ข่าวสภาทนายความ ฉบับประจำเดือนกรกฎาคม 2558

Page 1

ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2558


2

ข่าวสภาทนายความ ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2558

“แม้เราท่านยืน่ อยูส่ งู สุดบนยอดของขุนเขา เราท่านก็ยงั ยืนอยูต่ �่ำ กว่าฟ้า” มุมมองของบุคคลแต่ละคนก็ตา่ งกันแม้ปกติผคู้ นและสรรพสิง่ อืน่ ทีม่ ชี วี ติ ต่างมีภาวะ วิสัยที่ต้องเดินไปข้างหน้าเสมอ แต่บางครั้งที่เราท่านต้องเดินถอยหลังบ้างหากจำ�เป็นเพื่อการคงอยู่ของชีวิตตนและหมู่มิตร การบริหารสภาทนายความ เพือ่ พีน่ อ้ งทนายความทีต่ า่ งคนต่างมีความคิดและเห็นในมุมมองทีเ่ ป็นของตนอาจมีเหมือนและต่างกันไปบ้างก็เพือ่ การพัฒนาและ ปกป้องวิชาชีพทนายความของพวกเราให้คงอยู่ด้วยศักดิ์ศรี จะด้วยเหตุอนั ใดก็ตามความจริงทีเ่ ป็นอยู่ เราท่านได้เห็นงานเชิงวิชาการในการอบรมกฎหมายใหม่ และการทำ�ความเข้าใจกับกฎหมายทีม่ อี ยูเ่ พือ่ เติมเต็มศักยภาพ ในการทำ�งานเชิงวิชาชีพทนายความ คณะกรรมการบริหารภายใต้การนำ�ของท่าน ทค.เดชอุดม ไกรฤทธิ์ จึงเสริมสร้างงานวิชาการ งานสวัสดิการ และการสร้างที่ทำ�การ แห่งใหม่ที่สง่างาม และมีมูลค่ากว่า 500,000,000 บาท อันจะเป็นบ้านใหม่ที่สมบูรณ์แบบในด้านการเทคโนโลยี และเป็นศูนย์รวมทางวิชาการด้านกฎหมายที่จะเชื่อมต่อ สังคมวิชาการได้ทั่วทุกภูมิภาค และท่าน ทค.เดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ ยืนยันว่าวันทนายความที่ 20 กุมภาพันธ์ 2559 ที่จะมาถึงนี้ เราท่านพี่น้อง ทนายความจะได้ร่วมงาน “วันทนายความ” ที่บ้านใหม่เราท่านอย่างภาคภูมิ และอีกบริบทหนึ่งของข่าวสภาทนายความที่อยู่ในมือของท่าน เป็นอีกส่วนหนึ่งที่เป็นการแสดงออกเชิงวิชาชีพ เพื่อเป็นการเชื่อมต่อของเพื่อนพี่น้องทนายความกับงานวิชาการ งานบริหาร และบอกถึงการ กว้าเดินของสภาวิชาชีพแห่งนี้ กองบรรณาธิการข่าวสภาทนายความยังหวังที่จะได้รับคำ�แนะนำ�ติชมจากเพื่อนพี่น้องทนายความภายใต้แนวคิดที่ว่า “ไม่มีใครบริหารใครหากแต่เพื่อประโยชน์ของเองค์กรสภา ทนายความของเราท่าน เราท่านคือผู้บริหาร”

นิวัติ แก้วล้วน บรรณาธิการบริหาร

อบรมที่ปรึกษากฎหมายศาลเยาวชน ครั้งที่ 4/2558 :

ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง โดยความร่วมมือของสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดการอบรมและทดสอบ ความรูผ้ ปู้ ระสงค์จะเป็นทีป่ รึกษากฎหมายในศาลทีม่ อี ำ�นาจพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว ครัง้ ที่ 4/2558 โดย นายสุภทั ร อยู่ถนอม อธิบดีศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง เป็นประธานเปิดการอบรม เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก การคุม้ ครองสวัสดิภาพเด็ก เยาวชนและครอบครัว การวิเคราะห์หาสาเหตุแห่งการกระทำ�ความผิดและงานสังคมสงเคราะห์เด็ก หรือเยาวชนในกระบวนการยุตธิ รรม วิธพี จิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครัว รวมทัง้ เรือ่ งการการเตรียมความพร้อมในการปฏิบตั ิ หน้าที่ของที่ปรึกษากฎหมาย ทั้งในชั้นพิจารณาคดี และระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้มีทนายความให้ความสนใจเข้ารับการ อบรมในครัง้ นีก้ ว่า 1,400 คน โดยการอบรมฯ จัดขึน้ 3 วัน ตัง้ แต่วนั ที่ 19-21 มิถนุ ายน 2558 ณ อาคารกงไกรลาศ มหาวิทยาลัย รามคำ�แหง กรุงเทพฯ

อีกทั้งเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2558 นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภา ทนายความ ให้เกียรติเป็นวิทยากรบรรยายความรูก้ ฎหมาย หัวข้อ “มาตรฐานสิทธิเด็ก ไทยกับมาตรฐานสากล” แก่ผู้เข้ารับการอบรมและทดสอบความรู้ผู้ประสงค์จะเป็นที่ ปรึกษากฎหมายในศาลที่มีอำ�นาจพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว ครั้งที่ 4/2558 ซึ่ง จัดขึ้นโดยความร่วมมือของสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ กับ ศาลเยาวชนและ ครอบครัวกลาง ในครั้งนี้ด้วย


ข่าวสภาทนายความ ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2558

3

บทความพิเศษ

วิเชียร ชุบไธสง อุปนายกฝ่ายสวั สดิการและสิกทาร ธิประโยชน์สภาทนายความ กองบรรณาธิ

ทนายความกับการทวงถามหนี้ การเตรียมตัวของทนายความ หรือสำ�นักงานทนายความ ผู้ที่จะประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้ หรือผู้ที่ประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้อยู่แล้ว จะต้องพึงเตรียมความพร้อมในการรองรับพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งจะมีผลใช้บังคับในวันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘อย่างไรนั้นเป็น กรณีที่น่าสนใจยิ่ง

ก่อนอืน่ ต้องพิจารณาหลักกฎหมายตามพระราชบัญญัติ การทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓ ที่ให้คำ�นิยาม คำ�ว่า “ผู้ทวงถามหนี้” หมายความว่า เจ้าหนี้ซึ่งเป็นผู้ให้สินเชื่อ ผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค ผู้จัดให้มีการเล่นการพนันเป็นปกติ ธุระตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน และเจ้าหนี้อื่น ซึ่งมีสิทธิรับชำ�ระหนี้อันเกิดจากการกระทำ�ที่ เป็นทางการค้าปกติหรือเป็นปกติธุระของเจ้าหนี้ ทั้งนี้ ไม่ว่าหนี้ดังกล่าวจะชอบด้วยกฎหมาย หรือไม่ก็ตาม และให้หมายความรวมถึง ผู้รับมอบอำ�นาจจากเจ้าหนี้ดังกล่าว ผู้รับมอบอำ�นาจ ช่วงในการทวงถามหนี้ ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ และผู้รับมอบอำ�นาจจากผู้ประกอบธุรกิจ ทวงถามหนี้ด้วย

(๓) ติดตามสอดส่องพฤติการณ์ของผู้ทวงถามหนี้หรือกำ�กับดูแลการปฏิบัติของ ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๔) ประสานกับหน่วยงานของรัฐซึ่งมีอำ�นาจหน้าที่ในการกำ�กับดูแลหรือตรวจสอบ ผู้ทวงถามหนี้หรือบุคคลอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้ (๕) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และอบรมวิธีการทวงถามหนี้ที่ถูกต้องและเหมาะสม (๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการ และคณะกรรมการกำ�กับการทวงถามหนี้ ประจำ�จังหวัดหรือคณะกรรมการกำ�กับการทวงถามหนี้ประจำ�กรุงเทพมหานครแล้วแต่กรณี มอบหมาย

นอกจากนีย้ งั ให้ค�ำ นิยาม คำ�ว่า “ธุรกิจการทวงถามหนี”้ หมายความว่า การรับจ้าง ทวงถามหนีไ้ ม่วา่ โดยตรงหรือโดยอ้อมเป็นปกติธรุ ะ แต่ไม่รวมถึงการทวงถามหนีข้ องทนายความ ซึ่งกระทำ�แทนลูกความของตน

มาตรา ๓๙ บุคคลใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ วรรคหนึ่ง มาตรา ๘ วรรคหนึ่งมาตรา ๘ วรรคสอง (๒) หรือ (๓) มาตรา ๑๑ (๒) (๓) (๔) หรือ (๕) หรือมาตรา ๑๓ (๒) ต้องระวางโทษจำ�คุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำ�ทั้งปรับ

และ “ผู้ให้สินเชื่อ” หมายความว่า (๑) บุคคลซึ่งให้สินเชื่อเป็นทางการค้าปกติ หรือ (๒) บุคคลซึ่งรับซื้อหรือรับโอนสินเชื่อต่อไปทุกทอด มาตรา ๕ บุคคลใดจะประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ต้องจดทะเบียนการประกอบธุรกิจ ทวงถามหนีต้ อ่ นายทะเบียน ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทีก่ ำ�หนดในกฎกระทรวงบุคคล ซึ่งจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามวรรคหนึ่งแล้ว ต้องประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการประกาศกำ�หนด มาตรา ๖ ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เป็นทนายความหรือสำ�นักงาน ทนายความ ให้คณะกรรมการสภาทนายความตามกฎหมายว่าด้วยทนายความทำ�หน้าที่ นายทะเบียนรับจดทะเบียนโดยต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวงและประกาศตามมาตรา ๕ ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เป็นทนายความหรือสำ�นักงานทนายความ ให้คณะกรรมการสภาทนายความตามกฎหมายว่าด้วยทนายความมีอำ�นาจสั่งเพิกถอนการ จดทะเบียนตามมาตรา ๓๗ ที่เป็นอำ�นาจของคณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ ให้สภานายกพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยทนายความมีอำ�นาจวินิจฉัยอุทธรณ์คำ�สั่งไม่ รับจดทะเบียนที่เป็นอำ�นาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยตามมาตรา ๓๑ หรือคำ�สั่ง เพิกถอนการจดทะเบียนทีเ่ ป็นอำ�นาจของคณะกรรมการตามมาตรา ๓๘ คำ�วินจิ ฉัยของสภานายก พิเศษให้เป็นที่สุด ทั้งนี้ ให้นำ�ระยะเวลาในการอุทธรณ์และการวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ให้คณะกรรมการสภาทนายความมีอำ�นาจออกข้อบังคับในส่วนที่เกี่ยวข้องได้เท่าที่ ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ ข้อบังคับนั้นเมื่อได้รับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ ตามกระบวนการในกฎหมายว่าด้วยทนายความและได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ ใช้บังคับได้ มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ที่ทำ�การปกครองจังหวัดและ กองบัญชาการตำ�รวจนครบาล รับผิดชอบในงานธุรการของคณะกรรมการกำ�กับการทวงถามหนี้ ประจำ�จังหวัดและคณะกรรมการกำ�กับการทวงถามหนี้ประจำ�กรุงเทพมหานครตามลำ�ดับ และให้มีอำ�นาจหน้าที่ภายในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นสำ�นักงานทะเบียนรับจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๒) รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทวงถามหนี้เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกำ �กับการ ทวงถามหนี้ ประจำ�จังหวัดหรือคณะกรรมการกำ�กับการทวงถามหนีป้ ระจำ�กรุงเทพมหานครแล้ว แต่กรณี

