จดหมายข่าว สมาคมอุทยาน ฉบับที่ 6

Page 1

จดหมายข่าว

ภาพจากอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์

ปีที่ 2 ฉบับที่ 6 เรื่องในเล่ม การประชุมว่าด้วยอุทยานของโลก : สาระส�ำคัญและความหมาย ต่อประเทศไทย

2

อุทยานแห่งชาติกุยบุรี ควรก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร?

7 อุทยานแห่งชาติหมอกภูผาใหญ่ Great Smoky Mountains National Park

10

ตุลาคม - ธันวาคม 2557

สวัสดีสมาชิกและเพื่อนสมาคมฯ ก่อนอื่น ผมต้องขออภัยที่จดหมายข่าวฉบับนี้ออกล่าช้า กว่าก�ำหนดมาพอสมควร แต่ก็หวังว่าท่านสมาชิกและ เพื่อนๆ ที่สนใจติดตามอ่านข่าวคราวเรื่องอุทยานและการ อนุรักษ์ คงพอทราบความเคลื่อนไหวผ่านสื่อมวลชนและ สื่อออนไลน์อยู่บ้าง ผมขอสรุปเรื่องที่น่าสนใจให้ทราบอีก ครั้ง ณ ที่นี้ เรื่องแรก ภายหลังจากที่รัฐบาลของ คสช.เข้ามาบริหาร ประเทศ การบุกรุกป่า ลักลอบตัดไม้ และล่าสัตว์ในภาพ รวมทัง้ ประเทศดูเหมือนว่าจะลดน้อยลงไปมาก คงต้องขอ ยกเครดิตให้กบั คสช.ทีส่ ามารถขับเคลือ่ นให้องคาพยพที่ เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะการบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่ ทั้งของกรมอุทยานแห่งชาติฯ กรมป่าไม้ และทหารต�ำรวจ อย่างได้ผล แต่อย่างไรก็ตาม ผมเห็นว่าปัญหาด้านการ อนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูทรัพยากรป่าไม้ของชาติ ยังมีอกี มากมาย ที่รอการปฏิรูปให้ถูกที่ถูกทางและเป็นระบบ หรืออีกนัย หนึง่ ต้องวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาแบบองค์รวม (holistic approach) ทัง้ ด้านนโยบาย กฎระเบียบ โครงสร้างองค์กร ไปจนถึงทรัพยากรการบริหารจัดการ ที่ส�ำคัญที่สุดคือ ทรัพยากรบุคคลหรือนักวิชาชีพด้านการป่าไม้รวมตลอด ถึงรูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วมของประชาชนกลุ่ม ต่างๆ ที่สอดคล้องกับสภาพทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมืองของประเทศ เรื่องที่สอง สปช.ได้จัดตั้งคณะอนุกรรมาธิการด้านการ จัดการป่าไม้และที่ดิน มาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2557 เพื่อพิจารณาหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและปฏิรูปการ อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และที่ดินในเขตพื้นที่ป่า ไม้ จนถึงวันนี้ ได้สรุปเรื่องส�ำคัญที่จะต้องด�ำเนินการให้ แล้วเสร็จโดยเร็วอยู่ 2-3 เรื่อง ได้แก่ การเตรียมร่าง

พ.ร.บ.ป่าชุมชน และเรือ่ งการตรวจสอบกรรมสิทธิก์ ารถือ ครองที่ดิน สปก.4-01 เพื่อทวงคืนพื้นที่จากผู้ถือครองที่ ไม่อยู่ในเงื่อนไข หรืออีกนัยหนึ่งคือ ผู้ถือครองที่ไม่ใช่ เกษตรกรเดิมหรือทายาทตามที่ระเบียบก�ำหนดไว้ เรือ่ งทีส่ าม ท่านคงได้อา่ นหรือได้ยนิ ข่าวเรือ่ งนักท่องเทีย่ ว กับช้างป่าทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติเขาใหญ่กนั แล้วเมือ่ เดือนก่อน ความจริงเรือ่ งท�ำนองนีเ้ คยเกิดขึน้ มาก่อน แต่ชา้ งป่าไม่เคย เข้าจู่โจมพาหนะของนักท่องเที่ยวเลย เพียงแต่แสดงท่าที ไม่พอใจทีน่ กั ท่องเทีย่ วบีบแตรหรือส่งสัญญาณไฟกะพริบ เพือ่ ขอทางเท่านัน้ จึงขอเรียนว่า ผืนป่าเขาใหญ่ทเี่ ชือ่ มโยง กับอุทยานแห่งชาติทับลานและปางสีดา เป็นถิ่นที่อาศัย และแหล่งหากินของช้างป่าและสัตว์ป่านานาชนิดมาแต่ อดีตอันยาวนาน เพราะฉะนั้น นักท่องเที่ยวจะต้องให้ ความเคารพต่อสิทธิของสัตว์ป่าและธรรมชาติทั้งปวง พฤติกรรมทีเ่ ป็นการรบกวนหรือส่งผลกระทบต่อการด�ำรง อยู่ของธรรมชาติและสัตว์ป่าจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ ยิ่งถ้าหลีกเลี่ยงได้ก็จะดีมาก และเรื่องสุดท้าย ในช่วงเดือนพฤศจิกายนของปีก่อน ผม มีโอกาสได้ไปร่วมประชุมใหญ่เกี่ยวกับอุทยานโลกที่ ออสเตรเลียและเดือนธันวาคมได้เดินทางไปอุทยานแห่ง ชาติกยุ บุรี จึงได้เขียนบทความทีอ่ าจเป็นประโยชน์ตอ่ ท่าน สมาชิกและเพื่อนสมาคมในจดหมายข่าวฉบับนี้ด้วย ในวารดิถีที่เข้าสู่พุทธศักราชใหม่ ในนามของสมาคม อุทยานแห่งชาติ ผมขอส่งความสุขและความปรารถนาดี มายังสมาชิกและเพื่อนสมาคมทุกท่านมา ณ ที่นี้ และหวัง ว่าท่านจะกรุณาส่งบทความมาลงในจดหมายข่าวบ้างนะครับ สุรเชษฎ์ เชษฐมาส 4 กุมภาพันธ์ 2558


การประชุมว่าด้วยอุทยานของโลก: ส า ร ะ ส� ำ คั ญ แ ล ะ ค ว า ม ห ม า ย ต อ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย

โดย สุรเชษฎ์ เชษฐมาส

การประชุมว่าด้วยอุทยานของโลก หรือ The World Parks Congress หรือเรียกโดยย่อว่า WPC เป็นการประชุมระดับนานาชาติที่ว่าด้วยการ อนุรกั ษ์และการจัดการพืน้ ทีค่ มุ้ ครอง (Protected Areas) ได้แก่ อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ และพืน้ ทีท่ ปี่ ระกาศจัดตัง้ ขึน้ เพือ่ การอนุรกั ษ์ธรรมชาติ ในรูปแบบอืน่ ๆ และเรียกชือ่ แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ทัง้ นีเ้ พื่อใช้เป็นเวทีระดับโลกส�ำหรับการแบ่งปันองค์ความรู้ นวัตกรรม และก�ำหนดวาระส�ำหรับการ อนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองในทศวรรษที่จะมาถึงข้างหน้า โดยมีสหภาพสากลว่าด้วยการอนุรักษ์ธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature – IUCN) เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการประชุมร่วมกับองค์กรที่รับผิดชอบต่อการอนุรักษ์ธรรมชาติของประเทศที่มีความพร้อมและสามารถรับเป็น เจ้าภาพร่วมได้ การประชุม WPC ครัง้ นีเ้ ป็นการประชุมครัง้ ที่ 6 โดยจัดขึน้ ทีน่ คร Sydney ประเทศ Australia นับตัง้ แต่การประชุมครัง้ แรกที่ Seattle, Washington, USA เมื่อปี 1962 และครั้งที่ 5 ที่ Durban, South Africa เมื่อปี 2003 จึงเห็นได้ว่า WPC มีการจัดให้เกิดขึ้นในทุกรอบ 10 ปีโดยประมาณ ดังนั้น การประชุมจึงมีพัฒนาการมาตามล�ำดับ ทั้งในเชิงจ�ำนวนประเทศที่มีตัวแทนเข้าร่วมประชุม จ�ำนวนรวมของผู้เข้าร่วมประชุม สารัตถะ และข้อเสนอแนะที่ ส่งผลกระทบและเป็นประโยชน์ต่อการอนุรักษ์และการจัดการพื้นที่คุ้มครองในประเทศทั่วโลก IUCN โดยความร่วมมือของ Parks Australia และ New South Wales National Parks and Wildlife Service ได้เลือก Sydney Olympic Parks เป็นสถานทีจ่ ดั ประชุม โดยมีผเู้ ข้าร่วมประชุมรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 5,000 คน จากประเทศต่างๆ มากกว่า 100 ประเทศ เค้าโครงเรือ่ งหรือ Theme ของ การประชุมครัง้ นี้มีชอื่ ว่า “Parks, People, Planet: Inspiring Solutions” โดยมีการน�ำเสนอ พูดคุยแลกเปลี่ยน ร่วมกันก�ำหนดทิศทางและวิธีการ ส�ำหรับการอนุรกั ษ์ รวมทัง้ แนวทางแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างการ อนุรักษ์กับการพัฒนาเพื่อให้เกิดความสมดุลและมีความยั่งยืนไปสู่ อนาคต ดังนั้น WPC ครั้งนี้ จึงก�ำหนดรูปแบบการประชุมที่ครอบคลุม จุดมุ่งหมายดังกล่าวข้างต้นค่อนข้างหลากหลาย นับตั้งแต่การเสวนา ใหญ่บนเวที (Panel Discussion) โดยผู้น�ำระดับประเทศ ผู้น�ำองค์กร ด้านการอนุรกั ษ์และผูน้ ำ� องค์กรอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง การน�ำเสนอผลงานวิจยั นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งที่เป็นกรณีศึกษาระดับพื้นที่

2 จดหมายข่าวอนุรักษ์ธรรมชาติ

คุ้มครอง ระดับพื้นที่ทั้งระบบของประเทศ และระดับภูมิภาคต่างๆ ของ โลก การสัมมนาแลกเปลีย่ นความเห็นในกลุม่ ขนาดย่อมและการประชุม เชิงปฏิบัติการแบบ Side Events รวมถึงมีการจัดแสดงนิทรรศการอีก จ�ำนวนมาก ทั้งในรูปแบบที่เป็นการกระตุ้นแนวคิด สร้างแรงบันดาลใจ และเทคนิคหรือขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองและ


ความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งระดับระบบ นิเวศ และระดับชนิดพันธุ์ รวมทั้งมี World leaders’ dialogue ในช่วงค�ำ่ ของการประชุม ทุกวันด้วย ทีส่ ำ� คัญ IUCN ได้จดั แบ่งการประชุม เป็นกลุ่มหลักๆ (streams) ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจ ของ WPC ครั้งนี้จ�ำนวน 8 กลุ่ม ประกอบด้วย • Reaching conservation goals (การบรรลุเป้าหมายของการอนุรักษ์) • Responding to climate change (การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศ) • Improving healthand well-being (การปรับปรุงสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี) • Supporting human life (การเกื้อ หนุนต่อสังคมมนุษย์) • Reconciling development challenges (การสานสัมพันธ์กับการพัฒนา) • Enhancing the diversity and quality of governance (การเพิ่มพูนความ หลากหลายและคุณภาพของธรรมาภิบาล) • Respecting indigenous and traditional knowledge and culture (การให้ ความเคารพต่อองค์ความรู้และวัฒนธรรมของ คนท้องถิ่นดั้งเดิม) • Inspiring a new generation (การ สร้างแรงบันดาลใจแก่คนรุ่นใหม่) นอกจากนี้ ยังมีการจัดแบ่ง themes ย่อยๆ ที่เรียกว่า Cross-cutting themes ออก เป็น 4 กลุ่มย่อย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยง กับกับกลุม่ หลักๆ ทัง้ 8 กลุม่ ดังทีก่ ล่าวแล้วข้าง ต้น กลุ่มย่อยนี้ประกอบด้วย World Heritage (มรดกโลก), New Social Compact (หมูส่ งั คม ใหม่), Capacity Development (การพัฒนา สมรรถนะ) และ Marine (ทะเล) จากที่กล่าวข้างต้น จะเห็นว่าการจัด ประชุม WPC ครั้งนี้ มีสารัตถะค่อนข้างกว้าง ขวางตามการจั ด แบ่ ง เป็ น Streams และ Cross-cutting themes และจั ด ในเวลา เดียวกันทั้งหมด ดังนั้น ในส่วนของผู้แทนจาก กรมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ สั ต ว์ ป ่ า และพั น ธุ ์ พื ช จ�ำนวน 13 คน จึงมีการแบ่งความรับผิดชอบใน การเข้าร่วมประชุมรับฟังในแต่ละ Stream และ

Cross-cutting theme แตกต่างกันไป ส�ำหรับ ผมนัน้ ได้รบั มอบหมายให้เน้นการเข้าประชุมรับ ฟังใน Stream1) Reaching conservation Goals และอาจเข้าร่วมประชุมใน Streams และ Cross-cutting themes อื่ น ๆ ตามที่ โอกาสจะอ�ำนวย

การอนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ อั น ได้แก่ ระบบนิเวศ ชนิดพันธุพ์ ชื และสัตว์ ความงามด้านทัศนียภาพ และอรรถประโยชน์ จ ากกระบวนการทาง ธรรมชาติ หรือที่รู้จักกันในปัจจุบันว่า “การ บริ ก ารจากระบบนิ เ วศ” หรื อ “ecosystem services” แต่เกือบทุกประเทศทั่วโลกยังคง ภาพรวมของ Stream1) Reaching Conser- เผชิญกับสิ่งท้าทายนานับปการ โดยเฉพาะภัย คุกคามที่เป็นสาเหตุท�ำให้พื้นที่คุ้มครองและ vation Goals Streamนี้จะแสดงให้เห็นว่า ถ้าพื้นที่ ระบบพืน้ ทีค่ มุ้ ครองด้อยคุณภาพและขาดความ คุ้มครองได้รับการวางแผนที่ดี มีการจัดการ มัน่ คง ดังเห็นได้จากการลดน้อยถอยลงของป่า อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความเชื่อมต่อ ธรรมชาติ จนท�ำให้เกิดหย่อมป่า สัตว์ปา่ ชนิดที่ ของพืน้ ทีค่ มุ้ ครองต่างๆ เข้าด้วยกัน จะเป็นองค์ ส� ำ คั ญ ๆ ใกล้ สู ญ พั น ธุ ์ ปะการั ง ตายหรื อ ประกอบส�ำคัญอย่างหนึ่งที่น�ำไปสู่เป้าหมาย เสื่อมโทรม ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ ของการอนุรักษ์ โดยจะมีการน�ำเสนอตัวอย่าง พื้นที่คุ้มครองยังไม่ได้มาตรฐานและคุณภาพ ประเทศ กลุม่ คน พืน้ ทีแ่ ละองค์กรต่างๆ ทีก่ �ำลัง เป็นต้น ดังนั้น การที่จะให้บรรลุเป้าหมายของ ด�ำเนินการน�ำร่องไปสู่ความส�ำเร็จในเรื่องการ การอนุรักษ์ได้อย่างแท้จริงและเอื้อประโยชน์ อนุรักษ์ รวมทั้งจะมีการยกตัวอย่างผู้นำ� แนว แก่สังคมโดยรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เข้า ความคิดแบบสร้างสรรค์ และทัศนคติเชิงบวก ร่วมประชุมจะต้องช่วยกันแสดงความเห็นและ จากกรณีศกึ ษาทัว่ โลกทีแ่ สดงว่าเป้าหมายของ ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นแนวทาง เทคนิค และ การอนุรักษ์สามารถจะบรรลุได้ นอกจากนี้ จะ มาตรฐานในทางปฏิบตั ิ ส�ำหรับทศวรรษนีแ้ ละ มีข้อเสนอเกี่ยวกับมาตรฐานอันใหม่ที่บ่งชี้ถึง ต่อไปด้วย • ทีป่ ระชุมได้มกี ารหยิบยก Strategic พื้ น ที่ คุ ้ ม ครองและระบบพื้ น ที่ คุ ้ ม ครองที่ มี Plan for Biodiversity 2011-2020 and the ประสิทธิภาพ Aichi Targets ซึ่งเป็นผลลัพธ์ที่ได้จากการ สรุปสาระส�ำคัญจากการประชุม ประชุ ม ของผู ้ แ ทนประเทศภาคี สมาชิ ก • ที่ประชุม WPC ครั้งที่ 6 ได้มีการ อนุสญั ญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ กล่าวเน้นถึงบทบาทและความส�ำคัญของพืน้ ที่ (The Convention on Biological Diversity – CBD) คุ้มครองที่มีต่อมวลมนุษยชาติ สิ่งมีชีวิตตาม ขึ้นมาทบทวนและเตือนความจ�ำของผู้เข้าร่วม ธรรมชาติทงั้ บนบกและทางทะเล ตลอดจนโลก ประชุ ม ว่ า เป้ า หมายระยะยาวของแต่ ล ะ ของเรา พร้อมย�้ำให้ผู้เข้าร่วมประชุมตระหนัก ประเทศคือ บรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมายไอชิที่ ว่าพื้นที่คุ้มครองเป็นเครื่องมือที่จะท�ำให้เกิด 11 กล่าวคือ ภายในปี 2020 แต่ละประเทศควร

ตุลาคม - ธันวาคม 2557 3


ประกาศจัดตั้งพื้นที่คุ้มครองทางบกและแหล่งน�้ำต่างๆ ให้ได้อย่างน้อย ร้อยละ 17ของพื้นที่ดินประเทศ และพื้นที่คุ้มครองทางทะเล อย่างน้อย ร้อยละ 10 ของพืน้ ทีท่ างทะเล โดยเฉพาะอย่างยิง่ ควรเลือกพืน้ ทีท่ มี่ คี วาม ส�ำคัญด้านความหลากหลายทางชีวภาพ และมีคุณค่าด้านการบริการ ทางนิเวศค่อนข้างสูง แต่เป้าหมายไอชิที่ 11 ไม่ใช่สิ่งสุดท้ายที่จะท�ำให้ เป้าหมายของการอนุรกั ษ์ประสบความส�ำเร็จได้ แต่ละประเทศจ�ำเป็นจะ ต้องมีการบริหารจัดการพืน้ ทีค่ มุ้ ครองและพืน้ ทีค่ ้มุ ครองทัง้ ระบบอย่างมี ประสิทธิภาพ มีการพัฒนาระบบพื้นที่คุ้มครองให้มีตัวแทนระบบนิเวศ (ecosystem representative) และการสร้างความเชือ่ มต่อ (connectivity) ระหว่างระบบพื้นที่คุ้มครองกับพื้นที่อนุรักษ์อื่นๆ ให้เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ ทั้งพื้นที่ทางบกและพื้นที่ทางทะเล • ในประเด็นของการพัฒนาระบบพืน้ ทีค่ มุ้ ครองให้มรี ะบบนิเวศ ตัวแทนและชนิดพันธุ์ที่ส�ำคัญ และการสร้างความเชื่อมต่อของพื้นที่ คุม้ ครองกับพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์อนื่ ๆ ให้เป็นพืน้ ทีผ่ นื ใหญ่นนั้ ผูเ้ ชีย่ วชาญไม่นอ้ ย กว่า 12 คน ซึง่ เป็นตัวแทนของประเทศทีก่ �ำลังพัฒนาระบบพืน้ ทีค่ มุ้ ครอง เพือ่ ให้เป็นตัวอย่างแก่ประเทศอืน่ ได้น�ำเสนอแนวทางและวิธกี ารทีใ่ ช้อยู่ ต่อทีป่ ระชุม โดยเฉพาะเรือ่ ง Gap analysis และ Zonation-conservation planning software ผมมีข้อสังเกตว่ามีการใช้ข้อมูลการวิจัยทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐานในการด�ำเนินงานในเรือ่ ง ทัง้ สองนัน้ ทัง้ สิน้ ทัง้ นี้ การด�ำเนินงานในเรือ่ งทัง้ สองดังกล่าว มีหน่วยงาน อนุรกั ษ์ของภาครัฐเป็นตัวขับเคลือ่ น โดยมีการประสานงานอย่างใกล้ชดิ กับนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยและสถาบันทีเ่ กีย่ วข้องกับการวิจยั และได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลมากเพียงพอ • ส�ำหรับประเด็นการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองและระบบ พืน้ ทีค่ มุ้ ครองอย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ ส่วนใหญ่ของผูน้ ำ� เสนอกรณีศกึ ษา ในประเทศของตนและผูร้ ว่ มประชุมเกือบทัง้ หมด ต่างยอมรับว่า “ธรรมาภิ บาล” หรือ “Governance” เป็นจุดเริ่มต้นที่จะช่วยขับให้เป้าหมายของ การอนุรกั ษ์ประสบความส�ำเร็จด้วยเหตุผลทีว่ า่ หน่วยงานภาครัฐทีร่ บั ผิด ชอบโดยตรงกับงานอนุรกั ษ์เป็นกลไกขับเคลือ่ นส�ำคัญทีจ่ ะน�ำไปสูค่ วาม ส�ำเร็จ ดังนั้น กลไกต่างๆ ที่เกี่ยวข้องนับตั้งแต่เรื่องนโยบาย กฎหมาย การพัฒนาองค์กร ไปจนถึงการเปิดให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียเข้ามามีสว่ นร่วม ในการอนุรกั ษ์ รวมทัง้ การประสานความร่วมมือกับนานาชาติ โดยเฉพาะ การด�ำเนินการตามอนุสัญญาฉบับต่างๆ โดยเคร่งครัด จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น ที่จะต้องพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ จนสามารถเอื้อให้บรรลุเป้าหมายของการอนุรักษ์มากที่สุด

