สรุปนโยบายการเปิดเสรีบริการกับวิชาชีพทนายความ (รายละเอียดฉบับสมบูรณ์โปรดดูรายงานการศึกษาและวิจัย เรื่อง วิชาชีพทนายความและวิชาชีพสาขาอื่น ๆ กับการเปิดเสรีธุรกิจบริการ) ก่อนปี 2515
ไม่มีกฎหมายควบคุมห้ามคนต่างด้าวประกอบวิชาชีพที่ปรึกษากฎหมาย พระราชบัญญัติ เนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2507 ไม่กาหนดเรื่องสัญชาติเป็นข้อห้ามไว้ ปัจจุบันมีสมาชิกเนติ บัณฑิตยสภาที่เป็นคนต่างด้าวอยู่ประมาณ 10 ท่าน และวิชาชีพทนายความที่เดิมอยู่ ภายใต้การอนุญาตของเนติบัณฑิตยสภาก็จากัดอยู่แต่เฉพาะการว่าความ มีคนต่างด้าว ประกอบวิชาชีพที่ปรึกษากฎหมายอยู่บางท่านสอบได้ธรรมศาสตร์บัณฑิตและโอนสัญชาติ เป็นไทย ก็มี แต่ก็ทาเฉพาะงานที่ปรึกษากฎหมายเท่านั้น
ปลายปี 2515
ตั้งแต่ธันวาคม 2515 อาชีพบริการของคนต่างด้าวถูกควบคุมทั้งหมดรวมถึงที่ปรึกษา กฎหมาย แต่ไม่มีผลย้อนหลังถึงคนต่างด้าวที่ ทาวิชาชีพบริการที่ปรึกษากฎหมายนั้นอยู่ แล้ว ปัจจุบันบริษัท สานักงานกฎหมายที่มีขนาดใหญ่ของคนต่างชาติที่มีทนายความไทย ทางานอยู่ให้ บริการที่ปรึกษากฎหมายเป็นส่วนใหญ่ งานที่เป็นคดีความจะจ้างและให้ ทนายความไทยทา และหากไปดูงบดุลของงานที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทที่ปรึกษา กฎหมายที่มีคนต่างชาติถือหุ้น หรือมีชื่อมาจากต่างชาติแล้วจะเห็นว่ามีรายได้จานวนมาก นับเป็นร้อยล้านและบางรายถึงพันล้านบาท
ปี 2517– กันยายน 2528
ทนายความรวมตัว กันร่า งกฎหมายพระราชบัญญัติทนายความให้ “บริการที่ปรึกษา กฎหมาย” อยู่ภายใต้วิชาชีพทนายความ ทนายความสามารถผลักดันร่างพระราชบัญญัติท นายความ พ.ศ. 2558 แยกเป็นอิสระ จากเนติบัณฑิตยสภา แต่ไม่ได้บริการที่ปรึกษากฎหมายมาด้วย คงมีแต่เรื่องว่าความอย่าง เดียว ในทุกประเทศจึงมีการหวงกันเรื่องที่ปรึกษากฎหมายนี้ให้อยู่กับวิชาชีพทนายความ สภาทนายความได้ใช้โอกาสที่รัฐบาลจะเปิดเสรีบริการให้นา “วิชาชีพที่ปรึกษากฎหมาย” มาอยู่ภายใต้การกากับดูแลของสภาทนายความ ส่วนเรื่องการว่าความนั้น ชาวต่างชาติ ที่ จะมาทางานเป็นทนายความในศาลยุติธรรมเกี่ยวกับคดียาเสพติด ลัก วิ่ง ชิง ปล้น ฯ เช่น กับทนายความไทย เพราะงานที่ปรึกษามีรายได้งามกว่ามาก
ปี 2535
รัฐบาลเริ่มมีภาระผูกพันมากขึ้นกับนโยบายการค้าและบริการเสรีตาม WTO ต่อมาตาม ASEAN (“AEC”) การเจรจาการค้าทวิภาคี (FTA) และการตอบรัฐบาลสหรัฐ USA ตาม กฎหมาย USA 301
ปี 2546 – 2558
- เมื่อรัฐบาลถูกการเจรจากระชับให้เปิดเสรีบริการ ก็ได้มีการยกร่างกฎหมายหลายฉบับ ของหลายสภาวิชาชีพ แต่ ก็ไม่มีเรื่องของสาขาวิชาชีพใดได้รับแก้ไข ในส่วนของวิชาชีพ