พอทีจ่ ะอธิบายขยายความได้วา่ ผูท้ รี่ บั จ้างทวงถามหนีไ้ ม่วา่ โดยตรงหรือโดยอ้อม เป็นปกติธรุ ะ จะต้องจดทะเบียนการประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้ ไม่วา่ จะเป็นบุคคล ทัว่ ไปหรือทนายความ หากรับงานจากเจ้าหนีผ้ ใู้ ห้สนิ เชือ่ มาทวงถาม หรือมา ทวงถาม แล้วฟ้องคดี หรือมาทวงถามแล้วบังคับคดีจะต้องจดทะเบียนเป็นผูป้ ระกอบธุรกิจการ ทวงถามหนี้ แต่มีข้อยกเว้นสำ�หรับทนายความผู้ที่ทวงถามหนี้แทนลูกความของตน ซึ่ง หมายความว่าไม่ได้รับจ้างทวงถามหนี้เป็นปกติธุระ แต่รับงานมาเป็นครั้งคราว และ ออกหนังสือบอกกล่าวแล้ว ดำ�เนินคดีตามกฎหมาย พระบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้แยกบุคคลทั่วไป และทนายความ หรือสำ�นักงานทนายความ ทีจ่ ะประกอบธุรกิจการทวงถามหนีต้ อ้ งจดทะเบียนให้ไปจดทะเบียน คนละแห่งคนละที่กันกล่าวคือ บุคคลทั่วไปต้องจดทะเบียนที่ท�ำ การปกครองจังหวัด กรมการ ปกครอง กระทรวงมหาดไทย ผูท้ จี่ ะประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้ อยูจ่ งั หวัดใด ต้องจดทะเบียน ที่จังหวัดนั้น เว้นแต่ผู้ที่จะประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ จดทะเบียนที่กองบัญชาการ ตำ�รวจนครบาล ตามมาตรา ๒๙ ส่วนทนายความ หรือสำ�นักงานทนายความให้จดทะเบียนตามมาตรา ๖ คือ จดทะเบียนที่สภาทนายความ หากผูท้ จี่ ะประกอบธุรกิจการทวงถามหนีไ้ ม่วา่ จะเป็นคนทัว่ ไป หรือทนายความ หรือ สำ�นักงานทนายความ ไม่จดทะเบียน จะต้องระวางโทษจำ�คุกไม่เกินหนึง่ ปีหรือปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาทหรือทั้งจำ�ทั้งปรับตามมาตรา ๓๙ การจดทะเบียนประกอบธุรกิจการทวงถามหนี้ กับการทวงถามหนี้เป็นคนละประเด็น คนละเรื่องกัน แม้บุคคลทั่วไป หรือทนายความ หรือสำ�นักงานทนายความ หรือเจ้าหน้าที่รัฐ ที่ มี อำ � นาจทวงถามหนี้ ที่ ไ ม่ อ ยู่ ใ นธุ ร กิ จ การทวงถามหนี้ ทุ ก คนต้ อ งทวงถามหนี้ ภ ายใต้ พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘ หากไม่ปฏิบัติ หรือฝ่าฝืนที่กฎหมายบัญญัติไว้ มีโทษทางปกครอง และโทษทางอาญา และเป็นอัตราโทษที่สูงมากทุกท่านต้องศึกษาให้ดี และสภาทนายความ จะได้นำ�เสนอรายละเอียดต่างๆ ในโอกาสต่อไป โปรดติดตามตอนต่อไป ขอให้ทุกท่านโชคดี ขอบพระคุณ และสวัสดีครับ


4

ข่าวสภาทนายความ ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2558

วิสามัญฆาตกรรม ท่าวุ้ง ลพบุรี กับการทวงคืนความเป็นธรรมแทนทนายแผ่นดิน โดย...หนุ่มนาข้าว ณ เมืองน้ำ�ดำ�

สภาทนายความ เป็นองค์กรวิชาชีพทางกฎหมายองค์กรหนึง่ ในกระบวนการยุตธิ รรมและเป็นทีพ่ งึ่ พาสุดท้าย เมือ่ ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงความเป็นธรรมจากกระบวนการ

ยุตธิ รรมได้โดยหน่วยงานของภาครัฐ ซึง่ มีหน้าทีโ่ ดยตรงตามกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ สิทธิในการดำ�เนินคดีอาญาต่อศาลในกรณีทพี่ นักงานอัยการมีค�ำ สัง่ เด็ดขาดไม่ฟอ้ งคดีอาญา แม้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 34 จะได้กำ�หนดให้คำ�สั่งไม่ฟ้องคดีนั้น ไม่ตัดสิทธิของผู้เสียหายที่จะยื่นฟ้องคดีอาญาต่อศาลได้ด้วยตนเองก็ตาม ในหลายครั้ง หลายคราวทีป่ ระชาชนผูเ้ สียหายไม่สามารถเข้าหาความเป็นธรรมจากกระบวนการยุตธิ รรมได้โดยเฉพาะประชาชนผูย้ ากไร้ซงึ่ เป็นรากฐานส่วนใหญ่ของประเทศ แต่กถ็ อื ว่าประเทศไทย นี้ยังโชคดีที่มีพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2528 กำ�หนดให้สภาทนายความมีวัตถุประสงค์สำ�คัญประการหนึ่ง คือ การส่งเสริม ช่วยเหลือ แนะนำ� เผยแพร่ และให้การศึกษา แก่ประชาชนในเรื่องที่เกี่ยวกับกฎหมาย วันที่ 8 ธันวาคม 2547 เวลาประมาณ 19 นาฬิกา คนร้าย 3 คน ขับรถกระบะก่อเหตุกระชากสร้อยคอทองคำ�ของ หญิงสาวคนหนึ่ง บริเวณสถานีบริการน้ำ�มัน หมู่ที่ 4 ตำ�บล บ้านหม้อ อำ�เภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี แล้วขับรถยนต์ กระบะหลบหนีเข้าเขตอำ�เภอท่าวุง้ จังหวัดลพบุรี เวลาประมาณ 20.50 นาฬิกา พันตำ�รวจตรี ก. (ต่อมาได้เลื่อนยศเป็นพัน ตำ�รวจโท) เจ้าหน้าที่ตำ�รวจสถานีภูธร ท่าวุ้ง ได้รับแจ้งเหตุจึง ได้น�ำ กำ�ลังสะกัดจับคนร้ายและติดตามตรวจค้นยังบ้านพักของ ผู้ตาย ในขณะที่ผู้ตายกำ�ลังนอนพักผ่อนอยู่ในห้องนอนพร้อม กับภรรยาและบุตรเล็ก ๆ อีกสองคน ผู้ตายตกใจที่ตำ�รวจเข้า ตรวจ ค้นภายในห้องนอนจึงได้วิ่งหลบออกมาซ่อนตัวบริเวณ ใต้ขา้ งท้องรถยนต์ใต้ถนุ บ้าน ต่อมาพันตำ�รวจตรี ก. ได้ใช้อาวุธ ปืนยิงผู้ตายถึงแก่ความตาย หลังเกิดเหตุ ญาติของผูต้ ายได้รอ้ งขอความช่วยเหลือ ทางกฎหมายจากสภาทนายความ เนื่องจากเห็นว่าไม่ได้รับ ความเป็นธรรมจากการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องเจ้าหน้าทีต่ ำ�รวจชุดที่ กระทำ�วิสามัญฆาตกรรม คณะกรรมการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย สภา ทนายความ มีคำ�สั่งรับให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย และมี คำ�สั่งแต่งตั้งคณะทำ�งานทนายความอาสาจากส่วนกลางเดิน ทางลงพื้นที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงจัดทำ�แผนที่เกิดเหตุรวบรวม พยานหลักฐานจากที่เกิดเหตุทั้งพยานวัตถุและพยานบุคคล และดำ�เนินการตรวจผ่าพิสูจน์ศพผู้ตายซ้ำ�หาสาเหตุการตาย เก็บพยานหลักฐานจากศพผู้ตาย เพื่อใช้ประกอบการให้ความ ช่ ว ยเหลื อ ทางกฎหมายในการคั ด ค้ า นไต่ ส วนการตาย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150 เนื่ อ งจากเป็ น กรณี ที่ ค วามตายเกิ ด ชึ้ น โดยการกระทำ � ของ เจ้าพนักงาน ซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ ต่อมาพนักงานอัยการได้ยื่นคำ�ร้องต่อศาลจังหวัด ลพบุรี เพื่อขอไต่สวนการตายเป็นคดีอาญาหมายเลขดำ�ที่ ช.1/2548 คณะทำ�งานผู้รับผิดชอบคดีได้ดำ�เนินการให้ญาติผู้ ตายยืน่ คำ�ร้องขอเข้าซักถามพยานทีพ่ นักงานอัยการนำ�สืบและ นำ�สืบพยานหลักฐานอื่น เพื่อคัดค้านการไต่สวนการตายของ พนักงานอัยการ ผลการพิจารณาไต่สวนการตายของศาล จังหวัดลพบุรี มีคำ�สั่งว่า มีความตายเกิดขึ้น โดยการ กระทำ�ของเจ้าพนักงานซึ่งปฏิบัติราชการตามหน้าที่ พฤติการณ์ที่ตายถูกยิงด้วยอาวุธปืน โดยผู้ที่ทำ�ให้ตาย คือ พันตำ�รวจโท ก. (คดีอาญาหมายเลขแดงที่ ช.3/2550 ของศาลจังหวัดลพบุรี) หลังจากนัน้ พนักงานอัยการก็ได้ มีค�ำ สัง่ เด็ดขาดไม่ ฟ้องคดีอาญา พันตำ�รวจโท ก. กับพวกในความผิดอาญาข้อหา ฆ่าคนตายโดยเจตนา

