน แล้วก็ต้องปฏิบัติ แต่ทนายส่วนใหญ่เป็น ผู้ทวงถามหนี้โดยไม่ได้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ เขาทวงถามหนี้ให้ลูกความไม่ต้อ งจดทะเบียน เพราะไม่ได้ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้โดยเฉพาะ แต่เป็นเรื่องที่รับจ้างว่าความ แล้วก็ต้องทวงถามหนี้เพื่อให้เกิดสิทธิที่จะ ๑๒๕

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๑๐ นายเข็มชัย ชุติวงศ์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๗


๔๖ ฟ้องคดีพูดง่าย ๆ ไม่ต้องจดทะเบียน ไม่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์อะไรที่กระทรวงการคลังออก แต่ว่าต้องไม่ ขัดแย้งกับมาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ วิธีทวงถามหนี้ต้องเหมาะสม คาว่า “ลูกความ”๑๒๖ หมายความว่าคนซึ่งทนายความเป็นผู้ว่าความให้เมื่อเกิดคดีแล้ว หรือรวมถึงคน ซึ่งเป็นผู้ให้คาปรึกษาด้วยตามกฎหมายทนายความ คืออย่างนี้ลูกความของทนายความในความหมายที่เป็นอยู่ ๑๒๗ คือแค่มาขอรับคาปรึกษา ก็ถือว่าเป็น ลูกความแล้ ว เมื่อมีคนมาปรึกษาก็ต้องตกลงกันว่าจะฟ้องคดีหรือจะไม่ฟ้อง หรือให้ คาปรึกษาอย่างเดียวก็ เป็นไปได้ทุกอย่าง บางคนเขามาต้องการแค่คาปรึกษา บางคนต้องการให้ทาคดีให้ บางคนก็ต้องให้ถึงชั้นบังคับ คดีหรือยื่นฟ้องล้มละลายต่อไป อันนี้คือกระบวนการของคาว่า “ทนายความ” ที่เกี่ยวข้องกับคาว่า “ลูกความ” คาว่า “ทวงถามหนี้กระทาการแทนลูกความของตน” แน่นอนเวลารับคดีมาทาหรือรับงานมา ๑ ชิ้น อย่างเช่น จ้างให้ฟ้องบังคับจานอง แล้วก็ฟ้องได้หลายเจ้า สานักกฎหมายก็ประกอบธุรกิจอยู่แล้วคือธุรกิจในการว่าความ นั่นก็เป็นธุรกิจอย่างหนึ่งของทนายความทีนี้เกิดมีหลาย ๆ เจ้ามาจ้างให้ว่าความเรื่องบังคับจานองก็ต้องออก หนังสือบอกกล่าวอย่างนี้ เท่าที่ฟังกรรมาธิการบางท่านบอกว่าไม่ต้องขออนุญาตแต่เป็นธุรกิจมันคาบเกี่ยวกัน อยู่ หรือสานักกฎหมายหรือทนายความรับงานจากสถาบันการเงิน ซึ่งเป็น Non – bank ส่งงาน ให้ประจา Non – bank ก็ถือว่าเป็นลูกความของทนายความส่งให้ประจา บางเดือนอาจจะมี ๑ คดี บางเดือนอาจจะมี ๒ คดี หรื อเว้น ไปอีก ๒ เดือนมีอี ก ๕ คดี ลั กษณะของการท างานของทนายความจะเป็น อย่างนี้ ตรงนี้ ยังมี ข้อขัดข้องอยู่ว่า ถ้าเป็นคดีแบบนี้ต้องไปจดทะเบียนหรือไม่ ที่รับมาเป็นธุร กิจแต่ว่ารับมาหลาย ๆ เจ้า บางทีก็ รับ ๔ – ๕ เจ้า อย่างนี้ แต่ไม่ได้ทวง กลุ่มทวงข้อขัดข้อง แต่ว่ากลุ่มที่รับมาฟ้องอย่างเดียว แต่ว่าก่อนฟ้องต้องมี การทวงถาม คือสิ่งที่สภาทนายความเป็นห่วงทุกวันนี้ ในฐานะที่อยู่ส ถาบั น การเงิน ๑๒๘เวลาสถาบันการเงินส่ งเรื่องไปให้ ท นายความดาเนินคดี สมมุติว่า สานักงานข้างนอก ก็แจ้งไปว่าส่งลูกหนี้รายนี้ไปให้ดาเนินคดีแต่ไม่ได้บอกว่าให้ทวงถามหรือไม่ทวงถาม เพราะ การดาเนิ น คดี เป็ น ขั้น ตอนตามกฎหมายอยู่แล้ วว่า ถ้าจานองจะต้องบอกกล่ าวว่าจานอง ถ้าไม่บอกกล่ าว ทนายความฟ้องไป ศาลจะยกฟ้อง หรือหนี้ปกติไม่บังคั บจานองก็ต้องทวงถามไปเหมือนกันตามกฎหมายว่าให้ เวลา แล้ ว ถ้าไม่ช าระก็ ฟ้อ งจะได้ เรี ย กค่าใช้จ่ าย ค่าทนายความได้ เพราะฉะนั้ น ไปเรียกค่ าต่าง ๆ ไม่ได้ มี ความเห็นว่าไม่รวมถึงอันนี้ก็จะชัดขึ้นว่า ทนายความที่ได้รับเรื่องจากลูกความให้มาดาเนินคดี จะสั่งมาเพื่อ ดาเนินคดีเท่านั้น มาเพื่อปรึกษา ปรึกษาอาจจะไม่ได้ทวงถาม ให้คาแนะนาเป็นอีกเรื่องหนึ่งไม่เกี่ยวกับทวงถาม แล้ว เพราะฉะนั้นเมื่อลูกความส่งเรื่องมาให้ดาเนินคดี อันนี้ไม่ต้องจดทะเบียนไม่ต้องทาอะไรเลยอย่างที่สถาบัน การเงิน ดังที่ธนาคารจะไม่ส่งไปข้างนอกแต่จะมีทนายความเป็นลูกจ้ างเป็นทนายความกินเงินเดือนแบงก์ก็ส่ง มา ทนายความก็จะทวงถามบอกกล่าวว่าจานอง ซึ่งเรียนถามตั้งแต่ตอนเริ่มต้นว่าแบบนี้สถาบันการเงินก็ไม่ต้อง ไปจดทะเบียนธุรกิจทวงถามหนี้ เพราะไม่ใช่ธุรกิจแต่ต้องทาตามกฎหมายของทนายความได้ว่าถ้าส่งเรื่องไปให้ สานั กงานดาเนิ น คดี คาว่า “ลูกความ” ในกฎหมายก็คือ ตัวจาเลยหรือโจทก์อะไรอย่างนี้ก็เป็นคู่ความกัน เพราะฉะนั้นก็คงจะชัดแล้วไม่ต้องจดทะเบียน นายทะเบียน๑๒๙ ซึ่งตามร่างเดิมคือรัฐมนตรีคลัง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง ครอบคลุมไปถึงการ ให้สินเชื่อนอกระบบด้วย จึงเปลี่ยนตัวรัฐมนตรีผู้รักษาการ เพิ่ มรัฐมนตรีมหาดไทยเข้าไป แล้วก็ให้นายทะเบียน กลายเป็นบุคคลซึ่งรัฐมนตรีมหาดไทยเป็นผู้แต่งตั้ง ก็แปลว่าการทวงหนี้ไม่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบโดยกฎหมาย ๑๒๖ ๑๒๗ ๑๒๘ ๑๒๙

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๙๙ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๑๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๒๒ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๑๓ นายสงคราม สกุลพราหมณ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ การทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๑๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๙๙


๔๗ จะเปลี่ยนจากสานักงานเศรษฐกิจการคลังของกระทรวงการคลัง ไปอยู่ที่กระทรวงมหาดไทย ซึ่งไม่รู้จะไปอยู่ กรมไหน อาจจะไปอยู่สานักปลัดฯ หรือเปล่า เมื่อจะไปโยงกับนิยามที่แก้เรื่องธุรกิจ เจ้าหน้าที่เอากลับไปที่ธุรกิจทวงถามหนี้ แก้ว่าไม่รวมถึงการทวง ถามหนี้ของทนายความ ซึ่งกระทาแทนลูกความของตน คาว่า “ลูกความ” ในความหมายนั้นไม่ได้หมายถึง คู่ความที่เกิดเป็ น คดีขึ้น แล้ ว แต่ห มายถึงใครก็ตามที่ม าปรึกษาก็เป็นทั้งนั้น ไม่มีธุรกิจทวงถามหนี้ที่ทาโดย ทนายความ เพราะว่ายกตัวอย่างบริษัทที่ปรึกษากฎหมายมีทนายความ คนก็มาปรึกษาไม่ได้เป็นการฟ้องคดีกัน มา Retain เอาไว้ จ่ ายค่ า fee เดื อ นหนึ่ ง ๑ แสนบาท แล้ ว ถึ งเวลาก็ บ อกไปทวงหนี้ ที ถามว่า นี่ เป็ น การ ประกอบธุรกิจไหม อธิบายว่าลูกความคือบุคคลซึ่งมารับคาปรึกษาจากทนายความก็เป็นแล้ว ก็เข้าตัวนิยามนี้ จึงไม่มีที่ไหนที่จะต้องไปจดทะเบียนอีก เว้นแต่เป็นบริษัทที่ปรึกษากฎหมาย ซึ่งไม่มีทนายความอยู่ในบทนิยม ตามมาตรา ๕ อยู่แล้ว เพราะว่าถ้าฟังตามคาชี้แจงผู้แทนสภาทนายความ เมื่อไรก็ตามที่ มีทนายความอยู่ในนั้น แล้วคนเดินเข้ามาบอกว่าคุณไปช่วยทวงหนี้ให้ที ทวงหนี้ไม่ได้เข้าบทนิยาม เรื่องไม่รวมถึงธุรกิจทวงถามหนี้ ไม่ รวมถึงการทวงถามหนี้ของทนาย กรณี ข องส านั ก กฎหมายว่ าจะให้ จ ดทะเบี ย นที่ ส ภาทนายความ ๑๓๐เพราะว่าก็ เป็ น เรื่อ งที่ ดี ที่ ท าง ทะเบียนจะทาการควบคุมระดับหนึ่ง ทาไมกฎหมายนี้ถึงไม่รวมทนายความ๑๓๑ เพื่อไม่ให้ทนายความต้องไป๑๓๒จดทะเบียนการประกอบธุรกิจเท่านั้น แต่ทนายความที่ไปทวงถามหนี้ โดยผิ ด กฎหมายฉบั บ นี้ ก็ ติ ด คุ ก เหมื อ นกั น คื อ หมายความว่า บทบั ญ ญั ติ ในกฎหมายฉบั บ นี้ ใช้ บั งคั บ กั บ ทนายความด้วย มาตรา ๕ ให้ต้องไปจดทะเบียน แต่การเขียนอย่างนี้ก็แปลว่า ไม่ต้องไปจดทะเบียนเท่านั้น แต่ ถ้าทวงถามหนี้โดยผิดมาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ ติดคุก เนื่องจากเป็นข้อห่วงใยที่ทางทนายความห่วงใยว่าการทวงถามหนี้ลูกความของตนซึ่งไม่ได้ทาเป็นธุรกิจ เป็นปกติธุระ๑๓๓ แต่เป็นการทาตามปกติให้กับลูกความอยู่ แล้ว กรณีนี้ไม่ได้รวมอยู่กับคาว่า “ธุรกิจ” เพราะ ธุรกิจหมายถึงว่าตั้งสานักงานถึงแม้จะรับปรึกษาว่าความแต่รับจ้างทวงหนี้กับบุคคลทั่ว ๆ ไปด้วย ซึ่งไม่ได้เป็น ลูกความ เกรงว่าจะไม่ชัดเจนก็เลยเติมขึ้นมาเท่านั้นว่าไม่คลุมถึง ถ้าไม่มีความชัดเจน๑๓๔ หมายความว่าทนายความซึ่งเวลาจะฟ้องคดีก็มีติดต่อทวงถามตามกฎหมาย ถ้าดูตามกฎหมายนี้ไม่เว้นในการที่ทนายความทุกคนต้องไปจดทะเบียน ซึ่งบางคนปีหนึ่งจะรับไม่กี่คดีในการที่ จะไปฟ้องหนี้ที่ต้องมีการทวงถาม ดังนั้นถ้าไม่มีความชัดเจนอย่างที่แก้ไขเพิ่มเติมตรงนี้ ถ้าไม่ไปจดทะเบียนใน ที่สุดทนายความคนนั้นก็ต้องถูกลงโทษตามกฎหมาย ประเด็นอยู่ตรงนั้นเฉพาะเรื่องการไปขอใบอนุญาตจด ทะเบียนแค่นั้น สรุปว่าทนายความทวงถามหนี้โดยไม่ต้องจดทะเบียนทาธุรกิจทวงถามหนี้๑๓๕แต่การทวงถามหนี้ของ ทนายความจะต้องเป็นภายใต้ พ.ร.บ. นี้ ใช่ไหม ถูกต้อง๑๓๖ ๑๓๐ ๑๓๑ ๑๓๒ ๑๓๓ ๑๓๔ ๑๓๕ ๑๓๖

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๑๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๒๒ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๑๖ พลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ การทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๑๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๒ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๑๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๑๙ นายวิเชียร ชุบไธสง กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการ ทวงถามหนี้ พ.ศ..... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๒๐ อ้างแล้วเชืงอรรถที่ ๑๓๑ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๒๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙


๔๘ ว่าให้ทนายความทาตามนี้ แต่ถ้าสานักงานทนายความทวงเป็นปกติธุระโดยตรงหรือโดยอ้อม อย่างนี้ ต้องจด ไม่ใช่ไม่จด แต่ถ้าการทวงถามหนี้ของทนายความจะต้องเป็นภายใต้ พ.ร.บ. นี้ ไม่ต้องจด๑๓๗ กรณี เรื่ อ งจดทะเบี ย นของทนายความที่ อ ยากจะท าเป็ น ปกติ ธุ ร ะ ๑๓๘ซึ่ ง เป็ น ทางการค้ า ผู้ แ ทน ทนายความชี้แจงตามปกติคนที่เ ดินเข้ามาเป็นลูกความ แล้วในการดาเนินการนั้นมีการทวงถามหนี้ หรือมาให้ แค่ทวงถามหนี้เฉย ๆ ก็ถือว่าเป็นลูกความหมด เพราะฉะนั้นโอกาสที่จะไม่เป็นลูกความแทบไม่มี คนที่มาให้ สานักงานทนายความทวงถามหนี้อย่างเดียว ไม่ทาอย่างอื่นเลย อันนั้นก็ยังถือว่าเป็นลูกความ ประเด็นว่าการจด ทะเบี ยน การอะไรต่าง ๆ ไปให้ สภาทนายความดูแลกันเองอีกทีหนึ่ง ก็เป็นความเห็ น ซึ่งก็ค่อนข้างเห็ นไป ทานองนั้น ถ้าตีความว่าเป็นลูกความหมดเลย โอกาสที่จะประกอบธุรกิจก็เลยไม่มี ไปปิดหมายจะขัดไหม ๑๓๙ ในถ้อยคาปิดหมาย ไม่ได้ทวงหนี้ใช่ไหม คือหมายความว่ามีอะไร ถ้าไม่มี อะไรที่ขัด อย่างอื่นไม่มี เพราะเรื่องการทวงถูกกากับอยู่แล้ว แต่ว่าเรื่องการที่ไปปิดหมายพวกนี้มีอะไรไหมที่จะ กระทบ ภาคปฏิบัติ๑๔๐ในส่วนของวิชาชีพทนายความ เวลาที่ส่งตามที่อยู่ตามภูมิลาเนาไปแล้ว ไม่มีผู้รับหรือว่า ไปรษณีย์แจ้งแล้วไม่มารับ ทางแก้ของวิชาชีพทนายความก็คือไปปิดไว้ที่ภูมิลาเนา ก็ถือว่าส่งโดยชอบแล้ว นั่น เป็นวิธีการทางภาคปฏิบัติ ในส่วนของวิธีพิจารณา วิ. แพ่ง วิ. อาญา เจ้าพนักงานก็จะไปส่งหมาย ส่งแล้วไม่มี ผู้รับ ศาลจะสั่งเลยให้ปิดหมาย หรือถ้าส่งไม่ได้ก็ไปรายงานศาล ศาลก็จะสั่งให้ส่งอีกครั้งหนึ่ง ถ้าส่งไม่ได้ให้ปิด หมาย ถ้าอย่างนั้นเป็นเรื่องของการปฏิบัติตามวิธีพิจารณาของคดี ไม่ว่าแพ่งหรืออาญา หรือศาลอื่น อันนั้นก็ เป็นเรื่องภาคปฏิบัติ แต่ถ้าตีความเคร่งครัด ทวงหนี้โดยเป็นหนังสือแล้วไปปิด ไปประจาน ก็อาจจะตีความได้ เหมื อ นกั น ถ้าจะตี อ ย่ างนี้ แต่อ ย่ างไรก็ ดี ต้ องดู เจตนารมณ์ วัต ถุ ป ระสงค์ ของการกระท าว่าขัด ความสงบ เรียบร้อยไหม ขัดเรื่องศีลธรรมอันดีไหม ขัดเรื่องการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลหรือไม่อย่างไร ต้องดูเจตนารมณ์ เป็นเรื่อง ๆ เขียนยกเว้นไว้ทั้งหมดก็ไม่ดี เขียนเคร่งครัดทั้งหมดก็มีปัญหา ถ้าเขียนมากกว่าที่ควรจะเป็นจะถูก โต้แย้งแล้วสู่ กระบวนการตีความ ก่อนที่จะไปใช้แต่ละเรื่องจะต้องสร้างบรรทัดฐานใหม่ของยุติธ รรม ของ ปกครองหรือของศาลรัฐธรรมนูญ จะถูกเอาไปโต้แย้ง แล้วก็มีกระบวนการ บางทีกว่าจะจบนี้หลายปี ทาให้ ยืดเยื้อได้ เพราะถ้าเติมเข้าไปจะตีกฎหมายที่เคร่งครัดที่แคบไปเลย ๑๔๑เพราะฉะนั้นปิดหมายนี้มีโอกาสไหม จะ ปิดหมายนี้ ถ้าจะไปตีความ อันนี้ก็อยากจะให้วินิจฉัยตรงนี้ให้ชัดเจน เพราะปิดหมายนี้ถ้าไม่มีต่ออย่างที่เรียน คงถือว่าทาได้อยู่แล้ว ทาโดยชอบเพราะว่ากระบวนการวิธีการปฏิบัติตามกฎหมายอื่นจะมีขั้นมีตอน มีวิธีการ กากับ โดยกฎหมาย ซึ่งอันนั้นถือว่าเป็นการปฏิบัติโดยชอบ เพราะทาให้คิดถึงวิธีปิดหมาย พอปิดหมายจะมี สาระ มีเนื้อหาที่เป็นการบอกเหตุ มีบอกระบุอยู่ ตรงนี้ถ้าเขียนเติมก็เกิดการตีความว่าขัดหรือแย้งกับตัว พ.ร.บ. ทวงหนี้หรือไม่ มีโอกาสที่จะตีความบอกว่าขัดแย้งก็ได้ ถึงกลายเป็นว่ากฎหมายฉบับนี้ออกมา ก็เลยไปกระทบ กับหลักปฏิบัติทั่วไปที่เป็นกฎหมายหลักถ้าไม่เติม ถ้าเคารพในกระบวนการกฎหมายที่ได้บัญญัติไว้แล้ว เป็น กระบวนการที่ชอบ หรือถูกต้อง เขียนไว้ตรงนี้น่าจะคลุมถึง ๑๓๗ ๑๓๘ ๑๓๙ ๑๔๐ ๑๔๑

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๒๒ พลตารวจโท วิบูลย์ บางท่าไม้ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๒๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๒๔ นายวันชัย ศารทูลทัต รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัตกิ ารทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๒๕ นายสัก กอแสงเรือง ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๒๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๙


๔๙ กรณีที่ไปปิดหมายหรือไปอะไรนี้เป็นกระบวนการดาเนินคดี๑๔๒ ไม่เกี่ยวกับการทวงหนี้ การทวงหนี้ก็ คือก่อนจะไปดาเนินคดี วิธีการทวงหนี้จะก่อนดาเนินคดี และดาเนินคดีแล้วก็เป็นไปตามกระบวนการ ถ้าในกรณีที่ไม่มีส่วนที่จะเข้าข่ายเรื่องทวงหนี้ก็มีเฉพาะทนายความ ๑๔๓ เวลาไปปิดหนังสือบอกกล่าว ทั่ว ๆ ไป เวลาส่งทุกทางไม่ได้แล้ว ก็มี ๒ ทางที่เลือก ๑. ประกาศหนังสือพิมพ์ ๒. ไปปิด อันนี้ช่องทางปกติของ ทนายความทาอยู่ ถ้าจะถูกตีความ ทนายก็ต้องไปสู้ในศาลว่าส่วนนี้ทาโดยชอบแล้ว ถ้าเป็ นเรื่องของทางทนายความเกี่ยวกับจะประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ๑๔๔ ก็ควรที่จะปล่อยให้ทาง องค์กรทางทนายความเข้ามาควบคุมดูแล ไม่ว่าจะเป็นเรื่องตามมาตรา ๕ ก็คือขั้นตอนการรับจดทะเบียน ถ้า ทางทนายความก็ จ ะประกอบธุ ร กิ จ ทวงถามหนี้ ก็ ให้ ท างคณะกรรมการสภาทนายความ กฎหมายทาง ทนายความจะมีกระบวนการ มีคณะกรรมการสภาทนายเป็นผู้ดาเนินการในทางด้านบริหาร แล้วมีนายกสภา ทนายเป็นผู้ควบคุมอีกทีหนึ่งในการใช้อานาจของคณะกรรมการสภาทนาย และกระบวนการอุท ธรณ์ อะไร ต่างๆ ของทนายความในเรื่องทางวินัย เลยไปเอาแบบกระบวนการใช้อานาจกลไกของทางทนายความมาสวม แทน คือ ถ้ าเป็ น เรื่ อ งจดทะเบี ย นตามมาตรา ๕ หรือ ว่ากระบวนการไปสู่ การเพิ ก ถอน คือ เป็ น กรณี ที่ ว่าผู้ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ที่เป็ นทนายความ หรือสานักงานทนายทาอะไรไม่ถูกต้องจะถูกการเพิกถอน แต่ กระบวนการที่ว่าทาอะไรไม่ถูกต้อง อะไรต่าง ๆ ก็คงจะต้องมีข้อมูลมาจากทางคณะกรรมการระดับจังหวัดที่ สร้างขึ้นมา เพราะกรรมการจังหวัดนั้นจะเป็นผู้ที่จะทราบเรื่องในกระบวนการที่ว่าทางทนายความทาอะไร ไม่ ถูกต้อง ทาอะไรต่าง ๆ ก็คงหลังจากมีการวินิจฉัยอะไรอย่างไรแล้ว ก็คงจะส่งแจ้งเรื่องมาให้ทางคณะกรรมการ สภาทนายสอบสวน หรือเอาข้อมูลจากทางฝ่ ายปกครองมาดู แล้วถ้าเห็ นสมควร ว่าทาไม่ถูกต้องจริง ทาง คณะกรรมการสภาทนายก็จะเป็นคนเพิกถอนทะเบียนเกี่ยวกับเรื่องการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ไปสร้าง ขบวนการไม่ว่าจะขั้นตอนการจดทะเบียน แล้วทางคณะกรรมการสภาทนายไม่ยอมรับจดทะเบียน หรือขั้นที่ว่า มีการเพิกถอนทะเบียน ให้สร้างกระบวนการให้มีการอุทธรณ์ไปยังสภานายกพิเศษ ทานองเดียวเหมือนกับ อานาจของตัวรัฐมนตรี หรืออานาจของตัวคณะกรรมการระดับชาติทั่ว ๆ ไป ที่เป็นเรื่องไม่ใช่เป็นทนายความ ที่ ผู้ป ระกอบธุรกิจ ก็ไม่ใช่เป็ น ทนายความ แล้ วก็กาหนดให้ คาสั่ งคาวินิจฉัยของสภานายกพิเศษเป็นที่สุ ด ซึ่ง แน่นอนหมายถึงเป็นที่สุดทางฝ่ายบริห าร ก็สามารถไปศาลปกครองได้ เพราะกรณีนี้ตัวคณะกรรมการสภา ทนาย ตัวสภานายกพิเศษก็ดี กาลังมาใช้อานาจทางปกครองอยู่ โดยกฎหมายมอบหมายให้ อันนี้ก็เป็นไปตาม กระบวนการของทางทนายความ ไม่ใช่เฉพาะเรื่องการประกอบธุรกิจ แต่รวมไปจนถึงเรื่องการทวงหนี้ไม่ เหมาะสม อะไรต่าง ๆ ที่จะสั่งทางปกครองอะไรต่าง ๆ ซึ่งอานาจตรงนี้ตามร่างที่เสนอมายังไม่ได้มอบให้ไป คือ มอบให้ไปเฉพาะเรื่องการประกอบธุรกิจของทนายความเท่านั้ นในการทวงถามหนี้ แต่การทวงถามไม่เหมาะสม ไม่อะไรต่าง ๆ ยังเป็นเรื่องฝ่ายปกครองในระดับจังหวัดอะไรต่าง ๆ นี้ ยังเป็นคนดูแล ซึ่งก็จะสามารถสั่งให้ทาง ทนายความที่ทวงถามหนี้ไม่เหมาะสมในยามวิกาลอะไรต่าง ๆ ต้องมีการตักเตือนไปยังทนายความ แล้วถ้า ทนายความยังไม่เชื่ออี ก ก็จะถูกสั่งปรับทางปกครองได้ อานาจตรงนี้ยังไม่ได้ไปอยู่ทางทนาย คือไปอยู่เฉพาะ เรื่องประกอบธุรกิจเท่านั้น กรณีที่ทนายความซึ่งไม่ได้ประกอบธุรกิจเป็นการทาคดีให้ลูกความตามวิสัยของทนายความ๑๔๕ ก็คือมี คนไปจ้างเป็ นครั้งเป็นคราว อันนั้ นไม่ต้องจดทะเบียน ไม่ต้องขออนุ ญาต แต่ในกรณี สานักกฎหมายหรือว่า ๑๔๒ ๑๔๓ ๑๔๔ ๑๔๕

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๒๗ นายธานี อ่อนละเอียด เลขานุการคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๒๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๐ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๒๙ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคฒ ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๓๐ นายวิเชียร ชุบไธสง กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวง


๕๐ ทนายความที่มีความประสงค์ในการที่จะประกอบธุรกิจการติดตามทวงถามหนี้ อันนี้ก็จาเป็นต้องไปจดทะเบียน เพื่อขอใบอนุญาต ทีนี้ตามพ.ร.บ. ของทนายความ แล้วก็เป็นข้อเสนอแนะของบรรดาทนายความทั้งหลายที่เป็น ห่วงก็คือ เนื่องจากองค์กรสภาทนายความเป็นสภาวิชาชีพอย่างหนึ่ง ทนายความส่วนใหญ่ก็มองเห็นว่า การขอ ใบอนุญาตก็ต้องขึ้นอยู่กับทางสภาวิชาชีพที่จะออกให้ นั่นคือตัวสภาทนายความ หลักการนี้เมื่อสภาทนายความ เป็นสภาวิชาชีพการที่จะไปขออนุญาตอีกใบหนึ่ง เอาเฉพาะทนายความหรือว่าสานักกฎหมายที่ไปประกอบ วิชาชีพก็เป็นการนอกเหนือจากที่ต้องขอใบประกอบวิชาชีพจากทางสภาทนาย ซึ่งตรงนี้ก็มีข้อกังวลวิตกจาก บรรดาทนายความทั้งหลาย ก็ติดตามประเด็นนี้อยู่ว่าตกลง พ.ร.บ. ฉบับนี้กับพ.ร.บ. ของทนายความ จะเป็น อย่ างไร ในการจดทะเบี ย นที่ เป็ น ทนายความที่จะไปประกอบวิช าชีพ หรือไปประกอบธุรกิจตรงนี้ ให้ ส ภา ทนายความเป็นผู้ดาเนินการก็น่าจะไม่มีเหตุขัดข้องแล้วน่าจะเหมาะสม เพราะว่าจะได้ตรวจสอบความถูกต้อง หลาย ๆ อย่าง มีแต่ข้อห้าม แล้วสุดท้ายก็มามีบทลงโทษทั้งโทษทางปกครอง ทั้งโทษทางวินัย จะทาให้บุคคลที่ จะประกอบธุรกิจในเรื่องการติดตามทวงถามหนี้จะให้อะไรเขา ให้อะไรหมายความว่าจะให้การอบรมไหม จะ ให้ความรู้ไหม องค์กรของสภาทนายความน่าจะเป็นองค์กรเดียวที่พร้อมที่สุดในตอนนี้ ในการที่จะให้คาแนะนา ให้คาปรึกษา ให้ความรู้ ถ่ายทอดหลักเกณฑ์หลักการในการที่จะให้ผู้ที่จะเข้าสู่ตลาดวิชาชีพตรงนี้ได้ปฏิบัติให้ ถูกต้องคงไม่มุ่งเน้ นในการที่จะลงโทษผู้กระทาความผิดอย่างเดียว ควรจะมีการอบรม มีการฝึกให้รู้ทักษะใน การที่จะไปใช้วิชาชีพในการที่จะไปประกอบวิชาชีพในเรื่องธุรกิจการทวงถามหนี้ตรงนี้ แม้ว่าที่ผ่านมาแนวทาง ปฏิบัติว่าด้วยการติดตามทวงถามหนี้ของธนาคารแห่งประเทศไทยได้กาหนดออกมา ส่วนใหญ่ก็จะมีอยู่ในร่าง กฎหมายฉบับนี้อยู่แล้ว แต่นั้นคือเป็นเรื่องแนวทางปฏิบัติ หรือร่างนี้ก็เป็นกฎหมาย ซึ่งยังไม่มีใครที่จะไปคิดใน การที่จะอบรม หรือว่าในการที่จะไปถ่ายทอดให้รู้ให้ชัดแจ้งว่าสิ่งไหนที่ทาได้ ทาไม่ได้ ผลจะเป็นอย่างไร เรื่อง การจดทะเบียนก็เป็นประเด็นหนึ่ง ส่วนในเรื่องการลงโทษ ทางปกครองกับโทษทางอาญา เรื่องโทษทางปกครอง ทางสภาทนายความเอง ก็มี ประสบการณ์ ปัจจุบันลงโทษทนายความผู้ที่ฝ่าฝืนจริยธรรมจรรยาบรรณของทนายความตลอดอยู่แล้ว ทา มาตลอด แล้วก็คณะกรรมการของสภาทนายความให้ท่านกรรมาธิการ มั่นใจว่าไม่ได้มีเฉพาะคณะกรรมการ สภาทนายความ มีตัวแทนจากเนติบัณฑิตยสภา มีตัวแทน มีตัวแทนจากกระทรวงยุติธรรมเข้ามาเป็นตัวแทน เข้ามาเป็นคณะกรรมการโดยผลของกฎหมายจะมีคณะกรรมการมารยาท ซึ่งไม่สามารถที่จะไปชี้แนะ หรือว่า ไม่สามารถที่จะเข้าไปก้าวล่วงในการที่พิจารณาที่ผ่านมาในกรณีที่ทนายความได้ รับการถูกร้องเรียนแยกกัน เด็ดขาด แล้วในที่สุดเวลาลงโทษคณะกรรมการจะมาให้ความเห็นชอบ ถ้าผู้ถูกร้องเรียนไม่พอใจหรือว่าไม่เห็น ด้วยกับคาสั่ง ก็สามารถที่จะอุทธรณ์ไปที่นายกสภาพิเศษ คือรัฐมนตรียุติธรรม แล้วในที่สุดถ้ารัฐมนตรียุติธรรม มี ค าสั่ งอย่ างหนึ่ งใดแล้ ว ไม่ พ อใจสามารถที่ จะไปฟ้ อ งศาลปกครองได้ เป็ น แนวทางซึ่ งสภาทนายความได้ ดาเนินการอยู่ ในมาตรา ๒๗ คือในเรื่องของการที่ทนายความก็จะมี ๒ ส่วน๑๔๖ ในการทางานก็จะมีการดาเนินคดี ใน การรั บ ความดาเนิ น คดีในส่ ว นนั้ น เมื่อมาอยู่ในกระบวนการของกฎหมายฉบั บนี้ ทีนี้ ในกรณี ที่ ว่าถ้ามีการ ประกอบธุรกิจทวงหนี้ก็จะต้องเข้ากระบวนการในพระราชบัญญัติฉบับนี้ ในมาตรา ๒๗ คงต้องชัดเจนว่า ใน กระบวนการตรงนี้คือเป็นกฎหมายที่เป็น ๒ มาตรฐาน คือให้มี ๒ องค์กรตรงนี้ให้ชัดเจน ก็กลายเป็นว่าถ้าเป็น ทนายความเป็ นผู้ ประกอบธุรกิจก็มีคณะหนึ่งเป็นคนดูแล แล้วมอบอานาจตามกฎหมายนี้ไป ไม่น่าจะเป็น เจตนารมณ์ของหลักการของกฎหมาย แต่ประเด็น สาคัญก็คือในหลักการตรงนี้ คือทางสภาทนายความดูแล ๑๔๖

ถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคฒ ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๓๑ นายวันชัย ศารทูลทัต รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัตกิ ารทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๗


๕๑ ความพฤติของทางด้านวินัยการพฤติของทนายความ แล้วห่วงในเรื่องของการที่จะทวงหนี้ ในฐานะที่เป็นการ มาหารื อ เรื่ อ งคดี หมายความว่ าเป็ น เฉพาะไม่ เกี่ ย วกั บ ธุ รกิ จ แต่ ว่ า เรื่ อ งของกฎหมายฉบั บ นี้ ถ้ าเกี่ ย วกั บ ทนายความที่ประกอบธุรกิจตัวนี้แล้วยกให้สภาทนายความ อันนี้ว่าในหลักการของกฎหมายฉบับนี้ไม่น่าจะก้าว ไปถึงตรงนั้น ในมาตรา ๒๗ มีความสัมพันธ์ระหว่างสภาทนายความกับคณะกรรมการตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ ทีนี้ใน เรื่องการกากับดูแลในแต่ละหน้ าที่รับผิดชอบในส่วนอานาจหน้าที่หมายความว่าต้องปฏิบัติตามกฎหมายนี้มี ความเชื่อมโยงอะไรตรงนี้ที่พอเขียนออกมาแล้วให้ความชัดเจนว่าการปฏิบัติแต่ละขั้นตอน อันนี้เป็นเรื่องของ การจดทะเบียน แต่จะต้องมีความเชื่อมโยงคณะกรรมการซึ่งถือว่าคณะกรรมการก็ต้องเป็นผู้ดูแลกฎหมายฉบับ นี้ ว่าจะต้องมีความเชื่อมโยงระหว่างคณะกรรมการกับทางสภาทนายความ จะต้องมีความเชื่อมโยงด้วยแล้วก็ ในเรื่องความชัดเจนว่าทนายความ การทางานถ้าเป็นทวงหนี้ต้องเข้าตามกฎหมายฉบับนี้ทั้งหมด อันนี้ถ้าทา ธุรกิจทวงถามหนี้ต้องเข้าตามกฎหมายนี้ทั้งหมด แล้ววิธีการทวงหนี้ไม่ว่าจะเป็นหรือไม่ก็ตามก็ยังเข้ากฎหมาย ฉบับนี้ที่ดูแล้วความชัดเจนตรงนี้ถ้าไม่ชัดเจนออกไปแล้วเดี๋ยวจะตีความไปกันคนละทาง ประเด็ น เรื่อ งการรับ เรื่ องร้อ งเรี ย นพบว่า ๑๔๗ผู้ ที่ ติ ดตามทวงถามหนี้มั กจดทะเบี ยนเป็ น ส านัก งาน กฎหมายหรือมาประกอบวิชาชีพทนายความ ประเด็นว่าทนายความไปจดทะเบียนกับสานักงานทนายความ ดู แ ลพฤติ ก รรม เรื่ อ งการติ ด ตามทวงถามหนี้ ด้ ว ยหรือ เปล่ า หรือ ถ้ ามี ค วามผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ จ ะ ครอบคลุมถึงทนายความได้ห รือเปล่า เพราะว่ามีอานาจการเพิกถอนอยู่กับสภาทนายความ แต่เวลาที่จด ทะเบียนภายใต้กรอบกฎหมายของสภาทนายความก็จะเป็นในกรอบกว้าง ๆ คือสามารถติดตามทวงถามหนี้ได้ อยู่แล้ว แต่ใน พ.ร.บ. นี้พูดถึงเรื่องพฤติกรรมของผู้ทวงหนี้ คือบางเรื่องเป็นช่องเพราะฉะนั้นถ้าเป็นเจ้าหนี้ เจ้าหนี้ก็จะไม่จ้างผู้ประกอบธุรกิจที่ประกอบธุรกิจติดตามทวงถามหนี้โดยตรงก็จะไปจ้างสานักงานทนายความ มากกว่า เพราะว่าอยู่ภายใต้ พ.ร.บ. ทนายความ เพราะมีช่องที่สามารถติดตามหนี้ได้ตามกฎหมาย ทีนี้ถ้า พฤติกรรมที่ลูกหนี้เจอแล้วเจอปัญหาแบบนี้แล้วเกี่ยวโยงกันระหว่าง ๒ ฝั่ง จะไปร้องเรียนสภาทนายความหรือ จะไปร้องเรียนคณะกรรมการ เพราะว่าเวลาที่คณะกรรมการรับเรื่องร้องเรียนแต่เวลาเพิ กถอนกลับเป็นอีก หน่วยงานหนึ่งจะมีปัญหากันหรือเปล่า หรือว่าถ้าเป็นเรื่องการติดตามทวงถามหนี้เห็นด้วย ในกฎหมายกาหนด ถึงแม้อาชีพประกอบการทวงถามหนี้จะมีสานักงานทนายความเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยก็อยู่ภายใต้พระราชบัญญัติ นี้ ส่วนจรรยาบรรณหรือพฤติกรรมของทนายความอาจจะไปอยู่ ในการควบคุมซึ่งเป็นรายบุคคล เพราะว่า ทนายความที่ ท วงหนี้ ก็ จ ะทวงตามหน้ าที่ แต่ ค นที่ ท วงหนี้ ห ลั ก ๆ ท าวัน นี้ ไม่ ใช่ ท นายความ แต่ อ ยู่ ภ ายใต้ สานักงานกฎหมาย เพราะฉะนั้นจะเกี่ยวหรือจะสับสน ทนายความเองจะโดนหนั ก กว่ า คนที่ ไม่ ได้ เป็ น ทนายความด้ ว ยซ้ าไป ๑๔๘ยกตั ว อย่ า งเช่ น สมมติ ทนายความไปกระทาความผิดอาญาตามกฎหมายนี้โดนเด้งที่ ๑ คือโดนทั้งจับทั้งปรับ ไม่พอแล้วยังไปโดน มารยาททนายความอาจจะโดนเพิกถอนด้วย อย่างในกรณีที่ว่ายกเว้นเรื่องจดทะเบียนกับเพิกถอนก็เหมือนกับ การให้ เกี ย รติ ส ถาบั น หนึ่ ง เท่ า นั้ น เองว่ า ให้ ไปก ากั บ ดู แ ลอยู่ แ ล้ ว ในวิ ช าชี พ นี้ แต่ ว่ า โทษทางอาญาอื่ น ๆ ทนายความโดน ๒ เด้งอยู่แล้ว โดนทั้งวินัยตามพระราชบัญญัติทนายความผิดมารยาททนายความก็โดนอีกด้วย อาจจะโดนเพิกถอนใบอนุญาตด้วยไม่ใช่โดนเพิกถอนใบประกอบการ อยากจะเรียนว่าทนายความไม่ได้รับเอก สิทธิ์ในการไปฝ่าฝื น ตามพระราชบั ญ ญัติฉบับนี้ไปทวงหนี้นอกเวลาที่กาหนดไม่ได้ ไม่ใช่ทนายความพอจด ๑๔๗ ๑๔๘

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๓๒ นางนฤมล เมฆบริสุทธิ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการ ทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคฒ ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๓๓ นายธานี อ่อนละเอียด เลขานุการคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๗


๕๒ ทะเบียนแล้วมีเอกสิทธิ์ที่จะคุ้มครองพิเศษจะไปทวง ๗ โมงเช้า ไม่ได้โทรไปทวงไม่ได้อยู่กรอบนี้หมด แล้วทวง โดย Fax ก็ไม่ได้ ถ้าช่องทางในเรื่องการจดทะเบียนให้เป็นอานาจของคณะกรรมการสภาทนายความแทนที่จะเป็นเรื่อง นายทะเบียนที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง๑๔๙รวมทั้งขบวนการอุทธรณ์ควรจดทะเบียนหรือไม่ ควรจดทะเบียนตรงนี้ ความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกับผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ที่มาจดทะเบียนทั่ว ๆ ไปที่ไม่ได้เป็นทนายความก็จะไม่มี การเชื่อมโยงกัน ถามว่าแล้วคณะกรรมการใหญ่เข้ามาควบคุมกากับเรื่องการจดทะเบียนด้วยหรือไม่ ซึ่งตาม กฎหมายคณะกรรมการใหญ่ ถ้าดูตามมาตรา ๑๖ ก็จะไม่พูดถึงกระบวนการเรื่องการจดทะเบียนแต่อย่างใด ซึ่ง ตรงนี้คณะกรรมการชุดใหญ่จะมาวางเรื่องนโยบายต่าง ๆ แต่ไม่ได้มาออกขบวนการในลักษณะคุณสมบัติของผู้ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ควรต้องเป็นอย่างไร อันนี้มอบอานาจให้ฝ่ายบริหาร เพราะฉะนั้นกระบวนการใน ขั้นตอนการรับ จดทะเบี ยนเข้ามาคณะกรรมการระดับชาติไม่ได้เข้ามา ซึ่งบางทีก็น่าคิดเหมือนกันว่าทางที่ ประชุมอาจจะมีการพิจารณาถึงส่วนนี้ด้วยว่าควรจะปล่อยให้เป็นอานาจของรัฐมนตรีทั้งหมดหรือไม่ เพราะ เนื่องจากว่าการจดทะเบียนตามมาตรา ๕ เพียงแต่โยนอานาจไปให้คณะรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง แต่ ให้ ค ณะกรรมการระดั บ ชาติ เป็ น ผู้ เสนอแนะอาจจะมี จุ ด เชื่ อ มโยงที่ ว่า คณะกรรมการระดั บ ชาติ จ ะเป็ น ผู้ เสนอแนะกระบวนการในการออกกฎกระทรวงว่ากฎกระทรวง คุณสมบัติผู้จดทะเบียนควรเป็นอย่างไร วิธีการ ยื่นทาอย่างไร คณะกรรมการก็เข้ามามีส่วนตามมาตรา ๑๖ (๓) ในการจะเสนอแนะ ในการที่จะใช้อานาจของ รัฐมนตรีได้ ตรงนี้ก็จะเป็นเรื่องขบวนการ เรื่องปกติที่มีจุดยึดโยงระหว่างรัฐมนตรีในขั้นตอนการรับจดทะเบียน กับคณะกรรมการระดับชาติที่จะเข้ามาดูแล แต่ถ้ามาพูดถึงทนายความ กระบวนการการรับจดทะเบียนต่าง ๆ โดยให้ น ายกสภาทนายความที่จ ะไปออกข้อบังคับกระบวนการต่าง ๆ ซึ่งถามว่าถ้ากฎเกณฑ์ในการรับจด ทะเบียนของนายกสภาทนายความที่จะไปออกข้อบังคับต่าง ๆ ถามว่าจะทาให้เกิดการลักลั่นได้หรือไม่ ในทาง ปฏิบัติอาจจะมีได้ เพราะไม่ได้มีการเขียนล็อกไว้ว่าคณะกรรมการระดับชาติเ สนอแนะวิธีการรับจดทะเบียนต่อ ซึ่งเสนอไปยังรัฐมนตรีในขั้นตอนการรับจดทะเบียน แต่ไม่ได้เขียนกระบวนการมาว่าตัวนายกสภาทนายความ ต้องมาถูกบังคับตามกระบวนการทางฝ่ายบริหารตามปกติทั่ว ๆ ไป ตรงนี้ถ้าถามว่ายังไม่เชื่อมโยงกันหรือไม่ อาจจะมีปัญหาเรื่องใครสมควรรับจดทะเบียนหรือไม่ ตรงนี้ถ้าสมมติยอมรับหลักการในส่วนของมาตรา ๓๗ อาจจะต้องมีการเขียนในรายละเอีย ดต่าง ๆ ให้ เชื่อมโยงในเรื่องคุณ สมบัติของผู้รับจดทะเบียนกรณีปกติที่ คณะกรรมการระดับชาติที่เสนอแนะตัวรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงในเรื่องการรับจดทะเบียนตรงนี้ยังขาด ไป ส่วนกระบวนการในเรื่องการเพิกถอนทะเบียนซึ่งการเพิกถอนทะเบียนก็จะไปดูตามมาตรา ๒๘ จะ เขียนเอาไว้ว่า คณะกรรมการระดับจังหวัดต่าง ๆ ที่จะเพิกถอนทะเบียนได้จะต้องปรากฏข้อเท็จจริงว่า ๑. เคย ถูกลงโทษปรับทางปกครองและถูกลงโทษซ้าอีก คือทาซ้าแล้วซ้าอีก ไม่เข็ดหลาบไม่เชื่อฟังก็คงเพิกถอนไม่ควร ประกอบธุรกิจต่อไป เข้าใจว่าตัวคนสั่งคือ สั่งลงโทษปรับทางปกครองเป็นของคณะกรรมการระดับจังหวัด แล้ว ปรากฏว่าตัวผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ที่เป็นทนายความหลังจากถูกปรับทางปกครองซึ่งโดนคณะกรรมการ ระดับจังหวัด ไม่เกี่ยวกับทางองค์กรทนายความเลย เพราะองค์กรทนายความไม่มีอานาจในการสั่งปรับทาง ปกครอง พอคณะกรรมการระดับจังหวัดสั่งปรับผู้ประกอบธุรกิจที่เป็นทนายความอีกทีหนึ่ง ไม่เข็ดหลาบยังมา ทาซ้าอีก อันนี้ถ้าความมาปรากฏกับทางคณะกรรมการสภาทนายความ คณะกรรมการสภาทนายความก็จะ เป็นผู้มาใช้อานาจแทนคณะกรรมการระดับจังหวัดทันทีที่จะสั่งเพิกถอน หรือความมาปรากฏแก่คณะกรรมการ สภาทนายความว่าตัวผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ เป็นการกระทาการฝ่าฝืนที่มีโทษทางอาญา ซึ่งไม่จาเป็นศาล มีคาพิพากษาสั่งลงโทษทางอาญาก่อน ปรากฏว่ามีการไปทาอะไรที่ไม่ถูกต้องทางอาญาแล้วความมาปรากฏกับ ๑๔๙

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๓๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๔


๕๓ คณะกรรมการสภาทนายความก็ ส ามารถเพิ กถอนทะเบี ย นได้ ส่ ว นนี้ จุด เชื่ อมโยงจะมาตั ดขาดจากกั น ไม่ เกี่ยวข้องกัน เท่าที่ดูตอนนี้รู้สึกว่าขั้นตอนแต่ละสตรีมอาจจะไม่มีการเชื่อมโยงกัน การจดทะเบียนจะให้ทางสภาทนายความเป็นผู้ทา ๑๕๐ทีนี้มีเรื่องการประกอบธุรกิจ ซึ่งการประกอบ ธุรกิจถ้าท่านดูในนี้เขาจะคุมการจดทะเบียน โยนไปให้สภาทนายความทาไม่ต้องมาจดทะเบียนกับนายทะเบียน อันที่ ๒ ไปคุมตอนท้ายเกี่ยวกับการเพิกถอน ไม่ค่อยชัดเจนคือการกากับดูแลการทวงถามหนี้อาจจะเกิดจากคน ๒ ประเภท คือ ๑. คนที่ทวงถามหนี้โดยไม่ได้ประกอบธุรกิจก็ต้องอยู่ภายใต้การกากับดูแลซึ่งอันนี้จะมีพนักงาน เจ้าหน้าที่ มีคนมาร้องเรียนในระบบอยู่ในนี้ ถ้าพูดถึงผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้หรือผู้ทวงถามหนี้ ถ้าท่านดู มาตรา ๕ ก็ดี มาตรา ๒๘ ก็ดี ใช้กับผู้ป ระกอบธุรกิจทั้งนั้นก็ทาให้ สงสัยว่าผู้ทวงถามหนี้ตรงนี้ห มายถึงใคร กาลังเข้าใจว่า ผู้ทวงถามหนี้หมายถึงผู้ทวงถามหนี้ ในการประกอบธุรกิจ เพราะการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ก็ ต้ อ งมี Action ไปทวงถามหนี้ ด้ ว ยก็ เ ลยท าให้ ส งสั ย ว่ า ตอนทวงถามหนี้ จ ะมาอยู่ ภ ายใต้ ก ากั บ ของ คณะกรรมการสภาทนายความหรือเปล่า ที่ชัดเจนอันหนึ่งถ้าเป็นคดีอาญาท่านบอกว่าไม่อยู่ คดีอาญา สมมติ การทวงถามหนี้ของทนายความผิดกฎหมายอาญา ท่านก็ไปแจ้งความร้องทุกข์ตารวจว่ากันไปทางคดีอาญา อัน นี้อาจจะมีเจตนาเฉพาะปรับทางปกครองก็ไม่ชัดเจนอย่างนั้นหรือเปล่า แต่ว่าก้าวเลยไปถึงตรงเพิกถอนเลย กรณี พ ฤติการณ์ ท วงถามหนี้ ข องทนายความไม่เหมาะสมเข้าข่ายจะถูกปรับ ทางปกครอง คนที่ จะปรับคื อ คณะกรรมการกากับหรือคณะกรรมการสภาทนายความ จะบอกว่าพฤติกรรมการทวงถามหนี้มีทั้งที่ประกอบ ธุรกิจและไม่ประกอบธุรกิจ คือคนอาจจะไปทวงถามหนี้ โดยไม่ประกอบธุรกิจก็ได้ คือพวกเจ้าหนี้ทั้งหลาย ทนายความกรณีปกติกับคนที่ไปตั้งสานักงานทวงถามหนี้โดยเฉพาะ พวกนี้จะต้องมาอยู่ภายใต้การจดทะเบียน ก็มีพฤติกรรมไปทวงถามหนี้เหมือนกัน ความจริง ๒ อันนี้ควรจะอยู่ภายใต้มาตรฐานเดียวกันก็กาลังสงสัยว่าจะ ทาให้เกิดเป็น ๒ มาตรฐานหรือเปล่า แต่ยอมรับว่าถ้าเป็นเรื่องจดทะเบียนเป็นเรื่องเพิกถอน ๒ แน่นอน เพราะ แยก ๒ องค์กรและ ๒ องค์กรนี้ไม่เกี่ยวกันทางสภาทนายความ ตามตัวหนังสือไม่ต้องมาฟังทางกรรมการกากับ จะมีข้อบังคับมีแนวทางไปที่จะคุมทนายความในความดูแลไปในมาตรฐานหนึ่ง ส่วนคณะกรรมการกากับก็จะ คุมที่ไม่ใช่ทนายความ อีกอันหนึ่ง แต่ ๒ สถาบันนี้อาจจะมาประสานงานก็ว่ากันไปแต่โดยตัวหนังสือมี ๒ ค่าย ซึ่งถ้าเป็นเรื่องจดทะเบียนกับเรื่องการเพิกถอน ถึงแม้จะเป็น ๒ มาตรฐานก็ตาม แต่พฤติกรรมการทวงถามซึ่ง ควรจะต้องอยู่ภ ายใต้การกากับ ดูแล ไม่ค่อยแน่ใจว่าหลักการที่ถูกต้องควรจะเป็นมาตรฐานเดียวหรือเปล่ า เพราะในนี้ยังไม่ค่อยชัดเพราะว่าเวลาอ้าง มาตรา ๒๘ ปลายเหตุคือทาไม่เหมาะไปจนถึงจุดที่จะเพิกถอนแล้ว แต่ตอนที่จะไปถึงอยู่ภายใต้การกากับใคร เพราะว่าอยู่ภายใต้การกากับของสภาทนายความในการเพิกถอนถ้า พนักงานเจ้าหน้าที่จะลงไปจัดการกับเขาตอนที่ทาไม่เหมาะสม ก็อาจจะโต้แย้งได้ว่าคุณไม่มีอานาจ เพราะว่า อยู่ภายใต้การดูแลของสภาทนายความ ซึ่งมาตรา ๒๘ ปลายทางสื่อไปทางนั้น คือยังไม่ชัด ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ หลักการให้ชัดเจนว่าตกลงจะเอาอย่างไร จะให้สภาทนายความเป็นคนดูแลแต่ต้องยอมรับมี ๒ มาตรฐาน ไม่ เกี่ยวกันก็ต้องเอาอย่างนั้น ถ้าจะให้มีมาตรฐานเดียวการกากับการทวงถามด้วย ซึ่งการกากับการทวงถามมีได้ ทั้งคนที่ประกอบวิชาชีพและไม่ได้ประกอบวิชาชีพ ทางทนายความ๑๕๑ประเด็นหนึ่งเรื่องการละเมิด ขั้นตอนตั้งแต่จดพฤติกรรมจนกระทั่งถึงมาตรา ๒๘ (๒) เพิ กถอนพฤติกรรม สภาทนายความไม่ได้ไปปกป้อง ถ้ามีพ ฤติกรรมมาละเมิดต่อการกระท าความผิ ด พ.ร.บ.ทวงถามหนี้ฉบับนี้ แต่เรื่องการจดทะเบียนกับการเพิกถอนทะเบียน ในเมื่อสภาทนายความมีองค์กรที่ ดูแล แม้กระทั่งทนายความต้องไปจดทะเบียนใบอนุญาตทนายความเพิกถอนใบอนุญาตทนายความ ถ้าเหมือน ๑๕๐ ๑๕๑

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๓๕ นายเข็มชัย ชุติวงศ์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๓๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๘


๕๔ ลักษณะองค์กรเขาไม่มีเกียรติพอที่จะมาดูแลวิธีการจดทะเบียนหรือว่าเพิกถอนใบอนุญาตก็เขียนยกเว้นไว้ เฉพาะกรณี มาตรา ๕ กับ มาตรา ๒๘ แค่นั้ นเอง มาตราอื่น ๆ คงต้องไปบังคับอยู่ในพระราชบัญญั ติฉบับนี้ ยกเว้นไว้เฉพาะกรณีมาตรา ๕ คือไปจดทะเบียน พ.ร.บ. ทวงหนี้ ธุรกิจทวงหนี้กับการเพิกถอนตามมาตรา ๒๘ (๒) ข้อยกเว้นคงอยู่ในบังคับเดียวกัน แต่เสมือนหนึ่งเป็นการให้เกียรติสถาบันหนึ่งแค่นั้นเองว่าจดทะเบียน มีรับ จดทะเบียนอยู่แล้ว จดทะเบียนวิชาชีพทนายความ เพิกถอนความปรากฏมาก็ให้สภาทนายความไปดาเนินการ ไม่ใช่อันเดียวที่เพิกถอนใบอนุญาตธุรกิจทวงหนี้ เพิกถอนใบอนุญาตทนายความด้วยซ้าไปแค่นั้นเอง ส่วนวิธีการ ที่ไปทาล่วงละเมิดจาบจ้วงหรือไปทวงหนี้เกินสมควรแก่เหตุตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ยินดีให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน ก็เหมือนกับวิธีการต้นกับปลายมาดูแลเหมือนกับให้เกียรติสถาบัน ถ้าสมมติว่าคณะกรรมการระดับจังหวัดมา จดทะเบี ย นแล้ ว สภาทนายความจะเอาหน้ า ไปไว้ ที่ ไหน แต่ ม าตรฐานอาจจะวางมาตรฐานน่ าจะสู งกว่ า คณะกรรมการระดับจังหวัดด้วยซ้าไป เพราะมีใบอนุญาตทนายความกากับอยู่ ขั้นตอนการดาเนิน งานของสภาทนายความในเรื่องการออกข้อบังคับ ๑๕๒มาตรา ๖ วรรคสี่ พ.ร.บ. ทนายความฯ มอบอานาจให้กับสภาทนายความในการออกข้อบังคับด้วยตนเองได้ แล้วก็เมื่อออกข้อบังคับแล้ว ก็เสนอไปให้สภานายกพิเศษเพื่อความเห็นชอบ แล้วก็ถ้าเห็นชอบประกาศใช้เรียบร้อย ในกรณีที่ไม่ให้ความเห็น ชอบ ขั้นตอนในกฎหมายก็จะเขียนว่า กรรมการสภาทนายความมายืนยันด้วยเสียงข้างมากและประกาศใช้ได้ เลย นี่คือขั้นตอน รายงานเพื่อทราบไม่ใช่รายงานเพื่อรับอนุญาต หรือเห็นชอบ เพราะว่าส่วนนี้เป็นคาสั่งทาง ปกครอง สภานายกพิเศษเองไม่อยากจะทาหน้าที่นี้ เพราะทาหน้าที่นี้ เรื่องจดทะเบียนไม่จดทะเบียน หรือ ลงโทษ หรือไม่ลงโทษคดีมรรยาท ทางฝ่ายผู้เสียหายและฝ่ายคู่กรณีที่เป็นทนายความก็จะฟ้องสภานายกพิเศษ ขึ้นศาลปกครองด้วย คือการดาเนินงานในภาพรวมของกฎหมาย คือ พ.ร.บ. ทนายความ ทีนี้กลับมามาตรา ๖ วรรคสาม ให้คณะกรรมการสภาทนายความด้วยความเห็นชอบของสภานายก พิเศษมีอานาจออกข้อบั งคั บ ได้ ตรงนี้ คือมีอานาจออกแล้ ว แล้ วถึงไปให้ ความเห็ นชอบ แต่ถ้าอย่างนี้ส ภา ทนายความออกไม่ได้จนกว่าจะได้รับความเห็นชอบ การเขียนอย่างนี้ความหมายต่างกันเลยที่กฎหมายฉบับนี้ เป็นกฎหมายพิเศษ ถามว่ายกเว้นกฎหมายของสภาวิชาชีพหรือไม่ ต้องไปนั่งเถียงกันอีกว่าอันไหนมีศักดิ์ที่ควร จะเป็นมากกว่า จะเกิดการตีความและเกิดปัญหาได้ หรือกฎหมายฉบับนี้มีเจตนาพิเศษยกเว้นอนุกรรมการหรือ เปล่า ถ้าการดาเนินการตามปกติ เพราะว่าถ้าระยะแรก ๆ อาจจะไม่มีปัญหาเลย กว่าจะออกข้อบังคับ ถ้าให้ รายงานทุกไตรมาสก็เป็นหน้าที่ต้องไปทาทุกไตรมาส แต่ถ้าในกรณีที่มีปัญหาเกิดขึ้นจากการดาเนินการตาม มาตรา ๕ เกิดกรณีที่มีความเห็นไม่ตรงกัน หรือเกิดมีการอุทธรณ์ มีการฟ้องศาลปกครองหรืออะไรต่ออะไรตาม กฎหมายนี้ หรือตามกฎหมายปกครองก็ให้รายงาน ถ้าเขียนอย่างนี้จะเบาขึ้น หมายถึงว่าให้รายงานเฉพาะกรณี ที่มีปัญหาหรือมีประเด็น มีเรื่องราวของการทาหน้าที่แล้ว ใช้อานาจหน้าที่แล้วถูกโต้แย้ง ถูกคัดค้าน ไปฟ้อง ศาลปกครองหรืออะไร อย่างนี้ก็จะน้อยลง ถ้าเรื่องปกติทาแล้วไม่มีปัญหาอะไรเลยก็อาจจะไม่ต้องรายงานทุก ไตรมาสก็ได้ อะไรอย่างนี้ เห็นว่าเพื่อให้ไปกันได้ เห็ น ว่าในเมื่อ สภาทนายความมี อ านาจแล้ ว ๑๕๓มอบอ านาจไปให้ ส ภาทนายความด าเนิ น การแล้ ว คณะกรรมการก็อยากรู้ความเคลื่อนไหวว่าสภาทนายความไปดาเนินการอะไรมาอย่างไรบ้าง เพราะว่าหลัก

๑๕๒ ๑๕๓

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๓๗ นายสัก กอแสงเรือง ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๓๘ นายธานี อ่อนละเอียด เลขานุการคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗


๕๕ ใหญ่ใจความก็คืออานาจของคณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ แต่อานาจนี้มอบไปให้สภาทนายความก็ อยากจะรู้ความเคลื่อนไหว มีปัญหาข้อขัดข้องประการใดก็ให้รายงานเข้ามาเพื่อจะปรับให้ตรงกัน ตรงนี้ ก็ เป็ น การเชื่ อ มโยงระหว่ างการรั บ มอบอ านาจไปใช้ ๑๕๔ก็ แ จ้ งมาให้ ท ราบ ซึ่ งกระบวนการ Sanction อะไรต่าง ๆ ไม่มี เป็นเพียงแต่ว่าแจ้งแนะนาไป ทาเสียให้ถูกต้องอะไรพวกนี้ หากจะมีการละเลย หลงลืมไปในส่วนไหนอะไรอย่างนี้ เพื่อที่จะให้มีมาตรฐานเดียวกันในการรับจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจ ไม่ ว่าจะเป็น ทนายหรือไม่เป็นทนาย อะไรที่ลักลั่นแตกต่างกันไปได้ หรือในการพิจารณาอุทธรณ์ ขั้นตอนการ อุทธรณ์ ชั้นอุทธรณ์ การจดทะเบียน ไม่รับจดทะเบียน คุณสมบัติไม่อยากจะให้มีการเกิดความไม่เสมอภาคกัน ระหว่างทนายกับผู้ที่ไม่ใช่ทนายในการขอจดทะเบียน หรือกระบวนการในการที่ทางผู้ประกอบธุรกิจทวงถาม หนี้ไปทาอะไรไม่ถูกต้อง ซึ่งก็จะถูกน าไปสู่การเพิกถอนการจดทะเบียน แล้วก็มีกระบวนการพิจารณา การ อุทธรณ์ การเพิกถอนอีกทีหนึ่ง คือถ้ามีการแจ้งให้ทราบอะไรต่าง ๆ ก็จะทาให้การทางานประสานงานน่าจะดี ขึ้น เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงกัน เกิดการประสานงานกัน แต่ไม่ได้มีสภาพ Sanction อะไร ให้ ร ายงานเฉพาะ Case๑๕๕ ที่ มี ปั ญ หาใช่ ไ หม อ านาจจริ ง หรื อ ว่ า เป็ น นายทะเบี ย นจริ ง ก็ คื อ คณะกรรมการตามพระราชบัญญั ตินี้น่าที่จะต้องมี Profile ทั้งหมด ภาพรวมไม่ว่าจะเป็นสภาทนายความก็ดี อะไรก็ดี ใครมาร้องมาเรียนจะได้มีรายละเอียดว่ามีทนายที่ดาเนินวิชาชีพนี้มีใครบ้าง แล้วสานักงานมีอะไรบ้าง ถ้ารายงานไป ก็จะไปมี Profile ประจาคณะกรรมการน่าจะเป็นประโยชน์กว่า แล้วก็ถ้าเกิดทางานร่วมกัน ประสานกัน เฉพาะรายงานนี้น่าจะเป็นประโยชน์กว่า ส่วนที่ว่าจะให้สภาทนายความรายงาน ๑๕๖เข้าใจว่าเป็นรายงานกรณีที่มีการจดทะเบียนกับเพิกถอน ทะเบียนใช่ไหม เรื่องโทษทางปกครองหรือการเปรียบเทียบปรับสภาทนายความไม่รับอานาจตามพระราช บัญญัติตัวนี้ จุดเชื่อมโยงตรงนี้เฉพาะกรณีผู้ที่เป็นทนายความหรือสานักกฎหมายที่จะไปทาธุรกิจการทวงถาม หนี้ให้มาจดทะเบียนที่สภาทนายความและให้สภาทนายความมีอานาจในการเพิกถอนใบอนุญาต ประเด็นอยู่ ตรงนั้น ส่วนเรื่องการลงโทษจะเป็นทนายหรือไม่เป็นทนายเป็นกระบวนการของคณะกรรมการ ในกรุงเทพฯ ก็ เป็นคณะกรรมการทวงถามหนี้ที่กรุงเทพฯ ถ้าต่างจังหวัดก็เป็นไปตามแต่ละจังหวัด ซึ่งการพิสูจน์ตรงนั้นว่าเป็น ทนายความหรือไม่ ทางผู้ร้องเรียนหรือผู้ร้องก็สามารถที่จะหรือหน่วยงานก็สามารถที่จะทาหนังสือสอบถามมา ที่ ส ภาทนายความได้ ว่ า คนนี้ เป็ น ทนายหรื อ ไม่ ถ้ าไม่ เป็ น แล้ ว ไปอ้ า งว่ าเป็ น ทนายตรงนั้ น ต่ า งหากที่ ส ภา ทนายความต้องไปดาเนินคดีกับคนที่อ้างว่าเป็นทนายความ ซึ่งมีโทษทางอาญาตามพระราชบัญญัติทนายความ อีกต่างหาก ประเด็นอยู่ตรงที่อานาจของสภาทนายความตรงนี้ คือรับจดทะเบียนแล้วก็เพิกถอน รับจดทะเบียน เพิ กถอนก็ มี ข้อ บั งคั บ ของคณะกรรมการก ากั บ ว่า จะออกกฎระเบี ยบออกมา พอออกกฎระเบี ย บออกมา คณะกรรมการออกมา สภาทนายความเองต้องปฏิบัติตามนั้น ซึ่งไม่มีเหตุอย่างอื่นที่จะขัดแย้งกับข้อบังคับของ คณะกรรมการตรงนั้ น ทีนี้การที่จะให้รายงานลักษณะนี้เป็นเรื่องเพียงเล็กน้อย แล้วก็การที่มาบัญญัติไว้ใน กฎหมายหลักเป็นการบัญญัติ ในลักษณะที่เยิ่นเย้อ ฟุ่มเฟือย ดูแล้วทาให้กฎหมายดูเป็นข้อบังคับเสียมากกว่า เป็นแนวทางปฏิบัติ ประเด็น ของความตรงไปตรงมา ๑๕๗เวลาทาอะไร เป็นเรื่องของการระบุวัน เวลา สมมุติว่าถ้าเกิดมี ปัญหาเรื่องการร้องเรียนเข้ามา หากมีการจดทะเบียนถูกต้องตามหน่วยงานเรียบร้อยแล้ว และมีการรายงานมา ๑๕๔ ๑๕๕ ๑๕๖ ๑๕๗

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๓๙ อ้างเชิงอรรถที่ ๑๑๕ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๔๐ อ้างเชิงอรรถที่ ๑๕๓ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๔๑ นายวิเชียร ชุบไธสง กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวง ถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๔๒ นางนฤมล เมฆบริสุทธิ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการ ทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗


๕๖ ที่คณะกรรมการ ถ้าเกิดมีการร้องเรียนเข้ามาโดยตรงที่คณะกรรมการ ในเรื่องของการตรวจสอบหรือการ ดาเนินการ คือเป็นการเรียกว่าดิสเครดิตให้กับคนที่ทาถูกต้องตรงไปตรงมา ถ้าจดทะเบียนถูกต้องถ้าเกิดมีการ รายงานที่เป็นไปตามกรอบของเวลา แล้วเชื่อว่าถ้าเกิดมีก ารร้องเรียนเรื่องที่ทนายที่ไม่ได้จดทะเบียนถูกต้อง หรือไม่ได้ดาเนิ น การถูกต้องเข้ามา เชื่อว่าเรื่องนี้ก็สามารถที่จะช่วยให้ กับทนายที่ดาเนินการได้เป็นไปตาม กฎระเบี ย บ ส่ วนที่ผิ ดระเบี ย บหรือว่าไม่เป็ นไปตามเงื่อนไขของสภาทนายความก็มีบทบัญ ญั ติห รือว่ามีข้อ ดาเนินการอยู่แล้ว เพียงแต่ว่าเรื่องนี้เป็นการปกป้องคนที่ทาผิดได้ ถ้ากรณีเรื่องของยืนยัน เวลา เพราะว่าส่วน ใหญ่ที่ทากันถ้าตรงไปตรงมาหรือว่าดาเนินการตรงไปตรงมาเชื่อว่าไม่ได้มีปัญหาอะไร แค่การรายงานเท่านั้น เอง ตามกฎหมายทนายความเท่าที่ตรวจสอบจะมีมาตรา ๓๓ ๑๕๘กรณีที่ว่าใครจะประกอบอาชีพทนาย ความต้องจดทะเบียน ถ้าไม่ไปจดทะเบียนจะมีโทษ ซึ่งอันนั้นเป็นเรื่องของการจดทะเบียนเป็นทนายความ หรือไม่ แต่กรณีนี้กาลังบอกว่า หลังจากคุณจดทะเบียนเป็นทนายความแล้ว แต่ยังมาประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ โดยไม่จดทะเบียนจะมีโทษอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งคิดว่าคนละส่วนกัน โทษไม่จดทะเบียนเป็นทนายความก็เป็นไปตาม กฎหมายทนายความ ส่วนข้อบังคับอะไรต่าง ๆ ที่ทางสภาทนายความจะไปออกได้นี้ไม่สามารถไปกาหนดโทษ อะไรต่างหากได้ ได้เฉพาะเรื่องทางวินัยหรือเรื่องอะไรว่าไป ซึ่งว่าข้อบังคับที่จะออกตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้คงไม่ได้ มีเรื่ องทางวินั ย แต่เป็ น กระบวนการในการรับจดทะเบียนนั้น ๆ หรือว่าการอุทธรณ์ แต่ข้อบังคับของทาง กฎหมายทนายความก็ไปออกได้เพื่อนาไปสู่การลงโทษทางวินัยเท่านั้นไม่สามารถที่จ ะกาหนดโทษทางอาญาได้ เลย เพราะโทษทางอาญาจะมีเฉพาะมาตรา ๓๓ ก็คือประกอบอาชีพทนายความโดยไม่จดทะเบียน ซึ่งถ้าเป็น กรณี ไม่ จ ดทะเบี ย นแล้ ว ยั งมาประกอบธุรกิ จ ตามนี้ อาจจะผิ ด ๒ กรรม คื อผิ ด ตามมาตรา ๓๓ กฎหมาย ทนายความ แต่ว่าการที่มาประกอบธุรกิจทวงหนี้จะถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการประกอบวิชาชีพทนายความ ตามมาตรา ๓๓ หรือไม่นี้ ก็เป็ น อีกปั ญหาหนึ่ง ว่าจะแยกออกจากกันได้ เพราะฉะนั้นกรณี นี้การกาหนดให้ ทนายความที่มาประกอบธุรกิจทวงถามหนี้โดยไม่ได้จดทะเบียนน่าที่จะต้องมีความผิดเฉพาะตามกฎหมายฉบับ นี้ เพราะว่าถ้าเป็นไปตามกฎหมายฉบับนั้นก็จะมีเฉพาะเรื่องมารยาทเท่านั้นเอง ถ้าเป็นกรณีที่สถาบันการเงินหรือ Bank๑๕๙ให้ทนายความหรือสานักงานทนายความทวงถามหนี้ให้ โดยส่ ว นใหญ่ จ ะใช้ ลั ก ษณะของสั ญ ญา Outsource คื อ ถื อ ว่ า Bank จริ ง ๆ ต้ อ งทวงหนี้ เอง แต่ ว่ า ไปให้ บุคคลภายนอกทวงแทนมีสัญ ญาชัดเจน แล้วก็มีห ลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย ที่จะต้องดูแลว่า สัญญาเช่น นั้น จะเป็ นลั กษณะไหน แล้วถือว่าต้องเป็นการไปใช้บริการบุคคลภายนอก ซึ่งจะเป็นลักษณะมี สัญญาระหว่างกัน อันนี้คือให้ทวงถามหนี้เท่านั้น ถ้าสมมติเป็นลักษณะที่ให้ดูแลลูกความหรือคนที่จะต้องไป บังคับคดีหรือดาเนินคดีก็จะมีลักษณะอีกแบบหนึ่ง แต่ว่าในกรณี Outsource แล้วทวงถามหนี้อย่างเดียวถือว่า เข้าคือต้องจดทะเบียนการทวงถามหนี้ คาว่า “ลูกความ” ๑๖๐ นี้รวมถึงด้วยหรือไม่ว่าอยู่ในแค่ขั้นตอนรับปรึกษาอย่างเดียว แต่ยังไม่ได้ว่า ความให้ใช่ไหม คือแค่รับจ้างทาสัญญาผูกพันก่อหนี้ให้ดูแลเกี่ยวกับหนี้ให้แล้วก็ทวงถามหนี้ให้ คิดว่าก็น่าจะ ได้รับ ยกเว้น ใช่ไหม แต่ในทางทนายความไม่ทราบว่าถือว่าเป็น ลูกความแล้ว หรือยัง แต่ ว่าทาอยู่เฉพาะใน ขั้นตอนเป็นที่ปรึกษาอย่างเดียว ซึ่งควรจะยกเว้นให้ แล้วไปอยู่ในความหมายของคาว่า “ลูกความ” ไหม คือ อยากจะให้ชัดเจนตรงนี้ ด้วย เพราะเป็นห่ วงเหมือนกันว่าเดี๋ยวลูกความจะไปตีความเฉพาะว่าหมายถึงต้อง ๑๕๘ ๑๕๙ ๑๖๐

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๔๓ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๔/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๔๔ นางธัญทิพย์ สรรพโชติวัฒน์ ผูแ้ ทนธนาคารแห่งประเทศไทย กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๔/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๔๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๘


๕๗ ดาเนินการฟ้องร้องด้วยถึงจะเป็นลูกความ แต่จริง ๆ น่าจะรวมถึงกรณีที่ว่ารับจ้างดูแลทางด้านเกี่ยวกับ เรื่อง การทานิติกรรมติดต่ออะไรต่าง ๆ ทวงหนี้ให้ปรึกษาในเรื่องนิติกรรมนั้น ๆ ในการก่อหนี้ให้ อะไรอย่างนี้ ซึ่งทาง ปกติเข้าใจว่าทนายความก็มีทาอย่างนี้ ใช่ไหม ขออนุญาตเพิ่มเติม๑๖๑คือไม่ว่าจะกรุงเทพ กรุงไทยหรือธนาคารอื่น ๆ ก็จะมีฝ่ายกฎหมายมีนิติกรดูแล ภายในมีทนายความ มีเจ้าหน้าที่บังคับคดีทุกอย่างมีพร้อม อีกประเภทหนึ่งตั้งบริษัทกรุงไทยเครดิต กรุงเทพ เครดิต เข้ามาบริหารจัดการอีกช่วงหนึ่ง พวกนี้อาจจะทั้งหมดของเขาก็ได้หรือหนี้บางประเภทก็ได้ เฉพาะบัตร เครดิตก็ได้ เฉพาะสินเชื่อเฉพาะรายก็ได้ แล้วจะทาทั้ง ๒ ส่วน คือจ้างบุคลากรของเอง ทาในนามอีกนิติบุคคล หนึ่ง คนละนิติบุคคลกับธนาคาร ซึ่งตอนนี้ทากันอยู่อย่างนี้ อีกรูปแบบหนึ่ง ก็คือจ้างสานักงานตัดตอนไปเลย เหมาไปทั้งหมด เหมาบางส่วนก็มี เอาเฉพาะขั้นตอนทวงหนี้ก็มี ขั้นตอนฟ้องก็มี ขั้นตอนบังคับคดีก็มี พวกนี้มี ทุกรูป แบบ มีทุกส่ วนเลย เพราะฉะนั้ น ตรงนี้ถ้าตีความว่าเจ้าหนี้เดิมหรือผู้ รับโอนมาเป็นเจ้าหนี้ช่ว งนี้เป็ น ลูกความไหม ตรงนี้สับสนแล้ว ตอนนี้เริ่มสับสนแล้วว่าตรงนี้เป็นลูกความหรือเปล่า ไม่ทราบว่าระบบของ Bank กับของธนาคารแห่งประเทศไทยตีความตรงนี้อย่างไร ถ้า Bank ทาเองทั้งหมดก็ถือว่าเป็นการทวงถามหนี้ของตนเอง ๑๖๒มีเจ้าหน้าที่ มีทนายความ มีอะไร ต่างๆ ซึ่งเป็นพนักงานของ Bank ก็ถือว่าไม่ต้องมาจดทะเบียนตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ แต่ถ้า Bank ตั้งบริษัทลูก แล้ ว ดู แ ลเรื่ อ งการทวงถามหนี้ ห รื อ แม้ ก ระทั่ ง ไปจนถึ งการบั ง คั บ คดี อั น นี้ จ ะเป็ น ลั ก ษณะที่ ถื อ ว่ า Bank outsource บริษัทลูกของตัวเองต้องมีสัญญาระหว่างกัน ตามเกณฑ์ Outsource ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย ดูแล แต่อันนี้ถ้าสมมติว่าตีความเช่นเมื่อสักครู่นี้ ก็คือว่าถ้าทวงถามหนี้อย่างเดียวต้องจดทะเบียน แต่บางที บริษัทลูกทาทุกกระบวนการจะถือว่าต้องจดทะเบียนหรือไม่ อันนี้ต้องช่วยกันพิจารณา แต่ถ้าสมมติว่าเป็น Bank ไปจ้างสานักงานทนายความ แล้วก็ทาเช่นเดียวกันกับบริษัทลูก แต่ว่าไป Outsource ตัดตอนไปเลย แทนที่ Bank จะไปถือหุ้นอะไรอย่างนี้ ก็เช่นเดียวกัน ๒ กรณีนี้อาจจะต้องมีความชัดเจนว่า จะต้องมีการจด ทะเบียนตามกฎหมายฉบับนี้หรือไม่ แต่ว่าในลักษณะของหลักเกณฑ์ Outsource ที่ดูแลการทาสัญญาระหว่าง Bank กับบริษัทภายนอกหรือแม้กระทั่งบริษัทลูกของตัวเอง ถือว่าจะต้องเป็นนิติบุคคล คือได้จดทะเบียนเป็น นิติบุ คคลเรียบร้อยแล้ว แต่ถ้าเป็ นบุคคลธรรมดามองภาพถึงการทาสัญ ญาว่าจ้างคล้าย ๆ กับลักษณะของ ประเภทการจ้างที่ปรึกษาหรือจ้างทางด้านผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ ก็คือจะเป็นอีกลักษณะหนึ่ง ในกรณีที่ว่าไป Outsource๑๖๓ แล้วตั้งบริษัทลูกขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่ทวงถามหนี้ ให้กับบริษัทแม่อย่าง เดียว คือไม่ได้ไปรับจ้างรายอื่น ถ้าตามกฎหมายต้องจดทะเบียน เพราะว่ารับจ้างทวงถามหนี้ ไม่ได้เขียนยกเว้น เอาไว้ แต่ถ้าตั้งบริษัทลูกขึ้นมา แล้วหลักก็คือรับจ้างบริษัทแม่ แล้วก็ยังไปรับจ้างทั่ว ๆ ไปด้วยไหน ๆ ตั้งบริษัท ขึ้นมาแล้ว ถ้าอย่างนี้ต้องจดทะเบียนแน่นอน คาว่ า “ธุร กิจ การทวงถามหนี้ ” ๑๖๔ที่ ว่ าไม่ รวมถึ งการทวงถามหนี้ ของทนายความซึ่ งกระท าแทน ลูกความของตนเอง เป็นความเห็นของคณะกรรมาธิการ แต่เวลาไปแปลกฎหมาย ผู้ที่จะเอากฎหมายไปบังคับ ใช้กลายเป็นทางคณะกรรมการหรือศาลหรือพนักงานสอบสวนในการที่เข้ามาดาเนินการตรงนั้น ตามกฎหมาย ที่บัญญัติให้ผู้มีอานาจเหล่านั้นที่จะดาเนินการ แต่ทีนี้ถ้าเกิดความชัดเจนตามความเห็น ที่บอกว่าทนายความที่ ไปรั บ คดี ม าอย่ า งนี้ ไม่ เป็ น การประกอบธุ ร กิ จ ถ้ า ชั ด เจนตรงนั้ น คิ ด ว่ าในกรณี ที่ ส านั ก งานกฎหมายหรื อ ๑๖๑ ๑๖๒ ๑๖๓ ๑๖๔

มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๔๖ นายสัก กอแสงเรือง ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๔/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๔๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๙ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๔๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๘ มาตรา ๖ ข้อสังเกต ๔๙ นายวิเชียร ชุบไธสง กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวง ถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๔/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗


๕๘ ทนายความในการที่จะไป Outsource งานมาทวงถามหนี้อย่างเดียว ตรงนั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง เป็นอีกกรณีหนึ่ง แต่ความชัดเจนตรงนี้ ยังไม่แน่นอนคาว่ากระทาการแทนลูกความของตนเองคืออะไร ค่อนข้างจะหมิ่นเหม่ ค่อนข้างจะบางมากในรูปแบบตรงนี้ ว่าถ้ามีความชัดเจนตรงนี้อย่างที่ขยายความ “แต่ไม่รวมถึงการทวงถามหนี้ ของทนายความซึ่งกระทาแทนลูกความของตนเอง” ถ้อยคารบกวนคือความหมายประมาณนี้ แต่ถ้อยคาจะเป็น อย่างไรเป็นอีกเรื่องหนึ่ง แต่ว่าความหมายอยากจะให้มีประมาณนั้น “ไม่ว่าจะเป็นกรณีการรับงานจากลูกความ ที่เป็นนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดา เพื่อดาเนินการตามวิชาชีพทนายความ” ๒) ข้อสังเกตของผู้เขียนในมาตรานี้เห็นว่า เป็นความพยายามของกรรมาธิการที่จะแยกให้เห็นถึง ความแตกต่างระหว่างการประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้ของบุคคลอื่นกับ การทวงหนี้ตามปกติ ของวิชาชีพ ทนายความก่ อนการดาเนิ น คดีในศาล ซึ่งมีข้อ บั งคับ ว่าด้ว ยมรรยาททนายความใช้บั งคั บดี อยู่ แล้ ว แต่ถ้ า ทนายความโดยตนเองหรื อ โดยส านั กงานที่ ต นเป็ น เจ้ าของมี ค วามประสงค์จ ะท าธุรกิ จการทวงถ ามหนี้ ที่ นอกเหนือจากทาหน้าที่ทนายความในคดีความที่จะดาเนินการต่อไปในชั้นศาล โดยเป็น คดีความที่ตนรับว่า ความให้แล้ว กล่าวคือแยกมาทาการทวงถามหนี้เป็นปกติธุระเช่นบุคคลอื่น มีสัญญาว่าจ้างแยกต่างหากออกไป จากการรับว่าความที่ต้องมีใบแต่งทนายความเป็นรายคดี การทาธุรกิจของทนายความในการทวงถามหนี้เช่นนี้ ก็ ต้ อ งมาจดทะเบี ย นกั บ นายทะเบี ย นสภาทนายความตามข้ อ บั ง คั บ ของสภาทนายความที่ อ อกตาม พระราชบัญญัตินี้และพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘

ตัวอย่างสานักกฎหมายที่เป็นรูปคณะบุคคลหรือห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนจะเป็นตามตัวอย่างนี้ ที่จะต้องขอเลขประจาตัวผู้เสียภาษีใหม่ และทางานในเรื่องของการรับเป็นทนายความในคดีข้อพิพาทในทุก ศาลให้ แต่ไม่รวมถึงการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ซึ่งในกรณีหลังต้องไปขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มอีก


๕๙ มาตรา ๗ ให้คณะกรรมการสภาทนายความและสภานายกพิเศษรายงานการดาเนินการของตน ตามมาตรา ๖ ให้คณะกรรมการเพื่อทราบเป็นประจาทุกสามเดือนนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้ บังคับ ในกรณี ที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นว่าการดาเนินการของคณะกรรมการสภาทนายความหรือ สภานายกพิเศษตามมาตรา ๖ ไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คณะกรรมการแจ้งให้คณะกรรมการสภา ทนายความ หรือสภานายกพิเศษเพื่อดาเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้

คาอธิบาย ความในวรรคแรกของมาตรา ๗ เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการสภาทนายความและสภานายกพิเศษ แห่งสภาทนายความคือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ตามพระราชบัญญัติ ทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘ ที่ จะต้องรายงานการดาเนิ นการตามมาตรา ๖ ซึ่งก็คือหน้าที่ในการบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายฉบับนี้ สาหรับทนายความ สานักงานทนายความ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ทนายความเป็นเจ้าของและจด ทะเบี ย นกั บ สภาทนายความ ซึ่ ง สภาทนายความต้ อ งรวบรวมและรายงานให้ กั บ คณะกรรมการตาม พระราชบั ญ ญั ติฉบั บ นี้ ทุกรอบ ๓ เดือน นั บตั้งแต่วันที่ ๒ กัน ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็ นต้น ไป ส่ วนรูปแบบ รายละเอีย ดการรายงานนั้ น สภาทนายความจะท าเป็ นต้น แบบเสนอให้ ท างสภานายกพิ เศษพิจารณาเป็ น รายงานที่จะจัดส่งคณะกรรมการฯ ต่อไป สาหรับความในวรรคสองของมาตรา ๗ เป็นเรื่องมาตรการในการให้คณะกรรมการสภาทนายความก็ดี สภานายกพิเศษแห่งสภาทนายความก็ดี ห้ามมีข้อบกพร่องในการแจ้งการดาเนินการให้กับคณะกรรมการตามที่ กาหนดไว้ในวรรคหนึ่ง อาจจะมีหนังสือแจ้งให้ดาเนินการให้เรียบร้อย ซึ่งเรื่องนี้ไม่น่ามีปัญหาอะไรเพราะว่า คณะกรรมการบริหารสภาทนายความมีการประชุมคณะกรรมการเป็นประจาทุกเดือนอยู่แล้ว เพียงแต่ว่าใน วาระการประชุมของทุกเดือนจะต้องมีรายงานการดาเนินงานของฝ่ายทะเบียนของสภาทนายความในส่วนของ การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้นี้อยู่ในวาระทุกเดือน และเมื่อครบรอบ ๓ เดือนก็ให้รายงานต่อ คณะกรรมการต่อไป

ข้อสังเกต ๑) ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีโดยลาดับดังนี้ ก. กาหนดให้คณะกรรมการสภาทนายความและสภานายกพิเศษมีหน้าที่รายงานการดาเนินงาน ของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ที่เป็นทนายความ หรือสานักงานทนายความให้คณะกรรมการรายงานทุก ๓ เดือน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ กรณีที่คณะกรรมการเห็นว่าการดาเนินการของคณะกรรมการ สภาทนายความหรือสภานายกพิเศษไม่เป็นไปตามประกาศนี้ ให้คณะกรรมการแจ้งให้ดาเนินการให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัติ คือมีประเด็นที่จะเรียนถามต่อไปว่าสภานายกพิเศษท่านได้พิจารณาดีแล้วใช่ไ หมในมาตรา ๗ เพราะว่าจะไปกาหนดหน้ าที่ ให้ ท่านต้องปฏิ บัติตามความเห็ น ของคณะกรรมการ ท่ านมีความเห็ นเรื่องนี้ อย่างไร๑๖๕ เหตุที่เขียนไว้ในมาตรา ๗ นั้น เป็นเรื่องของการรายงานทุกไตรมาส เพื่อรายงานว่าในส่วนของ สภานายกพิเศษนั้น มีการอุทธรณ์คาสั่งของคณะกรรมการสภาทนายความไปหรือไม่ ถ้ามี แล้วท่านวินิจฉัย อย่างไร แล้วถึงที่สุดอย่างไร ส่วนนั้นเป็นไปตามพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘๑๖๖

๑๖๕ ๑๖๖

มาตรา ๗ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๗ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๘๑


๖๐ ข. มาตรา ๗ วรรคสอง การดาเนินการของคณะกรรมการสภาทนายความหรือสภานายกพิเศษ ตามมาตรา ๗ วรรคสอง ไม่เป็ น ไปตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ ให้ คณะกรรมการแจ้ งให้ ส ภานายกพิ เศษ เพื่ อ ดาเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ อานาจในการแจ้งและผลบังคับจะเป็นอย่างไร๑๖๗ เรื่ องของการที่จะให้ ในมาตรา ๗ วรรคสอง ในกรณี ที่ คณะกรรมการพิ จารณาเห็ นว่าการ ดาเนิ น การของคณะกรรมการสภาทนายความหรือสภานายกพิ เศษ ตามมาตรา ๖ ไม่เป็นไปตามพระราช บัญญัตินี้ ให้คณะกรรมการแจ้งให้คณะกรรมการสภาทนายความหรือสภานายกพิเศษเพื่อดาเนินการให้เป็นไป ตามพระราชบัญญั ตินี้ หมายความว่า ในกรณีที่การดาเนินการของคณะกรรมการสภาทนายความก็ดี การ ดาเนินการของสภานายกพิเศษก็ดี ไม่เป็นไปตามกฎหมายฉบับนี้ คือคณะกรรมการควบคุมการทวงถามหนี้ ก็ จะแจ้งให้ทราบเพื่อทบทวน หรือเพื่อปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระราชบัญญัตินี้๑๖๘ มีข้อพิจารณานิดหนึ่งว่า ปกติสภานายกพิเศษนี้คุมอานาจการดาเนินการของสภาทนายความ คราวนี้ถ้าสภาทนายความทาการใดไม่ถูกต้อง สภานายกพิเศษก็จะสั่งให้ สภาทนายความ คือเป็นสถาบันที่ ตรวจสอบสภาทนายความนั่นแหละ คือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ทั้งนี้พอไปขัดกับคณะกรรมการชุดนี้ เข้ า คณะกรรมการชุ ด นี้ ก็ จ ะไปสั่ งให้ ส ภานายกพิ เศษด าเนิ น การไปตามพระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้ เพราะ เนื่องจากว่าสภาทนายความไม่ทา ซึ่งถ้าสภาทนายความไม่ทา สภานายกพิเศษก็จะไปดาเนินการตาม พ.ร.บ. สภาทนายความ แต่ว่าพอไม่ทาตามกฎหมายฉบับนี้ ท่านไปสั่ งสภานายกพิเศษให้ ทา วัตถุประสงค์จะเป็น อย่างไรช่วยอธิบายอีกสักครั้งหนึ่ง๑๖๙ ขออนุญาตเพิ่มเติม คืออย่างนี้ ในอานาจหน้าที่ของสภานายกพิเศษกับสภาทนายความนั้น อานาจของสภานายกพิเศษก็เป็นอานาจยับยั้ง คือในกรณีที่ เห็นว่า เช่น คณะกรรมการสภาทนายความหรือ คณะกรรมการมรรยาทสภาทนายความลงโทษทนายความเรื่องประพฤติผิดมรรยาท แล้วสภานายกพิเศษเห็น ว่าดาเนินการไม่ถูกต้องก็ดี หรือโทษไม่สมควรก็ดี ก็จะมีความคิดเห็นส่งมาที่คณะกรรมการสภาทนายความ แต่ อานาจนี้เป็นอานาจเพียงยับยั้ง ถ้าคณะกรรมการมีมติเห็นว่าที่ลงมติไปนั้นชอบ แล้วลงมติอีกครั้งหนึ่งยืนยัน ความเห็นของคณะกรรมการสภาทนายความ ถ้าเสียงข้างมากเห็นด้วย ก็ใช้มติของสภาทนายความปฏิบัติได้ ตาม พ.ร.บ. ทนายความ อันนี้หมายถึงอานาจยับยั้ง หมายถึงว่าถ้าการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. นี้ ก็คือ เงื่อนไขของ การขอจดทะเบียนเรื่องการทวงถามหนี้ก็ดี หรือดาเนินการส่วนที่คณะกรรมการตามกฎหมายฉบับนี้เห็นว่ายัง ไม่ถูกต้อง หรือว่ายังไม่ครบถ้วน ก็สามารถที่จะแจ้งไปเพื่อดาเนินการให้ถูกต้อง ให้ครบถ้วนตามกฎหมายนี้ ความหมายของมาตรา ๗ คืออย่างนี้ แล้วก็จะต้องพิจารณาร่วมกัน เพื่อบังคับให้เป็นไปตามกฎหมาย ทั้ง ๒ ฉบับ เพราะเหตุว่าผู้ที่ไปดาเนินการจดทะเบียนกับสภาทนายความนั้นเฉพาะผู้ประกอบวิชาชีพทนายความและ ถือใบอนุญาตของสภาทนายความเท่านั้น บางกรณีสภาทนายความก็จะต้องใช้อานาจหน้าที่ในการควบคุม มรรยาทในการลงโทษตาม พ.ร.บ. ทนายความ๑๗๐ คือจะเป็นการตรวจสอบแล้วก็จะเป็นการใช้อานาจเพื่อ บังคับกรรมการสภาทนายความ โดยสภานายกพิเศษตาม พ.ร.บ. ทนายความ ที่ให้ชี้แจงเพื่อที่จะได้เข้าใจกัน เดี๋ยวจะคิดว่าจะมีการล่วงละเมิดใช้อานาจข้ามกันระหว่างรัฐมนตรีที่รักษาการกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุติธรรม๑๗๑ ค. มีความสับสนเกี่ยวกับเรื่องของการที่จะดูแล แล้วก็ควบคุมการทวงถามหนี้ มาตรา ๔ ในขณะ นี้ มีรัฐ มนตรี ที่จ ะต้องดูแลเรื่องของอานาจการออกกฎระเบียบต่าง ๆ ถึง ๒ กระทรวง คือรัฐ มนตรีว่าการ ๑๖๗ ๑๖๘ ๑๖๙ ๑๗๐ ๑๗๑

มาตรา ๗ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๗ วรรคสอง ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๘๑ มาตรา ๗ วรรคสอง ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๗ วรรคสอง ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๘๑ มาตรา ๗ วรรคสอง ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙


๖๑ กระทรวงมหาดไทยกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง แต่ตอนนี้กาลังมีขึ้นมาอีกกระทรวงหนึ่ง กระทรวง ยุติธรรม คือลาพังการติดตามควบคุมหนี้ระหว่างธนาคารแห่งประเทศไทยกับกระทรวงการคลังก็ค่อนข้างจะยุ่ง เหยิงในแง่ของการที่ว่าจะประสานการทางานกันในลักษณะไหน วิธีการที่จะทาให้เกิดการประสานงานระหว่าง กระทรวงต่าง ๆ พวกนี้ เพื่อให้การติดตามทวงถามหนี้ ซึ่งเป็นหลักสาคัญในการที่ตวั พ.ร.บ. ฉบับนี้ใช้บังคับ จะ ดาเนินการโดยวิธีไหนที่จะให้เกิดการประสานงานที่ดี อยากจะได้รับคาชี้แจงในเบื้องต้น๑๗๒ ง. อธิบายมาตรา ๖ และมาตรา ๗ ให้ชัดเจนอีกครั้งหนึ่งเกี่ยวกับกระบวนการ คืออันนี้จากการ ควบคุมการทวงถามหนี้ของบุคคลซึ่งเป็นทนายความ โดยสภาทนายความแล้วก็จะโยงไปถึงสภานายกพิเศษ เพื่อจะควบคุมอีกทีหนึ่ง ช่วยอธิบายให้ชัดเจนเพื่อที่จะได้แสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายที่ชัดเจน๑๗๓ ขอเรียนว่า มาตรา ๖ จะโยงต่อกับมาตรา ๗ ถามว่าเจตนารมณ์ของร่างพระราชบัญญัตินี้ ใน ส่วน ๒ มาตรานี้จะเป็นเรื่องของการควบคุม เรื่องของการจดทะเบียน การเพิกถอนทะเบียนด้วยการที่จะเป็นผู้ ประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้ของทนายความหรือว่าสานักงานทนายความเท่านั้น ซึ่งในส่วนนี้เป็นเรื่องที่ให้ องค์กรที่ดูแลทนายความหรือสภาทนายความที่มีกฎหมายเฉพาะเป็นผู้กากับดูแลเฉพาะในส่วนเรื่องของการจด ทะเบียนและการดาเนินการในส่วนนี้เท่านั้น ส่วนวิธีการต่าง ๆ ในเรื่องของการทวงถามหนี้นั้นก็เหมือนกับ หน่วยอื่น ๆ อันนี้ ก็ขอเรียนว่า เพราะฉะนั้นในส่วนนี้เป็นเรื่องที่ยึดโยงกันตรงที่ว่า การที่ให้ทางสภาทนายความ รับจดทะเบียนได้ก็ต้องมีการกากับดูแล แล้วสุดท้ายก็ต้องมีการควบคุมโดยสูงสุดในส่วนของด้านทนายความ ก็ คือมีสภานายกพิเศษ เพราะฉะนั้นอันนี้เป็นการดูแลในเรื่องของการปฏิบัติการทางานของทางด้านทนายความ และสภาทนายความ ๑๗๔คื อ เป็ น การควบคุ ม บุ ค คลที่ ป ระกอบอาชี พ ทวงหนี้ ซึ่ งเป็ น ทนายความโดยสภา ทนายความและโดยสภานายกพิเศษ๑๗๕ ๒) ข้อสังเกตของผู้เขียนเห็นว่า การปฏิบัติตามมาตรา ๗ นี้เป็นหน้าที่ของกรรมการสภาทนายความ เป็นหลักดังที่ได้อธิบายไว้มาตรา ๖ ข้างต้น เพื่อไม่มีการสับสนเรื่องการบังคับใช้กฎหมาย เพราะถ้าเป็นกรณีที่ เกี่ยวกับทนายความแล้ว ความในมาตรา ๓ วรรคสองของพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. ๒๕๒๘๑๗๖หากขัด หรือแย้งกับพระราชบัญญัติทนายความแล้ว ให้ใช้พระราชบัญญัติทนายความเป็นหลัก มาตรา ๘ ห้ามผู้ทวงถามหนี้ติดต่อกับบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ลูกหนี้เพื่อการทวงถามหนี้ เว้นแต่บุคคล ซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการดังกล่าว การติดต่อกับบุคคลอื่นนอกจากบุคคลตามวรรคหนึ่ง ให้กระทาได้เพื่อวัตถุประสงค์ในการสอบถาม หรือยืนยันข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้ หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้เท่านั้น โดย ผู้ทวงถามหนี้ต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) แจ้งให้ทราบชื่อตัว ชื่อสกุล และแสดงเจตนาว่าต้องการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติด ต่อ ลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้

๑๗๒ ๑๗๓ ๑๗๔ ๑๗๕ ๑๗๖

มาตรา ๗ วรรคสอง ข้อสังเกต ๖ นางเสาวณี สุวรรณชีพ สมาชิกสภานิติบัญญัตแิ ห่งชาติ ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๗ วรรคสอง ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๗ วรรคสอง ข้อสังเกต ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕ มาตรา ๗ วรรคสอง ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ ข้อสังเกต ๑๐ มาตรา ๓ วรรคสอง “บรรดาบทกฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่นในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแย้ง กับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน”


