บริหารจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างไร จึงจะก้าวไกลสู่ระดับโลก

Page 1

บริหารจัดการอุทยานแห่ งชาติอย่ างไร จึงก้ าวไกลสู่ระดับโลก? ผศ. สุรเชษฏ์ เชษฐมาส นายกสมาคมอุทยานแห่งชาติ 2558

เมือราวกลางเดือนกันยายนทีผ่ านมา ผมได้ รับเชิญจากกรมอุทยานแห่ งชาติ สัตว์ ป่า และพันธุ์พืช ไปบรรยายในหัว ข้ อเรื องเดี ย วกั บ หัว ข้ อเรื องของบทความนี ให้ แ ก่ ผ้ ู บ ริ หาร หัว หน้ าอุ ทยาน แห่ งชาติ และเจ้ าหน้ าทีทุกระดับ ในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรือง “การบริ หารจั ดการอุทยาน แห่ งชาติให้ มีประสิทธิภาพ” โดยมีผ้ ูเข้ าร่ วมประชุมจํานวนไม่ น้อยกว่ า 280 คน จึ งขอถือโอกาสนี เขี ย นเป็ นตั ว หนั งสื อ เพือให้ ผ้ ู เกี ยวข้ องและผู้ส นใจนํ าไปใช้ ป ระโยชน์ โดยมี แ หล่ ง อ้ างอิ งได้ อย่ า งไรก็ ต าม ผมจะไม่ กล่ าวถึ ง ประเด็ นปั ญหาหรื ออุ ป สรรคของการบริ ห ารจั ดการอุ ท ยาน แห่ งชาติในบ้ านเราขึนเป็ นโจทย์ เพราะมี งานวิ จัย และบทความทางวิ ชาการเขี ยนไว้ อยู่มากมาย แต่ ขอเน้ นยกตัวอย่ างของต่ างประเทศทีประสบความสําเร็ จในการบริ หารจัดการอุทยานแห่ งชาติ จนเป็ นทียอมรั บของนานาอารยประเทศ ในลําดับแรก ผมขออ้ างถึงอุทยานแห่ งชาติทีมี ชือเสียงเป็ นทีรู้ จักของคนทัวโลก 5 แห่ ง ได้ แ ก่ อุทยานแห่ งชาติ Yellowstone (อุ ทยานแห่ งชาติแ ห่ งแรกของโลก ) , Yosemite และ Grand Canyon ของประเทศสหรั ฐ อเมริ กา อุทยานแห่ งชาติ Banff ในประเทศแคนาดา และอุทยาน แห่ ง ชาติทางทะเล Great Barrier Reef ของประเทศออสเตรเลีย ซึ งทังหมดไม่ เ พียงแต่ จะมี ธรรมชาติทสวยงามตระการตา ี แต่ ยังมี ทรั พยากรธรรมชาติอันหลากหลายทังสิงมี ชีวิ ตและไม่ มี ชีวิ ต ซึงมี คุณค่ าและเอื อประโยชน์ ต่อสังคมและเศรษฐกิ จ รวมทังสร้ างความภาคภูมิ ใจให้ กั บ ประชาชนในประเทศของเขา แต่ ทเป็ ี นอย่ างนันได้ เพราะเขามีการจัดองคาพยพการบริหารจัดการ ทีดี ทังด้ านกฏหมาย นโยบาย องค์ ก ร และบุคลากร จนทําให้ การอนุรักษ์ นั นทนาการ การสื อ ความหมาย และการศึกษาเรียนรู้ของผู้มาเยือนในอุทยานแห่ งชาติประสบความสําเร็ จ เพือความเข้ าใจของผู้อ่าน ผมจึงขออธิบายถึงปั จจัยหลักทีเป็ นองค์ ประกอบสําคัญช่ วยขับเคลือน ให้ การบริ หารจัดการอุทยานแห่งชาติในภาพรวมและรายพืนทีประสบความสําเร็จ มาพอสังเขป ดังนี


1.