ต่อมาคณะทำ�งานทนายความอาสาผู้รับผิดชอบคดี ได้ดำ�เนินการให้ผู้เสียหายยื่นฟ้องคดีอาญาต่อศาลจังหวัด ลพบุรีด้วยตนเอง ระหว่าง นาย ท. ที่ 1 กับพวกรวม 6 คน โจทก์ พันตำ�รวจโท ก. กับพวกรวม 4 คน จำ�เลย ในความผิด อาญาข้อหาความผิดต่อตำ�แหน่งหน้าที่ราชการความผิดต่อ ตำ�แหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม ความผิดต่อชีวิต บุกรุก ศาลชั้นต้นไต่สวนมูลฟ้องแล้ว เห็นว่าคดีมีมูลให้ ประทับฟ้อง จำ�เลยทั้งสี่ให้การปฏิเสธ ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้ว พิพาษายกฟ้อง โจทก์ทั้งหกอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ ภาค1 พิพากษายืน โจทก์ทั้งหกฎีกา โดยผู้พิพากษาซึ่งพิจารณา และลงชือ่ ในคำ�พิพากษาศาลอุทธรณ์ ภาค1 อนุญาตให้ ฎีกา ศาลฎีกาตรวจสำ�นวนประชุมปรึกษา แล้ว เห็นว่า พยานหลักฐานโจทก์ทั้งหกนำ�สืบฟัง ไม่ได้ว่า จำ�เลยทัง้ สีก่ ระทำ�ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362 ,364 ,365 ตามฟ้อง และกรณีมีเหตุสงสัยตามสมควรว่า ผูต้ ายมีอาวุธมีดปลายแหลม เพือ่ ใช้แทงจำ�เลยที่ 1 หรือไม่ การ ทีผ่ ตู้ ายเข้าไปหลบซ่อนใต้ทอ้ งรถยนต์จนกระทัง่ จำ�เลยทัง้ สีม่ า พบผู้ตาย พฤติการณ์ของผู้ตายย่อมทำ�ให้จำ�เลยทั้งสี่เข้าใจได้ ว่าผู้ตายเป็นคนร้ายและกำ�ลังหลบหนี จึงพยายามเข้าจับกุม ผู้ตาย การกระทำ�ของจำ�เลยทั้งสี่ในฐานะเจ้าพนักงานผู้มี อำ�นาจสืบสวนคดีอาญาจึงปฏิบัติหน้าที่โดยชอบ ทั้งยังมีเหตุ สงสัยตามสมควรว่าจำ�เลยทัง้ สีก่ ล่าวอ้างว่าผูต้ ายมีอาวุธมีดโดย ไม่ตรงต่อความเป็นจริง เพื่อมิให้จำ�เลยทั้งสี่ได้รับโทษทาง อาญาหรือไม่ จำ�เลยทัง้ สีจ่ งึ ไม่มคี วามผิดตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา157 และ 200 การที่ผู้ตายทีอาวุธมีดในขณะถูกจำ�เลยที่ 1 ใช้อาวุธ ปืนยิงหรือไม่ แม้จะฟังความตามจำ�เลยที่ 1 ต่อสู้ว่า ขณะนั้น ผู้ตายมีอาวุธมีดก็ตาม ในสภาพที่ผู้ตายยังลุกขึ้นไม่ได้ เพราะ เพิ่งคลานออกจากใต้ท้องรถยนต์ ผู้ตายย่อมไม่สามารถใช้ อาวุธมีดแทงจำ�เลยที่ 1ได้ และผู้ตายย่อมเห็นว่าจำ�เลยที่ 1 มี อาวุธปืน อีกทั้งทราบว่ามีจำ�เลยอื่นอีกหลายคน การต่อสู้เพื่อ หลบหนีกระทำ�ได้ยาก จึงไม่มีภัยอันตรายซึ่งเกิดจากการ ประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภัยอันตราย ที่ใกล้จะถึงที่ทำ�ให้จำ�เลยที่ 1 ต้องใช้อาวุธปืนยิงผู้ตาย เพื่อป้องกันตัว เพราะขณะนั้น จำ�เลยที่ 1 สามารถบอกให้ผู้ ตายหยุดอยู่กับที่และทิ้งอาวุธได้ ก่อนจะใช้อาวุธปืนยิง การที่ จำ�เลยที่ 1 ใช้อาวุธปืนยิงผู้ตายในสภาพดังกล่าวจึงไม่ เป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย การกระทำ�ของ จำ�เลยที่ 1 จึงเป็นการฆ่าผู้ตายโดยเจตนา ซึ่งเจตนานี้

เกิ ด ขึ้ น ในขณะนั้ น เองโดยจำ � เลยที่ 2 ถึ ง ที่ 4 มิ ไ ด้ คาดการณ์มาก่อนจึงมิได้ มีเจตนาร่วมกับจำ�เลยที่ 1 ใช้ อาวุธปืนยิงผูต้ าย พิพากษาแก้เป็นว่าจำ�เลยที่ 1 มีความ ผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ลงโทษ จำ�คุก 20 ปี ทางนำ�สืบของจำ�เลยที่ 1 เป็นประโยชน์ แก่พิจารณามีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษให้หนึ่งในสาม ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78 คงจำ�คุก 13 ปี 4 เดือน นอกจากทีแ่ ก้คงให้เป็นไปตามคำ�พิพากษาศาล อุทธรณ์ ภาค 1 (คำ�พิพากษาของศาลฎีกาที่ 13388/2557) คดีนี้ แม้เป็นคดีอาญาก็ตามแต่ก็คงให้ข้อคิด และข้อสังเกตุในแง่มมุ ต่าง ๆ ทีห่ ลากหลาย สำ�หรับการ เปลี่ยนแปลงระบบกฎหมายในการยื่นฎีกาในคดีแพ่ง จากเดิมเป็นสิทธิของคูค่ วามทีจ่ ะต้องยืน่ ฎีกาเปลีย่ นมา เป็นระบบที่คู่ความจะต้องขออนุญาตยื่นฎีกาและจะ ยื่นฎีกาได้เมื่อได้รับอนุญาตจากศาลฎีกาเท่านั้น !


ข่าวสภาทนายความ ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2558

5

สภาทนายความ ประกาศใช้ระเบียบกำ�หนดอักษรนำ�หน้าชือ่ “ทค.” และการแต่งกายงานพระราชพิธีและงานพิธีการสำ�หรับทนายความ เพื่อการส่งเสริมและผดุงเกียรติของวิชาชีพทนายความ ตามวัตถุประสงค์ของสภาทนายความ คณะกรรมการสภาทนายความ ในการประชุมครั้งที่ 5/2558 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 มีมติเห็นสมควรออกระเบียบสภาทนายความ ว่าด้วยการกำ�หนดอักษรย่อนำ�หน้าผูป้ ระกอบวิชาชีพทนายความ พ.ศ.2558 และ ระเบียบสภาทนายความว่าด้วย การกำ�หนดการ แต่งกายในงานพระราชพิธีและงานพิธีการ พ.ศ.2558 เพื่อเป็นการแสดงตนตามมาตรฐานสากลของผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ โดยมีรายละเอียดพอสังเขป ดังนี้ 1. ระเบียบสภาทนายความ ว่าด้วยการกำ�หนดอักษรย่อนำ�หน้าผูป้ ระกอบวิชาชีพทนายความ พ.ศ.2558 ได้ก�ำ หนดให้มกี ารใช้อกั ษรย่อนำ�หน้าของผูป้ ระกอบวิชาชีพทนายความ โดยให้สมาชิกที่มีความประสงค์จะใช้คำ�นำ�หน้าชื่อ เพื่อการแสดงตนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทนายความ ใช้คำ�นำ�หน้าชื่อของสมาชิกเป็นอักษรย่อ “ทค.” แทนคำ�ว่า นาย นาง และนางสาวสำ�หรับ ภาษาไทย และให้ใช้คำ�นำ�หน้าเป็นอักษรย่อ “ATTY.” หรือ Atty. สำ�หรับภาษาอังกฤษ โดยให้สมาชิกพิจารณาใช้ให้เหมาะสมกับเอกสารหรือหนังสือแล้วแต่กรณี และห้สมาชิกที่เป็นผู้มีสิทธิใช้ คำ�นำ�หน้าชื่อแบบอื่นที่ได้รับในสาขาวิชานิติศาสตร์ เช่น ศาสตราจารย์พิเศษ (ศ.พิเศษ) หรือ ดุษฎีบัณฑิต (ดร.) ใช้ชื่อตามแบบที่แสดงคุณวุฒินั้นก่อนการใช้อักษรย่อ ทค. ของสมาชิก 2. ระเบียบสภาทนายความว่าด้วย การกำ�หนดการแต่งกายในงานพระราช พิธีและงานพิธีการ พ.ศ.2558 ได้กำ�หนดเรื่องการแต่งกายของทนายความและการ ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ไว้ดังนี้ คือ ในงานพระราชพิธีที่ข้าราชการแต่งเครื่องแบบ เต็มยศ ให้สมาชิกชายหรือหญิงแต่งตามแบบสากลนิยมทักซิโด ลองเทล (Tuxedos Longtail) สีขาวและกางเกงหรือกระโปรงยาวคลุมเข่าสีกรม เสื้อเชิ้ตคอตั้งสีขาว ผ้าผูกคอสีขาวหรือสีอื่น ตามประเภทงาน และเสื้อยืดรัดรูป (Waistcoat) สีขาว สวมรองเท้าหุ้มส้นและถุงเท้าสีด�ำ สมาชิก หญิงสวมถุงน่องสีเนื้อ สำ�หรับสมาชิกที่มีสิทธิประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยและ ต่างประเทศ เข็มพระราชทานหรือเข็มแสดงวิทยฐานะ ให้ประดับตาม กฎ ระเบียบที่ใช้กับ การประดับตามประเภทของงานพระราชพิธี เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน นายนิวัติ แก้วล้วน เลขาธิการสภาทนายความฯ กล่าวถึงกรณี สำ�หรับงานพิธีการที่ข้าราชการแต่งเครื่องแบบปกติขาว ให้สมาชิกชายหรือหญิง การค้นรถของทนายความนักศึกษากลุ่มดาวดิน ว่า “ประเด็นการค้นรถนี้ต้องดูเป็นกรณีไป แต่งกายแบบสากลนิยมเป็นชุดทักซิโด ลองเทล (Tuxedos Longtail) สีขาว หรือสีทไี่ ม่ฉดู ฉาด กฎหมายให้อำ�นาจค้นในกรณีทมี่ เี หตุสงสัยหรือความผิดซึง่ หน้า แต่ถา้ ไม่มเี หตุอะไรเลยนัน้ ทำ�ไม่ และกางเกงหรือกระโปรงยาวคลุมเข่าสีเดียวกัน และเสื้อเชิ้ตคอตั้งสีขาว ผ้าผูกคอสีขาวหรือ ได้ ส่วนกรณีการค้นรถของทนายความนักศึกษากลุ่มดาวดินนั้น มองว่า ทนายความมีสิทธิของ สีอนื่ ตามประเภทงานและเสือ้ ยืดรัดรูป (Waistcoat) สีขาว สวมรองเท้าหุม้ ส้นและถุงเท้าสีดำ � ทนายความในการปกป้องลูกความของตัวเอง เรื่องนี้มีกฎหมายอนุญาตหรือเปิดช่องไว้ การที่ สมาชิกหญิงสวมถุงน่องสีเนื้อ สำ�หรับสมาชิกที่มีสิทธิประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยและ ทนายความไปเยี่ยมลูกความ แล้วจู่ๆ คุณก็บอกว่ามีเหตุสงสัยว่ามีสิ่งผิดกฎหมายอยู่ในรถ ต่างประเทศ เข็มพระราชทานหรือเข็มแสดงวิทยฐานะ ให้ประดับตาม กฎ ระเบียบที่ใช้กับ ทนายความ แล้วจะขอทำ�การค้นรถ พร้อมกับขอยึดรถไว้ก่อนอย่างนี้มุมมองตนเห็นว่า ทำ�ไม่ได้ การประดับตามประเภทของงานพิธีการที่ข้าราชการแต่งเครื่องแบบปกติขาว ถ้าทนายความไปร่วมชุมนุมกับกลุม่ นักศึกษาอย่างนีก้ ว็ า่ ไปอย่าง แต่การทีท่ นายความขับรถมาเพือ่ ทัง้ นีร้ ะเบียบทัง้ 2 ฉบับ ออกโดยอาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา 27 แห่งพระราช เยีย่ มลูกความแบบนีไ้ ม่นา่ จะไม่ได้ ในมุมมองของตน ตนคิดว่าเรือ่ งนีเ้ ป็นการคุกคามการทำ�หน้าที่ บัญญัตทิ นายความ พ.ศ.2528 ประกาศใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 19 พฤษภาคม 2558 เป็นต้นไป (สามารถ ของทนายความ ซึง่ เจ้าหน้าทีไ่ ม่นา่ จะทำ�อย่างนี้ ซึง่ เป็นการไม่ให้เกียรติวชิ าชีพทนายความทีก่ ระทำ� หน้าที่ตามกฎหมาย เพราะหากตรวจค้นแล้วไม่เจออะไรคุณจะรับผิดชอบอย่างไร ต้องมอง 2 มุม” Download ระเบียบฉบับเต็มได้ที่ www.lawyerscouncil.or.th)

