จดหมายข่าว
ภาพโดย : ธนากร หงส์พันธ์
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 สวัสดีท่านสมาชิก สมาคมฯ ต้ อ งขออภั ย ที่ อ อกจดหมายข่ า ว ฉบับนี้ล่าช้าไปบ้างเล็กน้อย แต่เชื่อว่าเรื่องและเนื้อหา ภายในยังคงสาระที่เป็นประโยชน์แก่ทุกท่านเหมือนเดิม
เรื่องในเล่ม ป่าอนุรักษ์กับเขื่อน : กรณีศึกษาในต่างประเทศ
2 Promoting Ecotourism at Thailand’s National Parks
4 อุทยานแห่งชาติโตรกผาหลวง Grand Teton National Park
5
ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ข่าวคราวเกี่ยวกับการ อนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติมีอยู่มากมาย หลายเรือ่ ง ทีส่ ำ� คัญได้แก่ องค์การสหประชาชาติ หรือ UN ได้กำ� หนดและเฉลิมฉลองให้วนั ที่ 3 มีนาคม ของทุกปีเป็น “วันสัตว์ป่าและพืชป่าโลก” หรือ “World Wildlife Day” ซึง่ ตรงกับวันทีป่ ระเทศภาคีสมาชิกให้สตั ยาบันต่ออนุสัญญา CITES (The Convention on International Trade in Endangered Species) เพือ่ เป็นการกระตุน้ ให้หน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องและประชาชนของประเทศต่างๆ ได้รว่ มมือกัน ปกป้องและสอดส่องการลักลอบล่าและจับสัตว์ป่าไปขาย ข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ เมือ่ พูดถึงสัตว์ปา่ ทุกท่านคงจ�ำกันได้วา่ กระทิง ที่อุทยานแห่งชาติกุยบุรีล้มตายไปเกือบ 30 ตัว ระหว่าง เดือนธันวาคมของปีก่อนถึงมกราคม 2557 โดยกรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้แถลงข่าวแก่ สื่อมวลชนในเวลาต่อมาว่า การตายดังกล่าวอาจเกิดจาก โรคระบาดที่ติดเชื้อกันได้ในฝูงกระทิง จึงต้องติดตาม ตรวจสอบกันไปอีกระยะหนึ่ง ในโอกาสนี้ ทางสมาคมฯ ก็หวังว่ากรมอุทยานแห่งชาติฯ จะเร่งด�ำเนินการและหา ข้ อ สรุ ป มาชี้ แ จงให้ สั ง คมทราบโดยเร็ ว แบบมื อ อาชี พ
เมษายน - มิถุนายน 2557 ส่วนจะเปิดให้คนเข้าไปชื่นชม เรียนรู้ และพักผ่อนเมื่อใด และบริเวณไหนบ้าง ก็ขอให้มกี ารตัดสินใจอย่างรอบคอบ มากที่สุด เรื่องการรวม “กรมป่าไม้” กับ “กรมอุทยาน แห่งชาติฯ” กลับมาเป็นกรมเดียวกันเหมือนเมือ่ 12 ปีกอ่ น ดูเหมือนว่าจะเป็นไปไม่ได้แล้ว เพราะมีเสียงคัดค้านจาก ทั้งข้าราชการภายในทั้งสองกรมและองค์กรอนุรักษ์ภาค เอกชน สมาคมอุทยานแห่งชาติเองก็มจี ดุ ยืนว่า ไม่สมควร จะรวมมาตั้งแต่แรกที่ได้ข่าว เพราะเห็นว่า พันธกิจหลัก ของกรมทั้ ง สองมี ค วามแตกต่ า งกั น เกื อ บสิ้ น เชิ ง กรมป่าไม้มุ่งเน้นการพัฒนาและใช้ประโยชน์จากป่าเชิง เศรษฐกิจ ในขณะทีก่ รมอุทยานแห่งชาติฯ มุง่ ทีก่ ารสงวน และอนุรกั ษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ เพือ่ ให้เป็น แหล่งนันทนาการและการศึกษาเรียนรูอ้ ย่างยัง่ ยืน ดังนัน้ กรอบปฏิบตั ใิ นการบริหารจัดการทีต่ งั้ อยูบ่ นฐานของหลัก วิชาการของกรมทั้งสอง จึงไม่ควรน�ำมาปะปนกันโดย ไม่จ�ำเป็น อยากพูดคุยต่อ แต่หน้ากระดาษก�ำลังจะหมด คงต้องเรียนท่านสมาชิกและผู้อ่านทั่วไปอีกครั้งว่า หาก ท่ า นมี ข ้ อ คิ ด เห็ น หรื อ ข้ อ เสนอแนะใดๆ แก่ ส มาคมฯ ก็โปรดกรุณาเขียนถึงหรือโทรศัพท์มาได้เสมอนะครับ สุรเชษฎ์ เชษฐมาส 9 เมษายน 2557
ป่า
สถานการณ์ การอนุรักษ์ธรรมชาติ
อนุรักษ์กับเขื่อน
ใ
นจดหมายข่าวฉบับที่ 3 ประจ� ำเดือน มกราคม-มี น าคม 2557 ผมได้ เ ขี ย นเล่ า ข้ อ เท็ จ จริ ง เกี่ ย วกั บ สภาพป่ า และระบบ นิเวศของป่า ที่จะต้องสูญเสียไปหากมีการ ก่ อ สร้ า งเขื่ อ นแม่ ว งก์ ใ นเขต อุทยานแห่งชาติแม่วงก์เพือ่ ใช้ เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการบริ ห าร จั ด การน�้ ำ ตามนโยบายของ รัฐบาล จึงได้แสดงความเห็น เป็นเชิงคัดค้านการสร้างเขือ่ น ดังกล่าวพร้อมไปด้วย ต่ อ มามี เ พื่ อ นพ้ อ งทั้ ง ในและ ต่างวิชาชีพหลายคนได้ถามมา ท�ำนองว่า ในต่างประเทศเขามี การสร้ า งเขื่ อ นหรื อ อ่ า งเก็ บ น�้ ำ ในป่าอนุรักษ์อย่างเช่น อุทยาน แห่งชาติหรือไม่ และมากน้อย เพียงใด ผมจึงขอถือโอกาสนีต้ อบ ค�ำถามดังกล่าวและแบ่งปันข้อมูล ให้กับผู้สนใจทั่วไป ตามที่รู้หรือสืบค้นมาได้ ใน โอกาสแรกนี้ จะขอยกกรณี ข องประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก าขึ้ น มาก่ อ น ด้ ว ยเหตุ ผ ลที่ ว ่ า ประเทศนี้เป็นเจ้าต�ำหรับของป่าอนุรักษ์ โดย เฉพาะอย่างยิง่ ป่าอนุรกั ษ์ประเภททีเ่ ป็น “อุทยาน แห่งชาติ” เพื่อจะได้สอดคล้องกับสิ่งที่เป็น ประเด็นถกเถียงหรือโต้แย้งกันอยู่ในบ้านเรา
: กรณีศึกษาในต่างประเทศ นันทนาการและการศึกษาเรียนรู้ โดยการจัดตัง้ พื้นที่ธรรมชาติและประวัติศาสตร์แบบต่างๆ เพิม่ มากขึน้ ตามล�ำดับ จนปัจจุบนั มีมากถึง 401 แห่ง และกระจายอยู่ทั่วประเทศ
พื้นที่ทั้งหมดดังกล่าว เรียกว่า “ระบบอุทยาน แห่งชาติ” หรือ National Park System ซึง่ มีการ ก�ำหนดหรือจัดแบ่งพื้นที่อนุรักษ์มากกว่า 20 ชนิด ตามชื่อที่เรียกแตกต่างกันไป ทั้งนี้โดยมี อุทยานแห่งชาติ (national park) จ�ำนวน 59 แห่ง เป็นหัวใจและจิตวิญญาณของการอนุรกั ษ์ ในระบบอุทยานแห่งชาติ ซึ่งมี US National หลังจากการประกาศจัดตัง้ พืน้ ที่ “Yellowstone” Park Service (NPS) เป็นหน่วยงานระดับกรม เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศและ ของรัฐบาลกลาง ท�ำหน้าที่รับผิดชอบในการ ของโลก เมื่อปี ค.