๖๒ (๒) ห้ามแจ้งถึงความเป็นหนี้ของลูกหนี้ เว้นแต่ในกรณีที่บุคคลอื่นนั้นเป็นสามี ภริยา บุพการี หรือ ผู้สืบสันดานของลูกหนี้ และบุคคลอื่นดังกล่าวได้สอบถามผู้ทวงถามหนี้ถึงสาเหตุของการติดต่อให้ผู้ทวง ถามหนี้ชแี้ จงข้อมูลเกี่ยวกับหนี้ได้เท่าที่จาเป็น และตามความเหมาะสม (๓) ห้ามใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมาย ในหนังสือ หรือในสื่ออื่นใดที่ใช้ในการติดต่อสอบถาม ซึ่งทาให้เข้าใจได้ว่าเป็นการติดต่อเพื่อทวงถามหนี้ ของลูกหนี้ (๔) ห้ามติดต่อหรือแสดงตนที่ทาให้เข้าใจผิดเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้ หรือ บุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้

คาอธิบาย ความในมาตรา ๘ วรรคแรกเป็นเจตนารมณ์ของกฎหมายที่บัญญัติไว้ชัดเจนถึงวิธีการทวงถามหนี้ที่ ห้ามผู้ทวงถามหนี้ติดต่อกับบุ คคลอื่นซึ่งมิใช่ลูกหนี้เพื่อการทวงถามหนี้ เท่านั้น เว้นแต่บุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้ เพื่อรับทราบการทวงถามหนี้แทน ข้อห้ามในการทวงถามหนี้ : กรณีการติดต่อกับบุคคลอื่น (มาตรา ๘) (๑) ห้ามผู้ทวงถามหนี้กับบุคคลอื่น เว้นแต่บุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้ (๒) การติดต่อกับบุคคลอื่นให้กระทาได้เพื่อการสอบถามหรือยืนยันสถานที่ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลที่ ลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้เท่านั้น ข้อควรปฏิบัติในการสอบถามจากบุคคลอื่น (มาตรา ๘ วรรคสอง) (๑) แจ้งชื่อและนามสกุลจริง เพื่อแสดงเจตนาว่าต้องการสอบถามข้อมูล (๒) ห้ า มแจ้ งถึ งความเป็ น หนี้ ข องลู ก หนี้ เว้ น แต่ ก รณี บุ ค คลอื่ น นั้ น เป็ น สามี ภริย า บุ พ การี หรื อ ผู้สืบสันดาน (๓) การจ่าหน้าซองจดหมายไม่ควรใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญ ลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวง ถามหนี้ ทาให้เข้าใจว่าเป็นจดหมายทวงหนี้ (๔) ห้ามติดต่อหรือแสดงตนที่ทาให้เข้าใจผิดเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลที่ ลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้

ข้อสังเกต ๑) ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ และหรือสมาชิกสภานิติบั ญญัติแห่งชาติ แล้วแต่ กรณี มาตรา ๘ วรรคหนึ่ง กาหนดห้ามมิให้ผู้ทวงถามหนี้ติดต่อกับผู้อื่นที่มิใช่ลูกหนี้เพื่อการทวงถามหนี้เว้นแต่บุคคลที่ลูกหนี้ได้มอบ อานาจ ในกรณีผู้ทวงถามหนี้ติดต่อกับผู้อื่นให้ทาได้เพื่อสอบถามสถานที่ติดต่อลูกหนี้เท่านั้น๑๗๗ มาตรา ๘ วรรคสอง๑๗๘ กาหนดวิธีปฏิบัติในการทวงถามหนี้กับลูกหนี้ เช่น ผู้ทวงถามหนี้ต้องแจ้งชื่อตัว ชื่อสกุล ชื่อหน่ วยงาน ไม่แจ้งถึงความเป็นหนี้ของลูกหนี้ ไม่ใช้ภาษาสัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมาย หรือในหนังสือหรือในสื่ออื่นใดที่ทาให้เข้าใจว่าเป็นการติดต่อมาเพื่อทวงถามหนี้ของลูกหนี้ และไม่ติดต่อหรือ แสดงตนที่ทาให้เข้าใจผิดเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลที่ลูกหนี้ได้ระบุไว้ ๑๗๗ ๑๗๘

มาตรา ๘ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗


๖๓ มีประเด็นคาถามว่า๑๗๙ในส่วนของหนี้ในระบบในกรณีธุรกิจของสานักกฎหมายที่ไปรับหนี้ทางสถาบัน การเงินมาบริหารที่ศึกษามาเขาจะส่งหนังสือบอกกล่าวไปที่บ้านของลูกหนี้ ประเด็นก็คือลูกหนี้ไม่อยู่บ้าน คน ในบ้านเปิดอ่านจดหมายเห็นว่ามีการติดต่อทวงถามให้ชาระหนี้ คุณพ่ออยากจะชาระหนี้ให้ลูกหรือลูกอยากจะ ชาระหนี้ให้คุณพ่อ ลูกติดต่อเข้ามาหรือคุณพ่อติดต่อเข้ามาที่สถาบันการเงินหรือว่าที่บริษัทสานักกฎหมายตรง นั้น ในการที่แจ้งความประสงค์ที่จะชาระหนี้ให้ อย่างนี้ถือว่าเป็นการสนทนากันเรื่องการทวงถามหนี้ไหม ตรงนี้ สาคัญเพราะว่าถ้าไปเคร่งจนเกินไปจะกลายเป็นการทาลายวัฒนธรรมอันดีของคนไทย ลูกอยากจะชาระหนี้ แทนพ่อแม่ไม่มีโอกาสที่จะคุยกับเจ้าหนี้ได้เลย เพราะว่าเดี๋ยวคนที่เป็นหนี้ก็จะมาร้องเรียนว่าคุณไปคุยหนี้กับ พ่อผมทาไม ลูกผมทาไม ทีนี้ประเด็นปัญหาทางคดีก็จะตามมา เพราะว่าจุดประสงค์ของมาตรา ๘ ตรงนี้๑๘๐ ก็คือว่า คุณจะทวงหนี้ ทวงได้เฉพาะกับลูกหนี้กับบุคคลที่ ลูกหนี้ระบุเอาไว้ในสัญญาว่า กรณีนี้ทวงให้ทวงกับลูกน้องคนนี้อย่างนี้ได้ แต่ถ้ากับบุคคลอื่นไม่ว่าจะเป็นพ่อ เป็นลูกห้ามไปเอ่ยว่ามีหนี้อยู่ คือคล้าย ๆ ว่าไปแจ้ งไม่อย่างนั้นจะกลายเป็นคนรอบข้างเขาได้ทราบถึงการเป็น หนี้ ก็อาจจะเกิดความรู้สึกอับอายขายหน้า เพราะฉะนั้นตรงนี้ก็เลยล็อคเอาไว้ว่าคุณจะติดต่อกับบุคคลอื่น นอกจากลูกหนี้กับบุคคลที่ลูกหนี้กาหนดไว้เพื่อการทวงถามหนี้แล้ว คุณติดต่อได้คุณอย่าให้เขารู้ว่าเป็นหนี้ ทา ได้เฉพาะเพื่อประโยชน์ในการอยากจะทราบว่าลูกหนี้หรือคนอื่นที่ลูกหนี้กาหนดไว้ว่าเขาอยู่ที่ไหนจะได้ติดต่อ ถูก ไม่อย่างนั้นจุดประสงค์ก็คือเพื่อให้ทราบถึงสถานที่เท่านั้นเองที่จะติดต่อตัวลูกหนี้บุคคลอื่นเท่านั้น แต่ถ้า ไม่ได้เกี่ยวข้องแล้ว คือห้ามแจ้งความเป็นหนี้ห้ามอะไรทุกอย่าง เพราะฉะนั้นกรณีที่ทางท่านบวรศักดิ์พูดถึงข้อนี้ ที่ว่าตัวญาติพี่น้องจะเข้ามาติดต่อขอชาระแล้วจะรู้ได้อย่างไรว่า เขาเป็นหนี้ เขาก็เลยไม่รู้ เพราะถูกปิดเป็น ความลั บ ซึ่งตอนนี้ ไม่ได้มุม มองทางด้านประโยชน์ ของการที่ว่าทาให้ ไม่เกิ ดประโยชน์ ด้านนั้ น แต่มุ มมอง ต้องการคุ้มครองตัวลูกหนี้ไม่ให้เขาถูกประจาน ถูกญาติพี่น้องทราบเรื่อง ส่วนญาติพี่น้องก็จะทราบเรื่องจาก การที่ลูกหนี้เล่าก็เป็นเรื่องของลูกหนี้ เพราะเข้าใจว่าส่วนใหญ่ลูกหนี้ไม่ต้องการให้คนรอบข้างได้มารู้ว่าเขาเป็น หนี้อยู่ ถ้ายกตัวอย่าง เช่น เป็นต้นว่า (๒)๑๘๑ ห้ามแจ้ง ถึงความเป็นหนี้ของลูกหนี้ ก็เติมว่า “เว้นแต่บุคคลซึ่ง เป็นคู่สมรส บุพการีหรือผู้สืบสันดานของลูกหนี้สอบถาม” อย่างนี้ก็ให้ตอบได้ ถ้าอย่างนี้ก็เปิดโอกาสธรรมเนียม ไทย แต่ว่ากรรมาธิการจะเห็นด้วยหรือไม่ คือลูกเป็นหนี้ต้องการใช้หนี้ให้ลูก พ่อแม่เป็นหนี้ต้ องการใช้หนี้ให้พ่อ แม่ พอถามเสร็จขอทราบที่อยู่เท่านั้น แต่ผมบอกอะไรคุณไม่ได้เลย กฎหมายห้าม ๆ ต้องให้ชัดว่าจะยกเว้น อะไรบ้าง แล้วก็เขียนข้อยกเว้นลงไปในกฎหมาย คือไปถาม วันดีคืนดีทนายความเดินไปถามบ้านเขาว่า คุณ ก. ในทะเบียนราษฎร์บอกว่าอยู่ที่นี่ ขอ ทราบว่าวันนี้อยู่ไหม คนในบ้านซึ่งเป็นพ่อแม่ก็อยากรู้ว่ามาถามทาไม อันนี้ก็บอกว่าห้ามบอกความเป็นหนี้ แล้ว ถามว่าคนในบ้ านจะบอกที่อยู่ ไหม คาตอบคือไม่บอก แต่ถ้ารู้ว่าเป็นหนี้อาจจะบอกว่าอยู่เมืองนอก แล้ว ก็ อาจจะอยากใช้ เพราะฉะนั้นถ้าคิดว่ามีความเป็นไทยอยู่ตรงนี้ ก็บอกแต่เพียงว่าการห้ามแจ้งความเป็นหนี้ ห้าม เฉพาะผู้ทวงหนี้ที่อยากไปกดดัน แต่ว่าบุคคลซึ่งเป็นคู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดานสอบถามความเป็นหนี้ของผู้ นั้นต่อผู้ทวงหนี้ก็ให้ผู้ทวงหนี้บอกได้ แล้วไม่ผิดกฎหมายหมายความแค่นั้น คือเติมให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม ไทย แล้วจะได้ปฏิบัติได้จริง เพราะว่ามองไม่ออกว่า อยู่ดี ๆ คนเดินมาถามลูกสาว ซึ่งอยู่ในบ้าน แล้วผมไปอยู่ เมืองนอก ๒ ปี บอกว่าพ่ อของเธออยู่ที่ ไหน ลู กสาวก็ต้องถามว่า แล้ ว มาถามทาไม แล้ วบอกว่าตอบไม่ได้ กฎหมายห้ามถาม กฎหมายห้ามบอก เป็นไปไม่ได้ ๑๗๙ ๑๘๐ ๑๘๑

มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๒๒ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๘ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๙๙


๖๔ ถ้าไม่เปิดช่องตรงนี้เลยแน่นอนเลยว่าอย่างเช่ น๑๘๒ เจ้าหนี้หรือคนที่ทาธุรกิจทวงหนี้ มีหมายบังคับคดี อยู่แล้ว แล้วตัวลูกหนี้ไม่อยู่บ้านไปต่างประเทศหรือไปต่างจังหวัด แล้วถือหมายศาล ถือหมายบังคับคดีไปกับ เจ้าหน้าที่ พอไปพ่อแม่หรือว่าคนในบ้าน อยากชาระหนี้ให้ แต่คุยเรื่องหนี้ไม่ได้ก็ต้องถูกยึดทรัพย์บังคับคดี ยิ่ง จะเสียหายหนักเข้าไปอีก ตรงนี้คิดว่าน่าจะมีอะไรที่เปิดช่องไว้นิด ๆ เพื่อเอื้อต่อการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับเขา ชาระหนี้ แน่นอนตรงที่ไปหน่วยงานไปหาหัวหน้างาน ตรงนั้นเขาชาระให้ลูกหนี้ไม่ได้อยู่แล้ว อย่างนั้นอีกเรื่อง หนึ่ง แต่ว่าคนที่มีความสัมพันธ์กันในครอบครัวอย่างไรเสีย คิดว่าไม่นิ่งดูดายแล้วก็ที่สาคัญคือเขาไม่ได้ทวงถาม หนี้ทางโทรศัพท์อย่างเดียว ส่งจดหมายไปอย่างที่บอกคนในบ้านเปิดอ่านก็อยากชาระหนี้ไม่มีเปิดช่องให้เลย ปัญหาเรื่องหนี้ก็จะไม่จบก็จะเป็นเรื่องอื่นตามมาฟ้องร้องอะไรกัน ถ้าดูในมาตรา ๘ (๒)๑๘๓ห้ามแจ้งถึงความเป็นหนี้ของลูกหนี้ ถ้าจะไปบอกว่าเว้นแต่ สมมุติใน (๒) ห้าม แจ้งถึงความเป็นหนี้ของลูกหนี้ถ้าจะขยายตรงนี้เว้นแต่ ถ้าเปิดช่องตรงนี้เป็นไปได้หรือไม่ ถ้าไปเปิดดูในร่าง พ.ร.บ. ในส่ วนที่ ๒ ๑๘๔ข้อมูลประกอบการพิจารณาร่าง พ.ร.บ. นี้มีระเบียบของ ธนาคารแห่งประเทศไทยระบุ ไว้ชัดเจนว่าแนวทางปฏิบัติ ว่ามีวิธีการเว้นแต่ได้รับการยินยอมจากลูกหนี้หรือมี สิทธิตามกฎหมาย อยู่ในร่างที่ทางธนาคารแห่งประเทศไทยอยู่แล้ว คล้ายกันอยู่ว่าวิธีการเก็บอย่างไร ข้อบังคับ เป็นอย่างไร วิธีการแสดงตัว วิธีการ เก็บหนี้ ข้อที่ ๑ ไม่เรียกเก็บจากบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ลูกหนี้ เช่น ญาติพี่น้องหรือผู้ร่วมงาน เว้นแต่ได้รับการยินยอม จากลูกหนี้หรือเป็นสิทธิตามกฎหมาย ข้อที่ ๒ ไม่ใช้ความรุนแรง ข้อที่ ๓ ไม่ปลอมแปลงอะไรอย่างนี้เป็นข้อบังคับ เอกสารที่ธนาคารแห่งประเทศไทยใช้บังคับกับสถาบันการเงินอยู่แล้วก็ตรงอยู่ในร่าง พ.ร.บ. นี้ ต้องคิดถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ๆ ๑๘๕ ว่าโอกาสที่จะเกิดระหว่างการที่ว่าลูกหนี้คือไม่ต้องการที่จะให้ บุคคลอื่นทราบว่าตัวเองเป็นหนี้ กับข้อเท็จจริงที่ว่าบุคคลอื่นเขาทราบก็จะทาให้เกิดประโยชน์ในการที่ว่าจะมี การดาเนินการไปชาระหนี้แทน หรือว่าจะได้แจ้ง ที่อยู่ให้ทราบ ก็ต้องคิดถึงหลักความเป็นจริงว่าอันไหนจะเกิด มากกว่ากัน แล้วจะคุ้มครองประโยชน์ได้เหมือนกัน เนื่องจากว่าตัวกฎหมายฉบับนี้มุ่งถึงตัวคุ้มครองลูกหนี้อย่าง เดียว ซึ่งที่จะเขียนในลักษณะเปิดช่องไว้ ลักษณะว่าเว้นแต่ลูกหนี้จะให้ความยินยอมไว้เป็นล่วงหน้าไว้คุณทา อย่างนี้ได้ แต่ก็มีแง่คิดเหมือนกันไม่อย่างนั้นส่วนใหญ่สถาบันการเงินคงให้เซ็นไว้ทุกครั้งล่วงหน้าอยู่แล้วว่าให้ สามารถยกเว้น มาตรานี้ ได้ สามารถแจ้ งได้ อะไรได้ ทางปฏิ บั ติ ก็ ค งเฉพาะสถาบั น การเงิน ก็ คิ ด ว่าคงไม่ ได้ ผลประโยชน์อะไร ถ้าไปเปิดช่องว่าเว้นแต่ลูกหนี้จะยินยอม ซึ่งคิดว่าตรงนี้ไม่ทราบว่าทางปฏิบัติอันไหน จะเกิด มากว่ากัน แต่เนื่องจากกฎหมายตัวนี้กาลังมุ่งถึงการคุ้มครองลูกหนี้อย่างเดียว โดยไม่ไปคานึงถึงปัจจัยที่จะเกิด ตามมาว่าจะเกิดผลเสียบางประการจะยึดหลักการทาร่างเดิม นอกจากมีเหตุผลมีการอธิบายว่าทางปฏิบัติส่วน ใหญ่จะเป็ น อย่างนั้ น ซึ่งไม่แน่ ใจว่าทางปฏิบัติจริง ๆ จะเกิดประโยชน์อย่างนั้นเสมอไปหรือไม่กับผลเสียที่ เกิดขึ้น

๑๘๒ ๑๘๓ ๑๘๔ ๑๘๕

มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๒๒ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๗ นายวันชัย ศารทูลทัต รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๘ นายวิทยา ฉายสุวรรณ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๘


๖๕ ในทางปฏิบัติสถาบันการเงิน ๑๘๖ส่วนมากลูกหนี้จะให้บุคคลอื่นมาสอบถาม ตัวลูกหนี้ไม่ค่อยกล้ามาที่ สถาบันการเงิน เพราะว่าบางครั้งความอับ อายหรืออะไรไม่ทราบ แต่จะให้บุคคลอื่น ๑. ทนายความก็มี ๒. ญาติพี่น้อง ส่วนมากจะเป็นญาติพี่น้องเยอะเข้ามาแล้วก็ท้ายสุดพวกญาติพี่น้องก็มาทาหนังสือรับใช้หนี้แทน ก็ กลายเป็นแปลงหนี้ใหม่ กลายเป็นเปลี่ยนตัวลูกหนี้ไป ซึ่งก็ได้ประโยชน์ สถาบันการเงินมาจะเปิดโอกาสที่ ลูกหนี้ แต่ไม่ได้ทาหนังสือล่วงหน้า แต่มาสอบถามว่าเป็นหนี้มากน้อยแค่ไหน ปัจจุบันนี้เป็นอย่างไร ดอกเบี้ย ค้างเท่าไร เงินต้นเท่าไร เพราะไม่รู้ว่าตัวลูกหนี้บางครั้งก็ไปแล้ว บางครั้งมีจานองไว้แต่ที่อยู่อาศัยปัจจุบันลูกหนี้ ไม่ได้อยู่ พ่อแม่อยู่ ซึ่งแบงก์ก็จะต้องไปยึด พวกที่อยู่จะมาขอชาระหนี้แทนไถ่ถอน แต่ไม่รู้ว่าเป็นหนี้เท่าไร ซึ่งก็ ต้องบอก บางครั้งลดหนี้ ให้ ลดอะไรอย่ างนี้เป็นเรื่องปกติ แต่เป็นบุคคลภายนอกแล้ว ซึ่งไม่มีห นังสื อมอบ อานาจ ไม่มีอะไรให้มาติดต่อเลย อันนี้ก็มีเยอะที่สถาบันการเงินมีหลากหลายจริง ๆ ที่บอกก็เพียง เพื่อเปิด โอกาสว่าถ้าบุคคลเข้ามาสอบถาม ไม่ได้แจ้งไป แต่มาสอบถามต้องบอก กฎหมายนี้ไม่ได้เลย ที่เกรงก็คือตรงนี้ ไม่ได้ไปเปิดเผยหนี้ของเขา แต่พวกนั้นเข้ามาสอบถามสามารถแจ้งได้ไหมกับบุคคลดังกล่าว ถ้าแจ้งได้จะเป็น ประโยชน์มาก กฎหมายฉบับนี้ลอกมาจากของฝรั่ง ๑๘๗ ฝรั่งเขาครอบครัวเดียว ๑๘ ปี ก็ออกจากบ้านของพ่อแม่แล้ว ไปอยู่บ้านตัวเอง แฟลตตัวเองไม่มีปัญญาก็ต้องใช้กฎหมายอย่างนี้ ไปแสดงตัวขอให้รู้ว่านายเอได้อยู่ที่นี่ไหม ถามว่ารู้ทาไม ฉันอยากรู้ ฉันมีธุรกิจจะติดต่อด้วย ก็ธรรมดาไปแจ้งหนี้ไม่ได้ พอไปแจ้ง คนที่อยู่แฟลตข้าง ๆ ก็ จะรู้ว่าคนนี้ เป็ น หนี้ แต่ครอบครั วแบบไทยที่ลู กยังอยู่กับ พ่อแม่ สามีอยู่กับภรรยาแล้ว ก็ไปคุ้มครองลู กหนี้ จนกระทั่งบางทีเกินไป สมมุติว่ามาถามเรื่องลูกก็ไม่อยู่ ถามว่าถามไปทาไม บอกไม่ได้ บอกแล้วห้ามแจ้งถึง ความเป็นลูกหนี้ตาม (๒) ติดคุกเลย ไปดูมาตราอะไร ๑ ปีเลย ๓๙ วรรคหนึ่ง ๑ ปี ปรับไม่เกิน ๑ แสนบาท จึง คิดว่าก็อยากจะ Adopt ธรรมเนียมไทย ๆ ที่เป็นครอบครัวใหญ่ ก็จะเติมแต่ว่า “เว้นแต่บุคคลซึ่งเป็นคู่สมรส บุพการีหรือผู้สืบสันดานสอบถามก็ให้ผู้ทวงหนี้ตอบได้เท่าที่จาเป็นโดยมิได้ฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติ นี้” คุณก็ตอบว่าเขาเป็นหนี้เท่านั้ น เท่านี้ แต่ว่าคุณจะไปทวงถามข่มขู่ว่าถ้าไม่ใช้อย่างนี้ก็ผิด แต่ถ้าถามแล้ว ไม่ให้ตอบแล้วอยู่ดี ๆ จะให้ไปบอกว่าลูกอยู่ที่ไหนก็ไม่บอก กฎหมายอย่างนี้เขียนในเมืองฝรั่งอเมริกาได้ เพราะ อยู่คนเดียว แต่ว่ามาเขียนในเมืองไทย อาจจะใช้ได้ในแฟลตบางแฟลต แต่ว่าที่ลูกอยู่กั บพ่อแม่ สามีภรรยายัง อยู่ด้วยกัน แล้วก็สอนในหลักกฎหมายว่าสามีภรรยาใส่รองเท้าข้างเดียวกันด้วยซ้าไป ไม่ใช่คู่เดียวกัน แต่บอก ว่าห้ามบอกว่าเขาเป็นหนี้ ไม่น่าจะถูก คือมาตรานี้โดยเขียนวันนี้ก็แปลว่าห้ามผู้ทวงถามหนี้เป็นฝ่ายรุกเข้าไป แต่ถ้าคนอื่นรุกเข้ามาแล้วผิด ตรงไหน ร่างเดิมก็ไม่ผิดแล้ว ถูกไหม อันนี้ไม่คลุมถึงสิ่งที่เรียกว่าเดินเข้าไปถามแบงก์ แต่เดินเข้าไปถามแบงก์ อย่างที่ ก็ต้องมีใบมอบอานาจแบงก์จะไปตอบเหมือนเมื่อก่อนไม่ได้แล้ว สมาคมไม่ออกจดหมายเวียน ก็ไม่อยู่ ในมาตรานี้อยู่แล้ว คาว่า “หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ ”๑๘๘ คือตอนแรกทางที่ประชุมก็มุ่งไปแต่ว่า เวลาไปติดต่อทวงถามที่เป็นลูกหนี้โดยตรง แล้วก็ไม่เจอลูกหนี้ แต่ต้องการที่จะทราบว่าลูกหนี้อยู่ที่ไหนอะไร ต่าง ๆ ถ้าเจอสามี ภรรยา บุพการี ของลูกหนี้ก็ให้แจ้งได้เท่าที่จาเป็นและเหมาะสม เพื่อที่จะได้ทราบถึงสาเหตุ ในการติดต่อ จะได้แจ้งข้อมูลมาได้ อันนี้ให้สามารถแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับข้อนี้ได้ แต่ทั้งนี้ความจริงที่ประชุม ก็ยัง ไม่ได้พิจารณาเลยไปถึงว่าถ้าตัวลูกหนี้มอบให้บุคคลอื่นเป็นผู้ระบุไว้ว่า เวลาจะทวงหนี้นอกจากทวงกับลูกหนี้ แล้ว หรือว่าห้ามถวงกับผมต้องไปทวงกับคนนี้ ซึ่งเป็นลูกน้องเป็นผู้จัดการส่วนตัวของผมโดยตรงให้ไปทวงกับ ๑๘๖ ๑๘๗ ๑๘๘

มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๒๙ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๙๙ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙


๖๖ คนนี้ ปัญหาว่าเวลาจะไปยังที่บ้านของผู้รับมอบอานาจ ในการที่จะถูกทวงถามหนี้ว่าให้ทวงกับคนนี้ แต่ก็ไม่เจอ กับบุคคลนี้ เจอลูกเมียอยู่ที่บ้าน ควรที่จะแจ้งให้ทราบดีไหมว่าสาเหตุของการติดต่อทานองเดียวกับเวลามาทวง ถามลูกหนี้ เหมือนกัน ว่า ทาไมถึงมาติดต่อผู้ที่ลูกหนี้ระบุเอาไว้ จะได้บอกได้ว่าไปอยู่ที่ไหน เพราะถ้าไม่บอก สาเหตุของการติดต่อเขาก็คงไม่กล้าบอกที่อยู่ว่าอยู่ที่ไหน ก็ทานองเดียวกับปัญหากับลูกหนี้ ซึ่งตรงนี้ความจริง ที่ประชุมก็ยังไม่ได้พิจารณาในรายละเอีย ดจะให้คลุมถึงไหม ถ้าพูดในแง่ความเหมาะสมก็รู้สึกว่าก็ได้ประโยชน์ เหมือนกัน เพราะไม่อย่างนั้นตัวคนที่เป็นครอบครัวของบุคคลอื่นที่ลูกหนี้มอบหมายก็คงจะไม่แจ้ง ไม่บอกอะไร การดาเนินการต่อไปก็จะชะงักงัน เฉพาะธรรมเนียมไทย ๑๘๙ไม่ไปถึงขนาดให้ไปแจ้งให้สามี ภรรยา บุพการี ผู้สืบสันดานของบุคคล ซึ่ง ลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ด้วย สาหรับความเห็นคิดว่าตรงนี้ไปยาวไป เอาเฉพาะว่าเข้าไปหาที่อยู่ โดย บทบัญญัติ (๒) ไปแจ้งความเป็นหนี้ไม่ได้ ให้เฉพาะกรณีที่สามี ภรรยา บุพการี หรือผู้สืบสันดาน สอบถามผู้ทวง ถามหนี้ ถึงสาเหตุของการติด ต่อ ผู้ทวงถามหนี้ก็ชี้แจงข้อมูลได้ตามที่ จาเป็นและเหมาะสม อันนี้ไม่ถือว่าเป็น ความผิด แต่ว่าอย่าไปถึงขนาดเอาไปรวมกับบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ด้วยเลย ข้อเท็จจริงอาจจะเกิดเป็นได้ว่ากรณีบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้อาจจะอยู่ในบ้ านของ ลูกหนี้๑๙๐อะไรอย่างนี้ แล้วไปเจอครอบครัวของลูกหนี้ ก็อยากจะถามว่าคนที่ลูกหนี้มอบหมายตอนนี้อยู่ที่ไหน กรณีนี้ก็จะสามารถบังคับได้ ก็คือแจ้งได้ว่านี่จะมาตามบุคคลซึ่งลูกหนี้มอบหมาย แต่ไม่รู้อยู่ที่ไหน อันนี้ตัวลูก เมียของลูกหนี้ก็สามารถบอกได้ตามนี้ แต่ว่าครอบครัวของบุคคลซึ่งลูกหนี้มอบหมายนี้ไม่ได้เลย ก็จะให้เข้าใจ หลักการตรงกัน แล้วขออนุญาตเรียนข้อสังเกตอีกอันหนึ่งว่ากรณีนี้จะบังคับเฉพาะกรณีที่ว่าทางผู้ทวงถามหนี้ เป็นผู้ริเริ่มติดต่อ แต่ถ้าครอบครัวเดินมาที่ Bank มาอะไรอย่างนี้ แล้วมาสอบถามอะไรอย่างนี้ อันนี้ไม่ได้ถูก บังคับตามนี้ อันนั้นสามารถแจ้งได้ตามปกติว่ามีหนี้อยู่หรือเปล่า ถ้ามาถามว่ามีหนี้ของลูกหนี้ไหมอะไรอย่างนี้ ถ้าไม่สอบถามบอกไม่ได้ ก็ให้เข้าใจหลักการตรงกันว่าถ้ามาติดต่อเอง Bank บอกได้อยู่แล้ว เรื่ อ งสถานที่ ท วงถามนี้ ก็ จ ะมี ปั ญ หาตรงที่ ว่ า ๑๙๑ถ้ าเป็ น หนี้ เดิ ม เท่ า ที่ รั บ ฟั ง กั น วั น นั้ น ในคณะอนุ กรรมาธิการจะไม่มีระบุไว้ว่าให้ทวงถามที่ไหนอย่างไร แต่ในทางปฏิบัติลูกหนี้กลุ่มนั้นจะมีการทวงถามอยู่โดยใช้ ที่ทวงถามใหม่ตามที่ติดต่อกันมาเรื่อย ๆ ถ้าไม่มีข้อยืดหยุ่นตรงนั้น หรืออีกกรณีย้ายที่ทางาน ซึ่งแรงงานทั่วไปก็ จะย้ายกันเป็นเรื่องปกติ เปลี่ยนงานบ่อยมาก ตรงนี้ถ้ากฎหมายไม่ได้ไปครอบคลุมถึงว่าสามารถที่จะติดตามไป ยังสถานที่ทางานใหม่ก็จะมีประเด็น ๒ ประเด็นคือเรื่องแรกคือ ก่อนหน้านั้นไม่เคยแจ้ง แต่ติดต่อกันมาเรื่อย ๆ ตามข้อมูลใหม่ที่ได้กับย้ายที่อยู่ใหม่แล้วก็ไม่ได้แจ้งจะมีปัญหาตรงนี้ช่วยพิจารณา คือในมาตรา ๘ (๒)๑๙๒ ที่ยกเว้นไปนั่นก็คือการแจ้งหนี้ ไม่ใช่ทวงถาม แจ้งภาระหนี้หรือแจ้งอะไรให้กับ บุพการี ผู้สืบสันดาน เพื่อประโยชน์ในการที่บุคคลดังกล่าวอาจจะมาติดต่อเพื่อชาระหนี้ เพราะฉะนั้นในมาตรา นี้ก็ เหมือนกันที่บอกว่าถ้าแจ้งภาระหนี้ก็อาจจะเหมื อนกับมาตรา ๘ (๒) เข้ามาเพื่อให้เกิดประโยชน์กับลูกหนี้ เพราะว่าลูกหนี้เมื่อถูกฟ้องแล้วผลของการฟ้องถ้าท่านถูกฟ้องจะต่างกันมากกับไม่ถูกฟ้อง ๑. ข้อมูลเครดิตคุณจะถูกรายงานแล้ว ต่อไปติดต่อใครลาบากแล้ว ขอสินเชื่อไม่ได้ ๒. คุณจะต้องไปเสียค่าใช้จ่าย ค่าธรรมเนียมศาล ค่าทนายความ ค่าต่าง ๆ ที่จะเข้ามา ๑๘๙ ๑๙๐ ๑๙๑ ๑๙๒

มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๒ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๖ นายวิเชียร ชุบไธสง กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๗ นายสงคราม สกุลพราหมณ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗


๖๗ เป็นเรื่องที่ว่าซึ่งลูกหนี้ไม่ควรที่จะต้องมาเสียถ้าตกลงกันได้ แต่ถ้ายอมให้บอกไม่เป็นไร ก็ไปฟ้องใช้สิทธิ ก็เป็นเรื่องความเดือดร้อนของลูกหนี้ที่จะเกิดขึ้นอันนี้ที่หวัง บอกว่าการจะฟ้องหรือทาอะไรนี้จะต้องทวงถาม ก่อนไหม กฎหมายมีต้องให้ ทวงถาม อย่างคุ้มครองผู้ บริโภคหนี้สินเชื่อส่ วนบุคคล ถ้าคุณ จะฟ้องคุณ ต้องมี หนังสือแจ้งไปให้ลูกหนี้ทราบก่อน ให้แก้ไขเหตุผิดนัด ถ้าไม่แจ้งไป ไปฟ้องนี่ศาลยกฟ้องเลย เพราะออกโดย กฎหมายเหมือนกัน คุ้มครองผู้บริโภค หรือผู้ค้าประกันนี้ถ้าคุณไม่แจ้ง ไม่ทวงถามไปก่อน เวลาคุณฟ้องคุณจะ เรียกค่าธรรมเนียมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ไม่ได้เหมือนกัน กฎหมายบอกไว้ เพราะฉะนั้นเรื่องการทวงถามนี้เป็น เรื่อง สาคัญที่จะต้องแจ้งให้ตัวลูกหนี้ได้รับทราบก่อน มิฉะนั้นแล้วการบอกเลิกสัญญา สัญญายังไม่ครบกาาหนด ถ้า ไม่บอกเลิกสัญญา ไม่แจ้งไป ฟ้องศาลก็ต้องยกฟ้อง เพราะจะต้องแจ้งก่อน ว่ายกเลิกสัญญาแล้วก็ทวงถามให้ ชาระหนี้ อันนี้เป็นเรื่องที่ทางทนายความหรือทางทุกอย่างที่จะดาเนินคดีต้องทาตามขั้นตอนที่กฎหมายกาหนด การถูกฟ้องกับการไม่ถูกฟ้อง๑๙๓ผลต่างกันมาก ทีนี้ในมาตรา ๘ เคยพิจารณาว่าในกรณีคนใกล้ชิด ไม่ ว่าจะเป็นสามีภรรยา บุพการี ผู้สืบสันดาร ยังติดต่อขอทราบข้อมูลในการที่ลูกหนี้เป็นหนี้ได้ เพื่อให้เข้าตรงกับ วัฒ นธรรมของไทย คือ ลู กเป็ น หนี้ พ่ อ แม่อ ยากจะใช้ห นี้ ให้ หรือพ่ อแม่ เป็ นหนี้ ลู ก อยากใช้ห นี้ ให้ ถ้าได้ รับ จดหมายแล้วมีโอกาสอย่างนั้น มีประเด็นว่าเขาติดต่อเข้ามาทางเขาจะดาเนินคดีแล้วก็ส่งจดหมายไปติดต่อให้ เขามาคุยไม่ได้เลย คุยต้องติดคุก ก็ว่าควรจะจากัดในวงแบบมาตรา ๘ (๒) ที่ได้พิจารณาไปแล้วนั้นส่วนหนึ่ง แล้ว ให้ข้อมูลเพิ่มเติมอีกอันหนึ่งว่า ปัจจุบันนี้ถ้าถูกฟ้องเป็นคดีแล้ว หลายหน่วยงาน หลายองค์กร มีการเช็ก ประวัติขึ้น มาปรากฏว่าถูกฟ้อง โอกาสที่จ ะรับเข้าทางานน้อย เพราะอะไร เข้าไปทางานโดยเฉพาะเอกชน สามารถที่จะไปบังคับคดีได้ บริษัทนายจ้างที่เป็นเอกชนไม่รับ อันนี้มั่นใจว่าตรวจสอบ กับอีกในกรณีที่อาจจะ ไปสมัครเรียน บยส. หน่วยงานของศาลยุติธรรม ตอนนี้ใครถูกฟ้องคดีแพ่งไม่ให้เรียนแล้วปรับออกไปเลย อันนี้ คือสิ่งที่จะตามมา ดังนั้นแล้วคิดว่าการที่จะเปิดช่องเล็ก ๆ น้อย ๆ คงไม่ทาให้ความยุติธรรมในการที่จะคุ้มครอง ลูกหนี้ต้องเสียไป เพราะว่าก็มีการเปิดช่องไว้ในมาตรา ๘ (๒) ระดับหนึ่งแล้ว ตรงนั้นสามารถจากัดได้ระดับ หนึ่ง มาตรา ๘ (๒) ก็ยกเว้นไว้อยู่ แล้ว๑๙๔ และเชื่อว่าการเจรจาไกล่เกลี่ยก่อนที่จะมีการกระทาตรงนี้เป็น เรื่องของก่อนฟ้องคดี ถ้ากาหนดไว้ในมาตรา ๘ (๒) ซึ่งก็ยกเว้นให้อยู่แล้ว เชื่อว่าเจ้าหนี้ก็สามารถใช้ช่องนี้ที่จะ ติดต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับลูกหนี้ได้ แต่ถ้าไปเพิ่มอีกมาตราหนึ่งโดยที่เป็นการห้ามกระทาในเรื่องอื่น แต่พอมีตรงนี้ เปิดช่องขึ้นมา ไม่แน่ใจว่าจะเป็นช่องทางอะไรหรือเปล่าที่จะทาให้มีช่องให้เจ้าหนี้ไปดาเนินการ เพราะอ้างว่านี่ เป็นการใช้สิทธิที่จะดาเนินคดีหรือเปล่า มาตรา ๘ (๒) ซึ่งมี การเติ มมาแล้ ว ๑๙๕ และพอมาดูในมาตรา ๑๑ (๓) ว่าความไม่ รับ กัน ถ้าดูให้ ดี เพราะว่าไปขยายในมาตรา ๘ (๒) แต่พอถึงมาตรา ๑๑ (๓) ไม่ได้ขยายรับ ก็เลยสวนกันอยู่ เพราะฉะนั้นใน (๓) น่าจะต้องให้ล้อไปกับตัวมาตรา ๘ (๒) หมายความว่าภายใต้บังคับของมาตรา ๘ (๒) คล้าย ๆ อย่างนั้น คือต้อง ไปด้วยกัน ต้องแปลอย่างนั้น ก็ต้องไปเขียนขยายว่าภายใต้บังคับของมาตรา ๘ (๒) ให้ทาอย่างนี้ก็จบไม่ต้องไป เติมวรรคท้าย คือทาได้อยู่แล้ว๑๙๖ แต่ต้องเป็นการเริ่มติดต่อโดยใช้ช่องทางมาตรา ๘ (๒) ก่อนว่าอยากจะทราบที่อยู่ แล้วก็คนที่อยู่ในบ้านก็ช่วยถามว่าขอทราบที่อยู่เพื่ออะไร ถึงจะบอกข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นหนี้ได้ แปลความ ๑๙๓ ๑๙๔ ๑๙๕ ๑๙๖

มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๙ นางนฤมล เมฆบริสุทธิ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๒๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๙ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๒๑ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗


๖๘ หมายถึงว่าเป็นกรณีเฉพาะอย่างที่บอกว่าตอนแรกยังเสนอว่า (๓) จะเขียนเพิ่มมาให้ชัดเจน ทั้งนี้ ภายใต้บังคับ มาตรา ๘ (๒) ซึ่งแปลได้อยู่แล้วว่ามีกฎเกณฑ์ที่เฉพาะอันนั้นกระทาได้ ไม่อย่างนั้นจะไปแปลในลักษณะที่ว่าอัน นั้นใช้ไม่ได้ เพราะกรณีมาตรา ๘ (๒) เป็นกรณีเฉพาะที่ดาเนินการต้องอยู่ในกรอบเงื่อนไขก่อน หลักการของมาตรานี้คือว่าอย่าไปติดต่อกับคนอื่น ๑๙๗เพื่อทุกท่านต้องทาคือไม่ได้ไปทวงถามหนี้กับ บุคคลอื่น แต่ไปติดต่อบุคคลอื่น ถามว่าลูกหนี้อยู่ไหน จุดประสงค์คือป้องกันไม่ให้บุคคลอื่นได้รับรู้ว่าเป็นหนี้ เหมือนกับกลายเป็น ว่าเกิดความเสียหายแก้ลูกหนี้ เพราะฉะนั้นบอกอยู่แล้วตอนท้ายว่าห้ ามผู้ทวงถามหนี้ ติดต่อกับบุคคลอื่นเพื่อการทวงถามหนี้ คือไม่ได้หมายถึงว่าไปทวงถามหนี้ แต่ไปติดต่อเพื่อจะสอบถาม หรือ คล้าย ๆ ว่าหนี้ไม่ยอมชาระช่วยไปชาระให้หน่อย แต่ไม่ได้มาทวงถามหนี้กับบุคคลอื่น เพราะว่าจะไปทวงถาม หนี้กับคนอื่นซึ่งลูกหนี้ไม่ได้มอบหมายคงเป็นไปไม่ได้อยู่แล้ว คือไม่ได้เกี่ยวข้องกับลูกหนี้อย่างใด ถึงแม้จะเป็น ญาติเป็นอะไร ไม่ได้หมายถึงไปทวงถามหนี้เขา ซึ่งอย่างที่บอกว่าจะติดต่อกลับมา จะได้สอดคล้องกันทั้งมาตรา ถ้าบอกทาการทวงถามหนี้ เพื่อการทวงถามหนี้อีกที แต่ว่ากรอบของมาตรานี้คือป้องกันว่าคุณจะไป ติดต่อ เพื่อจุดประสงค์ในการทวงถามหนี้ แต่ไม่ได้แจ้งเป็นหนี้เป็นอะไรก็แล้วแต่ แต่คุณมีจุดประสงค์ เพื่อให้ สามารถทวงถามหนี้ได้ ความหมายกว้างคือเป็นการติดต่อ แต่ว่าติดต่อเพื่อการทวงถามหนี้จะไปทาไม่ได้ แล้วก็ มามีข้อยกเว้นว่าติดต่อเพื่อถามหนี้ทาได้เฉพาะ สอบถามที่อยู่เท่านั้นแล้วก็ยังห้ามอีกว่าแล้วคุณห้ามไปแจ้งว่า เป็นหนี้ แต่ว่าจุดประสงค์ของการที่ไปติดต่อบุคคลอื่นตัวเจ้าหนี้คือเพื่อที่จะประโยชน์ในการที่จะได้สามารถไป ทวงถามหนี้ได้ เพราะฉะนั้นจะไปใช้กิริยาว่าห้ามผู้ทวงถามหนี้ทาการทวงถามหนี้พอทวงถามหนี้ก็ต้อง หมายถึง ว่าไปดาเนินการทวงว่าให้บุคคลนั้น ดาเนินการไปบังคับให้ลูกหนี้ชาระหรือให้บุคคลนั้น ชาระให้แทน ซึ่งไม่ใช่ หมายถึงว่าติดต่อในลักษณะเพื่อที่จะได้สามารถไปติดต่อลูกหนี้ได้สิ่งนั้น ก็คือติดต่อเพื่อประโยชน์ในการทวง ถามหนี้ เพราะฉะนั้นตรงนี้ไม่ใช่เป็นการทาการทวงถามหนี้ แต่เป็นการติดต่อแล้วในวรรคสองก็บอกว่ายกเว้น ได้เฉพาะติดต่อเรื่องพวกนี้ทาได้ ห้ามแจ้งถึงความเป็นหนี้ คือลักษณะการติดต่อส่วนใหญ่จะเป็นการติดต่อ๑๙๘ เหมือนกับเจ้าหนี้ไปพบลูกหนี้ ถ้าในแนวนโยบาย เดิมของธนาคารแห่งประเทศไทยเท่ าที่เคยอ่าน จะพบว่าเป็นเรื่องของการเรียก Face to Face แต่ถ้าการทวง ถาม ทาได้หลายลักษณะทั้งโทรศัพท์ทั้งเรื่องของการใช้จดหมาย เพราะฉะนั้นคิดว่าถ้านิยามอันนี้เพิ่มเรื่องการ ติดต่อก็น่าจะชัดเจนยิ่งขึ้น เห็นด้วยที่มีการเสนอให้ตัดคาว่า๑๙๙ติดต่อให้เป็นทาการทวงถามหนี้ คืออย่างนี้เหตุผลเนื่องจากตาม ข้ อ เท็ จ จริ งในการประกอบวิช าชี พ ทนายความจ าเป็ น ต้ อ งมี ก ารติ ด ต่ อ ไปยั งบางหน่ ว ยงาน เพื่ อ แสวงหา ข้อเท็จจริง โดยเฉพาะเรื่องที่อยู่ของลูกหนี้เพื่อมาดาเนินการตามกฎหมายคือการทวงถาม แล้วก็การฟ้องร้อง ต่อไปนั่ นเป็ น ขั้นตอนในการดาเนิ น งาน ทีนี้ ถ้ากฎหมายไปใช้คาว่า “ห้ ามผู้ ทวงถามหนี้ติดต่อ ” ผู้ประกอบ วิชาชีพทนายความก็ไม่สามารถจะไปติดต่อหน่วยงานราชการ เพื่อขอเอกสารหรือว่าหลักฐานที่อยู่ของลูกหนี้ได้ นั้น ส่วนหนึ่ ง ทีนี้ การห้ ามผู้ทวงถามหนี้ ทาการทวงถามหนี้กับบุคคลอื่นตามที่มีการเสนอแก้ไขมา คิดว่าจะ ถูกต้องแล้ว แล้วก็ในวรรคสองก็บอกอยู่แล้วว่าการติดต่อกับบุคคลอื่น นอกจากตามวรรคหนึ่งให้กระทาได้ตาม วัตถุประสงค์ในการสอบถาม ยืนยันข้อมูล จะสอดคล้องกัน ๑๙๗ ๑๙๘ ๑๙๙

มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๒๒ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๒๓ นางนฤมล เมฆบริสุทธิ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๒๔ นายวิเชียร ชุบไธสง กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๗


๖๙ ทาได้อยู่แล้วตามวรรคสอง๒๐๐แต่ห้ามที่จะไปแจ้งกับหัวหน้าหน่วยงานของตัวลูกหนี้ว่าเป็นหนี้อยู่ขอ ทราบที่อยู่ไม่ได้ เพราะยกเว้น เฉพาะใน (๒) ได้ถึงเฉพาะกรณีที่เป็นบุคคลในครอบครัวเท่านั้นที่จะบอกได้ เพราะไม่อย่างนั้น จะกลายเป็นว่าความในวรรคหนึ่งกับวรรคสองขัดกันทันที มองว่าพอในวรรคสองบอกการ ติดต่อ บุคคลอื่นไม่ได้พูดถึงเรื่องการทวงถามหนี้เลย เพราะนั้นจะไปด้วยกันได้วรรคหนึ่งก็ต้องเริ่มต้นด้วยการ ติดต่อพอวรรคสองก็ติดต่อได้ แต่ว่าจะต้องอยู่ภายในใต้เงื่อนไข ๑ – ๔ เพราะฉะนั้น ติดต่อหน่วยงานของรัฐที่ เป็นหัวหน้าหน่วยงานเจ้าของลูกหนี้สามารถทาได้อยู่แล้ว แต่จะไปบอกว่าเป็นลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งต้องการลูกหนี้ ๒) ข้อสังเกตของผู้เขียน : เป็นการบัญญัติของกฎหมายที่บังคับเด็ดขาดว่าต้องทวงถามหนี้กับลูกหนี้ หรือบุคคลที่ลูกหนี้มอบหมายซึ่งก็ต้องมีหนังสือยืนยันเท่านั้น หากผิดจากนี้แล้วผู้ทวงถามมีความผิดจะได้รับ โทษทางอาญาตามมาตรา ๓๙ มาตรา ๙ การทวงถามหนี้ ให้ผู้ทวงถามหนี้ปฏิบัติดังต่อไปนี้ (๑) สถานที่ติดต่อ ในกรณีที่ติดต่อโดยบุคคลหรือทางไปรษณีย์ ให้ติดต่อตามสถานที่ที่ลูกหนี้ หรือ บุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ได้แจ้งให้เป็นสถานที่ติดต่อ ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวไม่ได้แจ้ง ไว้ล่วงหน้า หรือสถานที่ที่ได้แจ้งไว้ไม่สามารถติดต่อได้ โดยผู้ทวงถามหนี้ได้พยายามติดต่อตามสมควรแล้ว ให้ติดต่อตามภูมิลาเนา ถิ่นที่อยู่ หรือสถานที่ทางานของบุคคลดังกล่าว หรือสถานที่อื่นตามที่คณะกรรมการ ประกาศกาหนด (๒) เวลาในการติ ด ต่ อ การติ ด ต่ อ โดยบุ ค คล โทรศั พ ท์ สื่ อ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ หรื อ สื่ อ เทคโนโลยี สารสนเทศประเภทอื่น ในวันจันทร์ถึงวันศุกร์ ให้ติดต่อได้ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ นาฬิกา ถึงเวลา ๒๐.๐๐ นาฬิกา และในวันหยุดราชการ เวลา ๐๘.๐๐ นาฬิกา ถึงเวลา ๑๘.๐๐ นาฬิกา หากไม่สามารถติดต่อตาม เวลาดังกล่าวได้ หรือช่วงเวลาดังกล่าวไม่เหมาะสม ให้ติดต่อได้ในช่วงเวลาอื่นตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกาหนด (๓) จ านวนครั้ ง ที่ ติ ด ต่ อ ในช่ ว งเวลาตาม (๒) ให้ ติ ด ต่ อ ตามจ านวนครั้ ง ที่ เ หมาะสม และ คณะกรรมการอาจประกาศกาหนดจานวนครั้งด้วยก็ได้ (๔) ในกรณีที่เป็นผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ ผู้รับมอบอานาจช่วงในการทวงถามหนี้ ผู้ประกอบ ธุรกิจทวงถามหนี้ หรือผู้รับมอบอานาจจากผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ให้ผู้ทวงถามหนี้แจ้งให้ทราบถึงชื่อ ตัวและชื่อสกุล หรือชื่อหน่วยงานของตนและของเจ้าหนี้ และจานวนหนี้ และถ้าผู้รับมอบอานาจดังกล่าว ทวงถามหนี้ต่อหน้า ให้แสดงหลักฐานการมอบอานาจให้ทวงถามหนี้ด้วย

คาอธิบาย ข้อควรปฏิบัติในการทวงถามหนี้ มีดังนี้ (๑) สถานที่ติดต่อ ให้ติดต่อตามสถานที่ที่ลูกหนี้แจ้งไว้ (๒) เวลาในการติดต่อทางการสื่อสาร ในวันจันทร์ -ศุกร์ เวลา ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. วันหยุดราชการ เวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น. (๓) จานวนครั้งที่ติดต่อให้เหมาะสม (๔) ผู้รับมอบอานาจ ผู้รับมอบอานาจช่วง ให้แจ้งชื่อนามสกุล หน่วยงานและจานวนหนี้ และแสดง หนังสือมอบอานาจให้ทวงถาม

๒๐๐

มาตรา ๘ วรรคสอง ข้อสังเกต ๒๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๐๗


๗๐

ข้อสังเกต กาหนดวิธีการปฎิบัติการทวงถามหนี้ให้ผู้ทวงถามหนี้ปฏิบัติในเรื่องสถานที่ติดต่อ เวลาในการติดต่อ จานวนครั้งในการติดต่อ รวมทั้งการเป็นผู้รับมอบอานาจในการทวงถามหนี้ในกรณีต่าง ๆ ต้องแสดงหลักฐาน การมอบอานาจให้ทวงถามหนี้ด้วย วิธีการทวงถามหนี้นั้นก็จะมีวิธีปฏิบัติและข้อห้ามที่ปรากฏจะมีรายละเอียดในเรื่องของข้อห้ามในการที่ จะติดต่อ๒๐๑หรือว่าให้ติดต่อกับใครได้บ้าง แล้วก็สถานที่ที่จะติดต่อ วิธีการติดต่อ ช่วงเวลา และจานวนครั้งที่ ติดต่อ แล้วก็วิธีการต่าง ๆ ที่จะติดต่อ เห็นว่าหลักเกณฑ์ในส่วนนี้นั้นก็สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่ง ประเทศไทย เพราะมีผู้แทนของธนาคารแห่งประเทศไทยได้มาร่วมพิจารณาตั้งแต่ต้นจนเสร็จสิ้น เพราะฉะนั้น หลักเกณฑ์นั้น ก็สอดคล้องกัน ข้อสังเกต มาตรา ๙ (๑) การติ ด ต่ อ สถานที่ ที่ ลู ก หนี้ แ จ้ งอาจจะไม่ ได้ แ จ้งภู มิ ล าเนาที่ แท้ จ ริง ๒๐๒แล้ ว ก็ ย้ ายไปแล้ ว ไม่ ได้ อ ยู่ เพราะฉะนั้นตามกฎหมายก็สามารถทวงไปที่ภูมิลาเนาตามทะเบียนราษฎร์ได้ ซึ่งเวลาไปฟ้องก็จะเห็นชัดว่าได้ ทวงถามถูกต้องแล้ว เพราะฉะนั้นไปทวงที่แจ้งแต่ไม่ได้ทวงภูมิลาเนา ศาลอาจจะไม่รับฟัง เพราะฉะนั้นก็ต้อง เพิ่มว่า “ติดต่อสถานที่ที่เป็นภูมิลาเนาของลูกหนี้หรือสถานที่ที่ลูกหนี้ได้แจ้งไว้” เพิ่มเท่านั้น เห็นด้วยกับเรื่องภูมิลาเนา๒๐๓แต่ให้ไปทวงหนี้ที่ทางานยังไม่ค่อยสนิทใจ คืออย่างนี้ที่ทางานคล้ายกับ จะมีคนที่ไปรู้เห็น มีโอกาสจะมารู้เห็นเรื่องของเขาได้ แล้วก็ไม่ค่อยแน่ใจนักว่ าจะเหมาะสมไหม แล้วก็มีความ จาเป็นอย่างไรที่จะไปทวงที่ทางาน หรือสะดวกกว่า หรืออย่างไร ทางฝ่ า ยผู้ ให้ สิ น เชื่ อ พวกธนาคารแล้ ว ก็ ผู้ ให้ เช่ า ซื้ อ ๒๐๔ ที่ ส ะท้ อ นความคิ ด เห็ น มาว่ า จะประกาศ หนังสือพิมพ์ เดี๋ยวจะเจอข้อห้าม ก่อนที่จะไปทวงหนี้ตามที่ระบุไว้ ภูมิลาเนาก็ดี อะไรก็ดี ไม่ได้แล้ว ก่อนฟ้อง ต้อ งไปประกาศหนั งสื อ พิ ม พ์ จ ะผิ ด ตามนี้ ไหม เลยอยากจะให้ ยกเว้น ในกรณี ป ระกาศหนั งสื อ พิ ม พ์ เพื่ อ ไป ดาเนินคดี นี่สะท้อนจากการรับฟังจากฝ่ายเจ้าหนี้ คืออย่ างนี้๒๐๕การทวงถามหนี้ ไม่ได้หมายความว่าคนทวงถามหนี้จะไปพบลูกหนี้ที่ทางาน ตามร่าง พระราชบัญญัติตัวนี้ทาได้หลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการส่งจดหมายก็ถือว่าเป็นการทวงหนี้ ทีนี้ตอนที่ในขณะที่ทา สินเชื่อต่าง ๆ จะให้สิทธิลูกหนี้ จะให้ที่อยู่สถานที่ติดต่อ ส่วนใหญ่ให้ติดต่อไปที่ทางาน เพราะว่าลูกหนี้ส่วนใหญ่ จะเป็นคนที่มีเงินเดือน มีอะไร แล้วมีภูมิลาเนาอยู่ต่างจังหวัดเป็ นส่วนใหญ่ แล้วก็มาทางานที่กรุงเทพฯ และ ปริมณฑล ในการกรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหนี้ติดต่อสถานที่จะติดต่อทวงถาม แน่นอนต้องให้ส่งที่ทางานเพื่อความ สะดวกในการที่จะชาระหนี้ หรือในการติดต่อประสานงานกัน การที่ถ้าไปห้ามว่าไม่ให้ติดต่อที่ทางานปัญหา มากมายที่จะตามมา เจ้าหนี้ไม่สามารถที่จะส่งจดหมายไปที่ทางานได้เลย ส่วนการโทรศัพท์ก็เป็นอีกวิธีหนึ่ง แต่ ในเรื่องการส่ งทางโทรศัพ ท์ก็จ ะมีเรื่องความถี่ มีพฤติการณ์ ในการที่จะควบคุมอยู่แล้ ว และตรงนี้ฝ ากท่ าน พิจารณา

๒๐๑ ๒๐๒ ๒๐๓ ๒๐๔ ๒๐๕

มาตรา ๙ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๒ นายสงคราม สกุลพรหมณ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๓ นายเข็มชัย ชุติวงศ์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๐๑ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๔


๗๑ สถานที่ที่ดีที่สุดคือที่ลูกหนี้เจาะจงไว้๒๐๖คือแต่ละคนก็จะมีที่เขาสบายใจที่จะให้ไปทวงถาม ซึ่งจะเป็นที่ ไหนก็ได้ ถ้าเป็นที่ทางานก็ได้ถ้าระบุไว้ อันนี้ชัดเจน ต่อเมื่ออันนี้ไม่ได้ถึงจะไปที่กรรมการประกาศกาหนด ซึ่งถ้า ไม่ประกาศกาหนดก็มีที่เดียว ทีนี้เมื่อพิจารณาแล้วคิดว่าภูมิลาเนาแม้จะไม่ได้ กาหนด ไม่แน่ใจว่าจะต้องเป็น Second Priority หรือเปล่า คือว่าต้องทวงยังที่ที่ระบุก่อน ถ้าไม่ได้ถึงไปภูมิลาเนา เพราะภูมิลาเนาที่จะให้โดย ไม่ต้องการความสมัครใจของเขา เพราะว่าในทางติดต่อไม่ว่าจะเป็นเรื่องคดีความศาล หรือแม้แต่ทางราชการก็ ใช้ภูมิ ลาเนาเป็ น หลัก เพราะฉะนั้ น ไม่น่าจะกระทบกระเทือนสิทธิส่ วนตัวอะไรของลู กหนี้มากนัก ในการที่ อนุญาตให้ติดต่อภูมิลาเนาเท่านั้นเอง ถ้าเผื่อว่าระบุที่ทางานเป็นที่ให้ติดต่ออันนี้สบายไม่มีปัญหา แต่ถ้าไม่ระบุ นี่สิ อาจจะไม่อยากให้ไปที่ทางาน จริง ๆ แล้วในเอกสารสัญญากู้ยืมเงินหรือสัญญาต่าง ๆ๒๐๗ที่ทาเท่าที่เห็นก็จะครอบคลุมทั้งสถานที่ที่ อยู่ปัจจุบัน ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน แล้วก็สถานที่ทางาน เพราะลูกหนี้ทุกคนต้องลงประวัติ ยังไม่ถามอยู่อย่าง เดียวก็คือว่าพี่น้ องเป็ น ใครเท่านั้น เอง นอกนั้นต้องลงทั้งหมด แล้วบางทีเคยทาอาชีพอะไรมาก็ต้องลงด้วย เพราะฉะนั้นเชื่อว่าสถานที่ที่ลูกหนี้ระบุไว้เพียงพอหรือ ยังที่เจ้าหนี้จะตามหนี้ได้ แล้วถ้าเกิดมากกว่านั้นตามที่ ประกาศกาหนดในกฎกระทรวง จะเป็นที่ไหนที่เหมาะสม เพราะถ้าไปที่ทางานลูกหนี้บอกว่าที่ทางานไม่สะดวก เลย เพราะเป็นสถานที่สาธารณะ อย่างเช่นเป็นประชาสัมพันธ์จะไปยืนทวงหนี้ตรงประชาสัมพันธ์ก็กระไรอยู่ อันนี้จะมีวิธีการพบปะกับลูกหนี้แบบนี้อย่างไร ซึ่งอันนี้ก็มีกรอบของกฎหมายกาหนดอยู่ ถึงถามว่าถ้าเป็นใน ฐานะเจ้าหนี้ สิ่งที่รายงานไว้ในประวัติของการกู้ยืมเงิน หรือการไปทาธุรกรรมทางการเงินครบหรือยัง เชื่อว่า สถานที่ประเภทนี้ยอมให้คุณเข้าไปดาเนินการได้แน่นอน ต้องหลังจากติดต่อยังที่ระบุไว้ไม่ได้ก่อนหรือเปล่า ๒๐๘อย่างนั้นใช่ไหม เพราะว่าหลัก ๆ คือต้องเอาที่ ระบุส บายใจที่จะให้ติดต่อก่อน ถ้าไม่ได้ถึงไปภูมิ ลาเนา ถ้าภูมิ ลาเนาไม่ได้คราวนี้ถึงจะไปสถานที่อื่นตามที่ กรรมการประกาศกาหนด อะไรพวกนี้ คือประเด็นว่าถ้าทางที่ประชุมต้องการให้มีภูมิลาเนาแน่นอน ๒๐๙แต่ต้องเป็นลาดับที่ ๒ ก็ต้องเขียน ทานองนี้ ส่วนคณะกรรมการก็อาจจะไปกาหนดสถานที่อื่น คณะกรรมการก็ไปกาหนดได้ แต่คณะกรรมการจะ มากาหนดว่าห้ามติดต่อภูมิลาเนาอะไรอย่างนี้ไม่ได้แล้ว เพราะว่ากฎหมายกาหนดแล้วว่าสามารถติดต่อเป็น สถานที่ ๒ ได้แล้ว ส่วนสถานที่ ๓ ๔ ๕ คณะกรรมการสามารถไปกาหนดเพิ่มเติมได้ จะเป็นสิทธิของเจ้าหนี้แล้ว ที่จะติดต่อเป็นลาดับที่ ๒ เพื่อให้เข้าใจหลักการตรงกัน กรณีนี้ถ้าคณะกรรมการกาหนดสถานที่ ๓ ที่ ๔ ที่ ๕ ที่เป็นภูมิลาเนากับ ๓ ๔ ๕ เป็ นสิทธิของเจ้าหนี้ที่จะเลือกไม่ได้ หมายความว่าพอติดต่ออันดับ ๑ ไม่ได้แล้วจะต้องมาภูมิลาเนา เสมอไป ไม่ใช่ ถ้าเขียนอย่างนี้ เป็นตัวเลือกของเจ้าหนี้ว่าไม่จาเป็นต้องมาที่ภูมิลาเนาก็ได้ เขามีสิทธิไปสถานที่ อื่นได้เลย ไม่ได้หมายความว่าถูกบังคับว่าที่ ๑ ไม่ได้แล้วต้องมาภูมิลาเนาก่อน พอภูมิลาเนาไม่ได้ค่อยไปที่ ที่ คณะกรรมการกาหนด อันนี้เรียนให้เข้าใจหลักการตรงกัน ขอข้อมูลเพิ่มเติมใน (๑) สถานที่ติดต่อ๒๑๐ในกรณีที่พยายามอย่างอื่นไปหมดแล้วก็ให้ติดต่อที่ภูมิลาเนา ในการฟังความคิดเห็นนี้มีการพูดถึงเรื่องของสถานประกอบการไหม เพราะเดี๋ยวนี้มีผู้ที่ประกอบการอยู่ทั้งใน เล็กและใหญ่ในศูนย์การค้ า ในช้อปปิ้งมอลล์ ในแผงต่าง ๆ และบางที หนี้เกิดตรงนั้น ไปส่งของตรงนั้น ไป ๒๐๖ ๒๐๗ ๒๐๘ ๒๐๙ ๒๑๐

มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๗ นางนฤมล เมฆบริสุทธิ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๐


๗๒ ติดต่อตรงนั้น และอย่างนี้ตรงนั้นไม่ใช่ภูมิลาเนาตรงนั้นยังครอบคลุมไม่ถึง ไม่ทราบว่าเวลาที่ไปฟังความคิดเห็น ตรงนี้รวมถึงตรงนี้ด้วยหรือเปล่า และควรจะเพิ่มหรือควรจะมีอย่างไรบ้างหรือไม่ ขอความชัดเจนตรงนี้ ประเด็นเรื่องนี้เพิ่ม๒๑๑ภูมิลาเนา เพราะว่าเดิมถือสถานที่ที่แจ้ง ถ้าแจ้งที่ไหนก็ทวงที่นั่นได้ สถานที่ไม่ แจ้งนี่บางครั้งย้ายไปทางานที่บริษัท เอ เดิมแจ้งให้ทวงที่ เอ แต่ย้ายไปที่ บี แต่ไม่ได้แจ้งให้ทวงที่ บี จะอย่างไร ก็ตามยังทวงไม่ได้ ถ้าทวงที่ เอ ไม่ได้ก็ต้องไปทวงที่ภูมลิ าเนาหรือตามที่ประกาศกาหนด ในเรื่องของหลักเกณฑ์แล้วก็วิธีการรวมไปถึงข้อห้ามในการทวงถามหนี้๒๑๒ หลักของร่างพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ก็คือว่าการทวงถามหนี้นี้ถ้าจะทวงหนี้ต้องทวงกับคนที่เป็นลูกหนี้หรือบุคคลที่ลูกหนี้ได้ระบุไว้เท่านั้นจะ ไปทวงกับบุคคลอื่นบุคคลที่สามนี้ไม่ได้ เพราะว่าจะมีผลเป็นการเปิดเผยความเป็นหนี้ของลูกหนี้ เพราะนั้นการ ที่ผู้ทวงถามหนี้จะไปติดต่อกับบุคคลที่สามที่ไม่ใช่ลูกหนี้หรือบุคคลที่ลูกหนี้มอบหมายไว้จะทาได้แต่เพียงอย่าง เดีย วคือสอบถาม สถานที่ติดต่อของลูกหนี้เท่านั้นจะไปทวงหนี้ไม่ได้ ทีนี้ถ้าผู้ทวงถามหนี้จะไปทวงถามหนี้ กฎหมายฉบับนี้ก็กาหนดหลักเกณฑ์ไว้ว่าจะต้องติดต่อไปยังสถานที่ที่ลูกหนี้ได้แจ้งไว้ มีช่วงเวลาในการติดต่อ กาหนดช่วงเวลาในการติดต่อไว้ก็คือ ๐๙.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. แล้วก็ในการที่จะไปทวงถามหนี้จะต้องมีการแสดง ตนแจ้งว่ารับมอบอานาจมาจากเจ้าหนี้รายใดแล้วก็มีจานวนหนี้เท่าไรที่จะมาทวงถามหนี้ รวมไปถึงกรณีที่หาก ไปทวงถามแล้วจะมีการรับ ชาระหนี้เลยจะต้องแสดงหลักฐานการรับมอบอานาจว่าถ้าลูกหนี้ ชาระหนี้ตัวเองมี สิ ท ธิที่ จ ะได้รับ ช าระหนี้ แทนลู ก หนี้ แ ล้ ว ก็ต้ องออกหลั กฐาน ใบเสร็จรับ เงินให้ กั บลู กหนี้ อัน นี้ ก็จะเป็ น การ คุ้มครองว่าเมื่อลูกหนี้ชาระหนี้นี้แล้วก็สามารถที่จะนาไปหักหนี้ได้จริงอันนี้คือหลักเกณฑ์ในการทวงถามหนี้ ร่าง กฎหมายฉบับนี้ได้กาหนดข้อห้ามในการทวงถามหนี้ไว้ ๓ ลักษณะ ก็คือ ๑. การทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เหมาะสมก็อย่างเช่น กรณีการข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ใช้วาจาหรือ ภาษาที่เป็นการดูหมิ่นเสียดสีลูกหนี้ การเปิดเผยความเป็นหนี้ เช่น การทวงหนี้โดยส่งไปรษณียบัตรซึ่งมีการเปิด ให้บุคคลอื่นเห็นได้ว่าเป็นการทวงถามหนี้แล้วก็อาจจะมีผลกระทบต่อตัวลูกหนี้แล้วก็รวมไปถึงการทวงถามหนี้ ในลักษณะอื่น ๆ ที่คณะกรรมการสามารถที่จะกาหนดเพิ่มเติมได้ ๒. กรณีการทวงถามหนี้ในลักษณะที่เป็นเท็จก็คือการแอบอ้างว่าตัวเองมาจากหน่วยงานของรัฐมาจาก ศาลมาจากทนายความหรือมาจากบริษัทข้อมูลเครดิตมาหลอกลวงทั้ง ๆ ที่ตนเองไม่ได้มีสถานะเช่นนั้น อันนี้ก็ เป็นข้อห้ามเพราะว่าเป็นการทวงถามในลักษณะที่เป็นเท็จ ๓. การทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เป็นธรรม กรณีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการทวงถามหนี้เกิน กว่าที่กฎหมายกาหนดโดยจะมีประกาศคณะกรรมการกาหนดออกมา รวมไปถึงการเสนอหรือจูงใจให้ลูกหนี้ ออกเช็คเพื่อที่จะไปใช้ดาเนินการในทางอาญา เสนอให้ลูกหนี้ออกเช็คทั้ง ๆ ที่รู้ว่าลูกหนี้ไม่สามารถที่จะชาระ หนี้ตามเช็คนั้นได้ก็จะมีประเด็นในเรื่องของโทษอาญาตามมา ก็จะเป็นการในลักษณะที่หลอกลวงให้ออกเช็ค ต้องแยกกันระหว่างอะไรคือหนี้ ๒๑๓กฎหมายฉบับนี้ไม่ไปแตะเรื่องการที่ลูกหนี้ต้องชาระหนี้กับเจ้าหนี้ มี ห นี้ ๖ ประเภท ในสิ น เชื่ อ คื อ ๑. ให้ กู้ ยื ม เงิน ๒. ให้ บ ริก ารบั ต รเครดิ ต ๓. ให้ เช่ า ซื้ อ ๔. Reaching ๕. Factoring แล้วก็ ๖. รูปแบบอื่นที่จะกาหนดในกฎกระทรวง แปลว่าถ้าไม่ได้อยู่ใน ๖ แบบนี้ ก็ไม่เกี่ยว ทีนี้หนี้ก็ มีหนี้ ในระบบ นอกระบบ กฎหมายฉบั บนี้ ไม่เกี่ยวกับมูลหนี้ กฎหมายฉบับนี้เกี่ยวกับวิธีไปทวงถามหนี้ข อง เจ้ าหนี้ หรือผู้ซึ่งเจ้าหนี้ มอบมา ซึ่งมักจะใช้วิธีการที่กลัวว่าจะ In humane ไม่มีมนุษยธรรม บอกไปขู่บ้าง กรรโชกบ้าง ความจริงมีฎีกาอีกอันหนึ่ง สมัยปี ๑๒ ผู้ให้เช่าบ้านและผู้เช่าเข้าไปเช่าแล้วไม่ยอมจ่ายค่าเช่า ผู้ให้ เช่าก็เลยเป็น บ้านแบบโบราณ ผู้ให้ เช่าก็เลยเอาไม้ไปตี กากบาท ไม่ให้เข้า คดีเป็นศาลฎีกา ศาลฎีกาโดยที่ ๒๑๑ ๒๑๒ ๒๑๓

มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๑๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๓ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๑๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๖๕


๗๓ ประชุมใหญ่ปี ๒๕๑๒ บอกว่าหนี้เป็นบุกรุก เจ้าหน้าทาผู้ให้เช่าเจ้าของทรัพย์ บุกรุกเข้าไปในความครอบครอง ของผู้หญิง ซึ่งเป็นความผิดฐานบุกรุก เพราะฉะนั้นกฎหมายฉบับนี้ต้องเข้าใจตรงกันก่อนว่าไม่ได้ไปแตะจานวน หนี้ แล้วก็ไม่ได้ไปบังคับชาระหนี้ ซึ่งก็ต้องเป็นไปตามกฎหมายไปฟ้องกัน ไปทาตามสัญญาอะไร แต่วิธีการทวง หนี้ว่า ห้ามใช้วาจาข่มขู่ ห้ามทาให้ได้อายอะไรอย่างนี้ ทีนี้พอมาถึงที่พูดกันใน Website ว่าถ้าดูตามร่างนี้อยู่ เฉพาะหนี้ในระบบ คือหนี้ซึ่งแบงก์หรือนิติบุคคลให้กู้ แล้วก็คนที่จดทะเบียน มาตรา ๕ เฉพาะบุคคลผู้ประกอบ ธุรกิจทวงถามหนี้ที่ต้องไปจดทะเบียน ถ้าทนายความเป็นทนายความไปทวงหนี้ธรรมดาไม่ต้องจด เพราะว่า ทนายความประกอบอาชีพทนายความก็ไปทวงหนี้ให้ลูกความเขาจะไปจดทะเบียน เขาไม่ได้ประกอบธุรกิจทวง หนี้ แต่ถ้าทนายความคนนั้นต้องการจะประกอบธุรกิจทวงหนี้ขึ้นป้ายเลย ก็ต้องจดตามมาตรา ๕ ตัวเจ้าหนี้เอง ไปทวงต้องจดไหม ต้องจดให้ชัดถึงหนี้นอกระบบด้วย แขกที่ไปเดินทวงอยู่ในตลาดพาหุรัดอย่างนั้น จะเอาด้วย ใช่ไหม ตอบว่าถ้าจะเอาแล้วกระทรวงการคลังไม่ขัดข้องแค่นี้ไม่พอ บทบัญญัติแค่นี้ไม่พอ เพราะว่า Pettish ที่ เดินทวงหนี้กันมากกว่านี้ เช่น ไปยึดทรัพย์เขามาเลยอย่างนี้ผิดไหม ในกฤษฎีกาบอกว่าไม่ผิดใช่ไหม จะให้ผิด ก็ ต้องให้ผิดถูกไหม อยู่ดี ๆ ไปเอาอานาจรัฐไปใช้เสียเองก็ไปยึดทรัพย์เขามา ซึ่งก็แปลว่าตรงนี้ จะต้องไปคิดอะไร อีกกระทรวงการคลังที่จะต้องเอามาเติมให้ครบถ้วนถ้าคุณขยายไปถึงหนี้นอกระบบด้วย เพราะวันนี้นอกระบบ ไม่สนใจที่จะไปทาเป็นไปรษณีย์ส่ง ไปทวงอีกแบบหนึ่ง ประเภทที่เรียกว่าเห็นแล้วสยองตัดนิ้วยังมีเลยพวกที่ไป เล่นบอลโต๊ะกันนี้ ไม่ให้ใช่ไหม ตัดนิ้ว เพราะฉะนั้นจะขยายกฎหมายฉบับนี้ไปคลุมวิธีทวงหนี้นอกระบบด้ วย ไหม ถ้าคลุมจะต้องเพิ่มบทบัญญัติอะไรอีกบ้าง บทบัญญัติสารพัดเลยที่จะไปรุกรานในสิทธิเสรีภาพของลูกหนี้ เช่น ไปเอาทรัพย์ของลูกหนี้มาใช้โดยพลการ เช่น ไม่ให้เขาเข้าบ้านแล้วศาลฎีกาไทยท่านฎีกาบอกว่าทาสัญญา เช่ากับผู้ให้เช่า ผู้ให้เช่าเขียนสัญญาบอกว่าถ้าไม่ชาระค่าเช่าให้ไปรื้อของออกได้ผู้ให้เช่าก็ไปรื้อขออออก ถามว่า ผิดบุกรุกไหม ท่านบอกไม่ผิดเพราะว่ามีสัญญาอยู่แล้วสัญญาไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน ซึ่งเอา ไปเขียนหนังสือไปสอนหนังสือบอกว่าผิดทาไมจะไม่ผิดก็ในเมื่อเอาอานาจรัฐซึ่งควรจะผูกขาดการใช้กาลังบังคับ ไปให้เจ้าหนี้บังคับได้ของของออกได้เอง ศาลเองยังออกหมายเวลาผู้ให้เช่า ไม่ออกจากบ้าน ศาลแพ่งออกหมาย ได้อย่างมากที่สุดคือออกคาบังคับ ออกบังคับถ้าลูกหนี้ไม่ทาถามก็ให้เจ้าหน้าที่ไปคุมขังลูกหนี้ไว้จนกว่าลูกหนี้ จะยอมไปขนของออกจากบ้าน ศาลมีอานาจแค่นั้นแล้วปรากฏว่าไปตัดสินคดีแล้วบอกว่าผู้ให้เช่าสามารถไปรื้อ ของในห้องเช่า ออกไปวางบนถนนได้แล้วไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยแล้วไม่เป็นความผิด เพราะฉะนั้นนี่คือ ตัวอย่าง ถ้าจะพูดถึงหนี้นอกระบบด้วย ต้องใส่บทบัญญัติอีกว่าห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการดังต่อไปนี้เพิ่มอีก มาก อานาจที่กระทรวงการคลังว่าจะห้ามอะไรบ้าง เพราะถ้าไม่ห้ามแปลว่าทาได้ต่อไปนี้ ขณะนี้บุคคลก็คือพวกที่ทาหน้าที่เป็นแขกปล่อยหนี้เก็บหนี้รายวันรายสัปดาห์รายเดือนรวมถึงหน่วย ราชการทั้งหลาย รัฐวิสาหกิจทั้งหลายโดนถึงขนาดว่านายทุนจะให้กู้ ๑. ทาสัญญากู้ ๒. ไปฟ้องศาลทาสัญญา ยอม มีคาพิพากษาตามยอมพร้อมที่จะอายัดเงินเดือนแล้วถึงจะได้รับเงินกู้ เงินก็ได้ต่ากว่าสัญญา ต่ากว่าคา พิพากษาครึ่งหนึ่งบ้าง หนึ่งในสามบ้าง ตรงนี้ท่านต้องไปช่วยคิดหาทางแก้ด้วย เพราะตอนนี้ไปถึงขนาดว่าเอา ศาลเป็นเครื่องมือในการฟ้องและจายอมเขาคาพิพากษา พร้อมที่จะอายัดเงินเดือนได้ต ลอดเวลาตรงนี้จะมี มาตรการแก้ไขปัญหาอย่างไร๒๑๔ ทาหน้าที่มาตลอดระยะเวลา ๕ ปี๒๑๕ก็พบกับเรื่องปัญหาการจัดการทวงถามหนี้มาโดยตลอดแล้วก็ไม่ เคยได้ลดลงเลย ทั้ง ๆ ที่บางเรื่องมีหน่วยงานที่รองรับอยู่แล้ว ในเรื่องของหนี้นอกระบบหนี้ในระบบ อย่างเช่น ๒๑๔ ๒๑๕

มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๑๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๗๐ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๑๕ นางนฤมล เมฆบริสุทธิ์ องค์การคุ้มครองผู้บริโภค มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค กรรมาธิการ รายงานการประชุม คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗


๗๔ เรื่องสถาบั น การเงิน หรื ออะไรก็แล้ วแต่ เชื่อว่าธนาคารแห่ งประเทศไทยหรืออะไรเขาก็ กากับ ดูแลอยู่แล้ ว เพียงแต่ว่าทุกวันนี้การติดตามทวงถามหนี้ทั้งในระบบและนอกระบบก็ยังไม่ได้ลดลงมากมายนัก เชื่อว่าวิธีการ ของเขาเปลี่ยนไปเรื่อยตามเวลาที่มีออกกฎหมายกรอบบังคับเขาก็จะใช้ช่องของกฎหมายหรือว่า หลีกเลี่ยง กฎหมายออกไปทา อย่างเช่นหนี้ในระบบหนี้นอกระบบบางทีบอกว่าจะต้องเป็นคนที่ฝ่ายกู้ บุคคลทั่วไปหรือ ต้องมีสัญญาปรากฏว่าปัจจุบันนี้ไม่ได้มีแบบนั้นเลย มีในลักษณะที่ใช้วิธียึดสมุดบัญชีเลย ยึด ATM เลยเพื่อกด เงินเอาคืนเลยคิดอัตราดอกเบี้ย ผิดกฎหมายแน่นอนอยู่แล้ว แต่ว่าถูกผลักออกไปนอกระบบเนื่องจากว่าหนี้ใน ระบบบางทีมีปัญหาตรงที่ว่าบางคนมีหนี้เต็มแล้วไม่สามารถจะดาเนินการกู้ได้อีกแล้ว ตัวเองหมุนเงินไม่ได้ก็จะ ไปใช้วิธีเอาหนี้จากนอกระบบ อันนี้ก็เป็นวิธีการที่มองว่านอกจากเรื่องของการติดตามทวงถามหนี้แล้ว น่าจะมี กรอบของการไปดูแลลูกหนี้ด้วยอย่างอื่นด้วยหรือไม่ เพราะว่าประเด็นที่ร้องเรียนเข้ามาในมูลนิธิมีหลายวิธีการ มากปลอมเป็นเจ้าหน้าที่ ปลอมเป็นบุคลากรหรือหน่วยงานของศาล หรือว่าทาจดหมายเลียนแบบก็มี ซึ่งจริง ๆ แล้วก็เกิดจากบริษัทที่ป ระกอบธุรกิจ ติดตามทวงถามหนี้เหมือนกัน ทั้งในส่ วนทนายความหรือในส่วนของ สานักงานกฎหมายทั่ว ๆ ไป ก็ใช้วิธีการออกแบบหมายศาลเลย ซึ่งทาให้คนที่อยู่ต่างจังหวัดหรือคนที่ไม่ได้มี ความรู้เรื่องนี้ คิดว่าตัวเองมีปัญหาแน่นอนหรือว่าถูกข่มขู่จัดการที่แบบว่าบางทีก็เข้าไปข่มขู่ถึงบ้านบุกรุกเข้า บ้านก็มี แต่ว่าสิ่งหนึ่งที่ตอนนี้เจอก็คือว่าลูกหนี้จริง ๆ แล้วรู้ว่ามีหน่วยงานที่จะช่วยเขาแต่ปรากฏว่า เขาไปแล้ว ไม่ถึงแล้วกว่าที่เขาจะได้รับการดูแลเขาก็ถูกละเมิ ดสิทธิหรือว่าถูกทาร้ายร่างกายไปแล้ว กว่าที่กฎหมายร่าง พ.ร.บ. นี้จะออกเชื่อว่ามีกระบวนการขั้นตอนมากมายหรือว่าการเข้าไปพิจารณาโดยคณะกรรมการกว่าจะ พิจารณาเสร็จไม่ว่ามีกรอบของเวลาด้วยไหม อย่างเช่นคณะกรรมการตั้งกรอบการพิจารณาแต่ละรายสมมุติว่า มีเรื่องร้องเรีย นเข้ามาใช้เวลานานเพื่อที่ว่าลู กหนี้ที่ถูกละเมิดสิ ทธิจะได้รับทราบว่ากรอบของเวลาสามารถ ช่วยเหลือได้จริง เพราะพอรู้ว่ามาร้องเรียนนานแล้วก็ไม่อยากมาร้องเรียน พอปล่อยไปอะไรทาได้ก็ทาไป นี่คือ พฤติกรรมของผู้บริโภค ดังนั้นก็เลยอยากฝากเรื่องของกรอบเวลาว่ามีไหมในเรื่องของร่าง พ.ร.บ. ฉบับนี้ มี กรอบหรือเงื่อนไขเวลาหรือวิธีการที่ กาหนดให้ ผู้บริโภครับทราบว่าสามารถเข้ามาร้องเรียนแล้ว ได้รับการ เยียวยาที่ชัดเจนแน่นอนอะไร ข้อห้ามอย่างที่มาจากคุ้มครองผู้บริโภค ๒๑๖ นอกจากสิ่งที่บัญญัติห้าม ๆ ไว้ตามมาตรา ๖ ถึง มาตรา ๑๑ ทางผู้ บ ริ โภคสามารถรวบรวม เสนอทางกฤษฎี ก าหรือ ทางนี้ ได้ ห รือ เปล่ าเพราะว่าจะได้ ก าหนดเป็ น หลักเกณฑ์ เช่น ยึดบัตรเอทีเอ็มแล้วจดเบอร์ก็เห็นทุกวันที่ไ ปยืนที่ตู้เอทีเอ็ม เพราะฉะนั้นตรงนี้ถ้ารวบรวมจาก ข้อร้องเรียนเพื่อรวบรวมเขียนให้ชัดเจนขึ้นมาจะได้ครอบคลุมไปถึงไม่เช่นนั้นเขาก็จะได้มุดช่องว่างออกไป ถ้าขยายให้ไปรวมถึงหนี้นอกระบบ ซึ่งเป็นความประสงค์ของสมาชิกและหลายคน๒๑๗จะต้องคิดถึง ๒ เรื่องใหญ่ ๆ เรื่องที่ ๑ ก็คืออะไรที่เป็นการกระทาที่จะต้องกาหนดห้ามใครฝ่าฝืนจะต้องมีโทษ เรื่องที่ ๒ คือกลไกและองค์กรในการใช้กฎหมาย เรื่องใหญ่ว่าอะไรเป็นการทวงหนี้ผิดกฎหมาย มาตรา ๕ ถึงมาตรา ๑๑ นี่เป็นการทวงหนี้ในระบบ แต่ ถ้ามาเจอ List การทวงหนี้แบบไทย ๑๓ ข้อในหนี้ที่เอามาจากเว็บไซต์กรมคุ้มครองสิทธิฯ จากฎีกาเป็น ๒๐ – ๓๐ ฎีกา ต้องเขียนให้ห มดชาวนาเรื่องหนึ่งเลย เรื่องตกเขียวตกไม่เขียวเป็นอีก Area หนึ่งของการทวงหนี้ เพราะฉะนั้ น จะ Include ในร่างนี้ให้ขยายไปถึงหนี้นอกระบบก็ได้ แต่ต้องทาด้วยความรอบคอบ วิธีเขียน กฎหมายที่กาหนดห้ามและเป็น ความผิ ดอาญา จะเขียนว่าการกระทาอื่น ๆ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ๒๑๖ ๒๑๗

มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๑๖ ศาสตราจารย์สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๑๗ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดอกเตอร์บวรศักดิ์ อุวรรณโณ รองประธานคณะกรรมการ คนที่สอง รายงานการ ประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๗


๗๕ เพราะความผิดอาญาเป็นอานาจนิติบัญญัติที่ต้องทาโดยผู้แทนปวงชนจะไปมอบให้ฝ่ายบริหารไปเที่ยวกาหนด การกระทาให้เป็นความผิดอาญาขัดหลักนิติศาสตร์ ความยากจึงอยู่ตรงนี้ ตรงที่ว่าจะคิดอย่างไร พวกทวงหนี้ พนันบอล ทวงหนี้ชาวนา ทวงหนี้แบบแขกเดินในตลาดพาหุรัด แล้วก็ต้องมานั่ง List การกระทาให้หมด ถ้าคิด ว่ า สามารถที่ จ ะท าได้ ค รบถ้ ว น แต่ ถ้ า ไม่ แ น่ ใ จเมื่ อ ไร วิ ธี ที่ จ ะให้ เ ร็ ว เท่ า นั้ น เอง คื อ แยกร่ า งแล้ ว ตั้ ง คณะกรรมาธิการขึ้นมา ในความเป็นธรรมมีเจ้าหนี้ที่เลว ผู้ทวงหนี้ที่เลว แต่ก็มีลูกหนี้ที่เลวเหมือนกัน สภาแห่งนี้ไม่ควรจะไป คุ้มครองแต่ลูกหนี้ เจ้าหนี้ที่เช่าบ้านแล้วไม่ออก แล้วก็สู้ ๓ ศาล สู้เป็น ๙ คดี เพื่อไม่ออกเพราะว่าไหน ๆ ก็ตรง นั้นดี ทาเลดี แล้ววันนี้ยังต้องให้สู้ไปอย่างนั้นเป็น ๑๐ ปี อย่างนี้ไม่ทราบ ทนายความมีข้อเสนอแก้ไข วิ. แพ่ง บ้างไหม เพราะว่าที่ยกขึ้นเพื่อเป็นตัวอย่างของเจ้าหนี้ที่โดนลูกหนี้ที่เหนียวหนี้แล้วรู้กฎหมาย แล้วก็ใช้ช่องว่าง บอกว่าอย่างไรเสีย ศาลก็ไม่ออกคาสั่งให้ข้าพเจ้าถูกเอาของออกไปจากบ้านหรอก จะมีทางบ้างไหมที่จะตั้ง กรรมาธิการวิสามัญ ขึ้นมาดูว่า วิ. แพ่ง ซึ่งวันนี้มีคดีมโนสาเร่ คดีอะไรพวกนี้ พอไหมสาหรับหนี้ประเภทที่ไม่ Complicate หนี้ ตามสั ญ ญาเช่าอะไรอย่างนี้ หนี้ตามสัญ ญาเช่าจะไป Complicate ที่ไหน แต่สู้ได้ ๓ ศาล แล้วถ้าทาเป็นอุทธรณ์คาสั่งระหว่างพิจารณาได้เป็น ๙ ศาล ตายเลยบ้านโทรมไปแล้วอะไรไปแล้วสภานี้จะ สนใจคุ้มครองเจ้าหนี้ที่สุจริตไหม ข้อสังเกตของกรรมาธิการชุดนี้ว่าจะมาคุ้มครองแต่ลูกหนี้ไม่ได้ เพราะลูกหนี้ เลว ๆ ก็มีเป็นอีกเรื่องหนึ่ง กฎหมายทั้งหมด คาพิพากษาศาลฎีกามาหมด วันนี้ศาลฎีกาออกแนวทางบอกว่าให้ ไปทาข้อตกลงกันเองว่า เอาของออกมากองนอกห้องได้ นอกบ้านได้ แล้วบอกว่าข้อตกลงนี้ไม่ขัดต่อศีลธรรมอัน ดีของประชาชน ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย ซึ่งสอนทีไรก็ Imitate มาก เพราะบอกว่านี่เอาอานาจรัฐไปเป็น ของเอกชนบั งคับ คดีกันเองได้ ศาลยังบั งคับให้ เอาของออกไปนอกบ้านไม่ได้เลย แต่ให้ เอกชนเขียนสัญ ญา กัน เองว่าถ้าผิ ดสั ญ ญาเช่าแล้ วเอาของออกไปนอกบ้านได้อย่างนี้ ไม่ควร เป็น ข้อสั งเกตอีกข้อ หนึ่งว่ามานั่ ง คุ้มครองลูกหนี้ ลืมไปว่าเจ้าหนี้ที่ดี และลูกหนี้ที่เลวก็มีเหมือนกัน ในส่วนของทนายความทาทั้งสองด้าน๒๑๘ ทั้งโจทก์ จาเลย ทั้งเจ้าหนี้ ทั้งลูกหนี้ อย่างไรก็ดีกรอบของ ข้อพิพาทระหว่างโจทก์ จาเลย เจ้าหนี้ ลูกหนี้ มีคนกลางคือศาล เป็นคนทาหน้าที่ที่จะดูแลประโยชน์ของทุก ฝ่าย เพื่อความสงบเรียบร้อย แน่นอนบางคนก็ใจร้อนรีบตัดสินเลยและบางทีก็มีเปิดช่องกฎหมายไว้ เปิดช่อง ข้อโต้แย้งไว้ พอเป็นข้อกฎหมายถึงขึ้นไปฎีกาอีกครั้งหนึ่งเป็น ๖ ศาลได้ ในระหว่างคดีนี้ถ้ามีข้อกฎหมายที่ เกี่ย วกับ ความสงบเรี ย บร้อยนี้ ถึงขึ้น ไป ๙ ศาลได้ ไม่อ ย่างนั้ น ขึ้น ไม่ ได้ เพราะเดี๋ ยวนี้เรื่องอุ ทธรณ์ ฎี กามี ข้อจากัดมากเหลือเกิน ข้อเท็จจริงที่เป็นคดีปกติ ๒ ศาลยุติเลย ต้องได้รับอนุญาตจึงจะขึ้นฎีกาได้ เพราะฉะนั้น ความรวดเร็วขณะนี้มาขึ้น อย่างไรก็ดีกระบวนการยุติธรรมนี้ สิ่งที่ยังไปสู่มาตรฐานคือความถูกต้อง รวดเร็วและ เป็ น ธรรมยั งทาไม่ได้ เพราะบุ คลากรเยอะและคดีก็เยอะ การตัดสิ ท ธิที่ จะไม่ให้ มีข้อพิพ าทนี้ คิดว่าขณะนี้ เทคโนโลยีหลายอันสามารถที่จะช่วยได้ ท่านอยู่อาคารชุดท่านจอดรถ ท่านมีสิทธิจอดรถ การ์ดจะบอกเลยว่า ถึงตรงนี้ท่านไม่จ่ายสตางค์เข้าไม่ได้ ห้องชุดหรือท่านไปโรงแรม การ์ดจะบอกได้ใช้ถึงพรุ่งนี้เที่ยงเท่านั้น เลย เที่ยงท่านใช้ไม่ได้แล้ว และหลายเรื่องช่วงนี้เป็นวิวัฒนาการที่สามารถควบคุมคนเกเรได้ระดับหนึ่ง ซื้อของไม่ จ่ายไม่รับของอะไรต่ออะไรนี้ มีทางออกโดยสิ่งที่สามารถพัฒนาได้ระหว่างเจ้าหนี้ลูกหนี้ สัญญามี พ.ร.บ. ข้อ สัญญาไม่เป็นธรรมมาแก้ไขผลของคาพิพากษา สถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทยตอนนี้ ก็แก้ไขได้เยอะ ขึ้น ข้อมูลทั้งหลายของตลาดหลักทรัพย์ขณะนี้ก็พัฒนาขึ้น เพียงแต่ว่าช่วงใดช่วงหนึ่งที่บุคลากรมีหน้าที่ตาม กฎหมายละเลยถึงเกิดปัญหา คือปล่อยปละละเลยหรือด้วยอานาจทางการเมืองก็ดี หรืออานาจของผู้ที่ไปทา ๒๑๘

มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๑๘ นายสัก กอแสงเรือง ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๗


๗๖ หน้ าที่ นั้ น ได้รั บ การมอบหมายแต่ งตั้ งมาด้ ว ยเหตุ พิ เศษทั้ งหลายถึงเกิดปั ญ หา ศาลเองขณะนี้ ก็พั ฒ นาไป ค่อนข้างเยอะ แต่ว่าก็ยังไม่เพียงพอกับคดีที่เพิ่มขึ้น เพราะขณะนี้ระบบไกล่เกลี่ยของทุกฝ่ายก็จะเข้ามาช่วยได้ กระทรวงยุติธรรม กรมคุ้มครองสิทธิของสภาทนายความเรื่องการไกล่เกลี่ยเองของทุกหน่วยงานนี้ก็มี เรื่องอนุญาโตตุลาการก็สามารถเข้ามาแก้ไขปัญหาได้ทั้งหมดว่าด้วยข้อสัญญาทั้งหลายนี้ ถ้าอานาจต่อรองเท่า เทียมกันคิดว่าขณะนี้ทุกฝ่ายไม่มีใครได้เปรียบเสียเปรียบซึ่งกันและกัน จากข้อเท็จ จริงที่ป ฏิบั ติงานอยู่บ างครั้งทวงถามหนี้ ๒๑๙ ส่ งจดหมายไปที่บ้านลู กหนี้ ทางลู กหนี้อยู่ ต่างประเทศหรือไปประกอบธุรกิจที่ต่างจังหวัดไม่สามารถติดตามได้ ผู้ที่เกี่ยวข้องแบบท่านกรรมาธิการได้บอก ว่าบางคนเขาอยากจะรู้เพราะเป็นพ่อ เป็นพี่ ก็เห็น จดหมายไป แต่ไม่ได้อ่านก็รู้ว่าจดหมายจากธนาคารไปก็คือ น่าจะเป็นหนี้กัน แต่ก็ไม่เคยรู้ ก็อยากจะสอบถามว่าลูกหนี้ตอนนี้อยู่ต่างประเทศไม่อย่างนั้นเราก็ต้องฟ้อง เขาก็ จะเดือดร้อน เขาก็จะบอกว่าขอทราบ ประเด็นนี้บอกห้ามเปิดเผยเกี่ยวกับหนี้ เกี่ยวกับแจ้งแบบนี้ ถ้าเกิด เขา ถามมาว่ามาติดต่อเรื่องอะไร ตอนนี้เขาไม่อยู่เขาอยู่ต่างประเทศ จะบอกเขาก็บอกไม่ได้ เพราะบอกไปก็จะผิด อีกแล้ว เพราะไปแจ้งหนี้ อันนี้ก็ทาให้ในที่สุดก็ต้องไปฟ้องต้องไปบังคับคดีกัน แต่ถ้าบอกบิดามารดาหรือพี่น้อง เขาติดต่อแล้วทางโน้นก็ส่งเงินมาก็มาชาระหนี้ให้ธนาคาร คดีก็ยุติไม่ต้องฟ้องกันก็มี เพราะฉะนั้นข้อเท็จจริงตัว ที่บอกว่าถ้าห้ามเปิดเผยเลย สอบถามได้ เฉพาะที่อยู่อย่างเดียว แต่ถ้าเขาถามอย่างอื่นก็บอกไม่ได้ น่าจะไม่เป็น ประโยชน์กับลูกหนี้ คือในเรื่องนี้ในที่รับฟังความคิดเห็น ความจริงก็มีเป็น ๒ มุม๒๒๐ อย่างที่มุมหนึ่งที่เป็นประโยชน์กับตัวที่ เป็นลูกหนี้ ซึ่งความจริงก็เป็นหน้าที่ของลูกหนี้เองก็รู้ว่าภาระตัวเองเป็นอย่างไร แต่มุมหนึ่งที่ได้รับทราบข้อมูลที่ อยู่ในเอกสารที่ให้ทุกท่านไปแล้วนั้น โทรศัพท์หาญาติ หรือคนในครอบครัวเพื่อกดดันให้ชาระหนี้ คือมีอยู่ ๒ ด้าน หรือว่าโทรศัพท์ไปประจานหนี้ หัวหน้างานหรือเพื่อนร่วมงานทาให้ถูกเพ่งเล็งจากบริษัท เพราะฉะนั้นตรง นี้โดยเจตนาของในร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ต้องการที่จะคุ้มครองไม่ให้มีปัญหาในการที่จะไปมีการกดดันให้มี การบังคับให้ชาระหนี้ลักษณะอย่างนั้น เพราะฉะนั้นก็เป็นเหตุผลอีกประการหนึ่ ง แต่ว่าตอนนี้กาลังมองตรง ประเด็นที่ว่าพฤติกรรมอะไรที่จะคุ้มครองได้ในส่วนหนึ่ง แต่ก็จะไปกระทบอีกส่วนหนึ่ง ในมาตรานี้สถานที่ติดตามทวงถามหนี้มีอยู่ ๒ ที่๒๒๑ ถ้าโดยหลักการตรงนี้ กฎหมายก็คือติดตามทวง ถามหนี้ตามที่ลูกหนี้ระบุไว้ กับติดตามทวงถามหนี้โดยหลักการแล้วตามค้นเอาที่ปรากฏในทะเบียนราษฎร ศาล จะถือตัวนี้ เวลาส่งหนังสือทวงถามหรืออะไรก็ตามว่าชอบหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายมักจะดูว่า ลูกหนี้ปัจจุบันอยู่ ที่ไหน ที่อยู่ที่ไหนก็ดูในทะเบียนราษฎรเวลาทวงถามไปแล้ว เพราะฉะนั้น ถ้าไปทวงถามที่แจ้งติดต่อไว้บางที บอกว่าย้ ายไปแล้ ว แล้ วไม่ แจ้ ง แต่ท ะเบี ย นราษฎรถ้าย้ายตามได้ต ลอด เพราะฉะนั้น หลั กเวลาทวงถามที่ ทนายความหรือใครก็ตาม ก็มักจะเอาภูมิลาเนาเป็นหลัก ภูมิลาเนาตามกฎหมายนี้อยู่ที่ไหนบ้าง เพราะสถานที่ ตามกฎหมายก็ระบุไว้ภูมิลาเนา เพราะฉะนั้นถ้าในมาตรานี้ควรจะกาหนดว่า ถ้าติดตามทวงถามหนี้ตามที่แจ้ ง ไว้ไม่ได้ ก็ให้ทวงถามไปที่ภูมิลาเนาที่ปรากฏในทะเบียนราษฎร ถ้าไม่ได้นั่นก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งแล้ว ที่อยู่กฎใน กระทรวงหรืออะไรก็ว่าไป เพราะอันนี้จะเป็นเรื่องของกฎหมาย แล้วก็ภูมิลาเนาของบุคคลทุกคนต้องปรากฏ อยู่แล้ว เพราะฉะนั้นเห็นว่าน่าจะระบุภูมิลาเนาตามทะเบียนราษฎรไปด้วย เพราะทุกคนต้องมีถิ่นฐานที่อยู่ มีตัวอย่าง๒๒๒เพิ่งได้เจอในลักษณะที่ว่าลูกหนี้ย้ายบ้านไป ตัวลูกหนี้เองกาหนดไว้ที่สถานที่ที่บ้านเดิม แต่ลูกหนี้ไปไม่ได้แจ้งเจ้าหนี้ว่ามีการย้ายบ้านไป และในทะเบียนบ้านก็ยังที่เดิม ไม่มีการเปลี่ยนสถานที่ตรงนี้ ๒๑๙ ๒๒๐ ๒๒๑ ๒๒๒

มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๑๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๒๙ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๒๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๖ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๒๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๒๙ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๒๒ พลเอก วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗


๗๗ เป็นปัญหาของเจ้าหนี้ที่เรื่องว่าเป็นลักษณะของการว่าเจ้าหนี้จะไปทวงถามตรงไหนได้ ถ้ากาหนดอยู่ที่เดิมและ จะไปทวงที่อื่นก็ผิดไม่ได้อีก เพราะฉะนั้นปัญหาตรงนี้ เห็ นด้วยว่าถ้าไม่ กาหนดเลย โดยลักษณะของการว่า ลักษณะลูกหนี้ไม่ดีจะเกิดขึ้นลักษณะนี้มากมายเลย เจ้าหนี้จะทาอย่างไรตรงนี้เป็นปัญหาว่าถ้าไปกาหนดว่าต้อง ทวงตรงนี้ที่เดียว หรือสถานที่ที่อื่นที่กาหนดไว้ แต่มีสถานที่ที่ไปหลบอยู่ที่ไม่ได้มีการแจ้งอะไรทั้งสิ้น เจ้าหนี้ไม่มี สิทธิที่จะไปทาอะไรได้เลยตรงนี้ ในฐานะที่เป็นทนายด้วย๒๒๓เวลาทวงถามหนี้ถ้าทวงถามตามภูมิลาเนาโดยกฎหมายแล้วศาลจะยอมรับ ถึงทวงไม่ได้ การประกาศหนังสือพิมพ์ เพราะทวงไม่ได้ ไม่ว่าจะไปที่ไหนก็ตามไม่ได้ ล้มหายตายจากไปไหนไม่ ทราบประกาศหนังสือพิมพ์ไป พอประกาศหนังสือพิมพ์ไม่มาชาระก็ฟ้อง ถือว่าได้ทวงถามถูกต้องตามกฎหมาย ตามขั้น ตอนที่ปั จ จุบั น ที่ได้บ อกว่าไม่ได้ระบุสถานที่ก็เป็นเรื่ องที่ดีที่ว่า เพราะการทวงถามอันนี้มีกฎหมาย บัญญัติไว้แล้วห้ามเปิดเผยข้อความทั้งหมด ก็ต้องส่งไปแบบที่ไม่ใช่ไปรษณีย์ที่เปิดผนึกไป ก็ส่งไม่ได้ สถานที่ที่ พักอาศัยอยู่เป็นประจา สถานที่ทางานเป็นหลักแหล่งที่เป็นประจาและภูมิลาเนา ๓ อันนี้สามารถที่จะทวงได้ก็ เปิ ดโอกาสให้ สามารถทวงถามได้ เพราะการทวงถามนี้เปิดเผยไม่ได้อยู่แล้ว ก็ต้องส่งไปทางข้อความนั้นไม่ สามารถเปิดเผยได้ ถ้าดูนิยามของภูมิลาเนาตามประมวลแพ่งมาตรา ๓๗๒๒๔เป็นต้นไปก็รวมถึงถิ่นที่อยู่อยู่แล้ว แต่ถ้าเขียน เพิ่ มไปก็ชัดเจน คือถิ่น ที่อยู่ เป็ น ลักษณะว่าไปประจาการ ไปท าอะไรที่อยู่ที่ห นึ่งซึ่งไม่ได้เป็นภูมิล าเนาตาม ทะเบียนบ้าน อันนี้ก็ถือว่าถิ่นที่อยู่เป็นภูมิลาเนาด้วย แต่ถ้าเขียนไปก็ชัดเจนดี ภูมิลาเนา ถิ่นที่อยู่ หรือสถานที่ ทางาน แต่สถานประกอบการคงไม่เป็นไร น่าจะรวมอยู่ในสถานที่ทางานอยู่แล้ว ในหลักการจะต้องมีการที่จะกาหนดวิธีการ๒๒๕ จะเป็นไปได้ไหมที่บอกว่าจะทวงถามถิ่นที่อยู่ สถานที่ ประกอบการ สถานที่ทางาน ภูมิลาเนาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกาหนด คือติดเซฟตี้ตรงนี้ไว้ ตัว หนึ่ ง เพราะฉะนั้ น หลั กเกณฑ์ คือ ทาได้ แต่จะต้ องมี เกณฑ์ เพราะฉะนั้ น เรียนว่าในหลั ก เปิ ดได้ห มด แต่ เนื่องจากว่าตามร่างกฎหมายฉบับนี้มีคณะกรรมการกากับดูแลอยู่ เพราะฉะนั้นอะไรที่ดูว่าจะเป็นข้อที่ค่อนข้าง จะอ่อนไหวจะต้องระมัดระวัง อย่างเรื่องสถานที่ต่าง ๆ ก็ทาได้หมดใน ๔ ข้อนี้ ทาได้หมด แต่ว่าอย่างน้อยให้มี หลักเกณฑ์ ซึ่งวันนี้อาจจะมองไม่เห็นว่าหลักเกณฑ์ วิธีการมีอะไรบ้าง ถึงบอกว่าถ้าทิ้งให้เป็นคณะกรรมการไป กาหนด เป็นกรอบหลักที่คณะกรรมการกาหนดได้ อันนี้เรียนประเด็นขึ้นว่าจะปล่อยลอยหรือว่า จะให้มีเกณฑ์ ขึ้นมาโดยคณะกรรมการที่ดูแลกฎหมายฉบับนี้เป็นผู้พิจารณาเพิ่มเติมเพื่อเป็นธรรมกับทุกฝ่าย ข้อสังเกต มาตรา ๙ (๒) เห็นด้วยที่ว่าต้องมีที่อยู่ตามสาเนาทะเบียน๒๒๖ ตามภูมิลาเนาที่อยู่ในทะเบียนบ้าน ทีนี้ถ้าจะไปหวังพึ่ง สถานที่อื่นที่คณะกรรมการประกาศกาหนด ไม่แน่ใจว่ากฎหมายออกแล้ว ไม่รู้คณะกรรมการจะกาหนดเมื่อไร กฎหมายเดิน แล้ ว ความผิ ด เกิ ดขึ้ น ก็ จ ะมี ปั ญ หาที นี้ ใน (๒) เวลาที่ ติ ด ต่อ ๐๙.๐๐–๒๐.๐๐ นาฬิ ก า จริง ๆ ๒๐.๐๐ นาฬิกา ยาวเกินไป คนบางคนพักผ่อนแล้ว ควรจะลดลงมาเหลืออย่างมากก็ ๑๙.๐๐ นาฬิกา แต่เวลา เริ่มปกติการทางานทั่วไปจะเริ่ม ๐๘.๓๐ – ๑๙.๐๐ นาฬิกาน่าจะพอเพียงแล้ว ไม่อย่างนั้นจะเป็นการรบกวน ลูกหนี้จนเกินไป อีกประการหนึ่งคือลูกหนี้กลุ่มที่ทางานเป็นกะก็มีไม่น้อย อันนี้ควรจะระบุให้ชัดเจนไป เว้นเสีย อาจจะเป็นข้อยกเว้นโดยถ้อยคาจะอย่างไรก็แล้วแต่ อาจจะยกเว้นประมาณว่า เว้นแต่ลูกหนี้ที่ทางานเป็นกะ อะไร ๒๒๓ ๒๒๔ ๒๒๕ ๒๒๖

มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๒๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๒๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๙ (๑) ข้อสังเกต ๒๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๙ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๒๒


๗๘ จากแนวปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย ๒๒๗ ที่ใช้กากับดูแลสถาบันการเงิน รวมทั้งผู้ประกอบ ธุรกิจบัตรเครดิต แล้วก็สินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกากับ ในช่วงเวลาการติดต่อทวงถามหนี้ที่ได้มีการกาหนด ไว้เป็น ๒ ช่วง ก็คือเวลา ๐๘.๐๐ – ๒๐.๐๐ นาฬิกาในวันจันทร์ถึงวันศุกร์ ยกเว้นวันหยุดราชการให้ทวงได้ใน ช่วงเวลา ๐๘.๐๐ – ๑๘.๐๐ นาฬิกาในวันหยุด ใช้เวลานี้มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๑ และถ้ามีการเปลี่ยนเป็น ๐๙.๐๐ – ๒๐.๐๐ นาฬิกาของทุกวัน เท่าที่ได้รับความเห็นหรือทราบมา ทางด้านสมาคมธนาคาร โดยเฉพาะชมรมบัตร เครดิตเห็นว่าอาจจะติดขัดในเรื่องของวิธีปฏิบัติ ณ ปัจจุบัน เพราะว่าจะทาให้ทวงหนี้ได้ลาบากขึ้น เพระว่าถ้า ขยับเป็น ๐๙.๐๐ นาฬิกาแล้ว ทุกคนที่เป็นพนักงานออฟฟิศจะเข้าทางานแล้ว เป็นห่วงว่าจะมีหนี้ NPL มาก ขึ้น จริง ๆ แล้วจะมีความเห็นมาจากอีกหลายสมาคม ซึ่งต้องขออนุญาตท่านประธานคณะกรรมาธิการว่ามี สมาคมธนาคารไทย สมาคมธนาคารนานาชาติ ชมรมธุรกิจบัตรเครดิต ชมรมธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การ กากับ แล้วก็สมาคมเช่าซื้อไทย ซึ่งจั ดส่งความเห็นต่อมาตราต่าง ๆ มาที่คณะอนุกรรมาธิการและมีการพูดถึง ช่วงเวลาพวกนี้ด้วย ทีนี้ไม่ทราบว่าจะมีช่วงไหนที่จะนาความเห็นของสมาคมต่าง ๆ นี้ เข้ามาพิจารณาด้วย ก็ เป็นห่วงเหมือนกันว่าถ้าพิจารณาไปหลายมาตราแล้ว แล้วถ้าความเห็นของผู้ประกอบธุรกิจมีต่อมาตราต่างๆ จะต้องกลับมาทบทวนอีกครั้งหนึ่งหรือเปล่า คือในช่วงเวลาเดิมที่กาหนดไว้ในแนวปฏิบัติของแบงก์ชาติใช้มาได้ ระยะเวลานานพอสมควร ถ้าในฟากของสถาบั น การเงินคงไม่ ได้ ติดขั ดอะไร เพี ยงแต่ ว่าอาจจะต้องมี การ พิจารณาในฟากของผู้บริโภคว่ามีประเด็นปัญหาอะไรเกิดขึ้นจากการใช้เวลาช่วงหนี้หรือเปล่า โดยหลักการแล้วจะถือภูมิลาเนาตามกฎหมาย ๒๒๘เวลามากู้ยืมเงินจะดูบัตรประชาชน แต่ลูกหนี้บอก เวลาแจ้งให้แจ้งไปยังที่ตัวเองประสงค์ อาจจะไม่ใช่ตามบัตรประชาชนแล้ว เพราะว่าที่ออฟฟิศบ้าง อันนี้คือ ข้อเท็จจริง เวลาทวงถามไปชั้นดาเนินคดี ยิ่งบอกกล่าวบังคับจานองไปบอกกล่าวบังคับจานองไปที่ออฟฟิศ ลูกหนี้ไม่อยู่ ลาออกแล้ว ก็ต้องย้อนกลับไปที่ภูมิลาเนา แล้วภูมิลาเนาไม่อยู่แบบที่บอกไปอยู่ที่อื่นแล้ว ก็คัด ทะเบียนต่อว่าไปอยู่ที่ไหน ถ้าไม่ได้จริง ๆ ท้ายสุดต้องประกาศหนังสือพิมพ์ อันนี้ก็จะเป็นปัญหาว่านอกจาก ภูมิลาเนาแล้ว มีประกาศหนังสือพิมพ์อีกทวงถาม เพราะว่าจะมีให้เห็นอยู่เป็นประจา หนังสือพิมพ์จะประกาศ ว่าทวงถามบอกกล่าวบังคับจานอง เพราะกฎหมายบอกว่าต้องมีหนังสือบอกกล่าวบังคับจานอง อันนี้ก็เป็น ประเด็ น ส าคั ญ ว่ า นอกจากภู มิ ล าเนาแล้ ว โทรศั พ ท์ ไม่ ได้ แ ล้ ว ขั้ น ตอนทนายความก็ ยั ง จะต้ อ งประก าศ หนังสือพิมพ์ให้บอกกล่าวบังคับจานองให้ทราบ แล้วถึงจะไปฟ้องลูกหนี้ก็จะยกข้อต่อสู้ขึ้นมาทุกครั้งว่ายังไม่ได้ ทวงถาม ไม่ได้บอกกล่าว ซึ่งศาลก็จะต้องพิจารณาตามหลักฐานที่ทา อันนี้เป็นข้อเท็จจริงว่าโดยหลักการต้อง ถือภูมิลาเนาเป็นหลัก คือมีทั้งวันธรรมดากับวันหยุดประเด็นอยู่ที่ว่าจะแยก ๒ วันหรือเปล่า๒๒๙ ถ้าแยก ๒ วันก็จะเป็นวัน ธรรมดา ๐๘.๐๐ – ๒๐.๐๐ นาฬิกา และวันหยุด ๐๘.๐๐ – ๑๘.๐๐ นาฬิกา เวลาที่จะถี่ที่สุดคือช่วง ๐๘.๐๐ – ๐๙.๐๐ นาฬิกา ที่จะติดตามหนี้กันช่วงนั้นมากที่สุด ก็ตรงกับที่แบงก์ชาติเคยออกไว้ ทีนี้จะมี ๒ Option หรือ เปล่า แนวคิดเรื่องนี้ ควรจะเป็นอย่างไร๒๓๐เวลาที่เหมาะสมของการทวงหนี้ควรเป็นความสะดวกของเจ้าหนี้ หรือของลูกหนี้ เอาลูกหนี้เป็นหลัก คือที่ไปสอบถามมาทีนี้เจ้าหนี้ก็ต้องคนงานของเขา สมมติว่าเป็นแบงก์ก็ต้อง ๒๒๗ ๒๒๘ ๒๒๙ ๒๓๐

มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๒ นางธัญทิพย์ สรรพโชติวัฒน์ ผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทย กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๒๙ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๔ พลตารวจ ชัชวาลย์ สุขสมจิตร์ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการ ทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒


๗๙ มีเจ้าหน้าที่ ซึ่งเจ้าหน้าที่แบงก์จะสะดวกทวงหนี้ในช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งจะตรงกับลูกหนี้หรือเปล่า เอาลูกหนี้หรือ เจ้าหนี้เป็นหลักเรื่องเวลา กระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากฝ่ายเจ้าหนี้ ๒๓๑ผู้ให้สินเชื่อว่า เขามีปัญหาว่าพนักงานของเขามา ทางานตั้งแต่ ๐๘.๐๐ นาฬิกา ทีนี้จะมี Lap อยู่ ๑ ชั่วโมง ทาอะไรไม่ได้เลย ทวงไม่ได้ก็จะมีปัญหา และเป็นไป ตามหลั กเกณฑ์ ที่ ธนาคารแห่ งประเทศไทย กาหนดอยู่แล้ วว่าให้ เริ่มทวงหนี้ ได้ ตั้งแต่ ๐๘.๐๐ นาฬิ กา ขอ อนุญาตให้ทางธนาคารแห่งประเทศไทย ชี้แจงเพิ่มเติมว่าถ้าวางระเบียบไว้แล้วให้หนี้ในระบบ แนวคิดเรื่องนี้ซึ่งใช้มานานพอสมควรแล้ว๒๓๒ในวันทางาน ๐๘.๐๐ – ๒๐.๐๐ นาฬิกา วันหยุด ๐๘.๐๐ – ๑๘.๐๐ นาฬิกา เพราะมองภาพทั้ง ๒ ฝ่ายที่จะมีความเหมาะสมในช่วงเวลาดังกล่าว ยกตัวอย่างเช่น วันหยุด ที่ร่นเวลามาเป็น ๑๘.๐๐ นาฬิกา เพื่อให้ได้มีเวลามีความสุขกับครอบครัวบ้าง ในช่วงเวลาที่กาหนดคิดว่ามี ความสะดวกทั้ง ๒ ฝ่าย เพียงแต่ว่าอาจจะมีลู กหนี้บางกลุ่ม เช่น สาวโรงงานซึ่งอยู่กะกลางคืน หรือพวกที่ ทางานอิสระที่มีเวลาไม่แน่นอน ก็อาจจะต้องมีการพิจารณากาหนดเพิ่มเติมว่าเป็นช่วงเวลาไหน แต่ในแนว ปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยส่วนใหญ่แล้วสถาบันการเงินสามารถปฏิบัติได้โดยที่คิดว่ามีความเหมาะสม ทั้งลูกหนี้และเจ้าหนี้ และมีการกาหนดในเรื่องของความถี่ว่าจะต้องติดตามในความถี่ที่เหมาะสมด้วย สมมติว่าถ้าเอาลูกหนี้เป็นหลัก๒๓๓โดยต้องคานึงถึงความสะดวกของเจ้าหนี้ด้วย ฟังดูแล้วก็จะได้ความ ว่าลูกหนี้คงจะอยากให้ทวงถามในระหว่างเวลาทางาน แต่ตอนที่กลับบ้านพักผ่อนแล้วก็ไม่ควรจะไปทวงถาม อันนี้ก็คงจะเป็นที่มาของ ๒๐.๐๐ นาฬิกา ทีนี้ถ้าเป็นอย่างนั้นก็เหมาะสม และคิดว่าที่ Lap ๑ ชั่วโมงไม่น่าจะ เป็ น ประเด็น อะไรมาก และถ้าเห็ น ว่าเป็น เรื่องสาคัญทางคณะกรรมการอาจจะไปออกเงื่อนไขเพิ่มเติมก็ได้ ความจริง ๐๘.๐๐ – ๐๙.๐๐ นาฬิกา น่าจะเป็นเวลาที่ลูกหนี้เดิน ทางไปทางานหรือเปล่าก็ไม่ทราบ มีความ จาเป็นอะไรหรือเปล่าที่ทาไมจะต้องให้ทวงถามในวันหยุดราชการด้วย อย่างวันอาทิตย์คือจริง ๆ เจ้าหนี้ไม่ น่าจะสะดวกเท่าไร เพราะเจ้าหนี้ก็ต้องปิดทาการเหมือนกัน จะมีพนักงานทวงหนี้ของแบงก์ขยันมากไปทวงวัน อาทิตย์ เพราะวันอาทิตย์คงอยากจะอยู่กับครอบครัวให้มีความสุขหรือเปล่า ไม่ทราบเหตุผลเรื่องที่ให้ทวงใน วันหยุดได้ เห็นว่าให้ทวงได้ แต่ร่นเวลาขึ้นมาถึง ๑๘.๐๐ นาฬิกา ในส่วนของวันหยุด๒๓๔ คือ ณ ปัจจุบันได้ให้แบงก์พิจารณาที่จะเปิดสาขา บางแห่งได้เพื่อที่จะอานวย ความสะดวกให้กับผู้บริโภค เช่น ในห้างสรรพสินค้าด้วย เพราะฉะนั้นการดูแลผู้บริโภคที่จะให้เข้าถึงบริการ หรื อแม้กระทั่ งให้ บ ริการ วัน เสาร์ วัน อาทิ ตย์ ก็มี อยู่ เพี ยงแต่ว่าในการทวงถามหนี้ ที่เปิ ดลั กษณะแบบนี้ ก็ เพื่อที่จะให้สอดรับกับการให้บริการเช่นนี้ด้วย แต่อย่างไรก็ตามในเรื่องของ KPI หรือการกาหนดเป้าหมายที่ อาจจะทาให้พนักงานทางานหนักเกินไปหรือเปล่า ทางธนาคารพาณิชย์จะต้องมีนโยบายในการดูแลพนักงาน หรือว่าการกาหนด KPI ให้เป็นไปตามสมควรด้วย ในกรณีแนวปฏิบัติของแบงก์ชาติใช้กากับดูแลสถาบันการเงินซึ่งเป็นหนี้ในระบบ แต่ในกรณีของหนี้ นอกระบบถ้าจะมาใช้ในช่วงเวลานี้ อาจจะเป็นเวลามาตรฐานกลาง แต่อย่างที่เรียนตอนต้นว่า อาจจะมีลูกหนี้ บางกลุ่มที่อาจจะต้องพิจารณาเป็นพิเศษ อย่างเช่น ลูกหนี้ที่ทากะกลางคืนซึ่งไม่ได้ อยู่ในช่วงเวลานี้ หรือลูกหนี้ ที่มีความจาเป็น ควรจะต้องมีกรณีที่ประกาศกาหนดโดยคณะกรรมการเป็นกรณีพิเศษด้วย

๒๓๑ ๒๓๒ ๒๓๓ ๒๓๔

มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๐๑ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๗ นางธัญทิพย์ สรรพโชติวัฒน์ ผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทย กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๒๘


๘๐ ให้ลูกหนี้เลือกเวลาทวงถามที่สมัครใจ๒๓๕ ควรจะมีแนวคิดนี้หรือเปล่า คือเวลาให้สินเชื่อมีการระบุอัน นี้ แต่ทางปฏิบัติไม่มีกันใช่ไหม ตามแบงก์ เช่น ให้ทวงถามในเวลาทางานตั้งแต่เช้าถึงเย็น มีปัญหาคือทวงไม่ได้จึงมาเข้าหลักเกณฑ์นี้๒๓๖ ไม่ใช่อย่างนั้น คือในนี้ไม่มีเขียน ๒๓๗ อย่างสาวโรงงาน ทางานกะกลางคืน กลางวันอยากจะพักผ่อน ขอให้ทวงหนี้ ๔ โมงเย็น ถึงเที่ยงคืน สมมติอย่างนี้ เพราะเป็นกะของเขา ถ้าแบงก์ไปทวง ๔ ทุ่มโดนเลยเพราะ ไม่ได้ยกเว้นไว้ตามนี้ แต่ความจริงเขาสมัครใจเป็นหลักการเดียวกัน โดยหลักการสถาบันการเงินเรื่องทวงถาม ๒๓๘ ไม่กาหนดไว้เลย ทวงถามปกติตามที่แบงก์ชาติกาหนด คือกลางคืน ๔ – ๕ ทุ่ม ไม่ทวงอยู่แล้ว แต่วันหยุดสถาบันการเงินเดี๋ยวนี้เปิด ๗ วัน เพราะฉะนั้นถึงได้บอกว่า วันหยุด แต่ก็มีล็อกเวลาว่า ๐๘.๐๐ – ๑๘.๐๐ นาฬิกา อันนี้ถือปฏิบัติมา ๔ – ๕ ปีแล้ว แต่ในสัญญาไม่ตกลงว่า ไปทวงเวลานั้น เวลานี้ไม่มีหรอก ถ้าสถาบันการเงินโดยเฉพาะธนาคาร แนวทางการปฏิบัติว่าด้วยการติดตามหนี้หรือทวงถามหนี้ของ ธปท๒๓๙มีอย่างชัดเจนอยู่แล้ว อยู่ที่ว่า จะนามาใช้แค่ไหน อย่างไร ในกรณีที่พนักงานทางานเป็นกะไม่สะดวกให้ติดตามทวงถาม ในเวลาที่พักผ่อนคือ อาจจะเป็นตอนกลางวัน ไม่สะดวกแน่ ทางานเลิกตีสาม ตีสี่ แล้วมานอน ถ้ามีการติดตามกันกลางวันก็จะมี ปัญหา ทีนี้ตรงนี้มีข้อยกเว้นไว้สักนิดหนึ่งดีไหมว่า เว้นแต่กรณีที่ทางานเป็นกะ เป็นกะก็ต้องมีรอบเวลาอีก เห็นว่าทวงหนี้ได้ทุกวัน ๒๔๐ แล้วก็เชื่อว่าการทางานต้องมีวันที่สามารถทวงหนี้ได้ ๑ วัน ก็คือวันหยุด ถ้าเป็ น ราชการคือวัน หยุ ดราชการก็ยั งสามารถ ทวงหนี้ได้จนถึง ๖ โมงเย็น แต่ถ้าเป็นสาวโรงงานเชื่อว่ามี วันหยุดเหมือนกัน ซึ่งถ้าไปกาหนดโน่นนี่นั่น บางทีก็มีช่องที่จะดาเนินการได้หลาย ๆ เรื่อง แต่ถ้ากาหนดไปเลย ว่าถ้าเป็นเวลาที่กาหนดไว้ตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งปัจจุบันก็มีการทาได้อยู่แล้ว ไม่ได้มีใคร ที่จะมีปัญหานอกเหนือไปจากนั้นถ้าเป็นหนี้ในระบบ แต่ถ้าเป็นหนี้นอกระบบเชื่อว่าเขาทวงหนี้กันอีกแบบหนึ่ง แน่นอน อันนี้ก็เป็นประเด็น ที่ร้องเรียนมานี้ลักษณะเหมือนกับโทรศัพท์มาทวงหนี้ ทั้งวัน คือเหมือนกับรับทราบแล้วว่ามีหนี้ รู้แล้ว ว่าต้องใช้หนี้ แต่ก็ยังมีการโทรศัพท์มาอีกหลังจากที่วางสายแล้ว อันนี้พอครั้งที่ ๒ ครั้งที่ ๓ เป็นเรื่องความถี่ที่ เหมาะสมหรือเปล่า อันนี้เป็นประเด็นต้องพิจารณาหรือไม่ เพราะถ้าเขาติดต่อได้แล้ว แสดงว่ารับทราบแล้วว่า เป็นหนี้ มีหน้าที่ต้องใช้หนี้ เพราะฉะนั้นการติดต่อครั้งต่อมาเป็นเรื่องทาให้เดือดร้อนราคาญหรือเปล่า ในเรื่องของความถี่จะรวมอยู่ในเรื่องช่วงเวลาไม่ได้๒๔๑เพราะจะมีกรณีที่ว่าช่วงเวลาไม่สามารถติดต่อได้ แล้วก็ให้คณะกรรมการประกาศกาหนดช่วงเวลาอื่นได้ตามที่เหมาะสม คือในช่วงเวลานั้นจะมีความถี่แค่ไหน หรือจะเหมาะสม ไม่เหมาะสมค่อนข้างไม่ชัดเจน ควรที่จะให้ คณะกรรมการประกาศกาหนดด้วยไหม หรือ ในช่วงเวลาดังกล่าวจะทวงตามความถี่ได้กี่ครั้งคณะกรรมการไปประกาศกาหนดอีกทีหนึ่งด้วย เพราะฉะนั้น จาเป็นต้องแยกเป็น ๒ วงเล็บ (๒) ในกรณีติดต่อโดยทางโทรศัพท์ โทรสาร หรือบุคคลให้ติดต่อได้ดังต่อไป (ก) ช่วงเวลา แล้วเอาของเดิมไปจนหมด ความถี่ยังไม่ต้องเขียน ตามที่ขึ้นหน้าจอไปถึงช่วงเวลาทั้งหมดเป็น (ก) ว่า ให้ติดต่อได้ตั้งแต่เวลา แล้วก็ตัดเรื่องทั้งนี้โดยมีความถี่ที่เหมาะสมออกไปก่อน เพราะฉะนั้น (ก) ก็จะเป็นเรื่อง ช่วงเวลา หากไม่สามารถติดต่อได้ก็เอามาต่อ (ข) ในช่วงเวลาตาม (ก) ไม่ค่อยเจอ ถ้อยคาเรื่องความถี่จะเขียน ๒๓๕ ๒๓๖ ๒๓๗ ๒๓๘ ๒๓๙ ๒๔๐ ๒๔๑

มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๗ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๑๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๑๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๑๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๔ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๑๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๑๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙


๘๑ อย่างไร ให้ติดต่อตามจานวนครั้งที่คณะกรรมการประกาศกาหนดได้ไหม คือจานวนครั้งปล่อยให้คณะกรรม การไปก าหนดว่าในช่ว งเวลานี้ คุณ จะได้กี่ ครั้ง ความถี่เป็ น ภาษาชาวบ้ าน ให้ ติด ต่อ ตามจ านวนครั้งตามที่ คณะกรรมการประกาศกาหนด ประเด็นนี้ที่ประชุมอยากจะวางหลักการกว้าง ๆ ว่าให้ผู้บังคับใช้กฎหมายไปตีความว่าเหมาะสม ไม่ เหมาะสมอันหนึ่งก่อน แล้วก็เปิดช่อง ให้คณะกรรมการอาจจะกาหนดจานวนครั้งออกมาก็ยังได้ เพราะฉะนั้นที่ เหมาะสมอาจจะเอามาใสไว้ว่า ให้ติดต่อตามจานวนครั้งที่เหมาะสม และคณะกรรมการอาจประกาศกาหนด จานวนครั้งในการติดต่อดังกล่ าวด้วยก็ได้ คล้าย ๆ ว่าพอมีเหมาะสมตรงนี้ปล่ อยให้ ผู้ บังคับใช้กฎหมายไป ตีความว่าทวงอย่างนี้ทวงเหมาะสมไหมในชั้นนั้นทีหนึ่งก่อน แล้วคณะกรรมการอาจจะมาประกาศกาหนดว่าให้ ทาได้กี่ครั้งกรณีสถาบันการเงินจะได้เป็นการเปิดช่องไปอีกทีหนึ่ง แล้วก็เป็นการคุ้มครองลูกหนี้ไม่ให้ถูกติดต่อ แบบไม่เหมาะสม มีมากจานวนครั้งเกินไป (ข) ในช่วงเวลา ตาม (ก) ให้ติดต่อตามจานวนครั้งที่เหมาะสม อันนี้ ขอเสนอเบื้องต้นไว้ก่อน แล้วก็บอกว่า และคณะกรรมการอาจประกาศกาหนดจานวนครั้งในการติดต่อด้วยก็ได้ แต่ (ก) ยังรู้สึกไม่ค่อยสนิทใจเรื่องช่วงเวลาทางานของลูกหนี้ตรงนี้ ในประเด็นนี้ ในคณะอนุกรรมาธิการได้มีการพูดถึงการทวงหนี้โดยโทรสารด้วย ๒๔๒คือในการทวงหนี้ โดยโทรศัพท์ หรือบุคคลหมายความว่าได้มีการ Contact กับลูกหนี้ได้โดยตรง แต่ในกรณีของโทรสารจะเป็น การทวงหนี้โดยส่งเอกสารไป เพียงแต่ว่าการพิจารณาที่ได้มีการพูดถึงคือน่าจะต้องเป็นโทรสารที่มีการระบุ เอาไว้ว่าเป็นเบอร์โทรศัพท์ที่จะต้องส่งไปที่เบอร์นี้ อันนี้ไม่ทราบว่าต้องพิจารณา (๒) ด้วยเลยหรือไม่ คนทวงด้วยโทรสารเสี่ยงอันตรายมาก ๒๔๓ เพราะจะผิดมาตรา ๙ เพราะมีโอกาสที่จะไปเปิดเผยต่อคน อื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง แล้วตัวต้องเล็งเห็นแล้วด้วย สมมติว่าเป็นโทรสารเครื่องกลางที่ไม่ใช่เครื่องโทรสารส่วนตัวของ ลูกหนี้จะมีโอกาสมากที่คนอื่นจะรู้ เพราะฉะนั้นจะเสี่ยงเพื่อความรอบคอบของคนทวงหนี้ต้องเป็นอย่างที่ผู้แทน แบงก์ชาติว่าเป็นเครื่องที่ระบุไว้ หรือไม่ก็ต้องแน่ใจว่าเป็นเครื่องส่วนตัว คนอื่นไม่เห็น จากผลสรุปของคณะอนุกรรมาธิการซึ่งได้รับฟังความคิดเห็น ๒๔๔จากฝ่ายเจ้าหนี้ กรณีทวงถามด้วย วิธีการอื่น นอกจากโทรศัพท์ โทรสาร กรณีที่ส่งข้อความ SMS หรือ e-Mail จะครอบคลุมไหมว่าต้องอยู่ ใน บังคับของระยะเวลา ๐๘.๐๐ – ๒๐.๐๐ นาฬิกา และความถี่ของ SMS กับ e-Mail บอกว่าจะเป็นวิธีการทวง หนี้อีกแบบหนึ่งนอกจากโทรศัพท์ โทรสาร ให้มี SMS หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของ e-Mail เป็นการส่งข้อความที่ เป็นส่วนตัวไม่ได้เปิดเผยแก่ใคร ทางเจ้าหนี้เรียกร้องว่าให้ทวงหนี้ ด้วยวิธีการอื่น อย่างเช่น ส่ง SMS โทรศัพท์ โทรสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เติมสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยจะได้มีช่องทางในการทวงหนี้ได้ ความจริงสะดวกดี แต่ถ้าดูว่าจะไปขัดแย้งกับ (๑)๒๔๕ คือจริง ๆ ไม่น่าจะมีปัญหา โทรศัพท์อยู่กับตัว ลูกหนี้ แต่จะเป็นการทวงหนี้ที่ไม่ใช่เป็นสถานที่ที่ลูกหนี้ กาหนด หมายความว่าไปเที่ยวไหน ๆ เอาโทรศัพท์ก็ ตามไปทวง แต่ความจริงไม่น่าจะเป็นอะไร แต่จะผิดถ้าลูกหนี้ไม่ได้ระบุให้ทวงเข้าโทรศัพท์มือถือได้ สมมติว่า ลูกหนี้ระบุที่ทางานเป็นที่ทวงหนี้ก็ต้องโทรศัพท์ไปที่ ทางานในเวลานี้ อย่างนี้ถึงจะสอดคล้องทั้ง ๒ ส่วน จะ โทรศั พ ท์ ไปบ้ า นไม่ ได้ อย่ า งนี้ เป็ น ต้ น ที นี้ ส มมติ ว่ า ระบุ ให้ ติ ด ต่ อ ที่ ท างาน เจ้ า หนี้ ส่ ง SMS ทวงหนี้ เข้ า โทรศัพท์มือถือ ถ้าบังเอิญตอนนั้นไม่ได้อยู่ที่ทางานยุ่งเลย หลักการ (๑) (๒)๒๔๖มีความรู้สึกว่าไม่เกี่ยวข้องกัน นอกจากเรื่องกรณีคนติดต่อโดยบุคคล อันนี้จะต้อง ถูกบังคับตาม (๑) แต่ถ้า (๒) ก็น่าจะเป็นที่เข้าใจว่าไม่น่าที่จะไปถูกล็อกบังคับว่าต้องตามสถานที่นั้นเท่านั้น ๒๔๒ ๒๔๓ ๒๔๔ ๒๔๕ ๒๔๖

มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๑๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๒๘ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๑๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๑๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๐๑ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๒๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๒๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙


๘๒ ไม่อย่างนั้นโทรศัพท์ที่จะสามารถสื่อที่ให้ไว้สามารถที่จะติดต่อลูกหนี้ได้ คิดว่าจะเปิดช่องกว้างได้ทุกที่ ไม่น่าจะ เสียหาย ไม่อยากให้โทรศัพท์ไปบ้าน๒๔๗ถึงระบุที่ทางานไว้ เจ้าหนี้ก็ต้องเคารพ คือโทรศัพท์ไปหาที่ที่ทางานแล้ว ก็ยังมีตัวปรากฏอยู่อะไรอย่างนี้ ก็ไปทางานปกติ คราวนี้ถ้าโทรศัพท์ไปบ้านต้องผิดแน่นอนเลย เพราะไม่ได้ระบุ เอาไว้ อย่ างนี้ เป็ น ต้น แล้ ว ก็มื อถือ คือ อย่ างนี้ ที่ เขียนมี ที่ อยู่ เป็ น หลั กเป็ น แหล่ ง โทรศั พ ท์ โทรสาร บุ ค คลนี่ หมายถึง Messenger ถูกไหม พวกนี้ไปตามที่ได้ แต่มือถือติดตัวคน อาจจะต้องเขียนเป็นพิเศษหรือเปล่า พวก สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ถ้าให้เกิดสมดุล อันนี้ก็ไม่รู้ใจลูกหนี้เหมือนกัน การให้ทวงถามทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้โดยไม่ จากัดสถานที่อะไร จะดีหรือเปล่า หนี้ที่ต้องทวงตาม พ.ร.บ. ตัวนี้๒๔๘ไม่ใช่หนี้เรื่องบัตรเครดิตอย่างเดียว ไปควบคุมถึงหนี้ตามกฎหมาย คุ้มครองผู้บริโภค แล้วบางทีบางอย่าง อย่างเช่นได้รับประกันชีวิต ประกันภัยถึงกาหนดจะชาระเขาเตือนเป็น ผลดีด้วยซ้า ถ้าไม่เปิดช่องตรงนั้นปั๊บอาจจะผิดนัดแล้วเสียกรมธรรม์นั้น ไปเลย ตรงนี้ถึงอยากจะฝากพิจารณา ให้รอบด้าน แล้วก็ให้รอบคอบ เพราะว่ามีผลหลาย ๆ อย่างเห็นได้ชัดว่าได้รับประโยชน์ ไม่ใช่ว่าเสียประโยชน์ อย่างเดียว มีตัวแปร ๓ ตัว๒๔๙สถานที่ วิธีการ และเวลา ทั้ง ๓ อันนี้ต้องตรงกันหมด หมายความว่า SMS หรือว่า ส่งเมล์ทางโทรศัพท์ โทรศัพท์ต้องอยู่ในตัวคนนั้น และตัวนั้นต้องอยู่ในสถานที่ที่กาหนดหรือเปล่า เพราะว่าให้ ทวงได้ในสถานที่นี้ แล้วก็ด้วย วิธีการ SMS ในเวลานี้ ส่ง SMS ไป ๐๘.๓๐ น. เผอิญยังไม่ได้อยู่ที่ทางาน ไม่ได้ อยู่ตรงที่ที่แจ้งไว้นี่ถือว่าผิดกฎหมายหรือเปล่า เพราะว่าบุคคลนั้นให้ทวงเฉพาะสถานที่ที่กาหนด เขียนอย่างนี้ แล้วกฎหมายทางปฏิบั ติคือยังเป็น อย่างไร ผิดกฎหมายหรือเปล่า ก็จะมีปัญหาคือสถานที่ว่าไม่ควรกาหนด เพราะว่าต้องมองภาพว่าต้องทวงได้ ถ้าทวงสุภาพแบบนี้ทวงที่ไหนก็ได้ เพราะทาให้คนทวงนั้นทวงแบบสุภาพ แล้ว ในเมื่อคุณเป็นหนี้ เจ้าหนี้จะมาทวงต้องไปกราบกรานคุณอีกหรือ ให้เงินกู้ไปแล้วจะต้องไปกราบกรานอีก หรือ นี่ก็มีวิธีการให้สุภาพเรียบร้อย ไม่ให้เสียหน้าเสียชื่อตามสิทธิอยู่แล้ว สถานที่ไม่ควรจะไประบุขนาดนั้น ถ้า เกิดลูกหนี้จะไปยืนห่างตรงนั้นสักก้าวหนึ่ง คุณทวงหนี้ไม่ได้แล้วยืนยิ้มเลย เจ้าหนี้มาทวงไม่ได้ เพราะว่าไม่ได้อยู่ ในสถานที่ที่ กาหนด อย่างนี้ ว่าไม่แฟร์กับเจ้าหนี้เหมือนกัน แล้วก็อย่างที่ว่าปัญหาที่เขียนนั้นก็จะแข็งตัว ๓ อย่างต้องลงล็อกหมด ถ้าโทรศัพท์อยู่ในกระเป๋า แต่ตัวไม่ได้อยู่ในที่ตามที่ระบุไว้นี้ทวงหนี้ ก็ฟ้องกฎหมายฟ้อง ได้บอกทวงผิดกฎหมาย

๒๔๗ ๒๔๘ ๒๔๙

มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๒๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๒๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๔ มาตรา ๙ (๒) ข้อสังเกต ๒๔ พลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ การทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗


๘๓ มาตรา ๑๐ ในกรณีที่ผู้ทวงถามหนี้ขอรับชาระหนี้ ผู้ทวงถามหนี้ต้องแสดงหลักฐานการรับมอบ อานาจให้รับชาระหนี้จากเจ้าหนี้ต่อลูกหนี้ หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ด้วย และเมื่อ ลูกหนี้ได้ชาระหนี้แก่ผู้ทวงถามหนี้แล้ว ให้ผู้ทวงถามหนี้ออกหลักฐานการชาระหนี้แก่ลูกหนี้ด้วย หากลู ก หนี้ ไ ด้ ช าระหนี้ แ ก่ ผู้ ท วงถามหนี้ โ ดยสุ จ ริ ต ให้ ถื อ ว่ า เป็ น การช าระหนี้ แ ก่ เ จ้ า หนี้ โ ดย ชอบ ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ทวงถามหนี้จะได้รับมอบอานาจให้รับชาระหนี้จากเจ้าหนี้หรือไม่ก็ตาม

คาอธิบาย ให้ผู้ทวงถามหนี้ขอรับชาระหนี้ ต้องแสดงหลักฐานการรับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ต่อลูกหนี้ หรือบุคคล ที่ลูกหนี้ระบุไว้ และเมื่อลูกหนี้ชาระหนี้แล้ว ให้ผู้ทวงถามหนี้ออกหลักฐานการชาระหนี้แก่ลูกหนี้

ข้อสังเกต กาหนดให้ผู้ทวงถามหนี้ต้องแจ้งแสดงหลักฐานการรับมอบอานาจให้รับชาระหนี้จากเจ้าหนี้ต่อลูกหนี้ หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ด้วย และเมื่อลูกหนี้ได้ชาระหนี้แก่ผู้ทวงถามหนี้แล้ว ให้ผู้ทวง ถามหนี้ออกหลักฐานการชาระหนี้แก่ลูกหนี้๒๕๐ จากถ้อยคาว่า๒๕๑“ผู้ทวงถามต้องแสดงหลักฐานการรับมอบอานาจให้ ชาระหนี้จากผู้ให้ สินเชื่อต่อ ลูกหนี้” จะหยุดไว้ตรงนี้ ทีนี้ประเด็น ก็คือถ้ามองดูข้อเท็จจริงลูกหนี้ของสถาบันการเงินมีนับหมื่นนับแสนราย การออกหนังสือมอบอานาจในกรณีที่สถาบันการเงินไปจ้างบริษัทธุรกิจที่รับทวงถามหนี้ คาถามก็คือว่าต้อง มอบอานาจให้ทวงถามลูกหนี้เป็นรายบุคคลทุกรายหรือไม่ ถ้ามอบให้ทุกรายคิดว่าเป็นเรื่องใหญ่อย่างมากเลย เพราะว่าลูกหนี้อย่างที่เรียนไปแล้วไม่ใช่เฉพาะหนี้ที่ผิดนัดแล้ว หนี้ใหม่ ๆ แค่โทรศัพท์ไปเตือนให้ชาระภายใน กาหนดระยะเวลาที่วางเอาไว้ ก็ต้องถูกมอบอานาจเช่นเดียวกัน ตรงนี้คือเรื่องใหญ่ในทางปฏิบัติ ฝากที่ประชุม ช่วยกันพิจารณา อย่างที่ได้ชี้แจง๒๕๒การมอบอานาจโดยหลักการแล้วที่ทาอยู่ปัจจุบันจะเป็นการมอบอานาจทั่วไปว่า สถาบันการเงินก็ดี หรือเจ้าหนี้ก็ดี จะมอบอานาจว่ามอบอานาจให้นาย ก ทนายความมีอานาจ ทวงถามหนี้ที่ ลูกหนี้เป็นหนี้อยู่กับสถานบันการเงิน แต่ไม่ได้ระบุว่าเป็นนาย ก นาย ข ลูกหนี้ ชื่ออะไร ส่วนมากก็จะเป็นแบบ มอบอานาจทวงถามทั่วไปแบบนี้ไว้ เพราะว่าถ้ามอบอานาจเป็นรายบุคคลลูกหนี้เป็นพัน ๆ รายก็คงทุกราย เวลาจะส่งให้สานักงานทนายความ ก็ต้องมอบอานาจไประบุว่าเป็นนาย ก. นาย ข. หรือแม้แต่การมอบอานาจ ดาเนินคดี จริง ๆ ก็เหมือนกันบางครั้งเราก็มอบอานาจไว้ เพียงแต่ว่าต้องได้รับมอบอานาจ แล้วคนนั้นเป็น ลูกหนี้ Bank ทนายก็สามารถทวงถามได้ แล้วก็เอาหนังสือมอบอานาจแสดงให้เห็นว่าเป็นผู้รับมอบอานาจจริง จากสถานบันการเงิน แต่ถ้าให้ระบุชื่อลงไปทุกอันว่าเป็นเรื่องยุ่งพอสมควร ในวรรคหนึ่งว่าไม่ใช่เรื่องของการทวงถามหนี้ ๒๕๓ไม่ใช่มอบอานาจให้ไปทวงถามหนี้ เป็นเรื่องขอรับ ชาระหนี้ ไม่ใช่ไปทวงถามหนี้ จะทาความเข้าใจให้ตรงกันในเรื่องนี้ การไปทวงถามหนี้กับไปขอรับ ชาระหนี้ว่า คนละอย่างกัน ในมาตรา ๑๐ นี้เขียนเอาไว้ว่า๒๕๔ ถ้าทวงหนี้แล้วรับชาระหนี้ได้ ถ้าเกิดลูกหนี้ไม่ชาระหนี้จะมีเขียนไว้ ไหมว่าจะอย่ างไร ห้ามทวงต่อหรือว่าปั ญ หาในขณะนี้ลูกหนี้ไม่ยอมชาระหนี้ ถ้าเกิดไปทวงแล้ วชาระก็ไม่มี ๒๕๐ ๒๕๑ ๒๕๒ ๒๕๓ ๒๕๔

มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๔ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต ๔ นายมนตรี ศรีเอี่ยมสะอาด ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๖/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๔๙


๘๔ ปัญหา ก็ออกหลักฐานไปเรียบร้อย ถ้าเกิดไปทวงแล้วลูกหนี้ไม่ยอมชาระ หรือไม่มีเงินชาระจะว่าอย่างไรต่อ ไม่ มีบอกเอาไว้ เดี๋ยวจะเกิดปัญหาทางปฏิบัติ เพราะทางปฏิบัติมีแต่บอกว่าไปทวงแล้วชาระออกใบเสร็จให้ ทวง แล้วไม่ชาระก็ให้ ระงับการทวงกลั บ หรือว่าให้ ทวงต่อได้อีกกี่ครั้งถึงจะกลับได้ อะไรอย่างนี้ หรือว่าอย่างไร หรือไม่ต้องเขียนก็แล้วแต่ ตามมาตรา ๑๐ เป็นกรณีที่ไปทวงหนี้ต่อหน้า๒๕๕ซึ่งผู้ไปทวงหนี้ต่อหน้าต้องแสดงหนังสือมอบอานาจ เลยมีมาตรา ๘ ที่มาบัญญัติไว้ว่า “ในกรณี ผู้ทวงถามหนี้ขอรับชาระหนี้” ซึ่งตรงนี้เข้าใจว่า การทวงถามหนี้ หรือว่าการขอรับชาระหนี้ คือการทวงถามหนี้ เป้าหมายไม่น่าจะแตกต่างไปอย่างอื่น ผู้ทวงถามหนี้ไปขอรับ ชาระหนี้ ก็คือผู้ทวงถามหนี้ไปทวงหนี้ จะมีปัญหาเรื่องหนังสือมอบอานาจไหม เนื่องจากลูกหนี้ของสถาบั น การเงินทั้ง Bank และ Non - bank มีเป็น ๑๐ ล้านราย ถ้าไประบุหนังสือมอบอานาจเฉพาะรายก็ตั้ง ๑๐ กว่า ล้านฉบับ ถ้ามีการทวงถามตรงนี้คิดว่าต้องชัดเจนว่า ในมาตรา ๑๐ เป็นการทวงถามหนี้ คือเป็นการทวงถาม หนี้ที่ไปถึงตัวลูกหนี้ คือเป็นการทวงถามหนี้เฉพาะหน้า ต่อหน้าลูกหนี้ ควรจะเพิ่มตรงนั้นไหม ไม่อย่างนั้นก็จะมี ประเด็นในทางปฏิบัติของทางสถาบันการเงินในการที่จะทาหนังสือมอบอานาจ ซึ่งหนังสือมอบอานาจจะต้อง ทาเป็นอย่างที่เรียนว่าต้องเป็นล้านฉบับแล้วก็ต้องติดอากรแสตมป์อีก ก็จะทาให้เกิดค่าใช้จ่ายตามมาอีกจานวน มาก เพราะว่าจริง ๆ มาตรา ๑๐๒๕๖ถึงจะไปแสดงหลักฐานการรับมอบอานาจอะไรต่าง ๆ เวลาที่ทวงไป แล้วจะชาระหนี้ให้เลย ต้องแสดงหลักฐาน ต้องตีความอยู่แล้วว่าหมายถึงเป็นการทวงถามหนี้ต่อหน้า ถ้าโทรไป ทางโทรศัพท์ อะไรอย่างนี้ แล้วก็บอกจะขอรับชาระหนี้ก็ไม่สามารถปฏิบัติที่จะต้องมานั่งแสดงหลักฐานการ มอบอานาจทางโทรศัพท์ได้อยู่แล้ว แต่เติมไปก็ชัดเจนในกรณีที่เป็นการทวงถามต่อหนี้ และผู้ทวงถามหนี้ขอรับ ชาระหนี้ ในทางปฏิบั ติแล้ ว ลู กหนี้ ส ถาบั น การเงิน เป็น หมื่น รายที่จะต้องจ้าง Outsource๒๕๗ จ้างส านักงาน ทนายความให้ทวงถามหนี้เพื่อดาเนินคดี แต่วิธีการปฏิบัติจะมอบอานาจทั่วไปให้กับทนายความว่าให้มี อานาจ แต่ไม่ได้ระบุว่าลูกหนี้ นาย ก นาย ข เพราะไม่รู้ ก็มอบอานาจให้มีอานาจทวงถามลูกหนี้ของทนายความที่เป็น หนี้อยู่ก็มีหลักฐานแบบมอบอานาจทั่วไป อันนี้สามารถที่จะใช้ได้ แต่ถ้าระบุเจาะจงตัวลูกหนี้คงลาบาก และใบ มอบอานาจใบละ ๒๐ บาทนี้ ถ้าเป็นหมื่นเป็นแสนนี้ก็หลายสตางค์ เพราะฉะนั้นการมอบอานาจนี้หมายความ ว่ามอบอานาจทั่วไปใช่ไหม ไม่ต้องระบุ เพียงแต่มอบอานาจว่าให้มี อานาจทวงถาม ติดตาม ทวงถาม ออก Notice รับชาระหนี้จากลูกหนี้ของธนาคารหรืออะไรแบบนี้ คือปัญหาที่เจอนี้ในกรณีติดตามทวงถามหนี้ ๒๕๘ ตัวอย่างปัญหาให้ทราบ คือว่าผู้ที่ติดตามหนี้ส่วนใหญ่ พอไม่ได้แสดงหลักฐานนี้ไม่ได้เก็บเงินไปส่งเจ้าหนี้ และเมื่อลูกหนี้อ้างว่าชาระหนี้กับผู้ติดตามทวงถามหนี้ไปแล้ว ก็พบว่า เจ้าหนี้ตัวจริงไม่ได้รับชาระหนี้จริง ๆ เพราะฉะนั้นถ้ากฎหมายกาหนดกรอบไว้ว่า เมื่อลูกหนี้จ่ายหนี้ ให้กับผู้ติดตามทวงถามหนี้ แม้ไม่ได้ออกเอกสารหรืออะไรก็แล้วแต่ถือว่าเป็นการชาระหนี้โดยสุจริต หรือว่าการ มีเอกสารในการแสดงตัวก็ทาให้ลูกหนี้มั่นใจได้ว่าเงินที่ชาระไปนี้เป็นการชาระให้เจ้าหนี้จริง ๆ เพราะปัจจุบัน เจอปัญหามากมาย ที่มีมิจฉาชีพหลอกโดยใช้วิธีไปแฮคข้อมูลบ้าง ไปเสิร์ชข้อมูลบ้างของลูกหนี้มา แล้วก็อ้างว่า มาติดตามหนี้ให้กับเจ้าหนี้รายนั้นรายนี้ ซึ่งเชื่อว่าการออกมาตรการ ในการป้องกันนี้จะดีกว่า จะต้องมีการออก หลักฐาน ถึงแม้ว่าการพบกันโดยตรง เอาเป็นกรณีที่พบกันโดยตรงก็ได้ เพราะว่าในการติดตามเป็นเอกสารหรือ ๒๕๕ ๒๕๖ ๒๕๗ ๒๕๘

มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต

๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑ ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๔


๘๕ หลักฐานนี้เชื่อว่าก็ทาตามกระบวนการวิธีการทางด้านกฎหมายอยู่แล้ว ก็คือส่งจดหมายบอกกล่าวกัน แต่ ในทางตัวต่อตัวจะทาอย่างไรให้ลูกหนี้มั่นใจได้ว่าชาระหนี้ให้กับเจ้าหนี้จริง ๆ อันนี้สะท้อนปัญหาให้ฟัง ที่กาหนดว่า ทั้งนี้๒๕๙ไม่ว่าทวงถามหนี้จะได้รับมอบอานาจให้รับชาระหนี้จากเจ้าหนี้หรือไม่ก็ตาม อันนี้ เปิดช่องให้แบบที่ว่าผู้ทุจริตหรือผู้มิจฉาชีพนี้แอบอ้าง เพราะฉะนั้นว่าจะต้องชาระหนี้ให้กับผู้ที่ได้รับมอบอานาจ มีหลักฐานแสดงว่า ได้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ให้มารับชาระหนี้ด้วย ถ้าไม่มีหนังสือมอบอานาจก็จะมีปัญหา แบบที่ว่านี้ เจ้าหนี้ก็ไม่ได้รับชาระหนี้ แล้วคนที่รับชาระก็เอาเงินไปทั้ง ๆ ที่ ไม่มีใบมอบอานาจที่จะให้ได้รับ ชาระหนี้ เพราะฉะนั้นควรจะต้องบอกว่า ทั้งนี้ หากลูกหนี้ได้ชาระหนี้ แก่ผู้ทวงถามหนี้โดยสุจริตจากผู้ได้รับ มอบอานาจต้องบอกจากผู้ได้รับมอบอานาจ และเอาหลักฐานก็ถือว่าถ้าไม่ไปให้หนี้ก็ระงับเหมือนกัน ถ้าเป็นหลักฐานมอบอานาจเท็จ ถือว่าเจ้าหนี้รับภาระหรือว่าเป็นโมฆะ๒๖๐ ถ้าเป็นใบมอบอานาจปลอม๒๖๑ คนมอบอานาจปลอม เจ้าหนี้ก็คงต้องไปใช้ว่าใช้เอกสารปลอม เพราะ ลูกหนี้เราก็เห็นใจเหมือนกันว่าเขาสุจริตแล้ว ลูกหนี้เขาก็จะยอมให้ ข้อสังเกต มาตรา ๑๐ วรรคสอง ในกรณีที่ลูกหนี้ชาระหนี้ โดยสุจริต๒๖๒ย่อมได้รับการคุ้มครอง เชื่อว่าในกรณีของตัวอย่าง ถ้าเอาผิด สามารถเอาผิดกับคนที่รับเงินจากลูกหนี้แล้วไม่เอาไปชาระให้เจ้าหนี้ ในทางกฎหมายอาญาคุณ ดาเนินคดีได้ เต็มที่ได้เลย ในขณะเดียวกันถ้าเป็นการกระทาของทนายความ เรียนเลยว่ายากของทนายความในการที่จะ ลงโทษในกรณีไปทา กรณีไปทุจริตเรื่องเงิน ลบชื่อสถานเดียว แต่ทีนี้เป็นห่วงวรรคสอง คือถ้าลูกหนี้ชาระหนี้ โดยสุจริต ต้องได้รับการคุ้มครอง ไม่ว่าเงินที่ชาระหนี้ ตัวแทนของเจ้าหนี้จะเอาไปใช้หนี้ให้กับเจ้าหนี้ หรือไม่ ลูกหนี้ย่อมได้รับการคุ้มครอง เพราะมีเจตนาโดยสุจริตในการชาระหนี้อยู่แล้ว ส่วนประเด็นคือเรื่องวรรคหนึ่ง เท่านั้นเรื่องหนังสือมอบอานาจ ในกรณีติดตามทวงถามทางโทรศัพท์ ถ้าให้คนติดตาทวงถามทางโทรศัพท์ต้อง แสดงหนังสือมอบอานาจจะโกลาหล วุ่นวายไปหมด ลูกหนี้ก็บอกขอแฟกซ์หนังสือมอบอานาจมาให้ดู ขอให้ส่ง หนังสือมอบอานาจมาให้ดู และเงื่อนระยะเวลาก็จะล่วงเลยไปเรื่อย ๆ หรือเผลอแฟกซ์ส่งไปอาจจะมีความผิด ตามกฎหมายนี้ด้วยก็ได้ ในกรณีไปทวงถามหนี้แบบเฉพาะหน้า คือ ไปพบลูกหนี้เองอย่างนั้น ลูกหนี้ขอให้แสดง หนั งสื อมอบอานาจ อัน นั้ น สมควร แต่ว่าคนที่เขาส่ ง จดหมายไป หรือว่าคนที่เขามีการติดต่อทวงถามทาง โทรศัพท์ไปคิดว่าตรงนั้นต้องได้รับการคุ้มครองระดับหนึ่ง มาตรา ๑๐๒๖๓ นี้ต้องการคุ้มครองลูกหนี้ที่ถูกทวงแล้วแล้วชาระหนี้ไปโดยสุจริตก็ถือว่าชาระหนี้ ได้ ชอบ ไม่เกี่ยวกับวิธีการทวงเลย ตรงนี้ต้องการคุ้มครองลูกหนี้ที่ชาระโดยสุจริต เพราะฉะนั้นไม่ควรเอาไปรวมไว้ ในมาตรา ๙ ควรจะเป็นมาตรา ๑๐ โดด ๆ แล้วก็การทวงถามใน มาตรา ๑๐ นี้ควรจะเขียนอย่าไปยอกย้อน แบบนั้น เพราะว่าปกติการทวงหนี้ไม่มีเจ้าหนี้ บอกว่าขอรับชาระหนี้ด้วย ไม่มี ทวงหนี้ให้ชาระหนี้ เพราะฉะนั้น ถ้าไปแยกเป็น ๒ อันนี้ จะสับ สน และถ้าไม่ชัดเจนก็จะเกิดความไม่สุจริต และเงื่อนไขไม่ครบก็ไม่ได้รับการ คุ้มครองอีกตรงนี้ ในลักษณะว่าผู้ทวงถามหนี้ไปถามหนี้ถึงที่บ้านในลักษณะนี้ ๒๖๔ แล้วก็ลูกหนี้ จะชาระเงินเลย ความ เป็นจริงของสถาบันการเงินนี้การชาระหนี้ต้องไปชาระที่บ้านได้เลย มีไหม ถ้ามีใบมอบอานาจ โดยส่วนใหญ่ แล้วถามสถาบันการเงินว่า มีลูกหนี้โดยการชาระเงินได้เลย ใช่ไหมที่บ้าน ได้ไหม ๒๕๙ ๒๖๐ ๒๖๑ ๒๖๒ ๒๖๓ ๒๖๔

มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ข้อสังเกต มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต

๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๔๙ ๑๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑ ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๐ ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๒๒


๘๖ การชาระหนี้อยู่ที่สถาบันการเงินแต่ละสถาบันการเงิน ๒๖๕ สถาบันการเงินบางอันไม่ยอมให้ชาระกับผู้ ทวงถามบุคคลภายนอก กลัวทุจริตยักยอกไปถึงจะมอบอานาจให้รับก็กลัวจะไม่มาคืน ก็บอกว่าการชาระเงินให้ ไปชาระที่ธนาคารโดยตรง แต่บางอันก็เพื่อความสะดวกของลูกหนี้ เมื่อทวงถามเงินไม่มากก็ให้ชาระกับลูกหนี้ อันนั้นก็คือแบบที่กาลังพูดถึงกันนี้ ให้รับชาระได้มีที่ให้รับชาระ ที่เห็นโดยทั่ว ๆ๒๖๖ ไปส่วนใหญ่จะเป็นเงินนอกระบบที่บอกว่ารับชาระหนี้ได้โดยที่สถานที่ไหนก็ได้ แต่ ในระบบส่วนใหญ่แล้วก็ต้องไปที่แบงก์ หรือที่อะไรต่าง ๆ สถานที่ทางาน อันนี้ข้อความอ่านแล้วงงว่าชาระที่ ไหนก็ได้ ไปเจอผู้ทวงถามหนี้เมื่อไร ชาระได้เลยอย่างนี้มีไหม ปัญหาอ่านแล้วเข้าใจลักษณะนี้มีหรือความเป็น จริงมีไหมเท่านั้นเอง มีอย่างกรณีที่ว่าเช่ าซื้อรถค้างงวดมา ๓ งวด๒๖๗ แล้วให้พนักงานไปติดตามทวงหนี้แล้วก็ยึดรถด้วย ครบเงื่อนไขเกินกว่า ๒ งวด สามารถจะยึดรถได้ พอไปเจอลูกหนี้เข้าแสดงหลักฐานว่าฉันเป็นผู้รับมอบอานาจ มา ลูกหนี้บอกค้าง ๓ งวด ๓๐,๐๐๐ เอาไปเลย ๓๐,๐๐๐ ก็รับเงินมาก็ยังไม่ยึดอะไรลักษณะนี้ ในแนวปฏิบัติของแบงก์ชาติจะมีเรื่องของการแสดงตัวเพื่อวัตถุประสงค์ในการทวงถามหนี้ ๒๖๘ ไม่ว่าจะ เป็นแบงก์ที่เป็นผู้ทวงถามหนี้เอง หรือว่าผู้ให้บริการ Outsource ไปทวงถามหนี้ แต่เฉพาะในกรณีที่ติดต่อกับ ลูกหนี้โดยตรง คือ Face to face ให้ต้องแสดงหลักฐานว่าตนเองเหมือนกับว่าเป็ นตัวแทนของสถาบันการเงิน หรือบริษัท Outsource ที่ทวงถามหนี้มาเพื่อการทวงถามหนี้ จะเป็นลักษณะของการแสดงตัวเพื่อวัตถุประสงค์ ในการทวงถามหนี้ ไม่ใช่ว่าเป็นนาย ก หรือนาย ข มาโดยที่ไม่ได้รับมอบอานาจจากใคร การรับเงินนี้จะมีอีกข้อ หนึ่ งว่ า ถ้ าสมมุ ติ ว่ามี ก ารรั บ เงิน จากลู ก หนี้ ให้ ผู้ ป ระกอบธุรกิ จ คื อ แบงก์ แ ละให้ ผู้ บ ริ ก ารเรี ยกเก็ บ หนี้ คื อ Outsource มีระบบและหลักฐานการรับเงินจากลูกหนี้ที่เหมาะสมและมีผลทางกฎหมาย จะแยกไว้อีกข้อหนึ่ง หลั กการอย่ างถ้าเขีย นอย่ างนี้ ชัด เจนเป็ นการคุ้มครองลู กหนี้ ว่าไม่ว่าจะได้รับ มอบอานาจไหม ๒๖๙ แน่นอนว่าคือการที่เขาสุจริต ถ้าเขารู้ว่าจริง ๆ ไม่ได้เป็นผู้รับมอบอานาจ ยังชาระไปอย่างนี้ก็ถือว่าไม่สุจริต แต่ การเขียนก็อธิบายลงไปคือเป็นชัดเจนเลยว่าไม่ว่าความจริง จะเป็นผู้รับมอบอานาจหรือไม่ก็ตามในการที่รับ ชาระหนี้ถ้าเขาชาระโดยสุจริตแล้วถือว่าใช้ได้ คงไว้น่าจะชัดเจนและไม่ได้เสียความหมายอะไร วรรคสองไปต่อวรรคหนึ่งหมายถึงว่าเมื่อออกหลักฐานให้ชาระหนี้แก่ลูกหนี้แล้วก็ให้ถือว่าเลย๒๗๐จบ เลย เพราะออกหลักฐานแล้ว ถือว่าโดยชอบไม่ต้องไปบอกว่า ลูกหนี้สุจริตหรือไม่สุจริต ถือว่าจบเลย คือวรรคสองนี้น่าจะคุ้มครองลูกหนี้ที่จ่ายหนี้โดยไม่รู้ว่า๒๗๑คนที่มาทวงหนี้ได้รับมอบอานาจมาหรือไม่ ได้รับมอบอานาจมา เพราะว่าบางท่านไม่ทราบหรอกว่า ต้องมีหลักฐานหรือเปล่า คือประชาชนทั่วไปจะไม่ ทราบว่าการขอรับชาระหนี้จะต้องมีหลักฐานการขอรับ ชาระหนี้ คือได้รับอนุญาตขอรับ ชาระหนี้จากเจ้าหนี้ ปัจจุบันนี้ก็เหมือนกับว่าใครทวงก็จ่ายไป อันนี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในสังคม ถ้าเกิดว่าไม่มีการคุ้มครองไปเลย ประชาชนที่จ่ายหนี้ไป ก็เหมือนจ่ายให้ใครก็ไม่รู้ แล้วก็จะไปเข้ากระเป๋าโจรผู้ร้ายมากกว่าที่จะไปเข้ากระเป๋า เจ้าหนี้ ๒๖๕ ๒๖๖ ๒๖๗ ๒๖๘

๒๖๙ ๒๗๐ ๒๗๑

มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๒๒ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๒ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๗ นางธัญทิพย์ สรรพโชติวัฒน์ ผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทย กรรมาธิการ รายงานการประชุม คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๐ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๔


๘๗ เห็นอย่างนี้ว่า๒๗๒ในกรณีที่ไม่มีเหตุอะไรเลยแล้วไปชาระหนี้ แล้วก็บอกว่าถือว่าโดยสุจริตนี้ไปไม่ได้ เพราะว่านอกระบบนี้ก็ไม่มีหลักฐานการมอบอานาจ ไม่มีหลักฐานให้ชาระเงิน แล้วก็คงจะไม่ไปออกหลักฐาน ชาระหนี้ตามวรรคหนึ่ง ในกรณีตามวรรคหนึ่งนี้ควรจะจบภายในวรรคหนึ่งของมันเอง เห็นว่าถ้าหากว่าเมื่อออก หลักฐานชาระหนี้ แล้วก็ให้ถือว่าเป็นการชาระหนี้โดยชอบตรงนี้ก็จะจบหมด ถ้าเขียนว่าไปชาระหนี้โดยไม่รู้ อะไรนี้ แล้วก็บอกว่าให้ถือว่าโดยชอบนี้ในทางปฏิบัติหรือทางกฎหมายไปไม่ได้ ถ้าทวงหนี้ในระบบ๒๗๓อาจจะให้ครอบคลุมหนี้นอกระบบด้วยก็ได้ กรณีที่มาข่มขู่อาจจะให้เงินไปเลยก็ ได้ ที่เขาเป็นห่วงจุดนี้ ถ้าจะเขียนว่า๒๗๔ในกรณีที่เป็นการทวงหนี้โดยไม่ชอบ และลูกหนี้ชาระไปโดยสุจริตถือว่าชาระหนี้โดย ชอบแล้ว ว่าข้อความหรือความหมายไปไม่ได้ วรรคสองนี้ กลัวว่าแบบที่เข้าใจว่า ๒๗๕ถ้าเป็นหนี้นอกระบบแล้วคนก็ขู่ทวงถาม ซึ่งอาจจะไม่ใช่นอก ระบบ คนสวมรอยหนี้ในระบบมีเหมือนกันไปแอบอ้าง เดี๋ยวนี้มีคอลล์ เซ็นเตอร์ ที่เคยพบกันไปหลอกว่าแบงก์ อย่างนั้นอย่างนี้เยอะเลยไปหลอก อย่างคนที่สภานี้ยังถูกเลยว่าให้โอนเงินให้ไปอย่างนั้นอย่างนี้ ก็ถูกหลอกไป อันนี้มีได้ทั้งในระบบและนอกระบบ เพราะฉะนั้นวรรคแรก เมื่อลูกหนี้ได้รับชาระหนี้แก่ผู้ทวงถามแล้วให้ผู้ทวง ถามออกหลักฐานการชาระหนี้ด้วย ทวงถามแล้วก็ออกหลักฐานไป แต่ถ้าบอกว่าทวงถามลูกหนี้ชาระโดยสุจริต แต่เจ้ าหนี้ ไม่ได้รับ เลย เพราะคนอื่น มาแอบอ้างแล้ วก็บอกว่าหนี้ระงับไปหรือเปล่า เจ้าหนี้ซึ่งบุคคลมีเยอะ สถาบันการเงินแอบอ้างว่าให้มาติดตามทวงถามหนี้บัตรเครดิต หนี้อะไร คนหลงเชื่อก็จ่ายไปทั้ง ๆ ที่เจ้าหนี้ ไม่ได้มอบหมายเลย ถ้ามอบนี้ยอมรับแต่ถ้าไม่มอบเลย บอกว่าก็ถือว่าชาระหนี้ เจ้าหนี้ก็จะไม่ได้รับการคุ้มครอง ส่วนนี้ ทีนี้อันนี้บอกว่าลูกหนี้ชาระโดยสุจริตอย่างเดียว ลูกหนี้เชื่อแต่ที่มาถามนี้ไม่ได้รับมอบ ไม่ได้อะไรมาเลย มาแอบอ้าง ที่ได้รับมอบมาให้มาทวงถามนี้ยอมรับเลย เพราะกระทรวงการคลั งต้องการคุ้มครองถึงระดับไหน ๒๗๖ คือต้องการคุ้มครองถึงระดับสู งสุ ด คือ หมายถึงว่าตั้งแต่ว่าจะเป็นผู้ทวงถามที่ถูกต้อง หรือไม่นี้ไม่สนใจ เพียงแต่ว่ารู้ว่าเขาเข้าใจผิดหมดเลย เข้าใจว่า เป็นผู้ทวงถามหนี้ด้วยชอบ เข้าใจว่ามีรับมอบอานาจ ได้รับชาระหนี้ก็ชาระไปเลย อันนี้คือคุ้มครองสูงสุด กับ คุ้มครองลดระดับลงมา คือหมายถึงว่าต้องเป็นลักษณะที่ว่าเขาเป็นผู้ทวงถามหนี้คนนั้นที่รับชาระหนี้หมายถึง เป็นผู้ทวงถาม หนี้จริง ๆ ได้รับมอบอานาจมาทวงถามหนี้ แต่คนทวงถามหนี้ไม่ได้รับมอบอานาจให้รับชาระหนี้ แล้วก็อันนี้ถูกหลอกอ้างว่าเพราะเข้าใจว่าเป็นผู้ทวงถามหนี้ก็น่าจะมีสิทธิได้รับชาระหนี้ด้วย ก็เลยไปชาระหนี้ให้ ถึงแม้จะไม่ได้แสดงหลักฐาน ไม่ได้ออกใบหลักฐานการรับชาระหนี้แต่ชาระไปโดยสุจริต เพราะเห็นว่าเป็นผู้ทวง ถามหนี้ซึ่งเป็นลูกน้องของเจ้าหนี้แน่นอนแล้ว อันนี้ชาระไปถึงจะคุ้มครอง เข้าใจน่าจะเป็นแค่ระดับ ๒ เท่านั้น หมายถึงว่าเข้าใจ รู้แล้วว่าคนนี้เป็นทวงถามหนี้แท้จริง ต้องเป็นผู้ทวงถามหนี้ที่ถูกต้องด้วย แล้วจะไปชาระหนี้ โดยที เขาแอบอ้างว่าเขามีสิทธิรับชาระหนี้ด้วย ซึ่งไม่มีอาจจะเป็นไปได้ตรงนี้น่าจะคุ้มครองแค่นี้ เข้าใจว่าน่าจะ ระดับชั้นนี้มากกว่า

๒๗๒ ๒๗๓ ๒๗๔ ๒๗๕ ๒๗๖

มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๐ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๒ พลตารวจโท วิบูลย์ บางท่าไม้ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๐ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖


๘๘ ถ้าดูเจตนาแล้วก็ถ้าดูใน Wording๒๗๗ของมาตรา ๑๐ วรรคสอง เพราะว่าก็ใช้คาว่า หากลูกหนี้ได้ ชาระหนี้แก่ ผู้ทวงถามหนี้ ซึ่งถ้าย้อนไปดูนิยามผู้ทวงถามหนี้ก็จะเป็นผู้ทวงถามหนี้ตามกฎหมายฉบับนี้ แล้วก็ ในส่วนของท่อนที่ ๒ ในส่วนของ ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ ทวงถามหนี้จะได้รับมอบอานาจให้ ชาระหนี้ ที่เรื่องการมอบ อานาจให้รับชาระหนี้เท่านั้น ฉะนั้นคิดว่าถ้อยคาในวรรคสองคิดว่าน่าจะไปได้ ถ้าทิ้งวรรคสองไว้อย่างนี้จะเป็นปัญหาการตีความมาก๒๗๘ถ้าเกิด Scenario เกิดขึ้นได้ อย่างเช่นกรณีที่ พวกมิจฉาชีพทั้งหลายมาอ้าง หรือแม้กระทั่งที่ลูกหนี้ที่ทุจริตเอง สร้างเรื่องขึ้นมา พิสูจน์อะไรไม่ได้เลย แล้ว ปัญหากระทบก็คือจะไม่มีใครปล่อยหนี้ในระบบแล้ว พวกหนี้นอกระบบว่าไป เพราะฉะนั้นถ้าจะให้แฟร์ยังคิด ว่าประโยคในวรรคสองเอามาเติมต่อวรรคหนึ่งไปเลย และหากลูกหนี้ได้รับชาระหนี้แก่ผู้ทวงถามหนี้โดยสุจริต ให้ถือเป็นการชาระหนี้ ก็จะแปลความว่า ประมาณว่าถ้ามีหนังสือทวงถามหนี้แม้จะไม่ออกหนังสือมาก็ถือเป็น การชาระหนี้โดยสุจริต เพราะว่าถ้าปล่อยคาว่า ไม่ว่าจะมี ได้รับหนังสือมอบอานาจหรือไม่ คิดว่าก็จะขัดต่อ วรรคแรกเหมือนกัน แล้วก็ผลกระทบที่คุ้มครองระดับ Absolute เกินไปก็จะให้เกิดมิจฉาชีพแล้วคิดว่าจะมี ปัญหาคดีอื่น ๆ ตามมา อยากจะฟังทางทนายความ เพราะว่าจะเจอพวก Scenario อย่างนี้จะเกิดขึ้นทันที สมมุติว่าทวงหนี้การพนันอย่างนี้จะมอบหมายทวงหนี้การพนันได้ไหม๒๗๙เอากฎหมายมอบแทนได้ไหม สมมุติไปเล่นการพนันเสีย มอบหมายให้ไปทวงหนี้การพนันเท่านี้จะทาหนังสือมอบอานาจได้ไหม เพราะนี่ ต้องการเอาทั้ง ในระบบ ทั้งนอกระบบ ก็ควรจะมีกฎหมายกันไว้ ถ้าเป็นหนี้นอกระบบก็คงจะไม่มีการมอบอานาจแน่นอน อันนี้มอบอานาจคงจะเป็นไปไม่ได้๒๘๐ หลักการหมายถึงว่า๒๘๑ วรรคนี้มุ่งเน้นเรื่องการมอบอานาจรับชาระหนี้ แล้วถ้าเขาชาระไป ปรากฏว่า ไม่ได้เป็นผู้รับมอบอานาจให้รับชาระหนี้เลย เป็นแค่ทวงถามหนี้ อย่างนี้ก็ถือว่าเขาหลุดพ้นไปเลย แต่ถ้าไป ชาระกับใครซึ่งเขาไม่ได้เป็นผู้ทวงถามหนี้อะไรเลย ก็ไม่น่าที่จะไปกว้างขนาดนั้น จะคุ้มครองลูกหนี้มากเกินไป เพราะฉะนั้นหลักการเห็นด้วยคงไว้ตามนี้น่าจะเข้าใจได้ มองว่าวรรคหนึ่ งก็อาจจะเป็ น ไปได้ว่าออกหลั กฐาน ออกอะไรมา แต่ปลอมหมด ออกหลั กฐานมา ปรากฏไม่ใช่ เป็นคล้าย ๆ ว่า เขาไปสร้างหลักฐานมา แต่ว่าเขาเป็นคนทวงถามหนี้ แต่เขาไปสร้างหลักฐานออก ใบรับชาระหนี้ แล้วก็ยังรวมทั้งออกหลักฐานการชาระหนี้ด้วย แต่ปรากฏว่าไม่ใช่ โกหกหมดเลย ผู้ทวงถามหนี้ ไม่มีอานาจดังกล่าว ทาได้แต่ทวงถามหนี้อย่างเดียว อันนี้ถ้าเขาชาระไปโดยสุจริตก็ได้ ไม่ว่าจะชาระโดยมี หลักฐาน หรือไม่มีหลักฐาน ก็คุ้มครองหมด แต่ต้องตั้งต้นว่าเขาต้องเป็นผู้ทวงถามหนี้ ถ้าเป็นใครก็ไม่รู้ซึ่งมา แอบอ้างว่าเป็นผู้ทวงถามหนี้ด้วย ขอรับชาระหนี้ด้วย ในวรรคแรกนี้ก็เป็นการรองรับการชาระหนี้ของลูกหนี้แล้ว๒๘๒เพราะว่าผู้ทวงถามหนี้ก็คือมีหน้าที่ทวง แต่ว่าเมื่อได้รับชาระหนี้ไปแล้วก็จบไป เพียงแต่ว่าในวรรคสองนี้ จะคุ้มครองเป็นการขยายความ อันนี้เป็นการ ขยายความที่จะคุ้มครองในกรณีที่ว่ามีการชาระหนี้ไปโดยสุจริต ก็มีประเด็นเดียวเท่านั้นเอง ผู้ทวงถามหนี้ ปกติ จะมีหน้าที่ทวง แต่ไม่ได้มีหน้าที่รับ แต่เมื่อคนที่ถูกทวงจ่ายไป แต่ว่าในหนังสือมอบอานาจที่มอบให้เป็นผู้ทวง ๒๗๗ ๒๗๘ ๒๗๙ ๒๘๐ ๒๘๑ ๒๘๒

มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๖ นายอรรถพล อรรถวรเดช กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๗ ศาสตราจารย์สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๗๓ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๑๙ นายมนตรี ศรีเอี่ยมสะอาด ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๒๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๒๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๙


๘๙ ไม่ได้เขียนบอกว่าให้รับชาระหนี้ด้วย แต่ความเข้าใจของคนที่เป็นลูกหนี้เข้าใจ โดยสุจริตว่าคนทวงสามารถรับ เงินได้ ก็ให้ไปว่าวรรคนี้คุ้มครองตรงนั้นเท่านั้นเอง มีบริษัทหนึ่งเช่าซื้อรถ๒๘๓ แล้วมอบอานาจให้กับผู้รับมอบอานาจไปทวงหนี้ ว่าค้างชาระค่างวดทั้งหมด ๓ งวด แล้วก็ไปยึดรถ มอบอานาจให้ไปยึดรถ เสร็จแล้วก็แสดงหลักฐานว่าได้รับมอบอานาจมาเรียบร้อยแล้ว ปรากฏว่าไปเจอลูกหนี้ ลูกหนี้ก็จ่ายเงิน ๓ งวดให้ โดยพิมพ์ที่ Office ตัวเอง พิมพ์ว่า “ข้าพเจ้าได้รับมอบ อานาจจากนี้ ปรากฏตามหนังสือมอบอานาจ แล้วก็วันนี้ได้รับชาระหนี้ จานวนเงินเท่านี้ ที่ค้างชาระอยู่จานวน ๓ งวด เป็ น เงิน ๓๐,๐๐๐ บาท” แล้ วก็เว้นบรรทัดไว้บรรทัดหนึ่ง ซึ่งมองไม่ค่อยเห็ น เป็นเหมือนพิมพ์ดีด ธรรมดาอย่างนี้ แล้วก็จ่ายเงินไปเสร็จ ผู้รับมอบอานาจก็กลับไปบริษัท ปรากฏว่าหลังจากนั้นมาเขาก็ไม่ชาระ หนี้เลย เขาก็ไปฟ้องผู้เช่าซื้อให้ชาระ แล้วก็ให้ส่งมอบรถคืน ปรากฏว่าลูกหนี้ฟ้องกลับเจ้าหนี้ว่า มีบันทึกการ ชาระหนี้ว่า “และค่าเช่าซื้อที่ค้างชาระทั้งหมด …….” ต่อไปอีกบรรทัดหนึ่งเรียบร้อย ฟ้องแย้งขอให้จดทะเบียน โอนรถมา ฟ้องแย้งกลับไปอีก ปรากฏว่าเจ้าหนี้ก็งงว่า ส่งมาให้แค่ ๓ งวดแค่นี้ แล้วทาไม มีต่อท้ายอีกบรรทัด หนึ่งว่า “และรับชาระหนี้ที่ค้างอีก ๑๐ งวด ที่เหลือทั้งหมดไปครบถ้วนแล้ว” ไปพิมพ์ต่อหลังจากที่เซ็น คราวนี้ ปรากฏว่าในคดีนั้นเจ้าหนี้ก็เลยงง ก็เลยบอกขอสั้น ๆ ถามลูกหนี้ จริง ๆ ว่า จ่ายมา ๓ งวด หรือทั้งหมด นอก คดีคุยกันส่วนตัว ผมรับปากด้วยลูกผู้ชายว่า ถ้าพูดความจริงผมถอนฟ้องให้เลยเขาก็ยอมรับ ในที่สุดต้องถอน ฟ้อง นี่คือประสบการณ์จริงก็เป็นปัญหาเหมือนกัน น่าเห็นใจเจ้าหนี้ มาตรา ๑๑ ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะดังต่อไปนี้ (๑) การข่ ม ขู่ การใช้ ค วามรุ น แรง หรื อ การกระท าอื่ น ใดที่ ท าให้ เกิ ดความเสี ยหายแก่ร่ า งกาย ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของลูกหนี้หรือผู้อื่น (๒) การใช้วาจาหรือภาษาที่เป็นการดูหมิ่นลูกหนี้หรือผู้อื่น (๓) การแจ้งหรือเปิดเผยเกี่ยวกับความเป็นหนี้ของลูกหนี้ให้แก่ผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทวงถาม หนี้ เว้นแต่เป็นกรณีตามมาตรา ๘ วรรคสอง (๒) (๔) การติดต่อลูกหนี้โดยไปรษณียบัตร เอกสารเปิดผนึก โทรสาร หรือสิ่งอื่นใดที่สื่อให้ทราบว่าเป็น การทวงถามหนี้อย่างชัดเจน เว้นแต่กรณีการบอกกล่าวบังคับจานองด้วยวิธีการประกาศหนังสือพิมพ์ ซึ่ง เจ้าหนี้ไม่สามารถติดต่อลูกหนี้โดยวิธีการอื่น หรือกรณีอื่นใดตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด (๕) การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมาย ในการติดต่อลูกหนี้ที่ทาให้เข้าใจได้ว่าเป็นการติดต่อเพื่อการทวงถามหนี้ เว้นแต่ชื่อทางธุรกิจของผู้ทวง ถามหนี้ไม่ได้สื่อให้ทราบได้ว่าเป็นผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๖) การทวงถามหนี้ที่ไม่เหมาะสมในลักษณะอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด ความใน (๕) มิให้นามาใช้บังคับกับการทวงถามหนี้เป็นหนังสือเพื่อจะใช้สิทธิฟ้องคดีต่อศาล

คาอธิบาย ข้อห้ามการทวงถามหนี้ในลักษณะขาดคุณธรรมและจริยธรรม คือ (๑) ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ทาให้เกิดความเสียหายแก่ร่างกาย ชื่อเสียง ทรัพย์สินของลูกหนี้หรือผู้อื่น (๒) ใช้วาจาภาษาที่เป็นการดูหมิ่นลูกหนี้หรือผู้อื่น (๓) แจ้งหรือเปิดเผยความเป็นหนี้ให้แก่ผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้

๒๘๓

มาตรา ๑๐ วรรคสอง ข้อสังเกต ๒๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๒


๙๐ (๔) ติดต่อลูกหนี้โดยไปรษณียบัตร เอกสารเปิดผนึก โทรสาร หรือสิ่งอื่นใดที่สื่อให้ทราบว่าเป็นการ ทวงถามหนี้อย่างชัดเจน เว้นแต่กรณีการบอกกล่าวบังคับจานองด้วยวิธีการประกาศหนังสือพิมพ์ ซึ่งเจ้าหนี้ไม่ สามารถติดต่อลูกหนี้โดยวิธีการอื่น (๕) การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมายใน การติดต่อลูกหนี้ที่ทาให้เข้าใจได้ว่าเพื่อการทวงถามหนี้ (๖) การทวงถามหนี้ที่ไม่เหมาะสมในลักษณะอื่น

ข้อสังเกต กาหนดข้อห้ามในการทวงถามหนี้โดยต้องไม่กระทาการในลักษณะข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ใช้วาจาหรือ ภาษาที่เป็นการดูหมิ่นลูกหนี้หรือผู้อื่น เปิดเผยความเป็นหนี้ของลูกหนี้ให้แก่ผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง ติดต่อลูกหนี้ เกี่ยวกับหนี้โดยไปรษณียบัตรหรือเอกสารเปิดผนึกหรือโทรสาร ใช้ภาษา สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้บนซองจดหมาย เพื่อให้เข้าใจว่าเป็นการติดต่อมาเพื่อการทวงถามหนี้ และการทวง ถามหนี้ที่ไม่เหมาะสมในลักษณะอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด๒๘๔ ให้ข้อมูลเสริมเกี่ยวกับเรื่องฎีกา๒๘๕ เพราะคดีอาญาที่วินิจฉัยว่าไม่เป็นเรื่องกรรโชก เรื่องคุมคน ถ้าจะมี ฎีกา ๓๒๔๗ ปี ๑๖ กรณีที่เจ้าหนี้ไปทวงหนี้ แล้วก็ติดต่อลูกหนี้ไม่ได้ ก็เลยไปขู่ลูกหนี้ว่าถ้าไม่ไปชาระ ก็จะไป ติดประกาศให้เสียชื่อเสียง ขู่เอาไว้ แล้วก็ไปติดประกาศที่ต่าง ๆ ศาลก็ตีความว่าไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท ไม่มีความผิ ดฐาน ทาให้ เสียเสรีภาพ แล้วก็ไม่มีความผิดฐานกรรโชกหรือมีฎีกาที่ ๑๙๔๒ ปี ๑๔ กรณี ที่ตัว จาเลย ถูกลักขโมยเอาโคไปฆ่าเนื้อ แล้วก็เลยเรียกร้องเอาค่าเสียหาย ค่าโทรจากผู้เสียหาย แล้วก็ขู่บอกว่า ถ้า ไม่ให้จะเอาตารวจมาจับดาเนินคดีฐานรับของโจร ผู้เสียหายกลัวจะถูกดาเนินคดีอย่ามาเอาเงิน มาชาระก็จะถือ ว่าเป็ น การข่ม ขืน ใจ ขู่เข็ญ ผู้ เสี ย หายทางกรรโชกไม่ผิ ด ส่ ว นประเด็ นของทางทนายความเท่าที่ ตรวจสอบ ข้อบังคับของสภาทนายเกี่ยวกับเรื่องการดาเนินการในเรื่องนี้ ก็จะรู้สึกจะมีอยู่ในข้อ ๑๘ หมวด ๔ มรรยาทต่อ ประชาชนผู้มีอรรถคดีก็จะมีข้อ ๑๘ บอกว่าการประกอบอาชีพ ดาเนินธุรกิจหรือประพฤติตนเป็นการฝ่ายืนต่อ ศีลธรรมอันดี หรือเป็นการเสื่อมเสียต่อศักดิ์ศรี และเกียรติคุณของทนายความ คือจะเข้าก็เข้าข้อนี้ข้อเดียว เท่านั้น ถ้าเป็นการทวงหนี้ที่ไม่ถูกต้อง ขึ้นต้นกฎหมายนี้อ้างว่า๒๘๖มีการทวงถามหนี้ที่ไม่เหมาะสมต่อลูกหนี้ ไม่ได้อ้างว่าผิดกฎหมาย อ้างว่า ไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นตัวอย่างเป็นการใช้ถ้อยคาที่เป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลอย่างรุนแรง ละเมิดสิทธิ ส่วนบุคคลละเมิดก็ทางแพ่ง ก่อให้เกิดความเสียหายทางแพ่ง ไม่ใช่โทษอาญา คุกคามโดยขู่เข็ญ พวกนี้มีโทษ อาญา ประมวลกฎหมายอาญามีอยู่ การใช้กาลังประทุษร้ายความผิดอาญา กฎหมายอาญามีอยู่ ทาให้เสีย ชื่อเสียงก็อาจจะเป็นความรับผิดทางแพ่งทางละเมิด การให้ข้อมูลเท็จก็อาจจะเป็นอาญา แล้วอาจจะละเมิด ทางแพ่งได้ด้วย สร้างความเดือดร้อนราคาญแก่บุคคลอื่นเป็นลหุโทษ แล้วก็อาจจะเป็นเรื่องความรับผิดทาง แพ่ง แล้วก็บอกว่ายังไม่มีกฎหมายกาหนดหลักเกณฑ์วิธีการทวงถามหนี้และควบคุมการทวงถามหนี้ มีกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องค่อนข้างเยอะและครอบคลุมอยู่แล้ว แต่การทวงถามหนี้ ในกรอบของการใช้สิทธิของเจ้าหนี้ ในการ ทวงถามหนี้มีกรอบอยู่ ๑. ต้องไม่ละเมิดกฎหมาย

๒๘๔ ๒๘๕ ๒๘๖

มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๒ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๘๓


๙๑ ๒. ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย พวกนี้มันขัดต่อความสงบเรียบร้อยได้ ก็อาจจะเป็นความผิดอาญาอีก ประเภทหนึ่ง การควบคุมการทวงถามหนี้ ถ้าในระบบของสถาบันการเงิน หน่วยงานที่กากับควบคุมสถาบันการเงิน นี้มีหน้าที่ดูแลอยู่แล้วว่าจะทวงหนี้อย่างไร จะกาหนดค่าธรรมเนียมอย่างไร มีหน่วยงานที่ดูแลสถาบันการเงิน ทั้งระบบที่สามารถออกประกาศออกกฎที่จะมาควบคุมสถาบันการเงินต่าง ๆ ได้อยู่แล้ว เพราะฉะนั้นบอกว่าไม่ มีกฎหมาย จึงจาเป็นต้องมีกฎหมายต้องการให้ผู้ที่จะไปทวงถามหนี้แล้วต้องไปจดทะเบียนเสียค่าธรรมเนียม ได้รับอนุญาต การไม่ได้รับอนุญาตเป็นความผิดต่างหาก ที่เกิดขึ้นจากการไม่มีใบอนุญาต ส่วนที่ไปก้ากึ่งกับการ รุกล้าเข้าไปในทางการทาหน้ าที่ของวิชาชีพและสภาวิชาชีพ ทนายความมีสภาวิชาชีพ คือสภาทนายความ ควบคุมอยู่ จะมีอีกหน่วยงานหนึ่งมาควบคุมซ้ากับสภาทนายความ สภาวิชาชีพส่วนใหญ่จะไม่ยอม มีหน่วยงาน ไปซ้อนหน่วยงานไม่ได้ จะทาให้การทาหน้าที่ของวิชาชีพถูกแทรกแซง ถูกกากับ โดยไม่มีความเป็นอิสระตาม วิชาชีพ อันนี้ขัดหลักจริยธรรมเบื้องต้นของวิชาชีพ การทาหน้าที่ของนิติกร ที่ปรึกษาทั้งหลายในหน่วยงานรัฐหรือเอกชนมีหน้าทีท่ าตามที่ได้รับมอบหมาย ตามอานาจหน้าที่ เช่นการบอกกล่าว Notice ทวงถาม บังคับจานอง ทั้งหมดมีกฎหมายต่างหาก กาหนดอยู่ แล้วก็สามารถที่จะควบคุมดูแลได้อยู่แล้ว ไม่จาเป็นต้องมีกฎหมายอย่างนี้อีก เพราะฉะนั้นอยากจะเรียนสรุป อย่างนี้ว่าถ้าเป็ นไปได้ควรจะเสนอสภานิ ติบัญ ญัติแห่งชาติถึงความเห็นของคณะกรรมาธิการชุดนี้ว่า ขอให้ เปลี่ย นแปลงหลั กการและเหตุผลของการออกกฎหมายฉบั บนี้ว่าต้องการไปถึงหนี้น อกระบบหรือไม่ ถ้ามี ต้องการอย่างไร ทาให้ชัดเจนแล้วกรรมาธิการจะทางานสะดวกขึ้น หลักการในกฎหมายนี้แบบที่ต้องการควบคุมการทวงถามหนี้๒๘๗ ทีนี้ในหลักการที่เริ่มต้น ผู้ทวงถามหนี้ หมายความว่า ผู้ให้สินเชื่อ จริง ๆ ผู้ทวงถามหนี้ในที่นี้คือเจ้าหนี้ ถ้าตามกฎหมาย ใน พ.ร.บ. กฎหมายแพ่ง ผู้ให้ สินเชื่อจะไม่มี จะมีเฉพาะเจ้าหนี้ ลูกหนี้ หนี้ ผู้ให้สินเชื่อ ถ้าสถาบันการเงินพอจะรู้ เพราะว่าในแบงก์ชาติจะ กาหนดไว้ สถาบันการเงินให้ควบคุมสินเชื่อ สินเชื่อรวมหมดเลย นั่นคือสินเชื่อ แต่ถ้าประชาชนแบบว่า เจ้าหนี้ ลูกหนี้ หนี้ เพราะฉะนั้นคนที่จะทวงก็คือ เจ้าหนี้ ซึ่งเป็นเจ้าหนี้จะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายก็ ตาม ถ้ามีหนี้เกิดขึ้นที่ลูกหนี้ อาจจะเป็นหนี้ตามจรรยาบรรณหรือตามศีลธรรมหรืออะไรก็ตาม เพราะว่ามีหนี้ หลายประเภท เจ้าหนี้ก็มีสิทธิที่จะทวง ทีนี้การทวง ถ้าหนี้ไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ถูกต้องก็คงจะต้องใช้ การทวงที่แบบว่าไปฟ้องก็ไม่ได้ ทาอะไรก็ไม่ได้ คือต้องใช้อานาจที่ไม่ชอบ ไปทวงถามเขา ข่มขู่บ้าง ตัดนิ้ว ตัด มือส่งมาให้ บ้าง อันนั้นก็คือวิธีการซึ่งอยากจะควบคุมตรงนี้ว่าผู้ทวงถามหนี้ ถ้าคุณทวงไม่ถูก คุณจะต้องถูก ลงโทษตามกฎหมายนี้ ส่วนหนี้แบบที่ถูกต้องว่าจะกาหนดว่าหนี้อะไรบ้าง เช่น เจ้าหนี้ หมายถึงผู้ให้การกู้ยืม เงิน หรือว่าให้อะไรก็ตามที่ก่อภาระหนี้ขึ้น จะชอบหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายอะไรก็มีสิทธิที่จะได้รับชาระหนี้นั้น ลูกหนี้มีหน้าที่ต้องชาระหนี้ คือหนี้อะไร ถ้าแยกออกมาแบบนี้ทั่ว ๆ ไปคงคิดว่าจะเข้าใจและไปตรงจุดที่ว่า ควบคุมการทวงถามหนี้ แต่ห นี้ นั้ น มาจากหนี้อะไร ถ้ามีการทวงถามหนี้ แล้ ว ถ้าไม่ช อบด้ว ยกฎหมายตาม พระราชบัญญัตินี้ก็จะมีความผิด รายงานถึงบทสรุปของอนุกรรมาธิการที่ไปรับฟังความคิดเห็นจากทั้งลูกหนี้ ๒๘๘เจ้าหนี้ เจ้าหนี้เขาก็ สะท้อนมาในมาตรา ๑๑ (๒) ว่า ข้อความที่ห้ามทวงหนี้โดยใช้วาจาหรือภาษาที่เป็นการดูหมิ่น ถากถาง หรือ เสียดสีลูกหนี้ เป็นคาที่ไม่มีความชัดเจน คาพูดใดที่มีลักษณะเป็นการถากถาง หรือเสียดสี หรือเป็นความผิด ตามร่างพระราชบั ญ ญัติฉบั บนี้ อาจก่อให้ เกิดปัญ หาในการตีความในภายหลัง บทบัญ ญัติของร่างพระราช ๒๘๗ ๒๘๘

มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๔ นายสงคราม สกุลพราหมณ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๒