4 จดหมายข่าวอนุรักษ์ธรรมชาติ

• นอกจากประเด็นธรรมาภิบาลแล้ว การประชุมใน Stream นี้

ยังได้ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมากกับเรือ่ งคุณภาพและประสิทธิภาพของ การบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ คุ ้ ม ครอง (protected area management effectiveness) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการน�ำวิทยาศาสตร์มาใช้ในการ บริหารจัดการ (science-based management) เริ่มตั้งแต่การมีแผน บริหารจัดการที่ตั้งอยู่บนข้อมูลทางวิชาการ มีการปฏิบัติตามแผนอย่าง เป็นระบบ บุคลากรได้รบั การฝึกอบรมและมีทกั ษะในการอนุรกั ษ์อย่างมี ประสิทธิภาพ ไปจนถึงการติดตามและประเมินผล ยิง่ ถ้าหากมีการจัดท�ำ รายงานเกี่ยวกับสถานะของพื้นที่คุ้มครอง (status of the parks report) เป็นระยะๆ ได้ ก็จะท�ำให้ทราบถึงระดับของการอนุรักษ์ว่าประสบความ ส�ำเร็จมากน้อยเพียงใด นอกจากนี้ IUCN ได้นำ� เสนอว่าในอนาคตอัน ใกล้ จ ะจั ด ท� ำ คู ่ มื อ มาตรฐานส� ำ หรั บ ใช้ ใ นการประเมิ น คุ ณ ภาพและ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดยใช้ตัวชี้วัดทั้งทาง ด้านสังคมและด้านนิเวศวิทยา • เพือ่ เป็นการส่งเสริมและยกย่องประเทศทีม่ กี ารบริหารจัดการ พื้นที่คุ้มครองอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ IUCN ได้จัดท�ำ Green List of Protected Areas ขึ้น ประเทศใดที่มีการบริหารจัดการพื้นที่ คุม้ ครองแห่งใดแห่งหนึง่ หรือหลายแห่ง และเชือ่ มัน่ ว่ามีคณ ุ ภาพสูงเพียง พอ ก็สามารถติดต่อขอข้อมูลเพือ่ เสนอให้มกี ารประเมินขึน้ บัญชีดงั กล่าว ต่อไปได้ ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ จากการเดินทางไปร่วมประชุม The World Parks Congress ครั้งที่ 6 กับคณะผู้แทนของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ครัง้ นี้ นับว่าเป็นประโยชน์ตอ่ ทัง้ ส่วนตัวและต่อส่วนรวมในฐานะทีป่ รึกษา เพราะมีโอกาสเข้ารับฟังรับรู้สิ่งต่างๆ ทั้งความรู้ทางวิชาการ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่มีพัฒนาการก้าวหน้ามาตามล�ำดับ และอาจส่งผลต่อ การน�ำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาขีดความสามารถของการอนุรักษ์ ธรรมชาติ ดังนัน้ จากสาระส�ำคัญทีส่ รุปไว้ขา้ งต้นผมจึงมีขอ้ คิดเห็นทีอ่ าจ เป็นประโยชน์ไม่มากก็นอ้ ยต่อกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื ในฐานะที่เป็นหน่วยงานภาครัฐที่มีบทบาทและหน้าที่ส�ำคัญยิ่งต่อการ อนุรกั ษ์ธรรมชาติ ในรูปของอุทยานแห่งชาติทงั้ ทางบกและทางทะเล เขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า และพื้นที่คุ้มครองขนาดย่อม ประเภทอื่นๆ ดังนี้


• เพื่อให้ตอบสนองต่อเป้าหมายไอชิ 11 ที่ระบุว่าภายในปี

2020 แต่ละประเทศควรพยายามประกาศจัดตัง้ พืน้ ทีค่ มุ้ ครองทัง้ ทางบก และแหล่งน�้ำ ให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 17 ของพื้นที่ดินประเทศ และพื้นที่ คุ้มครองทางทะเลอย่างน้อยร้อยละ 10 ของพื้นที่ทางทะเล กรมอุทยาน แห่งชาติฯ ควรประมวลและวิเคราะห์ขอ้ มูลเกีย่ วกับพืน้ ทีค่ มุ้ ครองทัง้ ทาง บกและทางทะเลทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบว่ามีพนื้ ทีเ่ ป็นไปตามนัน้ หรือไม่ เพียงใด • หากค�ำตอบต่อค�ำถามในข้อแรกเป็นบวก ความพยายามและ ทรั พ ยากรทุ ก อย่ า งของกรมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ฯ ควรทุ ่ ม เทไปกั บ การ ปรับปรุงและเพิ่มพูนความเข้มแข็งด้านธรรมาภิบาล การเสริมสร้าง คุณภาพและประสิทธิภาพการบริหารจัดการพืน้ ทีค่ มุ้ ครองและกลุม่ พืน้ ที่ คุม้ ครอง ตามล�ำดับความส�ำคัญก่อนหลัง รวมทัง้ การสร้างความเชือ่ มต่อ ระหว่างพื้นที่คุ้มครองของกลุ่มป่า และระหว่างกลุ่มป่ากับพื้นที่อนุรักษ์ ภายนอกเพือ่ เชือ่ มโยงให้เป็นผืนใหญ่แบบ Landscape หรือ Seascape อาทิเช่น ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเตรียมการสงวน พื้นที่ชายฝั่งและทะเลที่ อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ พื้นที่เอกชนที่สนใจจะ อนุรักษ์ เป็นต้น • หากค�ำตอบในข้อแรกเป็นลบกรมอุทยานแห่งชาติฯ ควร วิเคราะห์ชอ่ งว่าง หรือ gap analysis เพือ่ ดูวา่ ตัวแทนระบบนิเวศทีส่ ำ� คัญ อะไรบ้างทีย่ งั ขาดหายไปจากระบบพืน้ ทีค่ มุ้ ครองทีไ่ ด้ประกาศจัดตัง้ แล้ว

เช่น แม่น�้ำและทะเลสาบ ป่าในที่ราบต�่ำ ป่าชายเลน ป่าสงวนแห่งชาติที่ ยังสมบูรณ์และเป็นต้นน�้ำส�ำคัญๆ ของประเทศ ฯลฯ นอกจากนี้ถิ่นที่ อาศัยของชนิดพันธุ์พืชและสัตว์ที่หายาก ที่กำ� ลังจะสูญพันธุ์ ชนิดพันธุ์ เฉพาะถิ่น ก็สมควรได้รับการพิจารณาประกาศจัดตั้งเป็นพื้นที่คุ้มครอง ในรูปแบบใดแบบหนึง่ หรืออาจผนวกพืน้ ทีเ่ ข้ากับพืน้ ทีค่ มุ้ ครองเดิมตาม ความเหมาะสม แต่ทั้งนี้ต้องใช้วิชาการและเทคโนโลยีสนับสนุนในช่วง ของการวิเคราะห์ (อาจารย์คณะวนศาสตร์ทา่ นหนึง่ ได้เคยศึกษาวิเคราะห์ เรื่องนี้มาแล้ว อาจน�ำผลการวิจัยมาพิจารณาทบทวนควบคู่ไปกับแผน แม่ บ ทพื้ น ที่ คุ ้ ม ครองของประเทศไทย ที่ จั ด ท� ำ ขึ้ น ภายใต้ โ ครงการ CATSPA ซึ่งรับผิดชอบโดยสถาบันนวัตกรรมฯ) • ส�ำหรับเรือ่ งธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการนัน้ ผมมีความ เห็นว่า กรมอุทยานแห่งชาติฯ ควรพิจารณาจัดท�ำนโยบายการบริหาร จัดการพื้นที่คุ้มครอง (protected areas management policy) เพื่อใช้ เป็นกรอบในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองทั้งหมด เช่นเดียวกับที่ ประเทศทีป่ ระสบความส�ำเร็จในการอนุรกั ษ์เขามีกนั อยู่ โดยนโยบายการ บริหารจัดการนีจ้ ะสามารถใช้เป็นบรรทัดฐานหรือ “คูม่ อื ” ส�ำหรับบุคลากร ของกรมอุทยานแห่งชาติฯ ทุกระดับ ตั้งแต่ผู้บริหารสูงสุดลงไปจนถึง เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ให้สามารถเข้าใจถึง เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของพืน้ ทีค่ มุ้ ครอง การจัดการและการอนุรกั ษ์ ทรัพยากรในพืน้ ที่ การลาดตระเวน นันทนาการและการท่องเทีย่ ว การสือ่ ความหมายธรรมชาติและการเรียนรู้ข้อจ�ำกัดหรือข้อห้ามส�ำหรับการใช้ ประโยชน์และโครงการพัฒนาที่ขัดแย้งกับการอนุรักษ์ การให้สัมปทาน แก่ภาคเอกชน (ถ้ามี) และเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอีกมากมาย • นอกจากข้อเสนอแนะในข้อที่ 4 ผมมีความเห็นเพิ่มเติมว่า กรมอุทยานแห่งชาติฯ ควรมีการทบทวนและปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ ที่ เกีย่ วข้องกับพืน้ ทีค่ มุ้ ครองและการอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะพระราชบัญญัตอิ ทุ ยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และ พ.ร.บ.สงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 (คณะอาจารย์มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราชเคยจัดท�ำไว้) เพือ่ ให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของประเทศและ ของโลกในหลายด้าน นอกจากนี้ ควรเพิ่มพูนความเข้มแข็งขององค์กร และบุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ในพื้ น ที่ คุ ้ ม ครอง โดยการใช้ วิ ท ยาศาสตร์