ศ. 1872 แล้ว สหรัฐอเมริกา ปกป้องรักษาและบริหารจัดการ ยังคงสืบสานเจตนารมณ์และหลักการอันแรง การปกป้องรักษาและบริหารจัดการพื้นที่ใน กล้าของการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากร ระบบอุทยานแห่งชาติ NPS ยึดถือนโยบายการ ธรรมชาติ เพื่อรักษาไว้ให้คนรุ่นปัจจุบันและ บริหารจัดการขององค์กรที่เรียกว่า “National อนาคตมีโอกาสได้ชื่นชมและใช้ประโยชน์เพื่อ Park Service Management Policies 2006” 2 จดหมายข่าวอนุรักษ์ธรรมชาติ
(นโยบายนี้มีการปรับปรุงเป็นระยะๆ ประมาณ 10 ปี / ครั้ ง ) เป็ น บรรทั ด ฐานของการบริ ห าร จัดการ ควบคู่ไปกับกฎหมายหลักอีก 2 ฉบับ โดยนโยบายดั ง กล่ า วมี ส ารั ต ถะครอบคลุ ม ปรั ช ญา หลั ก การ และแนวทาง ปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การสงวนรั ก ษา ทรั พ ยากรธรรมชาติ มรดกทาง วั ฒ นธรรม นั น ทนาการ การสื่ อ ความหมาย การพัฒนาสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกเพื่อรองรับผู้มาเยือน และการจัดการควบคุมผลกระทบที่ อาจเกิดขึ้น รวมทั้งกรอบแนวทาง การพั ฒ นาขนาดใหญ่ ป ระเภท ต่างๆ (อ่านรายละเอียดได้ที่ www. nps.gov/policy/mp2006.pdf) ข้ อ 1.5 ของนโยบายดั ง ที่ อ ้ า งถึ ง ข้างต้น ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า การ อนุ ญ าตให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ใ ดๆ ใน พื้นที่ของระบบอุทยานแห่งชาติ ต้อง มั่นใจได้ว่าจะไม่เป็นสาเหตุของการ ท�ำลาย หรือก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อ ทรัพยากรและคุณค่าของอุทยานฯ จนท�ำให้ ประสบการณ์ ด ้ า นความรื่ น รมย์ ใ นอุ ท ยานฯ (กิจกรรมนันทนาการกลางแจ้งชนิดต่างๆ) การ เรียนรู้ และแรงบันดาลใจของผู้มาเยือนอันเกิด จากทรั พ ยากรเหล่ า นั้ น ต้ อ งเสื่ อ มถอยลง นอกจากนั้น ยังมีการก�ำหนดไว้ในข้อ 1.4 ว่า กิจกรรมการใช้ประโยชน์ที่มีลักษณะเป็นการ ท�ำลายหรือสร้างความเสียหายต่อทรัพยากร และคุณค่าของอุทยานฯ NPS จะไม่ยอมให้เกิด ขึ้นอย่างแน่นอน เว้นเสียแต่ว่าจะมีเงื่อนไขให้ ใช้ประโยชน์อย่างหนึ่งอย่างใดเป็นการเฉพาะ ดั ง ที่ ร ะบุ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรในครั้ ง ที่ อ อก
สถานการณ์ การอนุรักษ์ธรรมชาติ
Jackson Lake Dam in June 1997 as seen looking upstream/west from the north shore of the Snake River.