เลขาธิการสภาทนายความ

ชีก้ รณีคน้ รถทนายความกลุม่ ดาวดิน เข้าข่ายคุกคาม ไม่ให้เกียรติวิชาชีพ

บันทึกลงพื้นที่

ลงพื้นที่คดีบ่อขยะแพรกษา : นายสุวิทย์ เชยอุบล อุปนายกฝ่ายปฏิบัติการ/ประธานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมสภาทนายความ พร้อม ด้วยคณะทำ�งานคดีผลกระทบจากบ่อขยะแพรกษา เดินทางลงพืน้ ทีร่ ว่ มกับนายสมพงษ์ เผือกประดิษฐ์ ผูพ้ พิ ากษาหัวหน้าแผนกคดีสงิ่ แวดล้อมในศาลแพ่ง เพื่อร่วมสังเกตการณ์ผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์สถานที่เกิดเพลิงไหม้บ่อขยะที่ตำ�บลแพรกษา จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2558.

ลงพืน ้ ทีค ่ ดีสงิ่ แวดล้อม : นายสุวทิ ย์ เชยอุบล อุปนายกฝ่ายปฏิบตั กิ าร/ประธานคณะกรรมการสิง่ แวดล้อม สภาทนายความ พร้อมด้วยคณะทำ�งานลงพื้นที่หมู่ 8 ตำ�บลพระอาจารย์ อำ�เภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก เพื่อตรวจสอบ ข้อมูลข้อเท็จจริง และรับเรือ่ งร้องขอความช่วยเหลือทางกฎหมาย กรณีชาวบ้านจำ�นวน 800 ครัวเรือน ได้รบั ความเดือดร้อน จากการที่นายทุนบุกรุกพื้นที่สาธารณะขุดดิน อีกทั้งปิดกั้นบริเวณเป็นพื้นที่ส่วนตัว ทำ�ให้ชาวบ้านไม่สามารถสูบน้ำ�ทำ�การ เกษตรได้เนือ่ งจากในน้ำ�มีสนิมปนเปือ้ นลงสูค่ ลองชลประทานรวมทัง้ บ่อน้ำ�สาธารณะ ณ อำ�เภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2558. วิทยากรบรรยายกฎหมาย : นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ เป็น วิทยากรบรรยายให้ความรูใ้ นการเสวนาทางวิชาการการจัดปฐมนิเทศนิสติ ใหม่คณะนิตศิ าสตร์ เรือ่ ง “มหาวิ ท ยาลั ย สงฆ์ กั บ การจั ด การศึ ก ษาวิ ช านิ ติ ศ าสตร์ ” เพื่ อ สร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจ ประสบการณ์ตรงในด้านวิชานิติศาสตร์ โดยมีพระสงฆ์ที่สนใจเข้าศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต จำ�นวน 56 รูป ร่วมฟังการเสวนา ณ ที่มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย (มหาวิทยาลัย สงฆ์แห่งคณะสงฆ์ไทย) อำ�เภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2558.


6

ข่าวสภาทนายความ ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2558

กฎหมายกับสุขภาพ

ทางออกของปั ญ หาค่ า รั ก ษา รพ.เอกชน แพง

ปัญหาความแออัดในโรงพยาบาลของรัฐ ทำ�ให้ประชาชนส่วนหนึง่ หันไป พึ่งพาสถานพยาบาลภาคเอกชนทั้งคลินิกและโรงพยาบาล แม้จะมีค่าใช้จ่ายที่สูง กว่าการรักษาในโรงพยาบาลรัฐก็ตาม แต่เนือ่ งจากโรงพยาบาลเอกชนบางแห่ง มีการ เรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลในอัตราสูง จึงเกิดการร้องเรียนมายังกระทรวงสาธารณสุขอย่าง ต่อเนื่อง กระทรวงสาธารณสุข จึงได้ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน หาหนทางแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เพื่อหาทางออกที่เหมาะสมทั้งภาคประชาชนผู้ใช้บริการและธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน กำ�หนดกรอบแนวคิดตาม พ.ร.บ. สถานพยาบาลฯ จากการร่วมประชุมของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม 2558 ณ กระทรวง สาธารณสุข โดยมี นายแพทย์รัชตะ รัชตะนาวิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็น ประธาน ประชุมร่วมกับผู้แทนกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อหามาตรการแก้ปัญหาโรงพยาบาลเอกชนเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลแพง ที่ประชุมได้มีมติ แบ่งออกเป็นระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว โดยในระยะสัน้ จะประสานให้โรงพยาบาลเอกชน จัดทำ�รายการค่ารักษาพยาบาล ค่ายา ค่าหัตถการ และค่าอื่นๆ เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ และทำ� หนังสือที่ประชาชนสามารถขอทราบข้อมูลได้อย่างสะดวก และขอให้ส่งข้อมูลดังกล่าวมาที่ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของกระทรวงอีกทางหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อเป็นข้อมูลให้ ประชาชนสามารถเปรียบเทียบค่ารักษาแต่ละโรค แต่ละโรงพยาบาลได้ โดยเร่งดำ�เนินการภายใน 1 เดือน นอกจากนี้ยังเปิด 3 สายด่วนรับเรื่องร้องเรียนคือ สายด่วน สคบ. 1166 ร้องเรียนได้ใน เวลาราชการ สายด่วน สปสช. 1330 และสายด่วน สบส. 02-193-7999 ตลอด 24 ชั่วโมง โดย เรื่องร้องเรียนทั้งหมดจะถูกส่งมาที่กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพื่อดำ�เนินการต่อไป ส่วนระยะกลาง จะมีการตั้งคณะทำ�งานที่มาจากทุกภาคส่วนทำ�หน้าที่ รวมถึงภาค เอกชน เพือ่ พิจารณากำ�หนดราคายาให้ชดั เจนว่าสามารถบวกกำ�ไรได้กเี่ ปอร์เซ็นต์ และไม่เกินกี่ เปอร์เซ็นต์ เริม่ กำ�หนดในรายการยาทีม่ กี ารใช้จำ�นวนมาก และยาทีม่ รี าคาแพง โดยติดประกาศ ให้ประชาชนทราบอย่างชัดเจน ขณะที่ในระยะยาว จะมีการประสานความร่วมมือกับโรง พยาบาลเอกชน ในการใช้ทรัพยากรบุคคลร่วมกันในการดูแลสุขภาพประชาชน ต่อมาในวันที่ 18 พฤษภาคม 2558 ได้มีการประชุมร่วมกันของหน่วยงานในสังกัด กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ก�ำ กับดูแลโรงพยาบาล ภาคเอกชน และหน่วยงานภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ นายแพทย์ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ รอง อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ประธานในทีป่ ระชุมฯ เปิดเผยว่า ปัจจุบนั พบสถานพยาบาล ภาคเอกชนได้เรียกเก็บอัตราค่ารักษาพยาบาลทีม่ คี วามแตกต่างกัน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จึงได้เชิญ หน่วยงานภาคเอกชน และหน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ กองสุขภาพระหว่างประเทศ สำ�นัก สถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กองกฎหมาย ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพื่อ ร่วมหารือ แก้ไขปัญหาการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล โดยมีกรอบแนวคิดในการดำ�เนินการ ตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 คือ 1. การแสดงอั ต ราค่ า รั ก ษาพยาบาล ค่ า บริ ก ารของโรงพยาบาลภาค เอกชน ผ่านทาง Web portal ได้เปิดให้สถานพยาบาลภาคเอกชนสมัครเข้าเป็นสมาชิก และ นำ�เข้ามูลสำ�คัญที่เกี่ยวข้อง คือ รายชื่อโรค และหัตถการที่เป็นไปตามมาตรฐานสากลแบบ ICD 9 และ ICD 10 และการพัฒนาระบบการจัดทำ�ข้อมูลอัตราค่ารักษาพยาบาลของสถานพยาบาล จำ�นวน 80 รายการตามที่กรมบัญชีกลางกำ�หนด 2.โรงพยาบาลเอกชนต้องจัดให้มีจุดแสดงอัตราค่ารักษาพยาบาล และค่า บริการตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542) เรือ่ ง ชนิดหรือประเภท ของการรักษาพยาบาล การบริการอื่นของสถานพยาบาล และสิทธิของผู้ป่วยซึ่งผู้รับอนุญาตจะ ต้องแสดงตามาตรา 32 (3) ข้อ 1 ผู้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลต้องแสดงราย ละเอียดของอัตราค่ารักษาพยาบาลตามบริการที่ได้จัดให้มีของสถานพยาบาลตามมาตรา 32 (3) ข้อ 2 ผูร้ บั อนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลต้องแสดงรายละเอียดค่าบริการอืน่ ตาม บริการที่สถานพยาบาลจัดให้

3.การบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องเพื่อดำ �เนินการ เรื่องร้องเรียนได้ นอกจากนี้ กรมกรมสนับสนุนบริการสุขภาพได้ก�ำ หนดระยะเวลาในการกำ�หนดกรอบ เบื้องต้นระยะสั้น ภายใน 1 เดือน โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการอำ�นวยการและคณะทำ�งาน เพื่อดำ�เนินงานตามนโยบายเร่งด่วน ทั้งนี้ ได้เน้นย้ำ�ช่องทางการร้องเรียน ดังนี้ 1. สายด่วน กรม สบส. 0 2193 7999 2.สำ�นักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค หมายเลข 1166 และ 3.สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หมายเลข 1330