ตุลาคม - ธันวาคม 2557 5


เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ เข้าไปประยุกต์ในการบริหารจัดการและ การปฏิบตั ิ รวมทัง้ ปรับเปลีย่ นทัศนคติของบุคลากรให้สามารถท�ำงานร่วม มือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มได้อย่างราบรื่น พร้อมสามารถเปิดเผย ข้อมูลต่างๆ ให้มีการตรวจสอบได้หากมีการร้องขอ • ส�ำหรับการเพิ่มพูนคุณภาพและประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการพืน้ ทีค่ มุ้ ครองแต่ละแห่งและแต่ละกลุม่ ป่านัน้ ผมมีขอ้ สังเกตว่าใน ช่วงประมาณ 10 ปีทผี่ า่ นมา แผนการจัดการพืน้ ทีค่ มุ้ ครอง (management plan) ไม่ว่าจะเป็นอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือเขตห้าม ล่ า สั ต ว์ ป ่ า มั ก จั ด ท� ำ ขึ้ น ในแบบที่ ค รอบคลุ ม ทั้ ง กลุ ่ ม ป่ า (complex management plan) แต่ไม่มีแผนการจัดการระดับพื้นที่ (single area management plan) จึงอาจท�ำให้เป็นอุปสรรคส�ำคัญต่อการบริหาร จัดการในระดับพื้นที่ ยิ่งมีการเปลี่ยนแปลงบุคลากรระดับหัวหน้าพื้นที่ คุ้มครองค่อนข้างบ่อย จึงขาดความต่อเนื่องในการด�ำเนินงาน เพราะ หัวหน้าทีม่ าใหม่ขาดทิศทางและกรอบการด�ำเนินงานในแต่ละปี จึงมีขอ้ เสนอแนะว่า กรมอุทยานแห่งชาติฯ ควรสนับสนุนให้มกี ารจัดท�ำแผนการ จัดการพืน้ ทีค่ มุ้ ครองทีส่ ำ� คัญๆ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2563 (ปีสดุ ท้ายของ Aichi Targets รอบ 10 ปีแรก) ส่วนที่เหลือให้เสร็จสิ้นภายในปี 2568 • กรมอุทยานแห่งชาติฯ ควรมีค�ำสั่งให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครอง น�ำแผนการจัดการไปใช้เป็นกรอบด�ำเนินงานในทุกเรื่องอย่างเคร่งครัด พร้อมมีการจัดท�ำตัวชี้วัดทั้งด้านนิเวศวิทยา สังคมและนันทนาการ/การ ท่องเทีย่ ว เพือ่ ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพของการบริหาร จัดการของแต่ละพื้นที่คุ้มครอง อย่างไรก็ดี ระหว่างที่ IUCN ก�ำลังอยู่ใน

6 จดหมายข่าวอนุรักษ์ธรรมชาติ

ขั้นตอนของการพัฒนาแบบประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการ จัดการพื้นที่คุ้มครอง ซึ่งไม่มีการยืนยันว่าจะแล้วเสร็จเมื่อใด จึงเห็นว่า กรมอุทยานแห่งชาติฯ ควรพิจารณามอบหมายให้ผู้เชี่ยวชาญชาวต่าง ประเทศซึ่งเป็นที่ปรึกษาโครงการ CATSPA (Prof. Jeffrey McNeeley) ช่วยจัดท�ำแบบประเมินดังกล่าวเพื่อทดลองน�ำมาใช้ประโยชน์กับพื้นที่ คุ้มครองที่มีความส�ำคัญระดับโลกและระดับภูมิภาคไปพลางก่อน • การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพและ คุณภาพได้จริงหรือไม่นนั้ ขึน้ อยูก่ บั ขีดความสามารถและจรรยาบรรณใน วิชาชีพของบุคลากรทุกระดับ ดังนั้น การฝึกอบรมที่เป็นทางการ (formal education)จึ ง เป็ น สิ่ ง จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง โดยเฉพาะการรั บ หรื อ มอบ หมายความรับผิดชอบแก่บุคลากรปฏิบัติงานในองค์กร จะต้องมีการคัด สรรสาขาวิชาที่ศึกษามาและมีภูมิหลังที่ตรงกับต�ำแหน่งงาน และควร สนับสนุนบุคลากรให้มกี ารศึกษาต่อเพือ่ เพิม่ พูนขีดความสามารถในการ ปฏิบัติงานให้สูงขึ้น นอกจากนี้ การจัดให้มีการฝึกอบรมภายในองค์กร (in-service training) เป็นสิง่ ทีจ่ ะต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนือ่ ง เพราะการ บริหารจัดการพืน้ ทีค่ มุ้ ครองมีความเป็นพลวัตรและลักษณะของงานเป็น สหวิทยาการ

ภาพทั้งหมดจาก : สุนีย์ ศักดิ์เสือ


อุทยานแห่งชาติกุยบุรี ควรก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร?

โดย สุรเชษฎ์ เชษฐมาส

บทความชิ้นนี้ เขียนขึ้นจากการเดินทางไปเยือนอุทยานแห่งชาติกุยบุรีของกรรมการและที่ปรึกษาสมาคม อุทยานแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 19 – 21 ธันวาคม 2557 โดยยึดถือข้อมูล การสังเกตพื้นที่จริง และการแลกเปลี่ยนความ เห็นตามหลักวิชาการระหว่างหัวหน้าอุทยานและคณะผู้เดินทางดังกล่าว อุทยานแห่งชาติกุยบุรีมีเนื้อที่ทั้งสิ้นประมาณ 969 ตาราง กิโลเมตร เป็นพืน้ ทีด่ า้ นใต้สดุ ของกลุม่ ป่าแก่งกระจาน ซึง่ อยูร่ ะหว่างการ เสนอขอขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ มีระบบนิเวศป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ จากประมาณการของนายประวัตศิ าสตร์ จันทร์เทพ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติคนปัจจุบนั ระบุวา่ ในพืน้ ทีแ่ ห่งนีม้ สี ตั ว์ เลี้ยงลูกด้วยน�้ำนมขนาดใหญ่อยู่หลากชนิด ที่ส�ำคัญได้แก่ ช้างป่าเกือบ 300 ตัว กระทิง 150 ตัว และเสือโคร่งเกือบ 15 ตัว (เมื่อปี 2555 แต่ ปัจจุบันไม่พบร่องรอยแล้ว) รวมทั้งวัวแดงอีกจ�ำนวนหนึ่ง ในด้านการ ปกป้องรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า นอกจากที่ท�ำการ อุทยานแห่งชาติแล้ว ยังมีหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติกระจายตามจุด ส�ำคัญๆ อยู่ 5 หน่วย ภายใต้การก�ำกับและปฏิบัติหน้าที่ของอัตราก�ำลัง คน 97 นาย ซึ่งในจ�ำนวนนี้รวมถึงหัวหน้าอุทยานแห่งชาติและผู้ช่วยที่ เป็นนักวิชาการอีก 2 นาย

อุทยานแห่งชาติกยุ บุรี โดยความร่วมมือของกองทุนสัตว์ปา่ โลก (World Wide Fund for Nature-WWF Thailand) ได้มกี ารจัดท�ำโป่งเทียม เพื่อช่วยเพิ่มพูนแหล่งอาหารให้แก่สัตว์ป่าชนิดต่างๆ อยู่หลายจุด และ ลดการออกไปหาอาหารของช้างป่าในพื้นที่เกษตรกรรมบางส่วนของ ชุมชนตามแนวเขตอุทยานแห่งชาติด้านทิศตะวันออก รวมถึงมีการ รณรงค์ให้ประชาชนท้องถิน่ มีสว่ นร่วมในการอนุรกั ษ์อทุ ยานแห่งชาติ และ ลดความขั ด แย้ ง อั น เกิ ด จากช้ า งป่ า รุ ก ล�้ ำ เข้ า ไปในที่ ดิ น และพื้ น ที่ เกษตรกรรมส�ำหรับด้านนันทนาการและการท่องเทีย่ วพบว่า ปริมาณผูม้ า เยือน (visitors) ยังมีไม่มากเกินไปกว่าที่ทางอุทยานแห่งชาติจะควบคุม จัดการ เพือ่ ไม่ให้สง่ ผลกระทบต่อทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ปา่ ได้ ทัง้ นีอ้ าจ เป็นเพราะทางอุทยานแห่งชาติมีมาตรการเข้มงวด ไม่อนุญาตให้ผู้มา เยือนน�ำรถส่วนตัวเข้าถึงบริเวณที่ช้างป่า กระทิง และสัตว์ป่าชนิดอื่นๆ ออกมาหาอาหาร แต่จะอนุญาตให้บริษัททัวร์ในเมืองใกล้เคียงเป็นผู้นำ� ในการเที่ยวชมอุทยานแห่งชาติเท่านั้น ซึ่งสังเกตได้จากการที่มีรถของ บริษทั ทัวร์นำ� นักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติเทีย่ วชมในบริเวณ ดังกล่าวอยู่พอประมาณ

จากการได้เข้าไปสัมผัสกับพื้นที่ ฟังการบรรยายสรุป และแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับหัวหน้าอุทยานแห่งชาติ รวมทั้งกรรมการ และที่ปรึกษาสมาคมอุทยานแห่งชาติอีกจ�ำนวนหนึ่ง ซึ่งร่วมเดินทางไปในครั้งนี้ด้วย ผมจึงขอสรุปข้อคิดเห็นเกี่ยวกับ อุทยานแห่งชาติกยุ บุรี พร้อมข้อเสนอแนะต่ออธิบดีและผูบ้ ริหารระดับต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และ พันธุพ ์ ชื เพือ่ พิจารณาน�ำไปใช้ประโยชน์ในการส่งเสริม สนับสนุน และยกระดับคุณภาพและประสิทธิภาพในการบริหารจัดการอุทยาน แห่งชาติกุยบุรี ทั้งในด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ในทิศทางที่ยั่งยืน ดังนี้

