หน่วยที่ 2 ทฤษฎี (knowledge)

Page 1

หลัก การและทฤษฎีท างจิต วิท ยาทางการศึก ษา ทฤษฎีก ารเรีย นรู้ท ี่ส ำา คัญ แบ่ง ออกได้ 2 กลุ่ม ใหญ่ๆ

คือ

1. ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Associative Theories) 2. ทฤษฎีกลุ่มความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Theories) ทฤษฎีก ารเรีย นรู้ก ลุ่ม สัม พัน ธ์ต ่อ เนื่อ ง จะเน้นเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่มองเห็น และ สังเกตได้ มากกว่ากระบวนการคิด และปฏิกิริยาภายในของผู้ เรียน ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มนี้แบ่งเป็นกลุ่มย่อยได้ ดังนี้ 1. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theories) 1.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theories) 1.2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำา (Operant Conditioning Theory) 2. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theories) 2.1 ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theory) 2.2 ทฤษฎีสัมพันธ์ต่อเนื่อง (S-R Contiguity Theory) ทฤษฎีก ารวางเงื่อ นไขแบบคลาสสิก อธิบายถึงการเรียนรู้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าตาม ธรรมชาติ และสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับการตอบสนอง พฤติกรรมที่ เกี่ยวข้องมักจะเป็นพฤติกรรมที่เป็นปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) หรือ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องอารมณ์ความรู้สึก บุคคลสำาคัญของทฤษฎีนี้ ได้แก่ Ivan P. Pavlov

Pavlov, Watson,Wolpe etc.


ทฤษฎีก ารวางเขื่อ นไขแบบการกระทำา ทฤษฎีนี้จะเน้นเกี่ยวกับอัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนอง ขึ้นอยู่กับผลของการกระทำา คือ การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทั้งทาง บวกและทางลบ สกินเนอร์ได้แบ่ง พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตไว้ 2 แบบ คือ 1. Respondent Behavior พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดขึ้น โดยอัตโนมัติ 2. Operant Behavior พฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเป็นผู้ กำาหนด หรือเลือกที่จะแสดงออกมา

ทฤษฎีส ัม พัน ธ์เ ชื่อ มโยงของธอร์น ไดค์ onism Theory

(Thorndike's Connecti

เขาเชื่อว่า "คนเราจะเลือกทำาในสิ่งก่อให้เกิดความพึงพอใจและจะ หลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำาให้ไม่พึงพอใจ" กฎการเรีย นรู้ข องธอร์น ไดค์ 1. กฎแห่งผล (Law of Effect) มีใจความสำาคัญคือ ผลแห่ง ปฏิกิริยาตอบสนองใดที่เป็นที่น่าพอใจ 2. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) 3. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) มีใจความสำาคัญคือ พฤติกรรมใดที่ได้มีโอกาสกระทำาซ้ำ้าบ่อยๆ และมีการปรับปรุงอยู่ เสมอ ย่อมก่อให้เกิดความคล่องแคล่วชำานิชำานาญ หลักการและทฤษฎีเกีย่ วกับเทคโนโลยีทางการศึกษาในแง่ ของการเรียนรู้