มุมมองแพทยสภา นายแพทย์สมศักดิ์ โล่ห์เลขา นายกแพทยสภา กล่าวแสดงความคิดเห็นเรื่องค่า รักษาพยาบาลของโรงพยาบาลเอกชนว่า เป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาถึงความเหมาะสม และให้อยู่ ในเกณฑ์ทรี่ บั ได้ทงั้ สองฝ่าย แต่หากมีการใช้กฎบังคับทุกเรือ่ งไม่นา่ จะถูกต้อง เพราะโรงพยาบาล เอกชนต้องรับผิดชอบค่าใช้จา่ ยเองทัง้ หมด ไม่วา่ จะเป็นการก่อสร้างอาคารสถานที่ ค่าเครือ่ งมือ แพทย์และเวชภัณฑ์ ค่าน้ำ� ค่าไฟ ค่าบุคลากร ต้องเข้าใจว่าการดำ�เนินกิจการของ รพ.เอกชน เป็นไปโดยไม่มงี บประมาณหรือภาษีจากภาครัฐมาสนับสนุนเหมือนโรงพยาบาลรัฐ และในการ ลงทุนยังต้องแบกรับภาระหนี้ ดังนั้นจึงมีต้นทุนที่ต้องรวมอยู่ในค่ารักษาพยาบาล นอกจากนี้ ประเทศไทยมีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ประชาชนสามาถใช้สิทธิได้อยู่แล้ว โรง พยาบาลเอกชนเป็นทางเลือกหนึ่งของประชาชน และยังช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐในการรักษา พยาบาล ดังนั้น ประชาชนที่มีกำ�ลังซื้อสูงสามารถเลือกมารักษาที่โรงพยาบาลเอกชน เป็นการ แบ่งเบาความแออัดในโรงพยาบาลรัฐ สำ�หรับค่ารักษาพยาบาลที่สูงของโรงพยาบาลเอกชน ส่วนใหญ่มาจากต้นทุนค่า ยา เวชภัณฑ์และเครื่องมือแพทย์เป็นหลัก โดยเฉพาะค่ายา พบว่า โรงพยาบาลเอกชนบางแห่ง คิดค่ายาสูงกว่าราคาท้องตลาด 100-200% ซึ่งในกรณีนี้ยอมรับว่าควรทำ�ให้มีมาตรฐานการ คำ�นวณที่ไม่มีการค้ากำ�ไรจนเกินควร แต่ต้องให้รพ.เอกชนอยู่ได้ด้วย ดังนั้น การควบคุมราคา ค่ารักษาของเอกชนต้องเป็นการควบคุมที่เหมาะสมตามต้นทุน เพราะไม่เช่นนั้น โรงพยาบาล เอกชนก็จะอยู่ไม่ได้

สมาคม รพ.เอกชน แจงค่ารักษา นายแพทย์เฉลิม หาญพาณิชย์ นายกสมาคมโรงพยาบาลเอกชน กล่าวว่า โรง พยาบาลเอกชนนั้นมีหลายระดับ ทำ�ให้ค่ารักษาและค่ายาแตกต่างกัน ที่สำ�คัญจะเอาไปเปรียบ เทียบกับโรงพยาบาลรัฐไม่ได้ เพราะเอกชนลงทุนเองทัง้ หมด ขณะทีโ่ รงพยาบาลรัฐมีงบประมาณ สนับสนุน เงินเดือนบุคลากร 60% ก็มาจากภาษีประชาชน นอกจากนี้ หากเปรียบเทียบราคา ระหว่างประเทศ ปัจจุบนั ค่ารักษาพยาบาลโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทยยังถูกกว่าประเทศ สิงคโปร์ 25-35% ทีส่ ำ�คัญต้องไม่ลมื ว่าโรงพยาบาลเอกชนเป็นเพียงทางเลือกทีป่ ระชาชนตัดสิน ใจเองว่าจะไปรับบริการหรือไม่ ขณะเดียวกัน ในส่วนของโครงการเจ็บป่วยฉุกเฉิน รัฐควรออก ระเบียบวิธีปฏิบัติให้ชัดเจนว่าฉุกเฉินถึงแก่ชีวิตหมายถึงอะไร เพราะหมอกับผู้ป่วยเข้าใจไม่ตรง กัน ที่สำ�คัญต้องพัฒนาระบบรองรับการส่งตัวผู้ป่วยกลับไปรักษาตามสิทธิด้วย เนื่องจากที่ผ่าน มาเมื่อโรงพยาบาลเอกชนจะส่งคนไข้กลับไปยังโรงพยาบาลตามสิทธิ มักจะมีปัญหาเรื่องเตียง เต็มเสมอ


ข่าวสภาทนายความ ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2558

7

บทสรุปการแก้ปัญหาค่ารักษาแพง สำ�หรับข้อสรุปการแก้ปัญหาค่ารักษาโรงพยาบาลเอกชน ล่าสุด เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2558 ศาสตราจารย์นายแพทย์รชั ตะ รัชตะนาวิน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข และ นาย แพทย์สมศักดิ์ ชุณรัศมิ์ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้ประชุมคณะกรรมการอำ�นวย การแก้ไขปัญหาค่ารักษาพยาบาลราคาแพงของโรงพยาบาลเอกชน ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุขได้มีคำ�สั่งกระทรวงสาธารณสุขที่ 814 /2558 แต่งตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2558 ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นประธาน และคณะกรรมการดำ�เนินงาน ได้เสนอผลสรุปใน 3 เรื่องได้แก่ การคิดราคาค่ายา การรักษาผู้ ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน และระบบการตรวจสอบอัตราค่ารักษาพยาบาล และการให้ข้อมูลประชาชน ทั้งนี้ ศาสตราจารย์ นายแพทย์รัชตะ กล่าวว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้ ให้ความสนใจในเรื่องนี้ และมีนโยบายสนับสนุนกลไกการตลาดการค้าเสรีแก่ภาคเอกชนอย่าง ต่อเนื่อง พร้อมทั้งแสดงความเป็นห่วงหากราคาบริการของโรงพยาบาลเอกชนแพงเกินไป จะ ทำ�ให้ขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง สำ�หรับเรือ่ ง ราคาค่ายา ทีป่ ระชุมได้มมี ติให้ก�ำ หนดอัตราเรียกเก็บทีเ่ กีย่ วกับ ยา 2 รายการ คือ 1.ราคายาให้จำ�หน่ายได้ไม่เกินราคาที่ติดมาจากโรงงานผู้ผลิตหรือ ผูจ้ �ำ หน่ายราคา เดียวกันทัว่ ประเทศ เป็นไปตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542 ของกระทรวงพาณิชย์ 2.ค่าบริหารจัดการที่เกี่ยวข้องกับยา ซึ่งโรงพยาบาล แต่ละแห่งมีต้นทุนแตกต่างกัน เช่น การเตรียมยาเคมีบำ�บัด การเตรียมสารละลายหรือสาร อาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำ� การให้คำ�ปรึกษาด้านยาในผู้ป่วยเฉพาะราย การให้การบริบาล เภสัชกรรมผู้ป่วยใน การเพิ่มระบบงานในการเพิ่มคุณภาพและความปลอดภัยด้านยาแก่ผู้ป่วย เป็นต้น และได้เพิ่มทางเลือกแก่ประชาชน หากเห็นว่ายาในโรงพยาบาลมีราคาสูง สามารถนำ� ใบสัง่ ยาไปซือ้ ทีร่ า้ นขายยาได้ โดยกระทรวงสาธารณสุขจะร่วมกับสภาเภสัชกรรมดูแลมาตรฐาน ร้านขายยาทั่วประเทศ มีเภสัชกรเป็นผู้ควบคุมและจ่ายยา ทางกระทรวงสาธารณสุขจะส่งเรื่อง การกำ�หนดราคายา ให้คณะกรรมการว่าด้วยสินค้าและบริการของกระทรวงพาณิชย์เพื่อออก ประกาศใช้โดยเร็ว และให้เวลาผู้ผลิตหรือจำ�หน่ายยา ร้านยา โรงพยาบาลเอกชน พัฒนาความ พร้อมเพื่อรองรับระบบใหม่โดยเร็วที่สุด ในประเด็นระบบการบริการการแพทย์ฉกุ เฉินวิกฤตทีเ่ ป็นอันตรายถึงชีวติ ทีป่ ระชุมได้ มีมติให้สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน บริหารจัดการระบบใน 5 แนวทาง ดังนี้ 1.มีระบบพิสูจน์และ รับรองผูป้ ว่ ยวิกฤตฉุกเฉินจากโรงพยาบาลเอกชน ไม่เกิน 15 นาที 2. ปรับปรุงกลไกการจ่ายเงิน ค่าบริการการแพทย์ฉุกเฉินภายใน 72 ชั่วโมงแรกให้สมเหตุสมผล 3.พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ ป่วยฉุกเฉินที่พ้นภาวะวิกฤตหลังจาก 72 ชั่วโมงแรกกลับโรงพยาบาลต้นสังกัด 4.กรณีผู้ป่วย ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ให้เรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลจาก พ.ร.บ.นีก้ อ่ น และ 5.กรณีมปี ระกันสุขภาพเอกชน ให้เป็นทางเลือกว่าจะใช้ระบบประกันสุขภาพ เอกชนก่อน หรือเรียกเก็บจากระบบการแพทย์ฉุกเฉิน คาดว่าจะใช้เวลาปรับระบบประมาณ 2 เดือน เพื่อให้ระบบมีความสมบูรณ์ขึ้น โดยประชาชนไม่ต้องจ่ายเงิน ส่วนระบบการตรวจสอบอัตราค่ารักษาพยาบาล และการให้ข้อมูลประชาชนนั้น ทีป่ ระชุมให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จัดทำ�เว็บไซต์รวบรวมอัตราค่ารักษาพยาบาลในโรคที่ ต้องมีการนัดผ่าตัดล่วงหน้า จำ�นวน 77 รายการ ที่ได้จากโรงพยาบาลเอกชนทุกแห่ง เช่นการ ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า ผ่าตัดตาต้อกระจก เพื่อให้ประชาชนสามารถตรวจสอบราคา ทราบข้อมูล ล่วงหน้าก่อนไปรับบริการ คาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ในอีก 1 เดือน โดยได้แจ้งให้โรงพยาบาลเอกชน ติดป้ายให้ประชาชนสอบถามราคาค่ารักษาพยาบาล ค่ายา และได้เปิดสายด่วนรับแจ้งปัญหา การรักษาพยาบาลทางหมายเลข 02 1937999 และสายด่วน 1330 ตลอด 24 ชั่วโมง และ สายด่วนคุ้มครองผู้บริโภค 1166 ในเวลาราชการ