กฤษฎีกาประกาศจัดตั้งอุทยานฯ นั้นๆ เท่านั้น 1911 ก่อนการประกาศจัดตั้ง Grand Teton เมื่อพลิกไปอ่านที่ข้อ 9.5 เรื่องเขื่อนและอ่าง National Park ราว 18 ปี และแม้เขื่อน Lake เก็บน�้ำ มีการเขียนเป็นนโยบายไว้ชัดแจ้งว่า Sherburne จะสร้างภายหลังจากที่ Glacier “เขือ่ นและอ่างเก็บน�้ำ จะไม่ให้มกี ารก่อสร้างใน เป็นอุทยานแห่งชาติอยูห่ ลายปี แต่การยอมให้ อุทยานฯ ชนิดต่างๆ NPS จะไม่แสวงหาและ สร้างเขื่อนดังกล่าวได้นั้น เป็นเพราะมีเงื่อนไข ด�ำเนินการเกี่ยวกับเขื่อน และจะก�ำจัดให้ตัว ตามทีร่ ะบุในกฤษฎีกาประกาศจัดตัง้ เป็นอุทยาน เขือ่ นทีม่ อี ยูอ่ อกไป หากไม่กอ่ ประโยชน์ตอ่ ฐาน แห่งชาติ ส่วนอ่างเก็บน�ำ้ ทัง้ 16 แห่ง หน่วยงาน ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรทางวัฒนธรรม อื่นของทั้งรัฐบาลกลาง รัฐบาลท้องถิ่น และ และทรัพยากรนันทนาการของพื้นที่ หรือไม่มี บริษัทเอกชน เป็ น ผู ้ ข อให้ NPS เข้ า มาร่ ว ม ความจ�ำเป็นต่อระบบน�้ำที่ต้องใช้ภายในเขต อนุ รั ก ษ์ แ ละบริ ห ารจั ด การในรู ป ของแหล่ ง นันทนาการ ดังนั้น NPS จึงได้ประกาศให้พื้นที่ อุทยานฯ” บริเวณอ่างเก็บน�ำ้ (ไม่รวมตัวเขือ่ นและหัวงาน) และจากการสืบค้นในอินเทอร์เน็ตเพิม่ เติม เพือ่ และพื้นที่เชื่อมโยง เป็น National Recreation ตรวจสอบดูวา่ นโยบายการบริหารจัดการระบบ Areas เพื่อจัดระบบนันทนาการทางน�ำ้ บริการ อุทยานแห่งชาติของ NPS มีความศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละ แก่ผู้มาเยือนที่มีการอนุรักษ์ทรัพยากรในอ่าง ส่งผลต่อการปฏิบัติได้จริงหรือไม่ โดยเฉพาะ เก็บน�้ำและสิ่งแวดล้อมโดยรอบน้อยที่สุด เรื่ อ งการสร้ า งเขื่ อ นและอ่ า งเก็ บ น�้ ำ ก็ พ บว่ า NPS มีการปฏิบัติตามนโยบายอย่างเคร่งครัด กรณีศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า • รัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา ให้ กล่าวคือ ในภาพรวมปัจจุบันมีเขื่อนและอ่าง เก็บน�ำ้ อยูใ่ นพืน้ ทีร่ ะบบอุทยานแห่งชาติ จ�ำนวน ความส�ำคัญเป็นอย่างยิง่ ต่อการสงวนและรักษา 18 แห่ง มีเพียง 2 เขื่อน (และอ่างเก็บน�ำ้ ) คือ ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติในรูปของ Jackson Lake ในอุทยานแห่งชาติ Grand อุทยานแห่งชาติ เพื่อประโยชน์อันยาวนานต่อ Teton และ Lake Sherburne ในอุทยานแห่งชาติ ประชาชนทั้งในรุ่นปัจจุบันและอนาคต Glacier และอีก 16 อ่างเก็บน�้ำ ในพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ • องค์กรรับผิดชอบหรือ NPS โดยการ ชนิดที่เรียกว่า National Recreation Area สนับสนุนของประชาชน ไม่เห็นด้วยกับการ เขื่อน Jackson Lake ได้ก่อสร้างขึ้นเมื่อ ค.ศ. พัฒนาขนาดใหญ่ โดยเฉพาะเขือ่ นและอ่างเก็บ
Jackson Lake Dam. View is to the northwest.