การบริ หารจัดการอุทยานแห่ งชาติของประเทศทังสาม นอกจากจะมี กฏหมายคอยนําทาง และกํ ากั บ การตั ดสิ นใจในเรื องต่ างๆทีเกี ยวข้ องแล้ ว เขายั ง ได้ จั ด ทํ า นโยบายการ

บริ หารจั ดการ (Management

หรื ออาจเรี ยกว่ า ข้ อกําหนดในการบริ หาร จัดการ (Management Directives) ทีมาจากการแปลและขยายความตัวบทกฎหมาย เป็ น ภาษาทีเอื อต่ อการตัดสินใจและการปฏิบัติของผู้เกียวข้ องทุก ระดั บ นั บ ตังแต่ รัฐมนตรี อธิบดี ผู้อาํ นวยการ ไปจนถึงหัว หน้ าอุทยานฯ อย่ างเช่ น นโยบายการบริ หารจัดการของ กรมอุทยานแห่ งชาติของสหรั ฐอเมริ กา (US National Park Service) ฉบับปี 2006 ซึงมี ความยาว 179 หน้ า ประกอบด้ วยเนื อหาว่ าด้ วย บทนํา รากฐานสําคั ญของการบริ หาร จัดการอุทยานแห่ งชาติ การวางแผนระบบอุทยานแห่ งชาติ การพิทักษ์ ทีดิน (การผนวก และเพิกถอนทีดิน) การจัดการทรั พยากรธรรมชาติ การจั ดการทรั พยากรทางวัฒนธรรม การสงวนและจัดการพืนทีสันโดษ การสือความหมายและให้ การเรี ยนรู้ การใช้ ประโยชน์ อุทยาน การจัด การสิงอํานวยความสะดวก และการให้ บริ ก ารแก่ ผ้ ูมาเยื อน ทังนี เพือให้ ผู้เ กี ยวข้ องใช้ ยึด ถื อเป็ นกรอบการตั ด สินใจและแนววิ ธี การในการบริ หารจั ดการเรื อง ต่ างๆ ดังนันจึงกล่ าวได้ ว่านโยบายการบริ หารจัด การนี เป็ น “คัมภีร์” หรื อ “คู่มือ” สําหรั บ ผู้เกียวข้ องกับการบริหารจัดการอุทยานแห่ งชาติในประเทศสหรั ฐอเมริ กา 2.

Policies)

องค์ กรบริหารจัดการอุทยานแห่ งชาติทมี​ี ประสิทธิ ภาพ มั กมี โครงสร้ างกะทัดรั ด แต่ มี

ความคล่ องตัว และมอบอํ า นาจตั ด สินใจ แก่ ผ้ ู บริ ห ารระดับ ต่ างๆไว้ อ ย่ า งชั ด เจน อย่ างเช่ น กรมอุทยานแห่ งชาติของสหรัฐอเมริกา ซึงต้ องรั บผิดชอบบริหารจัดการพืนทีใน ระบบอุทยานแห่ งชาติถึ ง 401 แห่ ง คิดเป็ นเนื อทีรวมทังสิน 338,000 ตารางกิโลเมตร กระจายอยู่ในทุกมลรั ฐของประเทศ แต่ มีโครงสร้ างองค์ กรไม่ ซับซ้ อน เน้ นความเชือมโยง ในแนวระนาบ โดยอธิบดีมอบอํานาจการตัดสินใจในการบริหารจัดการแทนเกือบทุกเรือง ให้ กับผู้อํานวยการสํานั กงานส่ วนภู มิภาค (Regional Office) ซึงมี อยู่เพีย ง 7 แห่ งทัวทัง ประเทศ (สหรั ฐอเมริ กามีเนือทีใหญ่ กว่ าประเทศไทยราว 20 เท่ า) และทีสําคัญมี การมอบ อํานาจแก่ หัว หน้ าอุ ท ยานฯในการตัด สิ นใจทีเกี ยวข้ องกั บ การปฏิ บั ติ ทุก เรื องในพื นที อุทยานแห่ งชาติ 3.