ปฏิบัติการออกตรวจ รพ.เอกชน การแก้ปัญหาค่ารักษาพยาบาลของโรงพยาบาลเอกชน นอกจากมีการประชุมร่วมกัน ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องแล้ว กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดย นายแพทย์ธเรศ กรัษนัยรวิ วงค์ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และคณะผู้บริหาร พร้อมด้วย นายจิรวุสฐ์ สุขได้พึ่ง อัยการผูเ้ ชีย่ วชาญ สำ�นักงานอัยการสูงสุด ลงพืน้ ทีโ่ รงพยาบาลเอกชน อาทิ โรงพยาบาลนนทเวช จังหวัดนนทบุรี เพื่อตรวจสอบการติดป้ายประชาสัมพันธ์การสอบถามอัตราค่ารักษาพยาบาล พร้อมติดตั้ง Kiosk เครื่องให้บริการตรวจสอบค่ารักษาพยาบาลอัตโนมัติไว้ที่แผนกผู้ป่วยนอก เพือ่ ให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้อย่างรวดเร็ว สร้างความสะดวก ตรวจสอบค่ารักษาพยาบาล ได้ ซึง่ เป็นไปตามพระราชบัญญัตสิ ถานพยาบาล 2541 คือ 1.การแสดงอัตราค่ารักษาพยาบาล ค่าบริการของโรงพยาบาลภาคเอกชน 2.โรงพยาบาลเอกชนต้องจัดให้มจี ดุ แสดงอัตรา ค่ารักษาพยาบาล และค่าบริการตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542) เรื่อง ชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล การบริการอื่นของสถานพยาบาล และ สิทธิของผู้ป่วยซึ่งผู้รับอนุญาตจะต้องแสดงตามมาตรา 32 ซึ่งจากการตรวจสอบ พบว่า โรง พยาบาลเอกชนส่วนใหญ่ได้ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์แสดงให้ผู้รับบริการ สามารถตรวจสอบ อัตราค่าบริการได้อย่างชัดเจน สร้างความโปร่งใส ตรวจสอบได้. ขอขอบคุณข้อมูลจาก : กระทรวงสาธารณสุข

ตั ว แทนครู ข อความช่ ว ยเหลื อ กฎหมาย ถู ก โกงเงิ น ช.พ.ค. : นายสุนทร พยัคฆ์ อุปนายกฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย พร้อม ด้วย นายนิวัติ แก้วล้วน เลขาธิการสภาทนายความ, นายชวน คงเพชร อุปนายก ฝ่ายกิจการพิเศษสภาทนายความ และ นายไสว จิตเพียร ประธานกรรมการสำ�นักงาน คดีปกครองสภาทนายความ ร่วมรับเรือ่ งร้องขอความช่วยเหลือทางกฎหมายจากตัวแทน บุคลากรทางการศึกษาในโครงการกูเ้ งิน ช.พ.ค.ทัว่ ประเทศทีไ่ ด้รบั ผลกระทบและความ เสียหายจากการหลงเชือ่ ข้อมูลโฆษณาทำ�ประกันอุบตั เิ หตุเบีย้ ประกันต่างกันหลายหมืน่ บาท มีผู้เสียหายกว่า 1.5 แสนราย ความเสียหาย 2-4 พันล้านบาท ยื่นหนังสือร้องขอ ให้สภาทนายความช่วยเหลือทางกฎหมาย โดยเบื้องต้นสภาทนายความได้รับเรื่อง ร้องขอความช่วยเหลือไว้เพือ่ คณะกรรมการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายฯ พิจารณา ให้ความช่วยเหลือต่อไป ณ สภาทนายความ ถนนราชดำ�เนินกลาง กรุงเทพฯ เมื่อ วันที่ 11 มิถุนายน 2558. บรรยากาศการลงพื้ น ที่ ก รณี ศึ ก ษาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ของ ทนายความผู้อบรมหลักสูตรทนายความสิ่งแวดล้อม รุ่นที่ 8 ที่อำ�เภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 58


8

ข่าวสภาทนายความ ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2558

คุยอุปกันายกฝ่ บ ายสวัสดิการ

สำ�นักงานสวัสดิการและสิทธิประโยชน์สภาทนายความ แจ้งผลการดำ�เนินงานการฌาปนกิจ สงเคราะห์ทนายความ (ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2558)

กองบรรณาธิการ

นายวิเชียร ชุบไธสง

อุปนายกฝ่ายสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ฯ

หากเพื่อนสมาชิกทนายความท่านใดสนใจ โครงการต่างๆ ของสำ�นักงานสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ฯ หรือมีข้อสงสัยประการใด สามารถติดต่อ สอบถามรายละเอียดได้ที่ คุณปาริชาติ ภู่ศรี, คุณสลิตา รัตนวรรณ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2629-1430 ต่อ 128, 083-040-8662 E-mail : sawatdegan.law@gmail.com ได้ ทุกวันและเวลาทำ�การ.

มอบเงินช่วยเหลือการฌาปนกิจ สงเคราะห์ : นายพิ เชฐ คู ห าทอง กรรมการบริหารสภาทนายความภาค 4 เป็น ผูแ้ ทนสภาทนายความ มอบเงินช่วยเหลือการ ฌาปนกิจสงเคราะห์ทนายความ แก่นายเหล็ก คุโน ทนายความ จำ�นวน 79,806.60 บาท เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2558.

เจ้าภาพสวดพระอภิธรรมศพ : นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ พร้อมด้วยนาย ผาติ หอกิตติกุล กรรมการบริหารสภาทนายความภาค 6 และสมาชิกทนายความภาค 6 ร่วมเป็นเจ้าภาพใน พิธีสวดพระอภิธรรมศพ นางอารีย์ โฆษิตเสรีวงศ์ มารดาของนายสุรพล โฆษิตเสรีวงศ์ อดีตประธานสภา ทนายความจังหวัดตาก ณ วัดธาตุทอง กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2558.

ร่วมไว้อาลัย : นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ พร้อมด้วย กรรมการบริหารสภาทนายความ ร่วมงานสวดพระอภิธรรมศพ นายกิติ ปิลันธน ดิลก ทนายความ ณ วัดธาตุทอง ศาลา 6 กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2558. ประสานความร่วมมือการปฏิบต ั งิ านโครงการทนายความอาสา : นายสุวทิ ย์ เชยอุบล อุปนายกฝ่ายปฏิบตั กิ ารสภาทนายความ, นายนิวตั ิ แก้วล้วน เลขาธิการ สภาทนายความ, นายชลิต ขวัญแก้ว กรรมการบริหารสภาทนายความภาค 2 และคณะกรรมการโครงการทนายความอาสาประจำ�ส่วนราชการ ได้เดินทางไปร่วมประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร และพบปะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรค ข้อขัดข้อง รวมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายในโครงการทนายความอาสาประจำ�ส่วนราชการ ณ ศาล จังหวัดสระแก้ว โดยมี นายนิตพ ิ ฒ ั น์ พานทอง ประธานสภาทนายความจังหวัดสระแก้ว พร้อมด้วยกรรมการสภาทนายความจังหวัดสระแก้ว, ทนายความอาสาฯ เข้าร่วมประชุม โดยคณะทำ�งานฯ ได้รวบรวมข้อมูลต่างๆ เพื่อนำ�มาประกอบการวางแผนการบริหารงานโครงการทนายความอาสาฯ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนต่อไป ที่จังหวัด สระแก้ว เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2558.


ข่าวสภาทนายความ ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2558

9

คุยกับ นายทะเบียน เรียน เพื่อนทนายความทุกท่าน ตามทีศ่ าลเยาวชนและครอบครัวกลางและสภา ทนายความฯ ได้ร่วมกันจัดอบรมทนายความที่ปรึกษา กฎหมายในศาลที่ มี อำ � นาจพิ จ ารณาคดี เ ยาวชนและ ครอบครัว ณ กรุงเทพมหานคร และภูมภิ าคต่างๆ ไปแล้ว นางสาวอรอนงค์ เทศะบำ�รุง จำ�นวน 5 ครัง้ ได้แก่ ทีเ่ นติบณ ั ทิตยสภา กรุงเทพมหานคร นายทะเบียนสภาทนายความ ที่จังหวัดพิษณุโลก ที่จังหวัดขอนแก่น ที่จังหวัดสงขลา (หาดใหญ่) และที่มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง กรุงเทพมหานคร และในครั้งต่อไปจะจัดอบรมในวันที่ 14-16 สิงหาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยนอร์ทเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยเริ่มเปิดรับสมัครในวันที่ 13-17 กรกฎาคม 2558 กฎหมาย เกี่ยวกับเด็ก เยาวชนและครอบครัวนับว่ามีความสำ�คัญเพราะกระทบต่อสิทธิ เสรีภาพของเด็ก เยาวชน และสตรี อย่างยิ่ง จึงทำ�ให้การอบรมทุกครั้งที่ผ่านมาได้รับความสนใจจากเพื่อน ทนายความเป็นจำ�นวนมาก ดังนั้น หากทนายความท่านใดประสงค์จะเข้ารับการอบรมและ ยังไม่ทราบข้อมูลสามารถตรวจสอบรายละเอียดการจัดอบรมได้ที่เว็ปไซต์ของศาลเยาวชน และครอบครัวกลางและเว็ปไซต์ของสภาทนายความฯ นอกจากนี้ สภาทนายความได้จัดการสัมมนากฎหมายใหม่ เรื่อง “ทวงหนี้อย่างไร ไม่ติดคุก” และกฎหมายอื่น อาทิ กฎหมายค้ำ�ประกัน จำ�นอง และการดำ�เนินคดีแบบกลุ่ม เป็นต้น ที่กรุงเทพมหานครและภูมิภาคต่างๆ โดยแยกกลุ่มเป้าหมายของผู้เข้าร่วมการสัมมนา เป็น 2 ส่วน ทัง้ สมาชิกสภาทนายความและประชาชนทัว่ ไป เป็นการจัดสัมมนาร่วมกันระหว่าง สถาบันวิจยั และพัฒนากฎหมายสภาทนายความ กับ สมาพันธ์ผบู้ ริหารหนีส้ ถาบันการ เงินแห่งประเทศไทย มีกำ�หนดการจัดสัมมนา ดังนี้ - วันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม 2558 ณ จังหวัดนครราชสีมา - วันเสาร์ที่ 18 กรกฎาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง กรุงเทพมหานคร - วันเสาร์ที่ 25 กรกฎาคม 2558 ณ จังหวัดนครศรีธรรมราช - วันอาทิตย์ที่ 9 สิงหาคม 2558 ณ จังหวัดเชียงราย - วันอาทิตย์ที่ 23 สิงหาคม 2558 ณ จังหวัดชุมพร - วันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม 2558 ณ จังหวัดอุดรธานี และส่วนที่จัดโดยสถาบันวิจัยและพัฒนากฎหมายสภาทนายความ ซึ่งกลุ่ม เป้าหมายส่วนใหญ่เป็นสมาชิกสภาทนายความ มีกำ�หนดการจัดสัมมนา ดังนี้ - วันเสาร์ที่ 18 กรกฎาคม 2558 ณ โรงแรมวังใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี - วันเสาร์ที่ 25 กรกฎาคม 2558 ณ โรงแรมรอยัลไดมอน จังหวัดเพชรบุรี - วันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม 2558 ณ โรงแรมลายทอง จังหวัดอุบลราชธานี ดังจะเห็นได้ว่า สภาทนายความฯ ให้ความสำ�คัญยิ่งกับการจัดสัมมนากฎหมายใหม่ แก่เพื่อนทนายความทั่วประเทศ ทั้งในกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ เพื่อให้เพื่อน ทนายความมีความรู้ ความเชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชาชีพกฎหมาย ทั้งนี้ เพื่อนทนายความ สามารถติดตามข่าวสารการสัมมนากฎหมายใหม่ได้ทางหนังสือพิมพ์ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เว็ปไซต์ เฟสบุ๊ค ไลน์ และสื่ออื่นๆ ของสภาทนายความฯ และเช่นทีผ่ า่ นมา กรณีเพือ่ นทนายความท่านใดมีการเปลีย่ นแปลงข้อมูลส่วนตัว และ/ หรือ ข้อมูลสำ�นักงานที่ท่านสังกัดอยู่ และ/หรือ สอบบรรจุเข้ารับราชการแต่ยังไม่ได้แจ้งยกเลิก การเป็นทนายความ ขอความกรุณาแจ้งข้อมูลดังกล่าวให้ส�ำ นักงานทะเบียนทนายความเพื่อ ดำ�เนินการปรับปรุงข้อมูลของท่านให้เป็นปัจจุบนั ทีส่ ดุ และเพือ่ รองรับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ของสภาทนายความแห่งใหม่ที่คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2558 นี้ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ของท่าน ในการรับทราบข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพทนายความจากสภาทนายความฯ ต่อไป.