คาร์เพนเตอร์ และเดล(C.R. Carpenter and Edgar Dale) ได้ประมวลหลักการและทฤษฏี เทคโนโลยีทางการศึกษาในลักษณะของการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิ ภาพ 10 ประการ คือ 1.หลักการจูงใจ 2.การพัฒนามโนทัศน์ (Concept) 3.กระบวนการเลือกและการสอนด้วยสื่ อเทคโนโลยี 4.การจัดระเบียบประสบการณ์เทคโนโลยีทางการศึกษา 5.การมีส่วนรวมและการปฏิบตั ิ ำ 6.การฝึ กซ้าและการเปลี ่ยนแปลงสิ่ งเร้าบ่อยๆ 7.อัตราการเสนอสื่ อในการเรี ยนการสอน 8.ความชัดเจน ความสอดคล้อง และความเป็ นผล 9.การถ่ายโยงที่ดี 10.การให้รู้ผล บูเกสสกี (Bugelski) ได้สนับสนุนว่า การเรี ยนรู ้จะเป็ นผลจากการกระทำาของผูเ้ รี ยน ไม่ใช้ กระบวนการถ่ายทอดของผูส้ อน หากแต่ผสู้ อนเป็ นเพียงผูเ้ ตรี ยมสถานการณ์และจัดระเบียบประสบการณ์ที่ ทันสมัย ไว้ให้ เพื่อผูเ้ รี ยนจะได้เชื่อมโยงความรู ้ใหม่ได้สะดวก นอกจากนี้ หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษายังต้องอาศัยวิธี การที่สาำ คัญอย่างน้อยอีก 2 วิธี คือ วิธีการเชิงมานุษยวิทยา (Humanistic Approach) ได้แก่ การที่ครู ให้ความสนใจต่อการพัฒนา ใน ด้านความเจริ ญเติบโตของผูเ้ รี ยนแต่ละคน วิธีการสอนเชิงระบบ (Systematic Approach) ได้แก่ การจัดการเรี ยนการสอน โดยอาศัยวิธีระบบ ทั้งเพราะการเรี ยนการสอนเป็ นการถ่ายทอดศิลปะ วัฒนธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะของการ เข้าใจเนื้ อหาวิชา ซึ่งการจัดการเรี ยนการสอนไม่อาจปล่อยให้เป็ นไปตามยะถากรรมหรื อตามอำาเภอใจของ ผู ้ สอนหรื อผูเ้ รี ยนได้ ความหมายของการเรียนรู้ การเรี ยนรู้ เป็ นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อันเป็ นผลมาจากประสบการณ์และการ ฝึ กโดยการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็ นเหตุทาำ ให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม ประสบการณ์ที่ก่อ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหมายถึงทั้งประสบการณ์ทางตรงและประสบการณ์ทางอ้อม องค์ ประกอบสำาคัญของการเรียนรู้


ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรี ยนรู ้ มีองค์ประกอบ 4 ประการ คือ 1. แรงขับ (Drive) เป็ นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เป็ นความพร้อมที่จะเรี ยนรู ้ของ บุคคลทั้งสมอง ระบบประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้ อ 2. สิ่ งเร้า (Stimulus) เป็ นสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่ งเป็ นตัวการที่ทาำ ให้บุคคลมี ปฏิกิริยา หรื อพฤติกรรมตอบสนองออกมา 3. การตอบสนอง (Response) เป็ นปฏิกิริยา หรื อพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับ การกระตุน้ จากสิ่ งเร้า ทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้และส่ วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ 4. การเสริ มแรง (Reinforcement) เป็ นการให้สิ่งที่มีอิทธิ พลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิด การเชื่อมโยง ระหว่างสิ่ งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึ้น การเสริ มแรงมีท้ งั ทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการ เรี ยนรู ้ของบุคคลเป็ นอันมาก การเรี ยนรู้เริ่ มเกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้า (Stimulus) มากระตุน้ บุคคล ระบบประสาทจะตื่นตัวเกิดการรับ สัมผัส (Sensation) ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 แล้วส่ งกระแสประสาทไปยังสมองเพื่อแปลความหมายโดย อาศัยประสบการณ์เดิมเป็ นการรับรู้ (Perception) ใหม่ การถ่ ายโยงการเรียนรู้ การถ่ายโยงการเรี ยนรู้เกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือ การถ่ายโยงการเรี ยนรู ้ทางบวก (Positive Transfer) และการถ่ายโยงการเรี ยนรู้ทางลบ (Negative Transfer) การถ่ายโยงการเรี ยนรู้ทางบวก (Positive Transfer) คือ การถ่ายโยงการเรี ยนรู ้ชนิดที่ผลของการ เรี ยนรู ้งานหนึ่งช่วยให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู้อีกงานหนึ่งได้เร็ วขึ้ น ง่ายขึ้น หรื อดีข้ ึน การถ่ายโยงการเรี ยนรู้ทางลบ (Negative Transfer) คือการถ่ายโยงการเรี ยนรู ้ชนิดที่ผลการเรี ยนรู ้ งานหนึ่งไปขัดขวางทำาให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้อีกงานหนึ่งได้ชา้ ลง หรื อยากขึ้นและไม่ได้ดีเท่าที่ควร ลักษณะสำ าคัญ ที่แสดงให้เห็นว่ามีการเรี ยนรู้เกิดขึ้น จะต้องประกอบด้วยปั จจัย 3 ประการ คือ 1. มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทน ถาวร 2. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้นจะต้องเป็ นผลมาจากประสบการณ์ หรื อการฝึ ก การปฏิบตั ิ