ตุลาคม - ธันวาคม 2557 7


• อุทยานแห่งชาติกุยบุรีนับว่าเป็นอุทยานแห่งชาติที่มีคุณค่า ต่อการอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในระดับสูง (high biodiversity conservation values) และเป็ น แหล่ ง บริ ก ารทางระบบนิ เ วศ (ecosystem services) อยู่หลายด้าน เช่น เป็นแหล่งต้นน�้ำของอ่างเก็บ น�้ำยางชุม ซึ่งหล่อเลี้ยงน�้ำใช้สอยให้กับครัวเรือนและพื้นที่เกษตรกรรม ของชุมชนและเมืองในละแวกใกล้เคียง เป็นแหล่งควบคุมสภาพภูมิ อากาศของท้ อ งถิ่ น และภู มิ ภ าค สามารถดู ด ซั บ และเก็ บ กั ก คาร์บอนไดออกไซด์เพือ่ ช่วยลดภาวะโลกร้อน ช่วยเสริมสร้างทัศนียภาพ ในภูมิภาคให้มีสีเขียวและสวยงาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เป็นต้น • ภัยคุกคามจากภายนอก เช่น การลักลอบตัดไม้ ล่าสัตว์ และ เก็บหาของป่า ยังคงมีอยู่เช่นเดียวกับอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง ประเภทอื่ น ๆ แต่ ค วามรุ น แรงอาจไม่ ห นั ก หนาสาหั ส มากนั ก และ เจ้าหน้าทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติยงั สามารถควบคุมให้อยูใ่ นระดับทีจ่ ะไม่สง่ ผล กระทบต่ อ สุ ข ภาพและความสมบู ร ณ์ ข องระบบนิ เ วศได้ ค ่ อ นข้ า งมี ประสิทธิภาพ แม้จะมีหน่วยพิทกั ษ์อทุ ยานแห่งชาติและอัตราก�ำลังคนใน จ�ำนวนที่จ�ำกัดเมื่อเปรียบเทียบกับขนาดของพื้นที่และคุณค่าของความ หลากหลายทางชีวภาพของอุทยานแห่งชาติ • อุทยานแห่งชาติกุยบุรี นับว่าเป็นพื้นที่ที่มีความส�ำคัญสูง แห่งหนึ่งของกลุ่มป่าแก่งกระจาน จนอาจได้รับความความเห็นชอบจาก คณะกรรมการมรดกโลก (World Heritage Committee)ให้ขึ้นทะเบียน เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติแห่งทีส่ ามของประเทศอีกทัง้ มีศกั ยภาพค่อน ข้างสูงมากทีจ่ ะพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงสัตว์ปา่ (wildlife tourism) ทีไ่ ด้มาตรฐานสากลแห่งแรกของประเทศ เพราะฉะนัน้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จึงควรให้การสนับสนุนทรัพยากรต่างๆ ในทุกด้าน ที่ จ� ำ เป็ น ต่ อ การอนุ รั ก ษ์ แ ละบริ ห ารจั ด การอย่ า งมี คุ ณ ภาพและ ประสิทธิภาพ ดังข้อเสนอแนะข้างล่างนี้

 เร่งด�ำเนินการผนวกพื้นที่ป่าบริเวณพื้นที่ปลอดภัยทางการ

 จัดให้มีหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติเพิ่มขึ้นอีก 4-5 หน่วย

ทหารด้านทิศเหนือจ�ำนวน 131.1168 ตร.กม. เพื่อให้เชื่อมโยงกับพื้นที่ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานเป็นป่าผืนเดียวกัน และเปิดโอกาสให้สัตว์ เลี้ยงลูกด้วยน�้ำนมขนาดใหญ่ โดยเฉพาะช้างป่าให้สามารถเคลื่อนย้าย ไปมาระหว่างอุทยานแห่งชาติทงั้ สองได้โดยปลอดภัย เพิม่ โอกาสการผสม พันธุ์ข้ามสายพันธุกรรมเพื่อให้คงความแข็งแกร่งด้านสุขภาพและความ อยู่รอดตามธรรมชาติ นอกจากนี้ ในโอกาสต่อไปอาจผนวกพื้นที่ป่าเพิ่ม เติมบริเวณผายางซึ่งเป็นป่าสงวนแห่งชาติและพื้นที่อื่น รวมแล้วเกือบ 112 ตร.กม. เพื่อขยายถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่าให้มีขนาดใหญ่ขึ้น พร้อมเจ้าหน้าที่พิทักษ์อุทยานแห่งชาติประมาณ 40-50 นาย และสิ่งที่ จ�ำเป็นต่างๆ ส�ำหรับการปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าที่ จากการทีไ่ ด้แลกเปลีย่ น ข้อคิดเห็นกับหัวหน้าอุทยานแห่งชาติ ผมมีความเห็นว่าพืน้ ทีต่ อนบนด้าน ทิศเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตก ซึง่ มีเนือ้ ทีป่ ระมาณครึง่ หนึง่ ของอุทยานแห่งชาติ ยังไม่มีหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติตั้งอยู่เลย ดัง นั้น จึงเชื่อได้ว่าการลักลอบตัดไม้ เก็บหาของป่า และล่าสัตว์ น่าจะเป็น

8 จดหมายข่าวอนุรักษ์ธรรมชาติ


่ งุ่ เน้นสัตว์ปา่ โดยยึดถือ  จัดท�ำแผนการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศทีม

ุ ภาพและ  พัฒนาระบบการสือ่ ความหมายธรรมชาติให้มคี ณ

แนวคิดและหลักการของการพัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกและการ บริการทีค่ ำ� นึงถึงความเปราะบางของสิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติและสัตว์ ป่าหรือก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อคุณค่าความส�ำคัญของความหลาก หลายทางชีวภาพของอุทยานแห่งชาติน้อยที่สุด แล้วน�ำแผนไปปฏิบัติ อย่างเคร่งครัด โดยมีกลไกติดตามตรวจสอบและประเมินผลเป็นระยะๆ

ได้มาตรฐาน เพื่อให้ผู้มาเยือนได้มีโอกาสเรียนรู้ เข้าใจ และตระหนักถึง คุณค่าของอุทยานแห่งชาติกยุ บุรี โดยเฉพาะด้านสัตว์ปา่ หลากหลายชนิด นับตั้งแต่การเพิ่มพูนขีดความสามารถในการสื่อความหมายของเจ้า หน้าที่อุทยานแห่งชาติ การจัดศูนย์ผู้มาเยือน (visitor center)ให้มีความ น่าสนใจทัง้ ในด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านศิลปะและด้านเทคโนโลยีประกอบ ไปจนถึงการจัดท�ำป้ายบรรยายหรือนิทรรศการน�ำไปติดตัง้ บริเวณจุดชม ประเด็นปัญหาอยู่มากพอสมควร และควรจัดตั้งหน่วยพิทักษ์อุทยาน สัตว์ป่าต่างๆ รวมทั้งปรับปรุงแผ่นพับอุทยานแห่งชาติ (park brochure) แห่งชาติให้กระจายในส่วนพื้นที่ดังกล่าวตามความเหมาะสม ให้ มี ค วามทั น สมั ย และบรรจุ ข ้ อ มู ล ที่ ส ะท้ อ นถึ ง ความเป็ น จริ ง ของ ประสานความร่ ว มมื อ กั บ WWF-ประเทศไทย ในการส� ำ รวจ สถานภาพอุทยานแห่งชาติที่เป็นปัจจุบัน  ประชากรและการกระจายของช้างป่า กระทิง วัวแดง และสัตว์เลี้ยงลูก ุ ชนท้องถิน่ โดยรอบอุทยานทีป่ ระสงค์และมี  เปิดโอกาสให้ชม ด้วยน�ำ้ นมขนาดใหญ่ชนิดอืน่ ๆ พร้อมพัฒนาระบบและเครือ่ งมือติดตาม ความพร้อมมีส่วนร่วมเป็นเครือข่ายในการพัฒนาและให้บริการทางการ การเปลี่ ย นแปลงพื้ น ที่ ป ่ า ชนิ ด พั น ธุ ์ แ ละปริ ม าณสั ต ว์ ป ่ า ในอุ ท ยาน ท่องเที่ยวด้านต่างๆ เช่น ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์หรือลานกางเต็นท์ แห่งชาติกยุ บุรอี ย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ประโยชน์ตอ่ การปรับแผนงานและแนว อาหาร ผลิตผลจากการเกษตร มัคคุเทศก์ทอ้ งถิน่ รถน�ำเทีย่ ว เป็นต้น ทัง้ นี้ ปฏิบัติในการอนุรักษ์และจัดการอุทยานแห่งชาติเป็นระยะๆ จ�ำเป็นต้องมีการจัดฝึกอบรมให้เครือข่ายชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และ  ประสานความร่วมมือกับหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง ในการ ทักษะเกี่ยวกับการจัดการการท่องเที่ยวและให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่ง ก�ำหนดให้มมี าตรการเฝ้าระวังสุขภาพของสัตว์ปา่ โดยเฉพาะกระทิง ช้าง แวดล้อม (environmentally friendly tourism) หรือการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ ป่า และวัวแดง เพื่อลดความเสี่ยงจากโรคระบาดชนิดต่างๆและการล้ม (ecotourism)โดยจัดท�ำในรูปของโครงการร่วมกับหน่วยงานราชการที่ ตายของสัตว์ป่าอย่างกรณีกระทิงตายเมื่อเดือนธันวาคม 2556 รวมทั้ง เกีย่ วข้อง และ/หรือองค์กรอนุรกั ษ์ภาคเอกชน อย่างเช่น WWF-Thailand จะต้องเข้มงวดกับยานพาหนะที่นำ� นักท่องเที่ยวเข้าไปชมสัตว์ป่าให้อยู่ สมาคมอุทยานแห่งชาติ เป็นต้น ในบริเวณที่ก�ำหนดและผ่านการฆ่าเชื้อโรคมาก่อนแล้วเท่านั้น