อุทยานแห่ งชาติทได้ ี มาตรฐานสากล จะมีแผนการจั ดการ (Management Plan) สําหรับ ใช้ เป็ นเครื องมือหรื อกรอบในการบริ หารจัดการอุทยานแห่ งชาติตามช่ ว งเวลาทีกําหนด และอาจมีแผนด้ านนันทนาการและการจัดการผลกระทบจากผู้มาเยือน แผนการปรั บปรุง


ภูมิทศั น์ และพัฒนาสิงอํานวยความสะดวก แผนการสือความหมายและให้ การเรียนรู้ และ หรื อแผนการอนุ รั กษ์ ฟื นฟูทรั พยากรทีเสือมโทรม เพือเอือให้ ก ารดําเนิ นงานในระดั บ พื นที ประสบความสํา เร็ จ อย่ า งเช่ น อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ข องสหรั ฐอเมริ ก า มี ก ารจั ด ทํา แผนการจัดการทัวไป (General Management Plan) มี อายุการใช้ งาน 15 ปี และอาจมี แผนเฉพาะเรื อง ดั งตั ว อย่ างทีกล่ าวข้ างต้ นประกอบ แต่ อาจมี อายุ ก ารใช้ ง านสั นยาว แตกต่ างกันไปตามความจําเป็ นของอุ ทยานแต่ ละแห่ ง ทังนี การจั ด สรรงบประมาณลงสู่ อุทยานแต่ ล ะแห่ ง จะต้ องขึ นอยู่กับ โครงการหรื อกิ จกรรมทีปรากฏอยู่ใ นแผนต่ างๆนั น เป็ นสําคัญ (program/project-oriented budgeting) 4.

อุทยานแห่ งชาติ ร ะดั บ โลกทุกแห่ ง มั กได้ รับการจั ด สรรทรั พ ยากรทีจํ า เป็ นต่ อ การ

บริ หารจั ด การอย่ า งเต็ ม เม็ด เต็ม หน่ วย ตั งแต่ เ รื องงบประมาณ อัต รากํา ลั งคน ยานพาหนะ และวั ส ดุ อุป กรณ์ ที จําเป็ นและทันสมั ย เพือเอื อให้ หัว หน้ าอุ ทยานฯและ ทีมงานสามารถนําไปใช้ ปฏิบตั ิหน้ าทีตามความรับผิดชอบ ทังนีโดยมุ่งหวังผลสัมฤทธิจาก การดํ าเนิ น งานตามแผนดั งที กล่ า วใน 3. เป็ นเป้ าหมายสําคั ญ ในกรณี กรมอุ ทยาน แห่ งชาติของสหรั ฐอเมริกา ปี 2014 ได้ รับงบประมาณสนับสนุนการบริหารจัดการพืนทีใน ระบบอุทยานแห่ งชาติรวมทังสิน 3,000 ล้ านเหรียญสหรัฐ หรือราว 96,000 ล้ านบาท และ มี อั ต รากํ าลั ง เจ้ าหน้ าที อยู่ 21,989 นาย แต่ มี อ าสาสมั ค ร (park volunteers) ช่ ว ย ปฏิบัติงานด้ านต่ างๆอยู่ตามอุทยานทัวประเทศรวมกันถึง 221,000 นาย 5.

ต่ อเนืองมาจากข้ อ 4. อุทยานแห่ งชาติแต่ ละแห่ งมีข้าราชการหรื อลู กจ้ างประจําซึงมี