สัมมนาทวงหนี้อย่างไร...ไม่ติดคุก จ.ภูเก็ต : สภาทนายความฯ ร่วมกับสมาพันธ์ผู้บริหารหนี้สถาบันการเงินแห่งประเทศไทย จัดสัมมนากฎหมายใหม่ “ทวงหนี้อย่างไร...ไม่ติดคุก” โดยนายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ เป็นประธานเปิดการสัมมนา ทั้งนี้มี นายวีรศักดิ์ โชติวานิช กรรมการฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายฯ บรรยายในหัวข้อ “พระราชบัญญัตแิ ก้ไข เพิม่ เติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 20) พ.ศ.2557” (ค้ำ�ประกัน จำ�นอง) และ “พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคุ้มครองผู้บริโภค” และปิดท้ายการ สัมมนาด้วยการบรรยายเรื่อง “พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 และ ทวงหนี้อย่างไร...ไม่ติดคุก” โดยนายวิเชียร ชุบไธสง อุปนายกฝ่ายสวัสดิการและ สิทธิประโยชน์สภาทนายความ ทั้งนี้มี นายธีรศักดิ์ วิชชุตานนท์ กรรมการฝ่ายช่วยเหลือ ประชาชนทางกฎหมาย, นายวันรัฐ นาคสุวรรณ กรรมการบริหารสภาทนายความ ภาค 8, นายชัยยศ ปัญญาไวย ประธานสภาทนายความจังหวัดภูเก็ต, กรรมการ สภาทนายความภาค 8 ร่วมการสัมมนา มีผใู้ ห้ความสนใจเข้าร่วมการสัมมนาทัง้ ทนายความ และบุคคลทั่วไปจำ�นวนกว่า 400 คน ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2558.

ที่ปรึกษาประจำ�กองบรรณาธิการ :

นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์, นายสัก กอแสงเรือง, นายบำ�รุง ตันจิตติวัฒน์, นายเจษฎา อนุจารี, นายสุชาติ ธรรมาพิทักษ์กุล, นายพูนศักดิ์ บุญชู, ดร.สุธรรม วลัยเสถียร, นายสุมิตร มาศรังสรรค์, นางสาวอรอนงค์ เทศะบำ�รุง, นายธีรศักดิ์ วิชชุตานนท์, ผศ.ว่าที่ร้อยตรี ดร.สุรพล สินธุนาวา, นายชวน คงเพชร, นายชัยณรงค์ กัจฉปานันท์, นายวิเชียร ชุบไธสง, นายชลิต ขวัญแก้ว, นายสุรศักดิ์ รอนใหม่, นายพิเชษฐ คูหาทอง, นายอาสา เม่นแย้ม, นายผาติ หอกิตติกุล, นายวิทยา แก้วไทรหงวน, นายวันรัฐ นาคสุวรรณ, นายโอฬาร กุลวิจิตร

บรรณาธิการ : นายนิวัติ แก้วล้วน กองบรรณาธิการ : นายสุนทร พยัคฆ์, นายสุวทิ ย์

เชยอุบล, ดร.เกียรติศกั ดิ์ วรวิทย์รตั นกุล, นายไสว จิตเพียร, นายศุภกิจ หล่อพัฒนากูร, นายสุชาติ ชมกุล, นายสุรนิ ทร์ ทาซ้าย, นายวิบลู ย์ นาคทับทิม, ว่าทีร่ อ้ ยตรี สมชาย อามีน, นายคราศรี ลอยทอง, นายโอวาท จุลโคตร, นายเจษฎา คงรอด, นายสัมฤทธิ์ เชือ้ สาวถี, นายดนัย พุม่ เล็ก, นางสาวชืน่ ชนก วชิรธาราธาดร, ดร. วิเศษ แสงกาญจนวนิช, นางสาวนงลักษณ์ แตงเจริญ ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ : นางสาวนัทธมน จันดี, นายนพดล คงคาสัย, นายไพศาล แก่ฉมิ

• ผลิตโดย สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที่ 7/89 อาคาร 10 ถนนราชดำ�เนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ : 0-2629-1430 ต่อ 129, 146 โทรสาร : 0-2282-9908


10

ข่าวสภาทนายความ ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2558

มุมกิจกรรม

ชมรมนักปั่นขอความช่วยเหลือทางกฎหมาย : ผูแ้ ทนสมาคมและชมรมผูป้ นั่ จักรยานแห่งประเทศไทย ซึง่ มี สมาชิกอยูใ่ นจังหวัดต่างๆ ทัว่ ประเทศ ได้สง่ ตัวแทนเดินทางด้วยการ ปั่นจักรยานเริ่มต้นจากจังหวัดเชียงใหม่มายังกรุงเทพมหานคร ได้ เข้าพบ นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ เพื่อขอ ความช่วยเหลือทางกฎหมายในกรณีของสมาชิกประสบอุบตั เิ หตุถกู รถยนต์เฉี่ยวชนเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายบาดเจ็บสาหัสจำ�นวน หลายราย และหารือถึงแนวทางมาตรการในการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้ใช้จักรยานบนทางสาธารณะ รวม ถึงแนวทางความเป็นไปได้ในความร่วมมือระหว่างสภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ กับ ชมรมสมาคมผู้ปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ แห่งประเทศไทยในการทีจ่ ะอบรมเผยแพร่ความรูท้ างกฎหมายและ ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่สมาชิกเพื่อเป็นการให้ความ คุ้มครองสิทธิพื้นฐานของประชาชนในการใช้ประโยชน์ร่วมกันใน อนาคตต่อไป ทั้งนี้มี นายธีรศักดิ์ วิชชุตานนท์ กรรมการช่วย เหลือประชาชนทางกฎหมายสภาทนายความ ร่วมให้การต้อนรับ ด้วย พร้อมนี้สมาชิกและตัวแทนของชมรมผู้ปั่นจักรยานฯ ได้ขอให้ นายกสภาทนายความลงนามลายเซ็นไว้บนเสื้อนักปั่นเพื่อเป็นที่ ระลึกด้วย ณ ห้องประชุมประธานดวงรัตน์ สภาทนายความ ถนน ราชดำ�เนินกลาง กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2558. สัมมนาทวงหนีอ ้ ย่างไร...ไม่ตด ิ คุก จ.สกลนคร : สภาทนายความฯ ร่วมกับสมาพันธ์ผบู้ ริหารหนีส้ ถาบัน การเงินแห่งประเทศไทย จัดสัมมนากฎหมายใหม่ “ทวงหนี้อย่างไร...ไม่ติดคุก” โดย นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายก สภาทนายความ เป็นประธานเปิดการสัมมนา ทั้งนี้มี นายพิเชฐ คูหาทอง กรรมการบริหารสภาทนายความภาค 4 และ นายประภาส แสงสุกวาว ประธานสภาทนายความจังหวัดสกลนคร กล่าวให้การต้อนรับนายกสภาทนายความ กรรมการ บริหารสภาทนายความ ประธานสภาทนายความจังหวัดในภาค 4 สมาชิกทนายความ และผู้เข้าร่วมสัมมนา โดยการ สัมมนาครั้งนี้เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายใหม่ที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพของประชาชนและการประกอบวิชาชีพ ทนายความ ซึ่งมีวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ นายวีรศักดิ์ โชติวานิช กรรมการฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมายฯ บรรยายในหัวข้อ “พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 20) พ.ศ.2557” (ค้�ำ ประกัน จำ�นอง) และพระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมายวิธพ ี จิ ารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 26) พ.ศ. 2558 (การดำ�เนินคดีแบบกลุม่ ) และปิดท้ายการสัมมนาด้วยการบรรยายเรือ่ ง “พระราชบัญญัตกิ ารทวงถาม หนี้ พ.ศ.2558 (ทวงหนี้อย่างไร...ไม่ติดคุก) โดย นายวิเชียร ชุบไธสง อุปนายกฝ่ายสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ สภาทนายความ ทัง้ นีม้ ผี ใู้ ห้ความสนใจเข้าร่วมการสัมมนาทัง้ ทนายความและบุคคลทัว่ ไปจำ�นวนกว่า 700 คน ทีห่ อประชุม มหาวชิราลงกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2558.