๙๒ บัญญัติฉบับนี้มีโทษที่หนักกว่าประมวลกฎหมายอาญามาก ซึ่งคณะอนุกรรมาธิการเห็นชอบที่จะพิจารณาให้มี โทษจาคุกหนัก เบา โดยพิจารณาจากประมวลกฎหมายอาญา แล้วก็ปรับโทษให้เกิดความเหมาะสมขึ้น นี่คือ ภาพสะท้อนของฝั่งเจ้าหนี้เขา ก็อยากจะเรียนที่ประชุมเพื่อเป็นการเตือน ในมาตรา ๑๑๒๘๙ตั้งข้อสังเกตว่า อย่างคาว่า “การข่มขู่” ถ้าแปลความโดยทั่วไปก็ไม่ยาก แต่ว่าการ ข่มขู่ว่าจะใช้สิทธิทางกฎหมายเข้ากับตรงนี้ไหม ซึ่งตามแนวคาพิพากษาศาลฎีกาก็คือ ถ้าข่มขู่ว่าจะใช้สิทธิทาง กฎหมายไม่ผิด แต่เนื่องจากร่างตัวนี้เป็นกฎหมายพิเศษ เน้นในการที่จะคุ้มครองลูกหนี้ จะมีปัญหาเกี่ยวกับ อย่างที่ นั่นประการที่ ๑ ประการที่ ๒ ใน (๑) คือการกระทาอื่นใดที่ทาให้เกิดความเสียหายแก่ร่างกาย ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของลูกหนี้หรือผู้อื่น ในกรณีที่ผู้ทวงถามหนี้ไปทาการบังคับคดีตามกฎหมาย ซึ่งโดยปกติทั่วไปใน กรณีที่ไปยึดทรัพย์ของบรรดาลูกหนี้ตามคาพิพากษา ก็ถือว่าเป็นการทวงหนี้อย่างหนึ่ง ในกรณีลูกหนี้ไม่อยู่บ้าน ฝ่ายเจ้าหนี้ หรือว่าผู้รับมอบอานาจของเจ้าหนี้ก็คื อผู้ทวงถามหนี้สามารถที่จะเปิดบ้าน หมายความว่าก็ต้อง ทาลายกุญแจบ้านเข้าไปเพื่อทาการยึดทรัพย์ ในทางปฏิบัติทางกฎหมายทากันอยู่ ประเด็นก็อย่างที่เรียนไปว่า ตรงนี้ได้รับการคุ้มครองด้วยหรือเปล่า ถ้าไม่บ่งบอก หรือมีข้อความที่ยกเว้นเอาไว้ก็จะมีการตีความ ทาให้เกิด ความวุ่นวายขึ้นมาอีก ใน (๑) ๒๙๐ ถ้าอ่านจะเข้าใจอย่างนี้ว่า การข่มขู่ หรือการใช้ความรุนแรง หรือการกระทาอื่น ๆ จะต้อง ทาให้เกิดความเสียหายแก่ร่างกาย ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของลูกหนี้หรือผู้อื่น เพราะฉะนั้นการกระทาที่ไม่ใช่ ทาให้เกิดความเสียหายนั้นก็ไม่เข้าใน (๑) ว่าที่ทาให้เกิดความเสียหายขยายทั้งหมด เข้าใจอย่างนั้น ไม่ใช่ว่าไป ขยายการกระทาอื่น ที่ทาให้เกิดความเสียหายนี้ขยาย ตั้งแต่ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง และการกระทาอื่น ๆ เข้าใจ อย่างนี้ถูกต้องไหม ประเด็นที่บอกข่มขู่นั้นหมายถึง ๒๙๑ กรณี ที่ศาลฎีกาตีความเรื่อง กรรโชกทรัพย์ที่ ว่าไม่เป็นกรรโชก เพราะว่าเป็นทรัพย์ คล้าย ๆ เจ้าหนี้ทวงถามหนี้ ซึ่งกรรโชกทรัพย์ต้องหมายถึงไปกรรโชกเอาทรัพย์คนอื่น ศาล ฎีกาก็เลยบอกไม่เป็นกรรโชกทรัพย์ ก็คือไม่ผิดเรื่องกรรโชกทรัพย์ แต่ว่ากรณีนี้เห็นความเหมาะสมว่า ตาม ธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว ไม่ควรที่จะมีการข่มขู่ในการทวงถามหนี้ เพราะรู้สึกจะเป็นการใช้สิทธิเกินส่วนเกินไป ก็ จะถูกลงโทษตามนี้ ไม่ทราบเข้าใจว่ากรณีนั้นถึงได้เกิดเป็นปัญหาช่องว่างว่า กฎหมายปัจจุบันยังไม่ได้คุ้มครอง ลูกหนี้ ซึ่งเข้าใจว่าสังคมไม่ควรที่จะยอมให้มีการข่มขู่ลูกหนี้ ในการที่จะทวงหนี้ ส่วนเรื่องการเข้าไปปิดบ้าน ไป ยึดทรัพย์ ไปอะไร เข้าใจว่าอันนั้นอาจจะไม่เข้าไปเรื่องทางอาญา แต่ว่าในเรื่องทางความเหมาะสม ในเรื่องทาง สังคม ถึงแม้จะเป็นทรัพย์ของเจ้าหนี้ก็ตาม แล้วก็มาเอาทรัพย์ไปจากในบ้าน หรือเอาทรัพย์อื่นไปชาระหนี้แทน อย่างนี้ คิดว่าก็เป็นเรื่องทาให้เสียทรัพย์หมด เพราะว่าการที่ได้รับชาระหนี้ก็ต้องฟ้องอย่างเดียว คือจะไปใช้ กาลังบังคับอะไรไม่ได้เลย หมายความก็คือ๒๙๒ไปบังคับคดีตามกฎหมาย แต่ว่าต้องมีการเปิดบ้านของลูกหนี้เพื่อไปยึดทรัพย์ตาม คาพิพากษา ซึ่งตรงนั้นก็ถือว่าเป็นการทวงถามหนี้อย่างหนึ่งเหมือนกัน ตรงนี้เป็นห่วงว่า เนื่องจากกฎหมายตัว นี้ ประเด็นในการที่จะคุ้มครองประโยชน์ของลูกหนี้ ถ้าจะไปแปลความให้ลูกหนี้ได้รับสิทธิประโยชน์เต็มที่ก็จะ ทาให้การดาเนินกระบวนพิจารณา โดยเฉพาะการบังคับคดีตามวิธีพิจารณาความแพ่ง ก็อาจจะเสียไป

๒๘๙ ๒๙๐ ๒๙๑ ๒๙๒

มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๙ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑


๙๓ การกระทาถ้าเป็นกระบวนการของกฎหมาย ๒๙๓ไม่น่าจะเข้า เพราะว่าที่เรียนว่า ใน (๑) นี้ ไม่ว่าจะ ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง การกระทาอื่น ๆ ทาให้เกิดความเสียหายแก่ร่างกาย ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของลูกหนี้ ซึ่ง กระบวนการที่ทาตามกฎหมาย อันนั้นไม่ได้เข้าตรงนี้ จะทาให้เกิดความเสียหาย ถึงบอกว่า คาว่า “ทาให้เกิด ความเสียหาย” นี้ขยายในขั้นต้นทั้งหมด คาว่า “ภาษา” จะเป็น ถ้อยคาหรือเปล่า การใช้วาจาหรือถ้อยคา หรือจะใช้ภ าษาอันนี้ คือภาษานี้ หลากหลาย แต่ว่าถ้อยคาก็เป็นภาษาอะไรก็ตาม ใช้คาว่า “ภาษา” เจตนาอะไรครับ ใน (๒) คือวาจาหรือภาษา ที่เป็นการดูหมิ่น วาจา หรือถ้อยคา จะเป็นอย่างไร เห็นใช้คาว่า “ภาษา” วาจา๒๙๔ เน้นเรื่องการพูดด้วยปากเปล่า ภาษา ก็เรื่องการเขียน การส่ง Line อะไรพวกนี้ เวลาร่างกฎหมาย๒๙๕ จะพูดบอกว่า ระวังศรีธนญชัย เป็นการตีความ หมายถึงว่า ศรีธนญชัยก็ไม่ค่อย กล้าเกิดถ้าตีความกัน ยกประเด็นขึ้นมาให้ดูเท่านั้นเอง ให้เข้าใจภาษา ให้เข้าใจออกมาให้ตรงกันว่าภาษาที่พูด ถึงนี้ ที่เขียนไว้นี้หมายถึงอะไร มีข้อสังเกตอัน หนึ่ ง ๒๙๖ นี่ ยังไม่ครบ ยังขาดท่าทางอีกอันหนึ่ง มีใช้ Body language อันนี้ไม่ทราบ คณะกรรมาธิการ จะต้องใส่หรือเปล่า ตรงนี้แล้วแต่ความเห็น ท่าทางดูหมิ่น เหยียดหยาม ทาได้ไหม คิดว่าไม่น่ารวม๒๙๗ เพราะไม่อย่างนั้นอาจจะเขียนไปว่า สื่ออื่นใดไปเลย หรือการกระทาในลักษณะ ใดๆ ซึ่งคิดว่าก็จะกว้างไป แต่เรื่องภาษาใบ้ แน่นอนว่าความหมายเป็นภาษาอย่างหนึ่ง ขอให้เป็นภาษา ภาษาจะคลุมหมด๒๙๘ภาษามือ ภาษากาย เชือดคออย่างนี้ก็ได้ ภาษากายก็ได้ อะไรก็ได้ ข่มขู่ได้หลาย แบบ น่าจะคลุม อย่างที่เรียนเบื้องต้นว่า๒๙๙ตรงนี้ทางสถาบันการเงินค่อนข้างจะเป็นห่วง อย่างการใช้วาจา ภาษาที่เป็น การดูห มิ่น ก็คงไม่เท่าไร เพราะว่าเห็ น ชัดเจน ทีนี้คาว่า “ถากถาง เสี ยดสี ” ตรงนี้แค่ไหน อย่างไร เส้ นแบ่ง ความถูกผิดระหว่างคาว่า “ถากถาง” คืออะไร บางแค่ไหน ตรงนี้ที่ได้มีฝ่ายเจ้าหนี้ได้มาพูดคุยสะท้อนปัญหา ตรงนี้มาว่า นี่คือจุดเปลี่ยนของสถาบันการเงินที่จะพิจารณาให้สินเชื่อลูกหนี้รายย่อย เพราะว่าคาว่า “เสียดสี” กับ “ถางถาง” นี่แหละเป็นจุดเปลี่ยน ซึ่งทาให้สถาบันการเงินบางสถาบันตอนนี้ชะลอการปล่อย สินเชื่อส่วน บุคคลให้กับลูกหนี้แล้ว เขารอกฎหมายตัวนี้อยู่ เขารอคาชี้แจง รอความชัดเจนคาว่า “เสียดสี ถากถาง” แค่ ไหน เพียงใด ตรงนี้คิดว่าเป็นประเด็นหลัก แต่ว่าดูหมิ่นชัดเจนว่าการกระทาอย่างไรเป็นการดูหมิ่น แต่ตรงนี้คิด ว่าอยากจะฝากท่านประธานว่าต้องพิจารณากันพอสมควร ถ้อยคาที่กาหนดไว้ในลักษณะของข้อห้ามการทวงหนี้ก็อาจจะมีถ้อยคาที่ลงไปในรายละเอียด ๓๐๐ที่ มากกว่ากรณีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา แม้แต่คาว่า “ดูหมิ่น” เอง จริง ๆ ในที่สุดแล้ว ก็เถียงกันได้ ว่าเป็น ดูหมิ่นหรือไม่ดูหมิ่น ในที่สุดก็ต้องอยู่ที่ดุลพินิจของศาลที่จะพิจารณาตัดสิน ในส่วนของถ้อยคาที่กาหนด ทั้ง ถากถาง เสียดสี ลักษณะความเข้าใจก็ต้องเทียบเคียง ลักษณะของวิญญูชนทั่วไป ส่วนจะผิดหรือไม่ผิด ก็คง ให้เป็นดุลพินิจของศาล

๒๙๓ ๒๙๔ ๒๙๕ ๒๙๖ ๒๙๗ ๒๙๘ ๒๙๙ ๓๐๐

มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๙ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๑๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๙ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๑๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๔๙ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๑๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๑๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๐ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๑๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๑๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๗๗


๙๔ ในเรื่องนี้ อะไรคือ ถางถาง๓๐๑ อะไรคือ เสียดสี ดูหมิ่น เหมือนหมิ่นประมาท ทุกอย่างอยู่ที่ดุลพินิจ ทั้งนั้น ไม่สามารถจะ Definition ลงไปได้ แน่นอนเลย ไม่สามารถจะกาหนดข้อความลงไปได้อย่างแน่นอนว่า อะไรเป็น แล้วอะไรไม่เป็นต้องดูข้อเท็จจริงเป็นเรื่อง ๆ ไปมากกว่า ประมวลกฎหมายอาญามีเยอะที่ศาลต้องใช้ ดุลพินิจ ต้องใช้ดุลพินิจตัดสินเองว่าอันไหนผิด อันไหนถูก อันนี้ปล่อยให้เป็นหน้าที่ข องศาลไป คาว่า “ถาก ถาง” หรือ “เสียดสี” เพราะว่าจะไปให้คาจากัดความให้ชัดเจนคงเป็นไปไม่ได้ เห็นด้วยว่าเจตนารมณ์ฉบับนี้ต้องการสร้างมาตรฐานคุ้มครองลูกหนี้ ๓๐๒ว่าจะต้องได้รับการทวงหนี้ที่ เหมาะสม ซึ่งคือคุ้มครองตั้งแต่ระดับเบาเลยว่าไม่ควรที่จะมีการทวงถามที่ทาให้เกิดความรู้สึกว่าไม่เหมาะสม ส่วนปัญหาที่ตามมามีการทะเลาะมีอะไรกันนี้ก็อาจจะเป็นเหตุ ในการลดหย่อน หรือว่าในการที่จะไปกาหนด เข้าใจว่าไม่ได้หมายถึงว่าพอผิดแล้วอัตราโทษ จะต้องเล่นหนักทุกอย่าง ถ้าตามพฤติการณ์เป็นลักษณะที่ว่า ลูกหนี้ก็เป็นคนยั่วยุแล้วก็ทะเลาะ เบาะแว้งอะไรกัน คิดว่าก็คล้าย ๆ เหมือนกับกรณีที่ว่าทะเลาะเบาะแว้งแล้ว ชกต่อยกัน ทางศาลก็ไม่ได้ลงโทษตามว่าข้อหาคล้าย ๆ ว่าเป็นคนทาร้ายร่างกาย ก็จะมีเหตุลดหย่อนหรือตาม ประมวลกฎหมายอาญามีอยู่แล้วเรื่องบันดาลโทสะ เรื่องอะไรพวกนี้ แต่นี่เน้นในเรื่องคือถ้าทะเลาะกันไปจนถึง เรื่องอื่นแล้วอาจจะไม่ใช่เป็นเรื่องลักษณะการทวงถามหนี้แล้ว เป็นที่เกิดจากการทวงถามหนี้แล้วไปทะเลาะกัน เรื่องอื่น แต่ขั้นตอนในวิธีการทวงก็ต้องเริ่มต้นว่าเจ้าหนี้ต้องทวงกันแบบสุภาพ แต่เหตุการณ์ที่เกิดตามมาว่าก็ เป็นเรื่องอาญาเรื่องอะไรก็ไปว่ากันต่างหาก แต่เนื่องจากว่าทางเจ้าหนี้เริ่มต้นก็ใช้วิธีการดูหมิ่น ถากถาง เสียดสี โดยที่ไม่ได้เกิดจากทางฝ่ายลูกหนี้เลย จุดประสงค์ต้องการคุ้มครองค่อนข้างกว้าง แล้วตัว (๖) ก็ยังเปิดโอกาสให้ ทางคณะกรรมการไปประกาศกาหนดในลักษณะอื่นที่ไม่เหมาะสมตามมาอีก ซึ่งทางผู้ร่างกฎหมายเห็น ว่าเรื่อง ถากถางกับเสียดสีนี้ไม่เหมาะสม เพราะฉะนั้นทางคณะกรรมการก็อาจจะไปเพิ่มเรื่อง เหยียดหยาม ดูถูกอะไร พวกนี้ คือคาภาษาเหล่านี้ก็มีความหมายไม่ค่อยชัดเจน ก็ต้องคานึงถึงเรื่อง วิญญูชน ทางศาล ทางผู้ใช้กฎหมาย ก็ต้องไปคานึงถึงพิจารณาให้เหมาะสมว่าเข้าลักษณะนั้นหรื อเปล่า ค่อนข้างจะเห็นว่าน่าจะคงไว้ตามนี้ แล้ว หลักการควรจะมีมาตรฐานตามนี้ เน้นคือว่า ต้องการให้เกิดการทวงถามแบบเหมาะสม คาว่า ผู้อื่น๓๐๓จะหมายถึงใคร เพราะว่าสิ่งที่พิจารณามาจะใช้คาว่า ลูกหนี้หรือบุคคลอื่น ใช่ไหม คือ เกรงว่าจะขยายไปเกินกว่าคาว่า บุคคลอื่น คือผู้อื่นก็คือบุคคลที่สามที่ ๓๐๔ไม่ใช่ตัวลูกหนี้ คุ้มครองหมดที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เพราะว่าการทวงถาม หนี้ก็ไม่ควรจะไปกระทบกับบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ลูกหนี้เท่านั้น จริง ๆ เข้าใจว่าในความหมายบุคคลอื่นกับผู้อื่นนี้ก็มี ความหมายในลักษณะเดียวกัน คือบุคคลใดก็แล้วแต่ที่ไม่ใช่ตัวลูกหนี้ ถ้าเช่นนั้นทาไมไม่ใช้คาเดียวกัน๓๐๕เพราะว่าตอนแรกเข้าใจว่ามากกว่าบุคคลอื่นที่ลูกหนี้ได้ระบุไว้ เลย ใช้คาว่าผู้อื่น อย่างเช่น อาจจะไม่ได้ระบุญาติ คนนี้ที่จะติดต่อได้ แต่อาจจะไปทาการพูดถากถาง เสียดสีกับคน อื่นที่อยู่ภ ายในบ้านซึ่งอาจจะเป็ นคนรับ ใช้ห รืออะไรอย่างนี้ ถ้าความหมายเดียวกัน ขออนุญาตว่าน่าจะใช้ Wording เดียวกัน เป็นการใช้ Wording๓๐๖ ทางผู้แทนแบงก์ชาติติงคาว่า ผู้อื่น ใน (๑) และ (๒) ว่าทาไมไม่ใช่คาว่า บุคคลอื่น เช่นเดียวกับมาตราอื่น ๆ ที่ผ่านมาแล้ว ๓๐๑ ๓๐๒ ๓๐๓ ๓๐๔ ๓๐๕ ๓๐๖

มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๑๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๘๐ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๑๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๒๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๖๘ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๒๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๗๗ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๒๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๖๘ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๒๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๘๐


๙๕ ข้อ สั งเกตของการที่ ตั ด ๓๐๗ ถากถาง เสี ย ดสี ไปว่ากรณี คื อ การคุ้ ม ครอง ลู ก หนี้ จะไม่ ได้ มี การเพิ่ ม มาตรฐานอะไรขึ้นมา เพราะเรื่องดูหมิ่นนี้ผิดอยู่แล้วตามกฎหมายอาญา แต่กฎหมายฉบับนี้กาลังต้องการสร้าง มาตรฐานสังคมขึ้นมาอีกอย่างหนึ่งว่า ห้ามไปทาอะไรถึงแม้จะไม่ผิดอาญา แต่ว่ามาผิดตามกฎหมายนี้ก็เลยจะ กลายเป็ นว่าถึงแม้ไม่เขียนก็ไ ปผิ ดตามกฎหมายอาญาอยู่แล้ว เพียงแต่ว่าตอนนี้ต้องการคุ้มครองลูกหนี้ ซึ่ง สุดท้ายก็เห็นด้วยว่า ถากถาง เสียดสี คุณไปเขียนโดยเป็นประกาศคณะกรรมการก็ไม่ได้ต่างอะไรกัน ถ้าสังคม ยอมรับว่า สิ่งนี้ไม่ควรเกิดขึ้น และส่วนใหญ่น้อยมากที่ว่าเป็นลูกหนี้จะกระบวนการขั้นตอนนี้ม า ล่อหลุมพราง แล้วก็ไปเล่นงานกับเจ้าหนี้อะไรนี้ แต่ส่วนใหญ่ปัญหาจะเกิดจากการที่เจ้าหนี้กระทาต่อลูกหนี้ ลูกหนี้จะเป็น ผู้ถูกกระทามากกว่า ตั้งข้อสังเกตไว้ว่าก็เลยเป็นการไม่ได้เขียน กฎหมายอะไรมาคุ้มครองลูกหนี้เรื่องนี้เลยกับ สังคมที่เกิดขึ้น ข้อสังเกตถ้าเขียนอย่างนี้ก็ไม่ได้ช่วยลูกหนี้อะไรเท่าไร เพราะการตีความในลักษณะนี้คือคณะกรรมการ ก็คงจะไปประกาศกาหนดทั้งเรื่อง ดูถูก เหยียดหยามอะไรนี้ก็คงหมด แต่เรียนว่าเรื่องที่เกิดการทะเลาะเบาะ แว้งกันอะไรต่าง ๆ มีกระบวนการที่ศาลหรือผู้ใช้อานาจจะพิจารณาตามความเหมาะสมอยู่แล้ว ไม่ได้หมายถึง จากการที่ว่าตัวเจ้าหนี้บันดาลโทสะอะไรนั้นเป็นเรื่องที่การมีมาตรการบรรเทาโทษหรือไม่ได้ ลงทาเต็มที่อยู่แล้ว ทีนี้ประเด็นเรื่องสาหรับ ผู้อื่น คือทางผู้แทนแบงก์ชาติว่าทาไมไม่ใช้คาว่า บุคคลอื่น แต่ไม่ได้สงสัยใน เรื่องความหมายใช่ไหมว่า ทาไมต้องไปคุ้มครองบุคคลอื่นทั่วไปด้วย ทาไมความเสียหายนี้ก็น่าจะต้องเฉพาะ ลูกหนี้หรือเปล่า หรือเฉพาะถ้อยคา คืออยากทราบเจตนารมณ์ว่าตรงนี้จะครอบคลุม ๓๐๘เฉพาะผู้อื่นที่ลูกหนี้ได้ระบุไว้ หรือจะเป็นคนอื่น ด้วย ไม่ใช่เฉพาะที่ลูกหนี้ระบุไว้๓๐๙แต่แน่นอนว่าบุคคลอื่น ก็ต้องมีการเชื่อมโยงกับทางลูกหนี้ เกิดจากการ ที่ทวงหนี้กับลูกหนี้แล้วไปใช้วิธีการอะไรที่ต้องมีจุดยึดโยงเกาะเกี่ยว แต่ไม่จาเป็นต้องเป็นผู้รับมอบอานาจจาก ลูกหนี้ในที่จะทวงถามหนี้ คือ Scope มากกว่าบุคคลอื่นในความหมาย๓๑๐ ค่อนข้างจะกว้างมากว่า รวมทั้ง (๑) ด้วย๓๑๑ไปข่มขู่ ไปอะไรอย่างนี้ ใครก็ได้ แต่ว่าเกิดจากการที่มา ทวงหนี้ลูกหนี้ แล้วใช้วิธีการไม่เหมาะสม แน่นอนว่าจะไปทวงใช้วิธีการข่มขู่กับบุคคลอื่นทั่ว ๆ ไปก็ไม่มีจุดยึด โยง ก็ไม่เกี่ย วข้องอยู่แล้ว ต้องเกิดจากการที่ทวงถามหนี้ของลู กหนี้ แต่ใช้วิธีไปข่มขู่คนอื่น ซึ่งแน่นอนว่าก็ อาจจะส่งผลอิทธิพลต่อลูกหนี้เป็นการบีบบังคับให้ลูกหนี้ต้องมาชาระหนี้ ตามมาตรา ๑๑ (๓)๓๑๒จะคล้าย ๆ กับมาตรา ๘ (๒) ซึ่งตอนนั้นในมาตรา ๘ (๒) ที่ประชุมได้มีมติให้มี ข้อยกเว้นว่า เว้นแต่ในกรณีที่บุคคลอื่นนั้ นเป็นสามีภรรยา บุพการี หรือผู้สืบสันดานของลูกหนี้ และบุคคล ดังกล่าว ได้สอบถามผู้ทวงถามหนี้ถึงสาเหตุของการติดต่อ ให้ผู้ทวงถามหนี้ชี้แจงข้อมูลเกี่ยวกับหนี้ได้ เท่าที่ จาเป็นและสมควร ถ้าไม่มีข้อความดังกล่าวในข้อยกเว้นในมาตรา ๘ (๒) มาบังคับใช้กับ มาตรา ๑๑ (๓) จะ ขัดแย้งกันไหม

๓๐๗ ๓๐๘ ๓๐๙ ๓๑๐ ๓๑๑ ๓๑๒

มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๒๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๒๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๖๘ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๒๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๒๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๖๘ มาตรา ๑๑ (๑) (๒) ข้อสังเกต ๒๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๓) ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑


๙๖ เป็นลักษณะเดียวกัน พวกมาตรา ๘๓๑๓เป็นกระบวนการว่าอย่าไปติดต่อบุคคลอื่น มาตรา ๘ ห้ามทวง ถามกับบุคคลอื่นซึ่งไม่ใช่ลูกหนี้ แต่ถ้าจะติดต่อบุคคลอื่นทาได้เฉพาะว่าทราบที่อยู่ของลูกหนี้เท่านั้น เขาจะได้ ไปติดต่อลูกหนี้ถูก เพราะฉะนั้นในการติดต่อบุคคลอื่น มาตรา ๘ (๒) ก็เลยบอกว่า ในการติดต่อขอทราบ ที่อยู่ ก็ห้ามแจ้งถึงความเป็น หนี้ ซึ่งคล้าย ๆ มาตรา ๘ ไปเจาะจงเฉพาะเรื่องการถามที่อยู่ ในขณะที่มาตรา ๑๑ ก็ หลักการทานองเดียวกัน ก็คือว่าทวงถามหนี้ห้ามแจ้งหรือเปิดเผย ใน (๓) การแจ้ง หรือเปิดเผยเกี่ยวกับความ เป็นหนี้ของลูกหนี้ให้แก่ผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ทราบ ฉะนั้นก็หลักการทานองเดียวกัน ทีนี้ก็ต้อง เขียนยึดโยงกัน เพราะว่าตามมาตรา ๘ นี้จะเริ่มต้นจากการไปถามเรื่องชื่อ ที่อยู่ แล้วเขาก็ถามกลับมาว่าทวง ถามเพื่ออะไร ก็เลยแจ้งไป แต่กรณีนี้ไม่ได้เริ่มต้นจากการที่ว่ามีการไปทวงถามที่อยู่ แต่เป็นเรื่องที่ว่าอยู่ดี ๆ ก็ ไปแจ้ง หรือเปิดเผยเกี่ยวกับความเป็นหนี้ให้ลูกหนี้ที่ไม่เกี่ยวข้องเลย ไม่ได้มีจุดเริ่มต้นเหมือนกับมาตรา ๘ ที่ว่า เริ่มต้น จากการถามที่อยู่ เพราะฉะนั้ น ถ้ากรณี นี้เป็ นกรณี เข้าตามมาตรา ๘ เรื่องถามที่อยู่ แล้ ว คนที่อยู่ ใน ครอบครัวถามมานี้ ตอบได้ แต่กรณีมาตรา ๑๑ นี้จะไปแจ้งโดยตรงเลยไม่ได้ เพราะฉะนั้นถ้าเข้ากรณี ตาม มาตรา ๘ (๒) แล้วก็ใช้ได้เฉพาะกรณีเลย แต่กรณีนี้ก็ยังใช้บังคับอยู่ แต่ถ้ามาตรา ๑๑ (๓) ไม่เข้ากรณีมาตรา ๘ (๒) ก็จะผิดตามมาตรา ๘ (๒) เพราะฉะนั้นตรงนี้ปล่อยไปตามนี้น่าจะใช้ได้ เห็ น ด้ ว ยเพราะว่าอั น นี้ เป็ น การกระท าเลย ๓๑๔เพราะฉะนั้ น อั น นี้ ถ้าไม่ คงไว้จะมี ช่อ งให้ ท างเจ้าหนี้ ดาเนินการทันทีเลย โดยที่ไม่มีการสอบถาม อะไรเลย ข้อสังเกต มาตรา ๑๑ (๔) มาตรา ๑๑ (๔) นี้๓๑๕ห้ามเรื่องการติดต่อในลักษณะที่เป็นการเปิดเผย รวมไปถึงโทรสารด้วย พิจารณา มาตรา ๙ (๒) ไปกาหนดว่า ให้ติดต่อทางโทรสารได้ภายในเวลาที่กาหนด ฉะนั้น ๒ วรรคนี้ก็เลยดูเหมือนว่าจะ ขัดกันเอง อาจจะต้องมีข้อห้ามตามมาตรา ๑๑ (๔) แล้วก็คงจะต้องตัดมาตรา ๙ (๒) เรื่องโทรสารออก ในเรื่องของโทรสาร ๓๑๖ในบางกรณีสามารถทาได้ถ้าระบุเลขหมายไว้ ถ้าไปตัดหมดเลยกลายเป็นว่า สื่อสารด้วยวิธีนี้หายไป แต่ความจริงทาได้ แต่ว่าจะทาได้ในกรณีที่กาหนดไว้ว่า มีหมายเลขโทรสารที่ให้ติดต่อ เจตนาจริงๆ ก็คือหมายความว่า โทรสารทั่วไปที่อยู่ตามที่ทางานที่เป็นส่วนกลาง นี่คือสิ่งที่ประสบกัน แต่ว่ายังมี อีกส่วนหนึ่งที่มีโทรสารของตัวเอง เพราะว่าลูกหนี้มีหลากหลาย เพราะฉะนั้นลูกหนี้ที่มีโทรสารเฉพาะ หรือว่า ลูกหนี้ที่เป็นบริษัทที่ตัวเองเป็นผู้จัดการหรือเจ้าของ หรือเป็นลูกหนี้โดยตรง โทรสารในมาตรา ๗ นี้ก็คือโทรสาร ตามหมายเลขที่ได้ระบุไว้ ถ้าอย่างนั้นจะตัดการสื่อสารตรงนี้ออกไป ซึ่งก็เป็นเรื่องสาคัญเหมือนกัน แต่ว่าต้อง เป็นที่ระบุไว้ มาตรา ๑๑ (๔)๓๑๗ตอนท้ายการติดต่อลูกหนี้โดยไปรษณียบัตร เอกสารเปิดผนึก โทรสาร หรือสิ่งอื่นใด ที่สื่อให้ทราบว่า เป็นการทวงถามหนี้อย่างชัดเจน คาว่า “สิ่งอื่นใด” ถ้าประกาศหนังสือพิมพ์นี้คือสิ่งอื่นใดใช่ ไหม ดังนั้นเวลาที่ยกในคณะอนุกรรมาธิการว่าการทวงถามบอกกล่าวบังคับจานองแล้วไม่ได้ ปกติแล้วบางที ศาลยังดูว่าแล้วคุณประกาศหนังสือพิมพ์หรือเปล่า ก็ต้องประกาศหนังสือพิมพ์ เพราะเป็นไปตามกฎหมาย ถ้า อย่างนี้แล้วสิ่งอื่นใดเป็นการทวงถามหนี้ ประกาศหนังสือพิมพ์นี้ชัดเลย ทั่วไปมองเห็นหมดก็ผิดตามมาตรานี้ เพราะฉะนั้ น ถ้าเป็ น การทวงถามบอกกล่ าวบังคับจานอง หรือบอกเลิ กสั ญ ญาที่ไม่ส ามารถทวงถามได้ทาง หนังสือที่ไม่มีใครรู้เห็น จาเป็นต้องประกาศหนังสือพิมพ์ก่อนฟ้อง ที่บอกว่าการติดต่อลูกหนี้โดยไปรษณียบัตร เอกสารเปิ ด ผนึ ก โทรสาร หรื อสิ่ งอื่ น ใดที่ สื่ อ ให้ ท ราบว่าเป็ น การทวงถาม คาท้ ายนี้ หรือ สิ่ งอื่ น ใด รวมถึ ง ๓๑๓ ๓๑๔ ๓๑๕ ๓๑๖ ๓๑๗

มาตรา ๑๑ (๓) ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๓) ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๔ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๗๗ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๓๙ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒


๙๗ หนั งสื อพิ มพ์ เป็ น สื่ ออื่ น ใดเหมือนกัน ก็ต้องประกาศ ประกาศก็ คือเป็ นการเปิด เผยอย่างชัดแจ้ง จะต้องมี ความผิดตามมาตรานี้ด้วยหรือเปล่า ในทางปฏิบัติการทวงถาม ถ้าทวงถาม แล้วบอกกล่าวบังคับจานอง ถ้าส่งไปแล้วไม่ได้ ถ้าถึงศาลก็มี ศาลที่ยกฟ้องเหมือนกันว่า ได้ทวงถามแล้วว่า ที่อยู่ ภูมิลาเนาก็ไม่แน่ชัด อะไรก็ไม่สามารถนั่นเลย แม้แต่ศาล เองเวลา ส่งหมายไม่ได้ ศาลก็ใช้ประกาศเหมือนกัน อ้างอิงถึงศาลเนื่องจากว่าในทางปฏิบัติแล้ว ทนายก็ต้องใช้ วิธีการเดียวกับศาล คือประกาศทวงถามไปก่อน แต่ศาลเองเวลาส่งหมายไม่ได้ ส่ งคาบังคับไม่ได้ ทุกอย่าง ท้ายสุดก็คือประกาศหนังสือพิมพ์ มี ๒ ประเด็น๓๑๘เรื่องโทรสารอันหนึ่ง แล้วก็เรื่องสื่ออื่นใดอีกอันหนึ่ง เรื่องสื่ออื่นใด กรณีศาลคงไม่มี ปัญหา เพราะไม่ถือว่าเป็นการทวงหนี้ ส่วนกรณีของสานักงานทนายความในการไปประกาศโดยอาศัย อานาจ ตามอะไร อย่างไร ก็อยากจะขอความชัดเจนนิดหนึ่ง เพื่อที่จะดูว่าสามารถที่จะกาหนดยกเว้น เพราะว่าเป็นไป ตามกฎหมายอื่นอะไรอย่างนี้ หรือเปล่า เป็นแนวปฏิบัติกันมาจนกระทั่งชั้นศาลถือเป็นประเพณีไปแล้วว่า ๓๑๙การที่ทวงถาม ถ้าเป็นทนาย ถ้า บอกกล่าวบังคับจานองไม่ได้ แล้วไม่ทวงถามไปทางหนังสือพิมพ์ หรือไม่บอกเลิกสัญญาทางหนังสือพิมพ์ ศาลก็ ถือว่าอาจจะฟังได้ว่า ยังไม่ได้ทวงถาม เพราะจาเลยยังไม่รู้ แต่ประกาศหนังสือพิมพ์จาเลยจะอ่าน ไม่อ่าน ไม่ ทราบ แต่ถือว่าได้ทาครบตามขั้นตอนกระบวนการแล้ว ซึ่งก็ถือปฏิบัติกันมาแบบนี้ กรณีที่ต้องประกาศหนังสือพิมพ์ก็คือ ๓๒๐ไม่มีเขียนไว้ในกฎหมาย เพียงแต่ว่าส่งไปที่อยู่แ ล้ว พนักงาน ไปรษณีย์ก็บอกว่าย้ายไม่ทราบที่อยู่ เขียนรายงานอย่างนี้ ย้าย ไม่ทราบที่อยู่ แล้วก็ส่งไป แล้วก็ไปคัดทะเบียน บ้านเอา ทะเบียนบ้านอยู่ที่นี่ส่งไปที่ทะเบียนบ้านที่เป็นภูมิลาเนา ก็บอกว่าย้าย ไม่ทราบที่อยู่ ก็คือการส่งนี้ไม่ ชอบ ทางจาเลยหรือลูกหนี้ ยั งไม่ได้บอกกล่าวโดยชอบด้วยกฎหมาย มีวิธีสุ ดท้ายก็คือ โดยวิธีการประกาศ หนังสือพิมพ์ ประกาศหนังสือพิมพ์ไปก็นาสาเนาประกาศมาแถลง ศาลก็รับไว้พิจารณาว่า ถือว่าเป็นการบอก กล่าวโดยชอบแล้ว ทวงหนี้โดยชอบแล้ว ให้ระยะเวลาพอสมควรแล้ว นี่คือวิธีปฏิบัติ แล้วศาลก็รับฟังมา คราวนี้ ปัญหาว่า วิธีการสุดท้ายที่จะต้องไปประกาศหนังสือพิมพ์ ปกติเจ้าหนี้จะไม่ใช้วิธีการนี้ เพราะเสียค่าใช้จ่ายต้อง ไปลงหนั ง สื อ พิ ม พ์ แต่ ไม่ ใช่ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ไทยรั ฐ เดลิ นิ ว ส์ หนั งสื อ พิ ม พ์ ที่ ไม่ มี ใครอ่ านกั น แล้ ว ปั ญ หาว่ า หนังสือพิมพ์ฉบับนั้นพอไปประกาศแล้วเข้าความผิดตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ ซึ่งไปรับโทษก็จะมีปัญหาเรื่องการบอก กล่าว ไม่รู้จะบอกกล่าวด้วยวิธีการอย่างไรให้ชอบที่จะไปใช้สิทธิทางศาลได้ เรื่องนี้ไม่มีกฎหมายกาหนดไว้ว่า๓๒๑ให้ทางเจ้าหนี้สามารถจะไป ประกาศหนังสือพิมพ์ได้ แต่เป็นทาง ปฏิบัติมาตั้งนานแล้ว ซึ่งอันนี้ก็ยอมรับว่าศาลก็ยอมรับว่าเป็นการบอกกล่าวบังคับจานองอย่างถูกต้อง ถือว่า จาเลยทราบ แต่ไม่มีกฎหมายรองรับในตัวนี้ไว้ มีแต่เพียงคาพิพากษาของศาลขึ้นมาเท่านั้นเอง ก็จะเป็นเหตุให้ ตีความได้ อย่างไรก็ต้องเขียนให้ชัดเจนว่า ๓๒๒จะยอมให้มีการใช้โทรสารเฉพาะเบอร์ที่ มอบหมายให้ไว้ แต่ว่าการ ใช้โทรสารแน่นอนว่าอาจจะมีการเปิดเผยได้แน่นอน เพราะว่าถึงแม้จะเป็นทางบ้านลูกหนี้ คนที่อยู่ในครอบครัว เขาก็จะได้รับ แล้ วบทบั ญญัติพวกนี้ ไม่ได้มีการเขียนยกเว้นในลักษณะว่า เว้นแต่ลูกหนี้จะยินยอม จะอะไร เพราะว่าเข้าใจว่าหลักการของกฎหมายฉบับนี้ต้องการคุ้มครอง เลยไม่ได้เขียนช่องทางว่า ให้ไปยกเว้นทาอย่าง โน้น ทาอย่างนี้ได้ เป็นหลักได้ว่าให้เป็นความลับไม่ให้มีการเปิดเผย เพราะฉะนั้นก็คิดว่าถึงแม้โทรสารจะเป็น ๓๑๘ ๓๑๙ ๓๒๐ ๓๒๑ ๓๒๒

มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๗๗ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๒ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๘๐ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖


๙๘ เบอร์ที่แจ้งเอาไว้อย่างไรก็ตาม ก็คงจะเหมือนกับไปรษณียบัตรก็ไม่น่าที่จะให้มีการใช้วิธีการแจ้ งทวงหนี้ได้ อย่างไรก็น่าจะต้องไปตัดคาว่า “โทรสาร” ในมาตรา ๙ ออกก็ต้องไปใช้วิธีอื่นแทนในการที่จะต้องสื่อเรื่องให้ ลูกหนี้ทราบว่ามีการทวงหนี้ เพราะไม่อย่างนั้นจะขัดกันทันที ตอนนี้มีช่องทางมากมายที่เจ้าหนี้เขาสามารถติดต่อลูกหนี้ได้ ๓๒๓ นอกจากโทรสาร ซึ่งถ้าโทรสารติด ปัญหาในเรื่องของการต้องอนุญาตไหม เพราะบางท่านเชื่อว่า ถ้าเกิดลูกหนี้ยินยอม ถึงทากันก็ไม่มีการร้องเรียน เพราะว่ายิ นยอม แต่ถ้าลูกหนี้ ไม่ยิน ยอม ถ้ากฎหมายไม่ได้ตราไว้ลูกหนี้ไม่ยินยอม เขาก็ทาได้ ถ้ากฎหมาย กาหนดให้เขาทาได้ การมีโทรสารจะเป็นประโยชน์ ๓๒๔ในการที่จะมีการติดต่อสื่อสารกันได้ ไม่จาเป็นต้องเป็นการทวงหนี้ ตัวอย่างว่า เนื่องจาก พ.ร.บ. นี้คานิยามของคาว่า “หนี้” หรือว่า “ทวงถามหนี้” กว้าง รวมหนี้ทุกอย่าง อย่าง กรณีที่หนี้ประกันชีวิต หรือประกันรถยนต์ ก็แล้วแต่ใกล้จะขาด หรือวันท้าย ๆ ต้องการที่จะชาระ แต่ถ้าไปรอ เอกสารที่จะส่งจดหมายปิดผนึกทางไปรษณีย์อาจจะสายไปแล้ว แต่ต้องการที่จะให้เจ้าหนี้ส่งแฟกซ์ไปให้ด่วน เพื่อจะได้ชาระวันนี้หรือวันพรุ่งนี้ กฎหมายไม่เปิดช่องให้เลย ตรงนี้ถึงมีความเห็นว่าเรื่องไปรษณียบัตร ไม่เห็น ด้วยตัดออกไปได้เลย ไม่สมควรเปิดเผย แต่ขอคงไว้ เรื่องโทรสาร เว้นแต่อย่างว่าจะได้รับความยินยอม ลูกหนี้ ไม่ยินยอมทุกรายหรอก มีน้อยมากที่จะยินยอม แต่ก็มีประโยชน์ อย่างที่เรียนไปแล้วว่าบางทีหนี้ยังไม่ผิดนัด หลายครั้ง ด้วยซ้าแค่ใกล้จะถึงเวลาชาระหนี้ เขาเตือนเราทางโทรสารก็มีประโยชน์ ซึ่งถ้าไม่มีตรงนี้จะทาไม่ได้ เลย อาจจะทาให้ลูกหนี้เองเสียสิทธิหลายอย่าง หลักการในตัวกฎหมายฉบับนี้ไม่ต้องการเปิดช่องให้ลูกหนี้มายินยอมได้ ๓๒๕ เพราะเข้าใจว่าถ้าเปิดช่อง ให้มีการยินยอมได้ อย่างธนาคารก็คงเซ็นไว้ให้ครบหมดทุกอย่าง อะไรที่ไม่เหมาะสมสามารถ เขียนทาได้หมด เพราะฉะนั้นกฎหมายฉบับนี้ไม่ใช่เป็นกฎหมายความผิดทางส่วนตัว แต่เป็นการสร้างมาตรฐานว่าเป็นความผิด ต่อรัฐ จึงไม่ให้เจ้าหนี้กระทา แต่พอตรงโทรสารเน้นถึงเรื่องความเป็นส่วนตัวไม่ให้มีบุคคลอื่นทราบ มองแล้วก็ ไม่ต่างอะไรกับไปรษณียบัตร ก็ส่งไปถึงที่บ้านนั้นเหมือนกัน โทรสารก็โทรสารไปที่บ้านได้เหมือนกั น หลักการ เดียวกันว่าก็จะทาให้บุคคลอื่น มาทราบถึงเรื่องความเป็นหนี้ได้ คิดว่าโดยหลักแล้ว ถ้าหลักการไม่ต้องการให้ เปิดเผยโทรสารก็ต้องห้าม เหมือนกับไปรษณียบัตร หรือเอกสารเปิดผนึกทั้งหมด ไม่ต่างกันเลย อย่างกรณีเรื่อง ถึงก าหนดช าระ หมายถึงว่า ค่ าบริ การหรื อค่ าอะไรต่ าง ๆ อาจจะไม่ ใช่ เรื่องทวงหนี้ แต่ห มายถึงว่า เป็ น กระบวนการแจ้งให้ทราบถึงว่ามีครบรอบอะไรต่อไป ไม่น่าจะเป็นทวงหนี้ใช่ไหม แต่หมายถึงว่า ทะเบียนตรงนี้ จะหมดอายุแล้วให้มาต่อ ให้มาอะไร ไม่ใช่เป็นเรื่องทวงหนี้โดยตรง อันนั้นหมายถึงว่าเป็นการบริการให้ทราบ ว่าจะต้องไปทาอะไรต่อ แต่ถ้าทวงหนี้ก็คือหมายถึงหนี้เกิดแล้ว จะมาทวงหนี้ให้นัดชาระ ในเรื่ อ งของสั ญ ญากู้ ยื ม เงิ น ๓๒๖หรื อ สั ญ ญาการท าบั ต รเครดิ ต อยู่ ภ ายใต้ ป ระกาศของส านั ก งาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคอยู่แล้วว่า กรณีที่มีการทาสัญญา หรือมีหนี้ค้างชาระต่อกัน ผู้ประกอบธุรกิจก็ ต้องส่งใบแจ้งหนี้ หรือเอกสารในการติดตาม เพื่อแจ้งให้ลูกหนี้รับทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่ากี่วันอยู่แล้วในตัว ประกาศ ซึ่งก็ไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน อันนี้ตัวประกาศของสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคก็มีกาหนด เรื่องข้อสัญญา ข้อตกลงพวกนี้อยู่แล้ว ซึ่งถ้าถามว่าในตัวของรายละเอียดเวลาที่ไปทาใบคาขอ เท่าที่สังเกตก็ พบว่ามีหลักฐานที่ทางเจ้าหนี้รับทราบเยอะแยะมาก อย่างเช่น การให้แจ้ง E-mail ให้แจ้งเบอร์โทรศัพท์ ทั้งมือ ถือ โทรศัพท์บ้าน โทรสาร แต่ถ้าไม่กาหนดกรอบไว้เลยว่า สามารถติดต่อตัวไหนได้บ้าง เพราะฉะนั้นในเอกสาร ๓๒๓ ๓๒๔ ๓๒๕ ๓๒๖

มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๔ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๑๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๔


๙๙ ที่ลูกหนี้ยินยอม สุดท้ายคือเซ็นยินยอม ที่จะเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ เพราะเวลาที่เจ้าหนี้ตั้งหลักฐานกติกา ในการขอมีบัตร หรือขอกู้ยืมเงิน ตั้งกติกามากมาย ซึ่งลูกหนี้เซ็นเอกสาร ถามว่าทุกคนเคยเซ็นเอกสารบรรทัด เดียวหรือเปล่า ไม่เคย ทุกคนต้องชี้แจงทั้งหมดว่าคนที่คุณติดต่อได้มีใคร ญาติพี่น้อง คือไม่ได้ รายงานอย่าง เดียวว่าครอบครัวมีใครบ้าง คุณถามหมด ไม่ว่าเรื่องของการประกอบอาชีพ ที่ทางาน หรือว่าสถานประกอบ ธุรกิจที่าทางานอยู่ด้วย ถ้าเป็นผู้ประกอบธุรกิจก็สถานที่ประกอบธุรกิจ ใบจดทะเบียน เอกสาร คือหลักฐาน ต่าง ๆ เหล่านี้คุณมีทั้งหมด เพราะฉะนั้นถ้าไม่กาหนดกรอบของกฎหมายให้คุณใช้หลักฐานอะไรได้บ้างในการ ติดตามทวงถามหนี้ เชื่อว่าบางเรื่องจะเกิน ขอบเขต อันนี้พูดในทางที่เจอปัญ หา เพราะฉะนั้นถ้าถามว่า ถ้า กาหนดว่าสามารถทวง ทางโทรสารได้ ทาง E-mail ได้ทุกเรื่อง ลูกหนี้ก็โดนกันจ้าละหวั่น แต่ถ้าเกิดว่ากาหนด บ้าง บางเรื่องถ้าโทรสารเป็นเรื่องของการที่ลูกหนี้ไม่ได้รับเอกสารการแจ้งหนี้ในเดือนนั้น เชื่อว่าเขาโทรกลับไป แสดงว่าเขายินยอมอยู่แล้วที่ให้คุณส่งทางโทรสาร อันนี้ไม่มีปัญหา ไม่มีการร้องเรียนแน่นอน เพราะไม่เคยมี แต่ว่าที่มีร้องเรียนเข้ามาคือลักษณะที่เขียนไปเลยว่า คุณเป็นหนี้เท่าไร หรือว่า Fax ตัวนั้นไปให้เจ้านายเขา อย่างนี้ก็คือเป็นลูกหนี้ที่ร้องเรียนเข้ามา ที่มูลนิธิคือสะท้อนปัญหาให้เห็น ก็เลยอยากเรียนว่าทางที่ประชุมน่าจะ เป็นข้อมูลในการพิจารณาได้ กาหนดเรื่องไปรษณียบัตรที่เปิดเผยให้คนในที่ทางานรู้กันทั่ว๓๒๗โทรสารก็ Fax ซ้าซากประจานไปทั้ง สานั กงาน ก็อึดอัดสาหรับลูกหนี้ อยู่แล้ ว คราวนี้พอมาดูอันนี้ก็เป็นจุดประสงค์กฎหมายที่ต้องการคุ้มครอง ลูกหนี้ว่า วิธีการโทรสารก็ดี ไปรษณียบัตรก็ดี ทาให้ลูกหนี้อึดอัดเสียหายมาก เป็นการประจาน ลูกหนี้อย่าง หนึ่งก็เห็นด้วย น่าจะตัดช่องทางสื่อสารด้วยวิธีการโทรสารออกไปเสีย คงไม่เดือดร้อนเจ้าหนี้สักเท่าไร เพราะ เจ้าหนี้มีหลายช่องทางอยู่แล้ว ศักยภาพเจ้าหนี้เยอะกว่าลูกหนี้ ขออนุญาตให้ข้อมูลประกอบการพิจารณาว่า ๓๒๘ในแนวปฏิบัติของแบงก์ชาติที่มีการห้ามในเรื่องของ การใช้ไปรษณียบัตร หรือโทรสาร จะมีห้าม ๒ ประเภท เพราะว่าเป็นลักษณะที่เปิดเผย ข้อความซึ่งมีเจตนาให้ ทราบเป็นการทั่วไป แล้วก็ส่งผลให้ลูกหนี้เกิดความอับอาย อันนี้จะมาลักษณะ ๒ สื่อนี้ก็คือ ไปรษณียบัตรกับ โทรสาร แต่ว่าจะอยู่ในหมวดหัวข้อเรื่องของการเก็บรักษาความลับของลูกหนี้ สิ่งหนึ่งถ้าสมมุติว่าตัดช่องทางนี้ ออกก็จะมีปั ญหาในกรณี ที่จ ะต้องใช้ Fax ของเบอร์ที่ระบุไว้ หรือเป็น Private ก็อาจจะถูกตัดทิ้งไปจากวิธี ปฏิบัติปัจจุบัน เพราะฉะนั้น ถ้าจะมีการ Scope ให้ชัดนิดหนึ่งว่า ถ้าการใช้ไปรษณียบัตรหรือโทรสารซึ่งเป็น การเปิดเผยความเป็นหนี้เป็นการทั่วไป แล้วก็ทาให้ลูกหนี้เกิดความอับอายก็สามารถที่จะดู Wording ที่จะ เป็นไปไปตามหลักการนี้ได้ แต่ที่เป็นห่วงก็คือ ถ้าตัดช่องทางนี้เลย วิธีปัจจุบันยังใช้อยู่ ในบางกรณีที่ไม่ได้เป็น การทั่วไป แล้วก็ไม่ได้ทาให้ลูกหนี้อับอาย เจตนาต้องการที่จะควบคุมดูแล๓๒๙เรื่องการเปิดเผยความเป็นหนี้ของลูกหนี้ในทุกช่องทาง โดยเฉพาะ เรื่องไปรษณียบัตร หรือว่าโทรสาร ช่องทางของเจ้าหนี้ในการติดต่อก็ยังมีอยู่ ในมาตรา ๗ ก็ยังมีอยู่มากมาย หลายช่องทาง ตัดไปอันเดียวไม่น่าจะกระทบต่อเจ้าหนี้ แล้วก็การไปคุมเฉพาะ ผลว่ากรณีที่ไม่เป็นการเปิดเผย ทั่วไปว่ายาก ถ้าคุมเหตุตงั้ แต่ต้นว่าจะเป็นการคุ้มครองลูกหนี้ที่ดีกว่า ตอนนี้ผู้ประกอบธุรกิจ ๓๓๐ทั้งสินเชื่อส่วนบุคคล หรือบัตรเครดิตในระบบก็ใช้วิธีการส่งใบแจ้งหนี้ทาง อิเล็กทรอนิกส์ ก็คือทาง E-mail ของลูกหนี้ เพราะฉะนั้นเชื่อว่าช่องทางในเรื่องที่มีการแจ้งรายละเอียดของการ

๓๒๗ ๓๒๘ ๓๒๙ ๓๓๐

มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๑๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๒ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๑๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๖๘ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๑๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๗๗ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๑๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๔


๑๐๐ เป็นหนี้ เชื่อว่าผ่านช่องทางนั้นก็เป็นส่วนตัวของลูกหนี้อยู่แล้ว เชื่อว่าน่าจะครอบคลุมอยู่แล้ว SMS ก็ได้ ได้ทุก เดือน คือตามกฎหมายที่แก้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กาหนดการทวงถามว่าต้องบอกกล่าวล่วงหน้า ต้อง ๖๐ วัน๓๓๑ทีนี้ถ้าส่งทางไปรษณีย์ไม่ได้แล้วจะเริ่มนับตรงไหน ๖๐ วัน เพราะกาหนดไว้เดิม ในเวลาอัน สมควร แต่ต่อไปนี้กาหนดแน่นอนว่า ผู้ค้าประกัน ๖๐ วัน ผู้จานอง ๖๐ วัน การบอกกล่าวทีนี้ถ้าส่งไม่ได้ แต่ถ้า ประกาศหนังสือพิมพ์นี้นับแต่วันประกาศครบ ๖๐ วันก็ไปฟ้องที่กาหนด แต่ต่อไปนี้ ๖๐ วันถ้าไม่ให้ประกาศ หนังสือพิมพ์ ไม่รู้จะนับลูกหนี้จะมาต่อสู้ว่ายังไม่ทราบ ยังไม่รู้ถึง ๖๐ วันตรงไหน เพราะมีกฎหมายกาหนด เลย ตอนนี้ว่าต้องบอกกล่าว ๖๐ วัน ก็ฝากไว้ด้วย มาตรา ๑๑ (๓)๓๓๒ตามร่างบัญญัติว่า การแจ้งหรือเปิดเผยเกี่ยวกับความเป็นหนี้ของลูกหนี้ให้แก่ผู้ที่ไม่ เกี่ย วข้องกับ การทวงถาม ก็จ ะมีป ระเด็น ของทนายความ เวลามีห นั งสื อบอกกล่ าวให้ ลู กหนี้ ช าระหนี้ ก็จะ ลักษณะเดียวกันกับที่ไปเจอพ่อแม่ของลูกหนี้ได้รับจดหมายแล้วก็ติดต่อกลับมา ถ้าไม่เปิดช่องให้ทนายความ แจ้งหนี้ตรงนั้น แทนที่คดีจะจบก่อนที่จะฟ้อง ก็ต้องกลายไปเป็นฟ้องร้องมีคดีความต่อกัน ตรงนี้ถ้าเป็นไปได้ ควรจะใส่ตรงวรรคท้ายว่า ความใน (๓) และ (๕) มิให้นามาใช้บังคับเกี่ยวกับการทวงหนี้เป็นหนังสือเพื่อฟ้องคดี ต่อศาลประมาณนั้น ปัจจุบันทางศาลเอง ก็เน้นในเรื่องการไกล่เกลี่ย สภาทนายความเองก็มีแผนกไกล่เกลี่ยก่อนที่จะฟ้อง คิดว่า ทางฝ่ายลูกหนี้จะได้รับประโยชน์จากการไกล่เกลี่ยแทนที่จะไปฟ้ องศาลอย่างเดียว ในแต่ละวันมีการตก ลงกันในการที่จะทาการไกล่เกลี่ยเพื่อชาระหนี้อยู่จานวนไม่น้อยเช่นเดียวกัน ขึ้นศาลนี้ไกล่เกลี่ยก็ทาให้คดีเสร็จ เร็ว ตรงนี้ถ้าเปิดช่องตรงนั้นไว้นิดหนึ่งก็ควรจะได้ประโยชน์ กรณีมีหลักเกณฑ์ตรงไหนไหมที่เขียนว่า ๓๓๓ก่อนฟ้องคดีจะต้องมีการทวงถามหนี้ คือนอกจากเรื่อง บังคับจานองมาตรา ๗๒๘ ประมวลแพ่ง หนี้บัตรเครดิตหรือสินเชื่อส่วนบุคคลถูกบังคับด้วยแนวทางการปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยว่า การทวงถามหนี้บัตรเครดิตต้องให้โอกาสจาเลย ๒๐ วัน๓๓๔ถ้าไม่มีการออกหนังสือบอกกล่าว ศาลยกฟ้องเลย ศาลหยิบยกแนวทางปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทยขึ้นมาวินิจฉัยทุกคดีเลย อันนี้คือในภาคปฏิบัติเป็น อย่ างนั้ น ดังนั้ น แล้ ว ในกรณี ที่ถูกบั งคับ โดยกฎเกณฑ์ของแนวทางปฏิบัติของธนาคารแห่ งประเทศไทย ถ้า ทนายความไม่ปฏิบัติตาม แน่นอนฟ้องไปศาลยกฟ้องทุกคดี ในหลักเกณฑ์ดังกล่าวนี้เป็นกฎหมายใช่ไหม หรือแนวทาง๓๓๕ เป็นแนวทางปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย๓๓๖แต่ว่าศาลหยิบยกตรงนั้นขึ้นมาวินิจฉัยว่า คุณต้อง ทวงถามเสียก่อนให้โอกาสเขา ๒๐ วัน คุณถึงจะมาฟ้องคดีได้ ก็เลยสงสัยว่าทาไมศาลไปยกอันนั้นมา๓๓๗เพราะเป็นแค่แนวทาง. เป็นหลักเกณฑ์ที่แบงก์ชาติใช้ อานาจตามกฎหมาย๓๓๘พ.ร.บ.ธุรกิจสถาบันการเงิน ประกาศสาหรับ ธนาคารพาณิชย์ แต่ถ้าสมมุติเป็น Non bank จะใช้ประกาศกระทรวงการคลัง ซึ่งไปอาศัยอานาจตามประกาศ ๓๓๑ ๓๓๒ ๓๓๓ ๓๓๔ ๓๓๕ ๓๓๖ ๓๓๗ ๓๓๘

มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๑๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๒ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๑๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๑๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๒๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๒๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๒๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๒๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๒๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๖๘


๑๐๑ คณะปฏิวัติ ปว. ๕๘ คืออิงตามกฎหมายเลย แล้วก็เป็นในเรื่องของการเรียกให้ ชาระหนี้ ถ้าเพื่อการบังคับคดี จะต้องแจ้งให้ลูกหนี้ทราบล่วงหน้าไม่ต่ากว่า ๒๐ วัน แต่ถ้าสมมุติว่าเป็นการเรียกให้ชาระหนี้ปกติตามรอบบิลก็ แค่ ๑๐ วัน สงสัยในแง่ว่าการแจ้งจะให้ ๓๓๙ลูกหนี้ทราบหรือไม่ทราบนี้จะเป็นเงื่อนไขในการที่จะไปฟ้องคดีใช่ไหม แต่การแจ้งถ้าส่งไปทางที่อยู่ ทางภูมิลาเนาถือว่าเป็นการแจ้งถูกต้องหรือยัง หรือว่าต้องมีคนในบ้านเซ็นรับแทน ก็ถือว่าเป็นการแจ้งหรือยัง ในกรณียึดหลักเช่นเดียวกันกับของทางการบอกกล่าวจานอง๓๔๐ แต่ในกรณีของสินเชื่อส่วนบุคคลแค่มี หนังสือบอกกล่าวไป ไม่ว่าลูกหนี้จะรับหรือไม่รับ ขอให้มีใบตอบรับกลับมาว่าบ้านปิด ไม่มีคนรับ หรือย้ายที่อยู่ ศาลท่านยังฟังในการที่จะเอามาเป็นหลักฐานว่าได้มีการบอกกล่าวแล้วอยู่ ตอนนี้สงสัยในประเด็นคือ๓๔๑ หมายถึงว่าเป็นห่วงว่าถ้าลูกหนี้ทราบเขาก็จะได้รีบมาชาระหนี้จะได้ไม่ ต้องไปถูกฟ้อง แต่ไม่ได้มีปัญหาในเรื่องที่ว่าเจ้าหนี้มีสิทธิที่จะฟ้องได้แน่นอนอยู่แล้ว ถ้ามีการส่งการบอกกล่าว เพราะว่ากรณี จะไปยกเว้น (๓) เป็นเรื่องการเปิดเผย แต่นี่คล้าย ๆ อยากจะอานวยความสะดวก บางทีลูกหนี้ ถ้าไม่ยอม คนในบ้านก็ไม่รู้จดหมายนี้จดหมายอะไร มาอย่างไร ถึงแม้จะมีการเซ็นรับไป คล้าย ๆ จะทาให้พวก ลูกหนี้เหล่านี้ถูกฟ้องโดยที่ไม่ทราบเรื่องอย่างนั้นใช่ไหม หลักเกณฑ์ของแบงก์ชาตินี้จะมีเรื่องของการห้ามเปิดเผยของลูกหนี้อีกข้อหนึ่งประกอบด้วย ๓๔๒ยกเว้น ได้รับคายินยอมจากลูกหนี้ หรือเป็นการเปิดเผยเพื่อการดาเนินคดีตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง คือจะเป็นลักษณะ ของการห้ามเอาข้อมูลของลูกหนี้ไปเปิดเผยให้กับบุคคลอื่น ยกเว้นบางกรณีให้ ก็คือถ้าเป็นไปเพื่อการดาเนินคดี ก็ทาได้ ในตรงช่วงเงื่อนไขของเจ้าหนี้ฟ้องได้ ๓๔๓ แต่คล้าย ๆ ว่าประเด็นยกจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับเรื่องสิทธิของ ลูกหนี้ว่าไม่ควรถูกฟ้อง ถ้ารู้เรื่องแล้วการที่ได้รับนี้ปรากฏส่งไปแล้วตัวลูกหนี้เขาไม่ได้รู้เรื่องจริง แต่คนในบ้าน เซ็นรับไว้ก็จะกลายเป็นกับข้อเสียตรงส่วนนั้นก็ต้องชั่ง น้าหนักกับการที่ว่าลูกหนี้ถูกเปิดเผยแล้วจะทาให้เสีย ชื่อเสียงก็ต้องชั่งน้าหนักดูว่าควรจะคุ้มครองด้านไหน เพราะกฎหมายฉบับนี้ต้องการคุ้มครองในลักษณะว่าไม่ให้ ลูกหนี้อับอาย แต่การที่ลูกหนี้เสียสิทธิในการถูกฟ้องคดีถึงแม้จะมาถูกฟ้องทีหลัง เขาก็สามารถที่จะไปไกล่เกลี่ย ประนีประนอมในชั้นศาลได้ก็เพียงเท่านั้น บางทีก็อาจจะเจอช่องว่างในแง่ที่ว่าบางครั้งบางกรณีทาให้ลูกหนี้ถูก ฟ้องใช่ไหม ถ้าทราบเรื่องก่อนจะได้ไปชาระจะได้ไม่ถูกฟ้อง แต่ก็มีกระบวนการกลไกว่าถ้าไม่ติดต่อแล้วตาม มาตราที่ผ่านมาไปติดต่อคนในบ้าน ถามคืออยากจะทราบที่อยู่ที่แน่นอนเพื่อที่จะติดต่อได้จริงๆ เพราะว่าติดต่อ ไม่ได้ทางโทรศัพท์อะไรอย่างนี้ พอไปทราบที่อยู่ก็สามารถแจ้งลูกหนี้ก็มีช่องทางที่จะไปให้ลูกหนี้ทราบได้ คือไป บอกคนในครอบครัวลูกหนี้จะได้ให้ติดต่อได้ ก็รู้สึกว่าหลักเกณฑ์สาคัญก็คือต้องการคุ้มครองลูกหนี้ไม่ให้ถูก เปิดเผยกับการที่ว่าจะเป็นการเพิ่มบริการอานวยความสะดวกทาให้ลูกหนี้ทราบเรื่องโดยไปยกเว้นให้เปิดเผยนี้ รู้สึกว่าบางทีอาจจะไม่คุ้มกันในการที่ว่าไปยกเว้น (๕) ได้ถ้าเป็นกรณีจะใช้สิทธิ สุดท้ายก็ได้เป็นประโยชน์กับ ลูกหนี้เท่านั้น แต่สิทธิความเสียหายของลูกหนี้อาจจะไปแล้ว ประเด็นเรื่องพฤติกรรมในการทวงถาม ๓๔๔เจ้าหนี้ ถ้ามีกฎหมายออกมาแล้วก็จะมีวิวัฒนาการในการ ทวงถามหนี้ที่แนบเนียน เพื่อที่จะใช้ช่องว่างกฎหมายหลีกเลี่ยงมากขึ้น เพราะฉะนั้นในประเด็นพฤติกรรมที่มี ๓๓๙ ๓๔๐ ๓๔๑ ๓๔๒ ๓๔๓ ๓๔๔

มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๒๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๒๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๑ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๒๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๒๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๖๘ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๒๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๙๖ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๓๐ นายชัยรัตน์ แสงอรุณ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช


๑๐๒ ลักษณะที่เป็นการข่มขู่ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายหรือถากถางหรืออะไรนี้ คือไม่อยากให้ไปใช้ตัวบท เกี่ยวกับเรื่องหมิ่นประมาทหรือดูหมิ่นในประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งไม่สามารถที่จะเอาผิดได้ คือถ้ามีพฤติกรรม ที่น่าจะก็ควรที่จะถูกลงโทษหรือกฎหมายจะคุ้มครองลูกหนี้ได้แล้ว อันนั้นประการที่ ๑ ประการที่ ๒ จากผลของการกระท าของพฤติ ก รรมทวงหนี้ ที่ ไม่ ถู ก ต้ อ ง จริง ๆ แล้ ว สามารถก่ อ ผลกระทบไปสู่การตัดสินใจฆ่าตัวตาย ซึ่งคาพูดไม่จาเป็นต้องหมิ่นประมาทหรือใช้คาพูดเพราะ ๆ ก็ทาให้คนฆ่า ตัวตายได้ เพราะฉะนั้นจึงอยากให้ ฝากเรื่องประเด็นค่าเสียหายทางจิตใจ ซึ่งเป็นที่เถียงกันมากเลย ถ้าไม่มี กฎหมายบอกว่าให้จ่ายค่าเสียหาย ทางจิตใจ ศาลก็จะไม่จ่ายให้บอกว่าไม่มีหลักเกณฑ์ทาให้ ในร่างมาตรา ๑๑(๔)๓๔๕นั้นหมายความถึงการห้ามบอกกล่าวบังคับจานองโดยวิธีประกาศหนังสือพิมพ์ ในกรณี ที่สามารถติดต่อลูกหนี้ ได้ด้วย อัน นี้คือหลั กกฎหมาย หลักของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ช ย์ มาตรา ๗๒๘ ได้ระบุวิธีการบอกกล่าวบังคับจานองให้ทาจดหมายบอกกล่าวไปยังลูกหนี้ แต่มิได้ระบุให้ประกาศ ทางหนังสือพิมพ์ มาตรา ๗๒๘ ไม่ได้พูดถึงเรื่องประกาศหนังสือพิมพ์ไว้เลย แต่อย่างไรก็ตามเรื่องพิจารณา ข้อเท็จจริงและหลักกฎหมายประกอบกับแนวคาพิพากษาศาลฎีกามีข้อสรุปว่าการบอกกล่าวบังคับจานองโดย การประกาศทางหนังสือพิมพ์จะชอบด้วยมาตรา ๒๒๘ ต้องปรากฏข้อเท็จจริงว่าผู้รับจานองมีจดหมายหรือ หนังสือบอกกล่าว บังคับจานองไปยังลูกหนี้แล้ว แต่ไม่สามารถติดต่อลูกหนี้ได้ ผู้รับจานองจึงประกาศบอก กล่าวบังคับจานองทางหนังสือพิมพ์ ซึ่งแนวคาวินิจฉัยของศาลฎีกาตัดสินไปทานองเดียวกันว่าเป็นการส่งคา บอกกล่าวบังคับจานองตามมาตรา ๗๒๘ โดยชอบแล้ว อันนี้คือแนวคาพิพากษาศาลฎีกาออกมาอย่างนี้ ภายใน บทสรุปตามข้อ ๑ และข้อ ๒ ตามที่พูดไว้เป็นปัญหาเชิงนโยบายด้านการนิติบัญญัติที่จะต้องชั่งน้าหนักเอา ระหว่างประโยชน์ของลูกหนี้เพื่อไม่ให้ถูกเปิดเผยความเป็นหนี้ทางหนังสือพิมพ์กับประโยชน์ของผู้รับจานอง ซึ่ง การบังคับจานองจาเป็นต้องดาเนินการตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายให้ครบถ้วนเสียก่อนจึงจะฟ้องคดีต่อศาลได้ มิฉะนั้นจะนาคดีขึ้นฟ้องต่อศาล ไม่ได้ อันนี้เลยขึ้นอยู่ที่กรรมาธิการของว่าจะพิจารณาเห็นสมควรว่าจะยกเว้น กรณีการบอกกล่าวบังคับจานองโดยการประกาศหนังสือพิมพ์ ในกรณีที่ผู้รับจานองพยายามติดต่อลูกหนี้โดย ทางอื่น ตามสมควรแล้ว แต่ไม่สามารถติดต่อได้หรือไม่ ด้านปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายมาในร่างมาตรา ๑๑(๔)๓๔๖ซึ่งแนวคาพิพากษาศาลฎีกาก็ได้ระบุ ไว้ชัดแจ้ง โดยเฉพาะมาตรา ๗๒๘ ที่ใช้ปัจจุบันนี้ ประมวลกฎหมายแพ่งได้ถูกแก้ไขไปแล้วโดย สนช. แล้วก็ ขณะนี้อยู่ระหว่างที่เสนอทูลเกล้าฯ เพื่อลงพระปรมาภิไธย มาตรา ๗๒๘ ตอนหลังแก้มาการบอกกล่าวบังคับ จานองกาหนดวันเลย เดิมกฎหมายเก่าบอกว่าในเวลาอันสมควร แต่อันใหม่นี้บอกว่าต้องบอกกล่าวในเวลาอัน สมควร แต่ไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน มี ๖๐ วัน ด้วย เพราะฉะนั้นเมื่อทวงถามทางไปรษณีย์แล้วส่งไม่ได้ ไม่มีใครรับ ก็ไม่รู้จะนับกันอย่างไร เพราะฉะนั้นประกาศหนังสือพิมพ์ที่ใช้ประกาศ ที่แนวคาพิพากษาศาลฎีกาคือ นับแต่ วันที่ประกาศ เมื่อครบ ๖๐ วัน ถึงจะฟ้องได้ ก็จะมีหลักเกณฑ์อย่างนี้ เพราะฉะนั้นเห็นสมควรว่าควรจะยกเว้น เรื่องประกาศบอกกล่าวบังคับจานอง ในการที่ จ ะมี ข้อ ยกเว้น เกี่ย วกับ เรื่ องการบอกกล่ าวการบั งคั บ จานองด้ ว ยวิธีก ารประกาศหนั งสื อ ๓๔๗ พิมพ์ ทีนี้อาจจะมีหนี้บางประเภท ซึ่งอาจจะต้องมีการบอกกล่าวทวงถามด้วยวิธีการประกาศหนังสือพิมพ์ มี ๓๔๕ ๓๔๖ ๓๔๗

บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๓๑ นายมนตรี ศรีเอี่ยมสะอาด ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๓๒ นายสงคราม สกุลพราหมณ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๓๓ นายวิเชียร ชุบไธสง กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการ ทวง ถามหนี้ พ.ศ..... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗


๑๐๓ ข้อเท็จจริงก่อนหน้านี้ที่เกิดขึ้นในฐานะที่เป็นทนายความ กรณีลูกหนี้ที่เป็นชาวต่างชาติไม่สามารถเข้ามาทางาน ในประเทศไทย ไม่สามารถหาที่ทางานของเขาได้ เพราะมีการย้ายภูมิลาเนา ย้ายที่ทางานด้วย ทีนี้การที่จะไป ขอตรวจสอบหลักฐานการทางานว่า อยู่ที่ไหน เป็นเรื่องที่หน่วยงานของรัฐไม่ได้ให้ข้อมูลตรงนั้น ได้รับแจ้งว่าให้ ไปฟ้องศาล แล้วเอามาให้ศาล ซึ่งทางปฏิบัติของทนายความก็ไม่สามารถที่จะทาตรงนั้นได้ เพราะว่าการที่จะไป ฟ้องต้องรู้เสียก่อนว่าภูมิลาเนาอยู่ที่ไหน อย่างไร ถ้าไปฟ้องโดยปรากฏว่ามีหมายเรียกไปทีหลัง ไม่ได้อยู่ตรงนั้น ก็จะมีประเด็นตรงนี้อยากจะฝากว่าควรจะครอบคลุมไปถึงไม่ใช่เฉพาะ หนี้จานองหรือไม่ อาจจะเปิดกว้างไว้สัก นิดหนึ่งว่าหรือหนี้อื่นตามที่แนวปฏิบัติหรือว่าตามกฎหมาย ที่จะได้กาหนดเอาไว้ในกรณีไม่สามารถติดตามทวง ถามได้ในภาวะปกติ ถ้าเปิดกว้างเอาไว้ก็จะเป็นผลดี ไม่ต้องมาตีความ ไม่ต้องมาแปลกฎหมายกันใหม่ ไม่ต้อง มาขอแก้ไขกฎหมายกันใหม่ ให้พิจารณาแล้วก็ประกาศออกใช้ ถ้ายืดหยุ่นสักนิดหนึ่งตรงนี้ น่าจะเป็นประโยชน์ ในอนาคต ใน (๔) คิดว่าคาว่า๓๔๘หรือสิ่งอื่นใดก็สื่อให้ทราบเป็นการทวงหนี้ ทวงถามหนี้อย่างชัดเจน ก็เปิดกว้าง แต่ ว่ า การเปิ ด กว้ า งนั้ น ควรจะต้ อ งมี ห ลั ก เกณฑ์ ข องความเหมาะสมแต่ ล ะเรื่ อ งไป เติ ม ความว่ า ตามที่ คณะกรรมการกาหนดไว้ต่อท้ายใน (๔) นี้ อันนี้ก็จะทาให้มีกฎเกณฑ์ โดยมีผู้ควบคุมดูแล และก็สามารถที่จะ ปรับได้ตามความเหมาะสม ซึ่งมีคณะกรรมการดูแล อยากจะเรียนแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในส่วนของวิชาชีพ๓๔๙ ปกติส่งคาบอกกล่าวในฐานะที่ทาหน้าที่ ให้กับลูกความ ก็พยายามจะส่งตามภูมิลาเนาตามทะเบียนบ้าน แต่หลายกรณีเกิดข้อเท็จจริงขึ้นว่าส่งไม่ได้ แล้ว ก็ไปรษณีย์ก็ตีกลับมา จะไปปิดที่บ้านที่ภูมิลาเนาก็ปิดไม่ได้ เพราะไปรษณีย์รายงานว่าบ้านรื้อไปแล้ว แล้วย้าย ไปอยู่ทะเบียนกลาง ก็ไม่รู้จะไปส่งที่ไหน ทางเลือกของวิชาชีพก็คือประกาศหนังสือพิมพ์ เพราะฉะนั้นส่วนนี้คิด ว่าอยากจะให้มีข้อยกเว้น สาหรับวิชาชีพในการทาหน้าที่ เพราะถ้าเคร่งครัดนักบางทีทาให้ไม่สามารถทาหน้าที่ ของวิชาชีพได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์ เวลาไปศาลก็มีข้อโต้แย้งได้ หรือเกิดปัญหาได้ ตัวอย่างอีกอันหนึ่งคือเห็น หลายครั้งที่หญิงไทยถูกฟ้องหย่ามาจากต่างประเทศก็ส่งทางไปรษณีย์หรือประกาศหนังสือพิมพ์ เหมือนกัน เพราะฉะนั้นระบบวิธีพิจารณาของศาลในหลายประเทศก็ยอมให้ใช้ไปรษณีย์ได้ ประกาศหนังสือพิมพ์ได้ แม้แต่ ฟ้องหย่าก็ยังสามารถดาเนิน การตรงนั้ นได้ เพราะฉะนั้นตรงนี้อยากจะฝากเพื่อพิจารณาว่าจะมีครอบคลุ ม ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ได้อย่างไรบ้าง มีข้อสังเกต จะมีรอยต่อที่คณะกรรมการก็ไม่ได้กาหนดแล้วก็ไม่มีใครเสนอให้คณะกรรมการกาหนด ด้วย ทาอย่างไร อะไรบ้าง ในส่วนที่มีข้อเท็จจริงเกิดขึ้นแล้วจะกาหนดมาตรฐานอย่างไร เพื่อไม่ให้มีรอยต่อ ไม่อย่างนั้นช่วงรอยต่อจะมีข้อโต้แย้งแล้วไปศาลได้ เรื่องที่ให้คณะกรรมการกาหนด๓๕๐กฎหมายนี้ประกาศมีผลบังคับใช้แล้ว แต่ช่วงที่ยังไม่มีข้อกาหนด ออกมาประเด็นที่จาเป็นที่สุดเรื่องบอกกล่าวบังคับจานอง ถ้าบอกว่าอย่างอื่นอยู่ที่กรรมการกาหนด แต่ที่บอก ว่าคาพิพากษาฎีกาแล้วก็ออกมาแล้ว ถึงบอกว่าจะไม่รวมถึงการบอกกล่าว บังคับจานองที่จะต้องประกาศเมื่อ ได้ทวงถามทางปกติไม่ได้แล้ว อย่างอื่นก็จะเป็นไปได้เพราะว่าเรื่องประกาศบังคับจานองเป็นเรื่องสาคัญมาก

๓๔๘

๓๔๙ ๓๕๐

มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๓๔ นายวันชัย ศารทูลทัต รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง กรรมาธิการ รายงานการประชุม คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๓๕ นายสัก กอแสงเรือง ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๓๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๖


๑๐๔ สาหรับในเรื่องการประกาศทางหนังสือพิมพ์สาหรับกรณีบอกกล่าวบังคับจานอง๓๕๑เสนอว่าอยากจะ กาหนดลงไปในตัวกฎหมายนี้เลยเป็นข้อยกเว้นไปว่าสมควรจะยกเว้นในกรณีการบอกกล่าวบังคับจานองโดย การประกาศทางหนังสือพิมพ์ ในกรณีที่ผู้รับจานองพยายามติดต่อลูกหนี้ โดยทางอื่นตามสมควรแล้วแต่ไม่ สามารถจะติดต่อได้ ถึงจะอนุญาตให้ประกาศในหนังสือพิมพ์ได้ หมายความว่าพยายามติดต่อลูกหนี้โดยทางอื่น พอสมควรแล้ว ไม่ใช่อยู่เฉย ๆ ไปประกาศออกหนังสือพิมพ์เลยไม่ชอบแน่ ร่างข้อยกเว้นเข้าไปในมาตรา ๙ (๔) ส่วนเรื่องอื่น ๆ ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกาหนด จะมีใจความยกเว้นกรณีการบอกกล่าว บังคับจานองโดย การประกาศในหนังสื อพิมพ์ ในกรณี ที่ผู้ รับจานองพยายามติดต่อลู กหนี้โดยทางอื่น ตามสมควรแล้ วแต่ไม่ สามารถติดต่อได้ใจความเป็นอย่างนี้แต่ข้อความจะเป็นอย่างไร เว้น แต่ ยกเว้น กรณี การบอกกล่ าวบั งคับ จานองที่เจ้าหนี้ ได้พยายามติดต่อลู กหนี้โดยทางอื่น ตาม สมควรแล้ว แต่ไม่สามารถติดต่อได้ ช่วยดูถ้อยคาด้วย ตามประมวลแพ่งจะมีมาตรา ๗๒๘๓๕๒ ที่บอกว่า เมื่อถึงบังคับจานอง ผู้รับจานองต้องมีจดหมายบอก กล่าวไปยังลูกหนี้ หลักการก็มาจากมาตรานี้มาตราเดียว ซึ่งในทางปฏิบัติจะมีการไปประกาศในหนังสือพิมพ์ ในทางปฏิบัติได้ทวงถามแบบนี้๓๕๓ทวงถามทางไปรษณีย์ตอบรับก็ได้แต่ส่งไม่ได้ ตีกลับ ในที่สุดต้อง ประกาศทวงถามทางหน้าหนังสือพิมพ์แบบแนวคาพิพากษาฎีกาบอกว่าในมาตรา ๗๒๘ ในตอนหลังจะกาหนด วัน แน่นอนว่าต้องทวงถามไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน พิ จ ารณาโดยใช้ ถ้ อ ยค าดั ง ต่ อ ไปนี้ ๓๕๔เว้ น แต่ ก ารบอกกล่ า วบั งคั บ จ านองด้ ว ยวิ ธี ก ารประกาศใน หนังสือพิมพ์ ซึ่งเจ้าหน้าหนี้ไม่สามารถติดตามลูกหนี้ด้วยวิธีการปกติได้ ใช้ว่าวิธีการอื่นก็ได้ หรือวิธีการปกติก็ได้ ความหมายเดียวกัน อันนี้กากับไว้โดยชัดแจ้งว่าเฉพาะกรณีหนี้บังคับจานองเท่านั้น ไม่มีหนี้อื่นที่จะทาให้ลูกหนี้ วิตกกังวลว่าตัวเองจะไปถูกประจานในสื่อ มีวิธีอื่นหรือไม่ ๓๕๕ นอกจาก สิ่งอื่นใด แล้วมีอื่น ๆ เรื่องการจานองอาจจะมีวิธีอื่นอีกก็เลยคิดว่า ถ้า หากจะเปิ ดช่องไว้ยกเว้นต่อไปทั้ง ๒ กรณี คือจานองแล้วยังมีเรื่องของอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการประกาศ กาหนด หมายความว่าเป็นข้อยกเว้นต่อท้าย แต่หมายความว่าให้เป็นเรื่องของคณะกรรมการที่จะประกาศ กาหนด คื อบอกจ านองเรื่อ งหนึ่ ง แล้ ว ต่ อไปอาจจะมี เรื่อ งอื่ น ที่ ไม่ใช่ บั งคั บ จานองอีก ซึ่งเป็ น ดุล พิ นิ จ ของ คณะกรรมการที่จะประกาศหรือไม่ประกาศก็จะทาให้เปิดช่องได้ เกรงว่ายังมีวิธีอื่นอีก ถ้าเขียนไว้ในกฎหมาย แล้วจะอยู่แค่นั้น วิธีอื่นก็ไม่ได้อีก ต้องมาแก้กฎหมายเลยมองว่าถ้าหากตรงนี้เป็นแนวทางการปฏิบัติที่จะมี หลากหลายและวิธีการ ก็ไม่แน่นอน แต่เพื่อการคุ้มครองของทุกฝ่ายก็ยกเว้นให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการที่ จะประกาศกาหนดขึ้นมาได้ ถ้าอย่างนั้นตรงส่วนของคณะกรรมการคงไม่ไป๓๕๖ขยายสิ่งอื่นใด คือตอนนี้หลักการไม่ได้ขยายเรื่องสิ่ง อื่น ใดแต่ห ลั กการหมายถึงการเปิ ดเผยสามารถยกเว้นตาม (๘) ได้ห รือในกรณี อื่ นใดตามที่ คณะกรรมการ ประกาศกาหนด ฉะนั้นข้อยกเว้นคือ เว้นแต่การบอกกล่าวบังคับจานอง ต้องการจะเน้นเฉพาะให้ชัดเจนลงไป เลยว่าการประกาศหนังสือพิมพ์ ในว่าหรือแน่นอนเพราะมี ๒ กรณี ตอนต้นก็บอก เว้นแต่ในกรณี การบอก กล่าว คือต้องการให้เน้นว่ามีกรณีที่ยกเว้นได้ ๒ กรณี คือกรณีบังคับจานองกับกรณีที่คณะกรรมการประกาศ ๓๕๑ ๓๕๒ ๓๕๓ ๓๕๔ ๓๕๕ ๓๕๖

มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๓๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๕ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๓๘ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๓๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๗ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๔๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๗ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๔๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๘ มาตรา ๑๑ (๔) ข้อสังเกต ๔๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒


๑๐๕ กาหนดใช้ว่า วิธีการอื่นหมายถึง ตอนนี้กาลังขยายคาว่าประกาศหนังสือพิมพ์ว่าเขาพยายามติดต่อวิธีอื่นมาแล้ว แน่นอนการติดต่อวิธีอื่นต้องเป็นลักษณะไม่เปิดเผย ห้ามเป็นไปรษณียบัตร ห้ามเป็นเอกสารเปิดผนึก แต่ติดต่อ ทางจดหมายตามปกติอยู่แล้ว ซึ่งก็ใช้คาว่าวิธีการอื่นได้ แต่วิธีการอื่นนั้นต้องอยู่ในกรอบของจดหมายฉบับนี้ แต่ หลังจากใช้วิธีการอื่นแล้ว ไม่ได้เลยมาใช้ประกาศหนังสือพิมพ์เป็นวิธีสุดท้าย มาตรา ๑๑ (๔)๓๕๗การติดต่อลูกหนี้โดยไปรษณีย์ เอกสาร เปิดผนึก โทรสารหรือสิ่งอื่นใดที่สื่อให้ทราบ ว่าเป็นการทวงถามหนี้อย่างชัดเจน เว้นแต่กรณีการบอกกล่าวบังคับจานองด้วยวิธีการประกาศหนังสือพิมพ์ ซึ่ง เจ้าหนี้ไม่สามารถติดต่อลูกหนี้โดยวิธีการอื่น หรือกรณีอื่นใดตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด มาตรา ๑๒ ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะที่เป็นเท็จ หรือทาให้เกิดความ เข้าใจผิด ดังต่อไปนี้ (๑) การแสดงหรือการใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือเครื่องแบบที่ทาให้เข้าใจว่าเป็น การกระทาของศาล เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ (๒) การแสดงหรื อ มี ข้ อ ความที่ ท าให้ เชื่ อ ว่ า การทวงถามหนี้ เป็ น การกระท าโดยทนายความ สานักงานทนายความ หรือสานักงานกฎหมาย (๓) การแสดงหรือมีข้อความที่ทาให้เชื่อว่าจะถูกดาเนิน คดี หรือจะถูกยึดหรืออายัดทรัพย์หรือ เงินเดือน (๔) การติดต่อหรือการแสดงตนให้เชื่อว่าผู้ทวงถามหนี้ดาเนินการให้แก่บริษัทข้อมูลเครดิต หรือ รับจ้างบริษัทข้อมูลเครดิต

คาอธิบาย ข้อห้ามผู้ทวงถามหนี้ในลักษณะที่เป็นเท็จ เป็นบทบัญญัติที่บังคับเด็ดขาด คือ (๑) การแสดง การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือเครื่องแบบที่ทาให้เข้าใจว่าเป็นการกระทา ของศาล เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ (๒) การแสดง ข้ อ ความท าให้ เชื่ อ ว่ า การทวงถามหนี้ เป็ น การกระท าโดยทนายความส านั ก งาน ทนายความ หรือสานักงานกฎหมาย (๓) การแสดง ข้อความทาให้เชื่อว่าจะถูกดาเนินคดี หรือจะถูกยึด อายัดทรัพย์ เงินเดือน (๔) การติดต่อ การแสดงตนให้เชื่อว่าผู้ทวงถามหนี้ดาเนินการให้แก่บริษัทข้อมูลเครดิต

ข้อสังเกต กาหนดห้ามมิให้ผู้ทวงถามหนี้กระทาการในลักษณะที่เป็นเท็จหรือทาให้เกิดความเข้าใจผิดในการทวง ถามหนี้โดยแสดงหรือใช้เครื่องหมายหรือเครื่องแบบหรือข้อความที่ทาให้ เข้าใจว่าเป็นการกระทาของศาล เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ แสดงหรือมีข้อความที่ทาให้เชื่อว่าการทวงถามหนี้เป็นการกระทาโดย ทนายความ สานักงานทนายความหรือสานักงานกฎหมาย แสดงหรือมีข้อความที่ทาให้เชื่อว่าจะถูกดาเนินคดี ถูกยึ ดหรืออายั ดทรัพย์ห รือเงิน เดือน ติดต่อหรือแสดงให้ เชื่อว่าผู้ท วงถามหนี้ดาเนินการให้แก่บริษัทข้อมูล เครดิตหรือรับจ้างบริษัทข้อมูลเครดิต๓๕๘

๓๕๗ ๓๕๘

มาตรา ๑๑ ข้อสังเกต ๔๓ นางสาวสุวพร นิลทัพ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการ ทวงถามหนี้พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๒ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗


๑๐๖ ในมาตรา ๑๒๓๕๙ ตัวหลักคือวรรคหนึ่ง ห้ามผู้ทวงถามหนี้ กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะที่เป็นเท็จ หรือทาให้ เกิดการเข้าใจผิ ดดังต่อไปนี้ (๑) คิดว่าคงไม่มีประเด็นอะไร แต่มีข้อสั งเกตว่าการใช้เครื่อ งหมาย สัญลักษณ์สานักกฎหมาย ถ้าตามมาตรานี้จะทาได้ไหม ในวรรคหนึ่ง ในกรณีที่เป็นเท็จหรือทาให้เข้าใจผิด ส่วน (๒) การแสดงหรื อ มี ข้ อ ความที่ ท าให้ เชื่ อ ว่ า การทวงถามหนี้ โ ดยการกระท าของทนายความ ส านั ก งาน ทนายความ หรือสานักกฎหมาย ตรงนี้ก็จะมีประเด็นที่ต้องพิสูจน์กันว่า ทนายความไม่ยาก เพราะทนายความ ทุกคนต้องมีใบอนุญาตออกโดยสภาทนายความ ส่วนสานักงานทนายความ จะมีประเด็นหรือสานักกฎหมาย เชื่อว่าส่วนใหญ่ปัจจุบันนี้คนจะไปใช้ คาว่า สานักทนายความ หรือสานักกฎหมาย หรือบริษัทสานักที่ปรึกษา กฎหมาย ตรงนี้ต้องช่วยกันพิจารณาให้ตกผลึกก่อนว่าจะเอาแค่ไหน ความหมายลึกมากน้อยแค่ไหน เพราะว่า ตามกฎหมายของ พ.ร.บ. ทนายความยังไม่มีบทลงโทษสานักงานหรือว่าบริษัทสานักกฎหมายที่ยังไม่มาขึ้น ทะเบี ย น ยั งไม่มีบ ทลงโทษที่ ชัดเจน มาพิจ ารณาดูความหมายของคาว่าสานักงานทนายความ หรือส านั ก กฎหมาย ตรงนี้ จ ะแค่ไหนอย่ างไร เพื่ อให้ บังคั บใช้ได้จริง ๆ เชื่อว่าตอนนี้ ส านักกฎหมายมีเป็ น ๑๐,๐๐๐ สานักงาน เพราะโดยหลักอย่างทนายความเวลามีใบอนุญาต ถ้าไม่มีสังกัดก็จะไปจดชื่อไว้ในสารบบของสภา ทนายความ ในส่วนมาตรา ๑๒ (๓) การแสดงหรือมีข้อความที่ ทาให้เชื่อว่าจะถูกดาเนินคดีอย่างทนายความหรือ บริษัทสานักงานกฎหมายต่าง ๆ มีหนังสือบอกกล่าวทวงถามให้ ชาระหนี้ ถ้าไม่ชาระหนี้ก็จะถูกดาเนินคดีตาม กฎหมาย ตรงนี้ถ้าออกไปแล้วซึ่งจะฟ้องหรือไม่ฟ้องก็ได้ ทีนี้ในเมื่อกฎหมายในมาตรา ๑๒ วรรคหนึ่ง บอกว่า ห้ามมิให้ผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะอันเป็นเท็จหรือ ทาให้ เข้าใจผิ ดดังต่อไปนี้ เกิดออก หนังสือบอกกล่าวทวงถามไปแล้วไม่ฟ้อง จะถูกกลับมาเล่นงานโดยอาศัยกฎหมายนี้ว่าคุณไม่ฟ้องหรือ ทาให้ เข้าใจผิดว่าจะถูกดาเนินคดี ความหมายถ้าเป็นลูกหนี้ก็อาจจะใช้สิทธิตามมาตรา ๑๒ ก็ได้ อย่างนี้เป็นเรื่องที่ ต้องพิจารณาให้ถ้วนถี่พอสมควร ส่วน (๔) การติดต่อหรือแสดงตน ให้เชื่อว่าผู้ทวงถามหนี้ ดาเนินการให้แก่ บริษัทข้อมูลเครดิตหรือรับจ้างบริษัทข้อมูลเครดิต ในประเด็น (๒)๓๖๐หลักการไม่ได้คานึงว่า สานักงานทนายความนั้น หรือสานักงานกฎหมายนั้นจะขึ้น ทะเบียนถูกต้องหรือเปล่า คือมีการแอบอ้างการพูดในลักษณะว่าคนที่มาทวงถามหนี้เป็นทนายความ เป็น สานักงานกฎหมายหรือสานักงานทนายความ ซึ่งจุดประสงค์ทาให้ลูกหนี้รู้สึกว่าคนที่ถูกทวงหนี้จะกลัวเพราะ จะนาไปสู่ว่าตอนนี้เรื่องมาถึงตัวผู้มีอานาจที่จะดาเนินคดีตามกฎหมายกลัวว่าไปอ้างทั้ง ๆ ที่จริง ๆ เขาไม่ใช่ เพราะฉะนั้ น ถ้ าเป็ น ส านั ก งานทนายความ ส านั ก งานกฎหมาย ตามข้ อ เท็ จ จริ ง จริ ง ๆ ก็ ต้ อ งขึ้ น พิ สู จ น์ ข้อเท็จจริงว่า จริง ๆ เป็นหรือเปล่า มีการตั้งถึงแม้ไม่ได้จดทะเบียนก็คงต้องมีการว่าที่ทาการก็ยาก แต่ถ้าบ้าน เป็นสานักงานก็ได้อยู่แล้วไม่จาเป็นต้องไปติดป้าย แต่ถ้าตัวเขาเองเป็นทนายความก็ไม่มีปัญหา ไม่ว่าจะอ้างไป จากสานักงานทนายความ จะมีหรือมีไม่จริง แต่มีปัญหาคือคนที่ไม่เกี่ยวข้องกับสานักงานกฎหมาย สานักงาน ทนายความ แล้วมาแอบอ้างทาให้คนถูกทวงถามหนี้รู้สึกเกิดความกลัวมากกว่า นาย ก นาย ข ที่ไปรับจ้างทวง หนี้ทั่ว ๆ ไป ในประเด็น (๓) ทางผู้แทนกระทรวงการคลังชี้ แจงด้วยว่ากรอบจะใช้ลักษณะไหน เพราะว่าเวลาการ ทวงหนี้ต้องมีการอ้างอยู่แล้วว่าถ้าไม่ยอมชาระหนี้ จะฟ้องคดีซึ่งเป็นการใช้สิทธิตามปกติอยู่แล้ว เชื่อว่าจะถูก ดาเนินคดีจะกินข้าวไปถึง ทั้ง ๆ ที่ไม่ได้คิดที่จะฟ้องคดี อาจจะเป็นประเด็นได้ให้พิจารณาว่าจะครอบคลุมขนาด ไหน ตอนแรกน่าจะจากัดกรอบอยู่เฉพาะเป็นการขู่ว่าไม่ ชาระหนี้จะถูกฟ้องดาเนินคดีอาญา ซึ่งไม่เกี่ยวข้อง เพราะเป็นเรื่องหนี้ทางแพ่ง แต่มีลูกหนี้ประชาชนโดยทั่วไปมากที่ไปเข้าใจผิดแล้วถูกขู่ในลักษณะนี้ว่าจะไปฟ้อง ๓๕๙ ๓๖๐

มาตรา ๑๒ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๗ มาตรา ๑๒ ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒


๑๐๗ ตารวจ แล้วจะถูกดาเนินคดีอาญาซึ่งส่วนนี้เป็นแรงผลักดันที่ทาให้ลูกหนี้กลัวค่อนข้างมาก แต่ถ้าบอกว่าถูก ดาเนินคดีอาจจะไม่ชัดเจน แต่ถูกดาเนินคดีอาญา แต่ถ้าดาเนินคดีแพ่งในเบื้องต้น ว่าไม่น่าจะไปคลุมถึงทาได้ จะมี กรณีที่เป็นเท็จเป็นกรณีไหนได้บ้าง ในเมื่อผู้รับมอบอานาจ ถ้าเป็นผู้ทวงถามหนี้เป็นเจ้าหนี้ มีสิทธิที่จะ ฟ้องบังคับให้ชาระหนี้ไม่มีทางที่จะเป็นเท็จหรือว่าไม่มีทางที่จะทาให้เข้าใจผิดอะไรได้ ยังนึกตัวอย่างไม่ออก ตรงนี้ ก็ขอค้างไว้ก่อ น หรื อกรณี จ ะถูกยึ ดหรืออายัดทรัพย์ห รือเงิน เดือน เข้าใจว่าบางทีการไปแอบอ้างใน ลักษณะที่ว่าถ้าไม่ชาระหนี้จะเอาตารวจไปยึดคือจะถูกยึดทรัพย์ทันที ทั้ง ๆ ที่ไม่มีสิทธิ ไม่มีอานาจที่จะทาได้ เลย แต่มีวิธีการอย่างนี้เยอะที่ทาให้ลูกหนี้กลัวจะถูกยึดทรัพย์ก็เลยเอาเงินไปชาระ แต่จริง ๆ แล้วจะต้องไป ดาเนินการทางศาลอีก กว่าศาลจะมีคาพิพากษาจนคดีถึงที่สุดแล้วจึงจะถูกยึดทรัพย์หรืออายัด ตรงนี้น่าจะ เขียนสื่ออาจจะไม่ชัดเจน (๓) ความเห็นเบื้องต้น การแสดงหรือมีข้อความที่ทาให้เชื่อว่าจะถูกดาเนินคดี ๓๖๑หนี้ในระบบในทางปฏิบัติเวลามีคนมาว่าจ้าง ให้ทนายความในการติดตามทวงถามหนี้ ทั้งทวงถาม ทั้งฟ้องคดี ส่วนใหญ่เชื่อว่าร้อยละร้อยจะออกหนังสือ บอกกล่าวทวงถามในหนังสือบอกกล่าวทวงถามนั้น แน่นอนว่าต้องถูกดาเนินคดีด้วย ทีนี้ประเด็นเมื่อหนังสือ บอกกล่าวทวงถามออกไปในลักษณะที่ว่า ถ้าคุณไม่ชาระหนี้ภายใน ๒๐ วันตามแนวทางปฏิบัติของธนาคาร แห่งประเทศไทยที่กาหนดให้ดาเนินการ พอครบ ๒๐ วัน แล้วไม่ฟ้อง ซึ่งทางปฏิบัติก็เชื่อว่าไม่ฟ้องทั้งหมด หนี้ ต่าบ้างสูงบ้าง มีสิทธิที่จะเลือกฟ้อง แต่เกรงว่าปัญหาที่จะตามมาคือลูกหนี้บางส่วนก็อาจจะหยิบยกประเด็น ตรงนี้ขึ้นมาว่า คุณออกจดหมายมาเป็นการข่มขู่เพื่อที่ให้เป็น Case ที่จะไม่ฟ้อง ก็จะอ้างมาตรานี้ได้ นี่คือความ เป็นห่วงในเรื่องการฟ้องคดี ประเด็นที่ ๒ หรือจะถูกยึดทรัพย์หรืออายัด คือในทางปฏิบัติที่บรรดาสานักงานทั้งหลายทากันอยู่ เมื่อ ศาลมีคาพิพากษาเสร็จ ไม่ได้ส่งคาบังคับ แล้วไปออกหมายบังคับคดีเพื่อที่จะไปตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีในการ ที่จะบังคับคดี แต่ก่อนที่ฝ่ายทนายความหรือผู้รับมอบอานาจจะไปดาเนินการบังคับคดี จะมีหนังสือบอกกล่าว ไปอีกครั้งหนึ่งว่าให้คุณชาระหนี้ ไม่อย่างนั้นแล้วคุณจะถูกบังคับคดี ทีนี้ ณ ตอนนั้นคนที่ออกหนังสือไม่รู้หรอ กว่าสามารถที่จะมาบังคับคดีได้ไหม เพราะมีข้อยกเว้นหลายอย่างในเรื่องของการบังคับคดี เช่น เงินเดือนไม่ถึง ตามเกณฑ์ที่กรมบั งคับคดี กาหนด ก็บังคับคดีไม่ได้ หรือหนี้ที่ขาดอายุความแล้ว อาจจะมีประเด็น หรือ ณ ทรัพย์สินที่จะไปยึด ราคารวมกันแล้วต่ากว่าหลักการหรือว่ากฎเกณฑ์ที่กรมบังคับคดีตั้งเอาไว้ อันนี้ก็ยึดทรัพย์ เขาไม่ได้ตามกฎเกณฑ์ที่วางเอาไว้ ประเด็นตรงข้อ (๓) ก็จะมีประเด็นพวกนี้ตามมา คาถามคือในมาตรา ๑๒๓๖๒ถ้าดูวรรคแรกที่เป็นกากับในทุกอนุ (๑) – (๔) อะไรที่เป็นเท็จ อะไรที่ทาให้ เข้าใจผิ ด เพราะฉะนั้ น ถ้าที่ ท าแล้ ว ไม่ได้ เท็ จ คื อฟั งอย่างที่ บอกว่า แน่ น อนเวลาออกหนังสื อไปจากส านั ก ทนายความหรือทนายความก็ตาม คือถ้าบอกว่าถ้าไม่ชาระหนี้จะดาเนินคดี ชาระแล้วก็จบ ในวรรคแรกเป็นตัว บังคับทุกอย่าง ๑ – ๔ ลักษณะที่เป็นเท็จทาให้เข้าใจผิดต้องเป็นฐานที่ตามมา ถ้าจะทาโดยสุจริตก็ไม่เป็นเท็จ ไม่ผิด ถ้าเป็นเท็จก็คือหมายถึงไม่ได้เป็นอย่างนั้นจริง ๆ๓๖๓อาจจะเป็นไปได้ที่ว่าทางฝ่ายเจ้าหนี้ยังไม่ได้คิดที่ จะฟ้องคดี ไม่ได้อะไรเลย เพียงแต่บอกให้มาทวงหนี้ อันนี้ไปขู่ อยู่ที่ว่าเจ้าหนี้จะฟ้องคดีให้รีบไปชาระภายใน วันนี้ ก็เข้าข่ายที่ค่อนข้างเป็นเท็จแล้ว ขึ้นอยู่กับว่าลักษณะข้อเท็จจริง เพราะว่าวัตถุประสงค์คือเท็จกับเข้าใจผิด๓๖๔คือว่าบางทีทาไม่ได้ มีเหตุผลอย่างนี้ ไม่ได้เท็จ ถ้าชี้แจงได้ ก็ไม่น่าจะมีปัญหา ๓๖๑ ๓๖๒ ๓๖๓

มาตรา ๑๒ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๗ มาตรา ๑๒ ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๘ มาตรา ๑๒ ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒


๑๐๘ ที่ว่าบังคับให้ลูกหนี้ออกเช็คคงจะมาเอาปัญหาจากการที่ว่าหนี้ไม่มีหลักประกันอะไรเลย ๓๖๕เสร็จแล้ว ก็พยายามจะแปลงให้คดีแพ่งเป็นคดีอาญา ทั้ง ๆ ที่ตัวเองก็ไม่มีเงินแม้กระทั่งไปเปิดสมุดเช็ค บางครั้งเจ้าหนี้ก็ ไปออกเงินแทนหรือต้องมีเงินไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ บาทไปเปิดบัญชีเช็ค เขาก็ออกเงินตรงนี้ให้เพื่อไปเปิดแล้ว ก็ตีเช็คเพื่อชาระหนี้ ให้ แล้วจะแปลงจากคดีแพ่งให้เป็ น คดีอาญา เพราะผิด พ.ร.บ. เช็ค ๒๔๙๗ มีโทษทาง อาญา คงจะมีพฤติการณ์มาจากเรื่องลักษณะนี้ มาตรา ๑๓ ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เป็นธรรมดังต่อไปนี้ (๑) การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายใด ๆ เกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการประกาศกาหนด (๒) การเสนอหรือจูงใจให้ลูกหนี้ออกเช็คทั้งที่รู้อยู่ว่าลูกหนี้อยู่ในฐานะที่ไม่สามารถชาระหนี้ได้

คาอธิบาย ข้อห้ามผู้ทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เป็นธรรม ที่สาคัญคือ (๑) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่ายใด ๆ เกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการประกาศกาหนด (๒) การเสนอ จูงใจให้ออกเช็ค ทั้งที่รู้ว่าลูกหนี้ไม่สามารถชาระหนี้ได้

ข้อสังเกต กาหนดห้ามมิให้ผู้ทวงถามหนี้กระทาการในลักษณะที่ไม่เป็นธรรมโดยการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมหรือ ค่าใช้จ่ายใดๆ เกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการประกาศกาหนด หรือการเสนอหรือจูงใจให้ลูกหนี้ออกเช็คทั้งที่ รู้อยู่ว่าลูกหนี้อยู่ในฐานะที่ไม่สามารถชาระหนี้ได้๓๖๖ มาตรา ๑๔ ห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการดังต่อไปนี้ (๑) ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๒) ทวงถามหนี้หรือสนับสนุนการทวงถามหนี้ซึ่งมิใช่ของตน เว้นแต่ใ นกรณี ที่เป็นหนี้ของสามี ภริยา บุพการี หรือผู้สืบสันดานของตน หรือในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นมีอานาจกระทาได้ตามกฎหมาย เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือ ผู้ปฏิบัติงานอื่นในกระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่ เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วน ภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ

คาอธิบาย ข้อห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ต้องระมัดระวังมากขึ้น คือ (๑) ห้ามประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๒) ห้ า มทวงถามหนี้ สนั บ สนุ น การทวงถามหนี้ เว้ น แต่ เป็ น หนี้ ข องสามี ภริ ย า บุ พ การี หรื อ ผู้สืบสันดานของตน หรือกรณีมีอานาจกระทาได้ตามกฎหมาย

๓๖๔ ๓๖๕ ๓๖๖

มาตรา ๑๒ ข้อสังเกต ๗ พลตารวจโท วิบูลย์ บางท่าไม้ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๒ ข้อสังเกต ๘ นายธานี อ่อนละเอียด เลขานุการคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๓ ข้อสังเกต อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗


๑๐๙

ข้อสังเกต กาหนดห้ามผู้เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐประกอบธุรกิจทวงหนี้ หรือทวงถามหนี้ หรือสนับสนุนการทวงถาม หนี้ที่มิใช่ของตน เว้นแต่เป็นหนี้ของสามี ภริยา บุพการี ผู้สืบสันดาน หรือกรณีมีอานาจกระทาได้ ตามกฎหมาย รวมถึงกาหนดคานิยามคาว่า “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” ไว้หมายถึงใครบ้าง ที่สาคัญที่สุดก็คือว่าจะกาหนดบทห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐเข้าไปประกอบธุรกิจทวงถามหนี้หรือกระทา การทวงถามหนี้ ที่เคยมีป ระเด็น ปั ญ หาว่า บุคคลที่เป็ นข้าราชการไม่ว่าผู้ ใดก็ตามที่ ไปกระทาการในเรื่องนี้ เพราะฉะนั้นจะมีบทบัญญัติแล้วก็มีบทลงโทษที่รุนแรง อันนี้ก็เป็นส่วนหนึ่ง๓๖๗ มาตรา ๑๔ ห้ ามเจ้าหน้ าที่ของรัฐ กระท าการ พูดง่าย ๆ กระทาการทวงถามหนี้ ความหมายของ เจ้าหน้าที่ของรัฐและทาไมถึงต้องห้ามไม่ให้เขาทาหน้าที่ ที่เพิ่มขึ้นมาห้ามไม่ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการ ธุรกิจทวงถามหนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐคือใครบ้าง แล้วก็ทาไมถึงห้าม๓๖๘ กรณีที่เพิ่มเจ้าหน้าที่ของรัฐมานี้ สาเหตุเนื่องจากว่าเห็นว่า คนที่ทวงถามหนี้ส่วนมากจะเป็นทหาร ตารวจนอกเครื่องแบบ คือหมายถึงว่า ทหาร ตารวจ ส่วนมากจะไปทวงถามหนี้และเจ้าหน้าที่ของรัฐบางคน เพราะฉะนั้นถ้าเราห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการทวงถามหนี้จะทาให้กฎหมายนี้มีความศักดิ์สิทธิ์มากขึ้น๓๖๙ แต่เจ้าหน้าที่ของรัฐก็เป็นบุคคลอยู่แล้ว ลักษณะของกฎหมายต้องถามคณะกรรมการกฤษฎีกาดีกว่าว่า มีลักษณะเช่นนี้ไหม คือถ้าบุคคลนั้น เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐก็รับโทษหนักขึ้นในทานองนั้น แต่ว่าอันนี้เพิ่มขึ้นมา ต่างหากใช่ไหม ทาไมถึงเขียนอย่างนี้๓๗๐ จุดประสงค์ของมาตรานี้ ก็เนื่องจากป้องกันปัญหาไม่ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งในทางปฏิบัติตัวเจ้าหนี้ก็ มักจะให้ตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ โดยเฉพาะทหาร ตารวจไปทวงถามหนี้ ถึงแม้จะไม่ข่มขู่ ไม่อะไร แต่ว่าตัวลูกหนี้ก็ จะเกิดความเกรงกลัว เพราะฉะนั้นไม่ว่าจะทวงถามหนี้ในลักษณะสุภาพหรือข่มขู่ จะห้ามไม่ให้กระทา ก็คือให้ ไปทาอะไรไม่ได้เลย เพื่อเป็นการคุ้มครองลูกหนี้ไม่ให้ถูกทวงถามหนี้โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ เข้าไปมีส่วนร่วมด้วย เราก็เลยบัญญัติเป็นในลักษณะต่างหากว่า เป็นบทบัญญัติห้าม แล้วก็จะมีโทษ กาหนดเอาไว้ในมาตรา ๔๒ ก็จะ กาหนดโทษไว้โดยเฉพาะเลยว่า ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐไปกระทาการฝ่าฝืนก็คือไปกระทาการทวงถามหนี้ โดยไม่ ต้องดูว่าเข้าทวงถามหนี้ถูกต้องหรือไม่ ซึ่งถ้ามีการกระทาทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่ถูกต้องด้วย ก็อาจจะเป็น กรณีที่กระทาผิดหลายกระทง เพราะฉะนั้นก็จะเป็นการคุ้มครองลูกหนี้ไม่ให้ถูกเจ้าหน้าที่ของรัฐไปทวงถามหนี้ ก็จ ะเป็ น ไป ในลั กษณะไม่ ใช่เป็ น บทฉกรรจ์ห รือว่ าเพิ่ ม โทษหนั ก ขึ้ น ในกรณี เป็ น เจ้าหน้ าที่ ของรัฐ แต่ เป็ น บทบัญญัติที่ตัดไม่ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐเข้ามาเกี่ยวข้องเลย๓๗๑ คือในกรณี การกู้เงิน ของสหกรณ์ ออมทรัพย์อย่างนี้ มีกฎหมายข้อนี้ผู กพันไหม จะมีเจ้าหน้าที่ของ สหกรณ์ออมทรัพย์ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐส่งหนังสือทวงหนี้ไปยังลูกหนี้มีปัญหาหรือไม่๓๗๒ เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ออมทรัพย์เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือเปล่า๓๗๓ ๓๖๗ ๓๖๘ ๓๖๙ ๓๗๐ ๓๗๑ ๓๗๒ ๓๗๓

มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๓ พลตารวจโท วิบูลย์ บางท่าไม้ (กรรมาธิการวิสามัญ) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๕ นายวรรณชัย บุญบารุง (กรรมาธิการวิสามัญ) ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๖ พลอากาศเอก ชนัท รัตนอุบล สมาชิกสภานิติบญ ั ญัติแห่งชาติ ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙


๑๑๐ ต้องพิจารณาว่ากรณีเจ้าหน้าที่สหกรณ์นั้น เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐตามกฎหมายไหม แต่ถ้าเป็นเจ้าหน้าที่ ตามกฎหมายและทาหน้าที่ในการทวงถามหนี้ของหนี้ หรือว่าอย่างเช่น กรณีธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) หรืออะไรต่าง ๆ นี้ จะมีเขียนยกเว้นเอาไว้ให้อยู่แล้วตาม (๒) ว่า หรือในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นมีอานาจ กระทาได้ตามกฎหมาย ก็สามารถไปกระทาได้ แต่ที่ห้ามอันนี้หมายถึงว่ากรณีคือไปทวงถามหนี้แทนบุคคลอื่น ไม่ได้ แต่ถ้าทวงถามหนี้ของตัวเองนี้ ไม่มีปัญหาอยู่แล้ว เพราะอันนี้ห้ามเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐไปทวงถามหนี้ ของคนอื่น แต่ถ้าทวงถามหนี้ในอานาจหน้าที่ที่ต้องทาอยู่แล้วนี้ได้รับยกเว้น๓๗๔ มาตรา ๑๔๓๗๕ ต้องการที่จะมีการลงโทษตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไปทวงถามหนี้ก็ให้บอกโจทย์ไปแค่นั้น ว่า ไม่ต้องการที่จะให้เจ้าหน้าที่ของรัฐเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในการทวงถามหนี้ เพราะว่าการที่มีเจ้าหน้าที่ของ รัฐเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องก็จะทาให้ลูกหนี้เกรงกลัวที่จะชาระหนี้ จากหลักการดังกล่าวควรมีข้อยกเว้นไหม ประการแรก คือตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ คือแน่นอนทวงหนี้เองไม่มีปัญหา แต่หนี้ของบุคคลอื่นควรจะ ยกเว้น ได้ห รื อไม่ ตามการปฏิ บั ติที่ เกิดขึ้น ได้จริง ซึ่งก็เป็ นเรื่องที่ ว่าเกี่ยวข้องเป็ นสามี ภรรยา ผู้ สื บสั น ดาน บุพการี ก็เป็นเรื่องตามปกติอยู่แล้วที่น่าจะเป็นธุระช่วยทวงหนี้ให้กับบุคคลในครอบครัวสมควรจะยกเว้นให้ หรือไม่ กลับไปตรงส่วนคาว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐจะกินความกว้างไกลขนาดไหน เพราะมิฉะนั้นจะมีคลุมไปถึง ข้าราชการธรรมดาทั่ว ๆ ไป ซึ่งก็ไม่ได้มีอานาจมีอะไร ไม่ใช่เป็นหน่วยงานที่มี อานาจในทางด้านปกครองหรือ ทางด้านที่จะใช้อานาจไม่เหมือนกับเจ้าหน้าที่ทางด้านข้าราชการทหาร ข้าราชการตารวจ หรือข้าราชการฝ่าย ปกครอง ซึ่งอันนี้ค่อนข้างจะมีอานาจ ก็อาจจะมีปัญหาว่าจะเขียนไว้กว้างว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐ คือ หมายถึงทุก หน่วยงานที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือไม่ แต่บางทีก็มีปัญหาเหมือนกัน เพราะว่าบางหน่วยงานก็ค่อนข้างจะมี อานาจมาก ทาง ปปง. ป.ป.ช. หรืออะไรพวกนี้ ซึ่งก็เลยไม่รู้ว่าจะเขียนกรอบกว้างไกลขนาดไหน แล้วก็มาตรานี้ พอมีบทห้ามแล้วก็จะไปมีบทบัญญัติลงโทษอยู่ตามมาตรา เป็นโทษทางอาญาไม่ใช่โทษทางปกครอง ซึ่งก็จะอยู่ ในมาตรา ๓๙ ที่มีการลงโทษไปเอาอัตราโทษ ซึ่งโทษอาญาตามฉบับนี้ ต่าสุดก็คือ ๓ เดือน ไปเอาอัตราโทษ เดียวกับตามมาตรา ๓๔ มาใช้ แต่ก็มีปัญหาว่า พอพูดถึงบทกาหนดโทษก็จะมีปัญหาว่าห้ามการกระทาครั้งแรก คือทวงหนี้ ไม่ว่าจะทวงโดยถูกต้อง ทวงโดยถูกธรรมเนียมปฏิบัติใช้คาสุ ภาพอะไรก็แล้วตามนี้ลงโทษเสมอ เพราะไม่ต้องการให้ไปทวงหนี้ ไม่ว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นจะปฏิบัติตามถูกต้องตามวิธีการทวงหนี้ฉบับนี้ก็ตาม แต่ห้ามเด็ดขาดเลยว่าอย่าไปทวงหนี้กับอันที่ ๒ คือว่าเวลาตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐไปทวงหนี้แล้วไปใช้ข่มขู่ด้ วย ประกอบด้วยการข่มขู่ ซึ่งก็จ ะมีความผิดฐานหนึ่งในเรื่องการข่มขู่ ซึ่งอาจจะแรงกว่าอยู่แล้ว กับการที่เป็น เจ้าหน้าที่ของรัฐแล้วมาทวงหนี้ เป็นมาตรา ๓๙ วรรคสองไว้ว่า ถ้าทาในลักษณะนี้สมควรไหมที่จะไม่ลงโทษเขา ๒ กรรม คือกรรมแรกมาเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ แล้วยังจะมารับจ้างทวงหนี้อีก ทวงหนี้แทนคนอื่น กับอีกกรรม หนึ่งคือไปทวงแล้วใช้ฝ่าฝืนกฎเกณฑ์ที่กฎหมายห้ามทวงในลักษณะที่ไม่สมควรก็จะโดนอีกกรรมหนึ่ง ก็มีปัญหา ว่าจะเอา ๒ กระทง หรือจะอาเป็นลักษณะว่าจากการที่มาทาก็คือจุดมุ่งหมายอันเดียวกัน คือไปทวงหนี้ แล้วทา ไม่ถูกต้องก็เอาบทหนักสุดมาลงโทษกับเขา คือจะกลายเป็นว่าถ้ามาทวงแบบถูกต้อง ก็จะโดนกระทงเดียวก็คือ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐแล้วมาทวงแทนบุคคลอื่น แต่ถ้าเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐแล้วมาทวงหนี้ให้บุคคลอื่นแล้วไปใช้ กาลังข่มขู่อะไรต่าง ๆ ไปรับโทษตามเรื่องข่มขู่เอา ไม่มาลงโทษในฐานะที่เป็นเจ้ าหน้าที่ของรัฐแล้วมาทวงหนี้ เพราะบทจะนับเบากว่า ตามหลักกฎหมาย๓๗๖เรื่องกรรมเดียวหลายบทหรือหลายกระทง อยู่ที่ว่าเจตนาเดียวกันหรือคนละ เจตนา การจะทาเจตนาเดียวผิดกฎหมายหลายบท เรียกว่าการกระทากรรมเดียวผิดหลายบท ลงบทหนักที่สุด ๓๗๔ ๓๗๕

มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๘ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒


๑๑๑ แต่ถ้าการกระทานั้นมีเจตนาหลายเจตนาต้องลงทุกกรรม มียาเสพติดไว้เพื่อขาย อันนี้ชัดเจนมากว่ามียาเสพติด ไว้เพื่อขายผิด ๑ กระทง ไปลงมือขายผิดอีก ๑ กระทง เพราะเจตนามีไว้เพื่อขายเบ็ดเสร็จในตัวเองผิดแล้ว ขาย เป็นอีก ๑ เจตนา ถ้าห้ามทวงถามแล้วไปทวงเข้าผิดมาตรา ๓๙ ก็เจตนาหนึ่ง แต่พอไป ทวงแล้วไปทวงผิด พระราชบัญญัตินี้ก็ผิดอีกกรรมหนึ่ง หลายกระทงอยู่แล้ว ไม่มีทางเป็นกรรมเดียวหลายบท หลักการปกติดีกว่า อย่าไปเที่ยวเขียนกฎหมายไปยกเว้นหลักกฎหมายอาญาทั่วไปเลย วรรคสองคือ กรรมเดียวหลายบทถูกไหม แต่ความจริงกรรมหนึ่งก็คือการไปทวงหนี้ ตัวเองเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐแล้วไปทวง หนี้คือผิดกรรมทั้งนั้นแต่พอไปทวงกระทาผิดไปข่มขู่ลูกหนี้ก็ควรจะโดนอีกเรื่องหนึ่ง เพราะฉะนั้นเป็นหลาย กระทง อย่าเป็นกรรมเดียวหลายบทเลย ทีนี้ถ้อยคาขอปรับถ้อยคาเล็กน้อยในมาตรา ๑๔ ห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐ กระทาการทวงถามหนี้ แทนบุ คคลอื่นหรือสนับสนุนการทวงถามหนี้ของบุคคลอื่ น จบ อย่าไปเขียนว่าเป็น ผู้สนับสนุนเดี๋ยวคนจะไปนึกถึงผู้สนับสนุนในทางประมวลกฎหมายอาญาไปตีความกันอีก คือเป็นหรือสนับสนุน การทวงถามหนี้ของบุคคลอื่น เว้นแต่บุคคลอื่นนั้นเป็นสามี ภรรยา บุพการี หรือผู้สืบสันดานของตน ซึ่งเห็น ด้วยว่าควรจะยกเว้น ก็ไปทวงให้ พ่อ แม่ ลู ก เมีย เขาแล้ วก็ห้ าม วรรคสองก็ ปรับ ถ้อยคาเล็ กน้อย คื อเพื่ อ ประโยชน์แห่งมาตรานี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐหมายความว่าข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง ตัดคาว่าเจ้าหน้าที่ หรือ ผู้ปฏิบัติงานอื่นในกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่ากรม ราชการ ส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ทีนี้หน่วยงานอื่นของรัฐตรงนี้คลุมหมดหรือยัง อันนี้ ก็คือสิ่ งที่กรรมาธิการ เพราะที่กล่ าวมาข้างหน้าเป็นหน่วยงานในสังกัดหรือกากับของราชการฝ่ ายบริห าร เพราะฉะนั้นหน่วยงานอื่นของรัฐ ถ้าเป็นถือว่าคลุมหมด รวมถึงองค์กรรัฐวิสาหกิจ รวมถึงองค์กรนอกกากับ ดูแลของฝ่ายบริหาร เช่น ป.ป.ช. กกต. อะไรด้วย รวมไปจนกระทั่งถึงเจ้าหน้าที่สภานี้ก็ไปทวงไม่ได้ เพราะเป็น หน่วยงานอื่นของรัฐด้วย ไม่ทราบเห็นอย่างไร รูป แบบที่จ ะเขีย นคลุ มถึงกว้างมาก ๓๗๗คือถ้ามีส่ วนเกี่ยวข้องกับการใช้อานาจของรัฐก็ จะเข้าหมด หน่วยงานอื่นของรัฐ คือในคาว่า ผู้ทวงถามหนี้๓๗๘จะใช้คาว่า หมายถึงผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ ทีนี้พอมาตรา ๑๔ ใช้คา ว่า ถามแทน คือใช้คาว่า แทน ไม่ได้ ขัดแย้ง หมายความว่ารับมอบอานาจต้องไปทวงถามได้ แต่สาหรับมาตรา ๑๔ ใช้ ค าว่ า แทน ในความหมายของค า แทน จะไม่ มี ก ารตี ค วามเป็ น อย่ างอื่ น อะไร ข้ างหน้ า หรือ เปล่ า เพราะว่าในคานิยามผู้ทวงถามหนี้ใช้เป็นผู้รับมอบอานาจใช่ไหม เพื่อมอบอานาจช่วง แต่พอตรงนี้มาใช้คาว่า แทน จะมีการตีความอะไรที่เพิ่มเติมหรือเปล่า คือมี แทน แล้วก็ตัวคานิยามใช้คาว่า ผู้มอบอานาจ แล้วผู้มอบ อานาจ ทีนี้พอใช้คาว่า แทน เกรงว่าเดี๋ยวจะไปตีความว่าคนละคากัน จุดประสงค์คือตอนแรกถ้าจะไปพูดถึงตัวผู้รับ๓๗๙เพราะเนื่องจากว่าลักษณะการกระทา รวมถึงรับมอบ อานาจหรือไม่ได้รับมอบอานาจขึ้นไปทาแทนบุคคลอื่น ซึ่งอาจจะเป็นตัวบุคคลอื่นนั้น คือทาแทนผู้รับมอบ อานาจก็ยังได้ หรือทาแทนผู้รับมอบอานาจช่วงใช่ไหม แต่เพราะเขาไม่มีการมอบอานาจ แต่ว่าในทางปฏิบัติ คุณไปทาแทน คือทาแทนบุคคลอื่น คือบุคคลอื่นอาจจะเป็นทั้งเจ้าหนี้ เป็นผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหน้าที่เป็น ผู้รับมอบอานาจช่วงจากในการทวงถามหนี้อีกทีก็ได้ คือเป็นการทาทวงถามหนี้แทนบุคคลอื่น ซึ่งเป็นลักษณะ ทวงถามหนี้ ไม่ว่าจะทวงให้ใคร ทวงให้ผู้รับมอบอานาจ ทวงให้ใคร คือไม่รู้จักเจ้าหนี้เลยก็ได้ ๓๗๖

๓๗๗ ๓๗๘ ๓๗๙

มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๑๐ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดอกเตอร์บวรศักดิ์ อุวรรณโณ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทีส่ อง รายงานการ ประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๘ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๑๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒


๑๑๒ เข้าใจความหมายหรือเจตนา๓๘๐แต่ว่าคา วันหนึ่งข้างหน้าเวลาเอาไปใช้กัน คือ แทน กว้างมาก เป็น ตัวแทนคือเป็นตัวแทนตัวการ ถ้ามองก็คือตัวการตัวแทน หนี้นอกระบบด้วยก็ได้ ๓๘๑บางทีมาทาการแทนโดยไม่ได้รับมอบอานาจ จะหมายความในส่วนนี้หรือ เปล่า เวลาสมมุติว่าเป็นหนี้การพนันมาบอกว่าทาการแทนไปทวงหรือเปล่า ถ้าในระบบต้องมอบอยู่แล้ว คาว่า แทน นี้๓๘๒เพราะว่ามอบอานาจมา มาถึงตรงนี้เขามาแทน แล้วมาเป็นตัวมาตราที่ค่อนข้างจะ เข้มและมีบทลงโทษด้วยสาหรับผู้ที่กระทา เจ้าหน้าที่ของรัฐตรงนี้คาว่า แทน ต้องให้ชัดเจน แทนนี้กินความแค่ ไหน ถ้าจะเขียนว่า๓๘๓ห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการทวงหนี้ ทวงถามหนี้ หรือรับมอบอานาจในการทวง ถามหนี้แทนบุคคลอื่น จะมอบอานาจช่วง มอบอานาจแรกก็แล้วแต่ ชัดเจน ทวงหนี้ของคนของตัวเอง๓๘๔เพราะว่าถ้ากรอบหนึ่ง ไม่ได้คลุมถึงกรณีทวงหนี้ของตัวเอง ตัวเองจะเป็น เจ้าหนี้แล้วก็ทวง ซึ่งไม่ใช่เจ้าหนี้กระทาการทวงถามหนี้หรือรับมอบอานาจต้องเติมคาว่า ซึ่งมิใช่เจ้าหนี้ ห้าม เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมิใช่เจ้าหนี้กระทาการทวงถามหนี้หรือรับมอบอานาจบุคคลอื่นทวงถามหนี้ ก็ต้องเกิดเรื่อง รับมอบอานาจช่วง รับมอบอานาจอย่างเดียวก็ได้ มาตรา ๑๔ ห้ ามเจ้ าหน้ าที่ ข องรั ฐ ๓๘๕หมายความรวมถึ งรั ฐ วิ ส าหกิ จ ด้ ว ย ธนาคารกรุงไทยก็ เป็ น รัฐวิสาหกิจใช่ไหม แล้วออมสินก็เป็น ธ.ก.ส. ธนาคารเพื่อการเกษตรฯ ธนาคารอาคารสงเคราะห์อะไรพวกนี้ โดนหมดเลย ไปทวงแทน พนักงานไปทวงหนี้ได้รับมอบอานาจ อย่างนี้จะชัดเจนหรือเปล่า แล้วถ้าสมมุติว่า ธนาคารกรุ งไทยไปแตกบริษั ท ขึ้ น มาอีก บริษั ท หนึ่ งทวงหนี้ อ ย่างเดี ยวเลย ซึ่งมี คือ ธนาคารมั ก จะไม่ ได้ ใช้ พนักงานของบริษัท ก็ไปจดทะเบียนบริษัทอีกอันหนึ่ง เพื่อจะรับจ้างทั่วไปด้วยและรับของธนาคารด้วย แล้ว พนักงานของธนาคารนี้ก็ไปเป็นทั้ง ๒ แห่ง ทา ๒ ตาแหน่งนี้ ทาอย่างไรดีเจ้าหน้าที่ของรัฐ แล้วธนาคารกรุงไทย นี้ อีกหน่ อยจะเสี ย Handicap สู้ เอกชนไม่ได้ ธนาคารแห่ งประเทศไทยดูแลเพราะมีจริง ๆ เพราะว่าไปจด ทะเบี ย นตั้ ง อย่ า งเช่ น ของปู น ซี เมนต์ ไทยแยก Non profit center เช่ น ส านั ก งานบั ญ ชี แ ทนที่ จ ะเป็ น สานักงานในปูนซีเมนต์ แยกบริษัทออกไปเลย คือพนักงานบริษัทไปทาด้วย แล้วก็ไปบริหารรับข้างนอกด้วย เพื่อจะทาให้เป็นมีกาไรขึ้นมา จากเดิมที่ไม่มีกาไร เป็นพนักงานที่ไม่ได้สร้างกาไร ฝ่ายกฎหมายก็ไปสร้างกาไร คือไปรับจ้างด้วย รับจ้างจากแบงก์ แบงก์ก็ต้องจ้างด้วยอะไรอย่างนี้ สวมหมวก ๒ ใบ เป็นรัฐวิสาหกิจ ไปทวง หนี้แทนโดน รัฐวิสาหกิจจะเสียความได้เปรียบทางการแข่งขันของเอกชนเลย หลักการโดยทางปกติ๓๘๖คืออะไรที่กระทาได้ตามกฎหมาย อานาจหน้าที่ทาได้อยู่แล้ว ไม่อย่างนั้นห้าม ทุกอย่าง ห้ามทุกเรื่อง หรือว่าใช้โน่ นใช้นี่ บางทีอาจจะมีกฎหมายเฉพาะที่ทาได้ก็ต้องเป็นไปตามกฎหมาย เฉพาะ เพราะไม่อย่างนั้นต้องเขียน ยกเว้นไว้แทบจะทุกข้อทุกมาตรา แต่ถ้าอยากจะเขียนก็อาจจะเติมไปว่า หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้น มีอานาจกระทาได้ตามกฎหมายต่อท้ายไป แปลความก็ทาได้อยู่แล้ว ให้รู้ว่าเจตนารมณ์มีอยู่ในบันทึกหน่วยงานของรัฐที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องของการเงิน ๓๘๗สถาบันที่มี ธุรกิจในด้านการเงินทีท่ าตามกฎหมาย ๓๘๐ ๓๘๑ ๓๘๒ ๓๘๓ ๓๘๔ ๓๘๕ ๓๘๖ ๓๘๗

มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๑๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๘ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๑๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๖๔ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๑๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๘ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๑๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗๖ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๑๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๑๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๖๕ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๑๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๒๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๘


๑๑๓ ถ้อยคาไม่ใช่เฉพาะรัฐวิสาหกิจเท่านั้น๓๘๘ต่อไป สานักงานอัยการสูงสุดก็จะมีส่วนบังคับคดีทวงหนี้ด้วย เพราะวันนี้ส่วนราชการไปฟ้องคดีแล้ว ชนะคดีแล้วไม่บังคับคดี เพราะไม่มีใครบังคับ เพราะฉะนั้นชนะคดีแล้วก็ ชนะอยู่ลอย ๆ อย่างนั้น ทรัพย์สินก็ไม่มีใครไปยึดไปอายัดอะไรทั้งสิ้น ข้อสังเกตนี้ไปปรุงถ้อยคาให้คลุมดีกว่า ตกลงในมาตรา ๑๔๓๘๙ก็มีประเด็นในส่วนที่หน่วยงานอื่นของรัฐที่จะไม่กระทบกับในหน่วยงานของรัฐ ที่ทาในเรื่องของเกี่ยวกับเรื่อง การทวงหนี้ ประเด็นหนึ่งหลักการมาตรา ๑๔๓๙๐ยังไม่ได้ครอบคลุมถึงเรื่องการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ซึ่งเข้าใจ ว่าคือเจ้าหน้าที่ของรัฐก็คงไม่สามารถที่จะไปประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ คือ จะห้ามไปจนถึงขนาดนั้นไหมว่า ไม่ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมาทาธุรกิจ คือไม่ได้เป็นคนทวงเอง แต่ตรงนี้กาลังมุ่งไปถึงเรื่องว่า โอ.เค. อย่าใช้คนมีสีไป ประกบด้วยลูกหนี้จะเกรงกลัว แต่ถ้าตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐทาประกอบอาชีพอะไรทวงถามหนี้ก็น่าจะทาได้อยู่ แล้ว ไม่น่าที่จะไปห้ามอะไร แต่ว่าเวลาดาเนินการของลูกจ้าง ลูกน้องทวงถามหนี้ ตัวเจ้าหน้าที่ที่ตัวเองรู้จักไป ประกบด้วยก็แล้วกัน ตรงส่วนนี้ไม่ควรเขียนห้ามเรื่องประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ตอนนี้ถึงมาตรา ๑๔๓๙๑ตอนนี้ได้มีการปรับแก้แล้ว มีติดอยู่คาเดียวว่า หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ใน หลั ก การเข้ าใจกั น หมดแล้ ว แต่ ให้ ไปปรั บ ถ้ อ ยค าเพื่ อ ให้ ค รอบคลุ ม และป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ มี ผ ลกระทบกั บ การ ดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ในเรื่องเกี่ยวกับเรื่องของการทวงถามหนี้ ผู้มีสีลักษณะอย่างรับราชการไปจดทะเบียนในเรื่องของการทวงถามหนี้ขึ้นมาได้ไหม ๓๙๒ไม่ห้าม แล้ว ต่อไป สมมุติว่าถ้าทาก็ทาได้ เขาไปจดทะเบียนเสร็จแล้วพอถึงเวลาไปทาดาเนินการตามลักษณะที่เคยทามา อย่างนี้จะผิดหรือไม่ผิด เพราะฉะนั้นต้องห้ามเลย ห้ามไปจดทะเบียนหรืออะไรทั้งสิ้น ถ้าอย่างนั้นผู้มีสีก็ยังมี อานาจอยู่ทาลักษณะเดียวกันอยู่ เพราะไปจดทะเบียนแค่จดทะเบียนแค่นั้นเอง ก็ไปทามีอานาจบาดใหญ่กันได้ เหมือนเดิมลักษณะนั้น ตรงนี้ต้องเขียนข้อความให้ชัดเจน ถ้าอย่างนั้นกลับกลายเป็นว่าคนมีสีไปเปิดช่องว่าง ไป จดทะเบียนเท่านั้น เขาดาเนินการเหมือนเดิม ตรงนี้ก็เป็นจุดหนึ่งที่ว่าจะเป็นข้อสังเกตนิดหนึ่ง เจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้คือต้องการให้คนทวงถามหนี้เข้าสู่ระบบ ๓๙๓คือเนื่องจากตามกรอบ ระยะเวลาในการติดตามทวงถามหนี้ ก็กาหนดไปแล้วว่าวันธรรมดากี่โมงถึงกี่โมงวันหยุดกี่โมงถึงกี่โมง แต่ว่า ข้าราชการชั้นผู้น้อย ส่วนหนึ่งก็ยังมีประกอบธุรกิจหรือว่าประกอบการทวงถามหนี้อยู่ ตรงนี้จะไปตัดไม้ตัดมือ ปิดช่องเขาเลย ดูใจร้ายเกินไปหรือเปล่า เพราะว่าเป็นอาชีพสุจริตอย่างหนึ่งในการทวงถามหนี้ กาลังจะให้มาสู่ ระบบ ถ้าไม่เปิดโอกาสตรงนั้นเลยยิ่งจะรุนแรงมากขึ้นไหม ตรงนี้ถ้าปิดก็ต้องปิดเลย แต่ถ้าเปิดก็ต้องชัดเจนมา อยู่บนดินให้ถูกต้อง อาชีพการทวงถามหนี้ก็เป็นอาชีพสุจริต ถ้าจะเอาขึ้นมาให้ถูกต้องมาจดทะเบียนเปิดเผย ตัวตนที่ชัดเจน สังคมจะได้ประโยชน์มากกว่า ดีกว่าที่ไปทาใต้ดินหรือไปทาอยู่ในมุมมืด ตอนนี้กาลังแก้เรื่องนอกระบบ๓๙๔ ทวงหนี้นอกระบบ แล้วก็พูดถึงคนมีสี คนมีตาแหน่ง คนมีฐานะ คน มีอิทธิพลที่เข้าไปสู่วงจรการทวงหนี้โดยไม่ชอบ แล้วก็เป็นเจตนารมณ์วัตถุประสงค์ของกฎหมายฉบับนี้ ถ้าจะ เปิ ดช่องให้ บุ คลากรที่สั งกัดกองทัพ หรื อสั งกัด ส านั กงานตารวจแห่ งชาติ หรือยังมองไปเห็ นถึงข้าราชการ เจ้ าหน้ าที่ของรัฐที่มี ตาแหน่ งเงิน เดือนประจาไม่ควรเข้ามาจดทะเบียนทวงหนี้ได้ เพราะ ๑. เบียดบังเวลา ๓๘๘ ๓๘๙ ๓๙๐ ๓๙๑ ๓๙๒ ๓๙๓ ๓๙๔

มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๒๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗๖ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๒๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๘ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๒๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๒๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๘ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๒๕ พลเอก วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๒๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๗ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๒๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๙


๑๑๔ ราชการ ๒. ใช้ตาแหน่งฐานะไปสู่การอ้างอิง ทวงหนี้ได้ แล้วเห็นว่าจะเกิดความเสียหายมากกว่าผลดี ถ้าท่าน จะใช้เวลานอกราชการไปทาอย่างอื่นไม่ว่า ไปขับแท็กซี่ไม่ว่า แต่ถ้ามาจ้างบริษัททวงหนี้หรือเป็นบริษัทที่มี อิทธิพลต่อเรื่องทวงหนี้ก็จะ ๑. โอกาสรับงานจากสถาบันการเงินมากกว่าคนอื่น แน่นอนเพราะผลสัมฤทธิ์ มากกว่าคนอื่น ค่าตอบแทนจะมากกว่าคนอื่น แล้วคิดว่าพอตรงนี้เป็นงานหลัก งานราชการจะเสีย มีความเห็น อย่างนั้น กรณีตาม (๑)๓๙๕ถ้าพูดถึงฐานความผิด ก็มีฐานความผิดตามมาตรา ๑๔ (๑) ซึ่งก็จะมีโทษที่กาหนดใน มาตรา ๓๙ นอกจากนี้ยังมีกรณีโทษของกรณีที่ประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้โดยไม่จดทะเบียนจะมีโทษทาง อาญาตามมาตรา ๒๙ ซึ่งเข้ าใจว่ากรณีนี้ ไม่ได้ผิด คาเดียว แต่ว่าจุดประสงค์ตรงนี้ผิดนี้แต่ไม่ได้ผิดตามกรณี มาตรา ๒๙ ซึ่งพูดถึงกรณีทั่ว ๆ ไปว่าคนที่สามารถทาได้ไปประกอบธุรกิจทวงถามหนี้แต่ว่าไม่ได้จดทะเบียน เข้าใจว่าหลักการคือจะผิดมาตรา ๓๙ มาตราเดียว ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐไปประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ คือ จะไปจดทะเบียนคงไม่ได้อยู่แล้วก็ไปใช้ว่าไปประกอบธุรกิจทวงถามหนี้โดยไม่ได้จดทะเบียนซึ่งไม่น่าจะไปเข้า ตามมาตรา ๒๙ ถ้าผิดก็ผิดมาตราเดียว วรรคสอง ความหมายของคาว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐ๓๙๖ถ้าเป็นไปได้น่าจะตัดรัฐวิสาหกิจออกไป เพราะไป ประกอบธุรกิจเยี่ยงเอกชนแล้ว เดี๋ยวจะมีปัญหายกตัวอย่าง กรุงไทย สมมติมีห น่วยทวงหนี้ อาจจะต้องไป รับภาระธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์ เป็น Package เดียวกัน สมมติรัฐบาลให้กู้แล้วการทวงถามหนี้ บางที ธ.ก.ส. ไม่มีเครื่องไม้เครื่องมือพอ อาจจะให้แบงก์นี้ดาเนินการเพื่อจะลดค่าใช้จ่ายก็ เป็นไปได้ก็จะมา ต้องห้ามตามมาตรานี้รัฐวิสาหกิจไม่น่าจะไปครอบคลุมถึงเขา เอาเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐก็พอ มาตรา ๑๔ (๒)๓๙๗กระทาการทวงถามหนี้ซึ่งมิใช่ของตน หรือของหน่วยงานที่ตนสังกัดอยู่ หรือรับ มอบอานาจทาการทวงถามหนี้แทนบุคคลอื่นหรือสนับสนุนการทวงถามหนี้ของบุคคลอื่น เว้นแต่บุคคลอื่นเป็น สามี ภรรยา บุ พการี หรือผู้สื บสั นดานของตน เพื่อประโยชน์ของมาตรานี้เจ้าหน้าที่ของรัฐ หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานอื่นในกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ กระทรวง ทบวง กรม ๓๙๘ส่ว นราชการที่ เรียกชื่ออย่างอื่น ซึ่ งมีฐานะเป็นกรม ราชการส่ วนภู มิภ าค ราชการส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ แค่นี้ก็คลุมหมดแล้วก็แปลว่าข้อยกเว้นข้างบนว่าถ้าหน่วยงานนั้น เป็นคนทวงหนี้แล้วมอบให้ข้าราชการไปทวงหนี้ก็ทวงได้ ไม่ว่าจะเป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ในกรณี (๒) ที่บอกว่า๓๙๙ที่จะไม่ห้ามคือทาของตนหรือของหน่วยงานอื่นที่ตนสังกัดอยู่ กรณีถ้าเป็น การทาแทนองค์กรอื่น เช่น ธนาคารจ้างให้ธนาคารกรุงไทยทาใช่หน่วยงานของตนหรือเปล่า หรือข้าราชการผิด สัญญาไปเรียนต่อต่างประเทศของมหาวิทยาลัย แล้ว ก.พ. เป็นคนฟ้อง จะถือเป็นหน่วยงานของตนไหม เพราะ ใช้คาว่า หน่วยงานที่ตนสังกัดอยู่ หรือจะเปลี่ยนว่าเป็นการปฏิบัติตามหน้าที่จะกว้างขึ้นดีไหม จะได้ Cover หมด เพราะว่าบางทีอาจจะต้องทาแทนหน่วยงานอื่นด้วย กรณีนี้ไม่ใช่หนี้ของหน่วยงานแล้ว ๔๐๐แต่เป็นการกระทาที่หน่วยงานเข้าไปทาแทน ซึ่งถ้าให้คลุมน่าจะ เอามาใส่ ตรงข้อยกเว้น ว่า เว้ น แต่เป็ น การปฏิบั ติตามหน้าที่ หรือมีอานาจได้กระท าตามกฎหมาย หรือถ้า เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาได้ตามกฎหมายแล้วก็ทาได้ ไม่ว่าจะเป็นการทาในฐานะแทนหน่วยงานหรือว่ามีอานาจ ๓๙๕ ๓๙๖ ๓๙๗ ๓๙๘ ๓๙๙ ๔๐๐

มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๒๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๒๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๖๕ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๓๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๗ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๓๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗๖ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๓๒ ศาสตราจารย์สุรศักดิ์ ลิขสิทธิว์ ัฒนกุล กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๓๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒


๑๑๕ หน้าที่ที่จะต้องทวงถามหนี้ เพราะตรงนี้เป็นลักษณะบอกว่า ซึ่งมิใช่ของตนหรือของหน่วยงานของรัฐ ไม่ได้เป็น การกระทาแทน แต่ตอนนี้ กาลังเน้น ว่าเป็ นหนี้ หนี้ของใคร คือมีห นี้อันแรกคือหนี้ของตน กับอันที่ ๒ ของ หน่วยงานปรากฏว่าอันนี้ไม่ใช่หนี้ของหน่วยงาน อย่างกรุงไทยจะมาเปิดบริษัทเป็นอีกบริษัทหนึ่ง๔๐๑ซึ่งไม่แน่ใจว่าเจ้าหน้าที่ของทางานให้กับบริษัทแล้ว ก็เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือเปล่า เป็นบริษัทในการบริหารหนี้เกี่ยวกับหนี้บัตรเครดิตของเขา ซึ่งบริษัทตรงนี้ไม่ แน่ใจว่าเจ้าหน้าที่ของเขาเป็นพนักงานของรัฐหรือเปล่ามาเปิดอีกบริษัทหนึ่ง ซึ่งถ้ามาเปิดเป็นอีกบริษัทหนึ่ง แบบนี้อย่างไรเสียต้องอยู่ในกฎเกณฑ์ในฐานะเป็นผู้ประกอบการทวงถามหนี้ก็ต้องปฏิบัติตามกฎหมายมาตรานี้ ซึ่งมองว่าตามมาตรา ๑๔ (๒) จะครอบคลุมแล้ว มอบได้ หมายถึงมอบทั่ว ๆ๔๐๒ไปไม่ใช่หน่วยงานของรัฐก็มอบ ไม่อย่างนั้นก็อาจจะบอกว่า กระทาการ ตามที่หน่วยงานของรัฐมอบหมาย เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการตามที่หน่วยงานของรัฐได้มอบหมาย คือไม่ว่าจะ เป็นการทวงหนี้แทนหน่วยงานของรัฐของตัวเองหรือว่าหน่วยงานของรัฐ ทวงหนี้แทนหน่วยงานของรัฐอื่น แต่ ว่าได้รับมอบหมายจากหน่วยงานของรัฐให้กระทาการทวงถามหนี้

หมวด ๒ การกากับดูแลและตรวจสอบ มาตรา ๑๕ ให้ มี ค ณ ะกรรมการคณ ะหนึ่ ง เรี ย กว่ า “คณ ะกรรมการก ากั บ การทวงถาม หนี้” ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็ น รองประธานกรรมการคนที่ ห นึ่ ง ปลั ด กระทรวงการคลั ง เป็ น รองประธานกรรมการคนที่ ส อง ปลัด กระทรวงกลาโหม ปลั ด กระทรวงพาณิ ช ย์ ปลัด กระทรวงยุติ ธ รรม ผู้ บั ญ ชาการต ารวจแห่ งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ผู้อานวยการสานักงาน เศรษฐกิจ การคลัง เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย นายกสภาทนายความ เป็นกรรมการโดยตาแหน่ง และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แต่งตั้งจานวนไม่เกินห้าคน เป็นกรรมการ ให้อธิบดีกรมการปกครองเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้คณะกรรมการแต่งตั้งข้าราชการ ของกรมการปกครองสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งตามวรรคหนึ่ง ต้องมีความรู้ ความเชี่ ยวชาญ หรื อประสบการณ์ ในด้ า นการเงิน การธนาคาร ด้า นกฎหมาย หรือ ด้า นการคุ้ ม ครอง ผู้บริโภคอย่างน้อยด้านละหนึ่งคน โดยมีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละสามปี และอาจได้รับแต่งตั้งใหม่อีกได้ แต่จะแต่งตั้งให้อยู่ในตาแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระมิได้ ทั้งนี้ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการคุ้มครองผู้ บริโภคนั้น ให้แต่งตั้งจากผู้แทนองค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ให้ก รรมการผู้ ท รงคุณ วุฒิ ซึ่ งพ้ น จากต าแหน่งตามวาระอยู่ ในตาแหน่ งเพื่ อปฏิ บั ติ หน้ า ที่ ต่อ ไป จนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่

๔๐๑ ๔๐๒

มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๓๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๗ มาตรา ๑๔ ข้อสังเกต ๓๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒


๑๑๖

คาอธิบาย การกากับดูแลและตรวจสอบ หมวด ๒ ตั้งแต่มาตรา ๑๕ ถึงมาตรา ๓๓ มีคณะกรรมการกากับการ ทวงถามหนี้ ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงมหาดไทย รองประธานกรรมการคนที่ ๑ ปลัดกระทรวงการคลัง รองประธานกรรมการคนที่ ๒ ปลัดกระทรวงกลาโหม กรรมการ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ กรรมการ ปลัดกระทรวงยุติธรรม กรรมการ ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค กรรมการ ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กรรมการ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย กรรมการ นายกสภาทนายความ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนไม่เกิน ๕ คน กรรมการ อธิบดีกรมการปกครอง กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการแต่งตั้งข้าราชการของกรมการปกครอง ๒ คน ผู้ช่วยเลขานุการ ส่วนคุณสมบัติกรรมการผู้ทรงคุณวุฒินั้นต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ในด้านการเงินการ ธนาคาร ด้านกฎหมาย ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านละ ๑ คน วาระคราวละ ๓ ปี จะอยู่ในตาแหน่งติดต่อกัน เกิน ๒ วาระไม่ได้ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้แต่งตั้งจากผู้แทนองค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้าน การคุ้มครองผู้บริโภค (มาตรา ๑๕ วรรคสาม)

ข้อสังเกต ความในมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง และวรรคสอง ๔๐๓ เป็นการกาหนดให้มีคณะกรรมการกากับการทวง ถามหนี้ ป ระกอบด้ ว ย (๑) รั ฐ มนตรี ว่ าการกระทรวงมหาดไทย ประธานกรรมการ (๒) ปลั ด กระทรวง มหาดไทย รองประธานกรรมการคนที่ ๑ (๓) ปลั ดกระทรวงการคลัง รองประธานกรรมการคนที่ ๒ (๔) ปลั ด กระทรวงกลาโหม กรรมการ (๕) ปลั ด กระทรวงพาณิ ช ย์ กรรมการ (๖) ปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม กรรมการ (๗) ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ กรรมการ (๘)เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ (๙) เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค กรรมการ (๑๐)ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง กรรมการ (๑๑) เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติ กรรมการ (๑๒) ผู้ว่าการธนาคารแห่ งประเทศไทย กรรมการ (๑๓) นายกสภาทนายความ กรรมการ (๑๔) ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนไม่เกิน ๕ คน กรรมการ (๑๕) อธิบดีกรมการปกครอง กรรมการและเลขานุการ (๑๖)คณะกรรมการแต่งตั้งข้าราชการของกรมการปกครอง ๒ คน ผู้ช่วยเลขานุการ มาตรา ๑๕ วรรคสาม

๔๐๓

มาตรา ๑๕ วรรคหนึ่งและวรรคสอง ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗


๑๑๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสามปีและอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้แต่ต้องไม่ เกินสองวาระติดต่อกัน อีกจุดหนึ่งว่าความจาเป็น ๔๐๔ ความคุ้มค่าในการออกกฎหมาย เพราะว่ากฎหมายฉบับนี้ใช้บุคลากร เยอะเหลือเกิน ดูคณะกรรมการมาตรา ๑๒ – ๒๓ เลือกคณะกรรมการชุดใหญ่มาเลย แล้วก็จะคุ้มค่ากับการ บริหารกฎหมายนี้ให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลตามวัตถุประสงค์ได้หรือไม่ อย่างไร ถ้ามองอีกด้านหนึ่ง เรื่องคุ้มครองผู้ บ ริโภค เรื่ องข้อสั ญ ญาไม่เป็น ธรรม สามารถที่จะเอาเข้าไปในสั ญ ญาให้ สิ นเชื่อหรือสั ญ ญา ประกอบธุรกิจทุกประเภท เขียนให้ชัดเจนเลยว่าธุรกิจของท่าน ทาอะไรได้ ทาอะไรไม่ได้ แล้วถ้าทาอะไรเกิด ความเสียหาย จะต้องรับผลกระทบของการละเมิดอย่างไร การทวงหนี้ การใช้อานาจตามสัญญาที่ฝ่าฝืนความ สงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีอย่างนี้ คิดว่ามีความรุนแรงต้องดาเนินการแล้วต้องให้เขารับผิดชอบ หรือปิด การประกอบธุรกิจของเขาไปเลย อันนี้ก็จะเป็นบทลงโทษที่ท าให้ผู้ประกอบธุรกิจการให้สินเชื่อทั้งระบบไม่กล้า ฝ่าฝืนอะไรอย่างนี้เป็นต้น ถ้าสามารถบริหารอย่างนั้นได้ ก็จะเกิดผลดี โดยไม่มีกฎหมายเต็มบ้านเต็มเมือง แล้ว ก็บังคับ รวมทั้งคนที่ไม่ควรจะถูกบังคับก็เอากฎหมายไปใส่ด้วย มีหน้าที่ มีภาระเยอะแยะ ความคุ้มค่าของการ ออกกฎหมายที่อ้างว่าเอาของต่างประเทศมา ดูตัวอย่างของชาวนา ชาวนามีหนี้ไม่ว่าในระบบหรือนอกระบบ ฟื้นฟูไม่ได้ กฎหมายล้มละลายฟื้นฟูเฉพาะผู้ประกอบการรายใหญ่เท่ านั้น พวก ๑๐๐ ล้านบาท ๑,๐๐๐ ล้าน บาทฟื้นฟูให้ แต่ชาวนาต้องผูกคอตายฟื้นฟูไม่ได้ ซึ่งต้นตาหรับของสหรัฐฯ มีฟื้นฟูชาวนา แต่นาเอามาบทเดียว มาฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจรายใหญ่ ซึ่งเอากฎหมายเขามา แต่ไม่เอาวัฒนธรรมเขามา ไม่เอารายละเอียดที่เป็น ประโยชน์สาหรับประเทศไทยมาใช้ ทาอย่างไรที่จะให้กฎหมายฉบับนี้เข้าไปอยู่ในกฎหมายอื่น ๆ ว่าสามารถ ดาเนินการได้ หลายช่องทาง แล้วก็ไม่สามารถแยกได้เลยว่าผู้ประกอบธุรกิจทวงหนี้กับผู้ประกอบวิชาชีพ หรือผู้ มีหน้าที่ทั้งหลายก็จะเดือดร้อนที่สภาทนายความ สานักงานทนายความทั้งหลาย รวมทั้งสานักงานช่วยเหลือ ของสภาทนายความ ซึ่งมีอยู่ทั่วประเทศ รวมทั้งช่วยเหลือเนติบัณฑิตย์สภา หรือของมหาวิทยาลัย คิดว่าก็มี ปัญหาที่ล่อแหลมต่อการฝาฝืนกฎหมายฉบับนี้ ให้คาแนะนาแก่ประชาชนที่มาขอคาแนะนาจาเป็นต้องบอก กล่าวต้องทวงหนี้ ซึ่งอาจจะทาไม่ได้หรืออาจจะต้องไปเข้าช่องทางที่ลาบากมาก เพราะฉะนั้นการให้ประชาชน เข้าถึงสิทธิห น้ าที่การคุ้มครองต่าง ๆ คิดว่าควรจะเปิดกว้าง แล้ วก็ส ามารถที่จะดาเนินการได้โดยไม่ต้องมี พันธนาการอะไรมากนัก บางครั้งก็จะฝ่ าฝืนโดยไม่ได้ตั้งใจ แล้วก็บอกว่าทุกคนรู้กฎหมาย แล้ วจะให้คนทั้ง ประเทศรู้กฎหมายฉบับนี้ได้อย่างไรว่าความรับผิดของเขา จะต้องรับผิดทางแพ่ง ทางปกครอง ทางอาญา อย่าง น้ อยจะลงโทษใครควรจะให้ รู้ว่าท าอะไรบ้ างที่ จะต้องรับ ผิ ดต่อบ้านเมืองต่อความศักดิ์สิ ท ธิ์ ขณะเดียวกั น สามารถพัฒนากระบวนการยุติธรรมทั้งระบบให้มีประสิทธิภาพได้หรือยัง มีการเลือกปฏิบัติหรือยัง กลุ่มหนึ่งใน พื้นที่หนึ่งไปทาอย่างเดียวกัน ตารวจไม่จับ แต่อีกกลุ่มหนึ่งถูกเล่นงาน หรือว่าการดาเนินทั้งระบบเป็นไปตาม เจตนารมณ์ของการอานวย ความยุติธรรม การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ สิทธิมนุษยชนให้ถูกต้องรวดเร็วและเป็น ธรรมตามมาตรฐานสากลได้หรือไม่ อย่างไร ในเรื่องของหลักการในการที่จะดูแลกฎหมายฉบับนี้๔๐๕การรับผิดชอบกฎหมายมีหน่วยงานตามมาตรา ๑๒ ที่มีคณะกรรมการ ที่มีปลัดกระทรวงการคลังเป็นประธาน เจ้าหน้าที่ของสานักงานสถิติการคลัง ระดับ ผู้อานวยการสานักเป็นเลขานุการ แต่ว่าโดยเนื้อหาของการปฏิบัติตามร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ คงไม่ใช่เป็น เรื่องของการเงิน การคลัง เรื่องของกระบวนการอีกกระบวนการหนึ่ง ซึ่งถ้าในส่วนนี้ไม่ใช่เป็นหลักในส่วนที่จะ ไปเรื่องของการดูแลเรื่องการเงิน การทอง แต่การไปดูแลเรื่องของคดี ทางกระทรวงการคลังได้มองว่าการที่ ๔๐๔ ๔๐๕

มาตรา ๑๕ วรรคสาม ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๗๐ มาตรา ๑๕ วรรคสาม ข้อสังเกต ๒ นายวันชัย ศาลทูลทัต รองประธานกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัตกิ ารทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗


๑๑๘ กากับดูแล และตรวจสอบมีสานักงานเศรษฐกิจการคลังเพียงแค่นี้ แล้วก็งานที่จะมีอีกมากในอนาคต เพราะว่า โดยร่างกฎหมายฉบับนี้เมื่อออกไปจะคุมถึงหนี้นอกระบบ ถามว่าในส่วนของสานักงานสถิติการคลังจะดูแลงาน ที่รับผิดชอบตามกฎหมายฉบับนี้ได้อย่างไร ซึ่งงานประจาที่มีอยู่กับงานที่จะรับใหม่ฉบับนี้จะสอดคล้องกันหรือ เปล่า แล้วก็ภาระหน้าที่ของกระทรวงการคลัง ความผิดชอบหน้าของที่แต่ละหน่วย เมื่อกฎหมายฉบับนี้ออกไป ผู้ ป ฏิ บั ติ ก ารในอนาคตที่ จ ะให้ ก ระทรวงการคลั ง โดยส านั ก งานสถิ ติ ก ารคลั ง เป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ ทาง กระทรวงการคลังเตรียมการในส่วนนี้ด้วย หลังจากกฎหมายฉบับนี้ออกใช้บังคับแล้ว เรื่องหนี้นอกระบบนอกจากแก้ไขลักษณะการทวงหนี้แล้วก็จะต้องพิจารณาหน่วยงานที่กากับดูแลด้วย เพราะปัจจุบันหน่วยงานกากับดูแลมีช่องทางกากับทวงถามหนี้แล้วก็มีสานักงานเศรษฐกิจการคลังเป็นแม่บ้าน ซึ่งคิดว่าคงไม่พอแล้ว ถ้าจะปรับในรูปเดิมก็อาจจะทาได้เฉพาะควบคุมหนี้ในสถาบันการเงินเท่านั้น แต่ถ้าเป็น หนี้นอกระบบอาจจะต้องคิดตรงโจทย์ต่อไปว่าจะต้องสร้างองค์กรขึ้นมาแล้วก็มีภาระความรับผิดชอบมากกว่า กระทรวงการคลั งซึ่งอาจจะเป็ น เรื่องของกระทรวงยุติธรรมหรือทางกระทรวงมหาดไทยนี้ต้องเข้ามาเป็ น เจ้าภาพในตรงส่วนนี้ต้องมีการโอนอานาจไปให้ ในระดับท้องถิ่น ถึงแม้ตามรูปแบบปัจจุบันกากับตรงนี้ตอนนี้ เท่าที่มีอยู่เป็นคนพิการเรื่องร้องทุกข์ คือพิจารณาในความที่เป็นการฝ่าฝืนการทวงหนี้ที่ไม่รุนแรงก็คือทวงหนี้ ผิดเวลาหรืออะไร พวกนี้ คือไม่รุนแรงไปจนถึงขั้นข่มขู่ ถ้าข่มขู่นี้เป็นเรื่องทางอาญา ถ้าการกากับตรงนี้จะคุมอยู่ ระดับคล้าย ๆ ว่าระดับไม่รุนแรงแล้วก็มีเรื่องโทษปรับทางปกครองที่จะสามารถสั่งได้ ถึงแม้เป็นหนี้ในระบบ คณะกรรมการชุดนี้ซึ่งเป็นระดับปลัดนี้ก็ไม่น่าจะเป็นคนมาใช้ อานาจในการพิจารณาว่าเขาผิดหรือไม่ผิดอะไร อย่างนี้ คงน่าจะเป็นเรื่องคณะกรรมการที่ว่าวางนโยบายหลัก ๆ เพียงวิธีการในการพิจารณาแล้วก็โยนไปให้ องค์กรหน่วยงานทาหน้าที่วินิ จฉัย อาจจะมีระบบอุทธรณ์ มาก็เลยอยากจะฝากว่าถ้าจะไปตรงนั้นก็จะต้อง พิจารณาเรื่องเจ้าภาพเพิ่มเติมว่าจะให้ใครเข้ามาช่วยเหลือ๔๐๖ กรรมการที่ อ ยู่ ในมาตรา ๑๕ ๔๐๗ เปลี่ ย นจากปลั ด กระทรวงการคลั ง เป็ น ประธาน ก็ เปลี่ ย นเป็ น รัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทยเป็ นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยนี้ คือเพิ่มมาใหม่ ตัด หลักการเดิมออกไป เพราะฉะนั้นก็เปลี่ยนตัวประธานมาเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ซึ่งก็ทาให้ มาตรารักษาการในมาตรา ๔ จะเพิ่มรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเข้ามาเป็นเจ้าภาพ เพื่อรักษาการร่วมกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยร่วมกัน และนอกจากนี้ก็เพิ่มผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลังเข้า มาแล้วก็ ส่วนฝ่ายเลขานุการนี้เป็นรายละเอียดปลีกย่อย คณะกรรมการชุดนี้ไม่ควรที่จะให้มาพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องเรียน ซึ่งแต่เดิมในคณะกรรมการชุดนี้มี อานาจพิจารณาวินิจฉัยร้องเรียนในเรื่องที่เกี่ยวกับเรื่องโทษ ทางปกครอง ซึ่งจะมีบทบัญญัติเรื่องโทษทางปกครอง และโทษทางอาญาตามกฎหมายฉบับนี้ เนื่องจากว่า พฤติกรรมที่เป็นการละเมิดสิทธิที่ไม่ร้ายแรงนี้ จะกาหนดเป็นโทษทางปกครอง ก็คือมีการปรับเท่านั้นหรือว่า เพิกถอนทะเบียนในกรณีที่เป็นผู้ประกอบธุรกิจทวงหนี้ ซึ่งตรงส่วนนี้เดิมให้คณะกรรมการชุดใหญ่ทา ซึ่งก็คิดว่า คงไม่น่าที่จะเหมาะสมที่จะให้คณะกรรมการระดับชาติมาทาในเรื่องพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ ก็ควรจะให้ คณะกรรมการซึ่งจะสร้างองค์กรขึ้นมาใหม่ คือให้มีคณะกรรมการหลากหลายในระดับจังหวัดแล้วก็ในระดับ เขตของ กทม. เนื่องจากว่าใน กทม. มีหลายเขตที่คิดว่าจะให้ทางเขตมาเป็นเจ้าภาพดูแลและในแต่ละจังหวัดนี้ ตอนแรกก็คิดว่าจะลงไปถึงระดับ อาเภอไหม ระดับจังหวัดไป มีคณะกรรมการระดับจังหวัดที่จะรับลูกต่อจาก คณะกรรมการระดับชาติอีกทีเพราะฉะนั้นคณะกรรมการระดับชาติจะไม่มีอานาจที่จะสั่งพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ ตาม (๒) ก็เป็นเพียงให้ใน (๒) ให้ไปออกข้อบังคับกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการในการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ที่จะ ให้แต่ละจังหวัดหรือแต่ละเขตไปพิจารณาว่าเรื่องร้องทุกข์ ซึ่งเป็นเรื่องโทษทางปกครองจะทาอย่างไร คือเป็น ๔๐๖ ๔๐๗

มาตรา ๑๕ วรรคสาม ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๙๗ มาตรา ๑๕ วรรคสาม ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๖๔


๑๑๙ คนวางกรอบกฎเกณฑ์ในการใช้อานาจของคณะกรรมการย่อย ๆ อีกทีหนึ่ง คณะกรรมการใหญ่ก็วางกรอบแล้ว ก็เรื่องการสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงหนี้ไม่น่าที่จะให้คณะกรรมการชุดนี้มาใช้ อานาจ ทางปกครอง ทั้งเรื่องการพิจารณาคาสั่งลงโทษทางปกครองเรื่องการจดทะเบียนหรือว่าการเพิกถอนทะเบียน เรื่องนี้ให้ไประดับหน่วยย่อยของแต่ละระดับจังหวัดแล้วค่อยให้มีการอุทธรณ์ระดับสูงขึ้นมา เพราะฉะนั้นลด บทบาทคณะกรรมการชุดใหญ่มาว่าเป็นคนที่จะเป็นคนที่จะมาวางกฎเกณฑ์ในภาพรวมและทางด้านนโยบาย เท่านั้น มาตรา ๑๕ ๔๐๘ให้ รั ฐ มนตรี ม หาดไทยเป็ น ประธาน ส่ ว นแบบที่ ๒ คื อ แบบที่ ๑ จั ง หวั ด ส่ ว น กรุงเทพมหานคร ว่าให้กองบัญชาการของนครบาลเป็นประธาน เพราะถ้าเอาเขตมีตั้ง ๕๐ เขตจะเกินไป สมมุติ ถ้าเอาตามเขตที่เสนอมาจะมี ๕๐ เขต ทีนี้ถ้าเอาเป็นที่กองบัญชาการเลยจะได้คลุมข้อมูลทั้งหมดเลยว่าใครทา อะไรก็คลุมหมด แล้วเดินทางใกล้กว่า อย่างอยู่ต่างจังหวัดจะเดินทางเป็น ๑๐๐ กิโลกรัม กรุงเทพฯ ไม่กี่ชั่วโมง ถึงแล้ว จะมีแค่คณะกรรมการเดียว คณะกรรมการระดับ ชาติ ๔๐๙ตั้งแต่เกิดคณะกรรมการรองลงมาในตรงส่วนที่เกี่ยวกับหนี้ในสถาบัน การเงินในระดับจังหวัด ในกรณีที่เป็นปัญหาพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ที่เกี่ยวกับหนี้ในสถาบันการเงิน ที่มีการทวง ถามไม่ถูกต้อง สมควรที่จะต้องมีการตั้งตัวคณะย่อยต่างหากหรือไม่ เพราะว่าระดับชาติมีแล้ว ที่รองลงมาใน ระดับจังหวัด คนที่เป็นระดับในแต่ละจังหวัด ถ้าเป็นหนี้สถาบันการเงินจะรับลูกจากคณะกรรมการชุดรองมา อีกทีหนึ่งที่จะไปดาาเนินการให้ถูกต้อง ทางมหาดไทยเตรียมขับเคลื่อนอยู่เรื่องความเดือดร้อนของประชาชน ๔๑๐หนี้นอกระบบจะตั้งพัฒนา ศูน ย์ ดารงธรรมให้ ท างานเชิงรุ ก แล้ ว มีห น่ วยเคลื่ อ นที่ เร็วในระดั บหมู่บ้ าน ระดั บต าบล ถ้ามี เรื่อ งมีห น่ ว ย เคลื่อนที่เร็วจากศูนย์ดารงธรรม ถ้ารู้ว่ามีเครื่องมือตรงนี้ไปให้ทางจังหวัดดาเนินการสามารถจะขับเคลื่อนได้เลย แล้วอย่างกรณีตามถ้าสมมุติว่ารอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมาแต่งตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัด อีก กระบวนการกว่าจะเดินทางหนังสือเดินทางเสียเวลา คือทางกระทรวงมหาดไทยได้มีคาสั่งของคณะรักษาความสงบให้มีศูนย์ดารงธรรม๔๑๑ซึ่งทาหน้าที่แก้ไข ปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นอยู่ แ ล้ ว ปลั ด กระทรวงมหาดไทยก็ เลยอาศั ย ช่ อ งทางตรงนี้ เพื่ อ แก้ ไขปั ญ หาความ เดือดร้อน ส่วนประเด็นคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ เดิมเป็นของปลัดกระทรวงการคลังเป็นประธาน ถ้าเห็ น ชอบ ให้ เปลี่ ย นเป็ น รั ฐ มนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย ทางกระทรวงมหาดไทยขอเสนอให้ ป ลั ด กระทรวงมหาดไทยเป็นรองประธานด้วย เพื่อสอดคล้องกับที่ทางคณะกรรมการวิสามัญ เห็นว่าจะแยกหนี้นอก ระบบเป็นของกระทรวงหมาดไทย แล้วก็ให้ปลัดกระทรวงการคลังเป็นรองประธานอีกคนหนึ่ง ซึ่งจะดูแลในหนี้ ในระบบ ถ้าอย่างนี้ก็จะสามารถดาเนินการได้ แล้วเสนอให้ฝ่ายเลขาฯ คือแม้จะมีข้าราชการของสานักงาน เศรษฐกิจการคลัง ๑ คนก็ได้ แล้วให้มีข้าราชการของกรมการปกครอง ๑ คน เป็นผู้ช่วยเลขาฯ ที่เสนอเป็น คณะกรรมการครั้งนี้ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ๔๑๒สามารถระบุได้ไหม ถ้ามีกรรมการที่มาจากภาคประชาชนที่ทางานด้านการ คุ้มครองผู้บริโภคเข้ามามีสัดส่วนในตรงนี้ได้ เพราะว่าปกติปัจจุบันถ้าพูดถึงคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั่ว ๆ ไป ๔๐๘ ๔๐๙ ๔๑๐ ๔๑๑

๔๑๒

มาตรา ๑๕ วรรคสาม ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๖๔ มาตรา ๑๕ วรรคสาม ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒ มาตรา ๑๕ วรรคสาม ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๖๕ มาตรา ๑๕ วรรคสาม ข้อสังเกต ๘ นายสิทธิชาติ มงคลชาติ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านกฎหมาย กรรมาธิการ รายงานการประชุม คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๕ วรรคสาม ข้อสังเกต ๙ นางนฤมล เมฆบริสุทธิ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง


๑๒๐ ส่วนมากก็มักจะเอาคนที่ตัวเองคุ้นเคยหรือว่าเป็นคนของตนเองเข้ามาเป็นคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อให้มี สัดส่วนในการดาเนิน การมากกว่า ซึ่งถ้าหากกาหนดใส่เป็นภาคประชาชนเลยได้ไหม ในกรณี ที่มาจากการ คัดเลือกจากประชาชน อย่างเช่นในข้อเสนอที่ทางคณะกรรมการองค์การอิสระให้มาก็จะมีเรื่องของการระบุ เรื่องนี้เหมือนกัน เพราะว่าอย่างเช่นผู้ที่มีความรู้ ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ก็เชื่อว่าภาคประชาชนหรือว่านัก กฎหมายภาคประชาชนก็มี แต่เวลาสัดส่วนที่เข้ามาเป็นคณะกรรมการในการพิจารณากฎหมายทั้งหลาย หรือ ว่าพิจารณารับเรื่องร้องเรียนส่วนใหญ่มักจะไม่มีภาคประชาชน แต่คนที่เกิดปัญหาคือภาคประชาชน เพราะ ฉะนั้น การเข้าถึงปั ญหาหรือการเข้าถึง คือถ้าเป็นในแง่ของกฎหมาย เชื่อว่าคนที่ร่างกฎหมายหรือว่าที่เป็น คณะกรรมการมีความชัดเจนอยู่แล้ว แต่เวลาที่ปัญหาของประชาชน ส่วนใหญ่คณะกรรมการมักจะรับฟังจาก หน่วยงานของแต่ละหน่วยงานมามากกว่า แต่ไม่ได้รับฟังจากเสียงประชาชนโดยตรง ซึ่งคณะกรรมการหรือว่า คนที่ทางานภาคประชาชนจะเจอกับประชาชนโดยตรง แล้วก็รับทราบปัญหาที่ครอบคลุมมากกว่า ถ้าในกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ๔๑๓ซึ่งได้กาหนดไว้แล้วว่ามีความรู้อะไรบ้าง ถ้าครอบคลุมถึงและรับได้ อย่างด้านคุ้มครองผู้บริโภค เพราะว่ากรรมการคงไม่อาจจะละเอียดไปทั้งหมด แต่ว่าดูว่ากลุ่มไหนที่เป็นกลุ่ม กลางที่จะรับผิดชอบได้ ซึ่งในการแต่งตั้งท่านรัฐมนตรีที่รับผิดชอบอยู่คงจะดูผู้ ที่มีคุณวุฒิตรง มีความเชี่ยวชาญ ตรงกับวัตถุประสงค์ของกฎหมายฉบับนี้ แบบพวกผู้ทรงคุณวุฒิส่วนใหญ่จะเขียนไว้ในทานองนี้๔๑๔คือคุณสมบัติของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจะ อยู่ ในมาตรา ๑๕ ซึ่งก็ไม่ได้บั งคับ ว่าคือห้ ามข้าราชการมาเป็น สามารถเป็นได้ห มด แต่ทีนี้ก็ขึ้นอยู่กับทาง นโยบายว่าทางการมีส่วนร่วมของประชาชนทางอะไร ซึ่งทางองค์กรเอกชนภาคเอกชนก็พยายามมีบทบาทใน ส่วนนี้มาก ก็ขึ้นอยู่กับนโยบายว่าต้องการที่จะล็อคตรงส่วนนี้ไว้ไหม ไม่ใช่เป็นการไปตั้งจากที่เป็นหน่วยงานของ รัฐที่มีความเชี่ยวชาญขึ้นอยู่กับนโยบายว่าอยากจะให้ชัดเจนว่าให้องค์ก รทางด้านเอกชนมา แต่ว่าตัวรัฐมนตรี จะเป็นคนไปเลือก ไม่ได้มีระบบการสรรหาที่จะต้องซับซ้อน ให้องค์กรช่วยไปเลือกกันมา ๑ คนอย่างนี้ แต่ไปถึง รัฐมนตรีไปเลือกมาใครก็ได้ ซึ่งบางทีก็ห้ามได้ไม่หมด เพราะรัฐมนตรีคงเลือกทางด้านเอกชน แต่ว่าอย่างน้อยก็ ยังดีว่ามาจากทางด้านเอกชน ถึงยังคงแก้ไขปัญ หาได้ไม่ห มด แต่ว่าช่วยได้ในระดับหนึ่ง คือถ้าเป็นองค์กร ภาคเอกชนเป็นบุคคลภายนอกอยู่แล้วที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ คือในมาตรา ๑๕๔๑๕ ไม่ได้กาหนดกรอบของคุณวุฒิ ไว้ ก็เลยกังวลว่าปัจจุบันพอไม่ได้กาหนดกรอบ คุณวุฒิไว้ก็จะมีแต่หน่วยงานราชการที่เข้ามามี บทบาทในการพิจารณา ซึ่งเป็นคณะกรรมการส่วนใหญ่ อย่าง บางคณะทางานที่เป็นคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคบางทีจะใช้นักวิชาการที่มีความรู้ด้านนั้น ซึ่งมาจากภาค ประชาชนโดยตรงมีประสบการณ์โดยตรง แต่ในลักษณะของพระราชบัญญัติการติดตามทวงถามหนี้ เชื่อว่าบาง เรื่ อ งเป็ น เรื่ องที่ ลู ก หนี้ ป ระสบปั ญ หาโดยตรง แล้ ว เชื่ อ ว่าภาคประชาชนบางท่ านก็ น่ าจะท างานเรื่อ งการ ช่วยเหลือลูกหนี้บางคนอยู่แล้ว

๔๑๓ ๔๑๔ ๔๑๕

พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๘/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๑๕ วรรคสาม ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๘ มาตรา ๑๕ วรรคสาม ข้อสังเกต ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒ มาตรา ๑๕ วรรคสาม ข้อสังเกต ๑๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๑๒


๑๒๑ มาตรา ๑๖ ให้คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแลการทวงถามหนี้ของผู้ทวงถามหนี้ อานาจหน้าที่ดังกล่าวให้รวมถึง (๑) ออกประกาศหรือคาสั่งเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) ออกข้อบังคับกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องเรียนของคณะกรรมการ ตามมาตรา ๒๗ และกากับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการดังกล่าว (๓) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งให้ชาระค่าปรับทางปกครอง และคาสั่งเพิกถอนการจดทะเบีย น การประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามมาตรา ๓๘ (๔) กาหนดหลักเกณฑ์การเปรียบเทียบและระยะเวลาการชาระค่าปรับตามคาเปรียบเทียบตาม มาตรา ๔๕ (๕) เสนอแนะ หรื อ ให้ ค าแนะน าแก่ รั ฐ มนตรี ใ นการปฏิ บั ติ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ ตลอดจน เสนอแนะคณะรั ฐ มนตรี ห รื อ รั ฐ มนตรี เพื่ อ พิ จ ารณาสั่ งการในกรณี มี ปั ญ หาหรื อ อุ ป สรรคเกี่ ยวกั บ การ ประสานงานในการด าเนิ น การตามอานาจหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการ คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๘ (๓) คณะกรรมการเปรียบเทียบ กรมการ ปกครอง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่ทาการปกครองจังหวัด และกองบัญชาการตารวจนครบาล (๖) เสนอแนะคณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเกี่ยวกับมาตรการในการคุ้มครอง หรือช่วยเหลือลูกหนี้ใน ด้านอื่น (๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่มีกฎหมายกาหนด หรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย ข้อบังคับและประกาศของคณะกรรมการนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับ ได้

คาอธิบาย กาหนดนโยบาย ขยายอานาจและหน้าที่ให้ สอดคล้อง รวมทั้งเพิ่มบทบาทในการเสนอแนะหรือให้ คาแนะนาแก่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค ในการดาเนินการตามอานาจหน้าที่ ของ คณะกรรมการ ตลอดจนเสนอแนะเกี่ยวกับมาตรการในการคุ้มครองหรือช่วยเหลือลูกหนี้ในด้านอื่น เกี่ยวกับ การกากับดูแลการทวงถามหนี้เป็นอานาจหน้าที่คณะกรรมการการกากับทวงถามหนี้ (๑) ออกประกาศ คาสั่ง (๒) ออกข้อบังคับ กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องเรียน ดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัดและกรุงเทพมหานคร (๓) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งให้ชาระค่าปรับทางปกครอง คาสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนการ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๔) กาหนดหลักเกณฑ์ การเปรียบเทียบ ระยะเวลาการชาระค่าปรับ (๕) เสนอแนะ ให้คาแนะนาแก่รัฐมนตรีในการปฏิบัติ หรือเสนอแนะคณะรัฐมนตรีและรัฐมนตรีเพื่อ พิจารณาสั่งการกรณีมีปัญหา หรืออุปสรรคประสานงานในการดาเนินการตามอานาจหน้าที่บุคคลที่เกี่ยวข้อง (๖) เสนอแนะคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี เกี่ยวกับมาตรการในการคุ้มครอง ช่วยเหลือลูกหนี้ (๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่มีกฎหมายกาหนด หรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย


๑๒๒

ข้อสังเกต คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้มีอานาจหน้าที่ออกประกาศหรือคาสั่งเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไป ตามพระราชบัญญัตินี้ ออกประกาศกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติการทวงถามหนี้ วินิจฉัยเรื่องร้องเรียนตามพระราชบัญญัตินี้ เพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ตลอดจน ปฏิบัติการอื่นใดตามที่มีกฎหมายกาหนดหรือรัฐมนตรีมอบหมาย๔๑๖ กฎหมายฉบั บ นี้ จุ ด มุ่ ง หมายส าคั ญ ๔๑๗คื อ ต้ อ งการควบคุ ม แบบแผนของการทวงหนี้ แต่ ไม่ ใช่ ว่ า แก้ปัญหาเรื่องหนี้นอกระบบโดยตรง ต้องเป็นกฎหมายอีกฉบับ หนี้ทุกประเภทเลยไม่ว่าจะอยู่ใน นอกอะไร ทั้งสิ้น แต่มุ่งเน้นไปที่กระบวนการในการทวงหนี้ ซึ่งตั้งสมมุติฐานว่ามีการทวงหนี้โดยวิธีการที่ไม่เหมาะสม โดย การละเมิดสิทธิมนุษยชน ใช้กาลังอะไรทั้งหลาย แล้วทาให้คนเดือดร้อนจาเป็นต้องเข้ามา Regulate เข้ามาทา ให้ ถูกกฎหมาย ข้อสั งเกตก็คือว่าทัน ทีที่กฎหมายนี้ประกาศใช้ คนที่จะโดนบังคับคนแรกเลย คือพวกคนดี ทั้งหลายพวกแบงก์ พวกอะไร ต้องมาอยู่ใต้นี้หมด รวมทั้งทนายความ ซึ่งคิดว่าทนายความเป็นคนสาคัญคน หนึ่งในการทวงถามหนี้ เพราะว่าส่วนมากกว่าจะไปถึงขั้นตอนการทวงถามหนี้ใกล้จะเกิดคดีทันทีแล้ว แล้วคนที่ เป็นเจ้าหนี้ก็มักจะต้องวิ่งหาผู้มีความรู้ เพราะฉะนั้นสิ่งที่จะกระทบก็คือการที่เขียน Notice ทั้งหลายว่าจะมา เข้าข้อห้ ามอะไรหรื อเปล่ า แนวปฏิบั ติของธนาคารก็ดี สถาบันการเงินอะไร มีคนดูแลอยู่แล้ ว ไม่แน่ ใจว่า ต้องการจะไป Regulate แบงก์ ไม่น่ าจะเป็ นอย่างนั้น วิธีการทวงหนี้ของแบงก์ไม่ได้อยู่ในที่ต้องการจะมา ควบคุมจริง ๆ แล้ว น่าจะเป็น พวกนายทุน นอกระบบรายใหญ่ ๆ ที่ไม่มีใครดูแลอยู่ ตัวสถาบันการเงินที่ให้ สินเชื่อก็อาจจะคงไว้ แต่อาจจะต้องมีการเพิ่มอะไรตรงผู้ให้สินเชื่อ อ่านแล้วรู้เลยว่าจะจัดการกับพวกหนี้นอก ระบบ หรือพวกที่เป็นนายทุน มักจะใช้วิธีทวงหนี้ด้วยวิธีการอันน่ารังเกียจต้องพูดออย่างนั้นเลย คือคนอ่านแล้ว ได้ความชัดอย่างนั้น การประกอบธุรกิจทางการเงิน การคลังเป็นธุรกิจเท่า ๆ แล้วคาบเกี่ยวกับเรื่องผิดกฎหมาย เห็นด้วย อย่างยิ่งที่จะต้องมีการ Regulate หรือว่าควบคุมระบบการทวงหนี้ เพราะอะไร คือตั้งต้น Concept มาว่า เจ้าหนี้มีสิทธิตามกฎหมาย อ่านคาพิพากษาฎีกา แล้วมองว่าการที่เขาไปทวงหนี้ไม่ว่าจะใช้วิธีการอะไร เขา กาลังใช้สิทธิตามกฎหมาย เพราะฉะนั้นไม่ว่าจะใช้ กาลังรุนแรงอะไร แต่เดิมไม่ได้มองว่าเป็นเรื่องผิดกฎหมาย เลย แต่จริง ๆ แล้วคิดว่าถึงเขาเป็นลูกหนี้มีหน้าที่จะต้องใช้หนี้คืน แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะไปทาอะไรกับเขา ได้ทุกอย่าง เพราะฉะนั้นก็เห็นด้วยกับหัวใจของกฎหมายฉบับนี้อยู่ส่วนหนึ่ง ว่าน่าจะต้องมีการกาหนดรูปแบบ การทวงถามหนี้ ให้อยู่ในกรอบกติกาหรือถูกต้อง ไม่ให้ใช้วิธีการยื่นเกินเลยออกไป จะบังคับต้องชัดเจนมากกว่า นี้ องค์ประกอบของคณะกรรมการก่อนองค์ประกอบก็จะมีรัฐมนตรีปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นรอง ๔๑๘ ประธาน เพราะฉะนั้นโดยสายงาน ก็คือปลัดกระทรวงมหาดไทย ฉะนั้นสายงานน่าจะลงไปในแนวเดียวกัน เพราะการสั่งการบังคับบัญชา สุดท้ายไม่ว่าจะเป็นของกรมการปกครองหรือกระทรวงมหาดไทยก็งานเดียวกัน แต่โดยสายงานของคณะกรรมการสายงานตรงของทางปลัดกระทรวงมหาดไทย เพื่อที่จะได้เป็นไปตามสายงาน เหมือนกับ ว่า ๒ สายงานนี้ เป็น คู่ขนานแต่เมื่อคณะกรรมการเป็นอย่างไรก็น่าจะไปอย่างนั้น ขณะนี้ถ้าดูใน รูปแบบโดยสายตรง แต่ถ้ามองในแง่ของการทางานเป็นการคู่ขนาน ณ วันนี้คงต้องมีการวางรูปแบบของการ ทางานจะทาอย่างไรถึงจะประสานกันได้ เพราะพอลงไปในพื้นที่แล้วก็จะมีปัญหาอีก ไม่ทราบว่าประเด็นนี้ทาง ๔๑๖ ๔๑๗ ๔๑๘

มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๒ นายเช็มชัย ชุติวงศ์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๘


๑๒๓ ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย มีความเห็นอย่างไรเพื่อจะให้งานเดินเป็นเอกภาพ คาว่า เอกภาพของการทางานใน คณะกรรมการชุดนี้แล้วก็ในส่วนงานในภูมิภาค โดยปกติในการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย๔๑๙กรมที่มีหน้าที่รับผิดชอบที่ทางานขนาดใหญ่ที่ ลงในพื้น ที่ถึงอาเภอ ตาบล คือกรมการปกครอง สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยจริง ๆ อยู่ที่จังหวัดเท่า นั้ น เอง อัน นี้ อยู่ ที่ ค ณะกรรมการ ในความเห็ น ถ้าจะท างานให้ มีป ระสิ ท ธิภ าพคือ กรมจะเป็ นตั ว Run งาน มากกว่า พอมองภาพในลั กษณะที่ คล้ายๆ ๔๒๐กับจะไปดูแลชาวบ้านตามตาบล อาเภอต่าง ๆ เป็นเรื่องของ เจ้าหน้าที่กรมการปกครองที่จะเสนอเรื่องมาในระดับจังหวัด ถึงแม้ผู้ว่าราชการจังหวัดจะเป็นประธานก็ตาม แต่มือไม้แขนขาที่จะไปเอาข้อมูลต่าง ๆ เป็นเรื่องของกรมการปกครองที่จะดูแล คือถ้าในระดับย่อยทางผู้แทน กระทรวงมหาดไทยเสนอเปลี่ยนจากสานักงานจังหวัดเป็นที่ทาการปกครองซึ่งอันนี้เป็นหน่วยงานส่วนราชการ มี ๒ หน่วยงาน๔๒๑ เพราะว่ากระทรวงมหาดไทยจะต้องเป็นผู้ปฏิบัติซึ่งท่านต้องรับผิดชอบในเรื่องของ การดาเนินงานตามนี้ ถ้าทางผู้แทนกระทรวงมหาดไทยที่ได้ชี้แจงคือหมายความว่าให้มองทั้งระบบ แล้วถ้ามอง ทั้งระบบเดินได้อย่างนี้แล้วในส่วนทางจังหวัดไม่มีการขัดแย้งในการทางานกัน ตรงนี้ก็เดินไปได้ทางกรรมาธิการ เองคงจะดูในแง่ถ้าหากปฏิบัติแล้ว ทางานได้ดี ส่วนผู้ปฏิบัติเองต้องไปดาเนินงานแล้วก็ทาความเข้าใจในการ ปฏิบัติต่อไป มีข้อสังเกตว่ามี ข้อบังคับประกาศแล้วยังมีคาสั่ง จาเป็นต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษาด้วยหรือ เปล่า ซึ่งคงจะต้องดูในเนื้อหาว่าคาสั่งนั้นเป็นคาสั่งเฉพาะหรือเป็นคาสั่งทั่วไป คือคาสั่งก็มี ๒ นัย ถ้าเนื้อหาใน ร่างคาสั่งเฉพาะไม่ต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ถ้าเป็นคาสั่งที่ปฏิบัติทั่วไป อันนั้นเหมือนเป็นข้อบังคับ หรือประกาศ (๑) มีประกาศหรือคาสั่ง (๒) ข้อบังคับ มี ๓ อย่าง ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง ทีนี้คาสั่งนี้เป็นเรื่อง เฉพาะหรือเรื่องทั่วไป บทบั ญ ญั ติ พ.ร.บ.นี้ ๔๒๒ที่ จ ะเป็ น คาสั่ งอาจจะมี เรื่อ ง เพราะในการสั่ งการต่าง ๆ ตอนนี้ เป็ น ระดั บ จังหวัดหมดแล้ว คณะกรรมการใหญ่จะออกนโยบาย ส่วนเรื่องคาสั่ง แต่เท่าที่ดูอาจจะมีกรณีวินิจฉัยอุทธรณ์ก็ สั่งอุทธรณ์ ออกมา เป็ นเฉพาะเรื่องแต่โดยหลักเรื่องทั่ว ๆ ไปเวลาใช้อานาจของฝ่ายปกครองเฉพาะเรื่อง ก็ จะแจ้งไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องกับคาสั่งโดยตรงจะไม่ใช่เป็นลักษณะแบบกฎที่ จาเป็นต้องมีการประกาศในราชกิจจา นุเบกษา ไม่เหมือนข้อบังคับกับประกาศ กฎหมายทั่ว ๆ ไปจะให้ออกเป็นประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ถ้า เป็นคาสั่งคือแจ้งไปถึงผู้รับคาสั่งโดยตรงคิดว่าไม่น่าจะจาเป็น มติให้มีคณะอนุกรรมการชุดหนึ่งที่มาดูแลการทวงหนี้ในระบบ ๔๒๓เพราะว่ากรรมการชุ ดใหญ่อาจจะ ไม่ได้มีความเป็ นเชี่ยวชาญ มาใส่ไว้ในส่วนของการแต่งตั้งคณะกรรมการกาหนดว่า คณะกรรมการชุดใหญ่ จะต้องมีการแต่งตั้งระดับกรรมการชุดนี้เสมอ เพื่อมาดูแลการทวงหนี้ในระบบ ซึ่งคณะอนุกรรมการชุดนี้ก็จะ ทาหน้าที่เป็นเพียงในลักษณะเป็นตัวช่วยของคณะกรรมการชุดใหญ่ ก็จะได้ไปพิจารณาในลักษณะในเรื่องต่างๆ ที่อยู่ในอานาจของคณะกรรมการตามมาตรา ๑๖ ที่ว่าจะออกประกาศ คาสั่ง ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ ในการวิจัย เรื่อง ร้องทุกข์ หรือจะเสนอแนะรัฐมนตรีในเรื่องการกากับทวงถามหนี้ อนุกรรมการชุดนี้ก็จะไปคิด เสนอแนะ มา เพราะกรรมการชุดใหญ่ เพื่อ ให้ลงมติ แต่คณะอนุกรรมการชุดนี้ไม่ได้มีอานาจหน้าที่ที่จะไปทาแทนเลย ไม่ได้ยกร่างมาลักษณะว่าให้ไปทาแทน เนื่องจากตรงส่วนนี้สุดท้ายอานาจเรื่องตามมาตรา ๒๑ เป็นอานาจที่ ๔๑๙ ๔๒๐ ๔๒๑ ๔๒๒ ๔๒๓

มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๑๑ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๘ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕๒ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๔


๑๒๔ สาคัญที่จะวางนโยบายอะไรต่าง ๆ ควรจะต้องมาให้ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการชุดใหญ่เสียก่อน ไม่ได้เขียนในลักษณะว่ามีอานาจเบ็ดเสร็จ แต่บังคับว่าต้องมีการตั้งอนุกรรมการ หรือการทวงหนี้ในระบบนี้ ขึ้นมาเสนอเป็นการบังคับ ไม่ใช่ให้เป็นอานาจอนุกรรมการชุดนี้ เนื่องจากว่าในประโยคที่เติมจะเป็ นการกากับดูแลการทวงถามหนี้เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของ สถาบันการเงิน๔๒๔ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ซึ่งจริง ๆ แล้ว ธปท. จะมีหน้าที่ในการกากับดูแล อยู่แล้ว จะขออนุญาตไปหารือฝ่ายกฎหมายของแบงก์ชาติว่าจะสามารถทาได้หรือไม่ หมายความว่าอานาจจะ ซ้าซ้อนกันกับ ธปท. หรือเปล่า ในตรงส่วนของทางแบงก์ชาติอานาจหน้าที่โดยตรงที่จะเขียนไว้ชัด เจนว่า๔๒๕วิธีการทวงหนี้ทาอย่างไร อะไร อาจจะไม่ได้เขียนไว้ชัดว่าควรจะต้องทาอย่างไร เป็นเหมือนกับการประกอบธุรกิจของธนาคารพาณิชย์ โดยทั่วไปว่าที่เหมาะสมควรจะทาอย่างไร แล้วแบงก์ชาติก็ออกมาแค่แนวทางในวิธีการทวงถามหนี้ ซึ่งถ้ามีการ ฝ่าฝืนไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ดังกล่าว ทางแบงก์ชาติก็มี Sanction ในลักษณะที่ว่าคล้าย ๆ กับเป็นการสร้าง ภาระให้ ธนาคารพาณิ ช ย์ ต้องอะไร ที่ ส อบถามมาคล้ าย ๆ ว่าเป็ น การสร้างภาระในเรื่อ งเครดิต ของแบงก์ พาณิชย์เท่านั้นเอง จะต้องทารายงาน ทาอะไรเพิ่มเติมขึ้นมาใช่ไหม เข้าใจว่าคือไม่ได้มีกระบวนการในการที่จะ ไปลงโทษเขา จนถึงกระทั่งมีการเพิกถอนใบอนุญาตอะไรต่าง ๆ แบงก์ชาติไม่ได้มีอานาจตรงส่วนนั้น ซึ่งเข้าใจ ว่าตรงส่วนนี้ตั้งอนุกรรมการขึ้นมาแล้ว อาจจะเป็นไปได้ว่าให้ทางตัวแทนหรือรองแบงก์ชาติ เป็นประธานก็ยัง ได้ ก็มาใช้อานาจตามนี้ แล้วองค์ประกอบก็คงจะเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องของธนาคารพาณิชย์ที่จะเข้ามาดูแล ทั้งหมด ก็คิดว่าถ้ามาใช้อานาจตรงนี้ก็จะได้เป็นกลาง เพราะว่าตรงส่วนนี้เป็นการวางนโยบายภาพรวมของ กระบวนการว่า ตัวกฎหมายวิธีทวงหนี้อะไรอย่างนี้ ก็เป็นไปตามกฎหมายฉบับนี้แล้ว แต่ห มายถึงว่าจะทา อย่ างไรให้ การบั งคั บ ใช้ อย่ างเช่น ถ้ ามาตรา ๑๓ จะมี ในเรื่องกระบวนการในการออกประกาศคาสั่ งตาม กฎหมายฉบับนี้ หรือว่าตาม (๒) เกี่ยวกับวิธีการวินิจฉัยของคณะกรรมการที่จะใช้ อานาจในกรณีมีการทวงถาม หนี้ไม่เป็นธรรม แล้วจะมีการวินิจฉัยว่าเขาทาได้ถูกต้อง แล้วลงโทษปรับทางปกครองอย่างนี้ ทางอนุกรรมการ ชุดนี้ ทีม่ ีความเชี่ยวชาญก็จะไปออกแบบเสนอว่า ในกระบวนการในการที่จะใช้อานาจของคณะกรรมการ เวลา จะพิจารณาเรื่องที่มีการร้องทุกข์บอกว่า ธนาคารพาณิชย์ทวงไม่ถูกต้อง ทวงไม่ดีอะไรพวกนี้ ก็อาจจะเป็นแค่ คุมทางด้านนโยบาย ไม่ได้เป็นผู้ใช้อานาจโดยตรง แม้กระทั่งคณะกรรมการชุดใหญ่ ก็เป็นแค่เรื่องคุมนโยบาย แล้วก็พิจารณาในเรื่องอุทธรณ์เท่านั้น เพราะฉะนั้นคณะกรรมการชุดนี้ก็เป็นแค่กลั่นกรอง หรือเสนอเรื่องว่า นโยบายภาพรวมควรจะเป็ น อย่ า งไรส าหรั บ กรณี ห นี้ ในระบบ หรื อ แม้ ก ระทั่ ง เรื่ อ งการวิ นิ จ ฉั ย อุ ท ธรณ์ คณะกรรมการชุดนี้ก็อาจจะเป็นผู้วินิจฉัยอุทธรณ์กรณีมีการเพิกถอนทะเบียนผู้ประกอบธุรกิจที่เป็นการทวง ถามหนี้ในระบบเท่านั้นอะไรอย่างนี้ ตรงส่วนนี้โดยหลักไม่น่าที่จะซ้าซ้อน ก็เป็นการช่วยงานร่วมกัน เข้าใจว่า ดาเนินการองค์ประกอบ คงจะมีเป็นทางธนาคารแห่งประเทศไทย คงจะไม่เป็นตัวหลักของอนุฯ ชุดนี้ เนื่ องจากการพิ จ ารณาที่ ว่าหลั กการ ๔๒๖ ถ้ามีอนุ กรรมการที่ ดูแลการทวงถามหนี้ ของหนี้ในระบบ สถาบันการเงินก็จะให้ทางกระทรวงการคลังเป็นหลัก กับ สสค. อาจจะเป็นเลขาฯ เพียงแต่ว่าถ้าดู Wording แล้ว ถ้าคณะกรรมการชุดนี้ กากับ ดูแลการทวงถามหนี้เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของสถาบันการเงินตาม กฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน จะเข้าใจผิดว่าไปดูแลในเรื่องของการประกอบธุรกิจสถาบันการเงินด้วย ถ้า Wording อาจจะปรับได้ไหม อาจจะเป็นการกากับดูแลการทวงถามหนี้ของสถาบันการเงินตามกฎหมายว่า ๔๒๔ ๔๒๕ ๔๒๖

มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๙ นางธัญทิพย์ สรรพโชติวัฒน์ ผู้แทนจากธนาคารแห่งประเทศไทย กรรมาธิการ การประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคม มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๔ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๒๔


๑๒๕ ด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน รวมทั้งถ้าจะกาหนดองค์ประกอบที่ชัดเจนว่าให้กระทรวงการคลังเป็นหลักกับ สสค. เป็ น เลขาฯ ก็ จ ะชั ด เจนมากขึ้ น เพราะว่ าถ้ าไม่ ได้ ก าหนดไว้ในฐานะของ ธปท. ต้ อ งขออนุ ญ าตไปหารื อ Position ประหนึ่งว่าจะเป็นตามนี้หรือเปล่า สาหรับมาตรา ๑๖ (๓)๔๒๗ได้มีการไปเสนอเพิ่มแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่องว่า ในเมื่อคณะกรรมการชุด นี้เป็นผู้รู้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องการทวงถามหนี้ เรื่องการเป็นหนี้อะไรต่าง ๆ ก็อาจจะมีข้อมูลอะไรต่าง ๆ ที่จะ เสนอแนะให้ทางฝ่ายรัฐบาลไปดาเนินการมาตรการอื่นในการคุ้มครองหรือช่วยเหลือเรื่องหนี้ได้ก็น่าจะเป็น ประโยชน์ก็เลยใส่เอาไว้ว่าสามารถเสนอแนะได้ คณะกรรมการนี้เขารู้ปัญหาอะไรก็น่าจะไม่ใช่เฉพาะปัญหา เรื่ องการทวงถามหนี้ มีข้อคิดเห็ น อะไรดี ๆ ก็น่ าจะเสนอฝ่ ายรัฐบาลในเรื่องมาตรการในการคุ้มครองหรือ ช่วยเหลือลูกหนี้ในด้านอื่นนอกจากเรื่องการทวงถามหนี้ ก็เลยขออนุญาตเสนอเพิ่มตรงนี้เข้ามา ในส่วนที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับคณะอนุกรรมการที่ ดูแลการทวงถามหนี้ในระบบ๔๒๘ไม่ทราบว่าจะ เชื่อมในลักษณะไหนได้บ้าง แล้วการรายงานกลับมายังคณะกรรมการชุดใหญ่จะต้องมีหรือไม่ กระบวนการในการที่จะประสานงานกับคณะอนุกรรมการต่าง ๆ๔๒๙ในส่วนของคณะกรรมการระดับ จังหวัดที่จะให้อานาจก็มีการกาหนดกระบวนการอยู่ในอานาจของคณะกรรมการตามมาตรา ๑๖ (๒) อยู่แล้ว ทีนี้ ในบั น ทึกจะมีคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๒ ซึ่งก็จะมีการตั้งอนุกรรมการชุดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่อง ทางด้านหนี้ในระบบด้วย ซึ่งอันนั้นแน่นอนว่าเป็นอนุกรรมการที่คณะกรรมการตั้งก็ไม่จาเป็นต้องมีการเขียน โยงว่า ให้มีการรายงานกลับมาอะไรอย่างนี้กฎหมายจะไม่มีการเขียนพวกนี้ไว้ เพราะว่าเป็นธรรมดาอยู่แล้วที่ว่า จะต้องรายงานมา ซึ่งก็แน่นอนก็จะเป็นหน่วยงานธุรการที่ดูแลอนุกรรมการชุดนั้น ๆ ก็แล้วแต่หน่วยงานไหน ต้องมีการแจ้งการประสานกลับมาอยู่แล้วโดยไม่จาเป็นต้องเขียนเอาไว้ หรือว่าเป็นอนุกรรมการตามมาตรา ๒๙ ก็จะมีอนุกรรมการชุดย่อยในระดับจังหวัด ในระดับของกรุงเทพมหานครก็จะมีอนุกรรมการชุดย่อยลงไปได้ เพราะกรรมการในระดับจังหวัดสามารถตั้งอนุกรรมการได้ อันนี้ก็มีการประสานงานกันได้อยู่แล้วทางบอร์ด ใหญ่ด้วยทางฝ่ายงานธุรการอยู่แล้ว คิดว่าตรงนี้ไม่ต้องเขียนเอาไว้ชัดแจ้งว่า ต้องมีการประสานงานแจ้งกลับมา ไม่อย่างนั้นขั้นตอนจะต้องเขียน นั่นหมายความว่าเมื่อคณะกรรมการตั้งคณะอนุกรรมการที่ดูแลหนี้ในระบบแล้ว๔๓๐หนังสือแต่งตั้งหรือ การมอบอานาจก็อาจจะระบุไว้ในนั้น ก็ได้ใช่ไหม มาตรา ๑๖ (๓) ตอนท้าย๔๓๑หรือเสนอแนะเกี่ยวกับมาตรการในการคุ้ มครองหรือช่วยเหลือลูกหนี้ใน ด้านอื่ น หมายถึงด้ านที่ อ อกไปจากขอบเขตกฎหมายนี้ เลยใช่ไหม ที นี้ เรื่อ งเจตนารมณ์ วัต ถุป ระสงค์ ข อง กฎหมายสามารถจะขยายไปตรงนั้นได้ไหม เสนอแนะให้ข้อมูล๔๓๒ซึ่งไม่ได้เขียนไว้ตรงนี้ทางฝ่ายบริหารเป็นเรื่องปกติก็เป็นหน่วยงานของรัฐก็ต้อง ร่วมด้วยช่วยกันก็ทากันได้อยู่แล้วเวลาเจอปัญหาอะไรต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งรายงานไปยังหน่วยงานที่กากับ ดูแลตัวผู้ประกอบอาชีพทางด้านนั้น ๆ ถึงได้ไม่มีการเขียนไว้ ก็ควรต้องมีการประสานงานแจ้งให้ทราบ หรือว่า การได้ ข้ อ มู ล มาจากผั ง ทาง ปปง. ทางอะไรต่ า ง ๆ ที่ ได้ ข้ อ มู ล แล้ ว คิ ด ว่ า เป็ น ประโยชน์ กั บ หน่ ว ยงานใน กระบวนการปราบปรามการกระทาความผิด โดยหลักการบริห ารราชการพวกนี้ก็มีการรายงานเสนอแนะ ๔๒๗ ๔๒๘ ๔๒๙ ๔๓๐ ๔๓๑ ๔๓๒

มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๑๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๒ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๑๓ นางธัญทิพย์ สรรพโชติวัฒน์ ผู้แทนจากธนาคารแห่งประเทศไทย กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๑๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๑๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๒๘ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๑๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๒ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๑๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕


๑๒๖ เพียงแต่ว่าตรงนี้ทาให้ดูรู้สึกว่าคณะกรรมการชุดนี้มีกระบวนการที่จะเสนอไปให้ชัดเจนแต่ไม่ได้มีสภาพอานาจ อะไร คือ ไม่ ได้เป็ น ลั ก ษณะว่าฝ่ ายบริ ห าร ครม. รัฐ มนตรี รับ ไปแล้ ว ต้ องไปดาเนิ น การ ต้อ งอะไร เพี ยงแต่ เสนอแนะให้ทราบ ถึงแม้ไม่มีตรงนี้ก็ทาได้แต่ว่าการเขียนไว้ก็ทาให้ รู้สึกว่าคณะกรรมการชุดนี้พยายามที่จะ ช่วยเหลือลูกหนี้ทางด้านอื่นได้ด้วย เพราะเข้าใจว่าพอเข้าไปทางานในเรื่องพวกนี้มาก ๆ แล้วคงจะทราบปัญหา อื่น ๆ ที่อาจจะมีการช่วยเหลือลูกหนี้ ความเข้าใจถ้าไม่เขียนการเสนอของฝ่ายธุรการหรือฝ่ายบริหารอะไรก็เป็นเรื่องปกติอันนี้คิดว่าคงไม่มี ปัญหาอะไร๔๓๓แต่พอมาเขียนเวลาเสนอแนะจะอ้างกฎหมายฉบับนี้ว่าตามมาตรานี้ (๓) ทาตามอานาจนี้ เสนอ อย่างนี้ ตามกฎหมายแล้วฝ่ายที่รับข้อเสนอแล้วไม่ทาจะกลายเป็นหน้าที่ขึ้นมาหรือเปล่า เคยได้รับคาถามว่า๔๓๔ในกฎหมายที่พิจารณามีมาตรการบริการที่จะช่วยเหลือลูกหนี้หรือไม่ ช่วยเหลือ ลูกหนี้ ถ้าเกิดไปกระทาผิดแล้วมีส่วนจะเยียวยาอะไรหรือเปล่าจะรวมในนี้หรือเปล่า ไม่รวม ใช่ไหมแต่ว่าปัญหา ที่เกิดขึ้นนี้กรรมการก็สามารถจะตอบได้ว่านอกเหนือที่กฎหมายให้อานาจไว้ คือใน (๓) ๔๓๕ที่ตัดออก “หรือเสนอแนะเกี่ยวกับมาตรการในการคุ้มครองหรือช่วยเหลือลูกหนี้ในด้าน อื่น” อาจจะสับสนกับเรื่องที่แนะนารัฐมนตรีทาอะไร กรรมการที่ดาเนินการเรื่องนี้จะมีหน้าที่ในการเสนอแนะ ข้อเสนอต่าง ๆ เพราะว่าเป็นคนจับปัญหาต่าง ๆ ถ้าเผื่อจะเพิ่มอีกอนุมาตราหนึ่งได้ไหม เพราะว่าถ้ามองดูแล้ว กรรมการชุดนี้จะช่วยพัฒ นาในการคุ้มครองสิทธิของลูกหนี้ที่จะถูกทวงให้ถูกต้องได้ แล้วก็ถ้าไม่ทาก็จะผิ ด กฎหมายหรือติดคุกอะไร เพราะถ้าคิดไปอย่างนั้นกรรมการก็จะไม่ทาอะไรเลยนอกจากจะดูแค่กรอบของ กฎหมายที่มีอยู่ และสิ่งต่าง ๆ ที่ควรจะดีขึ้นก็ทาให้ไม่อาจจะมีช่องทางเสนอได้ ถ้าเอาข้อความที่ตัดออกไปเพิ่ม เป็นอนุมาตราใหม่จะได้ไหม จะได้แยกแยะในช่วงต้นแนะนารัฐมนตรีในการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. นี้ เพราะในส่วน หลังไม่เกี่ยวกับ พ.ร.บ. ก็น่าจะเสนอได้ อย่างเช่นเสนอแนะอาจจะแก้ไขกฎหมายหรือว่าให้ความคุ้มครอง ให้ ดอกเบี้ยเงินกู้อัตราขั้นต่าาอะไรต่าง ๆ ก็จะเป็นช่องทางที่เป็นประโยชน์แก่ลูกหนี้นอกระบบนี้ได้ เห็นว่าเรื่องการเสนอแนะเป็นเรื่องที่ว่าถ้าเกิดปัญหา ๔๓๖ณ เวลานั้นมากกว่าซึ่งบางทีไม่ได้เกิดขึ้นเสมอ ไป แต่ว่าถ้าไม่เขียนไว้เลยวันหนึ่งข้างหน้าก็จะทาแค่ตามกรอบของกฎหมาย อย่างในปัจจุบันที่เจออยู่ทุกวันนี้ที่ บางหน่ ว ยงานก็ทาแค่กรอบของกฎหมายตัว เอง นอกเหนือจากนั้ นประชาชนก็เดินไปทางไหนไม่รู้ อยาก สะท้อนมุมมองในฐานะของภาคประชาชนว่าปัจจุบันมีกฎหมายของแต่ละหน่วยงานจากัด พอไม่ได้ถูกร่าง เอาไว้ปรากฏว่าประชาชนเดินไปไหนก็ต้องเดินไปแทบทุกหน่วยงานเพราะไม่ทราบว่าหน่วยงานไหนที่เกี่ยวข้อง โดยตรง แต่ถ้ากฎหมายนี้ ออกมาช่วยเหลือแล้ วก็รองรับบางเรื่องที่เป็นข้อเสนอแนะที่ดีแล้ วจัดการปัญ หา ประชาชนได้ก็น่าจะถูกระบุไว้กว้าง ๆ ไม่ได้หมายความว่าการเสนอแนะจะเป็นข้อผูกพัน เพียงแต่ว่าถ้าไม่เกิดก็ ไม่จาเป็นต้องเสนอ ถูกไหม ความคิดเห็นมาในประเด็นหนึ่งก็คือเรื่องรายงาน ๔๓๗รู้ถึงปัญหาเกี่ยวกับการทวงถามหนี้ที่ไม่เป็นธรรม แล้วมีปัญหาอุปสรรคอะไร รายงานว่าถ้าเขียนให้อานาจคณะกรรมการไว้ก็จะเป็นประโยชน์ คือให้อานาจว่า ต้องมีอานาจรายงาน รวบรวมรายงานและเสนอแนะน่าจะมี อย่างเช่นอาจจะไม่ใช่ปัญหาอุปสรรค รายงาน ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแต่จะไม่เกิดขึ้นกับกระทรวงการคลัง ไม่อาจจะเกิด ขึ้น กับ กระทรวงมหาดไทย แต่อาจจะไปเกิดกับกระทรวงกลาโหมหรือสานักงานตารวจแห่ งชาติอย่างนี้ให้ ๔๓๓ ๔๓๔ ๔๓๕ ๔๓๖ ๔๓๗

มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๑๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๒ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๑๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๒ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๒๐ ศาสตราจารย์สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๑๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๗ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๒๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๓


๑๒๗ อานาจคณะกรรมการายงานไปยังสานักงานตารวจแห่งชาติทราบว่า ในขณะนี้มีสมาชิกท่านนี้ทาให้มีปัญหา อุปสรรคประการใดรายงานให้ทราบ จะเป็นประโยชน์มากกว่าเป็นโทษ ถ้าสมมุติว่าเสนอมา ไม่ทราบอย่างนี้ หรือเปล่า รายงานปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะได้ไหม จะเป็ นประโยชน์ เพราะรู้ปัญหา วัตถุประสงค์เป็นอย่างนั้นเพราะว่าวิธีการแก้ปัญหาหนี้นอกระบบบางทีกลไกกฎหมายอย่างเดียวที่นั่ง ประชุมคงไม่พอ๔๓๘ แล้วบางที่กลไกในการช่วยเหลือของรัฐอาจจะเข้าไปมีส่วน ถ้าไม่มีเจ้าภาพรู้ปัญหาแต่ทา อะไรไม่ได้เพราะไม่มีกฎหมายในมือ แต่พ อมีกฎหมายในมือแต่จะไม่รู้ปัญ หาซึ่งทาอะไรไม่ได้ ฉะนั้นจะท า อย่างไรให้ ๒ ส่วน มา Merge กัน กฎหมายนี้เมื่อประกาศใช้จะประกาศใช้ไปตลอด ไม่ใช่แค่ในภาวะพิเศษ เพราะเมื่อมีการเลือกตั้งอะไรต่าง ๆ ก็เป็นไปตามปกติ ไม่มีใครมาสั่งอะไรเพิ่ม เพราะกฎหมายนี้ไม่ใช่กฎหมาย เฉพาะกิจ ถ้าดูส่วนที่เกี่ยวข้องก็เป็นรัฐมนตรีรักษาการ ๒๔๓๙กระทรวงแล้วตอนนี้ เพราะฉะนั้นรัฐมนตรีเมื่อเห็น ปัญหาหรือทราบปัญหาไม่ว่าจะทางไหนก็ตาม จากรายงานจากการทาหน้าที่ในชุดนี้ก็สามารถทาได้อยู่แล้ว ใช้ อานาจหน้าที่ปกติได้อยู่แล้ว หมายถึงว่าสามารถที่จะดาเนินการแล้วจะออกกฎหมาย จะปรับปรุงกฎหมาย หรือเพิ่มช่องทางพิเศษในการช่วยเหลือในการอะไรที่ควรจะทาตัวอย่างที่เกิดขึ้นเรื่องของการออกคาสั่งให้ไป ดาเนินการกับคนที่เขาเคยอยู่ในป่ามาก่อนจากการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ว่าเป็นป่าประเภทไหน เป็นอุทยาน เป็นป่าสงวน เป็นส่วนที่ชาวบ้านทามา ๒ – ๓ ชั่วคนแล้ว พอไปประกาศเข้าไปให้รื้อให้ย้ายเกิดปัญหาอย่างนี้ แล้ ว ก็ จ ะเดิน ขบวนกลายเป็ น เรื่ องใหญ่ หรือในช่ องทางอานาจของรัฐ มนตรี ๒ กระทรวง ก็ ท าได้ อยู่ แล้ ว สามารถที่จะทาได้เข้าใจอย่างนี้ ตรงนี้ถ้าเขียนไว้ก็มีแง่ดีในแง่ที่ว่า ๔๔๐ กรรมการก็จะรู้เจตนารมณ์ จุดมุ่งหมายของผู้ ร่างกฎหมายว่า อยากจะให้ช่วยปัญหาอย่างอื่นด้วยเพราะปัจจุบันก็ยังไม่มีเจ้าภาพโดยตรงตามกฎหมายในการที่จะดูลูกหนี้ทั้ง ระบบยั งไม่มี ฉะนั้ น กรรมการชุดนี้ ไหน ๆ มาทาปั ญ หาเรื่องทวงถามหนี้เห็ นปัญ หาอะไรต่าง ๆ อย่างน้อย หน่วยงานธุรการอะไรต่าง ๆ จะได้ไปศึกษา ไปอะไรต่าง ๆ แล้วก็จะเสนอกรรมการชุดนี้มาก็จะเป็นช่องทาง หนึ่งที่จะนาไปสูกระบวนการในการที่จะให้เกิดเป็นรูปธรรมได้ในเรื่องการคุ้มครองหรือช่วยเหลือลูกหนี้ในด้าน อื่น ได้ หน่ ว ยงานธุรการก็จ ะได้ส ามารถไปทามาแล้ วก็เสนอคณะกรรมการได้ คณะกรรมการก็จะได้ทราบ บทบาทของตัวเอง ตัวเองก็สามารถที่จะพิจารณาในวาระเรื่องนี้ด้วยได้ ไม่ใช่เป็นเรื่องในลักษณะที่ว่า พอรู้ มาแล้ วก็เป็ น เรื่องที่ไม่ได้มีกระบวนการชัดเจนที่ จะเสนอไปให้ มีการดาเนินการงานทางฝ่ ายบริห ารให้ เป็ น รู ป ธรรม ก็ ดี ในแง่เกิ ด ความชั ด เจนขึ้ น ซึ่ งคิ ด ว่ าการเขี ย นกฎหมาย การอะไรต่ า ง ๆ ควรจะค านึ งโดยให้ ประชาชนเป็นศูนย์กลางเป็นหลักมากกว่าคานึงในเรื่องว่าผู้ใช้อานาจมีอานาจแล้วจะมีปัญหาเป็นการตรวจสอบ แล้วไม่ยอมทาหรือว่าเป็นเชิงเจตนารมณ์ซึ่งก็ไม่ได้ไปถึงถ้าออกไปนอกเรื่องโดยที่ไม่เกี่ยวกับเรื่องลูกหนี้ก็ยังมีจุด เกาะเกี่ยวถึงแม้ว่าจะบอกว่าพระราชบัญญัติทวงถามหนี้ที่เป็นธรรมก็ตามแต่คณะกรรมการชุดนี้ก็มีจุดเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับเรื่องหนี้ของลูกหนี้ที่จะมาช่วยคุ้มครอง ก็จุดประสงค์เดียวกันก็คือที่จะคุ้มครองลูกหนี้ ซึ่งกระบวนการ คุ้มครองลู กหนี้ เรื่องการทวงถามหนี้ เป็ น แค่ส่ วนย่อยเท่ านั้น เองแต่ยังมี ส่ วนอื่น ภาพอื่น ด้ว ย น่ าจะใช้งาน คณะกรรมการนี้ให้คุ้มค่า เข้ามามีบทบาทตรงส่วนนี้แล้ว การขยายออกไปไม่ได้เป็นอานาจทางบริหาร เป็นแค่ เสนอแนะไปเท่านั้ นเอง ก็จะได้ความรู้สึกกับประชาชนดีด้วยว่าที่กาลังรอคาตอบจากกฎหมายฉบับนี้ซึ่งไป

๔๓๘ ๔๓๙ ๔๔๐

มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๒๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๓๕ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๒๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๒ มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๒๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕


๑๒๘ เข้าใจว่าจะช่ว ยลู กหนี้ ได้ทั้ งระบบจริง ๆ ไหม ช่ว ยได้เฉพาะเรื่องการทวงถามหนี้ ตรงนี้ก็จะได้เป็ นจุดที่ มี ความรู้สึกว่า สนช. หรือรัฐบาลชุดนี้ ได้ออกกฎหมายมาที่เป็นประโยชน์ ถ้าสมมุ ติ จ ะใส่ เอาข้ อ ห่ ว งใยทั้ งหลาย ๔๔๑ ไม่ ว่าปั ญ หาอุป สรรคหรือข้ อ สั งเกตของการปฏิ บั ติ ต าม กฎหมายฉบับ นี้ ของชุดต่าง ๆ ของผู้ที่เกี่ย วข้องทั้งหลายสามารถที่ จะเสนอแนะได้แล้ วก็เป็นข้อสังเกตของ กรรมาธิการเมื่อเข้าไปในสภาก็เป็นข้อสังเกตของ สนช. แล้วออกไปก็จะติดไปอยู่ในกฎหมายฉบับนี้เลย ตรงนี้ ในหลักการที่การตรากฎหมายควรจะเป็ นอย่างนั้นมากกว่า สมัยก่อนก็ทาอย่างนี้หลาย ๆ ครั้ง ก็กลายเป็น ข้อสังเกตแล้วก็ส่งไปพร้อมกับร่างกฎหมายที่ออกไปแล้ว มาตรา ๑๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีสัญชาติไทยและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๒) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก (๓) เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุด ให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่กระทา โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๔) เป็นผู้อยู่ระหว่างถูกสั่งให้พักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน (๕) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะ กระทาผิดวินัย หรือเคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากหน่วยงานของเอกชนเพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง (๖) เป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอานาจในการจัดการของผู้ให้สินเชื่อ หรือเป็นผู้ให้สินเชื่อ หรือ มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม

คาอธิบาย เป็นการกาหนดคุณสมบัติของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ต้องมีสัญชาติไทย และไม่มีคุณสมบัติในลักษณะ ต้องห้าม คือ (๑) เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๒) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก (๓) เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่กระทาโดย ประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๔) เป็นผู้อยู่ระหว่างถูกสั่งให้พักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน (๕) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะกระทา ผิดวินัย หรือเคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากหน่วยงานของเอกชนเพราะทุจริตต่อหน้าที่หรือประพฤติ ชั่วอย่างร้ายแรง (๖) เป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอานาจในการจัดการของผู้ให้สินเชื่อ หรือเป็นผู้ให้สินเชื่อ หรือมี ผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม

ข้อสังเกต เป็นรูปแบบของการบริหารกฎหมายของไทยที่ให้มีคณะกรรมการบริหารจัดการตามปกติทั่วไป

๔๔๑

มาตรา ๑๖ ข้อสังเกต ๒๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๒


๑๒๙ มาตรา ๑๗ คุณสมบัติจะต้องโยง (๕)๔๔๒บอกต้องไม่เคยถูกปลดออก ไล่ออก จากหน่วยงานของรัฐ อาจจะต้องมีองค์กรเอกชนอยู่ด้วย เพราะว่าก็มีอยู่ในบริษัทองค์กรใหญ่ ๆ ก็จะมีในเรื่องของวินัย คุณสมบัติ ให้ สอดคล้องกัน มาตรา ๑๘ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๕ กรรมการผู้ทรงคุณ วุฒิพ้น จากตาแหน่ง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐ มนตรี ว่า การกระทรวงมหาดไทยให้ อ อกเพราะบกพร่ อ งหรื อ ไม่สุ จ ริต ต่ อหน้ า ที่ มีค วาม ประพฤติเสื่อมเสีย หรือหย่อนความสามารถ (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๗

คาอธิบาย กรณีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากวาระ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้ออกเพราะบกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่มีความประพฤติ เสื่อมเสีย หรือหย่อนความสามารถ (๔) ขาดคุณสมบัตหิ รือมีลักษณะต้องห้าม

ข้อสังเกต กาหนดเหตุในการพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ๔๔๓ กรณี กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุฒิ มี ปั ญ หาในการพ้ น ก่อนวาระ ๔๔๔การนั บ องค์ป ระชุ มจะท าอย่างไร ใน ระหว่างนั้นจะประชุมได้ไหม ถ้าเกิดกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นไปหมดเลย อาจจะไม่ครบองค์ประกอบ ก็เพื่อให้ งานดาเนินงานได้ต่อเนื่อง ก็ให้ถือว่าเฉพาะกรรมการ ตาแหน่งหรือว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิยังไม่ได้พ้นไปก่อน วาระนี้ก็เป็นองค์ประชุม ก็เพื่อความชัดเจน มาตรา ๑๙ ในกรณี ที่ ก รรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พ้ น จากต าแหน่ ง ก่ อ นวาระ ให้ ค ณะกรรมการ ประกอบด้ วยกรรมการทั้งหมดที่ เหลืออยู่จนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณ วุฒิ แ ทนกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าเก้าสิบวัน และให้ผู้ที่ ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งแต่งตั้ง ไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นนั้นอยู่ในตาแหน่ง เท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว

๔๔๒ ๔๔๓ ๔๔๔

มาตรา ๑๗ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๔๘ มาตรา ๑๘ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๑๘ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๔


๑๓๐

คาอธิบาย กรณีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระนั้น ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนกรรมการ

ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่ เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน

ข้อสังเกต กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่พ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาจแต่งตั้งผู้อื่น เป็นกรรมการแทนได้โดยให้ดารงตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ที่ตนแทน๔๔๕ มาตรา ๒๐ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน กรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รอง ประธานกรรมการทาหน้าที่แทนตามลาดับ ถ้ารองประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ ได้ ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุมแทน การวิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดของที่ ป ระชุ ม ให้ ถื อ เสี ย งข้ า งมาก กรรมการคนหนึ่ ง ให้ มี เ สี ย งหนึ่ ง ในการ ลงคะแนนถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด

คาอธิบาย การประชุมของคณะกรรมการต้องมีองค์ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนคณะกรรมการทั้งหมด ประธานกรรมการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการทาหน้าที่แทนตามลาดับ การวินิจฉัยชี้ขาดให้ ถือเสียงข้างมาก

ข้อสังเกต

เป็นการกาหนดองค์ประชุมของคณะกรรมการ การออกเสียง และการวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม๔๔๖ ถ้าชาวบ้านถูกทวงหนี้ไม่เป็นธรรมไม่ชอบถึงใช้กาลังอะไรอย่างนี้๔๔๗คือกรรมการนี้เหมือนกับกรรมการ อื่น ๆ ประชุมเดือนละครั้ง กว่าจะเรียกองค์ประชุมเดือนละครั้งจะไม่ทันการณ์ คือถ้าเป็นลูกหนี้ แล้วโดนทวง อย่างนั้นไปสถานีตารวจดีกว่า ไปแจ้งความก่อน จริง ๆ แล้วการกระทาที่ละเมิดกฎหมายอันนี้ส่วนใหญ่เลยจะ เป็นอาญา มีอาญาพ่วง เพราะฉะนั้นการไปที่ตารวจจะจัดการได้เร็ว คือเป็นคดีในการสอบสวนเป็นอะไรจบไป ตรงนั้น ตารวจก็เปรียบเทียบไปเลยอะไรทานองนี้ อย่างนี้การไปร้องเรียนที่ใช้คาว่าร้องเรียน การร้องเรียนขึ้น ไปที่คณะกรรมการระดับจังหวัดต้องมีคน รวบรวมข้อมูลอะไรแล้วขึ้นไปเพื่อให้กรรมการมีมติสั่งการบอกว่าสั่ง เปรียบเทียบต้องมีกลไกตรงนี้ห รือเปล่า แล้วก็คดีนี้ไม่ได้เขียน เกรงว่าจะไม่มีอานาจหน้าที่คือจะไม่เหมือน ตารวจ ตารวจพอไปแจ้งความเป็นคดีก็ลงบันทึกก็ออกหมายเรียกเจ้าหนี้มาเลย มาสอบถามอะไร เป็นอานาจ ตาม วิ.อาญา อยู่ แล้ ว ที่ ตั้ งคาถามคือว่า ที่ ตั้งกรรมการขึ้น มาแล้ ว มี อานาจหน้ าที่ ในการรับ เรื่องร้องเรีย น เป้ าประสงค์จุ ดมุ่งหมายคืออะไร จะให้ มาทาอะไร ไกล่ เกลี่ยเป็นทางแพ่ งหรือเปล่ า คืออาญาด้ว ย ตั้งเป็ น ข้อสังเกตไว้ก่อนแล้วกันว่า อันนี้กลไกจะทางานอย่างไรในกระบวนการชุดนี้

๔๔๕ ๔๔๖ ๔๔๗

มาตรา ๑๙ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๒๐ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๒๐ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๐


๑๓๑ มาตรา ๒๑ คณะกรรมการมีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา หรือปฏิบัติการอย่างใด อย่างหนึ่งตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้ การประชุมคณะอนุกรรมการ ให้นามาตรา ๒๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

คาอธิบาย คณะกรรมการมีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ

ข้อสังเกต นอกจากนี้คณะกรรมการฯ มีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการตามที่มอบหมาย และรับ เรื่องร้องเกี่ยวกับการทวงถามหนี้๔๔๘ ส่วนเหตุไรจึงต้องมีมาตรา ๒๑ และมีภารกิจหน้าที่อะไรที่ชัดเจน เพราะดู ยังไม่ชัดเจนปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่กรรมการมอบหมาย หมายถึงอะไรบ้าง ขอบเขตแค่ไหน๔๔๙ กับ ในส่ วนของมาตรา ๒๑ นี้ เป็ น กรณี กาหนดคณะอนุกรรมการ ในร่างกฎหมายฉบับนี้ ไว้โดยเฉพาะ ส าหรับ คณะอนุกรรมการที่จะเข้ามาช่วยเหลือในการกากับดูแล การทวงถามหนี้ของคณะกรรมการชุดใหญ่ โดยจะมี ภารกิจสาคัญก็คือ การกากับดูแลการ ทวงถามหนี้ของผู้ให้สินเชื่อซึ่งเป็นนิติบุคคล อันนี้ก็จะเห็นว่าเป็นเรื่อง ส าคั ญ อั น หนึ่ ง ส าหรั บ ผู้ ท วงถามหนี้ ใ นส่ ว นเป็ น นิ ติ บุ ค คล แล้ ว ก็ ท างคณะกรรมาธิ ก ารเห็ น ว่ า ทาง กระทรวงการคลัง หรือว่าธนาคารแห่งประเทศไทยมีความใกล้ชิดกับผู้ให้สินเชื่อซึ่งเป็นนิติบุคคล ก็เลยกาหนด คณะอนุ ก รรมการเพื่ อ ให้ ท าหน้ าที่ อั น นี้ โ ดยเฉพาะไว้ ในมาตรา ๒๑ แล้ ว ในส่ ว นหน้ าที่ ข องผู้ ที่ ท าหน้ า ที่ เลขานุการของคณะอนุกรรมการชุดนี้ก็จะกาหนดไว้ในมาตรา ๒๑ ก็จะมอบให้สานักงานเศรษฐกิจการคลังทา หน้าที่ในการที่จะติดตามสอดส่อง แล้วก็ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การทวงถามหนี้ของผู้ให้สินเชื่อซึ่งเป็นนิติบุคคล๔๕๐ ประเด็นใช้อานาจตามพระราชบัญญัติฉบับนี้๔๕๑ แน่นอนว่าคือเป็นการใช้อานาจที่จะช่วยเหลือคณะ ชุดใหญ่ ซึ่งก็เป็นเฉพาะเรื่องกากับดูแลการทวงถามหนี้เท่านั้น ซึ่งถ้าถามว่าตรงคณะชุดใหญ่ ซ้าซ้อนกับแบงก์ ชาติไหม ก็ซ้าซ้อน อาจจะส่วนหนึ่ง ตรงนั้นอาจจะไม่ จาเป็นต้องเขียนให้ชัดว่าหมายถึงว่าเป็นการกากับการ ทวงถามหนี้ ตามกฎหมาย ฉบั บ นี้ ไม่ได้ห มายถึงว่าเป็นการก ากับประกอบธุรกิจของธนาคารพาณิ ช ย์ แต่ องค์ประกอบอันที่ ๒ ถ้าแบงก์ชาติอยากจะให้มีองค์ประกอบให้ชัดเจน แล้วทางที่ประชุมเห็นชอบด้วย อันนี้ผม ก็รับไม่ได้ ทางแบงก์ชาติอาจจะลองเสนอตัวละครมาว่ามีใครบ้าง ถ้าเสนอต่อที่ประชุมเลยก็ได้ แล้วแต่ที่ประชุม เห็นชอบว่าประธานเป็นใคร กรรมการมีใครบ้าง

๔๔๘ ๔๔๙ ๔๕๐ ๔๕๑

มาตรา ๒๑ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๒๑ ข้อสังเกต ๒ นายวรพล โสคติยานุรักษ์ สมาชิกสภานิติบัญญัตแิ ห่งชาติ ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๒๑ ข้อสังเกต ๓ นายอรรถพล อรรถวรเดช (กรรมาธิการวิสามัญ) สมาชิกสภานิติบัญญัตแิ ห่งชาติ ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๓/๒๕๕๗ วันศุกร์ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรา ๒๑ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๔


๑๓๒ มาตรา ๒๒ ในการแต่ ง ตั้ ง คณ ะอนุ ก รรมการตามมาตรา ๒๑ ให้ ค ณ ะกรรมการแต่ ง ตั้ ง คณะอนุกรรมการอย่างน้อยคณะหนึ่งเพื่อพิจารณา หรือปฏิบัติการเกี่ยวกับการกากับดูแลการทวงถามหนี้ ของผู้ให้ สิน เชื่อซึ่ งเป็ น นิ ติ บุ ค คล ทั้ งนี้ คณะอนุกรรมการดังกล่า วอย่างน้อยต้องประกอบด้วย ผู้แ ทน กระทรวงการคลัง ผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทย และผู้แทนสมาคมธนาคารไทยเป็นอนุกรรมการ โดยมี ข้าราชการของสานักงานเศรษฐกิจการคลังเป็น อนุกรรมการและเลขานุการ และเป็น ผู้ช่วยเลขานุการ จานวนสองคน

คาอธิบาย องค์ ป ระกอบของคณะอนุ ก รรมการการกากับ ดูแ ลการทวงถามหนี้ ของผู้ ให้ สิ น เชื่อ เป็ น นิติ บุ คคล ประกอบด้วย ผู้แทนกระทรวงการคลัง อนุกรรมการ ผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทย อนุกรรมการ ผู้แทนสมาคมธนาคารไทย อนุกรรมการ ข้าราชการของสานักงานเศรษฐกิจการคลัง อนุกรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ จานวน ๒ คน

ข้อสังเกต ในอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้นั้น จะต้องตั้งอนุกรรมการกากับการทวงถาม หนี้ของผู้ให้สินเชื่อที่เป็นนิติบุคคล อันนี้เป็นเรื่องที่จะต้องพิจารณาในกรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้ให้สินเชื่อ โดยมี สานักงานเศรษฐกิจการคลังเป็นผู้มีอานาจหน้าที่ในการบริหารธุรการรับเรื่องร้องเรียน แล้วก็ติดตามสอดส่อง ประสานงานในการประชาสัมพันธ์และฝึกอบรมเกี่ยวกับการทวงถามหนี้ของผู้ให้สินเชื่อซึ่งเป็นนิติบุคคล ใน ส่วนนี้เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงการคลังโดยตรง๔๕๒ ข้ อ สั ง เกตตามมาตรา ๒๒ ๔๕๓ในกรณี คณ ะกรรมการไปตั้ ง อนุ ก รรมการไม่ แ น่ ใ จว่ า จะให้ คณะอนุกรรมการลงลึกแค่ไหนในรายละเอียด หลังจากกฎหมายฉบับนี้บังคับใช้ออกไปจะมีการร้องเรียนเข้ามา พอสมควรทีเดียว ทีนี้การที่จะมอบหมายให้เฉพาะคณะกรรมการชุดใหญ่ในการที่จะไปลงรายละเอียดพิจารณา ในการร้องเรียนเกรงว่า ตาแหน่งของแต่ละท่านแล้วส่วนใหญ่จะทางานระดับชาติทั้งนั้น ส่วนประเด็นในการ ร้องเรียนเป็นเรื่องที่มีรายละเอียดพอสมควร ท่านจะรับฟังฝ่ายที่ร้องเรียน รับฟังฝ่ายที่ถูกร้องเรียนอย่างไร การ ตั้งอนุกรรมการก็มีความจาเป็นและมีความเหมาะสม แต่ว่าอนุกรรมการตามมาตรา ๒๒ ไม่ควรจะไปผูกไว้แค่ คณะเดียว เพราะว่าตามร่างคือมีแค่คณะหนึ่ง ถ้ามีการร้องเรียนเข้ามาคณะกรรมการชุดใหญ่ ไม่น่าจะมีเวลาใน การที่จะลงไปพิจารณาในรายละเอียด ซึ่งจะไม่ทาให้เกิดความเป็นธรรมกับทั้ง ผู้ร้องเรียนและผู้ถูกร้องเรียน ควรจะเปิดให้คณะกรรมการสามารถที่แต่งตั้ งคณะอนุกรรมการได้หลายชุด แล้วในแต่ละชุดสามารถที่จะหา ข้อสรุปให้คณะกรรมการชุดใหญ่ ในการที่จะมากาหนดว่าควรจะลงโทษหรือว่าควรจะยกประโยชน์ให้กับจาเลย อย่างไร ว่าน่าจะเป็นวิธีการที่จะทาให้กฎหมายฉบับนี้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

๔๕๒ ๔๕๓

มาตรา ๒๒ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕ มาตรา ๒๒ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๕


๑๓๓ มาตรา ๒๓ ในกรณี ที่ ลู กหนี้ ห รือ บุ ค คลอื่ น ได้ รั บ การปฏิ บั ติจ ากผู้ ท วงถามหนี้ ที่ เป็ น การขั ด ต่ อ พระราชบัญญัตินี้ ให้ลูกหนี้หรือบุคคลอื่นนั้นมีสิทธิร้องเรียนต่อคณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ เพื่อวินิจฉัย สั่งการได้ การร้องเรียนต่อคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการ ประกาศกาหนด

คาอธิบาย กรณีลูกหนี้หรือบุคคลอื่นได้รับการปฏิบัติจากผู้ทวงถามหนี้ที่เป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติ มีสิทธิ ร้องเรียนต่อคณะกรรมการ

ข้อสังเกต ในมาตรานี้กาหนดให้เป็นสิทธิของลูกหนี้ที่จะร้องเรียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ต่อการกระทาใด ๆ ที่เป็น การกระทาที่มีความผิด ความไม่ถูกต้องตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติฉบับนี้ มาตรา ๒๔ ในการดาเนินงานตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการ คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ และคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๘ (๓) มีอานาจสั่งให้บุคคลหนึ่งบุคคล ใดมาให้ ข้ อ เท็ จ จริ ง หรื อ ส่ งเอกสารหรื อ หลั ก ฐานที่ เกี่ย วข้ อ งกั บ การทวงถามหนี้ ม าเพื่ อ ประกอบการ พิจารณาได้

คาอธิบาย อานาจสั่งการของคณะกรรมการรวมถึงการสั่งให้บุคคลหนึ่งบุคคลใด มาให้ข้อเท็จจริง ส่งเอกสาร หลักฐาน การทวงถามหนี้เพื่อประกอบการพิจารณาด้วย

ข้อสังเกต คณะกรรมการฯ และคณะอนุกรรมการมีอานาจสั่งให้บุคคลมาให้ข้อเท็จจริง คาอธิบาย คาแนะนา หรือความเห็น หรือส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้๔๕๔ มาตรา ๒๕ ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้กรมการปกครองรับผิดชอบในงานธุรการของ คณะกรรมการ และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการได้มอบหมาย ให้กรมการปกครองมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทวงถามหนี้เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ (๒) ติดตามสอดส่องพฤติการณ์ของผู้ทวงถามหนี้ หรือกากับดูแลการปฏิบัติของผู้ประกอบธุรกิจ ทวงถามหนี้ (๓) ประสานกับหน่วยงานของรัฐซึ่งมีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแลหรือตรวจสอบผู้ ทวงถามหนี้ หรือบุคคลอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๔) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และอบรมวิธีการทวงถามหนี้ที่ถูกต้องและเหมาะสม (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการได้มอบหมาย

๔๕๔

มาตรา ๒๔ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗


๑๓๔

คาอธิบาย อานาจหน้าที่ของกรมการปกครองนั้น มีดังนี้ (๑) รับเรื่องร้องเรียน (๒) ติดตาม สอดส่องพฤติการณ์ของผู้ทวงถามหนี้ กากับดูแลการปฏิบัติของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๓) ประสานกับหน่วยงานของรัฐที่มีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแล ตรวจสอบผู้ทวงถามหนี้ บุคคลอื่น ที่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๔) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และอบรมวิธีการทวงถามหนี้ที่ถูกต้องและเหมาะสม (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการได้มอบหมาย

ข้อสังเกต กาหนดให้สานักงานเศรษฐกิจการคลังรับผิดชอบในงานธุรการของคณะกรรมการฯ และมีอานาจและ หน้าที่ในการรับเรื่องร้องเรียน ติดตามสอดส่องพฤติการณ์ ของผู้ทวงถามหนี้ ประสานกับส่ วนราชการหรือ หน่วยงานของรัฐที่มีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแลหรือตรวจสอบผู้ให้สินเชื่อ ผู้ทวงถามหนี้หรือบุคคลอื่นใด รับ จดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการฯ มอบหมาย๔๕๕ มาตรา ๒๕ มี การแก้ ไขเกี่ ย วกับ การปฏิ บั ติ ห น้ าที่ ในทางธุรการ เดิม ส านั กงานเศรษฐกิ จ การคลั ง เปลี่ยนเป็นกรมการปกครอง๔๕๖ ทาไมต้องเปลี่ยนจากสานักงานเศรษฐกิจการคลังมาเป็นกรมการปกครองในส่วนนี้รับผิดชอบในงาน ธุรการ ในมาตรา ๒๕ ว่าภารกิจนี้ให้สานักงานเศรษฐกิจการคลังรับผิดชอบในทางธุรการ ก็เลยยังสับสนว่าไขว้ ไปไขว้มาระหว่าง ๒ หน่วยงาน เอามาตรา ๒๕ ก่อน มีข้อสงสัยว่าทาไมต้องย้ายไปอยู่ที่กรมการปกครอง๔๕๗ ในมาตรา ๒๕ นั้นจะให้กรมการปกครองทาหน้าที่งานธุรการของคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ ตามมาตรา ๒๕ ส่ ว นในมาตรา ๒๖ นั้ น จะให้ ท างส านั ก งานเศรษฐกิ จ การคลั ง ท าหน้ า ที่ ธุ ร การของ คณะอนุกรรมการกากับการทวงถามหนี้ผู้ให้สินเชื่อที่ เป็นนิติบุคคลตามมาตรา ๒๗ เพราะฉะนั้นอันนี้เป็นการ ทางานตามสายงานคือ ถ้าเป็นเรื่องของทางด้านผู้ให้สินเชื่อที่เป็นนิติบุคคล อันนั้นก็ทางด้านกระทรวงการคลัง จะเป็นผู้ดูแล ก็มีสานักงานเศรษฐกิจการคลัง ในส่วนของทั่วไปซึ่งในส่วนนี้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จะดูแล ก็จะมีคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัดที่มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานที่จะมีใน มาตราต่อไป ในส่ ว นนี้ เพราะฉะนั้ น อัน นี้ จะไปอยู่ในสายของทางด้านการปกครอง เป็นทางด้านกระทรวง มหาดไทย เพราะฉะนั้นอันนี้จะไม่สับสนจะแยกอยู่แล้ว๔๕๘ เมื่อแยกความรับผิดชอบออกเป็น ๒ กระทรวง ไม่แน่ใจว่าจะประสานงานกันได้อย่างไร แบบไหน ก็ เป็นข้อสังเกตที่อยากจะฝากไว้ว่าความสัมพันธ์ระหว่างการทวงถามหนี้ตามมาตรา ๒๕ กับมาตรา ๒๖ มีความ คล้ายและต่างกันอยู่ เพราะฉะนั้นจึงคิดว่าการจัดโครงสร้างอย่างนี้อาจจะมีความไม่สันทัดและไม่สะดวกใน อนาคตข้างหน้า ก็เลยอยากให้ข้อสังเกตไว้ การไขว้ระหว่าง ๒ กระทรวงคงไม่ง่ายนักในการจัดการ เหตุใดจะต้องเพิ่มมาตรา ๒๕ ขึ้นมาใหม่ แล้วก็เป็นมาตราที่ค่อนข้างสาคัญมาก เพราะว่าดูแลมาตรา ๒๖ ประการที่ ๒ กังวลใจว่าสานักงานเศรษฐกิจการคลัง ซึ่งเป็นหน่วยงานทางวิชาการ เป็นผู้วางนโยบาย ทางด้านการคลังเป็ นหลั ก จะมีห น้ าที่รับ ผิ ดชอบในงานธุรการของคณะอนุกรรมการ มาตรา ๒๖ เป็นงาน ๔๕๕ ๔๕๖ ๔๕๗ ๔๕๘

มาตรา ๒๕ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๒๕ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๒๕ ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๔๙ มาตรา ๒๕ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕


๑๓๕ ลักษณะที่ลงไปติดตาม ทวงถาม แล้วก็ไปกากับดูแล ซึ่งเป็นงานที่ละเอียด แล้วก็เป็นงานกากับดูแลงานเชิง ตรวจ เชิงติดตาม ซึ่งเป็ น งานที่ ไม่น่ าจะทาได้ง่าย จึงกังวลใจว่าเป็ นไปได้อย่างนั้นหรือไม่ ถ้าหากจะเขียน เปิดทางไว้ว่า ให้สานักงานเศรษฐกิจการคลังหรือหน่วยงานอื่นใดที่กระทรวงการคลังจัดตั้งขึ้นรับผิดชอบจะ ดีกว่าหรือไม่ ก็เพราะกังวลว่าเดี๋ยวต่อไปข้างหน้า สานักงานเศรษฐกิจการคลังซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการ ก าหนดนโยบายด้ า นเศรษฐกิ จ การคลั ง ของประเทศเราจะต้ อ งไปเสี ย เวลามากกั บ งานติ ด ตาม รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ อบรมการทวงถามหนี้ ติดตามสอดส่องพฤติกรรมของผู้ทวงถามหนี้หรือกากับดูแลการปฏิบัติ ของผู้ ป ระกอบธุรกิจ ทวงถามหนี้ ซึ่งเป็ น อะไรที่ ไม่ใช่งานนโยบายเลย จะผิ ดที่ ห รือไม่ที่จะให้ อยู่ส านักงาน เศรษฐกิจการคลัง ถ้าจะเขีย นเปิ ดทางไว้ให้ จะดีกว่าหรือไม่ เช่น เติมข้อความในบรรทัดแรก ให้ ส านักงาน เศรษฐกิจการคลังหรือหน่วยงานอื่นใดที่กระทรวงการคลังจัดตั้งขึ้น ยังคงอยู่ภายใต้กระทรวงการคลัง แต่ว่า น่าจะเป็นหน่วยงานที่ปฏิบัติการมากกว่า๔๕๙ ในมาตรา ๒๕(๑)๔๖๐เรื่องการร้องเรียนเป็นสานวนจะมีทุกจังหวัด แล้วผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน มีอัยการจังหวัด ผู้บังคับการตารวจ สานวนร้องเรียนอาจจะมีการสอบข้อเท็จจริงด้วย ในมาตรา ๒๒ ที่ท่าน บอกว่า กรรมการใหญ่ ที่ บ อกว่าเป็ น ระดั บ ชาติ เข้าใจว่าเป็ น กรรมการนโยบายที่ ว างกฎเกณฑ์ ดู อะไร ใน ภาพรวมแล้วรับพิจารณาอุทธรณ์ด้วยใช่ไหม อุทธรณ์ขึ้นมาจากคาสั่งของชั้นจังหวัดซึ่งคงจะไม่เยอะ ที่เยอะว่า อยู่ในท้องที่ ในมาตรา ๒๕(๑)๔๖๑ใช้คาว่า คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ แล้วมาต่อด้วยประจาจังหวัด ทีนี้ จะเกิดการสับสน บทนิยามศัพท์ เขียนว่า คณะกรรมการ หมายความว่า คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ แล้วทีนี้ก็จะไปซ้าซ้อนกับคณะกรรมการใหญ่ บอร์ดใหญ่ ในระดับจังหวัด เช่น เรื่องเกี่ยวกับการจัดสรรระดับ จั งหวั ด ใช้ ค าว่ า อนุ ก รรมการจั ด สรรที่ ดิ น ประจ าจั งหวั ด แต่ ถ้ า ในระดั บ จั ง หวั ด จะเรี ย นเสนอว่ า จะเป็ น อนุกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัดจะดีกว่า ถ้าไปใช้คาว่าคณะกรรมการก็จะเป็นบอร์ดใหญ่ ถ้า เปลี่ยนคณะกรรมการมาเป็น คณะอนุกรรมการ ไม่อย่างนั้นจะซ้าซ้อนกับคณะกรรมการใหญ่หรือเปล่า คือประสบการณ์๔๖๒ตอนเป็นผู้กากับทองหล่ออยู่มีเพื่อนเป็นทหารรุ่นเดียวกัน ก็ไปทวงหนี้ ไปผังบ้าน เขา เขามาแจ้งความ ให้ตารวจไปดู เอาทหารมา ค่าเสียหายก็เลยลดลงไป แล้วก็เป็นแบบไม่มีเจตนา ก็ชวดไป เขาต้องมาหาตารวจอยู่แล้ว ทุกคนเวลามีเรื่องต้องมาหาตารวจ ตารวจก็ต้องไปคุ้มครองไปดูแลอยู่แล้ว หรือไม่ ตารวจไปทวงหนี้นอกเครื่องแบบก็มีมาร้องก็ต้องไปจัดการอีกที เพราะอย่างไรต้องไปแจ้งความตารวจอยู่แล้ว เพราะตารวจต้องดูแลความปลอดภัยด้วย การร้องเรียนซึ่งอยู่ในมาตรา ๒๕(๑)๔๖๓ที่จะมาสู่กรรมการ อย่างอันนี้ไม่ใช่เรื่องแจ้งความร้องทุกข์ คดีอาญาถูกไหม คือถ้าเป็นเรื่องแจ้งความร้องทุกข์ คดีอาญา แทนที่จะเอาผิดกับคนทวงถามหนี้ผิดกฎหมาย จะต้องไปอยู่ในเรื่อง วิ. อาญา ถูกไหม จะต้องมีเขตอานาจสอบสวนอะไรของตารวจ เรื่องร้องเรียน ร้องเพื่อให้ ทาไม ให้ดาเนินคดีหรือเปล่าหรืออย่างไร เรื่องเขตอานาจรับร้องเรียนในนี้ไม่ได้มีบอกว่าต้องอยู่ในท้องที่หรือ อะไรนั้น จะเขียนลอย ๆ คล้าย ๆ กับว่าในแต่ละจังหวัดมีกรรมการ แล้วก็ไปรับเรื่องร้องเรียน แต่สมมติว่าเรื่อง ในกรุงเทพฯ จะไปร้องเรียนที่ปากน้าหรือที่เมืองนนทบุรีได้ไหม ไม่ได้เขียน เพราะฉะนั้นก็จะมีปัญหาว่าเรื่อง เกิดที่หนึ่ง ไปร้องอีกที่หนึ่งก็ได้ถ้าอย่างนั้น หรืออย่างไร ๔๕๙ ๔๖๐ ๔๖๑ ๔๖๒ ๔๖๓

มาตรา ๒๕ ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๔๙ มาตรา ๒๕ ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๐ มาตรา ๒๕ ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๘ มาตรา ๒๕ ข้อสังเกต ๘ พลตารวจโท วิบูลย์ บางท่าไม้ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ การทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคม มาตรา ๒๕ ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๐


๑๓๖ มาตรา ๒๖ ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้สานักงานเศรษฐกิจการคลังรับผิดชอบในงาน ธุรการของคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๒ และปฏิบัติหน้า ที่อื่น ตามที่ค ณะอนุกรรมการดังกล่าวได้ มอบหมาย ให้สานักงานเศรษฐกิจการคลังมีอานาจหน้าที่รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทวงถามหนี้เพื่อเสนอ ต่อคณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ รวมทั้งมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการทวงถามหนี้ของผู้ให้สินเชื่อซึ่งเป็นนิติ บุคคล ดังต่อไปนี้ (๑) ติดตามสอดส่องพฤติการณ์ของผู้ทวงถามหนี้หรือกากับดูแลการปฏิบัติของผู้ประกอบธุรกิจ ทวงถามหนี้ (๒) ประสานกับหน่วยงานของรัฐซึ่งมีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแลหรือตรวจสอบผู้ทวงถามหนี้ หรือบุคคลอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๓) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และอบรมวิธีการทวงถามหนี้ที่ถูกต้องและเหมาะสม (๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่งได้มอบหมาย

คาอธิบาย อานาจหน้าที่สานักงานเศรษฐกิจการคลังเกี่ยวกับการทวงถามหนี้ของผู้ให้สินเชื่อซึ่งเป็นนิติบุ คคล มี ดังนี้ (๑) ติดตาม สอดส่องพฤติการณ์ของผู้ทวงถามหนี้ หรือกากับดูแลการปฏิบัติของผู้ประกอบธุรกิจทวง ถามหนี้ (๒) ประสานกับหน่วยงานของรัฐที่มีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแล ตรวจสอบผู้ทวงถามหนี้ บุคคลอื่น ใดที่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๓) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และอบรมวิธีการทวงถามหนี้ที่ถูกต้องและเหมาะสม (๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการได้รับมอบหมาย

ข้อสังเกต ประเด็น ที่กาหนดให้ส านั กงานเศรษฐกิจการคลังทาหน้าที่ห น่วยงานธุรการของคณะอนุกรรมการ จริงๆ ร่างกฎหมายฉบั บ นี้ ที่ มีการเสนอมาตั้ งแต่ ว าระที่ ๑ ส านั กงานเศรษฐกิ จ การคลั งก็เป็ นหน่ ว ยงานที่ รับผิดชอบในร่างกฎหมายฉบับนี้อยู่แล้ว โดยกาหนดให้ดูแลรับผิดชอบในส่วนของผู้ให้สินเชื่อซึ่งเป็นนิติบุคคล อันนั้นเป็นกรอบเดิมตามที่ได้ มีการเสนอสภาแห่งนี้ในวาระที่ ๑ เมื่อมีการขยายขอบเขตในการพิจารณาของ ชั้นกรรมาธิการไปถึงในส่วนของหนี้นอกระบบด้วย ก็จึงได้มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างในการกากับดูแล โดยให้ กระทรวงมหาดไทยซึ่งมีเครือข่ายอยู่ ในต่างจังหวัดเข้ามาดูแลในกรอบใหญ่ ของคณะกรรมการชุดใหญ่ ที่มี รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงมหาดไทยเป็ น ประธาน กรมการปกครองท าหน้ า ที่ เลขานุ ก าร แต่ ว่ า ทาง คณะกรรมาธิการก็เห็นความสาคัญของผู้ให้สินเชื่อซึ่งเป็นนิติบุคคล ซึ่งมีลักษณะเฉพาะอีกเหมือนกัน จึงได้ กาหนดให้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการที่จะมาดูแลการทวงถามหนี้ของผู้ให้สินเชื่อที่เป็นนิติบุคคลโดยเฉพาะ ภารกิจอันนี้เมื่อกาหนดให้มีคณะอนุกรรมการตามที่คณะกรรมการแต่งตั้งเพื่อมากากับดู แลธุรกิจทวงถามหนี้ โดยเฉพาะแล้ว ก็ยังคงให้มอบภารกิจที่มีการเสนอร่างพระราชบัญญัติ แต่เดิมยังคงเป็นสานักงานเศรษฐกิจการ คลังที่รับผิดชอบดูแลงานธุรการของคณะอนุกรรมการที่กากับดูแลการทวงถามหนี้ของผู้ให้สินเชื่อซึ่งเป็นนิติ บุคคล ในส่วนของหน่วยงาน สานักงานเศรษฐกิจการคลังเองมีหน่วยงานภายในที่ทาหน้าที่รับผิดชอบดูแล เกี่ยวกับหนี้ สินภาคประชาชนอยู่แล้ว ปัจจุบันก็มีการอบรมการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน ในระดับ ต่างจังหวัด อันนี้ก็เป็นหน่วยงานภายในของสานักงานเศรษฐกิจการคลังที่ได้มีการดาเนินการอยู่แล้ว เมื่อมี


๑๓๗ กฎหมายฉบับนี้ออกภารกิจอันนี้ก็คงจะเสริมเข้าไปในส่วนของหน่วยงานภายในของสานักงานเศรษฐกิจการ คลังในส่วนนั้น ซึ่งได้มีการดาเนินการอยู่แล้ว๔๖๔ ส่ ว นของอ านาจหน้ าที่ ข องทางฝ่ ายงานธุ รการของคณะกรรมการชุ ด ใหญ่ ๔๖๕จากเดิ ม ส านั ก งาน เศรษฐกิจการคลังก็เปลี่ ยนมาเป็ นส านักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นคนรั บผิดชอบงานธุรกิจแล้วก็รับ มอบหมายจากคณะกรรมการชุดใหญ่ไปทา แต่ส่วนของสานักงานเศรษฐกิจการคลังมาเพิ่มไว้ในวรรคสองว่าทั้ง สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยและสานักงานเศรษฐกิจการคลังถึงแม้จะเป็นหน่วยงานกลางดูแลงานให้ คณะกรรมการชุดใหญ่แล้วก็ตาม แต่งานรับเรื่องร้องเรียน เรื่องอะไรต่าง ๆ ติดตามสอดส่องควรที่จะให้ทั้ง ๒ หน่วยงานนี้ดูแล ซึ่งคณะกรรมการชุดใหญ่ก็คงมอบหมาย ให้ทางมหาดไทยดูเรื่องนอกระบบ ส่วนสานักงาน เศรษฐกิจการคลังก็อาจจะดูกากับเรื่องในระบบ แต่รับเรื่องเท่านั้นแล้วก็ค่อยส่งต่อไปให้คณะกรรมการชุดย่อย รับเรื่องได้ บริการประชาชน ถึงแม้จะเกิดเรื่องต่างจังหวัด แต่อยู่กรุงเทพฯ อยากจะมาร้องเรียนยังหน่วยงาน กลาง ทางสานักงานเศรษฐกิจการคลัง สานักงานปลัดกระทรวงก็สามารถทาได้แล้วก็ส่งเรื่องต่อไปเป็นการ บริการประชาชน แต่ไม่มอี านาจในการที่จะวินิจฉัยเรื่องอะไร มาตรา ๒๖ นี้เสนอเพิ่มขึ้นมาใหม่๔๖๖ หลังจากได้ปรึกษาทางสานักงานเศรษฐกิจการคลังว่าพอมีการ ตั้งคณะกรรมการเฉพาะ ขึ้นมาเพื่อดูแลหนี้ในระบบตามมาตรา ๒๒ แล้ว ก็สมควรที่จะมีห น่วยงานธุรการ เฉพาะของคณะกรรมการชุดนี้แยกออกมาจากกรมการปกครอง ซึ่งกรมการปกครองก็จะได้เน้นไปทางด้านหนี้ นอกระบบไป แล้วก็จะมีผลดีที่จะทาให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังยังเป็นผู้รักษาการตามกฎหมายฉบับนี้ เพราะว่ามีสานักงานเศรษฐกิจการคลังที่เข้ามาเป็นหน่วยงานธุรการ ก็เลยเสนอมาตรา ๒๖ เข้ามาทาหน้าที่งาน คล้าย ๆ กรมการปกครอง สามารถทาได้ทั้งการรับเรื่องร้องเรียน ซึ่งเรียนชี้แจงว่า หลักการหน่วยงานที่รับเรื่อง ร้ องเรี ย นมี ทั้ งกรมการปกครอง ส านั ก งานเศรษฐกิจ การคลั ง ที่ ท าการปกครอง ในระดั บ จังหวั ด หรือว่ า กองบัญชาการตารวจ สถานีตารวจที่เพิ่มขึ้นมา ทุกหน่วยงานไม่มีการมานั่ง แยกว่ารับเรื่องร้องเรียนเฉพาะหนี้ ในระบบ หนี้ น อกระบบไม่รับ คือไม่มีการแยก คือทุกหน่ว ยงาน ที่อยู่ใน พ.ร.บ. ฉบับนี้รับเรื่องร้องเรียนที่ เกี่ยวกับเรื่องการทวงถามหนี้ทั้งในระบบ นอกระบบได้หมด แล้วก็สามารถส่งต่อไปยังผู้มีอานาจแต่ละช่องทาง ไป เขี ย นในลั ก ษณะแบบกว้ า ง ๆ ไม่ มี ก ารมาแยกว่ า หนี้ อ ะไร แล้ ว ก็ เพิ่ ม อ านาจใน (๔) เรื่ อ งรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ อบรมอะไรพวกนี้ ก็จะเขียนอานาจคล้าย ๆ กับกรมการปกครอง แต่เน้นว่าเป็นหน่วยงาน ธุรการของอนุฯ ตามมาตรา ๒๒ อันนี้คือลักษณะของ Office๔๖๗ที่จะมีหน้าที่ใช่ไหม แต่ว่าบทบาทของคณะอนุฯ เองที่จะต้องดูแลหรือ ว่ามีอานาจหน้าที่ก็จะเป็นภายใต้กรอบของคณะกรรมการใหญ่ใช่ไหม คือเหมือนกับว่าเป็นงานธุรการล้วน ๆ คือตามมาตรา ๒๒ อนุฯ๔๖๘ก็ไม่ได้มีอานาจพิเศษที่จะไปใช้อานาจคณะกรรมการได้เลย ก็คือเป็นใน ระดับนโยบายเท่านั้น คณะกรรมการใหญ่ก็จะมอบหมายให้อนุฯ เฉพาะกิจอันนี้ดูแลเรื่องหนี้ในระบบว่าควรที่ จะออกกฎเกณฑ์อะไร ออกข้อบั งคับ อะไร เสนอแนะไปยังคณะกรรมการใหญ่ คือไม่สามารถทาเองได้โดย พลการ แต่ว่าตัว เองเป็ น ผู้ รู้ เรื่ องโดยเฉพาะ คณะกรรมการใหญ่ ก็จ ะต้อ งตั้ งชุด นี้ ขึ้น มา คือ ตั้งขึ้น โดยตาม กฎหมาย คือคณะกรรมการใหญ่ไม่สามารถมอบแบบเด็ดขาด ให้ไปใช้อานาจคณะกรรมการตามมาตรา ๑๖ ไม่ได้ คือทาได้เฉพาะเท่าที่มอบหมาย แล้วก็ให้รายงานมาให้คณะกรรมการใหญ่เป็นคนใช้อานาจ ๔๖๔ ๔๖๕ ๔๖๖ ๔๖๗ ๔๖๘

มาตรา ๒๖ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๕๐ มาตรา ๒๖ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๖๔ มาตรา ๒๖ ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕ มาตรา ๒๖ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๒๘ มาตรา ๒๖ ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕


๑๓๘ คณะอนุฯ ชุดนี้จะหมายความรวมถึงมีหน้าที่๔๖๙สมมุติมีบุคคลกระทาความผิดตามกฎหมายนี้ มีหน้าที่ ในการนาเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการเปรียบเทียบด้วยหรือไม่ กระบวนการทาได้อยู่แล้ว๔๗๐เพราะว่าหน่วยงานธุรการ คือสานักงานเศรษฐกิจการคลังจะเป็นคนรับ เรื่องร้องเรียน แต่ไม่ได้ส่งไปให้คณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องเรียน ต้องส่งไปคณะกรรมการใน ระดับจังหวัดหรือคณะกรรมการในกรุงเทพฯ ที่จะเป็นผู้พิจารณาเรื่องร้องเรียน ก็ต้องส่งไปตามนั้น แต่ไม่ได้มา ส่งคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๒ ไม่ได้ทา มาตรา ๒๗ ในจังหวัดหนึ่ง ให้มีคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัดประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ อัยการจังหวัด ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกในพื้นที่ ผู้บังคับ การตารวจภูธรจังหวัด คลังจังหวัด ประธานสภาทนายความจังหวัด เป็นกรรมการโดยตาแหน่ง และผู้แทน องค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้านการคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง เป็นกรรมการ ให้ปลัดจังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจา จังหวัดแต่งตั้งข้าราชการของที่ทาการปกครองจังหวัดสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ ในกรุ ง เทพมหานคร ให้ มี ค ณะกรรมการก ากั บ การทวงถามหนี้ ป ระจ ากรุ ง เทพมหานคร ประกอบด้วย ผู้บัญชาการตารวจนครบาล เป็นประธานกรรมการ ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกรมการ ปกครอง ผู้แทนสานักงานอัยการสูงสุด ผู้แทนมณฑลทหารบกที่ ๑๑ ผู้แทนสภาทนายความ และผู้แทน องค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้านการคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งผู้บัญชาการตารวจนครบาลแต่งตั้ง เป็นกรรมการ ให้ผู้บังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตารวจนครบาล เป็นกรรมการและเลขานุการ และ ให้ผู้บัญชาการตารวจนครบาลแต่งตั้งข้าราชการตารวจของกองบัญชาการตารวจนครบาลสองคนเป็น ผู้ช่วยเลขานุการ

คาอธิบาย องค์ประกอบคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานกรรมการ อัยการจังหวัด กรรมการ ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกในพื้นที่ กรรมการ ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัด กรรมการ คลังจังหวัด กรรมการ ประธานสภาทนายความจังหวัด กรรมการ ผู้แทนองค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้านการคุ้มครองผู้บริโภค กรรมการ ปลัดจังหวัด กรรมการและเลขานุการ ข้าราชการของที่ทาการปกครองจังหวัด ๒ คน ผู้ช่วยเลขานุการ ส่วนคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจากรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย (มาตรา ๒๗ วรรคสาม) ผู้บัญชาการตารวจนครบาล ประธานกรรมการ ผู้แทนกระทรวงการคลัง กรรมการ ๔๖๙ ๔๗๐

มาตรา ๒๖ ข้อสังเกต ๖ ผูแ้ ทนจากธนาคารแห่งประเทศไทย รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการ ทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๒๖ ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕


๑๓๙ ผู้แทนกรมการปกครอง ผู้แทนสานักงานอัยการสูงสุด ผู้แทนมณฑลทหารบกที่ ๑๑ ผู้แทนสภาทนายความ ผู้แทนองค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ให้ผู้บังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตารวจนครบาล ข้าราชการตารวจของกองบัญชาการตารวจนครบาล ๒ คน

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ

ข้อสังเกต ในสาระสาคัญที่สุดของพระราชบัญญัตินี้อีกส่วนหนึ่งก็คือว่า๔๗๑ในการพิจารณาเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับ ปัญ หาเรื่องการทวงถามหนี้ คณะกรรมาธิการได้พิจารณาให้ มีคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจา จังหวัด หมายถึงว่าทุกจังหวัดในประเทศไทยนั้นจะมีคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด โดยมี ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ และองค์ประกอบก็จะมีหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และที่ทาการ ปกครองจังหวัดจะเป็นผู้รับผิดชอบในงานธุรการ ส่ ว นที่ เป็ น หลั ก การส าคั ญ ที่ เพิ่ ม ขึ้ น มา ๔๗๒คื อ คณะกรรมการที่ จ ะใช้ อ านาจทางปกครอง เป็ น ๒ รูปแบบ รูปแบบที่ ๑ ก็กาหนดไปเลยว่าในจังหวัดหนึ่งให้มีคณะกรรมการกากับตรงนี้ประจาจังหวัดขึ้นมา โดย องค์ประกอบจะมีผู้ว่าฯ เป็นประธานแล้วก็มีเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะมีเรื่องทางอัยการ ทางตารวจ และก็ทางทนายเข้ามาเป็นกรรมการ และก็ให้ สานักงานจังหวัด ส่วนในกรุงเทพมหานครแบ่งย่อยลงไปเป็น ประจาเขตเลย โดยให้ผู้ อานวยการเขตเป็ นประธานแล้วก็ มีผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ของทางสานักงาน อัย การสู งสุ ด ส านั กงานตารวจแห่ งชาติเข้ามาเป็นองค์ประกอบกรรมการอันนี้ ก็เป็นเรื่องทางนโยบายว่า องค์ประกอบจะเป็นอย่างไร เพียงแต่เอามาให้ดูเป็นรูปแบบที่ ๑ ที่ระบุตัวองค์ประกอบ รูปแบบที่ ๑ คือว่าให้ทางรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นคนไปตั้งเลยว่าในจังหวัด ในเขตจะให้ ใครเข้ามาเป็นองค์ประกอบอะไรอย่างนี้ ให้อานาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยไปใช้อานาจนี้ แบบนี้ น่าจะชัดและคล่องตัวมากกว่า เพราะเป็นงานที่ไม่ได้มีตลอดเวลา ก็จะตั้งขึ้นมาเป็นเฉพาะกิจเฉพาะครั้งคราว ในเวลาที่มีเรื่องราวก็ได้ รูปแบบในลักษณะที่ให้เป็นคณะกรรมการ ๔๗๓เนื่องจากถ้าเป็นในรูปอนุกรรมการลักษณะไปช่วยคณะ ใหญ่ในการที่คณะกรรมการใหญ่มีอานาจหน้าที่อะไร อนุกรรมการจะเป็นตัวช่วยคณะกรรมการใหญ่ แต่กรณีนี้ อานาจของคณะใหญ่กับคณะประจาจังหวัดจะแตกต่างกัน เป็นในลักษณะจะมีคณะใหญ่เป็นคนวางนโยบาย วางกฎเกณฑ์ แล้วจะมีคณะย่อยแต่ละจังหวัดเป็นผู้ใช้อานาจนั้นในทางปฏิบัติเลย ซึ่งตรงนี้จะมีในรูปแบบใน กฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดินหรือกฎหมายอื่น ๆ ซึ่งก็เขียนทานองนี้เหมือนกัน โดยมีการเติมไว้ว่า ประจาจังหวัด เช่น คณะกรรมการไกล่เกลี่ย จะใช้ในรูปคณะกรรมการเพื่อให้ถือว่าเป็นคณะกรรมการระดับ จังหวัดเลยไม่ใช่เป็นอนุกรรมการของคณะใหญ่ เพราะโดยหลักแล้วถ้าเป็นคณะอนุกรรมการของคณะกรรมการ ใหญ่ ค ล้ าย ๆ เป็ น ตั ว ช่ ว ยเสนอแนะ การเติ ม ว่ า ประจ าจั งหวัด เข้ า ไปชั ด เจน ในขณะที่ ค วามหมายของ ๔๗๑ ๔๗๒ ๔๗๓

มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที๋ ๖๔ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๔


๑๔๐ คณะกรรมการ คือ ถ้ามีการพูดถึงคณะกรรมการประจาจังหวัด จะใช้คณะกรรมการชื่อเต็มตลอด จะไม่ใช่คาว่า คณะกรรมการเฉย ๆ เพราะเดี๋ยวจะมีปัญหาว่า นิยามมีคาว่า คณะกรรมการ หมายถึง คณะกรรมการชุดใหญ่ กรณี ต่างจั งหวัดเห็ น ด้ วย ๔๗๔แต่ทีนี้ ในกรุงเทพมหานครที่บ อกว่าให้ ผู้ อานวยการเขตเป็ นประธาน กรรมการ มีผู้แทนกระทรวงมหาดไทย สานักงานอัยการสูงสุด ผู้แทนสานักงานตารวจแห่งชาติ อยากจะให้ลง ถึงผู้กากับการสถานีตารวจ ควรจะเป็นผู้ กากับการสถานีตารวจนครบาล ซึ่งมีเขตพื้นที่รับผิดชอบอยู่ในเขต พื้ น ที่ ข องเขตการปกครอง เพราะใน ๑ เขตอาจจะมี ผู้ ก ากั บ อาจจะ ๒ - ๓ คน เมื่ อ ลงรายละเอี ย ดถึ ง ผู้อานวยการเขตก็ควรจะระบุผู้กากับไปจะดีกว่า ถามว่ากรุงเทพมหานครต้องการจะซอยไปถึงเขต๔๗๕เขตมี ๕๐ เขต ต้องการขนาดนั้นเลยหรือเปล่า ต้องการซอยไปถึงเขตเลยหรือเปล่า ถ้าจากจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน ถ้าในกรุงเทพมหานครเป็น การปกครอง หน่วยเดียว ทีนี้จะซอยเป็น ๕๐ คณะอนุกรรมการหรือคณะกรรมการเลยหรือ ประเด็ น อยู่ ที่ พื้ น ฐานว่ า จะเอาการแบ่ ง เขตโดยยึ ด อะไรเป็ น การแบ่ ง เขต ๔๗๖พอเอาประธาน คณะกรรมการประจาเขตมาเป็นหลักก็ต้องมองเป็นเขต เนื่องจากว่าในคณะกรรมการกากับการทวงหนี้ประจา จังหวัดไม่ได้ให้อานาจตั้งอนุกรรมการ เพราะว่าจังหวัดใหญ่ ๆ บางทีก็เป็นคณะเดียว ไม่ว่าจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ก็จังหวัดเดียวเหมือนกัน กรุงเทพฯ เป็นจังหวัดเดียวแต่ให้ตั้งอนุกรรมการได้ รูปแบบถ้า อ่านในอานาจของคณะกรรมการใหญ่แค่กากับดูแล วิธีการแค่นั้นเอง แต่สุดท้ายมอบให้คณะกรรมการจังหวัด ใหญ่ เรียกว่าเป็นคณะกรรมการที่ดูแลทั้งจังหวัด กทม. ดูทั้งจังหวัดแต่ให้ตั้งอนุกรรมการได้ โดยการครอบงา ดูแลของกรรมการจังหวัด จะมีเอกภาพแล้วก็โดยสายงานเพราะว่าถ้า ๕๐ เขตในกรุงเทพมหานคร ๕๐ ดังนั้น เป็น ๑ จังหวัดต่อ ๑ คณะกรรมการ แต่ให้ตั้งอนุกรรมการได้เพราะว่าอย่างจังหวัดใหญ่ ๆ อาจจะมีอนุกรรม การย่อยไปได้อีก ก็เสนอแนวคิดไว้ตรงนี้ ในจังหวัดแต่ละจังหวัดในพื้นที่มีทหารอยู่ด้วย๔๗๗วัตถุประสงค์ต้องการฝากคนมีสี ดังนั้นจังหวัดควรจะ เพิ่มหน่ วยทหารในจั งหวัดด้ว ย ผู้ บั งคับ หน่ ว ยทหารประจาจังหวัดก็จะเป็ นคณะกรรมการ รวมทั้งทหารผู้ บัญชาการมณฑล ผู้บัญชาการจังหวัด จะมีอยู่ จะมีผู้บังคับหน่วยทหารเป็นคณะกรรมการด้วย ๑ จังหวัด ๑ คณะกรรมการประจาจังหวัดหรือไม่๔๗๘แล้วเดี๋ยวองค์ประกอบคณะกรรมการอย่างที่ท่าน ว่า ก็เพิ่มเติมให้เป็นคณะกรรมการใหญ่ของจังหวัดแล้วไปตั้งอนุกรรมการได้ ว่าจะทอนการทางานลงไปได้ แต่ หมายถึงว่าองค์ประกอบของคณะกรรมการจังหวัดก็จะตั้งให้สมบูรณ์ได้ เพราะว่าดูในอานาจจริง ๆ แล้วอานาจ ของการติดตามกากับดูแลการทวงหนี้จะไปอยู่จังหวัด เพราะฉะนั้นทาง กทม. จะต้องให้มี ๑ ในการที่จะดูแล แล้วส่วนย่อยลงไปก็กรรมการ กทม. รับผิดชอบ จังหวัดอื่น ๆ ได้หมดแล้วเหลือ กทม. ว่าจะเป็น ๑ จังหวัดไหม ถ้าในจังหวัดเป็นจังหวัดใหญ่แล้วตั้งอนุกรรมการได้ ๔๗๙เพราะว่าบางจังหวัด เช่น จังหวัดนครราชสีมา อาจจะเป็น ๓ – ๔ ส่วนได้แล้วก็มีอนุกรรมการเพิ่ม แต่ในกรุงเทพมหานคร เห็นด้วยว่าถ้าให้ ตารวจมาเป็น ประธาน ๙ หน่วยว่าคุมอยู่ แต่ถ้าในกรุงเทพมหานครก็มากในเรื่องการทวงหนี้นอกระบบ ต่างจังหวัดก็มีแค่บาง จังหวัด แต่กรุงเทพฯ ปัญหาจะเยอะ ก็ให้ผู้บัญชาการตารวจนครบาล ๑ ถึง ๙ แยกเป็น ๙ แล้วก็เป็นประธาน ๔๗๔ ๔๗๕ ๔๗๖ ๔๗๗ ๔๗๘ ๔๗๙

มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๖๒ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๔ พลตารวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคม มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๖ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๖ พลเอก วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราช บัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคม มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๖ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๘ นายวิทยา ฉายสุวรรณ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการ ทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคม


๑๔๑ แล้วก็เอาส่วนอื่น ๆ เข้าเป็นองค์ประกอบแล้วก็ให้ เขตเป็นเลขานุการจะดีกว่า เพราะจะได้เกรงสีด้วย แต่ไม่ได้ ฮั้วกันว่าเขียวกับกากีไปฮั้วกัน ถ้ามีกรรมการใหญ่แล้วมีอนุกรรมการ ๔๘๐อนุกรรมการจะไม่มีอานาจเด็ดขาด เพราะถ้าอนุกรรมการมี อานาจเด็ดขาดก็ไม่ต้องมีกรรมการใหญ่ คือย่อยลงไปแล้วตามเขต กทม. ค่อนข้างเป็นปัญหา เพราะว่าเป็น รูปแบบการปกครองท้องถิ่นแบบพิเศษไม่เหมือนจังหวัดซึ่งเป็นภูมิภาค ภูมิภาคผู้ว่าราชการจังหวัดจะรับอานาจ หน้าที่ในกฎหมายมากมายหลายฉบับ แต่ว่าผู้ว่าฯ กทม. ไปด้านบริการสาธารณะมากกว่า การไปใช้อานาจไป สอบสวนไปท าคดี อ ะไรพวกนี้ ส าหรั บ กรุ ง เทพมหานคร ต้ อ งหารู ป แบบที่ เหมาะสม ทั้ ง ต่ า งจั ง หวั ด กั บ กรุงเทพมหานครจะต้องสอดคล้องกัน ไหม ตอนนี้สอดคล้องกัน คือใช้กระทรวงมหาดไทยเป็นหลักคือประธาน อยู่ ที่ กระทรวงมหาดไทย เลขานุ การอยู่ ที่กระทรวงมหาดไทย ยกเว้น กทม. ส าหรับ กทม. เป็นกระทรวง มหาดไทยอยู่ ฝ่ายปกครองเขตพื้นที่ให้เอาเขตอานาจตารวจใน กทม. เป็นหลักก็จะแปลกแยกกับต่างจังหวัดนิด หนึ่ง สมมติประธานเป็นตารวจ เขตก็แบ่งตามตารวจ เดี๋ยวจะลงไปถึงเลขาฯ และฝ่ายที่รับผิดชอบซึ่งตอนนี้เรา ตั้งให้ฝ่ายปกครอง เป็นคนทาอยู่ต้องคิดอันนี้ด้วย จะต้องสอดคล้องกันไหม ไม่ว่าจะเป็นบริบทของร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้เป็นเรื่องของการบังคับใช้กฎหมาย๔๘๑ถ้าในเรื่องการบังคับใช้ กฎหมายในจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัดเขาก็มีอานาจหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา ในกรุงเทพมหานคร อานาจหน้าที่ผู้ว่าการกรุงเทพมหานครไม่เหมือนกับผู้ว่าราชการจังหวัด เพราะฉะนั้นถ้าบริบทของกฎหมาย ฉบั บ นี้ คือการบั งคับ ใช้กฎหมายก็ต้องเอาตัว บริบทของการบังคับ ใช้กฎหมาย อานาจหน้ าที่ของตารวจใน กรุงเทพมหานครจะมีอานาจหน้าที่ที่ตรงกว่า รูปแบบมาจากกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดินซึ่งให้อานาจในการคณะกรรมการไกล่เกลี่ยข้อ พิพาทของประชาชน๔๘๒แต่ทางต่างจังหวัดลงระดับอาเภอมีการแต่งตั้งแล้วให้นายอาเภอเป็นประธาน เพราะ มองว่าทางมหาดไทยน่ าจะใกล้ชิดกับ ประชาชนในแง่บาบัดทุกข์บารุงสุ ข ซึ่งเรื่องการไกล่ เกลี่ยข้อพิพาทที่ เกิดขึ้นในต่างจังหวัดทั้งแพ่ งทั้งอาญา ทางอาเภอที่เป็นมหาดไทยจะดูแลด้านนี้ได้ดี แล้วองค์ประกอบก็มีทั้ง อัยการ มีทั้งตารวจมาเข้าร่วมด้วยแล้วในระดับกรุงเทพมหานครแบ่งตามเขตแล้วให้ทางเขตมา เนื่องจากจะ เป็นฝ่ายเลขานุการด้วยก็ให้ทางผู้ อานวยการ สานักเขตมาเป็นประธาน แล้วก็เอาตัวองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรูปแบบนี้เป็น กระบวนการดูแลประชาชน ปัญหาการทวงถามหนี้ก็เป็นการบาบัดทุกข์บารุงสุขซึ่งก็เป็นส่วน หนึ่งของงานหน้าที่ของทางเขตอยู่แล้วที่จะต้องทาที่จะต้องดูแล แล้วก็เป็นตัวประสานซึ่งเรียนว่าถ้าจะเอา ระดับของตารวจก็จะกลายเป็น ๙ เขต แล้วแต่ละเขตมีหลายเขตอาเภอรวมอยู่ ๓ หรือ ๔ เขต มารวมด้วยกันก็ จะเป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่ไม่ค่อยมีกฎหมายมาในลักษณะนั้น ถ้าถามว่าจะทาได้ไหม ก็ต้องขึ้นอยู่กับถ้าเกิดเขต ของทางตารวจเปลี่ยนแปลงไป คณะกรรมการชุดนี้ก็ต้องเปลี่ยนแปลงไปทางเขตของตารวจด้วยว่าจากเดิมดูแล ๒ – ๓ เขตเปลี่ยนใหม่ คณะกรรมการชุดนี้ก็ต้องเปลี่ยนไปแล้วก็มีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา แต่ถ้าเป็นใน รูปแบบนี้แล้วแต่ทางตารวจในระดับเขตจะให้ใครเข้ามา ซึ่งทาง สตช. จะต้องแต่งตั้งตารวจที่เกี่ยวข้องกับเขต ในท้องที่นั้นคงไม่น่าจะไปแต่งตั้งจากตารวจส่วนกลางเข้ามาเป็นคณะกรรมการ ในระดับเขตจะเอาคนที่อยู่ บังคับการ สน. อะไรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเขตนั้นมาเป็นผู้แทน เพราะว่าเป็นผู้ที่รู้เรื่องได้ดีกว่าคิดว่าการแต่งตั้ง ระดับเขตตามแนวทางนี้จะง่ายแล้ว จะบริหารงานได้ดีกว่าไม่ ซ้าซ้อน ยังไม่ได้พูดถึงต่อไปว่าในการพิจารณา ร้องเรียนเป็นพิจารณาเรื่องที่เกิดขึ้นจากที่ไหน ซึ่งเข้าใจว่าตรงนี้คงจะพิจารณาไม่ได้ดูภูมิลาเนาของผู้ร้องเรียน เป็นหลัก แต่ดูว่าปัญหาเกิดขึ้นที่ไหน มีการถูกทวงถามหนี้ที่ไม่เป็นธรรม ถูกข่มขู่เกิดขึ้นที่ไหนก็ต้องไปร้องที่เขต ๔๘๐ ๔๘๑ ๔๘๒

มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๐ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๗๕ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๑๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๔


๑๔๒ นั้นเป็นหลัก แต่ถ้าจะไปร้องผิดเขต ถ้าจะเป็นไปได้ว่าก็ต้องมีการประสานงานส่งไปยังเขตท้องที่ คือไม่ได้ดูตัว ภูมิลาเนา เพราะฉะนั้นคนที่ย้ายถิ่นที่อยู่หรือไปทางานอีกที่หนึ่งแต่ได้รับการทวงถามหนี้ มีถิ่นที่อยู่แล้วมีการ ทวงถามหนี้ ที่ ไม่ เป็ น ธรรมก็ ส ามารถไปร้ อ งที่ เขตนั้ น ได้ เลย ซึ่ ง ก็ ค งต้ อ งมี ก ารประกาศประชาสั ม พั น ธ์ ให้ ประชาชนได้รับรู้ถึงตรงนี้ ไม่ได้ยึดตัวภูมิลาเนาเป็นสาคัญ เพราะว่าจะบาบัดทุกข์บารุงสุขได้ทันท่วงทีคงต้อง เป็นลักษณะว่าเขาเกิดเหตุที่ไหนก็ไปร้องทุกข์ในเขตนั้น ได้ทันที ให้ข้อมูลคือตารวจก็มีข้อดีในการบังคับใช้กฎหมาย๔๘๓แต่บางทีผู้เสียหาย ก็ไม่กล้ามาแจ้งตารวจ ก็ชุด ดาที่ไปอุ้มไปจับก็อาจจะเดินอยู่แถวโรงพักก็ได้ จริง ไม่จริง ไม่ทราบ แต่ว่าไปเดินเพื่อขู่ อันนี้มองในภาพ แต่ถ้า ใช้ว่าผู้แทน เราไม่ใช่กอง ๑ – ๙ ใช้ผู้แทนของอย่างที่ สานักงานตารวจอาจจะเป็นระดับสูงกว่ากองบังคับการ อย่างนี้จะดีไหม เพราะว่าต้องใช้บังคับด้วยกฎหมาย คือถ้าเขตมหาดไทยไม่ได้คุม กทม. ไม่ได้คุมผู้ว่าฯ ไม่มี อานาจ มีแต่ว่าการคุมในเรื่องของงบประมาณ แต่ว่าการสั่งการไม่ได้แล้ว กทม. เขตเองไปจับแพงลอยยังจับ ไม่ได้เลย ไปสั่งมีแต่ไปเก็บค่าแพงลอย ไปรื้อแพงลอยเลย แถวหน้าบ้านเดินเก็บวันละ ๒๐๐ เห็นอยู่เทศกิจไป เก็บเงิน ว่าบังคับใช้ไม่ได้ กทม. ถ้าเป็นเลขาฯ ที่ไปทางานสนับสนุนได้ แต่ว่าต้องใช้คนที่มีอานาจทางกฎหมาย อาจจะสานักงานตารวจแห่งชาติที่ระดับสูงกว่ากองบังคับการหรืออะไรเข้ามาต้องใช้อย่างนั้นใน กทม. ต้องใช้ มาตรการ ปัญหาส่วนหนึ่งและส่วนใหญ่เกิดใน กทม.๔๘๔ ก็เคารพความคิดเห็นของแต่ละท่าน มีเหตุผลทุกท่าน ผมคิดว่าในการที่จะบังคับใช้ให้กฎหมายโดยมีประสิทธิภาพจริง ๆ ควรจะเป็นใคร ตารวจหรือทหารร่วมกันก็ จะได้ผลระดับหนึ่ง ถ้าเป็นผู้แทนเขตในเรื่องการปราบปราม หรือว่าในเรื่องการดูแลหนี้ในการกากับทวงถาม หนี้ ทางฝ่ายอื่นน่าจะดูแลได้ สิ่งหนึ่งที่สาคัญ สถานที่ประเด็นสาคัญ โดยหลักแล้วไม่ว่าจะเป็น ในกรณีของศาล หรือของทางตารวจ พนักงานสอบสวนในการแจ้งความร้องทุกข์ กฎหมายจะกาหนดไว้ชัดเจนว่าจะร้องทุกข์ที่ ไหน อย่างไร ศาลจะฟ้องที่ไหน อย่างไร มีกฎหมายรองรับชัดเจน แต่ในเรื่องการร้องทุกข์ ร้องเรียนตาม พ.ร.บ. นี้จะให้ร้องเรียนที่ไหน อย่างไร ข้อสังเกตว่า ในต่างจังหวัดถ้าผู้มีอิทธิพล ในจังหวัดปล่อยเงินกู้ แล้วมีการทา ร้ายลูกหนี้ ซึ่งมองเห็นภาพตอนนี้คือลูกหนี้จะไปกล้าร้องเรียนที่จังหวัดนั้นไหม รู้ว่าจะไปร้องเรียน แล้วจะไป ร้องเรียนถึงหรือเปล่า หรือออกจากที่ร้องเรียนจะกลับถึงบ้า นหรือเปล่า จะซ้าร้ายให้อีกไหม ตรงนี้เป็นเรื่อง ใหญ่เพราะเป็นประเด็นในการที่จะทาให้คนร้องเรียน ไม่ร้องเรียนขึ้นอยู่กับสถานที่ในการที่จะร้องเรียนนั้นส่วน หนึ่ง ลูกหนี้ส่วนใหญ่ถ้าอยู่ในพื้นที่ ถ้าให้ไปร้องเรียนในพื้นที่คิดว่าไม่ค่อยกล้าไป อย่างไรก็แล้วแต่ในมาตรา ๒๕ (๑) ในวรรคสอง ตั้งข้อสังเกตว่าจะมีตัวแทนของทางสภาทนายความอยู่ด้วยทุกมาตรา เรื่องตัวแทนจากสภา ทนาย เพราะเราพร้อมที่จะเข้าไปช่วยเหลืออยู่แล้ว ความคาดหวังที่จ ะดูแลพี่น้ องประชาชนที่อาจจะถูกบังคับ ข่มเหง ๔๘๕อาจจะคาดหวังมากไปว่าจะ อะไรขึ้นมาต้องไปทั่วทุกพื้ น ที่ไปทั้งหมดเลย หลั กการถ้าจังหวัดละ ๑ คณะ กรุงเทพมหานคร ๑ คณะ ถ้า ปริมาณงานจะมากก็ว่ากันไป แต่ผลิต Create อะไรจนแบบต้องไปครบทั่วทุกพื้นที่เยอะไป ลองเริ่มขึ้นมาแล้ว ถ้าจะเขียนไว้ว่าอนาคตข้างหน้าถ้าปริมาณงานมากขึ้นอาจจะออกให้สามารถเขียนได้ ออกเป็นกฎกระทรวง หรืออะไรก็ได้ทีหลัง สมมติว่าเริ่มต้นเพื่อไม่ให้เกิดเลื่อมล้าจังหวัดมีคณะหนึ่ง กรุงเทพมหานคร ๑ คณะ แต่ใคร จะเป็นคนปฏิบัติงานอย่างไร ก็ไปดูกันให้ละเอียด งานจะเข้ามาอย่างไร แล้วจะทากันอย่างไร เพื่อให้การบังคับ ใช้กฎหมายฉบับนี้สัมฤทธิ์ผลอย่างที่ต้องการที่จะให้เกิด ไม่คิดว่ากรุงเทพมหานคร ต้องไปถึง ๙ เขต ไม่ถึง ๕๐ เขต เอามา ๑ คณะ แล้วก็ลองดู แล้วถ้าบังคับใช้กฎหมายตรงนี้ได้จริง ๆ จะเกิดการบังคับใช้กฎหมายอย่าง ๔๘๓ ๔๘๔ ๔๘๕

มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๑๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๗๙ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๑๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๕ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๑๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๗๕


๑๔๓ จริงจัง คนก็จะหยุดไปเอง เพราะว่าการบังคับใช้กฎหมายได้ผลแบบนั้นที่ไหนก็เกิดไม่ได้ ถ้าเกิดได้ก็ต้องบังคับ ใช้อย่างจริงจัง คือต้องดูตั้งแต่ต้นว่าคณะกรรมการชุดใหญ่มีอานาจหน้าที่อะไร๔๘๖คณะกรรมการชุดใหญ่จะเป็นคนที่ วางกฎเกณฑ์กติกา ในการทางานของคณะกรรมการที่เรียกว่าคณะกรรมการจังหวัดหรือ กทม. เพราะฉะนั้น คณะที่สาคัญที่สุดก็คือคณะกรรมการประจาจังหวัด เพราะสอดคล้องไปถึงมาตราในเรื่องของการลงโทษ พอถึง มาตรา ๒๗ ถึงมาตรการตรงนี้ เพราะฉะนั้ นคนที่จะพิจารณาควรจะเป็นหนึ่ง แต่เสนอว่าให้มีอนุกรรมการ หมายถึงว่า เพราะคณะกรรมการเขาได้รับเลือกคงไม่อาจจะไปดูละเอียดได้ ก็ตั้งอนุกรรมการขึ้นไปดูแล แต่ สุดท้ายการตัดสินต้องให้คณะกรรมการประจาจังหวัดนั้นเป็นคนตัดสิน ถึงจะเป็นเอกภาพ แล้วก็ในเรื่องของ การต่าง ๆ ความรับผิดชอบชัดเจน แต่ต้องมีอนุกรรมการไปช่วย อย่างสมมติในจังหวัดหนึ่ง ถ้าจังหวัดใหญ่ ๆ เรื่องเข้ามาเยอะๆ กรรมการไม่มีทางที่จะไปพิจารณาได้ ก็ตั้งอนุกรรมการไปย่อยเรื่องขึ้นมา แล้วค่อย ๆ เสนอ ขึ้นมา แต่ความรับ ผิดชอบอยู่ที่คณะกรรมการจังหวัด หรือว่าเป็นคณะกรรมการใน กทม. ก็เป็นหนึ่ง นี้คือ ลักษณะของการบริหารจะเป็นในรูปแบบนี้ เพราะว่าตัวคณะกรรมการต้องรับผิดชอบตามกฎหมายในการที่จะ ตัดสินอันนี้สาคัญ ถึงบอกองค์ประกอบถ้าตกลงว่าจังหวัดละหนึ่ง รวมถึง กทม. เป็นหนึ่ง แล้วมาดูองค์ประกอบ ซึ่งองค์ประกอบอาจจะแยกได้ว่าของจังหวัดก็มีทางผู้ราชการจังหวัดอาจจะเหมาะสมแล้ว แต่ กทม. ก็อาจจะ เป็นผู้แทนรอง ผบ.ตร. ที่มอบหมายอะไรก็ได้เป็นประธาน อยู่ที่การจะวางองค์ประกอบของทางคณะกรรมการ ในแต่ละจังหวัดให้เหมาะสมกับตามสภาพ ซึ่งใน กทม. อาจจะให้เป็นรอง ผบ.ตร. ที่ ผบ.ตร. มอบหมายเป็น ประธานคลุมหมด ซึ่งเป็นผู้แทนอย่างนี้จะกว้างเกินไป แต่ต้องเป็นระดับที่เหมาะสม ถ้าประเด็นแรกผ่านว่าให้มี จังหวัดละหนึ่ง รวมถึง กทม. ก็เป็นหนึ่งอยู่แล้ว แต่จะมาดูองค์ประกอบ ถ้าองค์ประกอบจังหวัดอาจจะไปดูว่ามี อะไรเพิ่มเติม แล้วก็มาของ กทม. ว่าจะมี Briefed อย่างไร เพราะลักษณะของ กทม. จะมีเรื่องที่พิเศษกว่าใน จังหวัด สรุ ป แล้ ว ก็ คื อ ว่ า มติ ข องคณะกรรมาธิ ก ารว่ าให้ ก รุ ง เทพมหานครมี ค ณะกรรมการ ๑ ชุ ด ๔๘๗แต่ องค์ประกอบจะเป็นอย่างไรนั้น ในความเห็นควรจะต้องเป็นผู้บัญชาการตารวจนครบาลขึ้นไป แต่จะเป็นท่าน ใดท่านหนึ่งนั้น ตารวจซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงอยู่แล้ว ต้องไปรับผิดชอบทางด้านนี้ ผู้บัญชาการนครบาล๔๘๘โดยพระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติพยายามจะกระจายอานาจให้ผู้บัญชาการ นครบาลรั บ ผิ ด ชอบอย่ างเต็ ม ที่ ต้อ งการให้ เป็ น นิ ติ บุ ค คลด้ ว ยซ้า แต่ถ้ าไปเอาผู้ แทน ตร. ก็ จ ะยึ ด โยง แต่ โครงสร้างอีกอันหนึ่งคล้าย ๆ เนื่องจากเป็นนิติบุคคลทุกอย่าง เลยเหมือน ตร. หมด ความจริงแค่ผู้บัญชาการ นครบาลรับผิดชอบ ถ้าทาไม่ได้ก็รับผิดชอบไปเลย ทวงหนี้ในกรุงเทพมหานครเห็นพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว ทาไม่ได้ก็รับผิดชอบไปเลย มีแนวคิดของคณะกรรมการหลักประกั นสุขภาพแห่งชาติที่ตอนนี้ภาคประชาชนมีกาหนดในกฎหมาย ๔๘๙ ว่า ภาคประชาชนเข้ าไปมี ส่ ว นร่ ว มในการเป็ น คณะกรรมการตั้ งแต่ ร ะดั บ จังหวั ด จนถึ งระดั บ ประเทศ เพราะฉะนั้นถ้า หากว่ามีภาคประชาชนที่ทางานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคแล้วมีเรื่องร้องเรียน จะให้ข้อมูลหรือ รับ เรื่องร้องเรียนน่ าจะคล่ องตัวมากกว่าหน่วยงานราชการที่บางทีประชาชนรู้สึกว่าภาคประชาชนใกล้ ชิด มากกว่าจะไว้วางใจให้คาปรึกษาหรือให้ข้อมูลดีกว่า จะมองอย่างนั้น คือหลาย ๆ ภาคส่วนเข้ามาร่วมทางาน น่าจะไปได้ค่อนข้างจะคล่องแคล่ว ทางภาคประชาชนตอนนี้ กทม. มี ๕๐ เขตครบทุกเขต ในส่วนงานของ ๔๘๖ ๔๘๗ ๔๘๘ ๔๘๙

มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๑๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๖ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๑๖ นายมนตรี ศรีเอี่ยมสะอาด ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๑๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๗๕ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๑๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๗