ความรู้ ทักษะ และความชํานาญ รั บผิดชอบในการปฏิบัตงิ านพร้ อมทุกด้ าน แต่ ละด้ านจะมี เจ้ าหน้ าที (และอาสาสมั คร) มากน้ อยแตกต่ างกั นขึนอยู่กับขนาดของพืนที ความหลากหลายของทรัพยากร และปริ มาณของนักท่องเทียว ทังนีโดยมีหวั หน้ าอุทยานฯ เป็ นผู้ ควบคุ ม และกํากับ ในการปฏิ บัติ หน้ าทีเสมื อนหนึ งเป็ น CEO อย่ างเช่ นอุ ทยาน แห่ ง ชาติ ทีสําคั ญของสหรั ฐอเมริ ก า จะมี เ จ้ าหน้ าทีซึ งเรี ย กว่ า Park Ranger แยกกั น ผู้รับผิดชอบงานต่ างๆได้ แก่ ด้ านการจัดการและฟื นฟูทรัพยากร ด้ านนันทนาการและการ ท่ องเทียว ด้ านสือความหมายและให้ ความรู้ ไปจนถึ งด้ านการจัดการควบคุมไฟป่ า และ การจัด การต้ นนํ า ในอุทยานฯหลายแห่ งมี นัก วิ ทยาศาสตร์ ทําหน้ าทีในการสํารวจ วิ จัย และทดลองเพือนําผลลั พธ์ มาใช้ ในการแก้ ไขปั ญหาการอนุ รัก ษ์ แ ละบริ หารจัดการพืนที ด้ วย


6.

ในประเทศดังกล่ าวข้ างต้ นให้ ความสําคัญกับการแต่ งตังหัวหน้ าอุทยานฯไปปฏิบัติหน้ าที ในอุทยานแห่ งชาติแต่ ละแห่ง โดยมีกระบวนการคัดเลือกหัวหน้ าอุ ทยานฯทีเข้ มข้ น

และโปร่ งใส เพราะเขาถื อว่ าการบริ หารจัด การอุท ยานแห่ งชาติจ ะสัม ฤทธิผลตาม

7.

เจตนารมณ์ ของกฏหมายและนโยบายได้ ขึนอยู่กับหัวหน้ าอุทยานฯเป็ นสําคัญ หัว หน้ า อุทยานฯจึงต้ องมีความรู้ความสามารถและคุณสมบัติอืนๆตามทีกําหนด ยกตัว อย่ างเช่ น อุทยานแห่ งชาติทุก แห่ ง ในสหรั ฐอเมริ ก าเริ มกระบวนการคัด เลื อกโดยการประกาศให้ เจ้ าหน้ าทีในองค์ ก รที มี คุณสมบัติ ครบถ้ ว นมาสมั คร จั ดตั งคณะกรรมการคั ดเลือกเพื อ พิจารณาคุณสมบัติ ทดสอบความรู้ความสามารถและวิ สัยทัศน์ ซึ งอาจมี ทังข้ อเขียนและ หรื อการสั ม ภาษณ์ และในทีสุ ดประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลื อก โดยทั วไปวาระการดํารง ตําแหน่ งหั ว หน้ า อุ ท ยานมี เ วลา 4 ปี แต่ ส ามารถกลั บ มาสมั ครและเข้ ากระบวนการ คัดเลือกได้ อีก ประเทศทีมี การบริหารจัดการอุทยานแห่ งชาติประสบความสําเร็ จ มั กมี ระบบการพัฒนา บุคลากรทุกระดับอย่ างสมําเสมอและต่ อเนือง โดยเฉพาะการจัดให้ มีหลักสูตรฝึ กอบรม

ภายในองค์ กร (in-service training) ทีได้ มาตรฐาน เพือเอือให้ บุคลากรระดับต่ างๆ

8.