2 ทนายความมีการยกร่างกฎหมายทนายความขึ้น หลายฉบับ เพื่อตอบภาระผู กพันของ รัฐบาลทุกรัฐบาล แต่ก็ไม่เคยยอมรับว่า ให้เปิดเสรี ในขณะเดียวกันสภาทนายความก็ขอ ควบคุม “บริการที่ปรึกษากฎหมาย” ในการเสนอไปทุกครั้ง ในปี 2558 ก็เช่นเดียวกัน แต่ ก็ยังไม่เคยได้รับคาตอบจากรั ฐบาล กรอบร่างกฎหมายที่เสนอไปก็ยุติอยู่แค่คณะทางาน ตลอดมา - เหตุผลของการแก้ไขพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. .... ทุกฉบับที่ผ่านมา เป็นผลสืบ เนื่ อ งมาจากแนวนโยบายของรั ฐ ที่ อาจจะต้อ งมี การเปิด เสรีเ กี่ ย วกั บ การบริ การด้ า น กฎหมายตามพันธะที่มีอยู่ กับองค์การการค้าโลก และกลุ่มประเทศที่มีพันธกรณีอยู่เป็น สาคัญ จึงมีการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ เพิ่มเติมวิชาชีพในทุกสาขารวมถึงวิชาชีพ ทนายความให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพที่เปลี่ยนแปลงไป - ส่วนการแก้ไขให้คดีมรรยาทยุติในชั้นของสภาทนายความไม่ได้เป็นความประสงค์ของ สภาทนายความ แต่สภาทนายความได้รับคาปรารภจากท่านสภานายกพิเศษในอดีตที่ ผ่านมาว่าทางกระทรวงยุติธรรมโดยท่านรัฐมนตรีที่มาดารงตาแหน่งสภานายกพิเศษได้ ปรารภและอยากจะให้สภาทนายความพิจารณาแก้ไขในส่วนที่สภานายกพิเศษต้องถู ก ฟ้องคดีในเรื่องของมรรยาทและในคดีอาญา - จุดยืนของสภาทนายความคือยังไม่มีการเปิดเสรีการว่าความ ในทางตรงกันข้ามสภา ทนายความต้องการให้วิชาชีพทนายความครอบคลุมวิช าชีพกฎหมายการให้บริการที่ ปรึ กษากฎหมายให้ มีความชัดเจนขึ้นและให้ คนต่างชาติที่จะเข้ามาประกอบวิช าชีพที่ ปรึกษากฎหมายให้อยู่ภายใต้การกากับดูแลของสภาทนายความ - สภาทนายความได้ตอบข้อหารือกับกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ และยังคงจุดยืน เดิม ในขณะเดีย วกัน ก็เพิ่มหลั กสู ตรที่ปรึกษากฎหมายขึ้นหลายสิบหลักสู ตร เพื่อเป็น ข้อสนับสนุนในการขอให้บริการที่ปรึกษากฎหมายอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติทนายความ - สภาทนายความควรเข้าไปควบคุมให้ลูกหลานทนายความเรามีที่จะประกอบวิชาชีพนี้ให้ รุ่ ง เรื อ งต่ อ ไป โดยเฉพาะทนายความรุ่ น ใหม่ ที่ มี ค วามช านาญภาษาอั ง กฤษและ ภาษาต่างประเทศก็สามารถเข้าไปทางานส่วนนี้ได้ดี และถ้าจากัดบทบาทของคนต่างชาติ ให้อยู่ในบริการทางกฎหมายเฉพาะกฎหมายของประเทศเขา ก็จะเป็นผลให้ทนายความ ไทยมีเวทีให้บริการที่ปรึกษากฎหมายไทยได้มากขึ้นต่างกับในขณะที่ปัจจุบันไม่มีข้อจากัด เช่นนั้น ขอให้ท่านทนายความทั้งหลายทราบว่าทุกท่านมีโอกาสวิพากษ์ร่างกฎหมายที่ สมบูรณ์ก่อนจะเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาอย่างแน่นอน สถาบันวิจัยและพัฒนากฎหมาย สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ 25 พฤศจิกายน 2558