๑๔๔ มู ล นิ ธิ ก็ มี ทั้ ง ๕๐ เขตเหมื อ นกั น ต่ า งจั ง หวั ด มี ทุ ก จั ง หวั ด ทั้ ง จั ง หวั ด น าร่ อ งแบ่ ง ออกเป็ น ๘ กลไกภาค เพราะฉะนั้ น ๘ กลไกภาค แล้ วทุกภาคก็ทางานร่วมกันทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นงานหลั กประกันสุขภาพ งาน คุ้ ม ครองสิ ท ธิ ด้ า นอื่ น ท าทั้ งหมดมี ทั้ งศู น ย์ คุ้ ม ครองสิ ท ธิ ภ าคประชาชน สมาคมผู้ บ ริ โ ภค ศู น ย์ คุ้ ม ครอง หลั กประกัน สุ ขภาพแห่ งชาติ ซึ่งบางที รับ เรื่องร้องเรียนพวกนี้เหมือนกัน แต่เพียงทางานภายใต้ห น่ว ยงาน ราชการคือ สานักงานหลักประกันสุขภาพ แต่ทุกภาคเชื่อมกันหมดทางานด้วยกันมาตลอดเป็น ๑๐ ปีแล้ว สาหรับของมูลนิธิเป็นส่วนกลางต่างจังหวัดก็มีสหพันธ์องค์ กรผู้บริโภคก็มีทุกจังหวัดร่วมกันทางาน ทั้งหมดทุก เครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้าภาคประชาชนเข้ามามีส่วนได้ ในลักษณะภาพทางปฏิบัติอันไหนจะสามารถที่จะช่วยเหลือประชาชนได้ ๔๙๐อย่างทันท่วงที ถ้าไปใน ระดับจังหวัดจะไม่น่าเป็นการอานวยความสะดวกให้กับประชาชนที่เกิดขึ้นในแต่ละอาเภอ การที่จะเดินทาง ถึงแม้จะมีขบวนการสร้างการร้องเรียนได้ง่ายคือให้ไปร้องเรียนที่อาเภอ แล้วอาเภอส่งเรื่องมาอะไรก็ตาม แต่ บางทีอาจจะมีความจาเป็นให้ผู้ร้องเรียนมาให้ถ้อยคาให้ข้อมูลหรือแม้กระทั่งคณะกรรมการอาจจาเป็นต้องลง ไปดูในพื้นที่ หรือเปล่า ก็เลยอยากจะเสนอในรู ปแบบเหมือนกับไกล่เกลี่ยในระดับอาเภอซึ่งไกล่เกลี่ยทั้งข้อ พิพาททั้งแพ่งทั้งอาญา ซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ถ้าลงระดับอาเภอจะช่วย อานวยความสะดวกกับประชาชนได้มากกว่าถึงแม้ว่าจะประชุมกันเดือนละครั้ง ซึ่งว่าน่าจะประชุมอาทิตย์ละ ครั้งขึ้นอยู่กับว่ามีเรื่องเข้ามาจาเป็นจะต้องพิจารณามากน้อยแค่ไหนตัวประกอบที่อยู่ในระดับอาเภอทางานอยู่ ในอาเภออยู่แล้วจะมีเฉพาะอัยการ เจ้าหน้าที่จะต้องเดินทางจากส่วนกลางไป แต่ทั้งตารวจฝ่ายปกครอง อยู่ที่ ในระดับอาเภออยู่แล้ว น่าจะช่วยเหลือประชาชนและพิจารณาเรื่องร้องทุ กข์ได้ดีกว่า เพราะว่า อานาจของ คณะกรรมการชุดย่อยต้องไปดูในมาตรา ๒๗ รบกวนท่านกรรมาธิการช่วยดูกระบวนการด้วยซึ่งในมาตรา ๒๗ จะบอกว่าในกรณีที่ปรากฏแก่คณะกรรมการตามมาตรา ๒๕(๑) ก็คือมาตรานี้ดูอยู่ว่าผู้ทวงถามหนี้ฝ่าฝืนหรือไม่ ปฏิบั ติ ซึ่งคณะกรรมการชุดนี้ จึ งจะสามารถพิ จารณาสั่ งว่าถ้ามีเรื่องที่ไม่รุนแรงจะมีอานาจสั่ งให้ ระงับการ กระทาที่ฝ่าฝืนคือมีการแจ้งเตือนไปยังผู้ทวงถามหนี้ว่าปฏิบัติให้ถูกต้อง ถ้ามีการทวงถามหนี้ในยามวิกาลก็อย่า ทาอีกทานองนี้ แล้วถ้ามีการเตือนไปแล้วตามมาตรา ๒๗ วรรคสอง ว่า หากผู้ทวงถามหนี้ไม่ปฏิบัติตามคาสั่ง ของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดนี้จึงจะมีพิจารณามีคาสั่งลงโทษปรับทางปกครองไม่เกิน ๑ แสนบาท เพราะกรณีเหล่านี้แต่เดิมถ้าไม่มีกฎหมายฉบับนี้ โทษพวกนี้ไม่มี เพราะไม่เข้าเรื่องทางอาญาเป็นเรื่อง ทวงที่ไม่ค่อยเหมาะสม รบกวนเขาก็จะใช้กระบวนการเอาแค่โทษทางปกครองแล้วก็สั่งปรับตัวผู้ทวงถามหนี้ ซึ่ง ตามมาตรา ๒๗ ก็จะบอกเกณฑ์ในการพิจารณาว่าสั่งลงโทษปรับทางปกครองต้องคานึงถึงพฤติกรรมต่าง ๆ แล้วถ้าสั่งปรับไปแล้ว ถ้าทางฝ่ายผู้ทวงถามหนี้ไม่ยอมนาเงินมาชาระค่าปรับก็จะไปใช้วิธีปฏิบัติราชการทาง ปกครอง คือไปยึดอายัดทรัพย์ได้เลยทานองเดียวกับกรมสรรพากรที่มีการประเมินภาษีไปแล้วไม่ยอมชาระไม่ จาเป็น ต้องไปฟ้องคดีให้ยุ่งยาก ถึงแม้ปัจจุบันจะมีปัญหาเรื่องการใช้บังคับในเรื่องการอายัดทรัพย์ไม่ค่อยมี ประสิทธิภาพ แต่นั่นเป็นปัญหาเรื่องทางการบริหาร แต่กระบวนการทางปกครองสามารถบังคับทางปกครองได้ เองเลย นอกจากนี้คณะกรรมการยังจะมีอานาจคือตามมาตรา ๓๗ ว่าในกรณีที่การทวงถามหนี้ไม่ถูกต้องเกิด จากผู้ประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้ ทวงถามไม่ดี ปรากฏว่าเคยถูกสั่งลงโทษถึงกระทั่งลงโทษปรับทางปกครอง มาแล้วก็ยังไม่เชื่อฟังก็ยังไปมีกระบวนการทวงถามหนี้ที่ไม่ถูกต้องอีก แม้กระทั่งมีการทวงถามหนี้ที่ร้ายแรง ผู้ ประกอบธุรกิจไปทาถึงอาญาก็จะนาไปสู่กระบวนการอานาจคณะกรรมการชุดนี้ที่พิจารณาสั่งเพิกถอนการจด ทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ได้เลย เพราะฉะนั้นจะเห็นว่ากระบวนการนี้ทางคณะกรรมการ แต่ละ จังหวัดที่รับมาพิจารณา หรือในแต่ละเขตจะใช้อานาจอยู่ ๒ อย่าง อานาจแรกคือสั่งปรับทางปกครอง ในกรณี ที่ทวงไม่ค่อยถูกต้อง กับกรณีที่ ๒ เพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ แต่ถามว่าถ้าเป็น ๔๙๐

มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๑๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๔


๑๔๕ เรื่องทางอาญาคณะกรรมการชุดนี้ ไม่ได้เป็นคณะกรรมการที่จะเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา แต่คณะกรรมการชุดนี้หรือหน่วยงานทางเขตหรือทางจังหวัด เข้าใจว่าจะสามารถประสานงานได้ว่า ถ้า เห็นว่าการทวงถามหนี้มีการข่มขู่ซึ่งจะเป็นเรื่องโทษทางอาญา ตรงนี้อาจจะมีการประสานงานแล้วก็พาไปร้อง ทุกข์ยัง สน. ต่าง ๆ ได้ เป็นการอานวยความสะดวก ถ้ามีการทวงถามหนี้ที่ไม่เป็นธรรม ที่ไม่ได้รุนแรงหรือทวง ถามไม่เป็นเวลา เข้าใจว่าเวลาไปร้องเรียนดาเนินการก็ไปแจ้งความ ทาง สน. ได้ก็อาจจะมีกระบวนการที่มีการ ประสานงานระหว่างทาง สน. เพราะเนื่องจากทาง สตช. เป็นคณะกรรมการบอร์ดใหญ่อยู่แล้วก็อาจจะมีการสั่ง การทางบริหารไปว่าให้ สน. ต่าง ๆ ให้รับเรื่องร้องเรียนเอาไว้ได้ ก็ทาเรื่องส่งมาให้คณะกรรมการแต่ละจังหวัด หรือแต่ละอาเภอที่เสนอได้ เพราะฉะนั้นกระบวนการในการที่ประชาชนจะรู้หรือไม่รู้ที่จะต้องวิ่งไปที่เขตหรือ เขาไม่ รู้ แล้ ว ไปที่ สน. คิ ด ว่ า ไม่ มี ปั ญ หาตรงนี้ แ ก้ ไขทางบริ ห ารได้ ในการประชาสั ม พั น ธ์ แ ล้ ว ก็ เป็ น การ ประสานงานระหว่างทาง สน. กับทางเขตได้ แล้วมีความรู้สึกว่าถ้าไปตั้งระดับ ๑ จังหวัดมี ๑ คณะกรรมการ ไม่น่าจะบาบัดช่วยเหลือประชาชนได้ดีจะลงไปถึงระดับอาเภอมี ๑ คณะกรรมการ ไกล่เกลี่ย แล้วเตือนไปแล้วยังไม่เชื่อฟัง เพราะกระบวนการที่จะไปสั่งปรับได้ต้องผ่านการเตือน ๑ ครั้ง เตือนว่าคุณทาไม่ถูก เพราะบางทีการทวงถามหนี้ ผู้ทวงถามหนี้อาจจะไม่ทราบว่าเขาทวงไม่ถูก ก็เตือนไปว่า อย่าทวงอย่างนี้อีก เขาก็ยังดื้อยังทวงในลักษณะอย่างนี้อีกก็จะต้องมีอานาจสั่งปรับก็จะส่งไปคณะกรรมการ ระดับจังหวัดเป็นผู้สั่งปรับ ตอนนี้ในหลักการที่ตกลงกันคือ ๑ จังหวัด๔๙๑มี ๑ คณะกรรมการเป็นคณะกรรมการใหญ่ โครงสร้าง ของกฎหมายนี้ใหม่ เพราะว่าในโครงสร้างเดิมถ้าดูในเรื่องคณะกรรมการตามที่ร่างในมาตรา ๒๔ จะใช้คาว่า คณะกรรมการซึ่งคณะกรรมการ ไม่ว่าจะคณะกรรมการใหญ่หรือคณะกรรมการกากับเรื่องหนี้ แต่ตอนนี้บอก ไปอ้างตามมาตรา ๒๗ เป็นคณะกรรมการกากับการทวงหนี้ประจาจังหวัด ฉะนั้น โครงสร้างเปลี่ยนแล้ว วันนี้ ต้องปรับแนวความคิดในเรื่องของการทางานซึ่งว่าดีละเอียดขึ้น ชัดเจน เพียงแต่ว่าในการออกกฎหมายฉบับนี้ ซึ่งเป็นเรื่องสาคัญ รายละเอียดที่จะลงไปถึงข้างล่าง ถ้าให้มีการกระจายมากการกากับดูแลจะลาบาก แต่ถ้า จังหวัดว่ามีผู้รับผิดชอบชัดเจน และทาง บช.น. อันนี้เป็นหลักอย่างดี ว่าในองค์ประกอบคณะกรรมการกระชับ แล้วก็ชัดเจน ซึ่งผู้ที่ร้องเรียนมาแค่ในกรุงเทพฯ พอชื่อคณะกรรมการก็ไม่มีใครอยากจะทวงหนี้พิเศษแล้ว อย่าง น้อยก็เป็นตราอันหนึ่ง แต่ต่อไปกาลังพูดถึงวิธีการทางาน ทีนี้วิธีการทางานคณะกรรมการเรื่องก็เข้ามาสารพัด ก็มีอนุกรรมการที่ลงไปทาแต่จะมอบหมายอย่างไร มีกรรมการจังหวัด องค์ประกอบของคณะกรรมการหน้าที่ รับผิดชอบของคณะกรรมการหมายความว่าตั้งอนุกรรมการได้ พอตั้งอนุกรรมการจะมอบหมายให้แค่ไหน ดูแล ตรวจสอบข้อเท็จจริง เพราะบางทีเรื่องแต่ละเรื่องต้องมีคนไปช่วยดูก่อน ซึ่งในนั้นอาจจะมีกระบวนการเรื่อง การกาหนดวิธีการทางานว่าต้องกี่วันสามารถทาได้ สุดท้ายคนรับผิดชอบจริง ๆ คือคณะกรรมการ เพราะมี ลงโทษทางปกครอง ซึ่งคนที่จะใช้อานาจในการลงโทษควรจะต้องมีระดับที่เกี่ยวกับการตัดสินใจคือ กรรมการ ประจาจังหวัดตรงนี้เหมาะสมแล้ว เรื่องของการช่วย การปรับองค์ประกอบเรื่องการทางาน ถ้าผ่านตรงนี้ไปได้ งานจะชัดเจนขึ้น ถ้าทางระดับอาเภอจะใช้อานาจมากไป๔๙๒แต่ให้เป็นในลักษณะระดับอาเภอหรือทางเขตก็สามารถ ตักเตือนหรืออะไรได้โดยเรื่องยังไม่ต้องไปถึงคณะกรรมการระดั บจังหวัด หลังจากนั้นถ้ายังไม่ปฏิบัติ ยังฝ่าฝืน อยู่อีกทางคณะระดับอาเภอหรือเขตก็สามารถทาเรื่องเสนอชงไปให้ ทางคณะกรรมการระดับจังหวัดเป็นผู้สั่ง การเป็นผู้ใช้อานาจทางปกครอง คืออานาจ ๒ เรื่องคือ สั่งปรับทางปกครองกับ อานาจเพิกถอนทะเบียนการ ประกอบธุ ร กิ จ ซึ่ ง คิ ด ว่ า ก็ น่ า จะพอปฏิ บั ติ ง านได้ แต่ ไ ม่ ให้ ค ณะใหญ่ เป็ น ผู้ พิ จ ารณาเรื่ อ งตั้ ง แต่ แ รกซึ่ ง ๔๙๑ ๔๙๒

มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๒๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๖ มาตรา ๒๗ ข้อสังเกต ๒๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๔


๑๔๖ องค์ประกอบในระดับ อาเภอ จะกาหนดตัวละครไปด้วยว่าในแต่ละอาเภอควรประกอบด้วยใครบ้าง หรือใน ระดับเขตควรประกอบด้วยใครบ้างจะได้เขียน มาตรา ๒๘ ให้ ค ณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มี อ านาจหน้ า ที่ ภ ายในเขตพื้ น ที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ดังต่อไปนี้ (๑) พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องเรียนตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) สั่งเพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามมาตรา ๓๗ (๓) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่คณะกรรมการ ตามมาตรา ๒๗ มอบหมาย (๔) รายงานการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการทุกสามเดือน (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย การประชุมคณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ และคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง (๓) ให้นามาตรา ๒๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

คาอธิบาย อานาจหน้าที่ภายในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด และ กรุงเทพมหานคร มีดังนี้ (๑) พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องเรียน (๒) สั่งเพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๓) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง (๔) รายงานการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการทุก ๓ เดือน (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย

ข้อสังเกต มาตรา ๒๘ นี้ก็น่าจะมองเห็นว่าการรับผิดชอบงานในเรื่องคาร้องเรียนเกี่ยวกับการทวงถามหนี้อยู่ที่ กรมการปกครองน่าจะเหมาะสมแล้ว เพราะว่าจะไปรวมถึงหน่วยงานในต่างจังหวัดด้วย๔๙๓ มาตรา ๒๘ (๑)๔๙๔ก็จะเป็นอานาจของคณะกรรมการชุดนี้ ชุดใหม่ที่ตั้งมาก็จะทาเรื่องทั้งวินิจฉัยเรื่อง ร้องเรียนตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งการวินิจฉัยเรื่องร้องเรียนตามพระราชบัญญัตินี้ จะอยู่ในมาตรา ๒๔ ตรง ส่วนของกาหนดโทษทางปกครอง กรณีที่ปรากฏแก่คณะกรรมการตามมาตรา ๒๘ ว่ามีปัญหาเรื่องการกระทา พฤติกรรมที่ไม่ได้ร้ายแรง คณะกรรมการชุดนี้แต่ละจังหวัดมี อานาจที่จะสั่งระงับได้ และถ้าสั่งระงับไปสามารถ ลงโทษปรับทางปกครองอะไรต่าง ๆ แต่ว่าคณะกรรมการชุดนี้ไม่มีอานาจลงไปถึงเรื่องทางอาญา เพราะว่าถ้ามี โทษทางอาญา ซึ่งเป็นเรื่องข่มขู่ เรื่องอะไรพวกนี้ เป็นเรื่องที่เจ้าหน้าที่ของทางมหาดไทยหรือทางสานักงาน เศรษฐกิจการคลังทราบเรื่องขึ้นมาก็ไปแจ้งความตามปกติธรรมดาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องทางอาญาที่มีการละเมิด กฎหมายในฉบับนั้น ตามมาตรา ๒๘ (๒) ก็ทั้งพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องเรียนใน (๒) แล้ วก็รวมถึงไปสั่งเพิกถอนการจด ทะเบียนด้วยที่จะสามารถทาได้เพราะว่าน่าจะเป็นคนที่ใกล้ชิดเห็นเหตุการณ์

๔๙๓ ๔๙๔

มาตรา ๒๘ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๙ มาตรา ๒๘ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๖๔


๑๔๗ ในมาตรา ๒๘ (๓) ก็สร้างหน่วยงานแม่บ้านขึ้นมา ก็ให้สานักงานจังหวัดหรือสานักงานเขตรับผิดชอบ งานแม่บ้านของคณะกรรมการชุดนี้ แล้วก็ตามอานาจหน้าที่ทั้งติดตามสอดส่อง รับเรื่องราวร้องเรียนเหมือนกับ หน่วยงานธุรการทั่ว ๆ ไป มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ที่ทาการปกครองจังหวัด และกองบัญชาการ ตารวจนครบาล รับผิดชอบในงานธุรการของคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด และ คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจากรุงเทพมหานครตามลาดับ และให้มีอานาจหน้าที่ภายในเขต พื้นที่ที่รับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นสานักงานทะเบียนรับจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๒) รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทวงถามหนี้เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ ประจาจังหวัด หรือคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจากรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี (๓) ติดตามสอดส่องพฤติการณ์ของผู้ทวงถามหนี้ หรือกากับดูแลการปฏิบัติของผู้ประกอบธุรกิจ ทวงถามหนี้ (๔) ประสานกับหน่วยงานของรัฐซึ่งมีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแลหรือตรวจสอบผู้ทวงถามหนี้ หรือบุคคลอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๕) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และอบรมวิธีการทวงถามหนี้ที่ถูกต้องและเหมาะสม (๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการ และคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด หรือคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจากรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี มอบหมาย

คาอธิบาย อานาจหน้าที่ภายในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของพนักงานเจ้าหน้าที่นั้นให้ที่ทาการปกครองจังหวัด และ กองบัญชาการตารวจนครบาลรับผิดชอบ งานธุรการของคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจากรุงเทพมหานคร มีอานาจหน้าที่คือ (๑) เป็นสานักงานทะเบียนรับจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๒) รับเรื่องร้องเรียนการทวงถามหนี้เพื่อเสนอ คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด หรือประจากรุงเทพมหานคร (๓) ติดตาม สอดส่องพฤติการณ์ของผู้ทวงถามหนี้ หรือกากับดูแลการปฏิบัติของผู้ประกอบธุ รกิจทวง ถามหนี้ (๔) ประสานกับหน่วยงานของรัฐในการกากับดูแล หรือตรวจสอบผู้ทวงถามหนี้ หรือบุคคลอื่นใดที่ เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๕) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ อบรมวิธีการทวงถามหนี้ที่ถูกต้องและเหมาะสม (๖) ปฏิบัติห น้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการ และคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด หรือประจากรุงเทพมหานคร

ข้อสังเกต

ในกรุงเทพมหานคร๔๙๕ซึ่งเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่

แล้วก็มีกรณีอยู่มาก ก็จะมีคณะกรรมการกากับการทวง ถามหนี้ประจากรุงเทพมหานคร สาหรับในคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจากรุงเทพมหานครนั้น ผู้ บัญชาการตารวจนครบาลจะเป็นประธานกรรมการของคณะกรรมการในชุดสาหรับกรุงเทพมหานคร โดยมี ๔๙๕

มาตรา ๒๙ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕


๑๔๘ กองบั ญ ชาการต ารวจนครบาลรั บ ผิ ด ชอบงานธุ ร การของคณะกรรมการก ากั บ การทวงถามหนี้ ป ระจ า กรุงเทพมหานคร ถ้าอานวยความสะดวกประชาชนมากสมควรไหมที่จะเขียนบทบาทของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองทั้งหมด ให้เข้ามาเป็นช่วยด้วย๔๙๖คือหมายถึงช่วยในการที่ว่าจะแนะนาแล้วก็ส่งเรื่องต่อไม่ว่าจะเป็นกานัน ผู้ใหญ่บ้าน อะไรพวกนี้ ที่ได้ทราบเรื่องจากลูกบ้านจากอะไรอย่างนี้ ก็ให้มีหน้าที่ที่จะอานวยความสะดวกที่จะส่งเรื่องต่อไป ยังอนุกรรมการในระดับ อาเภอ หรือว่าส่งไปยังคณะใหญ่ ระดับจังหวัด สมควรที่ว่าจะเขีย นทานองเดียวกับ สน. เพื่อให้ประชาชนรู้สึกว่าวิ่งไปได้หลายช่องทาง เขียนบทบาทไว้ตรงนี้เลย ไม่ให้เป็นเรื่องที่ว่าจะไปใช้หลัก ทาง บริหารประสานงานกันไป แต่ว่าเขียนบทบาทเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองตรงนี้เลย คือแค่รับเรื่อง แล้วก็ส่งต่อ กระบวนการโครงสร้างการใช้อานาจในส่ วนตรงส่ วนนี้ว่า ถ้าเป็นเรื่องขบวนการตั้งแต่เริ่มต้นของ ทางด้าน ผู้ประกอบธุรกิจการจดทะเบียนประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ก็จะต้องมาดาเนินการจดทะเบียนกับนาย ทะเบียน ซึ่งตามหลักกฎหมายตามพระราชบัญญัติต่าง ๆ ก็จะให้อานาจรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งนายทะเบียน คือ เป็นงานทางด้านธุรการที่ว่ากระบวนการทางด้านทะเบียนสมควรจะได้รับจดทะเบียนไหม ก็ไม่จาเป็นต้องเป็น ในรูปคณะกรรมการกากับทวงหนี้ แต่ให้เป็นทางด้านฝ่ายบริหารเป็นคนรับจดทะเบียน ซึ่งตามมาตรา ๒๗ ก็จะ ให้ ท างระดั บ จั งหวัด เป็ น ทางฝ่ ายปกครอง ทางกระทรวงมหาดไทยเป็ น ผู้ รับ จดทะเบี ย น ซึ่ งทางรัฐ มนตรี มหาดไทยก็คงแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ของทางกรมฝ่ายปกครองเป็นนายทะเบียนในการพิจารณารับจดทะเบียน ทีนี้ กระบวนการ พอหลังจากรับจดทะเบียนแล้ว กระบวนการอุทธรณ์อะไรต่าง ๆ คาสั่งและจดทะเบียนก็จะโยง ให้ไปถึงรัฐมนตรีเลยว่า ถ้าไม่รับจดทะเบียนก็ให้สามารถอุทธรณ์กระบวนการว่ าสมควรที่จะรับจดทะเบียนให้ แต่กระบวนการในกรณี ที่ว่าผู้ ป ระกอบธุรกิจทวงถามหนี้ไปทาอะไรไม่ถูกต้องตามกฎหมายฉบับนี้แล้ว ซึ่ง อาจจะถู ก เพิ ก ถอนทะเบี ย น ก าหนดกระบวนการมาไม่ ไ ด้ ใ ห้ ฝ่ า ยบริ ห ารมานั่ ง ดู แต่ ก าหนดมาให้ ตั ว คณะกรรมการ ซึ่งค่อนข้างจะเป็นอิสระแยกจากทาง ฝ่ายบริหารไป เพราะฝ่ายบริหารเป็นคนดูแลกระบวนการ ตอนขาเข้าเปิดประตูเขามารับจดทะเบียน แต่กระบวนการในกรณีที่ว่าผู้รับจดทะเบียนทาอะไรไม่ถูกต้อง แล้ว จะถูกเพิกถอนทะเบียนออกไปจากทางทะเบียน จะให้ตัวคณะกรรมการซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดกับปัญหา เพราะว่าการ เพิกถอนทะเบียน เหตุเกิดมาจากการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายฉบับนี้ ซึ่งคนที่ใกล้ชิดเหตุการณ์ดีที่สุดก็คือ ตัวคณะกรรมการในระดับจังหวัดที่ทราบเรื่อง แล้วได้มีการตักเตือนอะไรต่าง ๆ แล้วผู้ประกอบธุรกิจทวงถาม หนี้ ก็ ยั ง ท าไม่ ถู ก ต้ อ งอะไรพวกนี้ ซึ่ ง ก็ จ ะน าไปสู่ ก ารเพิ ก ถอนทะเบี ย น ก็ จ ะโยนอ านาจให้ ไ ปเป็ น ของ คณะกรรมการไม่ใช่เป็ น ของรัฐมนตรีเป็ น ผู้ เพิกถอนทะเบียน รัฐมนตรีมี อานาจในเรื่องการรับจดทะเบียน เท่านั้น แต่ตอนเพิกถอนไปให้อานาจในคณะกรรมการ ซึ่งใกล้ชิดเหตุการณ์มากกว่า แต่กระบวนการในกรณีที่ หลังจากที่คณะกรรมการมีคาสั่งเพิกถอนทะเบียนแล้ว คือหมายถึงคณะกรรมการในระดับจังหวัดที่ใกล้ชิด เหตุการณ์เพิกถอนทะเบียนแล้ว กระบวนการอุทธรณ์ก็จะไปสู่คณะกรรมการระดับชาติ คือให้คณะกรรมการ ระดับชาติตามมาตราตอนต้น ๆ เป็นคณะกรรมการใหญ่เป็นผู้เข้ามาดูว่า คณะกรรมการระดับจังหวัดเพิกถอน ทะเบียนเขา ซึ่งก็เป็นกระบวนการกลั่นกรองของกระบวนการอุทธรณ์ เพราะฉะนั้นตัว คณะกรรมการใหญ่ก็จะ เข้ามาในตรงส่วนเฉพาะในการเพิกถอนทะเบียน ซึ่งก็ไปเขียนอานาจรองรับ ให้คณะกรรมการระดับชาติเอาไว้ แล้วว่ามีอานาจที่จะพิจารณาอุทธรณ์ เพราะฉะนั้ น วรรคสุ ด ท้ า ย ก็ จ ะเขี ย นเหมื อ นกั บ กฎหมายทั่ ว ๆ ไปคื อ วิ นิ จ ฉั ย รั ฐ มนตรี ในเรื่ อ ง กระบวนการว่าไม่ยอมรับจดทะเบียนให้ หรือคาวินิจฉัยของคณะกรรมการก่อนที่มีการเพิกถอนทะเบียน แล้วมี การอุทธรณ์มา คณะกรรมการระดับชาติก็ยังยืนตามนั้น หรือว่าสั่งเป็นอย่างไร ก็แล้วแต่ก็จะสั่งให้เป็นที่สุด ซึ่ง คาว่าให้เป็นที่สุดหมายถึงเป็นที่สุดทางฝ่ายบริหารทางผู้ที่ไม่พอใจ ผู้ที่ได้รับคาสั่งโทษปรับทางปกครองไม่พอใจ ๔๙๖

มาตรา ๒๙ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๔


๑๔๙ หรือผู้ที่มายื่นขอจดทะเบียนไม่รับจดทะเบียน รัฐมนตรีก็ยังยืนยันไม่รับจดทะเบียนให้ หรือผู้ประกอบธุรกิจทวง ถามหนี้ ถูกเพิกถอน ทะเบียน อุทธรณ์ไปยังคณะกรรมการระดับชาติ แล้วคณะกรรมการระดับชาติก็ยังยืน บุคคลเหล่านี้ ที่ได้รับความเสียหายแล้วยังไม่พอใจคาวินิจฉัยของทางฝ่ายบริหาร ไม่ว่าจะเป็นรัฐมนตรีหรือ คณะกรรมการระดับชาติก็ตาม ก็สามารถในศาลปกครองได้ เพราะมีกระบวนการที่เขียนคาว่า ให้เป็นที่สุด หมายความว่าให้เป็นที่สุด ซึ่งกรรมการกฤษฎีกาก็ตีความในเรื่องนี้มาตลอด ไม่ได้หมายถึงว่าเป็นที่สุดทั้งหมดไป ฟ้องศาลปกครองไม่ได้ ไม่ได้หมายความอย่างนั้น กระบวนการก็จะเป็นอย่างนั้น มาตรา ๓๐ เพื่อประโยชน์ในการรับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทวงถามหนี้ ให้ที่ว่าการอาเภอ และ สถานีตารวจเป็น สถานที่รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทวงถามหนี้ได้ด้วย รวมทั้งให้หัวหน้าหน่วยงาน ดังกล่าวมีอานาจหน้าที่รวบรวมข้อเท็จจริงและเอกสารเพื่อส่งเรื่องต่อไปยังที่ทาการปกครองจังหวัด หรือ กองบัญชาการตารวจนครบาล แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ กาหนด

คาอธิบาย สถานที่ ร้องเรีย นเกี่ย วกับ การทวงถามหนี้ ให้ เป็น ที่ว่าการอาเภอและสถานีตารวจทั่ว ประเทศเป็ น สถานที่รับเรื่อง รวมทั้งให้หัวหน้าหน่วยงานมีหน้าที่รวบรวมข้อเท็จจริงและเอกสารเพื่อส่งต่อไปยังที่ทาการ ปกครองจังหวัด กองบัญชาการตารวจนครบาล

ข้อสังเกต สาหรับเพื่อความสะดวกของประชาชนที่จะร้องเรียนเกี่ยวกับเรื่ องของการทวงถามหนี้ที่ไม่ชอบนั้นก็ สามารถที่จะร้องเรียนได้ทั่วประเทศ โดยร้องเรียนไปได้ที่ว่าการอาเภอ สถานีตารวจทุกแห่ง รวมทั้งสานักงาน เศรษฐกิจการคลัง ตรงนี้จะเห็นว่าในการพระราชบัญญัตินี้พยายามเข้าถึงความเดือดร้อนของประชาชนตาม นโยบายของทางรัฐบาล แล้วก็แนวของท่านสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติที่ได้เคยอภิปรายถึงในเรื่องของการ ที่จะเอื้ออานวยประโยชน์ให้กับประชาชน๔๙๗ ในกระบวนการคือตัวคนที่ร้องเรียนก็ไม่ทราบว่าจะไปร้องเรียน ๔๙๘แต่ถึงแม้จะมีการประชาสัมพันธ์ หรือแม้ทราบเรื่องแล้วจะเดินทางไปยังที่ทาการปกครองจังหวัด ไปกองบัญชาการตารวจนครบาล ว่าจะไม่ อานวยความสะดวกกับประชาชน จะเป็นลักษณะว่าส่วนใหญ่ประชาชนจะไป สน. เป็นหลักอยู่แล้ว เพียงแต่ให้ อานาจหน่วยงานนี้รับเรื่องได้ ซึ่งปกติถ้าการบริหารราชการกิจการบ้านเมืองที่ดีต้องส่งเรื่องต่อกันอยู่แล้ว แต่ที นี้เขียนไว้ให้ชัดเจนแล้วก็รวมทั้ งให้หน่วยงานนี้สามารถรวบรวมข้อเท็จจริงอะไรต่าง ๆ ส่งไปให้ยังหน่วยงาน ธุรการหลักการ ๒๙ เพื่อเสนอคณะกรรมการ แต่ละจังหวัดให้ไปได้ คงเป็นรวบรวมเหมาะสมเพราะว่าอยู่ใน ท้องที่ที่เกิดเหตุที่ใกล้ชิดกับประชาชน ก็เลยเสนอมาแต่ตอนแรกพวกกานัน ผู้ใหญ่บ้าน แต่ทราบมาว่าไม่มีที่ทา การกานัน ไม่มีที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน มีแต่ตัวกานันกับตัวผู้ใหญ่บ้าน แล้วก็ใช้บ้านเป็นที่ทาการอะไรอย่างนี้ คือใน แง่ทางกฎหมายไม่มีตัวที่ทาการ ไม่เหมือนกับกรณีของอาเภอ เขต องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แล้วก็สถานี ตารวจ เสนอมาประกอบการพิจารณา

๔๙๗ ๔๙๘

มาตรา ๓๐ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕ มาตรา ๓๐ ข้อสังเกต ๒ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗


๑๕๐ ในหลักการเห็นด้วย แต่ว่าโดยในความเชื่อมโยงว่า๔๙๙อันนี้เขียนไว้ในกฎหมายเลยว่าให้ทาได้ ตอนนี้ หากว่าในรูปแบบของการบริหารจัดการจะมีคณะกรรมการประจาจังหวัด มีผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน แล้วก็ส่วนใน กทม. ก็มีผู้บัญชาการตารวจนครบาล ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของสถานีหรือว่าเป็นองค์กรพวกนี้ก็ ตาม จะมีความเชื่อมโยงอย่างไรกับตัวผู้ว่าราชการจังหวัดที่มีอานาจที่จะสั่ง หรือว่าผู้บัญชาการตารวจนครบาล สั่ง คือจะมี ๒ ระดับ แต่ก็เขียนตามกฎหมายเลยให้เป็นกับให้ อานาจที่จะมอบหมาย คือทาได้ทั้งสองแบบ แต่ เพียงแต่ว่าถ้ารูปแบบโครงสร้างของตัวกฎหมายอันนี้อยากจะให้ลองพิจารณาตรงนี้ คือตัวหลักการเห็นด้วยใน การที่จะให้ลงไปถึง แต่ว่าวิธีการที่จะให้ส่งถึงนี้ถึงโดยกฎหมายเลย แต่ว่าก็จะมีตัวคณะที่จะเป็นคณะกรรมการ ประจาจังหวัดอยู่ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด กับมีผู้ บัญชาการตารวจนครบาลเป็นประธานตรงนี้ ในแง่ของ กฎหมายควรจะเอารูปแบบไหน ถ้าเขียนในลักษณะของให้ ๔ ส่วนงานนี้มีเป็นสถานที่รับเรื่องร้องเรียน๕๐๐แล้วก็ให้หัวหน้าส่วนราชการ นี้มีอานาจรวบรวมข้อเท็จจริงและส่งต่อ ทีนี้เขียนว่ามีอานาจอย่างเดียว ควรจะเพิ่มหน้าที่ด้วยหรือไม่ เพราะถ้า มีอานาจรับไว้แล้วไม่ส่งต่อหรือไม่ทาหน้าที่ส่งต่อ ก็อาจจะไปค้างอยู่ตรงนี้ เพราะว่าปกติแล้วอานาจควรจะคู่กับ หน้าที่ด้วย ถ้าเขียนไว้ว่ามีหน้าที่แล้ว อาจจะถ้าละเลยปุ๊บไปหมกเรื่องไว้ หรือไม่สนใจก็อาจจะปฏิบัติหน้าที่ไม่ ชอบแล้ว มาตรา ๓๑ ในกรณี ที่นายทะเบียนมีค าสั่งไม่รับจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตาม มาตรา ๕ ให้ ผู้ ที่ ยื่ น ขอจดทะเบี ยนมี สิท ธิ อุท ธรณ์ ค าสั่ งไม่ รั บ จดทะเบี ย นต่ อรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง มหาดไทยได้ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคาสั่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่ง ให้แล้วเสร็จภายในหกสิบ วันนับแต่วันได้รับอุทธรณ์ คาวินิจฉัยของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้เป็นที่สุด

คาอธิบาย หากมีกรณีนายทะเบียนมีคาสั่งไม่รับจดทะเบียนประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ให้ผู้ที่ยื่นขอจดทะเบียนมี สิทธิอุทธรณ์คาสั่งไม่รับจดทะเบียนต่อรัฐมนตรีมหาดไทยภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันี่ได้รับแจ้งคาสั่ง รัฐมนตรีต้องวินิจฉัยให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ คาวินิจฉัยให้เป็นที่สุด

ข้อสังเกต การสั่งรับหรือไม่รับเป็นคาสั่งทางปกครองที่ผู้ยื่นรับคาขออนุญาตมีสิทธิที่จะอุทธรณ์ได้ตามปกติ รวม ไปถึงยื่นฟ้องต่อศาลปกครองต่อไปได้ด้วย ในมาตรา ๓๑๕๐๑เป็นกระบวนการอุทธรณ์ของคณะกรรมการชุดย่อยที่ว่ายื่นขอจดทะเบียนแล้ว คือใน เรื่ องทะเบี ย นนี้ เรี ย นข้ อมู ล ไปว่า พอเรื่ อ งทะเบี ย นนี้ ไปให้ ท างรัฐ มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยตั้งนาย ทะเบียนขึ้นมา ไม่ได้ให้คณะกรรมการชุดย่อยเป็นคนพิจารณา เรื่องจดทะเบียน เพราะคิดว่าคณะกรรมการจะ มานั่งประชุมทีและรับจดทะเบียนคงจะไม่สะดวก ว่ารายนี้รับจดทะเบียนอะไรต่าง ๆ การจดทะเบียนประกอบ ธุรกิจตรงนี้น่าจะให้ เจ้าหน้าที่ระดับต้น ทาได้เลยคือรัฐมนตรีแต่งตั้งนายทะเบียนมา ก็แล้วแต่ว่าจะตั้งและ ๔๙๙ ๕๐๐ ๕๐๑

มาตรา ๓๐ ข้อสังเกต ๓ นายวันชัย ศารทูลทัต รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓๐ ข้อสังเกต ๔ นายสัก กอแสงเรือง ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓๑ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๖๔


๑๕๑ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานไหน เป็นนายทะเบียน ถ้าเป็นรับการทวงหนี้เฉพาะหนี้ในระบบ ก็จะให้เจ้าหน้าที่ทาง กระทรวงการคลังก็ได้ เพราะฉะนั้นมาตรา ๓๑ ก็จะสร้างกระบวนการว่าให้นายทะเบียนเป็นคนรับจดทะเบียน แต่พอกระบวนการอุทธรณ์นี้ไม่รับจดทะเบียน จะให้อุทธรณ์ไปยังคณะกรรมการระดับชาติหรือว่าอุทธรณ์มายัง คณะกรรมการระดับย่อยตามมาตรา ๒๘ (๑) อันนี้ก็แล้วแต่ที่ประชุมจะพิจารณาอีกทีว่า ถ้ารับหลักการนี้แล้ว กระบวนการอุทธรณ์ตรวจสอบ นายทะเบียนควรจะไปไหน แต่พอวรรคสองเป็นเรื่องการเพิกถอนทะเบียน ซึ่ง ที่เรียนไปแล้วว่า ตามมาตรา ๒๘ (๒) ทางคณะกรรมการชุดย่อยจะเป็นคนเพิกถอน ในกรณีที่สั่งการอะไรลงไป เพราะกระบวนการที่ใช้อานาจต่อเนื่องจากการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ว่า คุณทาพฤติการณ์ไม่ชอบ สั่ง เตือนคุณแล้ว คุณก็ยังไม่นั่น ในกรณีที่เป็นผู้ประกอบทวงหนี้ จดทะเบียนคณะกรรมการ ชุดนี้รู้เรื่องดีอยู่แล้วก็ จะเป็นคนสั่งเพิกถอน ไม่ใช่ส่งไปให้นายทะเบียนเพิกถอน นายทะเบียนนี้ ตอนรับจดก็เป็นคนรับจดเท่านั้นเอง ดูว่ามีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะรับจดไหม แต่อานาจในการเพิกถอนทะเบียนนี้ให้ไปผูกติดอยู่กับคณะกรรมการ ชุดย่อย เนื่องจากคณะกรรมการชุดย่อยจะเป็นคนพิจารณาสั่งไปก่อนว่ามีการกระทาที่ไม่ถูกต้อง ผู้ประกอบ ธุรกิจทาไม่ดี หลังจากสั่งไปแล้วก็ยังไม่เชื่อก็อาจจะไปถึงขั้นตอนเพิกถอนทะเบียน ซึ่งพอคณะกรรมการชุดย่อย เพิ กถอนทะเบี ย นไปตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง ก็จ ะระบุ ให้ ไปอุ ท ธรณ์ เพิ กถอนการจดทะเบี ยนไปยั งทาง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยไป เพราะรัฐมนตรีเป็นคนตั้งนายทะเบียน ก็เลยไปให้รัฐมนตรีเป็นคนคุมใน ชั้นอุทธรณ์อีกทีหนึ่ง แล้วก็ให้ทั้งคาสั่งตามมาตรา ๓๑ เป็นที่สุดกระบวนการหลักการกว้าง ๆ ก็เป็นเช่นนี้ มาตรา ๓๒ ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจสั่งให้ผู้ทวงถามหนี้ หรือกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอานาจในการจัดการ หรือพนักงานของผู้ทวงถามหนี้ ในกรณีผู้ทวงถามหนี้ เป็น นิติบุคคล มาให้ถ้อยคา แสดงข้อมูล หรือส่งสมุดบัญ ชี เอกสาร ดวงตรา หรือสิ่งอื่นอันเกี่ยวกับกิจการ สินทรัพย์ และหนี้สินของผู้ทวงถามหนี้ และบุคคลดังกล่าวข้างต้น

คาอธิบาย การปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ นั้น พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจสั่ง ให้ผู้ทวงถามหนี้หรือกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอานาจจัดการหรือพนักงานผู้ทวงถามหนี้ หรือในกรณีผู้ทวงถามหนี้เป็นนิติบุคคล มาให้ถ้อยคา แสดงข้อมูล หรือส่งสมุดบัญชี เอกสาร ดวงตรา หรือสิ่งอื่นอันเกี่ยวกับกิจการสินทรัพย์ และหนี้สินของผู้ทวง ถามหนี้

ข้อสังเกต พนั กงานเจ้าหน้ าที่มีอานาจสั่งให้ กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ บุคคลผู้มีอานาจในการจัดการ หรือ พนักงานของผู้ทวงถามหนี้มาให้ถ้อยคาหรือให้แสดงหรือส่งสมุดบัญชี เอกสารหรือดวงตราหรือสิ่งอื่นเกี่ยวกับ กิจการ สินทรัพย์และหนี้สินของผู้ทวงถามหนี้และบุคคลข้างต้น๕๐๒ มาตรา ๓๒ จะให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจสั่งใครบ้าง๕๐๓คือตัวละครในเรื่องนี้มีเจ้าหนี้กับผู้ทวงถาม แล้วก็ผู้ประกอบธุรกิจทวงถาม สมมุติ ๓ คนด้วยกัน แล้วก็ทั้ง ๓ คนนี้อาจจะเป็นอีกบุคคลหรือนิติบุคคลก็ได้ จะให้มีอานาจหน้าที่สั่งทั้งหมดเลยหรือเปล่า สั่งให้เจ้าหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา อันนี้ก็ไม่รวมผู้ทวงถามหนี้ซึ่ง เป็นบุคคลธรรมดา หรือผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา แล้วพอไปถึงนิติบุคคลเป็นกรรมการ ผู้ จั ดการของผู้ ท วงถามหนี้ ในกรณี เจ้ าหนี้ เป็ น นิ ติ บุ คคล ก็ จะไม่รวมผู้ ท วงถามหนี้ ที่ เป็ น นิ ติ บุ ค คล หรือ ผู้ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ที่เป็นนิติบุคคล ทีนี้ประเด็นคือว่าจะหมดหรือเปล่า จริง ๆ ต้องหมด คืออย่างนี้คนที่ ๕๐๒ ๕๐๓

มาตรา ๓๒ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๓๒ ข้อสังเกต ๒ นายเข็มชัย ชุตวิ งศ์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗


๑๕๒ เป็นเจ้าหนี้ เจ้าหนี้อาจจะทวงถามหนี้ก็ได้ ซึ่งกฎหมายนี้ก็จะต้องคุมว่าจะต้องทวงถามให้เหมาะสม เขาสามารถ จะตั้งคนไปทวงถามแทนก็ได้ คนทวงถามไม่ใช่เจ้าหนี้ แต่รับมอบอานาจไปทวงถาม ก็ต้องอยู่ใต้นี้ ให้เหมาะสม หรืออาจจะไปใช้บริการของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ซึ่งแยกออกจากผู้ทวงถามหนี้อีกทีหนึ่ง เพราะฉะนั้น จะมี ๓ ตัว คนธรรมดาเท่านั้น ไม่พูดถึงนิติบุคคลเลย คนธรรมดามี ๓ ตัวแล้ว ๓ ตัวนี้มีสิทธิจะผิดกฎหมายมีได้ ทั้งนั้นเลย ทาผิดกฎหมายนี้ได้ทุกคนเลย ทาไมคนธรรมดาถึงจะไปเจาะเฉพาะเจ้าหนี้คนเดียว ผู้ทวงถามหนี้มาใช้เลยก็ได้๕๐๔น่าจะมาได้หมดเลย ว่าให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจสั่งให้ผู้ทวงถามหนี้ แล้วค่อยมาล็อกว่า หรือกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอานาจในการจัดการ หรือพนักงานของผู้ทวงถาม หนี้ ในกรณีผู้ทวงถามหนี้เป็นนิติบุคคล ซึ่งผู้ทวงถามหนี้เป็นนิติบุคคลอาจจะเป็นผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ หรื อ เป็ น เจ้ า หนี้ ก็ ได้ ตอนต้ น ก็ ใช้ ผู้ ท วงถามหนี้ ซึ่ งก็ เป็ น ทั่ ว ๆ ไป ก็ คื อ เป็ น กรณี เป็ น บุ ค คลธรรมดา กลุ่ ม กรรมการผู้จัดการหมายถึงของผู้ทวงถามหนี้ในกรณีผู้ทวงถามหนี้เป็นนิติบุคคล ซึ่งผู้ทวงถามหนี้เป็นนิติบุคคล ก็มีทั้งตัวเจ้าหนี้ที่เป็นนิติบุคคล แล้วก็ตัวผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ที่เป็นนิติบุคคล แล้วพอตอนท้ายบอกว่า ให้รวมทั้งแสดงข้อมูลส่งเอกสารของผู้ทวงถามหนี้และบุคคลดังกล่าว ข้างต้นก็คลุมหมดนี้เป็นเจตนาหรือเปล่า กรณีผู้ทวงถามหนี้เป็น นิติบุคคล ๕๐๕ เจตนาไม่ระบุกรรมการหรือเปล่า ในนี้มีแต่กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ ผู้มีอานาจในการจัดการ แล้วก็พนักงาน ทีนี้กรรมการที่ไม่มีอานาจจัดการก็จะไม่อยู่ในนี้ แต่ที่สงสัย คือ ในทางอาญากรณีนิติบุคคลเป็นผู้ต้องหา กรรมการทุกคนมีโอกาสจะโดนเรียกไปสอบปากคาได้ทั้งนั้น ควร จะใส่เข้าไปด้วยหรือเปล่า ก่อนคาว่า กรรมการ ผู้จัดการควรจะใส่คาว่ากรรมการ ถ้าใช้กรรมการ๕๐๖กรรมการผู้จัดการไม่ต้อง เพราะกรรมการคลุมหมดเลย ทุกคนเว้นกรรมการ แต่ถ้า บอกกรรมการผู้จัดการ กรรมการอื่นไม่เกี่ยว แต่ถ้าใช้คาว่า กรรมการแล้ว กรรมการผู้จัดการก็ตัดออกได้ เขา เป็นกรรมการที่เรียก เรียกได้หมดทุกคน สมมุติอย่างนิติบุคคลมี กรรมการ ๕ คน จดทะเบียนไว้กรรมการ ๕ คน แล้วในนั้นก็ไปแต่งตั้งกันภายในว่าคนไหนเป็นกรรมการผู้จัดการหรืออะไรก็ว่าไป บางคนกรรมการแบบที่ ไม่มี อานาจ แต่ท างอาญาเรี ย กมาหมดเลย เพราะฉะนั้น คาว่ากรรมการรวมหมดแล้ ว ใครจดทะเบี ยนเป็ น กรรมการ เพราะกรรมการผู้จัดการก็คือกรรมการนั่นเอง มาตรา ๓๓ ให้ พ นั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ซึ่ ง ปฏิ บั ติ ก ารตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ เป็ น เจ้ า พนั ก งานตาม ประมวลกฎหมายอาญา ในการปฏิบัติหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจาตัวต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกครั้ง บัตรประจาตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามแบบที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศ กาหนด

คาอธิบาย ฐานะของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเป็นเจ้าพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา

ข้อสังเกต การเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญามีผลเรื่องการทาหรือละเว้นการกระทาที่ต้องปฏิบัติ ตามกฎหมายด้วย ซึ่งก็มีโทษทางอาญาเช่นกัน ๕๐๔ ๕๐๕ ๕๐๖

มาตรา ๓๒ ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙๘ มาตรา ๓๒ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๐๓ มาตรา ๓๒ ข้อสังเกต ๕ นายสงคราม สกุลพราหมณ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ การทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗


๑๕๓ ข้อสังเกตว่ามาตรา ๓๓๕๐๗ ให้เฉพาะพนักงานเจ้าหน้าที่ แล้วคณะกรรมการามีบัญญัติไว้ตรงไหนบ้าง ไหมว่าให้มีอานาจในการที่จะให้บุคคลธรรมดา หรือกรรมการส่งเอกสารตามที่มีความจาเป็นที่ต้องขอตาม มาตรานี้ จาเป็นต้องระบุไหม หรือว่าระบุแค่พนักงานเจ้าหน้าที่ก็เพียงพอแล้ว เพราะว่าในคานิยามแยกคาว่า คณะกรรมการกับพนักงานเจ้าหน้าที่ออกจากกัน รูปแบบตามปกติเหมือนกับกฎหมายทั่ว ๆ ไป๕๐๘ก็จะมีคาว่านิยามเจ้าหน้าที่ ซึ่งก็ไปรวมให้เป็นอานาจ ของรัฐมนตรีที่จะแต่งตั้ง แต่มีการกากับหรือการว่าเป็นการเสนอแนะจากคณะกรรมการระดับชาติ ไม่ใช่ว่าให้ รัฐมนตรีสามารถที่จะแต่งตั้งใครก็ได้ตามอาเภอใจ แต่ว่าคณะกรรมการจะเป็นผู้เสนอแนะกรอบว่าควรจะ แต่งตั้ งใคร ก็เข้าใจว่าก็คงเป็ น เจ้ าหน้ าที่ ส่ ว นใหญเป็น พนัก งานตามกระทรวงมหาดไทย ขึ้น อยู่กั บว่าเป็ น คณะกรรมการอะไร ก็จะให้เจ้าหน้าที่ ทางฝ่ายปกครองด้านนั้นเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ เพราะบุคคลเหล่านี้ก็ ต้องทางานทางด้านธุรการ ในการที่จะรวบรวมเอกสารข้อมูลเอามาให้ทางฝ่ายคณะกรรมการพิจารณา ก็จะไม่ ไปให้ในระดับว่า คณะกรรมการระดับจังหวัด อาเภอ เป็นคนสั่งเรื่องพวกนี้ เพราะเป็นงานทางด้านธุรการงาน เป็นมือ เป็นไม้ ก็จะเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งก็ตรงกับกฎหมายหลาย ๆ ฉบับก็จะเป็นพวกนี้

หมวด ๓ บทกาหนดโทษ ส่วนที่ ๑ โทษทางปกครอง มาตรา ๓๔ ในกรณี ที่ปรากฏแก่คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ ว่าผู้ทวงถามหนี้ฝ่าฝืน หรือไม่ ปฏิบัติ ต ามมาตรา ๘ วรรคสอง (๑) หรือ (๔) มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๑ (๖) หรื อ มาตรา ๑๓ (๑) ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มีอานาจสั่งให้ระงับการกระทาที่ฝ่าฝืน หรือปฏิบัติให้ ถูกต้องหรือเหมาะสมภายในระยะเวลาที่กาหนด หากผู้ทวงถามหนี้ไม่ปฏิบัติต ามคาสั่งของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้ค ณะกรรมการตาม มาตรา ๒๗ พิจารณามีคาสั่งลงโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท

คาอธิบาย การติด ต่ อกั บ บุ ค คลอื่ น หรื อ ติด ต่ อกั บ ลู กหนี้ โดยไม่แ สดงตน ติ ดต่ อ นอกเวลาที่ ก าหนด เรีย กเก็ บ ค่าธรรมเนียมเกินอัตรา ผู้ที่ฝ่าฝืนจะมีปรับทางปกครองไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

ข้อสังเกต กาหนดแบ่งแยกระหว่างการใช้มาตรการบังคับทางปกครองสาหรับการกระทาความผิดที่ไม่ร้ายแรงให้ แยกเป็นโทษทางปกครอง๕๐๙

๕๐๗ ๕๐๘ ๕๐๙

มาตรา ๓๓ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๕ มาตรา ๓๓ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๔๔ มาตรา ๓๔ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗


๑๕๔ การนาโทษทางปกครองมาใช้ในร่างพระราชบัญญัติ ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินี้ได้มีการนาโทษทางปกครองมาใช้เนื่องจากในปัจจุบั นรัฐบาลมี นโยบายให้ยกเลิกโทษทางอาญาสาหรับการกระทาความผิดบางลักษณะและนาโทษทางปกครองมาใช้บังคับ มากยิ่งขึ้น คณะกรรมการปรับปรุงกฎหมายเพื่อการพัฒ นาประเทศจึงเสนอแนวทางการกาหนดโทษไว้โดย เสนอให้แบ่งโทษที่จะกาหนดแก่ผู้กระทาผิดออกเป็นสองประเภท คือ โทษทางปกครองและโทษทางอาญา โดย มีข้อพิจารณาการเลือกใช้โทษว่า๕๑๐ (๑) โทษทางปกครอง ควรใช้ แก่การกระทาความผิ ดที่ เป็น การฝ่ าฝื น หรือไม่ป ฏิบั ติต ามค าสั่ งทาง ปกครอง หรือการกระทาที่ไม่มีผลต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือต่อชีวิตร่างกาย ของผู้อื่น (๒) โทษอาญา ควรใช้ แ ก่ ก ารกระท าความผิ ด ที่ มี ผ ลกระทบร้ายแรงต่ อ ความสงบเรีย บร้อ ยหรื อ ศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือต่อสังคมเป็นส่วนรวมหรือระบบเศรษฐกิจของประเทศ หรือเมื่อการใช้โทษแก่ การกระทาอันเป็น การฝ่าฝืนคาสั่งทางปกครองไม่อาจทาให้การบังคับการตามคาสั่งทางปกครองนั้นเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ การกาหนดว่าความผิดลักษณะใดเป็นความผิดที่มีโทษทางปกครองหรือโทษทางอาญาเป็นเรื่องนิติ นโยบายของแต่ละประเทศ แต่เกณฑ์การแบ่งแยกว่าการกระทาผิดใดควรกาหนดให้เป็นความผิดทางปกครองที่ มีโทษทางปกครองและการกระทาผิดใดควรกาหนดให้เป็นความผิดทางอาญาที่มีโทษทางอาญา จะอยู่ที่ระดับ ความร้ายแรงของการกระทาผิดโดยการกระทาผิดที่กาหนดให้มีโทษทางอาญาควรมีลักษณะเป็นความผิดโดย สภาพคือเป็นสิ่งที่สังคมหรือวิญญูชนถือกันว่าเป็นความชั่วร้าย หรือมีผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยและ ศีลธรรมอันดีของประชาชน ในขณะที่ความผิดที่กาหนดให้มีโทษทางปกครองเป็นการละเมิ ดต่อคุณค่าระดับ รองของสังคมที่เกี่ยวกับกฎเกณฑ์ด้านเศรษฐกิจและสังคมของรัฐ มิใช่การละเมิดต่อสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของ บุคคล ดังนั้น ปัญหาว่าการกระทาผิดกรรมหนึ่งจะเป็นความผิดทางปกครองหรือความผิดทางอาญา จึงขึ้นอยู่ กับฝ่ายนิติบัญญัติจะกาหนดว่าระดับความร้ายแรงของการกระทาผิดนั้นสมควรเป็นความผิดทางปกครองหรือ ความผิดทางอาญา และเมื่อตัดสินใจให้การกระทาผิดใดเป็นความผิดทางปกครองหรือความผิดทางอาญาแล้ว ความผิดดังกล่าวย่อมไม่อาจเป็นความผิดที่จะกาหนดให้มีโทษทางปกครอง (โทษปรับทางปกครอง) ควบคู่กับ โทษทางอาญา (โทษปรับทางอาญา) ในกฎหมายฉบับเดียวกันได้ ข้อสังเกตว่าโทษทางปกครองตามมาตรา ๓๔๕๑๑มีโทษปรับค่อนข้างสูง แม้ว่าจะให้ดุลพินิจในการที่ คณะกรรมการเป็นผู้ปรับก็ตาม อย่างเช่นตามมาตรา ๖ (๑) ถ้าไม่แจ้งตัวชื่อสกุลในการติดตามทวงถามหนี้ โทษ ปรั บ ถึ ง ๑ แสนบาท แม้ ว่ า ก่ อ นหน้ า นี้ จ ะให้ ค ณะกรรมการในการที่ จ ะว่ ากล่ า วตั ก เตื อ นก็ ต าม ประเด็ น ข้อเท็จจริงอยู่ที่ว่าสถาบันการเงินหลายสถาบันการเงินไปตั้งบริษัทลูกในการติดตามทวงถาม หรือแม้แต่สถาบัน การเงินที่ทวงถามเองก็แล้วแต่ ลูกหนี้ของแต่ละสถาบันการเงินมีจานวนนับหมื่นนับแสนราย ในกรณีที่ผู้ติดตาม ทวงถามหนี้ลืมแจ้งชื่อ หรือไม่ได้แจ้งชื่อก็ตาม หรือลูกหนี้ติดต่อเข้ามาแล้วลืมแจ้งชื่อ ไปคุยเรื่องหนี้ เลย วัน หนึ่งมีไม่น้อย ถ้าเป็นอย่างนี้ในเรื่องโทษปรับคิดว่าสูงเกินเหตุ เพราะตามประมวลกฎหมายอาญาเรื่องลหุโทษ ในกรณีพนักงานเจ้าหน้าที่ได้มีการถามชื่อแล้วบอกชื่อเท็จ ปรับแค่ ๑,๐๐๐ บาท ซึ่งกรณีตามประมวลกฎหมาย อาญาเป็นกรณีที่เจ้าหน้าที่รัฐถามชื่อแล้ว แจ้งชื่อเท็จปรับแค่ ๑,๐๐๐ บาท แต่กรณีนี้เป็นกรณีที่ผู้ทวงถามหนี้ ลืมแนะนาชื่อตัวเอง ชื่อสกุล ตัวเอง ปรับ ๑ แสนบาท

๕๑๐

๕๑๑

มาตรา ๓๔ ข้อสังเกต ๒ คณะกรรมการปรับปรุงกฎหมายเพื่อการพัฒนาประเทศ “รายงานการศึกษาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ใน การกาหนดโทษอาญา”, (๒๕๔๗) , น.๑๙ อ้างถึงในเอกสารเสนอที่ประชุมฝ่ายร่างกฎหมาย วันพุธ ที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ เรื่อง การนา โทษทางปกครองมาใช้ควบคู่กับโทษทางอาญา, ฝ่ายการเมืองการปกครอง สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๓๔ ข้อสังเกต ๓ นายวิเชียร ชุบไธสง กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวง ถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗


๑๕๕ กฎหมายเฉพาะในเรื่ อ งโทษทางอาญาที่ มี ป รั บ ด้ ว ย ๕๑๒แต่ เดิ ม เป็ น กฎหมายปั จ จุ บั น ตอนนี้ ๑ ปี ๒๐,๐๐๐ บาท ซึ่งแต่เดิมเป็น ๑๒,๐๐๐ แล้วก็กฤษฎีกาพยายามไล่แก้กฎหมายมา เพราะไม่สามารถไปแก้ได้ ทุกฉบับ ก็จะเป็นอัตราก็คือถ้าจาคุก ๑ ปีก็จะปรับ ๒๐,๐๐๐ บาท อันนั้นหมายถึงกฎหมายทั่ว ๆ ไป แต่ถ้าเป็น กฎหมายในระดับเศรษฐกิจ พวกกฎหมายตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายฟอกเงิน ซึ่งมีเรื่องเกี่ยวกับปัญหา เรื่องทางเศรษฐกิจหรือว่าต้องการที่จะตัดไม้ตัดมือพวกการกระทาไม่ค่อยถูกต้องเรื่องฟอกเงินที่ป้องกันไม่ให้ เอาเงิ น ไปใช้ ต่ อ การกระท าความผิ ด เป็ น การปราม หรื อ ความผิ ด พวก White collar ต่ าง ๆ พวกตลาด หลักทรัพย์ จะเปลี่ ยนมา ไม่ใช่เป็ น ๑ ปี ๒๐,๐๐๐ บาท เป็น ๑ ปี ๑ แสนบาท คือเพิ่มขึ้นมาเพราะมีแนว ความคิดที่เกี่ยวกับเรื่องเศรษฐกิจ เรื่องการตัดอานาจ ซึ่งกรณีนี้เจ้าหนี้จะเป็นเรื่องแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่องว่า เป็นการประกอบธุรกิจ แล้วมีการทวงถามหนี้ซึ่งไม่เป็นธรรม ก็จะเป็นการลงโทษตัวเจ้าหนี้หรือผู้ทวงถามหนี้ พอโทษปรับก็ขึ้นไปสูงในระดับเป็นแสนบาท ซึ่งตรงนี้ไม่สามารถที่จะไปเทียบอะไรกับเรื่องโทษปรับทางอาญา ได้ เพราะอันนี้ไม่ใช่ปรับทางอาญา เป็นเรื่องปรับทางปกครอง มาตรา ๓๕ ในการพิจารณาออกคาสั่งลงโทษปรับทางปกครอง ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ คานึงถึงความร้ายแรงแห่งพฤติกรรมที่กระทาผิด ในกรณีที่ผู้ถูกลงโทษปรับทางปกครองไม่ยอมชาระค่าปรับทางปกครอง ให้นาบทบัญญัติเกี่ยวกับ การบังคับทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับโดยอนุโลม และใน กรณีที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ดาเนินการบังคับตามคาสั่ง หรือมีแต่ไม่ส ามารถดาเนินการบังคับทางปกครองได้ ให้ คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มีอานาจฟ้องคดีต่อศาลปกครองเพื่อบังคับชาระค่าปรับ ในการนี้ ถ้าศาล ปกครองเห็นว่าคาสั่งให้ชาระค่าปรับนั้นชอบด้วยกฎหมาย ให้ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษา และบังคับให้มีการยึดหรืออายัดทรัพย์สินขายทอดตลาดเพื่อชาระค่าปรับได้

คาอธิบาย กรณีคานึงถึงความร้ายแรงแห่งพฤติกรรมที่กระทาผิด มีโทษปรับทางปกครองและหากไม่ชาระค่าปรับ ทางปกครอง ให้นาบทบัญญัติกฎหมายว่าด้วยวิธีปฎิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับโดยอนุโลม ไม่ มี เจ้ า หน้ า ที่ ด าเนิ น การบั ง คั บ ตามค าสั่ ง หรื อ ไม่ ส ามารถด าเนิ นการบั ง คั บ ทางปกครองได้ คณะกรรมการมี อานาจฟ้ อ งคดีต่อ ศาลปกครองเพื่ อบั งคั บ ช าระค่ าปรับ และบั งคั บ ให้ มี การยึดหรืออายั ด ทรัพย์สินขายทอดตลาดเพื่อชาระค่าปรับ

ข้อสังเกต กาหนดขั้นตอนการฟ้องบังคับทางปกครองเพื่อบังคับชาระค่าปรับกรณีผู้ถูกลงโทษปรับทางปกครอง ไม่ชาระค่าปรับทางปกครอง๕๑๓ กรณีที่กาาหนดเป็นมาตรการทางปกครองในร่างนี้ก็กาหนดลาดับในการลงโทษ๕๑๔ตั้งแต่ขั้นแรกคือ ระงับการกระทาก่อนไม่ได้ปรับเลย ระงับการกระทาก่อน หรือว่าสั่งให้ปฏิบัติให้ถูกต้องภายในกาหนดเวลา หลังจากระงับแล้ว บอกให้ทาให้ถูกต้องแล้ว ยังไม่ทาอีก ถึงจะมาสู่ขั้นตอนการปรับทางปกครอง ซึ่งถ้าดูมาตรา ถัดไปมาตรา ๓๕ ก็จะบอกให้คณะกรรมการที่ลงโทษปรับคานึงถึง ความร้ายแรงของพฤติการณ์แห่งการกระทา ฉะนั้นคงต้องดูความเหมาะสม ความร้ายแรงของการกระทาแต่ละเรื่อง ๆ เป็นเรื่อง ๆ ไปว่าจะปรับเท่าไร ส่วน ๕๑๒ ๕๑๓ ๕๑๔

มาตรา ๓๔ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙๘ มาตรา ๓๕ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๓๕ ข้อสังเกต ๒ นายอรรถพล อรรถวรเดช กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการ ทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗


๑๕๖ ๑๐๐,๐๐๐ บาทนี้ เป็ น ขั้น สู ง ก็จะปรับ ๑,๐๐๐ บาทหรือ ๑๐,๐๐๐ บาท อันนี้ก็ขึ้นอยู่กับดุล ยพินิจความ ร้ายแรงแห่ งการกระทา ส่ วนการเทีย บเคีย งอัตราโทษนี้คือกลไกในการลงโทษปรับทางปกครองตามร่างนี้ เทียบเคียงมาจากกรณีของร่าง พ.ร.บ. การจัดการดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา ซึ่งก็จะมีกระบวนการในการ ปรับทางปกครองที่มีอัตราโทษในลักษณะเดียวกัน ก็คือ ๑๐๐,๐๐๐ บาทหรือ ๕๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งมากกว่านี้ ด้วยซ้า โทษปรับในลักษณะทางปกครองนี้จะคล้าย ๆ๕๑๕เรื่องของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมที่ว่าถ้า เกิดว่าคณะกรรมการพิจารณาแล้วมีคาสั่งให้ทางบริษัทดาเนินการสิ่งใดแล้วบริษัทไม่ดาเนินการคณะกรรมการ จะมีคาสั่งปรับ ซึ่ง กสทช.ปรับรายวันไม่ใช่ปรับครั้งเดียว ๑๐๐,๐๐๐ บาท ปรับรายวันจนกว่าจะปฏิบัติตาม อันนี้ก็เคยมีคาสั่งแบบนี้ปรากฏอยู่ในตัวเว็บไซต์ของ กสทช. ซึ่งในลักษณะคาสั่งปรับแบบนี้เนื่องจากว่า กลุ่มคน ที่เข้ามาใช้บริการไม่ได้มีแค่ ๑ หรือ ๒ ราย หรือ ๓ ราย เหมือนผู้ให้สินเชื่อที่เป็นผู้ประกอบธุรกิจทั่วไป แต่อย่า ลืมว่ากลุ่ มที่ ดาเนิ น การอัน นี้ บ่ งบอกถึงเศรษฐกิจของระดับชาติ เป็ นทั้งสถาบันการเงิน ทั้ง Non bank ทั้ ง ธนาคารพาณิชย์ ซึ่งมีผู้ที่เข้าไปใช้บริการจานวนมาก แต่ถ้าถามว่าไม่มีโทษที่สูงเพื่อไปดาเนินการเชื่อว่าถ้าปรับ แค่ ๑,๐๐๐ หรือ ๒,๐๐๐ บาท อย่างแต่ก่อนนี้มีคาสั่งปรับดีแทคที่เรียกเก็บค่าบริการ ค่าต่อสัญญา ๑๐๗ บาท จนกว่าจะดาเนินการให้แล้วเสร็จ ปรากฏว่าดีแทคยอมจ่าย ๑๐๐,๐๐๐ บาท เพราะว่าได้ ๑๐๗ บาทมากกว่า กับผู้ใช้บริการที่หลักล้านราย ถือว่าได้มากกว่า เพราะฉะนั้นยอมโดนปรับวันละแสน อันนี้ก็เป็นลักษณะหนึ่งที่ เจอปัญหามาเหมือนกัน กรณีอาจจะแตกต่างจากของทาง กสทช. กสทช.๕๑๖เป็นเรื่องการประกอบธุรกิจรายใหญ่ ส่วนการทวง ถามหนี้โดยเฉพาะหนี้ในระบบของสถาบันการเงิน คนทวงถามหนี้เชื่อว่าเงินเดือนอย่างไรก็ไม่เกินประมาณ ๙,๐๐๐ บาท ตามอัตราค่าแรงขั้นต่า ทั้งชีวิตเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท คิดว่าคงหาได้ยากแล้วเชื่อว่าบริษัทหรือว่า สถาบันการเงินที่เป็นนายจ้างของเขา ก็คงมีวิธีการในการที่จะทาเอกสารเพื่อรองรับไม่ให้ถึงตัวกรรมการ หรือ ว่าตัวบริษัท แน่นอนเด็กหรือพนักงานที่ทางานในส่วนนี้ก็ต้องรับผิดเป็นการส่วนตัว ของเขาไป การที่กฎหมาย ไปบังคับแม้ว่าจะมีคณะกรรมการก็ตาม อัตราขั้นสูงที่ปรับสูงเกินเหตุ สูงเกินไป ไม่เหมาะสมเป็นอย่างยิ่ง เชื่อ ว่าสิ่งนี้เป็นสิ่งหนึ่ง โดยเฉพาะผู้ประกอบการสินเชื่อก็มีความวิตกกังวลว่า ต่อไปจะหาคนทางานในการติดตาม ทวงถามหนี้ค่อนข้างจะยาก เพราะพนักงานเงินเดือนแค่ ๘,๐๐๐ - ๙,๐๐๐ บาท ก็จะมาเสี่ยงในการถูกปรับ อย่างนี้ คนงานหรือพนั กงานส่วนหนึ่งคงไม่อยากเข้ามาสู่ระบบตรงนี้ แต่มีโอกาสพลาดได้ไม่ยาก พนักงาน หลายธนาคารมีจานวนหลายพันคนอาจจะถึงหมื่นคน บางธนาคารใหญ่ ๆ อย่างนี้เป็นต้น อย่างไรเสีย ในเรื่อง ปรับเห็นด้วย ขั้นตอนของกฎหมายเขียนไว้ดี มีการให้ระงับ มีการให้แก้ไขก่อน แต่กรณีพนักงานหลายคนวัน เดีย วอาจจะลื มแนะน าตัว อาจจะลื มแจ้งชื่อเกิน ๒ ราย เชื่ออย่างนั้นในข้อเท็จจริงที่เป็นจริงอยู่ เขาไม่ใช่ อาชญากร แค่แนะนาชื่อ ไปเขียนกฎหมายลงโทษหนักขนาดนี้คิดว่าไม่น่าจะขนาดนั้น แนวความคิดเรื่องทางโทษปรับ ๕๑๗เรื่องทางปกครองนี้มีแนวความคิดอย่างไร อันนั้นแน่นอนว่าเป็น กระบวนการที่บีบบังคับเพื่อให้ผู้ที่จะต้องปฏิบัติตามอยู่ในกรอบ เพราะว่าเป็นจุดประสงค์เพื่อต้องการคุ้มครอง ทางลูกหนี้ ซึ่งโดยหลักส่วนใหญ่แล้วเข้าใจว่าเป็นเรื่องที่เจ้าหนี้ อะไรต่าง ๆ ทั้งสถาบันการเงินหรือว่าหนี้นอก ระบบก็เป็นเจ้าหนี้นายทุนที่มีเงินค่อนข้างมาก ส่วนตัวพนักงานเจ้าหน้าที่หรือว่าลูกน้องอะไรต่าง ๆ ที่ต้อง ควบคุม เพราะถ้าควบคุมไม่ดี ไม่ได้บอกแนวทาง ถึงแม้จะไม่ต้องถูกรับผิดชอบตามนี้ แต่ถ้าไม่รับผิดชอบแทน ๕๑๕ ๕๑๖ ๕๑๗

มาตรา ๓๕ ข้อสังเกต ๓ นางนฤมล เมฆบริสุทธิ์ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการ ทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓๕ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๑๑ มาตรา ๓๕ ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙๘


๑๕๗ พนั ก งาน คงไม่ มี ใครคิ ด มาท างานให้ เพราะฉะนั้ น ตรงส่ ว นนี้ ก็ ต้ อ งเป็ น การบี บ บั ง คั บ ตั ว เจ้ า นาย ตั ว ผู้ บั งคั บ บั ญ ชาต้ อ งไปคุ ม ดู แ ลให้ ดี เพราะไม่ อ ย่ างนั้ น แล้ ว ในทางปฏิ บั ติ ค งต้ อ งจ่ า ยแทนลู ก น้ อ ง เพราะมี กระบวนการที่จะต้องตักเตือนบอกแล้ว คือสุดท้ายนี้พอว่า โทษจะสูงจะทาให้มีความระมัดระวังเพิ่มสูงมากขึ้น ผลประโยชน์ก็จะตกกับลูกหนี้ มาตรฐานทางสังคมก็จะดีขึ้น แต่ถ้าไปเขียนเป็นกระบวนการโทษรู้สึกเบามาก อะไรต่าง ๆ เจตนารมณ์ ในการที่จ ะบี บ บั งคับตรงส่วนนี้ให้ กฎหมายใช้บังคับได้อย่างมีประสิ ทธิภ าพก็ย่อม แน่นอน ผลก็จะจะตกอยู่ในลักษณะว่าการบังคับใช้กฎหมายนี้ ไม่ได้เป็นผล เพราะฉะนั้นตรงส่วนนี้ผมคิดเป็น เพดานที่สูง แล้วก็มีแนวความคิดทานองเดียวกับในเรื่องที่ว่า ผู้ที่กระทาความผิดเป็นผู้ที่จัดอยู่ในวงการธุรกิจที่ จะได้รับประโยชน์ตรงส่วนเรื่องนี้มาก จะทาอย่างไรให้คนกลุ่มนี้เขาเชื่อฟังก็ต้องโทษปรับสูง ทานองเดียวกับ เหมือนกับเรื่องกฎหมายทางเศรษฐกิจอะไรต่าง ๆ ตรงส่วนนี้โทษปรับสูงและให้อานาจคณะกรรมการเป็นผู้ พิจารณาน่าจะเหมาะสม แล้วมีกระบวนการอุทธรณ์อะไรอยู่แล้ว ถ้าเขียนโทษปรับ เป็ น ๑๐,๐๐๐ หรือ ๒๐,๐๐๐ บาทนั้น ๕๑๘เพราะว่าทุกวันนี้ที่คิดเก็บร้อยละ ๖๐ บาทต่อเดือน แล้วเวลาคนที่ไปกู้เงิน สมมุติกู้เงิน ๑,๐๐๐ บาท คิดร้อยละ ๒๐ หักไป ๒๐๐ บาท แล้วต่อไปมา เก็บอีก ทีนี้ถ้าโทษเบา ๆ ว่าควรจะโทษหนักเลยจะได้ให้เห็นผลเลยตามกฎหมายนี้ เพราะว่าทุกวันนี้เป็นปัญหา ที่เกิดขึ้น ถึงขนาดคนไปเผาตัวตายที่จังหวัดลพบุรีที่ไปฆ่าตัวตายโดยวิธีเผาตัว ว่า ๑๐๐,๐๐๐ บาทนี่พอเหมาะ ที่สุดแล้ว คาสั่งลงโทษทางปกครองไม่ได้ปรับให้ว่าไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท๕๑๙ไม่ใช่ว่าจะต้องปรับ ๑๐๐,๐๐๐ บาท เช่นเดียวกับทางกฎหมายอาญาโทษปรับขั้นสูงสุดไม่เกินเท่านี้ ศาลยุติธรรมไม่เคยใช้อานาจในการปรับขั้น สูงสุดสักที มีแต่ปรับขั้นต่าสุดทุกครั้ง คือต้องให้เหมาะสมกับความร้ายแรงของพฤติกรรมแห่งความผิด ที่จะผิด ไม่แจ้งชื่อปรับ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ไม่แจ้งอีกปรับ ๑๐๐,๐๐๐ บาทนี้ มาตรา ๓๖ ในกรณีที่ผู้ทวงถามหนี้ซึ่งเป็นนิติบุคคลต้องรับโทษปรับทางปกครอง ถ้าการกระทา ความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่งการหรือไม่สั่งการ หรือ การกระทาการหรือไม่กระทาการอันเป็น หน้าที่ที่ต้องกระทาของกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอานาจในการจัดการแทนนิติบุคคลนั้น บุคคลดังกล่าว ต้องรับโทษปรับทางปกครองตามที่บัญญัติไว้สาหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย

คาอธิบาย กรณีเป็นนิติบุคคลกระทาความผิดนั้น เกิดจากการสั่งการและไม่สั่งการ อันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทา ของกรรมการผู้ จัดการ หรือผู้มีอานาจในการจัดการแทนนิติบุคคลนั้น ต้องรับโทษปรับทางปกครองตามที่ บัญญัติไว้สาหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย

ข้อสังเกต กาหนดให้ในกรณีที่ผู้ทวงถามหนี้ซึ่งเป็นนิติบุคคลต้องรับโทษปรับทางปกครองถ้าการกระทาความผิดของ นิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่งการหรือไม่สั่งการ หรือการกระทาการหรือไม่กระทาการอันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทา ของกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอานาจในการจัดการแทนนิติบุคคลนั้น บุคคลดังกล่าวต้องรับโทษปรับ ทางปกครองตามที่บัญญัติไว้สาหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย๕๒๐ ๕๑๘ ๕๑๙ ๕๒๐

มาตรา ๓๕ ข้อสังเกต ๖ พลตารวจโท วิบูลย์ บางท่าไม้ กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ การทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓๕ ข้อสังเกต ๗ นายมนตรี ศรีเอี่ยมสะอาด ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๓๖ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗


๑๕๘ ถ้าเป็นโทษตรงส่วนของผู้ประกอบกิจการไปก่อให้เกิดความเสียหายในลักษณะที่ไม่ได้ร้ายแรง ๕๒๑ ส่วน ใหญ่จะไปเน้นเรื่องโทษทางปกครอง ไม่ควรมีโทษอาญาไหม ไปใช้วิธีการปรับสูง ๆ แล้วก็ปรับรายวัน ตราบใด ที่ยังฝ่าฝืนกฎเกณฑ์ ไม่มาขออนุญาต ก็จะเป็นการบีบบังคับได้ดีกว่าการที่ว่ าไปเอาโทษทางอาญามาเป็นการ บังคับ ซึ่งเข้าใจว่าตรงนี้ก็มีทั้ง ๒ แบบในกรณีที่ประกอบกิจการแล้วมาขออนุญาตจดทะเบียน แต่อย่างไรขอรับ ไปดูว่าส่วนใหญ่พอที่จะแยกได้ไหมว่า การประกอบธุรกิจอะไรบางอย่าง ที่อาจจะกระทบต่อสังคมเป็นจานวน มากทางด้านความสงบ อาจจะมีโทษทางอาญาไหม โทษทางปกครองมีกฎหมายวิ . ปกครองกาหนดอยู่ ๕๒๒ คนที่จะไปปรับก็คือ ผู้รักษาการตามกฎหมาย คือว่า ถ้าเป็นสานักงานเศรษฐกิจการคลังก็คือพวกเจ้าหน้าที่ นายทะเบียนอะไรพวกนี้ แต่ว่าถ้าไปเขียนเป็น โทษอาญาตามมาตรา ๓๙ จาคุก ๑ ปี เข้าใจว่าตามวิ. อาญานี้เปรียบเทียบปรับได้ใช่ไหม ขออนุญาตถามเป็น อย่างไร พอเปรียบเทียบปรับได้ก็เหมือนโทษทางปกครอง เพียงแต่ว่าไม่ได้ใช่ไหม ถ้าไม่ได้ก็แล้วไป แสดงว่าเป็น อาญาเลยอันนี้ มาตรา ๓๗ ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มีอานาจสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบ ธุรกิจทวงถามหนี้ได้ เมื่อปรากฏว่าผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๑) เคยถูกลงโทษปรับทางปกครอง และถูกลงโทษซ้าอีกจากการกระทาความผิดอย่างเดียวกัน (๒) กระทาการอันเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัติที่มีโทษทางอาญาตามพระราชบัญญัตินี้

คาอธิบาย เป็ น กรณี อ านาจสั่ งเพิ ก ถอนการจดทะเบี ยนของผู้ ป ระกอบธุรกิ จ ทวงถามหนี้ ให้ เป็ น หน้ าที่ ของ คณะกรรมการก ากั บ การทวงถามหนี้ ป ระจ าจั งหวั ด และคณะกรรมการก ากั บ การทวงถามหนี้ ป ระจ า กรุงเทพมหานคร มีอานาจสั่งเพิกถอน (๑) เคยถูกลงโทษปรับทางปกครองและถูกลงโทษซ้าอีกจากการกระทาความผิดอย่างเดียวกัน (๒) กระทาการฝ่าฝืนบทบัญญัติที่มีโทษทางอาญาตามพระราชบัญญัตินี้

ข้อสังเกต กาหนดเงื่อ นไขที่ จ ะเพิ ก ถอนทะเบี ยนของผู้ ป ระกอบธุรกิ จทวงถามหนี้ เมื่ อได้ มี การกระท าผิ ดทาง ปกครองซ้าหรือกระทาการอันเป็นการฝ่าฝืนโทษทางอาญา๕๒๓ ประเด็นใน (๒)๕๒๔คือว่ากระทาการอันเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัตินี้ คาว่า กระทาการ นี่ระดับไหน ตรง กระทาการอันเป็นการฝ่าฝืน เคยถูกลงโทษนั้นเห็นชัดแล้ว แต่บอกกระทาการนี้มองเลยว่าตอนนี้ใช้ดุลยพินิจจะ ใช้ระดับไหนที่เป็นการฝ่าฝืน สาเร็จจนมีการตัดสินลงโทษ หรืออะไร ระดับการกระทาตาม (๒)๕๒๕นี้คงยังไม่ถึงขนาด ที่จะโดนลงทางอาญาแต่ว่ามีการกระทาในลักษณะที่ เป็นการฝ่าฝืนแล้ว โดยอาจจะเป็นในเรื่องของดุลยพินิจของคณะกรรมการที่จะพิจารณาว่า แนวโน้มลักษณะ การกระทาแบบนี้เป็นการฝ่าฝืนโทษทางอาญาหรือเปล่า เพราะบางเรื่องก็เป็นเรื่องชัดเจน เพียงแต่ว่าอยู่ใน กระบวนการของการพิจารณาของศาล อันนี้ก็เป็นเรื่องการพิจารณาของคณะกรรมการ

๕๒๑ ๕๒๒ ๕๒๓ ๕๒๔ ๕๒๕

มาตรา ๓๖ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๘ มาตรา ๓๖ ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๙๙ มาตรา ๓๗ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๓๗ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙๙ มาตรา ๓๗ ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๑๔


๑๕๙ โทษปกครองก็ส่วนหนึ่ง๕๒๖โทษอาญาก็ส่วนหนึ่ง เพราะฉะนั้นถ้าก่อนทวงถามหนี้นี้ไปกระทาการตั้งแต่ มาตรา ๓๙ ลงมาซึ่งมีโทษทางอาญา แน่นอนอาจจะถูกดาเนินคดีอาญา แต่ทางคณะกรรมการที่ดูแลเรื่องโทษ ทางปกครอง ถ้าทราบว่ากระทาความผิดทางอาญา ทางกรรมการก็จะมาสอบสวนของกรรมการเอง ซึ่งเป็น อิสระต่างหากทางตารวจ แต่ถ้ามาพบว่าผู้ ทวงถามหนี้ทาผิดอาญาจริง ๆ ก็อาจจะลงโทษทางปกครองตามนี้ เพิกถอนใช่ไหม ดุลยพินิจตรงนี้กว้างมากเลย ๕๒๗ความเข้าใจของการใช้ตรงนี้ซึ่งจะบอกว่าผิด แต่ทางอาญาสอบสวน เสร็จแล้ว ปรากฏว่าไม่ผิด แต่ว่าประเด็นตรงนี้คณะกรรมการบอกว่าผิด แต่ว่าทาดาเนินการไปแล้ว ตรงนี้เกรง ว่าการใช้ดุลยพินิจตรงนี้เท่านั้นเอง เพราะฉะนั้นจะมีอะไรกากับหรือไม่เพราะว่ากว้างมากเลย ที่มองตรงนี้กว้าง มากจนมองดูว่าก็เป็นการให้อานาจที่บางที การที่จะมีอะไรที่จะกากับกรอบหรือไม่ อันนี้จะมีครรลองของมัน ๕๒๘คือคล้าย ๆ กรณี ป.ป.ช. ชี้มูล สมมุติ ป.ป.ช. สอบสวนคนหนึ่งว่าทาผิด อาญาได้ความว่า มีความผิดอาญาฐานทุจริตอะไรนั้น ชี้มูลความผิดส่งเรื่องไปต้นสังกัด ต้องลงโทษทางวินัย คือ ต้องให้ออก ทีนี้ต่อมาภายหลังมีการฟ้องคดีกัน ปรากฏว่าศาลตัดสินคดีถึงที่สุดว่าไม่ผิด หรือการกระทานี่ไม่ผิด เลย ทางปฏิบัติตอนนี้คือว่าบอกว่าวินัยกับอาญาเป็นคนละเรื่อง เพราะฉะนั้นวินัยก็ว่ากันไป เจ้าตัวจาเลยคนนี้ จะต้องไปฟ้องศาลปกครองให้เพิกถอนคาสั่งที่ไล่ออก หรือให้ออก ซึ่งถ้าเผื่อศาลปกครองพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่ ผิดอาญาจริง ๆ ศาลปกครองจะเพิกถอนก็จะกลับมาจากเดิม นี่คือครรลองอันนี้ก็เหมือนกันทางคณะกรรมการ ทางปกครองเห็นว่าทาผิดทางอาญา ก็สอบสวนไป สมมุติว่าสอบสวนเสร็จเห็นว่าคนนี้ ทวงถามหนี้ผิดอาญา ก็ ลงโทษ ลงโทษทางปกครองก็ คือว่าอาจจะเพิ กถอนตามมาตรา ๓๗ แต่ค ดีอาญาก็ยังเดินต่ อไปและมี การ สอบสวนอะไรก็ว่ากันไป อ้างว่าสมมุติในที่สุดมีการฟ้องศาล ศาลพิจารณาตัดสินบอกว่าไม่ผิด วิธีการก็คือว่าเจ้า ตัวจะต้องมาฟ้องศาลปกครอง เพราะว่าการเพิกถอนอันนี้เข้าใจว่าเป็นคาสั่งทางปกครอง ก็จะมาเพิกถอน ศาล ปกครองก็จะมาพิจารณาให้เพิกถอนหรือไม่ซึ่งก็จะเป็นคนละส่วนกันระหว่างทางอาญากับทางปกครอง แต่ อาจจะเป็นมูลที่พิงกัน เพราะฉะนั้นถ้าศาลปกครองเห็นว่าไม่มีมูลเหตุที่จะไปลงโทษ เพราะไม่มีความผิดอาญา สมมุติศาลก็คงจะเพิกถอน เพิกถอนทางหน่วยงานราชการก็ต้องมาชดใช้กันตามครรลองของมัน มาตรา ๓๘ ผู้ทวงถามหนี้มีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งให้ชาระค่าปรับทางปกครองตามมาตรา ๓๔ วรรค สอง หรือผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้มีสิทธิอุทธรณ์ คาสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนตามมาตรา ๓๗ ต่อ คณะกรรมการได้ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคาสั่ง คณะกรรมการต้องวินิจ ฉัยอุทธรณ์ ตามวรรคหนึ่ง ให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันได้รับ อุทธรณ์ คาวินิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็นที่สุด

คาอธิบาย สิทธิของผู้ทวงถามหนี้ ตามมาตรา ๓๘ มีสองกรณีคือ (๑) ผู้ทวงถามหนี้มีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งให้ชาระค่าปรับทางปกครอง ภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันได้รับแจ้ง คาสั่ง (๒) คณะกรรมการต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ คาวินิจฉัยให้ เป็นที่สุด ๕๒๖ ๕๒๗ ๕๒๘

มาตรา ๓๗ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๐๓ มาตรา ๓๗ ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙๙ มาตรา ๓๗ ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๐๓


๑๖๐

ข้อสังเกต กาหนดให้มีการอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองไปยังรัฐมนตรีภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคาสั่ง๕๒๙

ส่วนที่ ๒ โทษอาญา มาตรา ๓๙ บุคคลใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ วรรคหนึ่ง มาตรา ๘ วรรคหนึ่ง มาตรา ๘ วรรคสอง (๒) หรือ (๓) มาตรา ๑๑ (๒) (๓) (๔) หรือ (๕) หรือมาตรา ๑๓ (๒) ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

คาอธิบาย ถ้าหากประกอบธุรกิจโดยไม่จดทะเบียน เปิดเผยความเป็นหนี้กับบุคคลอื่น ใช้วาจาดูหมิ่น จูงใจให้ ลูกหนี้ออกเช็ค จาคุกไม่เกิน ๑ ปี ปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

ข้อสังเกต กรณีที่เป็นการกระทาความผิดร้ายแรงให้แยกเป็นโทษทางอาญา๕๓๐ พอถึงโทษอาญาจะมีเรื่องของการที่มีการให้อานาจเปรียบเทียบปรับ๕๓๑แล้วก็ถ้าหากว่ามีการยอม เสีย ค่าปรับ ชาระค่าปรับแล้วนี่คดีก็เป็นอันสิ้นสุดลงนี่ก็เป็นมาตรา ๓๓ กฎหมายฉบับนี้จึงเป็นกฎหมายที่ประหลาด๕๓๒กฎหมายอาญาเมื่อก่อนนี้มีระบบการเปรียบเทียบปรับ เพื่อไม่ให้คดีไปรกโรงรกศาลเป็นคล้ายโทษทางปกครอง คือให้ตารวจเป็นคน Enforce วันนี้มีโทษทางปกครอง อยู่แล้ว วิ. ปกครอง ปี ๒๕๓๙ ก็มี กฎหมายฉบับนี้ก็มีโทษทางปกครองมาตรา ๒๔ ถึงมาตรา ๒๘ แล้วกาหนด โทษอาญา แล้วก็ให้ตารวจเปรียบเทียบปรับได้อีก จึงคิดว่านี่คือ In Consistency ของกฎหมาย คือถ้าจะโทษ อาญาต้องโทษไม่เปรียบเทียบปรับแล้ว แปลว่าเป็นโทษเด็ดขาดเป็นอาญาไปเลย ถ้าจะให้เปรียบเทียบปรับไม่ ต้องเป็นโทษอาญา ยกไปเป็นโทษทางปกครอง เพราะว่าผลทางการศึกษา อันนี้ต้องไปเอาผลการศึกษาของฝรั่ง มาดูว่า Penalty ทางอาญา กับทางเศรษฐกิจ ท้ายที่สุดพิสูจน์ว่า Penalty ทางเศรษฐกิจ Work กว่าทางอาญา โดยเฉพาะกับคนที่มีหน้าที่ให้กู้ทางเศรษฐกิจจะ Work กว่ามากเลย ถึงตรงนั้นให้ไปศึกษามานิดหนึ่งว่า มีหรือ กฎหมายที่มีทั้งโทษปรับ ทางปกครอง แล้ วก็เปรียบเทียบปรับอยู่ในกฎหมายฉบับ นั้นเอง เลยตลก เพราะ ท้ายที่สุดอันหนึ่งก็คือสานักงานเศรษฐกิจการคลัง Enforce อีกอันหนึ่งไปให้ตารวจ Enforce ถ้าอันไหนเป็น โทษที่ต้องการจะให้เป็นโทษปรับทางปกครอง คิดว่าเอาทางอาญาออกมา อาญาก็คือโทษหนัก จริง ๆ ที่ไม่ต้อง มีการเปรียบเทียบปรับแล้ว แปลว่าอย่าไปให้อานาจตารวจเยอะ เพราะเดี๋ยวก็เป็นโอกาสเป็นช่องทาง ข้อเท็จจริงตามมาตรา ๖๕๓๓ที่ว่าโทษปรับ ๑๐๐,๐๐๐ บาทที่ยกตัวอย่างขึ้นมาใน (๑) เป็นการลืมไม่ได้ แจ้งชื่อ ไม่ใช่เป็นเรื่องการทาร้ายร่างกาย การทาร้ายร่างกาย โอ.เค. หรือว่าการดูหมิ่น อย่างนั้นก็สมควร แต่ เพียงแต่ลืมแจ้งชื่อห่วงหนี้ในระบบของสถาบันการเงิน ไม่ห่วงหนี้ของหนี้นอกระบบ เพราะหนี้นอกระบบไม่อยู่ ๕๒๙ ๕๓๐ ๕๓๑ ๕๓๒ ๕๓๓

มาตรา ๓๘ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๓๙ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๓๙ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๘๓ มาตรา ๓๙ ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๙๙ มาตรา ๓๙ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๑๑


๑๖๑ ให้คณะกรรมการปรับหรอก แล้วก็เชื่อว่าหนี้นอกระบบ ไม่มีใครมาจดทะเบียนในการที่จะไปติดตามทวงถาม ด้วยซ้า แต่ที่เป็นห่วงคือเป็นห่วงหนี้ของสถาบันการเงินหนี้ในระบบ โดยเฉพาะหนี้พวกสินเชื่อส่วนบุคคลต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นบัตรเครดิตอะไรก็ตาม ตรงนี้ยิ่งจะทาให้โทษยิ่งหนักเท่าไร ไม่เชื่อว่าโทษหนักจะเป็นการยุติการ กระทาที่รุ น แรงได้ แต่ว่าในระบบเชื่อว่าทางสถาบั นการเงินปั จจุบัน ปฏิ บั ติตามแนวทางของธนาคารแห่ ง ประเทศไทย ว่าด้วยการติดตามทวงถามหนี้อยู่แล้ว แต่ก็มีโอกาสพลาด ต่อไปคดีจะล้นโรงล้นศาลถ้า พ.ร.บ. นี้ ออกไป โดยเฉพาะหนี้ในนอกระบบของสถาบันการเงิน มีโทษอย่างลืมแจ้งชื่อ ก็โทษ ๑๐๐,๐๐๐ บาทแล้ว สถาบันการเงินเองก็ต้องระมัดระวังจะส่งฟ้องมากขึ้น แทนที่จะให้โอกาสจาเลยมากขึ้น แต่จะส่งฟ้องมากขึ้น คราวนี้ปัญหาอย่างอื่นก็จะตามมา เหมือนพ.ร.บ. วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภคจะออกบัตรเครดิตเขาฟ้องเรื่อย ๆ แต่ ต่อมาศาลฎีกา มีการฎีกาเรื่องอายุความ เมื่อก่อนอายุความใช้ ๑๐ ปี พอต่อมาศาลฎีกามีคาพิพากษาโดยที่ ประชุมใหญ่ว่าอายุความของบัตรเครดิตนั้นมี กาหนด ๒ ปี พอ ๒ ปีระดมกันฟ้องใหญ่เพราะมีอายุความ เกรง ว่าหนี้ จ ะขาดอายุ ความ เมื่อก่อนฟ้องมูลคดีเกิดไปดูได้เลย ศาลแขวงพระนครใต้ ศาลแขวงปทุมวัน ที่เก็บ สานวนไม่มีเลย จนมาแก้กฎหมายวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภคถึงไปฟ้องภูมิลาเนาของจาเลย คดีก็กระจายออกไป อย่างนี้เป็นต้น เชื่อว่ามองมาถึงตรงนี้ตาม พ.ร.บ. นี้ ยังเชื่อว่าทางฝ่ายเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะผู้ประกอบการทาง สถาบันการเงินจะทวงน้อยลง แล้วผลร้ายที่สุดคือจาเลยจะต้องไปศาลมากขึ้น มาตรา ๔๐ บุคคลใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๒ (๒) (๓) หรือ (๔) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือ ปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

คาอธิบาย กรณีทาให้เชื่อว่าเป็นการกระทาของทนายความ ทาให้เข้าใจผิดว่าจะถูกดาเนินคดีจะถูกยึด ถูกอายัด ทรัพย์หรือเงินเดือน จาคุกไม่เกิน ๓ ปี ปรับไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

ข้อสังเกต เป็นบทเพิ่มโทษที่ผู้กระทาผิดที่ไม่ใช่ทนายความแสดงตนเป็นทนายความ โทษจะมีปรับถึง ๓ แสนบาท๕๓๔ แล้วก็มีจาคุก ยังอยากให้ใช้วิธีการโทษปรับก็คือ เนื่องจากอันนี้เป็น เรื่องทางหาประโยชน์ เพราะฉะนั้นถ้าโทษปรับอย่างเช่นกฎหมายบางฉบับที่มีก็คือปรับเป็นกี่เท่าของจานวน เงินที่ทวงถามก็คือจะทาให้การใช้วิธีการนอกระบบเขาก็จะเกรงกลั วมากกว่าการที่จะกาหนดอัตราโทษปรับ ตายตัว เช่น ๑ แสนบาท ๒ แสนบาท ๓ แสนบาท อย่างน้อย ๓ แสนบาท หรือว่า ๒ เท่าของวงเงินที่เรียกร้อง หรือว่าเรียกให้บังคับ มาตรา ๔๑ บุคคลใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๑ (๑) หรือมาตรา ๑๒ (๑) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

คาอธิบาย การข่มขู่ การใช้ความรุนแรง การใช้ข้อความเครื่องหมาย สัญลักษณ์ เครื่องแบบที่ทาให้เข้าใจว่าเป็น การกระทาของศาลหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีโทษจาคุกไม่เกิน ๕ ปี ปรับไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้ง ปรับ