สามารถนําองค์ ความรู้ แ ละทัก ษะไปปฏิ บั ติ ได้ อย่ างมี ป ระสิ ทธิ ภาพ ตั ว อย่ างเช่ น กรม อุทยานแห่ งชาติของสหรัฐอเมริกา มีหลักสูตรฝึ กอบรมครอบคลุม พันธกิจทุกด้ าน ได้ แ ก่ 1) หลักสูตรขันพืนฐานสําหรับข้ าราชการใหม่ (3 สัปดาห์ ) 2) หลักสู ตรการพัฒนาทักษะ ทัวไปเจ้ าหน้ าทีอุทยาน (park ranger skills) (9 สัปดาห์ ) 3) หลั กสู ต รการวางแผน ออกแบบ และการก่ อสร้ าง โปรแกรมนันทนาการและการอนุรักษ์ การจัด การสารสนเทศ เรื องความเชียวชาญเฉพาะด้ าน และการพัฒนาองค์ กร 4) หลักสู ตรฝึ กทักษะการบังคับ ใช้ กฏหมายและระเบียบต่ างๆ 5) หลักสู ตรฝึ กทักษะการสงวนและบูรณะทรั พยากรทาง ประวั ติศาสตร์ และโบราณคดี 6) หลักสูตรฝึ กทักษะด้ านการสือความหมาย 7) หลักสู ตร การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติขันสูง และ 8) หลักสูตรการประยุกต์ ใช้ วิทยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีในการสงวนและบูรณะทรั พยากรทางประวั ติศาสตร์ แ ละโบราณคดี ทังนีเขามี ศูนย์ ฝึกอบรมเรืองต่ างๆดังทีกล่ าวข้ างต้ นอยู่รวมทังสิน 7 ศูนย์ ในประเทศดั งกล่ าวข้ างต้ นและอาจรวมประเทศอื นๆในประเทศตะวั นตกทีพั ฒนาแล้ ว ปั ญหาภัยคุกคามต่ ออุทยานแห่ งชาติไม่ ได้ เกิดจากคน เช่ น การบุกรุ ก พืนที การลั กลอบ ตัดไม้ แ ละล่ าสัต ว์ ป่า ฯลฯ แต่ มั กเกิ ดจากภั ย ธรรมชาติ เกื อบทังหมด เช่ น แผ่ นดินไหว แผ่ นดินถล่ ม ไฟป่ า พายุ ฯลฯ ดังนัน ระบบการเฝ้าระวัง จัดการผลกระทบ และฟื นฟู


ทรั พ ยากรธรรมชาติ จึ ง เน้ นที ภั ย คุ ก คามจากธรรมชาติ เ ป็ นเรื องหลั ก แต่ ก าร ลาดตระเวนของเจ้ าหน้ าทีก็ยังดําเนินการอย่ างสมําเสมอ โดยเฉพาะการลาดตระเวณเชิ ง คุณภาพ (smart patrol) ควบไปกับการใช้ เทคโนโลยีใหม่ ๆเช่ น ภาพถ่ ายดาวเทียม ระบบ ข้ อมู ลภูมิสารสนเทศ GPS เป็ นต้ น ในสหรั ฐอเมริ กา นั กท่ องเทียวทีชื นชอบธรรมชาติ มัก นิ ยมเดิ นทางโดยเท้ าเข้ าไปในป่ าลึกและพืนทีสันโดด (wilderness hiking) กรมอุทยาน แห่ งชาติ หรื อ แม้ แต่ กรมป่ าไม้ ของเขาจึงจัดให้ มีระบบการติดตามเฝ้าระวั งผลกระทบอัน อาจเกิดจากนักท่ องเทียวเหล่ านั น และช่ วยดูแลให้ ความปลอดภัยควบไปด้ วย 9.

อุทยานแห่ งชาติทได้ ี มาตรฐานโลก จะมีการอนุรักษ์ และจัดการสั ตว์ ป่าอย่ า งเข้ มข้ น นับแต่ เรื องการสํารวจวิจัยขันพืนฐานด้ านชนิดพันธุ์ ปริมาณ และนิเวศวิ ทยา และการวิจัย เชิงประยุก ต์ หรื อเชิ งปฏิบัติ การเพือการอนุ รัก ษ์ และจั ดการสั ตว์ ป่าชนิ ดทีหายาก ชนิ ดที พบเจอเฉพาะในพืนที ชนิดทีกําลังจะสูญพันธุ์ รวมทังการบํารุงรักษาถินทีอาศัยให้ มีความ อุดมสมบู รณ์ ทังในด้ านแหล่ งนําและอาหาร เพือป้องกันการออกไปหากินนอกพื นทีซึ ง ส่ งผลกระทบต่ อชุม ชนและพืนทีเกษตรกรรม รวมถึงความเสี ยงต่ อการถูก ล่ า ดังนั นใน หลายประเทศ อย่ างเช่ น แคนาดา สหรั ฐอเมริ กา จึงริ เริ มแนวทางการจั ดการเชิ งระบบ นิ เวศ (ecosystem management) โดยการประกาศขอบเขตการบริ หารจั ดการอุทยาน แห่ งชาติ โดยรวมพืนทีเขตรั ก ษาพันธุ์ สัตว์ ป่ า ป่ าสงวนแห่ งชาติ และพืนทีเกษตรกรรม แบบต่ างๆเข้ ามาเป็ นส่ วนหนึงของพืนทีผืนภูมิทัศน์ เพือการอนุ รัก ษ์ ชนิ ดพันธุ์สั ตว์ ป่าทีมี อาณาเขตการออกหากินค่ อนข้ างกว้ างใหญ่