น�้ำภายในพื้นที่ระบบอุทยานแห่งชาติ โดย เฉพาะพื้นที่ชนิดที่เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งเป็น แก่นของการอนุรักษ์ทั้งระบบ และ
• นโยบายการบริหารจัดการของ NPS
จัดว่าเป็นเครื่องมือส�ำคัญส�ำหรับการปกป้อง รั ก ษาทรั พ ยากรและด� ำ รงคุ ณ ค่ า ของระบบ อุทยานแห่งชาติ และใช้เป็นแนวทางในการ ปฏิบตั ขิ องเจ้าหน้าทีท่ กุ คนและทุกระดับภายใน องค์กร
สุรเชษฎ์ เชษฐมาส 31 มีนาคม 2557 ภาพจาก : http://en.wikipedia.org/wiki/Jackson_Lake_Dam : http://www.nps.gov
เมษายน - มิถุนายน 2557 3
friendly spirit in the tours. Another challenge is community participation to tourism activity in the park. It is rare to find higher level of community involvement in the park, because it would be complicated if community involve Wiwik Mahdayani - Indonesia in management. However, community who has power and capacity has opportunity to This project will produce a promotion publication provide services e.g. provide tour service, of selected national parks. As Thailand hosts boat, food, and lodging to visitors, but some large number of national parks, I limited other needs more capacity building. the project sites and continued by visiting 18 national parks at the Southern Thailandwhere tourism is the most concentrated and where the most popular national parks are located. The parks selected based on discussion with resources persons, references, and set up criteria included (1) poses outstanding and rich ecosystems and biodiversity attractions; (2) provide accessibility and infrastructure; (3) The project concludes that the service provided provide economic development to surrounding by community is crucial to support ecotourism, community; (4) offer education and learning so this should be promoted. Furthermore, both experience for visitors; and (5) provide the private-sector and park visitors play major opportunity for private and community sector roles in controlling the impact of tourism at to collaborate and promote tourism activities national parks. They should encourage the to the national park. right balance between cultural and environmental conservation and tourism-related economic benefits for local people. The visitors need educational resources to increase their awareness of ecotourism goals, and to help them prepare for their visit. Chettamart (Pers. Comm., 2012) also underlined the lack of awareness and English publication material to promote Thailand’s national parks for Visitors at Ao Phang-nga National Park international visitors.
Promoting Ecotourism at Thailand’s National Parks
Ecotourism at Thailand’s National park is notable case study, as it is the most important nature-based tourism attraction in the Kingdom. The growing demand for nature-based tourism has resulted over 9.9 million visitors to Thailand’s national parks in 2012 only. I have my first lesson to Thailand’s national park in 2010–2011 when I carried out the research project on ecotourism at Khao Yai National Park. My objective was to learn the visitor management model to improve ecotourism activities at the park. I found the area was impressive with rich biodiversity, developed facilities, and dynamic tourism activities within and around the park. This research brought me to meet various stakeholders related to tourism, included Prof. Surachet Chettamart of NPAT that introduced me to the larger world of national parks in Thailand. Impressed with Khao Yai National Park, I continued my project with another funding during 2012–2013 with NPAT as host institution that provided me administration and substantial supports. My aim for the second project was to develop communication tool for visitors and the private sector to raise awareness, and as one of promotion strategies for the ecotourism sector at Thailand’s national parks.
4 จดหมายข่าวอนุรักษ์ธรรมชาติ
Several challenges highlighted during my site visits to the project locations: the parks have to face impact from visitors who don’t have orientation how to travel in responsible behavior within a national park, yet, there are cases where majority of visitors don’t realize they enter a protected area that has set of rules different to non-protected natural area. It is also hard to find the front liner stakeholders e.g. tour operators/agents that bring eco-
Although several national parks provided the interpretation and facilities to fulfill visitors’ experience and encourage education to minimize the impact, the support from private sectors and visitors is needed. As visitors and private sectors is the center of ecotourism activities, their responsible behavior and support is important to ensure the sustainability of a destination.