๕๓๔

มาตรา ๔๐ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๒๑๖


๑๖๒

ข้อสังเกต เป็นบทเพิ่มโทษอีกมาตราหนึ่งที่เป็นผลของการกระทาการทวงถามหนี้ที่ใช้ความรุนแรง ประเด็นเกี่ยวกับเรื่องความซ้าซ้อนโทษทางอาญา๕๓๕ก็เป็นประเด็นที่น่าสนใจซึ่งก็มีแนวความคิดว่า ไปดูของทางต่างประเทศ สหรัฐอเมริกาเอาเฉพาะการกระทาที่เป็นการรบกวนไม่ได้ลงไปถึงทางอาญาด้วยใน ขณะที่ออสเตรเลียถึงเรื่องการข่มขู่พวกนี้ด้วย ซึ่งอาจจะต้องไปดูว่าของเขานี้ก็จะกลายเป็นความผิดทางเดียว ผิดกฎหมายหลายบทแล้วก็รวมไปถึงโทษบทหนักเหมือนกันหรือเปล่า แต่ของเราเข้าใจว่ามีบางฎีกาที่ศาลฎีกา ออกมาว่าไม่ผิดอาญาเพราะว่าเป็นเรื่องการทวงหนี้ของเจ้าหนี้แล้วก็เป็นทรัพย์ของเขาอาจจะมีปัญหาว่าการ กระทาใช้ความรุนแรงบางอย่างไม่ผิดอาญา แต่ฎีกาส่วนใหญ่เท่าที่ดูที่ไปตักตวงเอาทรัพย์สินของลูกหนี้มาเลย ไปเอากระบือเขามาเลย มีความผิดทั้งชิงทรัพย์ ลักทรัพย์ก็มีเหมือนกัน แต่ตรงนี้ก็ยอมรับว่าเท่าที่ดูเอกสารค้นดู ฎีกา ตรงนี้ไม่แน่ใจว่ายังไม่ค่อยชัดเจนในแง่ที่ว่าการข่มขู่ที่จะขับเคลื่อนทางอาญาออกไป บางทีไม่ได้ผิดอาญาก็ เลยจะกลายเป็นว่าการกระทาความผิดเนื่องจากเป็นหนี้ที่เจ้าหนี้ทาเองไม่ใช่เป็นลักษณะไปชิงทรัพย์ ลักทรัพย์ ก็ปกติ พออันนี้ผิดอาญาแล้วก็เลยจะกลายเป็นว่าบุคคลที่ทวงหนี้เขาก็ไม่ต้องรับผิด ของบ้านเราอาจจะมีปัญหา ตรงจุดนี้ แต่ถึงแม้จะบอกว่าเป็นการกระทาความผิดทางอาญาก็ตามก็อาจจะไม่แค่เข้าในเรื่องการกระทาผิด กฎหมายหลายบทแล้วก็ไปลงโทษบทหนัก คงไม่ใช่เป็นลักษณะว่าถ้าผิดตรงนี้แล้วเป็นลักษณะการข่มขู่แล้วเป็น ความผิดฐานลักทรัพย์เอาไปด้วย ไปลงโทษทั้งอาญาทางหนึ่งแล้วมาลงโทษทางกฎหมายฉบับนี้น่าจะเป็นเรื่อง การกระทาผิดกฎหมายหลายบทแล้วก็ไปลงโทษบทหนักเอา เป็นการเขียนเอาไว้ก็อาจจะคลุมถึงคุ้มครองลูกหนี้ ได้มากกว่าในกรณีที่ว่าการกระทานั้นมองเห็นว่าไม่เป็นเรื่องของอาญา ฝากประเด็นนี้ก็คิดว่าคงต้องมีการคิดกัน ไปให้ดีว่าจะเอาเฉพาะเรื่องการรบกวนจากปกติ ซึ่งไม่ผิดอาญาอยู่แล้ว ซึ่งร่างฉบับนี้ไม่ได้ผิดทางอาญาแต่เป็น ผิดทางปกครอง ถ้าทวงประเภทไม่เหมาะสมนี้ผิดทางปกครอง แต่ถ้าทวงในลักษณะเป็นการข่มขู่ใช้ความ รุนแรงร่างฉบับนี้จะผลักมาเป็นผิดอาญา ก็คิดว่าคงอาจจะต้องพิจารณาในตรงส่วนนี้ มาตรา ๔๒ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๔ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่ เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

คาอธิบาย กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ทวงถามหนี้หรือสนับสนุนที่ไม่ใช่หนี้ของตน มีโทษ จาคุกไม่เกิน ๕ ปี ปรับไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ เรื่องนี้เป็นเรื่องที่สาคัญสาหรับการทวงหนี้ แบบตามน้า คือตนเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้อยู่แล้ว แต่กลับไปเอางานทวงหนี้ของผู้อื่น มาใช้ในการทาหน้าที่ของตนด้วย เป็นกรณีการทวงหนี้ข้ามระบบงานของตน

ข้อสังเกต เจ้าหน้าที่ของรัฐในความหมายนี้หมายรวมถึง “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” ที่อยู่ในภาครัฐวิสาหกิจที่นาระบบ การบริหารงานของภาครัฐมาใช้โดยอนุโลม มาตรา ๔๒๕๓๖จะเล่นโทษได้สูงกว่าก็คือเท่ากับมาตรา ๔๑ เลย ซึ่งมาตรา ๔๑ เป็นเรื่องข่มขู่ ใช้ความ รุนแรง เพราะฉะนั้นถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐมาทวงหนี้ คือทวงหนี้อย่างเหมาะสม ศาลก็อาจจะลงโทษเบาเพราะ กาหนดไว้ไม่เกิน ๕ ปี ถ้าไปกระทาความผิดวรรคหนึ่งแล้ว คือเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐแล้วไปทวงหนี้แล้วไปกระทา ความผิดมาตราอื่นด้วย ก็คล้าย ๆ เหมือนกับปล่อยให้ศาลเป็นผู้ใช้ดุลพินิจว่าแล้วแต่ว่าเขาจะกระทาความผิด ๕๓๕ ๕๓๖

มาตรา ๔๑ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๖๗ มาตรา ๔๒ ข้อสังเกต ๑ นายวรรณชัย บุญบารุง รองเลขานุการกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๕/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗


๑๖๓ ตามมาตรา ๓๙ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ ถ้ามาตรา ๓๙ ก็อาจจะหนักขึ้นมาเพราะเป็นแค่โทษไม่เกิน ๑ ปี เป็น ทวงหนี้เล็ก ๆ น้อย ๆ มาตรา ๔๐ ศาลก็อาจจะลงหนัก แต่ถ้าไปใช้ข่มขู่ความรุนแรงด้วย ศาลก็อาจจะลงไปถึง ๕ ปี ถ้าเขียนไปอย่างนี้ เป็ นการปล่อยให้ เป็ นกลไกศาลไปใช้ดุลพินิจเอาเองว่าควรจะหนั ก ถ้าสมมุติว่าเป็น เจ้ าหน้ าที่ ของรัฐ แล้ ว ก็ยั งไปกระท าความผิ ดตามมาตรา ๓๙ ศาลอาจจะลงโทษเกิน ๑ ปี ก็ได้ ถ้าเป็ นคน ธรรมดาก็แค่ปีเดียว หรือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐไปกระทาความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรา ๔๐ ศาลก็อาจจะลงโทษ เกิน ๓ ปีก็ได้เป็น ๔ ปี ก็ยังอยู่ในเพดานได้ หรือถ้าเกิดไปใช้ความข่มขู่รุนแรง ตรงนี้อาจจะรู้สึกว่าถ้าเป็นคน ธรรมดาทั่วไป ศาลอาจจะไม่ลงถึง ๕ ปี แต่ถ้าเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐข่มขู่รุนแรงอาจจะลงเป็นเพดานอะไรทานอง นี้ ไม่รู้ว่าถ้าเป็ น กระบวนการอย่างนี้ จะถือว่าปล่ อยให้ ศาลไปใช้ดุลพินิจเพื่อความยุติธรรมหรือไม่ แต่ถ้าไม่ ต้องการที่จะปล่อยให้ศาลไปใช้ดุลพินิจ ในลักษณะอย่างนั้นแล้ว ก็อาจจะต้องมานั่งไล่อัตราโทษกันใหม่ว่า ถ้า เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐทวงอย่างสุภาพ สมควรไหมที่จะลดต้น Start ว่าไม่เกิน ๑ ปี ก็ไม่รู้ว่าควรจะไปเริ่มต้น Start เป็ น ๓ ปี ก่ อ นหรื อ ไม่ หมายถึ งว่ ายั งไม่ ได้ ไปกระท ารุน แรง ไปท าผิ ด ลั ก ษณะอะไร เอาแค่ ว่า เป็ น เจ้าหน้าที่ของรัฐ ถ้ามีแนวความคิดว่าถ้าไปกระทาความผิดมาตราอื่น ๆ ด้วย จะบวกเพิ่มโทษให้หนักขึ้นเรื่อยๆ ก็ต้องคิดถึงฐานก่อนว่าตั้งแต่ฐานแรกเลยเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐเฉย ๆ ไปทวงหนี้อย่างสุภาพ ควรจะเริ่มต้นจาก จุดไหน ถ้าเริ่มต้นอาจจะ ๓ ปี ถ้าเป็นตุ๊กตาว่าเริ่มต้นจากปีเดียวก่อน ตัวอย่างเป็นตุ๊กตาว่าเอาโทษแค่ปีเดียว เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐไปทวงอย่างสุภาพ แต่ถ้าไปกระทาความผิดตามที่ระบุไว้ในมาตรา ๓๙ ด้วย คือทวงไม่เป็น เวลาจาก ๑ ปี เราจะเบิ้ลเป็น ๒ ปีได้ไหม คือถ้าเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐก็จะเบิ้ลเป็น ๒ ปีทันที หรือถ้าไปกระทา ความผิดตามที่ระบุในมาตรา ๔๐ ซึ่งระบุไว้เป็น ๓ ปี ก็เบิ้ลไปเป็น ๕ ปี ถ้าเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือว่าถ้ามา กระทาความผิดที่ระบุไว้ในมาตรา ๔๑ ด้วย คือใช้ความรุนแรง บวกเข้าไปเป็น ๗ ปี จะมีฐานไล่โทษขึ้นไป แต่ ต้องเริ่มต้นจากว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐทวงแบบสุภาพเอาสัก ๑ ปี หรือจะ ๒ ปีก็แล้วแต่ ก็จะมีการไล่ฐานขึ้นไปได้ แต่ละมาตรา ตั้งแต่มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ แต่ในอัตราโทษผมไม่รู้ว่าจะเหมาะสมอย่างไรหรือเปล่า คือเทียบโดยอาศัยฐานจากมาตรา ๓๙ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ เห็นด้วยว่าถ้าเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐควรจะหนัก กว่ามาตรา ๓๙ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ ที่เป็นประชาชนธรรมดา แต่เนื่องจากว่ามาตรา ๔๒ วางฐานไว้ไม่เกิน ๕ ปี ซึ่งคลุมมาตรา ๓๙ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ อยู่แล้ว มีความเห็นอย่างนี้ว่า๕๓๗กฎหมายฉบับนี้เน้นเรื่องของหนี้นอกระบบหรือการทวงหนี้ ที่ไม่ชอบทั้งหลาย เบื้องหลังทั้งหมดมีเจ้าหน้าที่ของรัฐอยู่เบื้องหลังในอดีตที่ผ่านมา เพราะฉะนั้นวัตถุประสงค์จริง ๆ ไม่ต้องการให้ เจ้าหน้าที่ของรัฐมาทา ไม่ว่าแบบไหนคือทั้งระบบเลย เพราะฉะนั้นการที่จะมีมาตรา ๔๒ ถ้าฝ่าฝืนเอาแพงเลย เห็นด้วยแต่ให้ตัดวรรคสองออก วรรคสองออกก็คือให้ศาลใช้ดุลพินิจ จะเอาบทหนักก็ได้ จะเรียงกระทงลงโทษ ก็ได้ อยากจะให้ไปอยู่กระบวนการยุติธรรมปกติแล้วแต่รูปคดีของแต่ละคดีซึ่งแตกต่างกัน พฤติการณ์เหมือนกัน เพราะเน้นเรื่องนอกระบบคนมีสี เจ้าหน้าที่ของรัฐอยู่เบื้องหลังทั้งสิ้นโดยตรงหรือโดยอ้อม มาตรา ๔๓ บุคคลใดไม่ปฏิ บัติตามคาสั่งตามมาตรา ๒๔ หรือขัดขวาง หรือไม่ปฏิบัติตามคาสั่ง ตามมาตรา ๓๒ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

คาอธิบาย บุคคลใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือขัดขวาง หรือไม่ปฏิบัติตาม คาสั่งในการบุ คคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง และเอกสารหลักฐาน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน ๓ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ๕๓๗

มาตรา ๔๒ ข้อสังเกต ๒ นายสัก กอแสงเรือง ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๕/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗


๑๖๔

ข้อสังเกต ถือเป็นคาสั่งของเจ้าพนักงานที่หากมีการฝ่าฝืนก็จะมีบทลงโทษ มาตรา ๔๔ ในกรณีที่ผู้กระทาความผิดซึ่งต้องรับโทษอาญาตามพระราชบัญญัตินี้เป็นนิติบุคคล ถ้าการกระทาความผิด ของนิติ บุค คลนั้น เกิดจากการสั่งการหรือไม่สั่งการ หรือการกระทาการ หรือไม่ กระทาการอันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทาของกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอานาจในการจัดการแทนนิติบุคคล นั้น บุคคลดังกล่าวต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สาหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย

คาอธิบาย กรณี เป็ นนิติบุ คคลกระทาความผิดนั้น อันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทาของกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้ มี อานาจในการจัดการแทนนิติบุคคลนั้น ต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สาหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย

ข้อสังเกต กาหนดให้ ในกรณี ที่ผู้ กระทาความผิดซึ่งต้องรับ โทษอาญาตามพระราชบัญ ญั ตินี้เป็นนิติบุคคล ให้ กรรมการผู้ จัดการ ผู้ จัดการ หรือผู้มีอานาจในการจัดการแทนนิติบุคคลต้องรับโทษอาญาตามที่บัญ ญั ติไว้ สาหรับความผิดนั้นด้วย เมื่อการกระทาความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่งการหรือไม่สั่งการ หรือการกระทา การหรือไม่กระทาการอันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทาของบุคคลดังกล่าว๕๓๘ ประเด็นปัญหาเรื่องมาตรา ๔๔๕๓๙ก็คือเรื่องความรับผิดของผู้แทนนิติบุคคล การบัญญัติอย่างนี้ถ้าไป ตรวจสอบกรณี ที่มีคาวินิ จ ฉัย ของศาลรัฐ ธรรมนูญ ที่ ๑๒/๒๕๕๕ ที่วินิจฉัยว่า พ.ร.บ. ขายตรง การบัญ ญั ติ ลักษณะอย่างนี้ แม้กระทั่งใน พ.ร.บ. ขายตรงที่มีข้ออนุญาตให้กรรมการผู้จัดการทั้งหลายนาสืบให้พ้นผิดได้ว่า ขัดต่อรัฐ ธรรมนู ญ ก็คือว่าที่กฤษฎีกกาลังแก้ไขปั ญ หากฎหมายลั กษณะอย่างนี้อยู่ เพราะฉะนั้นถ้าบั ญ ญั ติ ออกไปอย่างนี้เดี๋ยวก็จะมีคนใช้มาตรการอันนี้ไปร้องว่าขัดต่อรัฐธรรมนูญศาลยุติธรรม ต้องยุติการวินิจฉัยแล้วก็ รอ เพราะฉะนั้นตรงนี้อยากจะให้ลองไปเทียบดู เพราะว่าปัญหาอย่างนี้เกิดขึ้นใน พ.ร.บ. ทั้งหมด เข้าใจว่ามี ๙๐ กว่าฉบับ ตอนนี้อย่างน้อย ๓ ฉบับ หรือ ๔ ฉบับ ที่บัญญัติลักษณะอย่างนี้ ซึ่งยังดีกว่านี่ เพราะว่าอันนี้ไม่มี เหตุที่จะทาให้พ้นผิดได้เลย ธรรมดาให้รับผิดในกรณีที่ควรรับผิด เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือได้พยายามยับยั้งแล้ว แต่อันนี้ไม่ข้อความอย่างนั้น ซึ่งเกรงว่าออกกฎหมายทั้งที่ศาลรัฐธรรมนูญได้เคย วินิจฉัยไปแล้ว ก็อาจจะกระทบได้ลักษณะทานองเดียวกันอย่างนี้ ประเด็นนี้ตามกฎหมายขายตรงจะเขียนรูปแบบแตกต่างอันนี้ ๕๔๐ เพราะว่ากฎหมายส่วนใหญ่ คือ ประมาณ ๙๐ ฉบับ เขียนเหมือนกับกฎหมาย ขายตรงคือเขียนในลักษณะว่า ถ้านิติบุคคลกระทาความผิดก็ให้ ผู้แทนนิติบุคคลรับผิดด้วย เว้นแต่ว่าตัวเองไม่ได้รู้เห็น ไม่ได้สั่งการ ซึ่งตรงนี้ศาลรัฐธรรมนูญไปวินิจฉัยว่าการ เขียนกฎหมายอย่างนี้ไปขัดรัฐธรรมนูญที่ต้องว่าให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาเป็นผู้บริสุทธิ์ แต่การเขียนให้ ศาลรัฐธรรมนูญไปวินิจฉัยว่าเป็นการยกเว้นหลัก ก็กลายเป็นว่าให้ผิดก่อนแล้วให้มา ส่วนใหญ่ก็ไม่เห็นด้วยกับ ศาลรัฐธรรมนูญ กฎหมายที่ว่าขัดรัฐธรรมนูญ เพราะว่าสากลเป็นอย่างนี้ทั้งหมด การที่จะให้เข้าคุกไม่ใช่เรื่อง ง่าย ต้องเขียนหลักการว่ามีเหตุจาเป็นยิ่งกว่าการที่จะคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องการ นิติบุคคลกระทาความผิด ต้องมานั่งให้ฝ่ายรัฐพิสูจน์ ซึ่งพิสูจน์ยากเพราะเป็นเรื่องภายใน การสั่งการไม่มีทางรู้หรอก แล้วแน่นอนนิติ บุคคลต้องกระทาความผิดผ่านทางผู้แทน นิติบุคคลทาผิดแล้ว ส่วนใหญ่ทางผู้แทนต้องรู้เรื่อง ต้องสั่งการ แต่ เรียนว่าตรงส่วนนี้เขียนต่างกับกฎหมายขายตรง ไม่ได้เขียนลักษณะเป็นการยกเว้นที่บอกว่าให้คิดไว้ก่อนเว้นแต่ ๕๓๘ ๕๓๙ ๕๔๐

มาตรา ๔๔ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๔๔ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๓๕ มาตรา ๔๔ ข้อสังเกต ๓ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕


๑๖๕ แต่กรณีนี้จะผิดได้ ต้องพิสูจน์ว่าได้มีส่วนในการที่มีการกระทาการอะไรบางอย่าง ซึ่งก็เป็นหลักตามปกติเลยว่า ได้กระทาการอะไร ก็เป็นเรื่องที่ทางอัยการต้องพิสูจน์ว่ากระทาการอะไรแตกต่างจากกฎหมายขายตรง ซึ่ง กฎหมายขายตรงอัยการไม่ต้องพิสูจน์อะไรเลยว่ากระทาความผิดเพียงแต่พิสูจน์ว่า นิติบุคคลกระทาความผิด แล้ ว เป็ น ผู้ แ ทนจบแค่ นี้ แล้ ว ก็ ต้ อ งให้ ท างฝ่ า ยผู้ แ ทนไปพิ สู จ น์ ก ลั บ ว่ า เข้ า ข้ อ ยกเว้ น ว่ า ไม่ ได้ สั่ ง การใด ๆ เพราะฉะนั้นเรียนว่าตรงนี้เขียนอย่างนี้ถูกต้องไม่ขัดรัฐธรรมนูญ ไม่ได้เป็นไปตามกฎหมายขายตรง ในกรณีที่เป็นโทษทางปกครองมีบทบัญญัติอย่างนี้ไหม ๕๔๑ไม่แน่ใจ เพราะโทษทางปกครองไม่ใช่เป็น เรื่องเฉพาะตัวเหมือนกรรมการอะไรต่าง ๆ หรือเปล่ า เพราะไม่เคยเห็ นว่าถ้าโทษปกครองจะมีบทบัญ ญั ติ ทานองนี้ด้วย เป็นหลักธรรมดาในลักษณะที่ว่ามีบท Sanction๕๔๒ ไม่ว่าจะเป็นทางอาญาหรือโทษทางปกครอง จะ ให้ตัวนิติบุคคลรับผิดจะต้องการลงโทษตัวผู้แทนด้วยเพื่อให้เกิดการไม่กล้าที่จะกระทาความผิด เพราะถ้าผู้แทน นิติบุคคลไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัวก็จะไม่เกรงกลัว เพราะว่านิติบุคคลกระทาอะไรไปแล้วนิติบุคคลก็รับผิดไป ส่วนนิติบุคคลจะมาไล่เบี้ยกรรมการอะไรหรือเปล่าก็อาจจะไม่เกิดขึ้นก็ได้ แต่การที่ต้องให้นิติบุคคลรับผิดส่วน หนึ่ง ตัวผู้แทนก็ต้องมารับผิดส่วนตัวด้วยก็จะช่วยทาให้ตัวผู้แทนไม่กล้ากระทาความผิด ซึ่งสุดท้ายก็คือตัวนิติ บุคคลก็จะได้ไม่ไปก่อความเสียหาย ซึ่งตัว Sanction หรือว่าจะเป็นโทษทางปกครอง โทษทางอาญาก็สามารถ ที่จะให้รับผิดได้ เพราะมีส่วนในการกระทาความผิด แต่ไม่ได้ยืนยันว่ามีไหมโทษทางปกครองมาเขียนทานองนี้ แต่ถ้าพูดถึงตามหลักการแล้วไม่น่ามีปัญหาได้ว่าจะเป็นโทษทางปกครอง โทษทางอาญา ในกรณีที่เขียนโทษทางอาญาให้รับผิดสวนตัวด้วย ๕๔๓โทษปรับทางอาญาก็ดี หรือเรื่องโทษของทาง ปกครองก็ดี เมื่อต้องรับผิดเป็นส่วนตัวแล้วเอาเงินนิติบุคคลมาจ่ายได้ไหม เห็นว่าไม่ได้๕๔๔แต่ว่าทางปฏิบัติก็จะไปหยิบมา ยืมมา เป็นเรื่องของเขา แต่ว่าตัวผู้แทนจะไปอ้างสิทธิ ทาในฐานะผู้แทนเพราะฉะนั้นก็เลยไปฟ้องร้อง ตัวนิติบุคคลไม่ยอมจ่ายค่าปรับแทน อะไรอย่างนี้ คิดว่าคงไม่ได้ ไม่มีสิทธิอะไร มาตรา ๔๕ บรรดาความผิดในส่วนที่ ๒ นี้ ยกเว้นมาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๒ ให้คณะกรรมการ เปรี ย บเที ย บที่ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงมหาดไทยแต่ ง ตั้ ง มี อ านาจเปรี ย บเที ย บได้ ต ามหลั ก เกณฑ์ ที่ คณะกรรมการกาหนด คณะกรรมการเปรียบเทียบที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งตามวรรคหนึ่ง ให้มีจานวน สามคนซึ่งคนหนึ่งต้องเป็นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อคณะกรรมการเปรียบเทียบได้ทาการเปรียบเทียบกรณีใด และผู้ต้องหาได้ชาระค่าปรับตามคา เปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่ค ณะกรรมการกาหนดแล้ว ให้ถือว่าคดีนั้น เป็น อัน เลิกกัน ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และให้คณะกรรมการเปรียบเทียบแจ้งให้คณะกรรมการทราบโดยเร็ว

คาอธิบาย ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งคณะกรรมการเปรียบเทียบ จานวน ๓ คน โดยเป็ น พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๑ คน และเมื่อได้ทาการเปรียบเทียบแล้ว

๕๔๑ ๕๔๒ ๕๔๓ ๕๔๔

มาตรา ๔๔ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๓๕ มาตรา ๔๔ ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕ มาตรา ๔๔ ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๒ มาตรา ๔๔ ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕


๑๖๖ ผู้ต้องหาได้ชาระค่าปรับ ตามคาเปรียบเทียบภายในกาหนด และให้ถื อว่าคดีนั้นเป็นอันยกเลิกตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณความอาญา และให้แจ้งให้คณะกรรมการทราบโดยเร็ว

ข้อสังเกต กาหนดให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบเพื่อทาการเปรียบเทียบปรับความผิดในส่วนของโทษทางอาญา โดยเมื่ อ คณะกรรมการเปรี ย บเที ย บได้ ท าการเปรีย บเที ย บกรณี ใด และผู้ ต้ อ งหาได้ ช าระค่ าปรั บ ตามค า เปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเปรียบเทียบกาหนดแล้วให้คดีนั้นเป็นอันเลิกกัน๕๔๕ สาหรับในการพิจารณาเปรียบเทียบนั้นก็จะมีคณะกรรมการเปรียบเทียบ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทยเป็ น ผู้แต่งตั้งคณะกรรมการเปรียบเที ยบ ทั้ งนี้ทั้งนั้ นก็คือ จะต้ องเปรียบเที ยบตามหลั กเกณฑ์ ที่ คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ตามกาหนด เนื่องจากว่ามีคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ทุกจังหวัด จะต้องเป็นผู้พิจารณาในเรื่องของการดาเนินการและก็มีคณะกรรมการเปรียบเทียบ เพราะฉะนั้นหลักเกณฑ์ จะต้ อ งเป็ น หลั ก เกณฑ์ เดี ย วกั น ถึ งจะต้ อ งก าหนดไว้ ว่ า ให้ ค ณะกรรมการก ากั บ การทวงถามหนี้ ก าหนด หลักเกณฑ์ สาหรับการเปรียบเทียบนั้นถ้าหากว่าได้มีการเปรียบเทียบแล้วคดีก็เป็นอันยกเลิกตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา๕๔๖ สมมุติว่าคณะกรรมการมีความเห็นแล้วว่าการกระทาของกลุ่มคน๕๔๗ไม่ว่าจะเป็นหนี้ในระบบก็ดี หนี้ นอกระบบก็ดี มีการกระทาที่ผิดกฎหมาย แล้วกฎหมายข้อนั้นมีการเปรียบเทียบได้ ใครจะเป็นคนนาเสนอเข้าสู่ คณะกรรมการเปรีย บเที ย บ คณะอนุ กรรมการไหน เพราะว่ามีขั้ น ตอนของการท าเปรียบเที ยบ มีวิธีก าร หลักเกณฑ์ที่ต้องเสนอคณะกรรมการเปรียบเทียบ เช่น ในการเสนอยี่ต๊อก ใช้คาว่ายี่ต๊อกของหลักเกณฑ์การ กระทาความผิดของแต่ละมาตรา ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบวางเป็นหลักเกณฑ์มาตรฐานก่อน อยากทราบ ตรงนี้ใครเป็นคนทา กระบวนการในการเปรียบเทียบในทุกพระราชบัญญัติก็จะเขียนอยู่เพียงแค่นี้ว่าให้มีคณะกรรมการ เปรียบเทียบขึ้นมาที่รัฐมนตรีแต่งตั้ง ๕๔๘ซึ่งก็แน่นอนว่าเป็นเรื่ องที่ทางรัฐมนตรีก็ต้องออกกฎเกณฑ์ในการใช้ อานาจ เพราะอันนี้เป็นเรื่องทางอาญา ไม่ใช่เป็นเรื่องทางปกครองอะไร ซึ่งแน่นอนว่าคณะกรรมการที่พิจารณา เรื่ องร้องเรียนอะไรต่าง ๆ ทราบ เห็ น เป็ น ประเด็นเกี่ยวกับเรื่องทางอาญา หน่วยงานธุรการหรือ พนักงาน เจ้าหน้าที่ตามกฎหมายฉบับนี้ซึ่งทางรัฐมนตรีแต่งตั้งก็คงต้องมีการประสานงานแจ้งกันว่าเรื่องนี้ เป็นเรื่องทาง อาญา ก็ต้องมีการแจ้งกันไปยังตัวคณะกรรมการเปรียบเทียบที่รัฐมนตรีแต่งตั้งนี้อยู่แล้ว โดยพระราชบัญญัติจะ ไม่ได้เขียนกระบวนการในทางบริหารที่ว่าจะต้องเดินเรื่องส่งกันอะไร อย่างไร ไม่ต้องเขียนเรื่องพวกนี้เอาไว้ อย่างของกฎหมายที่ธนาคารแห่งประเทศไทยดูแลอยู่๕๔๙ เช่น พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงินก็ดี พระราชบัญญัติข้อมูลเครดิตก็ดี พระราชบัญญัติบริษัทบริหารสินทรัพย์ก็ดี เป็นหน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศ ไทยในการกากับ ดูแล เพราะฉะนั้นธนาคารแห่ ง ประเทศไทยโดยฝ่ายกฎหมายและคดีเมื่อมีการดาเนินการ เปรียบเทียบแล้ว เห็นเป็นความผิดแล้ว ทางฝ่ายกฎหมายของธนาคารแห่งประเทศไทยจะแปรสภาพเป็นฝ่าย เลขาฯ ของคณะกรรมการเปรียบเทียบ เพราะคณะกรรมการเปรียบเทียบก็จะเป็นเหมือนอีกกลุ่มบุคคลหนึ่ง ต่างหากแยกนอกเหนือจากคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย หรือคณะกรรมการข้อมูลเครดิตออกไป เลย และจะดาเนินการเปรียบเทียบปรับให้เสร็จ ทีนี้ในการเปรียบเทียบปรับเขาก็จะมี Set หลักเกณฑ์ เช่น ๕๔๕ ๕๔๖ ๕๔๗ ๕๔๘ ๕๔๙

มาตรา ๔๕ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๔๕ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕ มาตรา ๔๕ ข้อสังเกต ๓ ผูเ้ ข้าร่วมประชุม รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๔๕ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕ มาตรา ๔๕ ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๔๗


๑๖๗ กฎหมายกาหนดว่าความผิดอันนี้ปรับไม่เกินเท่านี้ ความผิดก็จะมีหลายมาตรา เขาจะบอกว่าความผิด ตาม มาตรานี้ ป รับ ไม่เกิน ๓ แสนบาท คราวนี้ ปั ญ หาเกิดขึ้นว่าความผิ ดในแต่ล ะมาตรา ความหนักเบาของการ กระทามีเจตนารมณ์ ที่ขัดต่อกฎหมายอัน ไหนจะแรงกว่ากัน อันนี้คณะกรรมการฝ่ ายเลขาฯ ต้องเป็นคนที่ กาหนดมีบทบาทสาคัญในการกาหนด เพื่อให้คณะกรรมการเปรียบเทียบวางหลักเกณฑ์ให้ชัดเจน และจะใช้ใน การลงโทษผู้ที่กระทาความผิดแบบเดียวกันได้รับโทษได้เหมือนกัน นอกจากนี้ ยังมีการกาหนดเกณฑ์การลด โทษ เพิ่มโทษอะไรทั้งหลายให้เหมือนกับกระบวนยุติธรรมว่าอะไรสมควรที่จะลดโทษ อะไรสมควรที่จะเพิ่ม โทษ อันนี้เป็นหลักเกณฑ์ ซึ่งตรงนี้ขอเรียนให้ทราบว่า ถ้ามีหน่วยงานทาอยู่ชัดเจน เช่น ธปท. ธปท. ก็เป็น เจ้าภาพเป็นหลักเกณฑ์ อันนี้มี ๒ อัน มีเศรษฐกิจการคลังอันหนึ่ง กรมการปกครองอันหนึ่ง หนี้นอกระบบเป็น กรมการปกครองใช่ไหม หนี้ในระบบเป็นเศรษฐกิจการคลัง แล้วก็ยังมีกระจายไปทั้ง ๗๗ จังหวัด มาตรฐานเป็น อย่างไร ใครเป็นคนทาตรงนี้ ถ้าดูในมาตรา ๔๕ ๕๕๐ จะเขีย นหลั กเกณฑ์ เอาไว้แล้ ว ว่ามี อานาจเปรียบเที ยบได้ตามหลั ก เกณฑ์ ที่ คณะกรรมการกาหนด ก็คือคณะกรรมการบอร์ดใหญ่จะมากาหนดกระบวนการในการเปรียบเทียบ รวมทั้ง กระบวนการที่ท่านกล่าวมาทั้งหมดว่าจะทาอย่างไร ดาเนินการอย่างไร ก็จะเป็นของคณะกรรมการ บอร์ดใหญ่ ซึ่งเข้าใจว่าถ้าเป็นเรื่องกระบวนการ เรื่องหนี้ในระบบจะเปรียบเทียบอะไร อย่างไร คณะกรรมการอาจจะมอบ ให้คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๒ ไปพิจารณากฎเกณฑ์มาว่า ถ้าเป็นหนี้ในระบบยี่ต๊อกควรจะเป็นอย่างไร อะไรพวกนี้ ก็สามารถมอบคณะอนุกรรมการตาม มาตรา ๒๒ เข้าใจว่ากระบวนการนี้คณะกรรมการกาหนดได้ แสดงว่าหลักเกณฑ์ที่จะเปรียบเทียบอย่างไร๕๕๑ คณะกรรมการชุดใหญ่เป็นคนกาหนด คณะกรรมการ เปรียบเทียบไม่มีสิทธิกาหนดเอง ต้องเปรียบเทียบปรับตามที่คณะกรรมการกาหนดใช่ไหม อันนี้ประเด็นเริ่มจะ ต่างจากของแบงก์ชาติแล้ว ถ้าของแบงก์ชาติกฎหมายสถาบันการเงิน คณะกรรมการเปรียบเทียบเขามีอานาจ มีดุ ล พิ นิ จ ในการพิ จ ารณาโทษหนั ก โทษหนั กต้ องลดหย่อ นลดโทษอย่างไร มี อ านาจแก้ ไขได้เต็ม ที่ อย่ าง กฎหมายข้ อ มู ล เครดิ ต ก็ จ ะเขี ย นไว้แ บบนี้ เปรีย บเที ย บปรับ ตามหลั ก เกณฑ์ ที่ ค ณะกรรมการก าหนด ถ้ า เปรียบเทียบปรับตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการกาหนดคณะกรรมการเปรียบเที ยบทาอะไรไม่ได้เลย เป็น ไปรษณีย์อย่างเดียว เผอิญตรงนี้มีการกาหนดว่า ตามระยะเวลาที่คณะกรรมการเปรียบเทียบกาหนดไว้ ตรงนี้ ไม่มีประเด็นเพราะว่าไม่เคยเขียน เพราะว่าการเปรียบเทียบปรับทั้งหลายอยู่ในอายุความ เช่น กฎหมายของ ธุรกิจสถาบันการเงินเขามีบอกว่า ๒ ปี นับตั้งแต่ที่ตรวจพบ ๕ ปี นับตั้งแต่วันที่ กระทาความผิด อย่างกฎหมาย ข้อมูลเครดิตก็จะบอกว่าไม่พูดเลย ไม่พูดอายุความเลย ถ้าไม่พูดเรื่องอายุความก็ไปสู่กฎหมายตามมาตรา ๙๕ ประมวลกฎหมายอาญาก็ต้องเป็นไปตามนั้น เพราะฉะนั้นถ้าไม่มีการกาหนดอายุความไว้โดยเฉพาะแล้ว อายุ ความในการด าเนิ น การ จนกระทั่ งถึ ง ส่ ง ฟ้ อ งศาลต้ อ งเป็ น ไปตามมาตรา ๙๕ ประมวลกฎหมายอาญา เพราะฉะนั้นคณะกรรมการของ ธปท. คณะกรรมการเปรียบเทียบที่ดาเนินการตามกฎหมาย ธปท. จะไม่เคย กาหนดเลยว่าจะต้องแจ้ง ให้อย่างไร ให้มาจ่ายค่าปรับอย่างไร แต่ว่าเป็นหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการข้างใน บอกว่า หลังจากที่ยอมรับความผิด แล้วยอมรับการเปรียบเทียบและอีก ๗ วันมาชาระเงิน หลังจากที่ยอมรับ ความผิดและยอมรับการเปรียบเทียบแล้วอีก ๗ วันมาชาระเงิน อะไรอย่างนี้ ก็มีบางครั้งอาจจะมาเกิน ๗ วัน บ้าง เป็น ๘ วัน คณะกรรมการก็รับ เพราะว่าอะไร คณะกรรมการจะคานึงถึงว่าที่มีกฎหมาย ที่มีคณะกรรม การเปรีย บเทียบเขาต้องการให้ คดีเลิกกัน ไม่ต้องการให้ ไปสู่ ศาล ไม่ต้องการรบกวนพนักงานสอบสวนก็ดี พนักงานอัยการก็ดี อายุความก็น้อย ถ้าจบได้ให้จบเลย หลักเกณฑ์ก็อยู่แค่นี้เอง ๕๕๐ ๕๕๑

มาตรา ๔๕ ข้อสังเกต ๖ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕ มาตรา ๔๕ ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๔๗


๑๖๘ เข้าใจว่าตรงส่วนนี้ ๕๕๒ คณะกรรมการก็ควรที่จะต้องมีกระบวนการหลักเกณฑ์ อะไรที่คณะกรรมการ ใหญ่เข้ามากาหนด ซึ่งใช้ว่ากระบวนการเปรียบเทียบ คณะกรรมการเวลาจะกาหนดก็คงจะคล้าย ๆ เหมือนกับ อีกหลายพระราชบัญญัติว่ากระบวนการอย่างไร คงไม่ได้หนีแตกต่างอะไรออกไป ซึ่งการมีคณะกรรมการมา กาหนดน่ าจะดีกว่าที่ ว่าให้ ค ณะกรรมการเปรียบเทียบไปท าเอง กรณี ข องทางธนาคารแห่ งประเทศไทยที่ คณะกรรมการเปรียบเทียบดูมี อานาจมาก ยังไม่เข้าใจประเด็นที่ทางชี้แจงว่าคณะกรรมการเปรียบเทียบจะ กลายเป็นแค่ไปรษณีย์ คือกรอบใหญ่ในการที่จะใช้อานาจต้องคณะกรรมการมาวางกรอบ แต่เวลาจะใช้อานาจ ต้องดูตามเหมาะสม คณะกรรมการบอร์ดใหญ่คงไม่มากาหนดว่าเป็นยี่ต๊อกเท่านั้นเท่านี้ คณะกรรมการเปรีย บเที ย บ ๕๕๓ บอกว่าต้อ งเปรียบเที ยบตามหลั กเกณฑ์ ที่คณะกรรมการกาหนด เพราะฉะนั้นคณะกรรมการต้องกาหนดหลักเกณฑ์ในการเปรียบเทียบปรับที่เรียกยี่ต๊อกในความผิด แต่ละเรื่อง มาก่ อ น ต้ อ งไปก าหนดมาก่ อ น คณะกรรมการเปรีย บเที ย บถึ งจะด าเนิ น การเปรีย บเที ยบปรับ ได้ พอมา เปรียบเทียบปรับแล้วเกิดกรณีที่เป็นความผิด ควรที่จะมีการผ่อนผันหรือว่าเพิ่มโทษ อย่างไรก็ทาไม่ได้เต็มที่ ต้องไปเสนอคณะกรรมการชุดใหญ่อีกทีให้เปลี่ยนหลักเกณฑ์ แต่ที่บอกว่าคณะกรรมการเปรียบเทียบ ๓ ท่าน อย่างที่ดูแลกฎหมาย ธปท. เป็นหลัก กฎหมายธุรกิจสถาบันการเงินไม่ต้องห่วงว่าเรื่องของความที่ไม่น่าเชื่อถือ หรืออะไรอย่างนี้ เพราะว่ามีทั้งตารวจ ทั้งผู้แทนของกระทรวงการคลัง ผู้แทนของธนาคารแห่งประเทศไทย หรือผู้แทนของ ก.ล.ต. เข้าร่วมกลุ่มอยู่ แล้วก็วิธีการเปรียบเทียบก็ต่างกัน เข้ า ใจในลั ก ษณะว่ า ๕๕๔ประการแรก คณะกรรมการกั บ คณะกรรมการเปรี ย บเที ย บปรั บ ก็ เป็ น องคาพยพของตามพระราชบัญญัตินี้ ส่วนธนาคารแห่งประเทศไทยก็มีกฎหมายของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ ไปว่าด้วยกระบวนการของกฎหมายตัวเอง แต่เฉพาะทวงหนี้เรื่องการเปรียบเทียบปรับ เป็นเรื่องของทางนี้ แต่ ธนาคารแห่งประเทศไทยอาจจะไปใช้อานาจของตนเองไปกากับ อาจจะกระทาความผิดอันเดียวอาจจะโดนทั้ง พ.ร.บ. ทวงหนี้ด้วย โดนทั้งข้อบังคับของธนาคารแห่งประเทศไทยด้วย ดูบริบทอันนั้นให้สอดรับกับทางนี้ ไม่ ต้องเป็นห่วงคณะกรรมการ หรือว่าเปรียบเทียบปรับ คณะนี้ไปดาเนินการอย่างไร คิดว่าคงมีมาตรการ แต่คราว นี้ต้องไปดูบริบทของธนาคารแห่งประเทศไทยว่าสาหรับ Case อย่างนี้จะต้องไปออกกฎระเบียบใหม่ให้มาสอด รับกับพระราชบัญญัติฉบับนี้หรือเปล่าอย่างไร

บทเฉพาะกาล มาตรา ๔๖ บุค คลใดประกอบธุ รกิจทวงถามหนี้หรือกิจการอื่น ในลักษณะทานองเดียวกัน ตาม พระราชบัญญัตินี้อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หากประสงค์จะประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ต่อไป ให้ยื่นคาขอจดทะเบียนตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง หรือตามมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง แล้วแต่กรณี ภายใน เก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ในระหว่างการยื่นคาขอจดทะเบีย นตามวรรคหนึ่ง ให้บุคคลนั้นประกอบธุรกิจดังกล่าวต่อไปได้ จนกว่าจะได้รับแจ้งการไม่รับจดทะเบียนจากนายทะเบียน

๕๕๒ ๕๕๓ ๕๕๔

มาตรา ๔๕ ข้อสังเกต ๘ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕ มาตรา ๔๕ ข้อสังเกต ๙ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๕๔๗ มาตรา ๔๕ ข้อสังเกต ๑๐ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๕๓


๑๖๙

คาอธิบาย ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้อยู่ก่อนพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ หากประสงค์ต้องประกอบธุรกิจ ต่อไป ให้ยื่นคาขอจดทะเบียนต่อนายทะเบียนหรือในกรณีเป็ นทนายความหรือสานักงานทนายความให้ยื่นคา ขอต่อคณะกรรมการสภาทนายความภายใน ๙๐ วันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

ข้อสังเกต กาหนดให้บุคคลที่ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับให้ยื่นขอ จดทะเบียนภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ๕๕๕ เนื่องจากเห็นว่ากฎหมายฉบับนี้เป็นกฎหมายที่สาคัญและควรจะมีผลใช้บังคับทันทีเมื่อกฎหมายฉบับนี้ มีผลใช้บังคับ เพราะฉะนั้นจึงมีบทเฉพาะกาลว่า ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ที่ดาเนินการอยู่ก็ให้ระยะเวลาใน การที่จะมาจดทะเบียนภายใน ๙๐ วัน๕๕๖ มี ข้อสั งเกตจากคณะอนุ กรรมาธิการที่ไปรับฟั งความคิดเห็ น ๕๕๗จากสถาบัน การเงินและก็ Non – bank พวกบริ ษั ท Finance ต่ าง ๆ ให้ เห็ น ว่าไม่ ได้ มี บั ญ ชี ห รือ ว่ าแจ้งบุ ค คลที่ ให้ ท วงถามหนี้ บุ ค คลอื่ น ไว้ ธนาคารต่างๆ ต้องใช้เวลาในการปรับเปลี่ยนพอสมควร ถ้าเกิดกาหนดระยะเวลาน่าจะยกเว้นกรณีที่ว่าทวงถาม หนี้บุคคลอื่นให้มีเวลาปรับข้อมูล ข่าวสารกับบรรดาลูกหนี้บ้างสะท้อนจากอนุกรรมาธิการที่ฟังจากบรรดาผู้ให้ สินเชื่อ ความเห็นต้องการขยายเวลา ๙๐ วันออกไปเฉพาะ Case๕๕๘ คือมี ๒ จังหวะ๕๕๙จังหวะแรก คือก่อนออกจดหมาย พอออกแล้วจะใช้บังคับคือ ๑๘๐ วันนับจากที่ ประกาศมีผล พอมีผลแล้ว มาตรานี้ถึงจะเดินอีก ๙๐ วัน ขอให้ข้อมูลเพิ่มเติมประกอบการพิจารณาว่า Concern๕๖๐ของสถาบันการเงินบอกว่า ณ ปัจจุบันไม่มี ข้อมูลของบุคคลที่จะให้ทวงได้ เพราะว่าตามใบสมัครหรือว่าตามสิ่งที่ลูกหนี้แจ้งเอาไว้ โดยส่วนใหญ่จะเป็น บุคคลอ้างอิงเท่านั้น ซึ่งอาจจะเป็นเจตนารมณ์ในการที่จะให้ทาในเรื่องอื่น ๆ ได้ แต่ในกรณีเฉพาะของการทวง ถามหนี้ยังไม่ได้มีการเหมือนกับเก็บรวบรวมข้อมูลจากลูกหนี้ได้ เพราะฉะนั้นสิ่งที่อยากที่จะให้ผ่อนผันก็คือว่า ข้อที่ ๑ กฎหมายฉบับนี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วแล้วบังคับใช้แล้วน่าจะบังคับใช้ กับสัญญาของลูกหนี้รายใหม่เป็นต้นไป แต่ถ้าลูกหนี้รายเก่าก็จะมีข้อจากัดในลักษณะที่ว่านาน ๆ ทีลูกหนี้อาจจะมาติดต่อทีหนึ่ง ก็จะมีโอกาสที่จะ ข้อจากัดในแง่ที่ว่าอาจจะเก็บไม่ได้ ทุกคนด้วยซ้าในเวลาอันจากัด ข้อ ๒. ลูกหนี้บางรายไม่ได้เป็นหนี้ที่จะต้อง ทวง ฉะนั้น อาจจะเป็นลูกหนี้ที่ดีแล้วไม่ จาเป็นต้องทวง แต่ถ้าสมมุติว่าวันหนึ่งมาเป็นหนี้แล้วอย่างเช่นกรณี บัตรเครดิต ถ้าคนใช้บัตรจ่ายเต็มก็จะไม่ถือว่าเป็นหนี้ก็จะไม่มีการทวง เพราะฉะนั้น Case นี้ ต้องถามข้อมูล เพิ่มเติมเพื่อจะให้เป็นบุคคลอีกได้หรือไม่ หรือบาง Case ก็ไม่เกิดเลย หรือบาง Case อาจจะเกิดในอนาคต คือ มีปั ญหาในเชิงปฏิบัติเหมือนกัน ก็เลยจะขอให้มีการผ่อนผันให้มีการใช้กับสัญญาใหม่ แต่สัญญาเก่าหรือว่า ลูกหนี้รายเก่าก็อาจจะทาในลักษณะเป็นเบสแอพพอร์ทที่จะทาได้ดีที่สุด

๕๕๕ ๕๕๖ ๕๕๗ ๕๕๘ ๕๕๙ ๕๖๐

มาตรา ๔๖ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๗ มาตรา ๔๖ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕ มาตรา ๔๖ ข้อสังเกต ๓ นายธานี อ่อนละเอียด เลขานุการคณะกรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มาตรา ๔๖ ข้อสังเกต ๔ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๑๙ มาตรา ๔๖ ข้อสังเกต ๕ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙๙ มาตรา ๔๖ ข้อสังเกต ๖ นางธัญทิพย์ สรรพโชติวัฒน์ ผู้แทนจากธนาคารแห่งประเทศไทย กรรมาธิการ รายงานการประชุมคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. .... สภานิติบัญญัติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันจันทร์ที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗


๑๗๐ กระบวนการว่ากับสัญญาที่เกิดขึ้นก่อน๕๖๑ จะมีปัญหาปฏิบัติในตรงนี้อย่างไร ถึงแม้ลูกหนี้จะไม่ได้ระบุ ผู้ถูกถามหนี้ หรือบุคคลอื่นที่จะติดต่อ ทวงถามหนี้ก็ทวงได้เฉพาะลูกหนี้ แล้วมีกระบวนการที่เขาเข้ามาติดต่อก็ ถามเขาเพิ่มเติม ก็ให้ระบุผู้ทวงถามหนี้ว่าบุคคลอื่นใดได้บ้าง เพาะฉะนั้นก็จะทาไม่ได้ คิดว่าไม่น่าจะเกิดปัญหา ก็ทวงได้เฉพาะลูกหนี้ แต่ติดต่อบุคคลอื่นก็ได้เฉพาะเรื่องที่อยู่เท่านั้น คิดว่าไม่ต้องไปเขียนยกเว้นให้ มาตรา ๔๗ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ในวาระเริ่ ม แรกที่ ยั ง ไม่ มี ก ารแต่ ง ตั้ ง กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ต ามมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ ง ให้ คณะกรรมการ ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวง มหาดไทย เป็นรองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง ปลัดกระทรวงการคลัง เป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง ปลัด กระทรวงกลาโหม ปลั ด กระทรวงพาณิ ช ย์ ปลัด กระทรวงยุติ ธ รรม ผู้ บั ญ ชาการต ารวจแห่ งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ผู้อานวยการสานักงาน เศรษฐกิจการคลัง เลขาธิการคณ ะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยและ นายกสภาทนายความ เป็นกรรมการ ให้อธิ บดี กรมการปกครองเป็น กรรมการและเลขานุการ และให้อธิบดีกรมการปกครองแต่งตั้ง ข้าราชการของกรมการปกครองสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ ทั้งนี้ เพื่อดาเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางก่อน

คาอธิบาย ให้ รั ฐ มนตรี ก ระทรวงมหาดไทยแต่ ง ตั้ ง กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ภ ายใน ๓๐ วั น นั บ แต่ วั น ที่ พระราชบัญญัติใช้บังคับ

ข้อสังเกต ผู้ที่จะต้องกากับดูแลกฎหมายฉบับนี้คือคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ เพราะฉะนั้นในระหว่างที่ ยังไม่มีการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ ที่จะดาเนิน การตามกฎหมายฉบับนี้ก็ให้คณะกรรมการดาเนินการไปได้ตาม มาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง ทั้งนี้ได้บัญญัติไว้ว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒินั้นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจะต้อง ดาเนินการแต่งตั้งให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน จึงเป็นเจตนาที่จะให้กฎหมายฉบับนี้มีผลใช้บังคับทันที แล้วก็ ผู้เกี่ยวข้องให้เร่งดาเนินการเพื่อให้การบังคับใช้บทบัญญัติของกฎหมายฉบับนี้๕๖๒ ประเด็นพ.ร.บ. ฉบับนี้ประกาศรัฐมนตรีก็รู้แล้วว่าต้องเตรียมทาอะไร๕๖๓ระหว่างก่อนที่จะครบ ๑๘๐ วัน ก็รีบดาเนินการสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิ แล้วรีบแต่งตั้ง ว่า ๓๐ วันน่าจะทัน เฉพาะเรื่องการแต่งตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ กระบวนการในการแต่งตั้งเริ่มจะใช้อานาจได้ นับตั้งแต่ครบ ๑๘๐ วันที่จะสั่งการ ทาอะไรต่าง ๆ เตรียมเรื่องอะไรมาต่าง ๆ มีเวลา ๑๘๐ วัน ที่จะสรรหาคนว่าคนไหนเหมาะสม เรื่องกฎเกณฑ์ก็คงต้องใช้เวลา พอสมควร ซึ่งขึ้นอยู่ทางผู้แทนสานักงานเศรษฐกิจการคลัง แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเห็นด้วย เพราะ ๑๘๐ วัน มี เวลาพอสมควร แล้วบวกอีก ๓๐ วันก็น่าจะพอ -------------------------------๕๖๑ ๕๖๒ ๕๖๓

มาตรา ๔๖ ข้อสังเกต ๗ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๔๙๘ มาตรา ๔๗ ข้อสังเกต ๑ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๓๕ มาตรา ๔๗ ข้อสังเกต ๒ อ้างแล้วเชิงอรรถที่ ๑๑๕


๑๗๑

สรุปประเด็นพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘๕๖๔ (มีผลใช้บังคับวันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘) หลักการและเหตุผล โดยที่การทวงถามหนี้ในปัจจุบันมีการกระทาที่ไม่เหมาะสมต่อลูกหนี้ ไม่ว่าจะเป็นการใช้ถ้อยคาที่เป็น การละเมิดสิ ทธิ ส่ว นบุ คคลอย่ างรุน แรง การคุกคามโดยขู่เข็ญ การใช้กาลั งประทุษร้าย หรือการท าให้ เสี ย ชื่อเสียง รวมถึงการให้ข้อมูลเท็จ และการสร้างความเดือดร้อนราคาญให้แก่บุคคลอื่น ประกอบกับปัจจุบันยังไม่ มีกฎหมายที่กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการทวงถามหนี้ และการควบคุมการทวงถามหนี้ไว้เป็น การเฉพาะ นิยามความหมาย (มาตรา ๓) “ผู้ทวงถามหนี้” หมายความว่า เจ้าหนี้ซึ่งเป็นผู้ให้สินเชื่อ ผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วยการ คุ้มครองผู้บริโภค ผู้จัดให้มีการเล่นการพนันเป็นปกติธุระตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน และเจ้าหนี้อื่นซึ่งมีสิทธิ รับชาระหนี้อันเกิดจากการกระทาที่เป็นทางการค้าปกติ หรือเป็นปกติธุระของเจ้าหนี้ ทั้งนี้ ไม่ว่าหนี้ดังกล่าวจะ ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ก็ตาม และให้ ห มายความรวมถึง ผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ดังกล่ าว ผู้ รับมอบ อานาจช่วงในการทวงถามหนี้ ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ และผู้รับมอบอานาจจากผู้ประกอบธุรกิจทวงถาม หนี้ด้วย “ผู้ให้สินเชื่อ” หมายความว่า (๑) บุคคลซึ่งให้สินเชื่อเป็นทางการค้าปกติ หรือ (๒) บุคคลซึ่งรับซื้อหรือรับโอนสินเชื่อต่อไปทุกทอด “สินเชื่อ” หมายความว่า สินเชื่อที่ให้แก่บุคคลธรรมดาโดยการให้กู้ยืมเงิน การให้บริการบัตรเครดิต การให้เช่าซื้อ การให้เช่าแบบลิสซิ่ง และสินเชื่อในรูปแบบอื่นที่มีลักษณะทานองเดียวกัน “ลูกหนี้” หมายความว่า ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา และให้หมายความรวมถึง ผู้ค้าประกันซึ่งเป็น บุคคลธรรมดาด้วย “ธุรกิจทวงถามหนี้” หมายความว่า การรับจ้างทวงถามหนี้ไม่ว่าโดยตรง หรื อโดยอ้อมเป็นปกติธุระ แต่ไม่รวมถึงการทวงถามหนี้ของทนายความซึ่งกระทาแทนลูกความของตน “ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้ ” หมายความว่า ที่อยู่อาศัยหรือสถานที่ทางานของลูกหนี้ และ ให้หมายความรวมถึง หมายเลขโทรศัพท์และโทรสาร และสถานที่ติดต่อโดยจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ หรือโดยสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอื่น ที่สามารถติดต่อกับลูกหนี้ได้ด้วย “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ “นายทะเบียน” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งให้เป็นผู้มีหน้าที่รับจด ทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้ “พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ” หมายความว่ า ผู้ ซึ่ งรัฐ มนตรี ว่ าการกระทรวงมหาดไทยแต่ งตั้ งตามการ เสนอแนะของคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

๕๖๔

สรุปพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ จากประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนที่ ๑๖ ก/หน้า ๑/๖ มีนาคม ๒๕๕๘


๑๗๒ ผู้ รั ก ษาการตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงการคลั ง และรั ฐ มนตรี ว่ า การ กระทรวงมหาดไทย (มาตรา ๔) การจดทะเบียนการประกอบุรกิจทวงถามหนี้ : การทวงถามหนี้ หมวด ๑ (มาตรา ๕-๑๔) การประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ต้องจดทะเบียนต่อนายทะเบียน ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ กาหนด หากการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ เป็นทนายความหรือสานักงานทนายความ ให้จดทะเบียนต่อนาย ทะเบียนสภาทนายความ และให้คณะกรรมการสภาทนายความมีอานาจสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนได้ และมี อานาจวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งไม่รับจดทะเบียน รวมทั้งมีอานาจออกข้อบังคับในส่วนที่เกี่ยวข้องได้เท่าที่ไม่ขัด หรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการสภาทนายความและสภานายกพิเศษรายงานการดาเนินการเพื่อทราบเป็นประจาทุก ๓ เดือนต่อคณะกรรมการ ข้อห้ามในการทวงถามหนี้ : กรณีการติดต่อกับบุคคลอื่น (มาตรา ๘) (๑) ห้ามผู้ทวงถามหนี้กับบุคคลอื่น เว้นแต่บุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้ (๒) การติดต่อกับบุคคลอื่นให้กระทาได้เพื่อการสอบถามหรือยืนยันสถานที่ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลที่ ลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้เท่านั้น ข้อควรปฎิบัติในการสอบถามจากบุคคลอื่น (มาตรา ๘ วรรคสอง) (๑) แจ้งชื่อและนามสกุลจริง เพื่อแสดงเจตนาว่าต้องการสอบถามข้อมูล (๒) ห้ ามแจ้ งถึ งความเป็ น หนี้ ข องลู ก หนี้ เว้ น แต่ ก รณี บุ ค คลอื่ น นั้ น เป็ น สามี ภริ ย า บุ พ การี หรื อ ผู้สืบสันดาน (๓) การจ่าหน้าซองจดหมายไม่ควรใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวง ถามหนี้ ทาให้เข้าใจว่าเป็นจดหมายทวงหนี้ (๔) ห้ามติดต่อหรือแสดงตนที่ทาให้เข้าใจผิ ดเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลที่ ลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ ข้อควรปฏิบัติในการทวงถามหนี้ (มาตรา ๙) (๑) สถานที่ติดต่อ ให้ติดต่อตามสถานที่ที่ลูกหนี้แจ้งไว้ (๒) เวลาในการติดต่อทางการสื่อสาร ในวันจันทร์ -วันศุกร์ เวลา ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. วันหยุดราชการ เวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น. (๓) จานวนครั้งที่ติดต่อให้เหมาะสม (๔) ผู้รับมอบอานาจ ผู้รับมอบอานาจช่วง ให้แจ้งชื่อนามสกุล หน่วยงานและจานวนหนี้ และแสดง หนังสือมอบอานาจให้ทวงถาม กรณีผู้ทวงถามหนี้ขอรับชาระหนี้ (มาตรา ๑๐) (๕) ต้องแสดงหลักฐานการรั บมอบอานาจจากเจ้าหนี้ต่อลูกหนี้ หรือบุคคลที่ลูกหนี้ระบุไว้ และเมื่อ ลูกหนี้ชาระหนี้แล้ว ให้ผู้ทวงถามหนี้ออกหลักฐานการชาระหนี้แก่ลูกหนี้ (มาตรา ๑๐)


๑๗๓ ข้อห้ามการทวงถามหนี้ในลักษณะขาดคุณธรรมและจริยธรรม (มาตรา ๑๑) (๑) ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ทาให้เกิดความเสียหายแก่ร่างกาย ชื่อเสียง ทรัพย์สินของลูกหนี้หรือผู้อื่น (๒) ใช้วาจาภาษาที่เป็นการดูหมิ่นลูกหนี้หรือผู้อื่น (๓) แจ้งหรือเปิดเผยความเป็นหนี้ให้แก่ผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๔) ติดต่อลูกหนี้โดยไปรษณียบัตร เอกสารเปิดผนึก โทรสาร หรือสิ่งอื่นใดที่สื่อให้ ทราบว่าเป็นการ ทวงถามหนี้อย่างชัดเจน เว้นแต่กรณีการบอกกล่าวบังคับจานองด้วยวิธีการประกาศหนังสือพิมพ์ ซึ่งเจ้าหนี้ไม่ สามารถติดต่อลูกหนี้โดยวิธีการอื่น (๕) การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมายใน การติดต่อลูกหนี้ที่ทาให้เข้าใจได้ว่าเพื่อการทวงถามหนี้ (๖) การทวงถามหนี้ที่ไม่เหมาะสมในลักษณะอื่น ข้อห้ามผู้ทวงถามหนี้ในลักษณะที่เป็นเท็จ (มาตรา ๑๒) (๑) การแสดง การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือเครื่องแบบที่ทาให้เข้าใจว่าเป็นการกระทา ของศาล เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ (๒) การแสดง ข้ อ ความท าให้ เชื่ อ ว่ า การทวงถามหนี้ เป็ น การกระท าโดยทนายความส านั ก งาน ทนายความ หรือสานักงานกฎหมาย (๓) การแสดง ข้อความทาให้เชื่อว่าจะถูกดาเนินคดี หรือจะถูกยึด อายัดทรัพย์ เงินเดือน (๔) การติดต่อ การแสดงตนให้เชื่อว่าผู้ทวงถามหนี้ดาเนินการให้แก่บริษัทข้อมูลเครดิต ข้อห้ามผู้ทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เป็นธรรม (มาตรา ๑๓) (๑) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่ายใด ๆ เกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการประกาศกาหนด (๒) การเสนอ จูงใจให้ออกเช็ค ทั้งที่รู้ว่าลูกหนี้ไม่สามารถชาระหนี้ได้ ข้อห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐ (มาตรา ๑๔) (๑) ห้ามประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๒) ห้ า มทวงถามหนี้ สนั บ สนุ น การทวงถามหนี้ เว้ น แต่ เป็ น หนี้ ข องสามี ภริ ย า บุ พ การี หรื อ ผู้สืบสันดานของตน หรือกรณีมีอานาจกระทาได้ตามกฎหมาย การก ากั บ ดู แ ลและตรวจสอบ หมวด ๒ (มาตรา ๑๕-๓๓) คณะกรรมการก ากั บ การทวงถาม หนี้ ประกอบด้วย (มาตรา ๑๕) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงมหาดไทย รองประธานกรรมการคนที่ ๑ ปลัดกระทรวงการคลัง รองประธานกรรมการคนที่ ๒ ปลัดกระทรวงกลาโหม กรรมการ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ กรรมการ ปลัดกระทรวงยุติธรรม กรรมการ ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ


๑๗๔ เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค กรรมการ ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กรรมการ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย กรรมการ นายกสภาทนายความ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนไม่เกิน ๕ คน กรรมการ อธิบดีกรมการปกครอง กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการแต่งตั้งข้าราชการของกรมการปกครอง ๒ คน ผู้ช่วยเลขานุการ คุณสมบัติกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ : มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ในด้านการเงินการธนาคาร ด้านกฎหมาย ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ด้ านละ ๑ คน วาระคราวละ ๓ ปี จะอยู่ในตาแหน่งติดต่อกันเกิน ๒ วาระไม่ได้ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้แต่งตั้งจากผู้แทนองค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้านการ คุ้มครองผู้บริโภค (มาตรา ๑๕ วรรคสาม) การกากับดูแลการทวงถามหนี้เป็นอานาจหน้าที่คณะกรรมการการกากับทวงถามหนี้ (มาตรา ๑๖) (๑) ออกประกาศ คาสั่ง (๒) ออกข้อบังคับ กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องเรียน ดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัดและกรุงเทพมหานคร (๓) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งให้ชาระค่าปรับทางปกครอง คาสั่งเพิ กถอนการจดทะเบียนการ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๔) กาหนดหลักเกณฑ์ การเปรียบเทียบ ระยะเวลาการชาระค่าปรับ (๕) เสนอแนะ ให้คาแนะนาแก่รัฐมนตรีในการปฏิบัติ หรือเสนอแนะคณะรัฐมนตรีและรัฐมนตรีเพื่อ พิจารณาสั่งการกรณีมีปัญหา หรืออุปสรรคประสานงานในการดาเนินการตามอานาจหน้าที่บุคคลที่เกี่ยวข้อง (๖) เสนอแนะคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี เกี่ยวกับมาตรการในการคุ้มครอง ช่วยเหลือลูกหนี้ (๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่มีกฎหมายกาหนด หรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีสัญชาติไทย และไม่มีคุณสมบัติในลักษณะต้องห้าม (มาตรา ๑๗) (๑) เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๒) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก (๓) เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่กระทาโดย ประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๔) เป็นผู้อยู่ระหว่างถูกสั่งให้พักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน (๕) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะกระทา ผิดวินัย หรือเคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากหน่วยงานของเอกชนเพราะทุจริตต่อหน้าที่หรือประพฤติ ชั่วอย่างร้ายแรง (๖) เป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอานาจในการจัดการของผู้ให้สินเชื่อ หรือเป็นผู้ให้สินเชื่อ หรือมี ผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม


๑๗๕ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากวาระ (มาตรา ๑๘) (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้ออกเพราะบกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่มีความประพฤติ เสื่อมเสีย หรือหย่อนความสามารถ (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม กรณีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ (มาตรา ๑๙)

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ พ้นจากตาแหน่งก่อนวาระได้รบั แต่งตั้งให้ ดารงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยูข่ องผูซ้ ึ่งตนแทน การประชุมของคณะกรรมการ: องค์ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนคณะกรรมการทั้งหมด ประธานกรรมการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการทาหน้าที่แทนตามลาดับ การวินิจฉัยชี้ขาดให้ ถือเสียงข้างมาก (มาตรา ๒๐) คณะกรรมการมีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ (มาตรา ๒๑) การแต่ ง ตั้ ง คณะอนุ ก รรมการการก ากั บ ดู แ ลการทวงถามหนี้ ข องผู้ ใ ห้ สิ น เชื่ อ เป็ น นิ ติ บุ ค คล ประกอบด้วย (มาตรา ๒๒) ผู้แทนกระทรวงการคลัง อนุกรรมการ ผู้แทนธนาคารแห่งประเทศไทย อนุกรรมการ ผู้แทนสมาคมธนาคารไทย อนุกรรมการ ข้าราชการของสานักงานเศรษฐกิจการคลัง อนุกรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ จานวน ๒ คน กรณีลูกหนี้หรือบุคคลอื่นได้รับการปฏิบัติจากผู้ทวงถามหนี้ที่เป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติ มีสิทธิ ร้องเรียนต่อคณะกรรมการ (มาตรา ๒๓) อานาจสั่งการของคณะกรรมการ : สั่งให้บุคคลหนึ่งบุคคลใด มาให้ข้อเท็จจริง ส่งเอกสาร หลักฐาน การทวงถามหนี้เพื่อประกอบการพิจารณา (มาตรา ๒๔) อานาจหน้าที่ของกรมการปกครอง (มาตรา ๒๕) (๑) รับเรื่องร้องเรียน (๒) ติดตาม สอดส่องพฤติการณ์ของผู้ทวงถามหนี้ กากับดูแลการปฏิบัติของผู้ประกอบธุรกิจ ทวงถาม หนี้ (๓) ประสานกับหน่วยงานของรัฐที่มีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแล ตรวจสอบผู้ทวงถามหนี้ บุคคลอื่น ที่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๔) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และอบรมวิธีการทวงถามหนี้ที่ถูกต้องและเหมาะสม (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการได้มอบหมาย


๑๗๖ อานาจหน้าที่สานักงานเศรษฐกิจการคลังเกี่ยวกับการทวงถามหนี้ของผู้ให้สินเชื่อซึ่งเป็นนิติบุคคล (มาตรา ๒๖) (๑) ติดตาม สอดส่องพฤติการณ์ของผู้ทวงถามหนี้ หรือกากับดูแลการปฏิบัติของผู้ประกอบธุรกิจทวง ถามหนี้ (๒) ประสานกับหน่วยงานของรัฐที่มีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแล ตรวจสอบผู้ทวงถามหนี้ บุคคลอื่น ใดที่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๓) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และอบรมวิธีการทวงถามหนี้ที่ถูกต้องและเหมาะสม (๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการได้รับมอบหมาย คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัดประกอบด้วย (มาตรา ๒๗) ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ อัยการจังหวัด กรรมการ ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกในพื้นที่ กรรมการ ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัด กรรมการ คลังจังหวัด กรรมการ ประธานสภาทนายความจังหวัด กรรมการ ผู้แทนองค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้านการคุ้มครองผู้บริโภค กรรมการ ปลัดจังหวัด กรรมการและเลขานุการ ข้าราชการของที่ทาการปกครองจังหวัด ๒ คน เป็นผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจากรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย (มาตรา ๒๗ วรรคสาม) ผู้บัญชาการตารวจนครบาล ประธานกรรมการ ผู้แทนกระทรวงการคลัง กรรมการ ผู้แทนกรมการปกครอง กรรมการ ผู้แทนสานักงานอัยการสูงสุด กรรมการ ผู้แทนมณฑลทหารบกที่ ๑๑ กรรมการ ผู้แทนสภาทนายความ กรรมการ ผู้แทนองค์กรพัฒนาภาคเอกชนในด้านการคุ้มครองผู้บริโภค กรรมการ ให้ผู้บังคับการสืบสวนสอบสวน กรรมการและเลขานุการ กองบัญชาการตารวจนครบาล กรรมการและเลขานุการ ข้าราชการตารวจของกองบัญชาการตารวจนครบาล ๒ คน เป็นผู้ช่วยเลขานุการ อานาจหน้าที่ภายในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบของคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด และกรุงเทพมหานคร (มาตรา ๒๘) (๑) พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องเรียน (๒) สั่งเพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๓) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง (๔) รายงานการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการทุก ๓ เดือน


๑๗๗ (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย อานาจหน้าที่ภายในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ (มาตรา ๒๙) ให้ ที่ ท าการปกครองจั ง หวั ด และกองบั ญ ชาการต ารวจนครบาลรั บ ผิ ด ชอบ งานธุ ร การของ คณะกรรมการก ากั บ การทวงถามหนี้ ป ระจ าจั ง หวั ด คณะกรรมการก ากั บ การทวงถามหนี้ ป ระจ า กรุงเทพมหานคร โดยมีอานาจหน้าที่ คือ (๑) เป็นสานักงานทะเบียนรับจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๒) รับเรื่องร้องเรียนการทวงถามหนี้เพื่อเสนอ คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด หรือประจากรุงเทพมหานคร (๓) ติดตาม สอดส่องพฤติการณ์ของผู้ทวงถามหนี้ หรือกากับดูแลการปฏิบัติของผู้ประกอบธุรกิจทวง ถามหนี้ (๔) ประสานกับหน่วยงานของรัฐในการกากับดูแล หรือตรวจสอบผู้ทวงถามหนี้ หรือบุคคลอื่นใดที่ เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๕) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ อบรมวิธีการทวงถามหนี้ที่ถูกต้องและเหมาะสม (๖) ปฏิบั ติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการ และคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด หรือประจากรุงเทพมหานคร สถานที่ร้องเรียนเกี่ยวกับการทวงถามหนี้ (มาตรา ๓๐) ที่ว่าการอาเภอและสถานีตารวจทั่วประเทศเป็นสถานที่รับเรื่อง รวมทั้งให้หัวหน้าหน่วยงานมีหน้าที่ รวบรวมข้อเท็จจริงและเอกสารเพื่อส่งต่อไปยังที่ทาการปกครองจังหวัด กองบัญชาการตารวจนครบาล กรณีนายทะเบียนมีคาสั่งไม่รับจดทะเบียนประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (มาตรา ๓๑) ให้ผู้ที่ยื่นขอจดทะเบียนมีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งไม่รับจดทะเบียนต่อรัฐมนตรีมหาดไทยภายใน ๖๐ วัน นับ แต่วันี่ได้รับแจ้งคาสั่ง รัฐมนตรีต้องวินิจฉัยให้เสร็ยภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ คาวินิจฉัยให้เป็นที่สุด การปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ (มาตรา ๓๒) พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจสั่ง ให้ผู้ทวงถามหนี้หรือกรรมการผู้จัดการ ผู้มีอานาจจัดการหรือพนักงาน ผู้ทวงถามหนี้ หรือในกรณีผู้ทวงถามหนี้เป็นนิติบุคคล มาให้ถ้อยคา แสดงข้อมูล หรือส่งสมุดบัญชี เอกสาร ดวง ตรา หรือสิ่งอื่นอันเกี่ยวกับกิจการสินทรัพย์ และหนี้สินของผู้ทวงถามหนี้ ฐานะของพนักงานเจ้าหน้าที่ (มาตรา ๓๓) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา บทกาหนดโทษ หมวด ๓ (มาตรา ๓๔-๔๕) โทษทางปกครอง ส่วนที่ ๑ (มาตรา ๓๔-๓๘) (๑) การติดต่อกับบุคคลอื่นหรือติดต่อกับลูกหนี้โดยไม่แสดงตน ติดต่อนอกเวลาที่กาหนด เรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมเกินอัตรา ผู้ที่ฝ่าฝืนจะมีปรับทางปกครองไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (มาตรา ๓๔ วรรคสอง)


๑๗๘ (๒) กรณีคานึงถึงความร้ายแรงแห่งพฤติกรรมที่กระทาผิด มีโทษปรับทางปกครองและหากไม่ชาระ ค่าปรับทางปกครอง ให้นาบทบัญญัติกฎหมายว่าด้วยวิธีปฎิ บัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับโดยอนุโลม (มาตรา ๓๕ วรรคหนึ่งและสอง) (๓) ไม่ มี เจ้ า หน้ า ที่ ด าเนิ น การบั งคั บ ตามค าสั่ ง หรือ ไม่ ส ามารถด าเนิ น การบั งคั บ ทางปกครองได้ คณะกรรมการมี อานาจฟ้ อ งคดีต่อ ศาลปกครองเพื่ อบั งคั บ ช าระค่ าปรับ และบั งคั บ ให้ มี การยึดหรืออายั ด ทรัพย์สินขายทอดตลาดเพื่อชาระค่าปรับ (มาตรา ๓๕ วรรคสอง) (๔) กรณี เป็ น นิ ติบุ คคลกระท าความผิ ดนั้น เกิดจากการสั่ งการและไม่สั่ งการ อันเป็น หน้าที่ที่ ต้อง กระทาของกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอานาจในการจัดการแทนนิติบุคคลนั้น ต้องรับโทษปรับทางปกครอง ตามที่บัญญัติไว้สาหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย (มาตรา ๓๖) อานาจสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ : คณะกรรมการกากับการทวง ถามหนี้ประจาจังหวัด และคณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจากรุงเทพมหานคร มีอานาจสั่งเพิกถอน (มาตรา ๓๗) (๑) เคยถูกลงโทษปรับทางปกครองและถูกลงโทษซ้าอีกจากการกระทาความผิดอย่างเดียวกัน (๒) กระทาการฝ่าฝืนบทบัญญัติที่มีโทษทางอาญาตามพระราชบัญญัตินี้ สิทธิของผู้ทวงถามหนี้ (มาตรา ๓๘) (๑) ผู้ทวงถามหนี้มีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งให้ชาระค่าปรับทางปกครอง ภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันได้รับแจ้ง คาสั่ง (๒) คณะกรรมการต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ ให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ คาวินิจฉัยให้ เป็นที่สุด โทษอาญา ส่วนที่ ๒ (มาตรา ๓๙-๔๕) (๑) ถ้าหากประกอบธุรกิจโดยไม่จดทะเบียน เปิดเผยความเป็นหนี้กับบุคคลอื่น ใช้วาจาดูหมิ่น จูงใจ ให้ลูกหนี้ออกเช็ค จาคุกไม่เกิน ๑ ปี ปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (มาตรา ๓๙) (๒) กรณีทาให้เชื่อว่าเป็นการกระทาของทนายความ ทาให้เข้าใจผิดว่าจะถูกดาเนินคดีจะถูกยึด ถูก อายัดทรัพย์หรือเงินเดือน จาคุกไม่เกิน ๓ ปี ปรับไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (มาตรา ๔๐) (๓) ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ใช้ข้อความเครื่องหมาย สัญลักษณ์ เครื่องแบบที่ทาให้เข้าใจว่าเป็นการ กระทาของศาลหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ จาคุกไม่เกิน ๕ ปี ปรับไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (มาตรา ๔๑) (๔) เจ้าหน้าที่ของรัฐประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ทวงถามหนี้หรือสนับสนุนที่ไม่ใช่หนี้ของตน จาคุกไม่ เกิน ๕ ปี ปรับไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (มาตรา ๔๒) (๕) บุคคลใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือขัดขวาง หรือไม่ปฏิบัติตาม คาสั่งในการบุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง และเอกสารหลักฐาน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน ๓ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (มาตรา ๔๓) (๖) กรณีเป็นนิติบุคคลกระทาความผิดนั้น อันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทาของกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มี อานาจในการจัดการแทนนิติบุคคลนั้น ต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สาหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย (มาตรา ๔๔)


๑๗๙ คณะกรรมการเปรียบเทียบ (มาตรา ๔๕) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้งจานวน ๓ คน โดยเป็นพนักงานสอบสวนตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๑ คน และเมื่อได้ทาการเปรียบเทียบแล้วผู้ต้องหาได้ชาระค่าปรับตามคา เปรียบเทียบภายในกาหนด และให้ถือว่าคดีนั้นเป็นอันยกเลิกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณความอาญา และ ให้แจ้งให้คณะกรรมการทราบโดยเร็ว บทเฉพาะกาล (มาตรา ๔๖-๔๗) ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้อยู่ก่อนพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ หากประสงค์ต้องประกอบธุรกิจ ต่อไป ให้ยื่นคาขอจดทะเบียนต่อนายทะเบียนหรือในกรณีเป็นทนายความหรือสานักงานทนายความให้ยื่นคา ขอต่อคณะกรรมการสภาทนายความ ภายใน ๙๐ วันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ รั ฐ มนตรี ก ระทรวงมหาดไทยแต่ ง ตั้ ง กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ภ ายใน ๓๐ วั น นั บ แต่ วั น ที่ พระราชบัญญัติใช้บังคับ --------------------------


๑๘๐ ใช้บังคับวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๘

พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ บททั่วไป (คานิยาม)

ผู้ทวงถามหนี้, ผู้ให้สินเชื่อ, สินเชื่อ, ลูกหนี้, ธุรกิจทวงถามหนี้, ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้, คณะกรรมการ, นายทะเบียน, พนักงานเจ้าหน้าที่, รัฐมนตรี

การทวงถามหนี้

การกากับดูแลและตรวจสอบ

บทกาหนดโทษ

บทเฉพาะกาล

(หมวดที่ ๑)

(หมวดที่ ๒)

(หมวดที่ ๓)

(มาตรา ๔๖-๔๗)

การประกอบธุรกิจทวงถามหนี้

คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ (มาตรา ๑๕)

โทษทางปกครอง

โทษอาญา

(ส่วนที่ ๑)

(ส่วนที่ ๒)

จดทะเบียน คณะกรรมการสภาทนายความ (มาตรา ๖)

นายทะเบียน (มาตรา ๕)

กรณีไม่รบั จดทะเบียน (มาตรา ๓๑)

การกากับดูแลของคณะกรรมการ กากับการทวงถามหนี้ (มาตรา ๑๖) คณะกรรมการกากับการ ทวงถามหนี้ประจาจังหวัด (มาตรา ๒๗)

- ผู้ที่ยื่นขอจดมีสทิ ธิอุทธรณ์คาสัง่ ไม่รบั ภายใน ๖๐ วัน - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยวินิจฉัยอุทธรณ์ ภายใน ๖๐ วัน และคาวินิจฉัยให้ถือเป็นทีส่ ุด

คณะกรรมการกากับการ ทวงถามหนี้กรุงเทพฯ (ม. ๒๗ วรรคสอง)

วิธีการทวงถามหนี้ วิธีปฏิบัติ  การสอบถาม จากบุคคลอื่น  ข้อควรปฏิบตั ิใน การทวงถามหนี้

กรมการปกครอง รับผิดชอบ งานธุรการ (มาตรา ๒๕)

ข้อห้าม  การทวงถามหนี้ กรณี การติดต่อกับบุคคลอืน่  การทวงถามหนี้ใน ลักษณะขาดคุณธรรม และจริยธรรม  การทวงถามหนี้ใน ลักษณะที่เป็นเท็จ  ลักษณะที่ไม่เป็นธรรม  ข้อห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐ

อานาจหน้าที่ คณะกรรมการ ทวงถามหนี้ ประจาจังหวัดและ กรุงเทพมหานคร (มาตรา ๒๘)

คณะอนุกรรมการ กากับการทวงถามหนี้ ของผู้ให้สินเชื่อที่เป็น นิติบุคคล (มาตรา ๒๒)

ที่ทาการปกครอง จังหวัดและกอง บัญชาการตารวจ นครบาลรับผิดชอบ งานธุรการ (มาตรา ๒๙)

สานักงานเศรษฐกิจ การคลังมีอานาจหน้าที่ ทวงถามหนี้ของผู้ให้ สินเชื่อซึ่งเป็นนิติบุคคล (มาตรา ๒๖)

๑) การติดต่อกับบุคคลอื่นหรือ ลูกหนี้โดยไม่แสดงตน ติดต่อ นอกเวลาที่กาหนด เรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมเกินอัตรา ฝ่าฝืน ปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (ม. ๓๔ วรรคสอง) ๒) กรณีคานึงถึงความร้ายแรงแห่ง พฤติกรรมที่กระทาผิด มีโทษ ปรับทางปกครอง ๓) ไม่มีเจ้าหน้าที่ดาเนินการบังคับ ตามคาสั่ง/ไม่สามารถ ดาเนินการบังคับทางปกครอง ได้ คณะกรรมการมีอานาจฟ้อง คดีต่อศาลปกครองเพื่อบังคับ ชาระค่าปรับ และบังคับให้มี การยึด/อายัดทรัพย์สินขาย ทอดตลาดเพื่อชาระค่าปรับ (ม. ๓๕ วรรคสอง) ๔) กรณีเป็นนิติบุคคลกระทา ความผิด ต้องรับโทษปรับทาง ปกครองในความผิดนั้นๆ (ม. ๓๖) เพิกถอนการจดทะเบียน ถูกลงโทษปรับทางปกครองและ ถูกลงโทษซ้า (ม.๓๗ (๑)) - กระทาฝ่าฝืนบทบัญญัติที่มีโทษ ทางอาญาตามพระราชบัญญัตินี้ (ม.๓๗ (๒)) -

 ข้อควรปฏิบัติในการสอบถามจากบุคคลอื่น (มาตรา ๘ วรรคสอง) (๑) แจ้งชื่อและนามสกุลจริง เพื่อแสดงเจตนาว่า ต้องการสอบถามข้อมูล (๒) ห้ามแจ้งถึงความเป็นหนี้ของลูกหนี้ เว้นแต่สามี ภริยา บุพการี หรือผู้สบื สันดาน (๓) การจ่าหน้าซองจดหมายไม่ควรใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ ทวงถามหนี้ ทาให้เข้าใจว่าเป็นจดหมายทวงหนี้ (๔) ห้ามติดต่อหรือแสดงตนที่ทาให้เข้าใจผิดเพื่อให้ ได้ข้อมูลมาในการทวงถามหนี้

 ข้อควรปฏิบัติในการทวงถามหนี้

(มาตรา ๙) (๑) สถานที่ติดต่อ ให้ติดต่อตามสถานที่ที่ลูกหนี้แจ้งไว้ (๒) เวลาในการติดต่อทางการสื่อสาร ในวันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. วันหยุดราชการ เวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น. (๓) จานวนครั้งที่ติดต่อให้เหมาะสม (๔) ผู้รับ มอบอ านาจ ผู้รับมอบอานาจช่วง ให้แจ้ง ชื่อนามสกุ ล หน่ วยงาน และจ านวนหนี้ และ แสดงหนังสือมอบอานาจให้ทวงถาม (๕) ให้ผู้ท วงถามหนี้ออกหลัก ฐานการชาระหนี้แก่ ลูกหนี้ (ม. ๑๐)

 ข้อห้ามในการทวงถามหนี้ : กรณีการติดต่อกับบุคคลอื่น (มาตรา ๘) (๑) ห้ามผู้ทวงถามหนี้กับบุคคลอื่น เว้นแต่บุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้ (๒) การติดต่อเพื่อการสอบถามหรือยืนยันสถานที่ติดต่อลูกหนี้เพื่อการทวงถามหนี้เท่านั้น

 ข้อห้ามการทวงถามหนี้ในลักษณะขาดคุณธรรมและจริยธรรม (มาตรา ๑๑)

(๑) ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ทาให้เกิดความเสียหายแก่ร่างกาย ชื่อเสียง ทรัพย์สินของลูกหนี้ หรือผู้อื่น (๒) ใช้วาจาภาษาที่เป็นการดูหมิ่นลูกหนี้หรือผู้อื่น (๓) แจ้งหรือเปิดเผยความเป็นหนี้ให้แก่ผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๔) ติดต่อลูกหนี้โดยไปรษณียบัตร เอกสารเปิดผนึก โทรสาร หรือสิ่งอื่นใดที่สื่อให้ทราบว่า เป็นการทวงถามหนี้อย่างชัดเจน เว้นแต่กรณีการบอกกล่าวบังคับจานองด้วยวิธีการ ประกาศหนังสือพิมพ์ ซึ่งเจ้าหนี้ไม่สามารถติดต่อลูกหนี้โดยวิธีการอื่น (๕) การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บ นซอง จดหมายในการติดต่อลูกหนี้ที่ทาให้เข้าใจได้ว่าเพื่อการทวงถามหนี้ (๖) การทวงถามหนี้ที่ไม่เหมาะสมในลักษณะอื่น

 ข้อห้ามผู้ทวงถามหนี้ในลักษณะที่เป็นเท็จ (มาตรา ๑๒)

(๑) การแสดง การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือเครื่องแบบที่ ทาให้เข้าใจว่า เป็นการกระทาของศาล เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ (๒) การแสดง ข้อ ความท าให้ เชื่ อ ว่าการทวงถามหนี้ เป็ น การกระท าโดยทนายความ สานักงานทนายความ หรือสานักงานกฎหมาย (๓) การแสดง ข้อความทาให้เชื่อว่าจะถูกดาเนินคดี หรือจะถูกยึด อายัดทรัพย์ เงินเดือน (๔) การติดต่อ การแสดงตนให้เชื่อว่าผู้ทวงถามหนี้ดาเนินการให้แก่บริษัทข้อมูลเครดิต

 ข้อห้ามผู้ทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เป็นธรรม (มาตรา ๑๓)

(๑) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่ายใด ๆ เกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการประกาศกาหนด (๒) การเสนอ จูงใจให้ออกเช็ค ทั้งที่รู้ว่าลูกหนี้ไม่สามารถชาระหนี้ได้

 ข้อห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐ (มาตรา ๑๔)

(๑) ห้ามประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๒) ห้ามทวงถามหนี้ สนับ สนุนการทวงถามหนี้ เว้นแต่เป็นหนี้ของสามี ภริยา บุพการี หรือผู้สืบสันดานของตน หรือกรณีมีอานาจกระทาได้ตามกฎหมาย

สิทธิของผู้ทวงถามหนี้ (มาตรา ๓๘) ๑) ผู้ทวงถามหนี้มีสิทธิอุทธรณ์ คาสั่งให้ชาระค่าปรับทาง ปกครองภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคาสั่ง ๒) คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ ภายใน ๖๐ วัน และ ให้ถือ คาวินิจฉัยเป็นที่สุด

ผู้ประกอบการธุรกิจ ทวงถามหนี้อยู่ก่อน กฎหมายมีผลใช้บังคับ ให้ยื่นคาขอจดทะเบียน ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใน ๙๐ วัน นับแต่ วันที่กฎหมายนี้ใช้บังคับ

๑) ถ้าหากประกอบธุรกิจโดยไม่จด ทะเบียน เปิดเผยความเป็นหนี้ กับบุคคลอื่น ใช้วาจาดูหมิ่น จูงใจให้ลูกหนี้ออกเช็ค จาคุก ไม่เกิน ๑ ปี ปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจา ทั้งปรับ (ม. ๓๙) ๒) กรณีทาให้เชื่อว่าเป็นการกระทา ของทนายความ ทาให้เข้าใจผิด ว่าจะถูกดาเนินคดี จะถูกยึด/ อายัดทรัพย์สิน/เงินเดือน จาคุก ไม่เกิน ๓ ปี ปรับไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้ง ปรับ (ม. ๔๐) ๓) ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ เครื่องแบบที่ทาให้เข้าใจว่าเป็น การกระทาของศาลหรือเจ้าหน้าที่ ของรัฐ จาคุกไม่เกิน ๕ ปี ปรับไม่ เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจา ทั้งปรับ (ม. ๔๑) ๔) เจ้าหน้าที่ของรัฐประกอบธุรกิจ ทวงถามหนี้ ทวงถามหนี้/ สนับสนุนที่ไม่ใช่หนี้ของตน จาคุกไม่เกิน ๕ ปี ปรับไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจา ทั้งปรับ (ม. ๔๒) ๕) บุคคลใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่ง ขัดขวาง ไม่มาให้ข้อเท็จจริง และเอกสารหลักฐาน จาคุกไม่ เกิน ๓ เดือน ปรับไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้ง ปรับ (ม. ๔๓) ๖) กรณีเป็นนิติบุคคลกระทา ความผิด ต้องรับโทษตาม ความผิดนั้นๆ (ม. ๔๔)

สถานที่รับเรื่องร้องเรียน (มาตรา ๓๐) - ที่ว่าการอาเภอ - สถานีตารวจทั่วประเทศ


๑๘๑ การทวงถามหนี้ตามกฎหมาย

เจ้าหนี้

ข้อควรปฏิบัติ ผู้ทวงถามหนี้ ๑) ผู้ประกอบธุรกิจ (ตาม กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค) ๒) ผู้จัดให้มีการเล่นการพนัน (ตามกฎหมายการพนัน) ๓) เจ้าหนี้อื่นจากการค้า/เป็น ปกติธุระ ทั้งนี้ ไม่ว่าหนี้นั้น จะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ๔) ผู้รับมอบอานาจ/มอบ อานาจช่วงจากเจ้าหนี้ ๕) ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ๖) ผู้รับมอบอานาจจากผู้ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้

ผู้ให้สินเชื่อ ๑) บุคคลซึ่งให้สินเชื่อเป็นทาง การค้าปกติ ๒) บุคคลซึ่งรับซื้อ/รับโอน สินเชื่อต่อไปทุกทอด

ลูกหนี้

วิธีการทวงถามหนี้

 ข้อควรปฏิบัติในการสอบถามจาก บุคคลอื่น (ม. ๘ วรรคสอง) (๑) แจ้งชื่อและนามสกุลจริง เพื่อแสดง เจตนาว่าต้องการสอบถามข้อมูล (๒) ห้ามแจ้งถึงความเป็นหนี้ของลูกหนี้ เว้นแต่สามี ภริยา บุพการี หรือ ผู้สืบสันดาน (๓) การจ่าหน้าซองจดหมายไม่ควรใช้ ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือ ชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้ ทาให้ เข้าใจว่าเป็นจดหมายทวงหนี้ (๔) ห้ามติดต่อหรือแสดงตนที่ทาให้เข้าใจ ผิดเพื่อให้ได้ข้อมูลมาในการทวงถามหนี้  ข้อควรปฏิบัติในการทวงถามหนี้ (ม. ๙) (๑) สถานที่ติดต่อ ให้ติดต่อตามสถานที่ที่ ลูกหนี้แจ้งไว้ (๒) เวลาในการติดต่อทางการสื่อสาร ในวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. วันหยุดราชการ เวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น.

(๓) จานวนครั้งที่ติดต่อให้เหมาะสม (๔) ผู้รับมอบอานาจ ผู้รับมอบอานาจช่วง ให้แจ้งชื่อนามสกุล หน่วยงาน และ จานวนหนี้ และแสดงหนังสือมอบ อานาจให้ทวงถาม (๕) ให้ผู้ทวงถามหนี้ออกหลักฐานการชาระ หนี้แก่ลูกหนี้ (ม. ๑๐)

ข้อห้าม

บุคคล ธรรมดา

บุคคลธรรมดา ผู้ค้าประกัน

ลูกหนี้/นิติบุคคล ตาม ปพพ. ฉบับ ๒๑ พ.ศ. ๒๕๕๘ ม. ๖๘๑/๑ วรรคสอง และ ม. ๗๒๗/๑ วรรคสอง นิติบุคคล ผู้ค้าประกัน

 ข้อห้ามในการทวงถามหนี้ : กรณีการติดต่อกับบุคคลอื่น (ม. ๘)

(๑) ห้ามผู้ทวงถามหนี้กับบุคคลอื่น เว้นแต่บุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้ (๒) การติดต่อเพื่อการสอบถามหรือยืนยันสถานที่ติดต่อลูกหนี้เพื่อการทวงถามหนี้เท่านั้น  ข้อห้ามการทวงถามหนี้ในลักษณะขาดคุณธรรมและจริยธรรม (ม. ๑๑) (๑) ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ทาให้เกิดความเสียหายแก่ร่างกาย ชื่อเสียง ทรัพย์สินของลูกหนี้หรือผู้อื่น (๒) ใช้วาจาภาษาที่เป็นการดูหมิ่นลูกหนี้หรือผู้อื่น (๓) แจ้งหรือเปิดเผยความเป็นหนี้ให้แก่ผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๔) ติดต่อลูกหนี้โดยไปรษณียบัตร เอกสารเปิดผนึก โทรสาร หรือสิ่งอื่นใดที่สื่อให้ทราบว่าเป็น การทวงถามหนี้อย่างชัดเจน เว้นแต่กรณีการบอกกล่าวบังคับจานองด้วยวิธีการประกาศ หนังสือพิมพ์ ซึ่งเจ้าหนี้ไม่สามารถติดต่อลูกหนี้โดยวิธีการอื่น (๕) การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมาย ในการติดต่อลูกหนี้ที่ทาให้เข้าใจได้ว่าเพื่อการทวงถามหนี้ (๖) การทวงถามหนี้ที่ไม่เหมาะสมในลักษณะอื่น  ข้อห้ามผู้ทวงถามหนี้ในลักษณะที่เป็นเท็จ (ม. ๑๒) (๑) การแสดง การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือเครื่องแบบที่ทาให้เข้าใจว่าเป็นการ กระทาของศาล เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ (๒) การแสดง ข้อความทาให้เชื่อว่าการทวงถามหนี้เป็นการกระทาโดยทนายความ สานักงาน ทนายความ หรือสานักงานกฎหมาย (๓) การแสดง ข้อความทาให้เชื่อว่าจะถูกดาเนินคดี หรือจะถูกยึด อายัดทรัพย์ เงินเดือน (๔) การติดต่อ การแสดงตนให้เชื่อว่าผู้ทวงถามหนี้ดาเนินการให้แก่บริษัทข้อมูลเครดิต  ข้อห้ามผู้ทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เป็นธรรม (ม. ๑๓) (๑) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่ายใด ๆ เกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการประกาศกาหนด (๒) การเสนอ จูงใจให้ออกเช็ค ทั้งที่รู้ว่าลูกหนี้ไม่สามารถชาระหนี้ได้  ข้อห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ม. ๑๔) (๑) ห้ามประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๒) ห้ามทวงถามหนี้ สนับสนุนการทวงถามหนี้ เว้นแต่เป็นหนี้ของสามี ภริยา บุพการี หรือ ผู้สืบสันดานของตน หรือกรณีมีอานาจกระทาได้ตามกฎหมาย

นิติบุคคล

บทกาหนดโทษ

โทษทางปกครอง

๑) การติดต่อกับบุคคลอื่นหรือลูกหนี้โดยไม่แสดงตน ติดต่อนอกเวลาทีก่ าหนด เรียกเก็บค่าธรรมเนียม เกินอัตรา ฝ่าฝืน ปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (ม. ๓๔ วรรคสอง) ๒) กรณีคานึงถึงความร้ายแรงแห่งพฤติกรรมที่ กระทาผิด มีโทษปรับทางปกครอง ๓) ไม่มีเจ้าหน้าที่ดาเนินการบังคับตามคาสั่ง/ไม่ สามารถดาเนินการบังคับทางปกครองได้ คณะกรรมการมีอานาจฟ้องคดีตอ่ ศาลปกครอง เพื่อบังคับชาระค่าปรับ และบังคับให้มกี ารยึด/ อายัดทรัพย์สนิ ขายทอดตลาดเพื่อชาระค่าปรับ (ม. ๓๕ วรรคสอง) ๔) กรณีเป็นนิติบุคคลกระทาความผิด ต้องรับโทษ ปรับทางปกครองในความผิดนั้น ๆ (ม. ๓๖) ๕) คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจา จังหวัดหรือกรุงเทพมหานคร มีอานาจสั่งเพิก ถอนการจดทะเบียนได้เมื่อ - เคยถูกลงโทษปรับทางปกครองและถูกลงโทษซ้า จากการทาความผิดอย่างเดียวกัน (ม. ๓๗ (๑)) - กระทาฝ่าฝืนบทบัญญัติที่มโี ทษทางอาญาตาม พรบ. นี้ (ม. ๓๗ (๒)) ๖) ผู้ทวงถามหนี้มีสทิ ธิอุทธรณ์คาสั่งให้ชาระค่าปรับ ทางปกครองภายใน ๖๐ วัน นับแต่วนั ได้รับแจ้ง คาสั่ง คณะกรรมการวินจิ ฉัยอุทธรณ์ภายใน ๖๐ วัน และ ให้ถือคาวินจิ ฉัยเป็นที่สุด (ม. ๓๘)

โทษอาญา ๑) ถ้าหากประกอบธุรกิจโดยไม่จดทะเบียน เปิดเผยความเป็นหนีก้ ับบุคคลอื่น ใช้วาจา ดูหมิ่น จูงใจให้ลูกหนีอ้ อกเช็ค จาคุกไม่เกิน ๑ ปี ปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจา ทั้งปรับ (ม. ๓๙) ๒) กรณีทาให้เชื่อว่าเป็นการกระทาของทนายความ ทาให้เข้าใจผิดว่าจะถูกดาเนินคดี จะถูกยึด/ อายัดทรัพย์สนิ /เงินเดือน จาคุกไม่เกิน ๓ ปี ปรับไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (ม. ๔๐) ๓) ข่มขู่ ใช้ความรุนแรง ใช้ขอ้ ความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ เครือ่ งแบบทีท่ าให้เข้าใจว่าเป็น การกระทาของศาล/เจ้าหน้าที่ของรัฐ จาคุก ไม่เกิน ๕ ปี ปรับไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทัง้ ปรับ (ม. ๔๑) ๔) เจ้าหน้าที่ของรัฐประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ทวงถามหนี้/สนับสนุนที่ไม่ใช่หนี้ของตน จาคุกไม่เกิน ๕ ปี ปรับไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (ม. ๔๒) ๕) บุคคลใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่ง ขัดขวาง ไม่มาให้ ข้อเท็จจริงและเอกสารหลักฐาน จาคุกไม่เกิน ๓ เดือน ปรับไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรือทัง้ จาทั้งปรับ (ม. ๔๓) ๖) กรณีเป็นนิติบุคคลกระทาความผิด ต้องรับ โทษตามความผิดนั้น ๆ (ม. ๔๔)

บจก. เดชอุดม แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จากัด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.