10. ชนิดพันธุ์ต่างถิน (exotic species)

ทังพืชพรรณและสัตว์ ป่า จะถูก กําจัดออกจาก

อุทยานแห่ ง ชาติทุก แห่ งทีมี ความเป็ นสากล เพราะชนิด พันธุ์ต่ างถินอาจขยายพันธุ์ ครอบคลุมหรือข่ มทับชนิดพันธุ์ท้องถิน จนอาจทําให้ ระบบนิเวศดังเดิมมี ก ารปรั บเปลียน การทําบทบาทหน้ าที โดยเฉพาะการให้ บริ ก ารทางนิ เวศ (ecosystem services) อาจ หยุดชะงักหรื อจํากัดลง รวมถึงความเสียงของการเป็ นพาหะแพร่ เชือโรคให้ กับชนิ ดพันธุ์ ท้ องถิน จนระบบนิเวศโดยรวมถูกเปลียนแปลงจนไม่ สามารถฟื นฟูกลับคืนมาเหมือนเดิม ได้ ระบบพืนทีอุทยานแห่ งชาติในแคนาดา สหรัฐอเมริก า นิวซีแลนด์ และออสเตรเลีย จัด ว่ ามีการควบคุมและจัดการเรื องชนิดพันธุ์ต่างถินได้ ดีเป็ นลําดับต้ นๆของโลก 11. สําหรับด้ านนันทนาการและการท่ องเทียว อุทยานแห่ งชาติทัง 5 แห่ งตามทีอ้ างถึ ง มี การ จัดการในระดับอันเป็ นทีพึงพอใจของผู้มาเยือนในระดับสูงอย่ างต่ อเนื อง นั บตังแต่ เรื อง การคมนาคมเข้ าถึงพืนที ความหลากหลายและความเหมาะสมของกิจกรรมนันทนาการที


สอดคล้ องกับศักยภาพของพืนที ความโดดเด่ นและหรื อเอกลักษณ์ ไปจนถึง ทีพัก แรม แบบต่ างๆ ร้ านอาหาร และร้ านขายของทีระลึก รวมทังระบบการดู แ ลสุ ขภาพ ความ ปลอดภัย และการให้ บ ริ ก ารอืนๆแก่ ผ้ ูมาเยือนด้ วยความเต็ ม ใจ ข้ อสั งเกตทีควรทราบ อย่ างหนึงสําหรับอุทยานแห่ งชาติของสหรั ฐอเมริ ก าก็ คือ จะเน้ นการให้ ประสบการณ์ ทีดี แก่ ผ้ ูมาเยือนควบคู่ไปกับการดูแลรั กษาทรั พยากรและสิงแวดล้ อมอย่ างเข้ มข้ น พร้ อมมี ระบบติ ด ตามและตัว ชี วั ดของสิ งดั ง กล่ า วอย่ างสมํ าเสมอ ดั ง นั นเขาจึ ง จํ ากั ด จํ านวน นักท่องเทียวสูงสุดเฉพาะผู้ เข้ าพัก ค้ างแรมเท่ านั น แต่ ไม่ จํากัดจํานวนผู้มาเช้ า-เย็นกลับ เพราะพวกเขาสามารถหาทีพักแรมตามเมืองหน้ าด่ านทางเข้ า แล้ วกลับเข้ ามาในอุทยานฯ ได้ อีกภายใน 7 วัน 12. ในด้ าน การสื อความหมายและการให้ การเรี ยนรู้ แก่ ผู้ มาเยื อ น