 เนื่องจากปริมาณของสัตว์ป่ามีแนวโน้มว่าสูงขึ้น โดยเฉพาะ

ั ผิดชอบในเรือ่ งมวลชน  จัดจ้างบุคลากรอย่างน้อย 1 ราย ให้รบ

ช้างป่า ซึง่ สังเกตได้จากลูกช้างจ�ำนวนมากในแต่ละโขลง การผนวกพืน้ ที่ ให้เป็นแนวเชือ่ มต่อและผนวกพืน้ อืน่ ให้มขี นาดใหญ่ขนึ้ ตามข้อเสนอแนะ ข้างต้นแล้ว การจัดท�ำโป่งเทียมผสมผสานกับการปลูกพืชอาหารสัตว์และ พัฒนาแหล่งน�ำ้ ขนาดย่อม อาจเป็นเรือ่ งจ�ำเป็นส�ำหรับสัตว์ปา่ ในอนาคต อันใกล้ แต่จะจัดให้มีมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของ ปริมาณสัตว์ป่า และความมากน้อยของสัตว์ป่าที่ออกไปหากินนอกเขต อุทยานแห่งชาติ สัมพันธ์ เพื่อท�ำหน้าที่ออกไปพบปะ สร้างความเข้าใจและโน้มน้าวให้ ชุมชนและเครือข่ายองค์กรในท้องถิ่นได้ตระหนักถึงคุณค่าและความ ส�ำคัญของอุทยานแห่งชาติและทรัพยากรต่างๆ ในพื้นที่ พัฒนาหรือ เพิม่ พูนบทบาทการมีสว่ นร่วมกับการอนุรกั ษ์และการเป็นเจ้าของอุทยาน แห่งชาติ และจัดกิจกรรมต่างๆ ที่สะท้อนถึงสิ่งดังกล่าว ควบคู่ไปกับการ พัฒนาเครือข่ายการท่องเทีย่ ว เพือ่ เป็นแรงกระตุน้ และจูงใจให้ชมุ ชนท้อง ถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์อุทยานแห่งชาติมากขึ้น

ตุลาคม - ธันวาคม 2557 9


อประจำุท�ยานแห่ งชาติเด่น ฉบับ

หมอกภู ผ าใหญ่ Great Smoky Mountains National Park

เป็นอุทยานแห่งชาติในสหรัฐอเมริกาและเป็นพืน้ ทีม่ รดกโลกที่ ก�ำหนดโดย UNESCO ซึง่ ครอบคลุมแนวสันเขาของเทือกเขาหมอกภูผา ใหญ่อนั เป็นส่วนหนึง่ ของเทือกเขาสันเขาครามซึง่ เป็นแนวเทือกเขาแนว หนึ่งของกลุ่มแนวเทือกเขาอัพพาลาเชื่ยนอันกว้างใหญ่ นับเป็นอุทยาน แห่งชาติทไี่ ด้รบั การเยีย่ มชมมากทีส่ ดุ ในสหรัฐอเมริกา ได้รบั การประกาศ จัดตั้งโดยรัฐสภาเมื่อปี 1934 และได้รับการอุทิศให้อย่างเป็นทางการ โดยประธานาธิบดีแฟรงคลิน เดลาโน รู้สเวลท์ ในปี 1940 ครอบคลุม พืน้ ที่ 2,114.15 ตารางกิโลเมตร ท�ำให้เป็นหนึง่ ในพืน้ ทีค่ มุ้ ครองทีม่ ขี นาด ใหญ่ทสี่ ดุ ในภาคตะวันออกของสหรัฐอเมริกา ทางเข้าหลักๆ ของอุทยาน แห่งชาติตั้งอยู่บนถนนหลวงสาย 441 (ถนนสาย Newfound Gap) ที่ เมืองแก็ทลินเบิรก์ รัฐเทนเนสซี และเมืองเชอโรกี รัฐนอร์ทแคโรไลนา นับ เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกที่มีพื้นที่ดินและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่จ่ายด้วย งบประมาณของรัฐบาลส่วนหนึง่ ก่อนหน้านัน้ ค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดได้มาจาก เงินงบประมาณของรัฐหรือเงินจากภาคเอกชน

Franklin D. Roosevelt dedicated the Great Smoky Mountains National Park on September 2, 1940, “for the permanent enjoyment of the people.”

ก่อนการมาถึงของบรรดาผู้ตั้งรกรากชาวยุโรป ภูมิภาคแห่งนี้ เป็นส่วนหนึ่งของภูมิล�ำเนาชนเผ่าเชอโรกี ผู้คนตามชายแดนเริ่มตั้ง รกรากลงบนผืนดินในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และตอนต้นของคริสต์ศตวรรษ ที่ 19 ในปี 1830 ประธานาธิบดีแอนดรู แจ๊คสัน ลงนามใช้บงั คับกฎหมาย 10 จดหมายข่าวอนุรักษ์ธรรมชาติ

โยกย้ายชนเผ่าอินเดียนซึ่งเป็นการเริ่มกระบวนการที่ในที่สุดส่งผลให้เกิด การใช้ก�ำลังบังคับโยกย้ายชนเผ่าอินเดียนทั้งหมดด้านซีกตะวันออกของ แม่น�้ำมิสซิสซิปปีไปสู่พื้นที่ที่ปัจจุบันนี้คือ รัฐโอคลาโฮมา ชนเผ่าเชอโรกี จ�ำนวนมากทิ้งแผ่นดินไป แต่บางส่วนน�ำโดยนักรบที่เปลี่ยนศาสนาชื่อ ท ซาลิ เข้าไปหลบซ่อนตัวในพืน้ ทีซ่ งึ่ ปัจจุบนั นีค้ อื อุทยานแห่งชาติหมอกภูผา ใหญ่ ลูกหลานของพวกเขาบางคนปัจจุบันนี้อาศัยอยู่ตามแนวเขตแดนค วอลล่าด้านทิศใต้ของอุทยานแห่งชาติ เมือ่ บรรดาผูต้ งั้ รกรากชาวผิวขาว มาถึง การตัดชักลากไม้ซุงเติบโตขึ้นเป็น อุตสาหกรรมส�ำคัญในแถบเทือกเขาและ ริมทางรถไฟสายหนึ่งชื่อ ทางรถไฟสาย แม่น�้ำน้อย ซึ่งได้รับการก่อสร้างขึ้นตอน ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เพื่อชักลากไม้ ซุงออกจากภูมิภาคที่ห่างไกลในพื้นที่ การ ตั ด ไม้ แ บบตั ด หมดแล้ ว ทิ้ ง พื้ น ที่ ใ ห้ ว ่ า ง เปล่าท�ำลายความงดงามตามธรรมชาติ ของพื้นที่ไป จนบรรดาผู้มาเยี่ยมชมและ ชาวท้องถิ่นร่วมมือกันหาเงินเพื่อสงวนรักษาพื้นที่ไว้ ส�ำนักบริการอุทยาน แห่งชาติต้องการก่อตั้งอุทยานแห่งชาติแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกของ ประเทศ แต่ไม่มีเงินงบประมาณมากพอในการก่อตั้ง แม้ว่ารัฐสภาให้ อ�ำนาจจัดตัง้ อุทยานแห่งชาติในปี 1926 แล้วก็ตาม ไม่มศี นู ย์กลางของทีด่ นิ แห่งรัฐบาลโดยรอบซึ่งสามารถก่อตั้งอุทยานแห่งชาติได้ จอห์น ดี ร้อคกี้ เฟลเล่อร์ จูเนียร์ บริจาคเงินให้ 5 ล้านดอลล่าร์ รัฐบาลเพิม่ เติมงบประมาณ ให้อีก 2 ล้านดอลล่าร์ และพลเมืองจากรัฐเทนเนสซีและนอร์ทแคโรไลนา รวบรวมเงินเพื่อการก่อตั้งอุทยานแห่งชาติ บรรดาผู้ตั้งบ้านเรือนบนภูเขา ผู้ท�ำเหมืองแร่และผู้ชักลากไม้ซุง ค่อยๆ ถูกให้ออกจากพืน้ ทีไ่ ปอย่างช้าๆ การท�ำไร่นาและการตัดฟันชักลาก ไม้ถูกเพิกถอนออกไปเพื่อก่อตั้งพื้นที่คุ้มครอง นักเขียนเรื่องเดินทางชื่อ โฮ เรซ เค้พฮ้าร์ต ผู้ซึ่งชื่อของเขาได้รับเกียรติเป็นชื่อภูเขาเค้พฮ้าร์ตและช่าง ภาพชื่อ จอร์จ มาซ่า ร่วมมือกันผลักดันเพื่อให้เกิดพัฒนาการของอุทยาน