เปิดอบรมวิชาว่าความฯ รุ่นที่ 44 : นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ กล่าวเปิดการอบรมวิชาว่าความ รุน่ ที่ 44 และกล่าวปาฐกถาพิเศษแก่ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมฯ โดย นาย เจษฎา อนุจารี ผู้อำ�นวยการสำ�นักฝึกอบรมวิชาว่าความแห่งสภา ทนายความ เป็นผูก้ ล่าวรายงาน มีกรรมการบริหารสภาทนายความ และกรรมการสำ�นักฝึกอบรมวิชาว่าความฯ ร่วมพิธี ทั้งนี้มีผู้เข้ารับ การอบรมทั้งสิ้น 9,650 คน ณ อาคารเรียนรวมและศูนย์วัฒนธรรม (พุทธวิชชาลัย) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2558

อบรมกฎหมายใหม่ : นายเดชอุ ด ม ไกรฤทธิ์ นายกสภา ทนายความ เป็นประธานเปิดการอบรม “กฎหมายภาษีมรดก” และกล่าว ปาฐกถาพิเศษเรื่อง ภาษีมรดกในบริบทของสังคมไทย โดยมี นายสุมิตร มาศรังสรรค์ อุปนายกฝ่ายวิชาการ กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ของการ อบรมฯ ซึ่งผู้เข้ารับการอบรมจะได้รับความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ. ภาษีมรดกและ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง, ภาษีมรดกและการจัดเก็บ, มุมมองการจัดเก็บภาษี มรดกในต่างประเทศ รวมถึงการขอรับและการใช้บริการกฎหมายเกี่ยวกับการดำ�เนินการทางภาษีมรดก และการยืน่ เสียภาษีมรดก โดยมีวทิ ยากรผูท้ รงคุณวุฒริ ว่ มถ่ายทอดความรู้ อาทิ นายอดิศกั ดิ์ สืบประดิษฐ์ นิติกรระดับเชี่ยวชาญพิเศษ สำ�นักกฎหมายกรมสรรพากร, ดร.สุธรรม วลัยเสถียร อุปนายกฝ่าย ต่างประเทศ, นายปัญญา สิทธิสาครศิลป์ ทนายความหุ้นส่วน (Partner) บริษัท เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ จำ�กัด, ผศ.ดุลยลักษณ์ ตราชูธรรม ที่ปรึกษากฎหมายภาษีอากร และอาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งนี้มี นายสุนทร พยัคฆ์ อุปนายกฝ่ายช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย, นางสาวอรอนงค์ เทศะบำ�รุง นายทะเบียนสภาทนายความ, นายอาสา เม่นแย้ม กรรมการบริหารสภาทนายความภาค 5 ร่วมฟังการอบรม ณ ห้องกิ่งเพชร ชั้น 3 โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2558


มุมกิจกรรม

ข่าวสภาทนายความ ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2558

11

ลงนามความตกลงด้านกฎหมาย : นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ และ Mr. Chihiro Sakamoto Executive Vice President ร่วมลงนามความตกลงด้านกฎหมายร่วมกันระหว่าง สภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ กับ Dai-Ichi Tokyo Bar Association ซึ่งเป็นการทำ�ความตกลงร่วม กันในด้านการแลกเปลี่ยนข้อมูล วิชาการด้านวิชาชีพทนายความ และความรู้ทางด้านกฎหมายในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อความสัมพันธ์อันดีระหว่างสององค์กร ในโอกาสนี้มี ดร.สุธรรม วลัยเสถียร อุปนายกฝ่าย ต่างประเทศ ร่วมเป็นพยาน พร้อมด้วยกรรมการบริหารสภาทนายความ ร่วมเป็นเกียรติ ณ ห้องประชุมประธาน ดวงรัตน์ สภาทนายความ ถนนราชดำ�เนินกลาง กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2558. ทูลเกล้าถวายเงินรายได้กาชาด ปี 2557 : นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ นำ�คณะกรรมการบริหารสภาทนายความ และ คณะกรรมการดำ�เนินการจัดงานกาชาดสภาทนายความ เข้าเฝ้าสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์อุปนายิกาสภากาชาดไทย เพื่อ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเงินรายได้จากการจำ�หน่ายสลากบำ�รุงกาชาด ไทย ของสภาทนายความ ประจำ�ปี 2557 เป็นเงินจำ�นวน 1,000,000 บาท (หนึง่ ล้านบาทถ้วน) โดยเสด็จพระราชกุศลบำ�รุงสภากาชาดไทย ณ ศาลาดุสดิ าลัย พระราชวังดุสิต กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2558.

ต้อนรับคณะทูตจากประเทศชิลี : เมื่ อ วั น ที่ 26 มิถุนายน 2558 ในการประชุมคณะกรรมการบริหาร สภาทนายความประจำ�เดือนมิถนุ ายน 2558 ทีห่ อ้ งประธาน ดวงรัตน์ สภาทนายความ ถนนราชดำ�เนินกลาง กรุงเทพ มหานคร : นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ พร้อมด้วยคณะกรรมการบริหารสภาทนายความ ให้การ ต้อนรับ H.E. Mr. Javier Becker Ambassador The Embassy of the Republic of Chile และ Mr. Luis Alberto Palma Deputy Chief of Mission- Consul โดย ดร.สุธรรม วลัยเสถียร อุปนายกฝ่ายต่างประเทศ เป็นผู้แปลภาษาในการ แนะนำ�เรื่องราวต่างๆ ของประเทศ Chile พร้อมทั้งได้พูดคุยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ด้านต่างๆ และ ความแตกต่างของการใช้กฎหมายระหว่างประเทศไทยกับประเทศ Chile และได้ลงนามเป็นที่ระลึกใน การเดินทางมาเยี่ยมชมสภาทนายความในครั้งนี้ด้วย.

มอบ Computer Server : นายธารีรัฐ ทองฉิม, นายนิพล สุข ภิบาล พร้อมด้วยผู้แทนจากสมาพันธ์ผู้บริหารหนี้สถาบันการเงินแห่งประเทศไทย มอบ Computer Server มูลค่ากว่า 100,000 บาท เพือ่ ใช้เป็นประโยชน์ในการพัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสภาทนายความ โดยนายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายก สภาทนายความ พร้อมด้วยกรรมการบริหารสภาทนายความ ร่วมรับมอบในการ ประชุมคณะกรรมการบริหารสภาทนายความ ประจำ�เดือนมิถุนายน 2558 ณ ห้อง ประชุมประธานดวงรัตน์ สถาทนายความ ถนนราชดำ�เนินกลาง กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2558

สัมมนาทางวิชาการ จังหวัดสงขลา : นายสุมิตร มาศรังสรรค์ อุปนายกฝ่ายวิชาการสภาทนายความ เป็นประธานเปิดการสัมมนาวิชาการในการส่งเสริมศักยภาพวิชาชีพ และการ ช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย หัวข้อ “กฎหมายแรงงานกับการบริหารหนี้ที่ไม่ติดคุก” และเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้ หัวข้อ “การเป็นที่ปรึกษากฎหมายด้านแรงงานเกี่ยวกับสัญญาจ้าง แรงงานและการเลิกจ้าง” นอกจากนีย้ งั มีการบรรยายความรูก้ ฎหมายในหัวข้ออืน่ ๆ ได้แก่ “การทำ�ข้อตกลงยกเลิกสัญญาจ้างแรงงาน (Separation Agreement) ประเด็นสำ�คัญของสัญญา ข้อตกลง การห้ามค้าแข่ง ความลับของบริษัท” โดยนางอรดี พันธุมโกมล ว่องสาโรจน์ กรรมการฝ่ายต่างประเทศฯ, “เทคนิคการบริหารหนี้ การทวงถามหนี้ที่ไม่ติดคุก” โดยนายนิวัติ แก้วล้วน เลขาธิการ สภาทนายความ ทัง้ นีม้ ี นายโอฬาร กุลวิจติ ร กรรมการบริหารสภาทนายความภาค 9, นายอรุณ อนุสาร ประธานสภาทนายความจังหวัดสงขลา ร่วมการสัมมนาและกล่าวให้การต้อนรับสมาชิก ทนายความในภาค 9 ซึ่งมีผู้เข้าร่วมสัมมนาฯ ครั้งนี้กว่า 350 คน ที่โรงแรมหรรษา เจบี หาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2558.


12

บ้านของเรา

ข่าวสภาทนายความ ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม 2558

ความคืบหน้าการก่อสร้างอาคารที่ทำ�การสภาทนายความ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2558 : นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ ประชุม ติดตามความคืบหน้างานก่อสร้างอาคารทีท่ ำ�การสภาทนายความ ร่วมกับ ทีมผูค้ วบคุมงานก่อสร้าง ทีมสถาปนิก ทีมออกแบบภูมทิ ศั น์บริเวณโดยรอบอาคาร และหารือภาพรวมระบบ IT หลักของอาคาร ณ ห้องประชุมประธานดวงรัตน์ สภาทนายความ ถนนราชดำ�เนินกลาง กรุงเทพฯ

ภาพความคืบหน้าการก่อสร้างอาคารทีท่ ำ�การสภาทนายความ ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2558 :

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2558 นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ ตรวจความ ก้าวหน้าและปรับแก้ไขบริเวณส่วนของการจัดตกแต่งทีต่ งั้ พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 (ท่านราม ณ กรุงเทพ) พระราชบิดาแห่งวิชาชีพทนายความ ณ บริเวณ สถานที่ก่อสร้างอาคารที่ทำ�การสภาทนายความฯ ถนนพหลโยธิน กรุงเทพฯ

ขอขอบคุณผู้ให้ยืม-บริจาคเงินสมทบกองทุนจัดซื้อที่ดินและก่อสร้างที่ทำ�การสภาทนายความ

เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2558 นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ พร้อมด้วยคณะกรรมการบริหารสภาทนายความ ร่วมรับมอบเงินบริจาคสมทบ “กองทุนเพื่อการ สร้างอาคารที่ทำ�การสภาทนายความ” จาก นายสถาพร ลิ้มมณี, นายไพฑูรย์ นาคฉ่ำ�, นายวรพงษ์ จีระวุฒิ และนายปฐมพงษ์ แก้วดี จากบริษัท สำ�นักพิมพ์วิญญูชน จำ�กัด จำ�นวนเงิน 1,000,000 บาท (หนึ่งล้านบาทถ้วน) พร้อมทั้งมอบหนังสือวิชาการกฎหมายเพื่อประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าแก่สภาทนายความอีกด้วย ทั้งนี้ นายกสภาทนายความได้ มอบประกาศเกียรติคุณเพื่อแสดงความขอบคุณในการบริจาคเงินสนับสนุนฯ ในครั้งนี้ ณ ห้องประชุมประธานดวงรัตน์ สภาทนายความ ถนนราชดำ�เนินกลาง กรุงเทพฯ

สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ

ËÇÁÊ‹§ÀÒ¾¢‹ÒÇ-º·¤ÇÒÁÁÒŧà¼Âá¾Ã‹ ไดที่ ¡Í§ºÃóҸԡÒÃ˹ѧÊ×;ÔÁ¾ ¢‹ÒÇÊÀÒ·¹Ò¤ÇÒÁ àÅ¢·Õè 7/89 ÍÒ¤Òà 10 ¶.ÃÒª´Óà¹Ô¹¡ÅÒ§ á¢Ç§ºÇùÔàÇÈ à¢µ¾Ãй¤Ã ¡ÃØ§à·¾Ï 10200

â·ÃÈѾ· 0-2629-1430 µ‹Í 129, 146 â·ÃÊÒà 0-2282-9908

Facebook : ÊÀÒ·¹Ò¤ÇÒÁã¹¾ÃкÃÁÃÒªÙ»¶ÑÁÀ

E-mail : lctnews2013@gmail.com

เลขที่ 7/89 อาคาร 10 ถ.ราชดำเนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 0-2629-1430 ตอ 129, 146 โทรสาร 0-2282-9908

ชำระคาฝากสงเปนรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ พ.211/2547

ปณ.ราชดำเนิน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.