อประจำุท�ยานแห่ งชาติเด่น ฉบับ อุทยานแห่งชาติโตรกผาหลวง (Grand Teton National Park) เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งหนึ่งของประเทศสหรัฐอเมริกา ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐไวโอมิ่ง ด้วยเนื้อที่ประมาณ 1,254.53 ตารางกิโลเมตร อุทยานแห่งชาติรวมตลอดถึงบรรดา ยอดเขาส� ำ คั ญ ๆ ตามเทื อ กเขาโตรกผา (Teton Range) ที่ มี ความยาว 64 กิโลเมตร รวมตลอดถึงพื้นที่ส่วนที่เป็นหุบเขาทาง ทิศเหนือส่วนใหญ่ที่รู้จักกันในชื่อ หลุมแจ็คสัน (Jackson Hole) อุทยานแห่งชาติแห่งนี้อยู่ห่างไปทางทิศใต้ของอุทยานแห่งชาติ กาญจนกูฎ (Yellowstone National Park) เพียง 16 กิโลเมตรเท่านัน้
ในบริเวณที่เชื่อมต่อกับพื้นที่อันอยู่ภายใต้การจัดการของส�ำนัก บริการอุทยานแห่งชาติ (National Park Service) ชือ่ อุทยานทางหลวง จอห์ น ดี ร็ อ คกี้ เ ฟลเล่ อ ร์ จู เ นี ย ร์ (John D. Rockefeller, Jr. Memorial Parkway) เป็นพื้นที่ตามแนวยาวที่ขนาบข้างด้วยป่า สงวนแห่งชาติต่างๆ พื้นที่คุ้มครองทั้ง 3 แห่งนี้ รวมกันมีเนื้อที่ เกือบ 72,843.41 ตารางกิโลเมตร เป็นพืน้ ทีร่ ะบบนิเวศกาญจนกูฏ ผืนใหญ่กว่า เป็นหนึ่งในบรรดาระบบนิเวศกลางเขตอบอุ่นที่ ครอบคลุมพืน้ ทีอ่ นั ไม่ถกู รบกวนเลยผืนใหญ่ทสี่ ดุ แห่งหนึง่ ของโลก Grand Teton National Park
อุทยานแห่งชาติโตรกผาหลวง
รัฐบาลสหรัฐอเมริกาในภูมิภาคนี้เริ่มต้นขึ้นกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในฐานะเป็นการส�ำรวจห่างไกลออกไปในพืน้ ทีก่ าญจนกูฏ (Yellowstone) พร้อมด้วยการตั้งรกรากถาวรของคนผิวขาวเป็นครั้งแรกในหลุมแจ็คสัน (Jackson Hole) ที่เกิดขึ้นในคริสต์ทศวรรษที่ 188 ความพยายามต่างๆ ในการสงวนรักษาภูมิภาคแห่งนี้ให้เป็นอุทยาน แห่งชาติเริ่มต้นขึ้นช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 แล้วต่อมาในปี 1929 อุทยานแห่งชาติโตรกผาหลวงก็ได้รับการก่อตั้งขึ้นมาเป็นการปกป้อง คุ้มครองสันเขาส่วนใหญ่ของเทือกเขาโตรกผา (Teton Range) บริเวณ หุบเขาหลุมแจ็คสันยังคงตกอยูใ่ นความครอบครองของเอกชน จนกระทั่ง ถึงคริสตทศวรรษที่ 193 เมือ่ บรรดานักอนุรกั ษ์นยิ มต่างๆ น�ำโดย จอห์น ดี ประวัติเรื่องราวของมนุษย์แถบภูมิภาคโตรกผาหลวงมีอายุย้อนไปใน ร็อคกี้เฟลเล่อร์ จูเนียร์ (John D. Rockefeller, Jr.) เริ่มกว้านซื้อพื้นที่ อดีตอย่างน้อยทีส่ ดุ ถึง 11,000 ปี เมือ่ ชนเผ่าอินเดียนยุคโบราณกลุม่ แรก บริ เ วณหลุ ม แจ็ ค สั น เพื่ อ ผนวกเข้ า กั บ พื้ น ที่ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ที่ มี อ ยู ่ ที่ด�ำรงชีวิตด้วยการเร่ร่อนล่าสัตว์และเก็บหาของป่าเริ่มเดินทางอพยพ ด้วยการด�ำเนินการที่ตรงข้ามกับความเห็นของสาธารณชน และด้วย เข้าสูภ่ มู ภิ าคแห่งนีร้ ะหว่างช่วงเดือนทีม่ อี ากาศอบอุน่ เพือ่ แสวงหาอาหาร ความพยายามอย่างไม่ลดละของรัฐสภาเพื่อล้มล้างความพยายาม และเสบียงเพื่อการด�ำรงชีวิต ดังกล่าว พื้นที่ส่วนใหญ่ของหลุมแจ็คสัน (Jackson Hole) ถูกก�ำหนด ในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 บรรดานักส�ำรวจผิวขาวกลุ่มแรกเริ่ม ให้อยู่ในความคุ้มครองภายใต้ชื่อ อนุสรณ์สถานแห่งชาติหลุมแจ็คสัน พบปะติดต่อกับชนเผ่าโชโชเน่พื้นเมือง (Shoshone) ทางทิศตะวันออก (Jackson Hole National Monument) ในปี 1943 อนุสรณ์สถานดังกล่าว เป็นครั้งแรก ระหว่างปี 1810-1840 ภูมิภาคแห่งนี้ดึงดูดบรรดาบริษัท ถูกยกเลิกไปในปี 1950 แล้วส่วนใหญ่ของพื้นที่อนุสรณ์สถานดังกล่าว ต่างๆ ทีท่ ำ� การค้าขนสัตว์ทตี่ า่ งแข่งขันกันเพือ่ เข้าควบคุมการค้าขนบีเว่อร์ ก็ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติโตรกผาหลวง ทีก่ ระจัดกระจายและให้ผลก�ำไรอย่างงาม บรรดากลุม่ เดินทางส�ำรวจของ เมษายน - มิถุนายน 2557 5
อประจำุท�ยานแห่ งชาติเด่น ฉบับ
อุทยานแห่งชาติโตรกผาหลวงได้รบั การตัง้ ชือ่ ตามโตรกผาหลวง (Grand Teton) ชื่อภูเขาอันสูงที่สุดในเทือกเขาโตรกผา (Teton Range) การตั้ง ชือ่ หมูภ่ เู ขาเหล่านีเ้ ป็นไปตามกลุม่ นักล่าดักสัตว์ทพี่ ดู ภาษาฝรัง่ เศสตอน ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่เรียกชื่อว่า les trois tétons (หัวนมทั้งสาม) ซึ่งต่อมาถูกท�ำให้เป็นชื่อแบบภาษาอังกฤษและห้วนสั้นลงว่า Tetons (ทีทอนส์) ทีร่ ะดับความสูง 4,199 เมตรจากระดับน�ำ้ ทะเล โตรกผาหลวง ตัง้ สูงชันขึน้ ทันทีกว่า 2,100 เมตร เหนือหลุมแจ็คสันและมีความสูงเหนือ กว่าภูโอเว่น (Mount Owen) อันเป็นยอดเขาทีส่ งู เป็นอันดับทีส่ องในเทือกเขา เทือกนี้ถึงเกือบ 260 เมตร อุทยานแห่งชาติแห่งนี้มีทะเลสาบเป็นจ�ำนวนมากรวมทั้งทะเลสาบ แจ็คสันที่ยาว 24 กิโลเมตร และบรรดาล�ำธารสายต่างๆ ที่มีความยาว ล�ำธารผันแปรไปไม่แน่นอน ตลอดจนล�ำธารสายหลักด้านทิศเหนือของ ธารภุชงค์ (Snake River) แม้ในสภาพทีห่ ดตัวลงก็ตาม บรรดาธารหิมะ ขนาดเล็กจ�ำนวนนับเป็นโหลยังคงมีหมิ ะตลอดทัง้ ปีในพืน้ ทีร่ ะดับสูงใกล้ ยอดเขาสูงที่สุดในเทือกเขาดังกล่าว มีการค้นพบว่า หินบางประเภท ในอุทยานแห่งชาติเป็นหินประเภทที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดเหนือกว่าหิน ในอุทยานแห่งชาติแห่งใดๆ ของสหรัฐอเมริกาโดยตรวจสอบอายุได้ถึง เกือบ 2,700 ล้านปี
Glacier lilies paint the landscape in the North Fork of Cascade Canyon.