อประจำุท�ยานแห่ งชาติเด่น ฉบับ แห่งชาติ อดีตผู้ว่าการรัฐเทนเนสซีชื่อ เบ็นดับบลิว ฮู้พเพ่อร์ เป็นตัวแทน กว้านซื้อที่ดินหลักส�ำหรับอุทยานแห่งชาติ ซึ่งได้รับการจัดตั้งอย่างเป็น ทางการในวันที่ 15 มิถุนายน 1934 ระหว่างความตกต�่ำทางเศรษฐกิจครั้ง ใหญ่ อาสาสมัครงานอนุรักษ์ฝ่ายพลเรือน องค์การความก้าวหน้าทางการ งาน และหน่วยงานรัฐบาลอื่นๆ ต่างพากันสร้างเส้นทางเดินป่า สร้างหอ สังเกตการณ์ไฟป่า และปรับปรุงสิ่งอ�ำนวยความสะดวกประการต่างๆ ให้ แก่อุทยานแห่งชาติและเทือกเขาหมอกภูผา อีกทั้งยังเป็นสถานที่ส�ำหรับ การถ่ายท�ำภาพยนตร์ในชุดยอดนิยมทางโทรทัศน์ของดิสนี่ย์ ระหว่างคริสตทศวรรษที่ 195 เช่น ชุด เดวีย่ ์ คร็อกเค้ทท์ ราชาแห่งชายแดน ป่าดงพงไพร อุทยานแห่งชาติแห่งนีไ้ ด้รบั การก�ำหนดให้เป็นพืน้ ทีส่ งวนชีวาลัย ระดับนานาชาติในปี 1976 และได้รบั การรับรองให้เป็นพืน้ ทีม่ รดกโลกแห่ง หนึ่งของ UNESCO ในปี 1983 และกลายเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่สงวน ชีวาลัยเทือกเขาอัพพาลาเชี่ยนภาคใต้ในปี 1988 ระดับความสูงของเทือกเขาในอุทยานแห่งชาติมตี งั้ แต่ 267 เมตร ทีป่ ากล�ำธารอับรามส์ไปจนถึง 2,025 เมตร ทีย่ อดโดมคลิงแมนส์ ภายใน อุทยานแห่งชาติมียอดเขาทั้งหมด 16 แห่ง มีระดับความสูงกว่า 1,830 เมตร ระดับความสูงที่แตกต่างกันอย่างกว้างขวางเช่นนี้ ล้อเลียนการ เปลีย่ นแปลงตามระดับความสูงทีพ่ บได้ทวั่ ไปตลอดทัง้ ภาคตะวันออกของ สหรัฐอเมริกา แท้จริงแล้วการขึ้นสู่ภูเขาลูกต่างๆ มีความคล้ายคลึงเทียบ ได้กับการเดินทางจากรัฐเทนเนสซีไปสู่ประเทศแคนาดา บรรดาพืชและ สัตว์ทพี่ บแพร่หลายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ มีถนิ่ ทีอ่ าศัย ในระบบนิเวศที่คล้ายคลึงกับระดับความสูงที่มากกว่าในอุทยานแห่งชาติ ขณะทีช่ นิดพันธุท์ างภาคใต้มที อี่ ยูอ่ าศัยในพืน้ ทีอ่ บอุน่ ระดับทีต่ �่ำกว่าลงมา ระหว่างยุคน�ำ้ แข็งทีใ่ หม่ลา่ สุด แนวการเรียงตัวตามทิศตะวันออก เฉียงเหนือ-ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเทือกเขาอัพพาลาเชี่ยน เปิดโอกาสให้ พืชชนิดพันธุต์ า่ งๆ อพยพลงสูภ่ าคใต้ตามแนวลาดเอียงของภูเขาได้แทนที่ จะเป็นการขัดขวางด้วยแนวภูเขาที่ขวางกั้น เมื่อภูมิอากาศอบอุ่นขึ้นชนิด พันธุท์ างภาคเหนือเป็นจ�ำนวนมากปัจจุบนั นีก้ ำ� ลังล่าถอยไปตามแนวลาด เอียงของภูเขาและร่นถอยกลับขึน้ ไปทางทิศเหนือ ขณะทีช่ นิดพันธุท์ างภาค ใต้ก�ำลังขยายตัวออกไป โดยปกติอทุ ยานแห่งชาติมคี วามชืน้ ในอากาศและปริมาณฝนตก สูงเฉลี่ยตั้งแต่ 1,400 มม./ปี ในบริเวณหุบเขาไปจนถึง 2,200 มม./ปี บน ยอดเขาต่างๆ นีน่ บั เป็นปริมาณฝนตกต่อปีมากกว่าทีแ่ ห่งใดๆ ในประเทศ สหรัฐอเมริกา นอกเหนือจากภูมภิ าคแปซิฟกิ ตะวันตกเฉียงเหนือและหลาย ส่วนของรัฐอะแลสกาและรัฐฮาวาย โดยทั่วไปอากาศบนที่สูงเย็นกว่า อากาศในที่ต�่ำกว่าเบื้องล่างและส่วนใหญ่ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติมีภูมิ อากาศแบบชุ่มชื้นในทวีปมากกว่าเมื่อเทียบกับต�ำแหน่งที่ตั้งแห่งใดๆ ที่ ไกลออก ไปทางทิศเหนือมากๆ เป็นการตรงกันข้ามกับภูมอิ ากาศแบบชุม่ ชื้นในที่ต�่ำแถบเหนือเส้นศูนย์สูตร

พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติเกือบร้อยละ 95 ปกคลุมด้วยป่าไม้และ อีกเกือบร้อยละ 36 ของพื้นที่ปาไม้นั้นจ�ำนวน 760 ตารางกิโลเมตร ได้ รับการประเมินโดยส�ำนักบริการอุทยานแห่งชาติว่าเป็น ป่าไม้เก่าแก่ มีต้นไม้เป็นจ�ำนวนมากที่มีอายุมากกว่าก่อนการตั้งรกรากของชาว ยุโรป นี่นับเป็นผืนป่าขนาดใหญ่ที่สุดของป่าไม้ผลัดใบเก่าแก่ในเขต อบอุ่นของทวีปอเมริกาเหนือ ความหลากหลายในความสูงของพืน้ ที่ ปริมาณฝนทีม่ ากมาย และปรากฏการณ์ของป่าไม้เก่าแก่ดงั้ เดิมอ�ำนวยให้อทุ ยานแห่งชาติมี ความร�่ำรวยสมบูรณ์ของสิ่งมีชีวิตอย่างไม่ปกติธรรมดา ประมาณ 10,000 ชนิดพันธุข์ องพืชและสัตว์รวมกันเป็นทีร่ กู้ นั ว่าด�ำรงชีวติ อยูใ่ น อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ห่ ง นี้ แ ละประมาณกั น ว่ า น่ า จะมี จ� ำ นวนอี ก ถึ ง ประมาณ 90,000 ชนิดพันธุ์ ที่ยังมิได้มีการบันทึกอาจปรากฏให้เห็น ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติอีกด้วย บรรดาเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาตินับ จ�ำนวนของนกได้มากกว่า 200 ชนิดพันธุ์ สัตว์มีต่อมน�้ำนม 66 ชนิด พันธุ์ ปลา 50 ชนิดพันธุ์ สัตว์เลือ้ ยคลาน 39 ชนิดพันธุ์ และสัตว์สะเทิน อีก 43 ชนิดพันธุ์ รวมทั้งซาลาแมนเดอร์ที่ไร้ปอดเป็นจ�ำนวนมาก

Black Bear Cub

Spotted Salamander

อุทยานแห่งชาติมปี ระชากรของหมีสดี �ำ (black bear) ชุกชุมมีจ�ำนวน ประมาณ 1,500 ตัว การทดลองน�ำกวางเอ๊ลค์ (วาปิติ) กลับคืนสู่พื้นที่ อุทยานแห่งชาติเริ่มด�ำเนินการในปี 2001 มีการปลูกต้นไม้มากกว่า 100 ชนิดพันธุ์ในอุทยานแห่งชาติ พื้นที่ป่าไม้ในภูมิภาคที่ต�่ำกว่า ปกคลุมไปด้วยไม้ต้นผลัดใบที่มีเรือนยอดใบดกหนา ที่ระดับพื้นที่สูง กว่าป่าไม้ผลัดใบเปิดโอกาสให้แก่ป่าไม้จ�ำพวกไม้คล้ายไม้สนเช่นไม้ เฟรเซ่อร์เฟอร์ ยิ่งไปกว่านั้นอุทยานแห่งชาติมีชนิดพันธุ์ไม้มีดอก มากกว่า 1,400 ชนิด และอีกกว่า 4,000 ชนิด พันธุ์ที่เป็นพืชไม่มีดอก (non-flowering plant) แหล่งดึงดูดความสนใจและกิจกรรมต่างๆ อุทยานแห่งชาติหมอกภูผาใหญ่เป็นแหล่งดึงดูดนักท่องเทีย่ ว ส�ำคัญแห่งหนึ่งในภูมิภาค นักท่องเที่ยวมากกว่า 9 ล้านคน และผู้มา เยี่ยมชมกว่า 11 ล้านคนที่ไม่ใช่มาพักผ่อนเดินทางเข้าถึงอุทยานแห่ง ชาติในปี 2010 มากกว่าสองเท่าของปริมาณผู้มาเยี่ยมชมที่อุทยาน แห่งชาติเหลี่ยมผาหลวง (Grand Canyon National Park) อันเป็น อุทยานแห่งชาติที่มีผู้มาเยี่ยมชมเป็นล�ำดับที่สอง

ตุลาคม - ธันวาคม 2557 11


บรรดาเมืองที่ตั้งอยู่โดยรอบโดยเฉพาะเมือง แก็ทลินเบิร์ก พิเจี้ยนฟอร์จ เซฟเวียร์วิลล์ และทาวน์เซนด์ รัฐเทนเนสซี อีกทั้งเมือง เชอโรกี ซิลวา แม้กกีแ้ วลลีย่ ์ และไบรซันซิตี้ รัฐนอร์ทแคโรไลนาต่างได้ รับส่วนแบ่งของรายได้ที่เกิดจากการท่องเที่ยวเชื่อมโยงสัมพันธ์กับ อุทยานแห่งชาติอย่างมีนัยส�ำคัญ ศูนย์ผู้มาเยี่ยมชมหลักสองแห่ง ภายในอุทยานแห่งชาติได้แก่ ศูนย์ผมู้ าเยีย่ มชม Sugarlands ใกล้ทาง เข้ า อุ ท ยานแห่ ง ชาติ เมื อ งแก็ ท ลิ น เบิ ร ์ ก และศู น ย์ ผู ้ ม าเยี่ ย มชม Oconaluftee ใกล้เมืองเชอโรกี รัฐนอร์ทแคโรไลนาที่ปากทางเข้า อุทยานแห่งชาติด้านทิศตะวันออก สถานีพนักงานตระเวนอุทยาน แห่ ง ชาติ เ หล่ า นี้ ใ ห้ บ ริ ก ารนิ ท รรศการต่ า งๆ ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งสั ต ว์ ป ่ า ธรณี วิ ท ยา และประวั ติ ค วามเป็ น มาของอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ทั้ ง ยั ง จ�ำหน่ายหนังสือ แผนที่ และของที่ระลึกต่างๆ ด้วย ด้วยความแตก ต่างจากอุทยานแห่งชาติอนื่ ๆ เป็นส่วนใหญ่ ไม่มกี ารเก็บค่าธรรมเนียม ผ่านเข้าอุทยานแห่งชาติแต่อย่างใด

อุทยานแห่งชาติให้แก่ประเทศ

ทางหลวงหมายเลข 441 รู้จัก กันในชื่อถนนสาย Newfound Gap ตั ด แบ่ ง อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ออกเป็ น สองส่ ว น ท� ำ ให้ ย าน พาหนะรถยนต์เข้าถึงปากทาง เดินต่างๆ และจุดชมทัศนียภาพ ในที่สูงได้เป็นจ�ำนวนมาก ส่วน ใหญ่จากถนนสาย Newfound Gap ที่ ร ะดั บ ความสู ง 1,539 เมตร นีเ่ ป็นช่องเขาระดับต�ำ่ ทีส่ ดุ และตั้ ง อยู ่ ใ กล้ ศู น ย์ ก ลางของ อุทยานแห่งชาติบนเส้นเขตแดน ระหว่ า งรั ฐ เทนเนสซี / นอร์ ท แคโรไลนากึ่งกลางทางระหว่าง เมืองแก็ทลินเบิร์กและเมืองเชอ โรกี ณ จุดนี้ในปี 1940 จากอนุ สาวรียร์ อ็ คกีเ้ ฟลเล่อร์ แฟรงคลิน เดลาโน รู ้ ส เวลท์ ท� ำ พิ ธี อุ ทิ ศ

อุทยานแห่งชาติมีแหล่งดึงดูดทางประวัติศาสตร์อยู่จำ� นวน หนึ่ง แหล่งที่ได้รับการสงวนรักษาไว้ดีที่สุดและเป็นที่นิยมที่สุด ได้แก่ Cades Cove หุบเขาแห่งหนึ่งที่มีอาคารที่สงวนรักษาไว้เป็นอย่างดี จ�ำนวนหนึ่ง รวมทั้งกระท่อมซุง ฉางพืชผล และโบสถ์ทางศาสนา Cades Cove เป็นแหล่งปลายทางแห่งเดียวทีม่ ผี มู้ าเยีย่ มชมบ่อยทีส่ ดุ ในอุทยานแห่งชาติ การน�ำชมด้วยรถยนต์และจักรยานขับขีด่ ว้ ยตนเอง มีให้บริการแก่ผู้ต้องการชมทิวทัศน์จ�ำนวนมากที่ตระเวนชมพื้นที่ตาม วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมสมัยเก่าของเทือกอัพพาลาเชี่ยนด้านทิศใต้ พื้นที่ ประวัติศาสตร์แห่งอื่นๆ ภายในอุทยานแห่งชาติได้แก่ Roaring Fork,

12 จดหมายข่าวอนุรักษ์ธรรมชาติ

Barn at Mountain Farm Museum

Gregg-Cable House in Cades Cove

Cataloochee, Elkmont, และพิพิธภัณฑ์ Mountain Farm และ Mingus Mill ที่ Oconaluftee การเดินทางไกล มีทางเดินรวมกัน ระยะทาง 1,370 กิโลเมตร และถนนหนทางที่ มิ ไ ด้ ลาดยางในอุ ท ยานแห่ ง ชาติส�ำหรับการเดินระยะ ไกลและทางเดินอีก 113 กิโลเมตร ของเส้นทางเดิน อัพพาลาเชี่ยน ภูเขา Le Conte เป็นหนึ่งในบรรดา จุดหมายปลายทางทีไ่ ด้รบั การเยี่ยมชมบ่อยที่สุดใน อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ที่ ร ะดั บ ความสูง 2,010 เมตร ยอด สูงสุดเป็นล�ำดับทีส่ ามในอุทยานแห่งชาติซงึ่ วัดจากฐานไปสูย่ อดสูงสุด นับ เป็นภูเขาที่สูงที่สุดทางภาคตะวันออกของแม่น�้ำมิสซิสซิปปี ทางเดินถ�้ำ


An RV and tents set up in a campground

สารส้มเป็นเส้นทางเดินที่มีการใช้มากที่สุดในจ�ำนวน 5 เส้นทาง ที่มุ่ง ไปสู่ยอดสูงสุดของภูเขา เส้นทางนี้ให้จุดชมทัศนียภาพในที่สูงจ�ำนวน มากและจุดดึงดูดความสนใจทางธรรมชาติทแี่ ปลก เช่น แนวไม้สนถ�ำ้ สารส้มและหินโค้ง (Arch Rock) นักเดินทางไกลอาจพักแรมคืนหนึ่ง ที่เรือนพักแรม Le Conte อันตั้งอยู่ใกล้ยอดเขาซึ่งให้บริการกระท่อม ซุงและห้องพักให้เช่า ยกเว้นระหว่างเวลาฤดูหนาว การเดินทางเข้าถึง เฉพาะเส้นทางเดินเท่านั้น นี่นับเป็นเรือนพักแรมของเอกชนเพียงแห่ง เดียวที่บริการในอุทยานแห่งชาติ เส้นทางเดินระยะไกลที่อยู่ในความ นิยมเส้นทางอืน่ ๆ น�ำไปสูย่ อดภูเขาของ Chimney Tops ที่ได้ชื่อดังนี้ เนื่ อ งจากยอดเขาเป็ น ตระโหนกคู ่ ดู แปลกตา เส้นทางนี้แม้สั้นแต่เดินล�ำบากนับเป็นรางวัลส�ำหรับบรรดา ผู้กระตือรือร้นทางธรรมชาติพร้อมด้วยทิวทัศน์มุมกว้างโดยรอบยอด ภูเขาแห่งนั้น เส้นทางเดินน�ำ้ ตกลอเรลและเส้นทางเดินยอดโดมคลิงแมนส์ ให้เส้นทางเดินลาดยางค่อนข้างสั้นๆ เดินง่ายไปสู่จุดหมายปลายทาง ต่างๆ ทางเดินน�้ำตกลอเรลน�ำไปสู่น�้ำตกที่ไหลแรง สูง 24 เมตร และ ทางเดินยอดโดมคลิงแมนส์น�ำผูม้ าเยีย่ มชมป่ายปีนขึน้ ภูเขาประมาณ 15.24 เมตร ขึ้นสู่ลานสังเกตการณ์ (observation deck) ซึ่งในวันที่ ท้องฟ้าแจ่มใสให้ทัศนียภาพกว้างไกลออกไปได้หลายไมล์เหนือพื้นที่ ภูเขาของรัฐเทนเนสซี นอร์ทแคโรไลน่าและรัฐจอร์เจีย นอกเหนือจากการเดินระยะไกลในเวลากลางวันแล้ว อุทยาน แห่งชาติได้ให้โอกาสส�ำหรับกิจกรรมย่ามสะพายหลังและการพักแรม การพักแรมก�ำหนดให้เฉพาะพืน้ ทีพ่ กั แรมและทีก่ ำ� บัง (shelters) ทีจ่ ดั ให้เท่านั้น บรรดาที่ก�ำบังส่วนใหญ่ของอุทยานแห่งชาติตั้งอยู่ตามเส้น ทางเดินอัพพาลาเชีย่ นหรือเส้นทางเดินสาขาแยกออกไประยะสัน้ ๆ ยิง่

ไปกว่ า นั้ น บรรดาที่ ก� ำ บั ง ตามทางเดิ น อั พ พาลาเชี่ ย นซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ ประโยชน์โดยบรรดาผู้ที่มีย่ามสะพายหลังนั้นมีที่ก�ำบัง 3 แห่งด้วยกันใน อุทยานแห่งชาติซงึ่ มิได้ตงั้ อยูต่ ามเส้นทางเดินอัพพาลาเชีย่ นได้แก่ ทีก่ ำ� บัง Mt. Le Conte ตัง้ อยูเ่ ป็นระยะสัน้ ๆ ด้านทิศตะวันออกของเรือนพักแรม Le Conte บนเส้นทางเดิน Boulevard ที่ก�ำบังแห่งนี้ให้บริการความสะดวก แก่ผู้คนจ�ำนวน 12 คนต่อคืนหนึ่งๆ และเป็นพื้นที่แห่งเดียวในที่ห่างไกล ของอุทยานแห่งชาติที่ห้ามเล่นรื่นเริงรอบกองไฟอย่างเป็นการถาวร ที่ก�ำบัง Kephart ตั้งอยู่ที่ปลายทางเดิน Kephart Prong ซึ่งเริ่ม ต้นจากบริเวณเหนือล�ำธารของพื้นที่ปิกนิกล�ำธาร Collins ที่ก�ำบังตั้งอยู่ ตามแนวล�ำแม่น�้ำสาขาหนึ่งของแม่น�้ำ Oconaluftee ซึ่งสามารถบริการ อ�ำนวยความสะดวกได้จ�ำนวน 14 คน ที่ก�ำบัง Laurel Gap เป็นหนึ่งในบรรดาที่ก�ำบังซึ่งอยู่ห่างไกล กว่าในอุทยานแห่งชาติ ตั้งอยู่ในซอกเล็กๆ ของป่าไม้บี๊ชระหว่าง Balsam High Top และภูเขา Big Cataloochee ที่ก�ำบัง Laurel Gap สามารถบริการอ�ำนวยความสะดวกได้ถงึ 14 คนต่อหนึ่งคืน ที่ก�ำบังนี้เป็น ค่ายพักแรมฐานที่อยู่ในความนิยมส�ำหรับบรรดาผู้ที่หอบถุงนอน (peakbaggers) เทีย่ วตระเวนหาใจกลางของป่าดงพงไพรในเทือกเขาหมอกภูผา สถานทีพ่ กั แรมทีก่ ำ� หนดในทีห่ า่ งไกลล้วนกระจายอยูท่ วั่ อุทยาน แห่งชาติ ใบอนุญาตมีจดั ไว้ให้ทสี่ ถานีพนักงานตระเวนอุทยานและทีป่ าก ทางเดินต่างๆ ซึ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการพักแรมทุกรายในที่ห่างไกล ยิ่งไปกว่า นั้นการจองที่พักล่วงหน้าเป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับพื้นที่พักแรมจ�ำนวนมาก และแหล่งที่ก�ำบังทุกแห่ง การพักแรมอย่างสูงที่สุดไม่เกินหนึ่งคืนในกรณี ของที่ก�ำบังหรือสามคืนในกรณีของที่พักแรมทั้งหลายอาจเป็นข้อจ�ำกัด ส�ำหรับก�ำหนดการเดินทางของนักเดินทางได้

ภาพทั้งหมดจาก : http://www.nps.gov/grsm/index.htm

ตุลาคม - ธันวาคม 2557 13


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.