นั บ เป็ น

องค์ ประกอบสําคัญสํา หรั บอุทยานแห่ งชาติมาตรฐานโลก อาจกล่ าวได้ ว่ าระบบ พืนทีอุทยานแห่ งชาติของสหรั ฐอเมริ กาและแคนาดา มั กจะยอมลงทุนจัดให้ มีโปรแกรม สือความหมายในรู ป แบบต่ างๆอย่ างหลากหลาย ซึ งเป็ นการให้ ข้อมูล ในการเข้ ามาใช้ พืนทีและสร้ างโอกาสในการเรี ยนรู้เกียวกับพืนทีและทรั พยากรธรรมชาติ-วัฒนธรรมแก่ ผ้ ู มาเยือนทุกกลุ่มอย่ างเต็มที ศูนย์ บริการผู้มาเยือน (visitor center) ซึงจัดว่ าเป็ นศูนย์ รวม ของการสือความหมายในอุทยานแห่ งชาติ มักจะได้ รับการปรั บปรุ งยกระดับคุณภาพการ บริ การด้ านสือความหมายอยู่เสมอ นอกจากนี อุทยานแห่ งชาติเกือบทังหมดของประเทศ ทั งสอง ปั จจุ บั น ได้ ป ระยุ ก ต์ ใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศในการสื อความหมายและ ประชาสัมพันธ์ พืนทีผ่ านโทรศัพท์ มือถือเกือบหมดทุกแห่ งแล้ ว 13. สําหรับเรื องการมีส่ วนร่ วมในการจัดการอุทยานแห่ งชาติ

มักเปิ ดกว้ างและยินดีให้

ภาคส่ วนต่ างๆเข้ ามามีส่วนร่ วมอย่ างเต็มที เพราะเขาตระหนักอยู่เสมอว่ าอุทยานแห่ งชาติ เป็ นสมบัติ ของคนทุก คนในชาติ และการบริ หารจั ด การอุ ทยานแห่ ง ชาติส่ งผลกระทบ ทางบวกและหรื อทางลบต่ อคนแต่ ล ะกลุ่ มแตกต่ างกัน การมี ส่ วนร่ ว มของเขารวมตังแต่ เรื องการคิดร่ วมกันเพือให้ได้ เป้าหมายอันเกิดจากการบริ หารจัดการ บทบาท หน้ าทีและ ความรั บผิ ดชอบของแต่ ล ะภาคส่ ว น และการติด ตามประเมิ นผลสัมฤทธิ อุปสรรค และ ข้ อจํากัดหรืออุปสรรคต่ างๆ ทังนีโดยดําเนินการผ่ านการประชุมรั บฟั งความคิ ดเห็น การ ประชุ มคณะกรรมการ และการประชุ มประชาพิ จารณ์ อย่ างกว้ างขวาง รวมทังรั บ ฟั ง ข้ อคิดเห็นทางไปรษณีย์ อีเมล์ และผ่ านทางนักการเมือง


14. การศึกษา

ค้ นคว้ า และวิจัยมีบทบาทสําคัญต่ อการอนุรั กษ์ และบริหารจัดการ อุทยานแห่ งชาติทีได้ มาตรฐานโลก อย่ างเช่ นในสหรัฐอเมริ กา กรมอุทยานแห่ งชาติมี