การเปลี่ยนแปลงอย่างหลากหลายในระบบนิเวศ ชนิดพันธุ์พืชและสัตว์ บางชนิดพันธุ์จึงเป็นชนิดพันธุ์ที่มนุษย์น�ำเข้ามาสู่พื้นที่ จึงต้องมีความ พยายามต่างๆ เกิดขึน้ เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการคุม้ ครองพันธุป์ ลาในท้องถิ่น (native fish) บางชนิดพันธุ์ และชนิดพันธุ์ไม้สนเปลือกขาว (whitebark pine) ที่ถูกคุกคามหนักขึ้นเรื่อยมา
อุทยานแห่งชาติโตรกผาหลวงเป็นจุดหมายปลายทางอันอยูใ่ นความนิยม ส�ำหรับกิจกรรมการพักผ่อนประเภทป่ายปีนภูเขา เดินทางไกล ตกปลา และรูปแบบการพักผ่อนอื่นๆ มีที่ตั้งค่ายพักแรมส�ำหรับยานพาหนะ รถยนต์กว่า 1,000 แห่ง อีกทั้งมีเส้นทางเดินทางไกลกว่า 320 กิโลเมตร ทีอ่ ำ� นวยให้มกี ารเข้าถึงพืน้ ที่ ตัง้ ค่ายพักแรมในป่าเขาทีห่ า่ งไกลหลายแห่ง เป็นพืน้ ทีม่ ชี อื่ เสียงระดับโลกส�ำหรับการตกปลาเทร้าท์ อุทยานแห่งชาติแห่ง อุทยานแห่งชาติโตรกผาหลวงมีพื้นที่เกือบทั้งหมดเป็นระบบนิเวศวิทยา นี้จึงเป็นหนึ่งในไม่กี่แห่งที่เหมาะแก่การตกปลาเทร้าท์แถบคอลายจุด เก่าแก่ดั้งเดิมตลอดจนชนิดพันธุ์พืชและสัตว์เป็นชนิดดั้งเดิมอย่างที่ ละเอียดในธารภุชงค์ (Snake River) โตรกผาหลวงมีศูนย์ผู้มาเยี่ยมชม ปรากฏมีอยูต่ งั้ แต่ชว่ งเวลาก่อนประวัตศิ าสตร์มาแล้วยังคงปรากฏพบอยู่ หลายแห่งที่เปิดให้บริการโดยส�ำนักบริการอุทยานแห่งชาติ อีกทั้งมี ในเขตอุทยานแห่งชาติ ที่นี่มีชนิดพันธุ์พืชมีท่อล�ำเลียงมากกว่า 1,000 สัมปทานรายต่างๆ ที่ด�ำเนินการโดยเอกชนในรูปแบบโรงแรมริมทาง ชนิด ชนิดพันธุส์ ตั ว์มตี อ่ มน�ำ้ นมหลายต่อหลายโหล นกจ�ำนวน 300 ชนิด เรือนพักแรม สถานีเติมน�้ำมันรถยนต์ และท่าจอดเรือหลายแห่ง พันธุ์ ชนิดพันธุ์ปลามากกว่า 1 โหล และชนิดพันธุ์สัตว์เลื้อยคลานและ ชนิดพันธุ์สัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบกอีกจ�ำนวนหนึ่งปรากฏอยู่ เนื่องจาก พิชา พิทยขจรวุฒิ ภาพทั้งหมดจาก : http://www.nps.gov/grte/index.htm 3 กุมภาพันธ์ 2557 6 จดหมายข่าวอนุรักษ์ธรรมชาติ