การส่ งเสริ มการวิ จัยเชิ งพืนฐานและเชิ งประยุ กต์ โดยนั ก วิ จัย ภายนอก และมี การจัดสรร งบประมาณให้ มีการวิ จัย โดยนั กวิ ทยาศาสตร์ ของตนเองอย่ างต่ อเนื อง โดยเฉพาะอย่ าง หลัง มีการจัดตังหน่ วย ห้ องทดลอง และอุปกรณ์ วิจัยอยู่ในอุทยานแห่ งชาติบางแห่ ง และ จั ด ตั งศู น ย์ วิ จั ย อยู่ ต ามมหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆที มี ข้ อตกลงความร่ วมมื อ กั น โดยจั ด ให้ นักวิ ทยาศาสตร์ ของตนไปทําหน้ าทีเป็ นอาจารย์ คอยแนะนําให้ นักศึก ษาทังระดับปริ ญญา โทและปริ ญญาเอกดําเนินการวิจัยในสาขาและหัวข้ อทีจะให้ ผลลัพธ์ อันเป็ นประโยชน์ ต่อ การจั ด การทรั พ ยากร กิ จกรรมนั นทนาการ การท่ องเทียว และการสื อความหมายใน อุทยานแห่ งชาติต่างๆ 15. ในหลายประเทศทีมี อุ ทยานแห่ งชาติจั ดอยู่ ในชันแนวหน้ า ของโลกตามทีอ้ างถึง ได้ นํ า แนวคิ ด ในการประเมิ นประสิ ทธิภาพ (management effectiveness evaluation) ไป ประยุ ก ต์ ใช้ ในการตรวจวั ด ประสิ ท ธิ ภาพและคุ ณ ภาพของการบริ ห ารจั ด การอุ ท ยาน แห่ งชาติรายพืนทีในประเทศของตนมากขึนตามลําดับ จากการประชุมใหญ่ เรื องอุทยาน โลกครั งที 6 (The 6th World Parks Congress) ทีกรุ ง Sydney ประเทศออสเตรเลียเมื อ เดือนพฤศจิกายนทีผ่ านมา ทีประชุม (มีผ้ ูเข้ าร่ วมประชุมมากกว่ า 4,000 คน จากกว่ า 100 ประเทศ) เห็นชอบร่ วมกันว่ า การประเมิ นประสิทธิ ภาพและคุณภาพการบริ หารจัดการ พืนทีคุ้มครองเป็ นเรื องสําคั ญสําหรั บทุก ประเทศ ยิ งถ้ าหากมี การจัด ทํารายงานเกี ยวกับ สถานะของพืนทีอุทยานเป็ นระยะๆได้ ก็จะทําให้ ทราบถึงระดับของการอนุ รักษ์ ว่ าประสบ ความสําเร็ จมากน้ อยเพีย งใด โดยในอนาคตอั นใกล้ สหภาพสากลว่ าด้ วยการอนุ รัก ษ์ หรื อทีรู้จักกันในนาม IUCN จะจัดทําคู่มือมาตรฐานในการประเมินดังกล่ าวแจกจ่ ายให้ กับ ประเทศสมาชิก ท้ ายสุ ด นี สิ งทีผมเขี ย นมาทังหมดข้ างต้ นเป็ นปั จจั ย หลัก ของระบบการบริ หารจั ด การอุ ทยาน แห่ งชาติของประเทศทีถือว่ าประสบความสําเร็จ โดยมิได้ แจงรายละเอียดทังหมดทีเขาดําเนินการ มาแต่ อดี ต จนถึ งปั จจุ บัน แต่ อย่ างน้ อ ยคงจะช่ ว ยให้ ผ้ ูเ กี ยวข้ องกั บการบริ หารจั ด การอุทยาน แห่ งชาติทกุ ระดับ ได้ นํามาใช้ ทบทวนว่ าสิงทีดําเนิ นการกันมาในประเทศเราครบถ้ วน เหมาะสม และมี ประสิทธิ ภาพหรื อไม่ เพี ยงใด จนสามารถบอกสังคมได้ ว่ าเรามี การบริ หารจัดการอุทยาน แห่ ง ชาติ เ ข้ าขั นมาตรฐานโลกแล้ ว หากยั ง ไม่ ถึ ง ขั นมาตรฐานโลกแต่ ต้ อ งการไปถึ ง จุ ด นั น ผู้เกียวข้ องจําเป็ นต้ องเรี ยนรู้ มุ่ งมั น และทุ่มเทความรู้ ความสามารถและทรั พยากรทีมี อยู่ทาํ ให้


เกิ ดขึ นจริ งให้ ไ ด้ แม้ จ ะต้ องลอกเลีย นแบบกลไกการขั บเคลือนบางอย่ างหรื อหลายอย่ างของ ระบบอุทยานแห่ งชาติของบางประเทศทีประสบความสําเร็จบ้ างก็ตาม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.