ำ เท่านั้น ซ้าๆ

3. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวจะมีการเพิม่ พูนในด้านความรู ้ ความเข้าใจ ความรู ้สึกและ ความสามารถทางทักษะทั้งปริ มาณและคุณภาพ ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory of Learning)


ทฤษฎีการเรี ยนรู้มีอิทธิพลต่อการจัดการเรี ยนการสอนมาก เพราะจะเป็ นแนวทางในการกำาหนด ปรัชญาการศึกษาและการจัดประสบการณ์ เนื่องจากทฤษฎีการเรี ยนรู ้เป็ นสิ่ งที่อธิ บายถึ กระบวนการ วิธีการและเงื่อนไขที่จะทำาให้เกิดการเรี ยนรู ้และตรวจสอบว่าพฤติกรรมของมนุษย์ มีการ เปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ทฤษฎีการรับรู้ รศ.ดร.สาโรช โศภี(2546,) ได้กล่าวเกี่ยวกับทฤษฎีการรับรู ้วา่ การรับรู ้เป็ นผลเนื่องมาจากการที่ มนุษย์ใช้อวัยวะรับสัมผัส (Sensory motor) ซึ่งเรี ยกว่า เครื่ องรับ (Sensory) ทั้ง 5 ชนิด คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง การรับรู้จะเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยูก่ บั สิ่ งที่มีอิทธิ พล หรื อปั จจัยในการรับรู ้ ได้แก่ ลักษณะของผูร้ ับรู้ ลักษณะของสิ่ งเร้า ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ์ (2528: 125) และ วไลพร ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม (ม.ป.ป.: 125) กล่าว ว่า การที่จะเกิดการเรี ยนรู้ได้น้ นั จะต้องอาศัยการรับรู ้ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็ นผลมาจาก การได้รับประสบการณ์ การรับรู้มีขบวนการที่ทาำ ให้เกิดการรับรู ้ สรุ ปได้วา่ การรับรู้เป็ นผลเนื่องมาจากการที่มนุษย์ใช้อวัยวะรับสัมผัส การที่จะเกิดการเรี ยนรู ้ได้น้ัน จะต้องอาศัยการรับรู้ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็ นผลมาจากการได้รับประสบการณ์

ดัง

นั้นการมีสิ่งเร้าที่ดีและมีองค์ประกอบของการรับรู ้ที่สมบูรณ์ถูกต้อง ก็จะทำาให้เกิดการเรี ยนรู ้ที่ดีดว้ ยซึ่งการ รับรู ้เป็ นส่ วนสำาคัญยิง่ ต่อการรับรู้

ธรรมชาติของการเรียนรู้ มี 4 ขั้นตอน คือ 1. ความต้องการของผูเ้ รี ยน (Want) คือ ผูเ้ รี ยนอยากทราบอะไร เมื่อผูเ้ รี ยนมีความต้องการอยากรู ้ อยากเห็นในสิ่ งใดก็ตาม จะเป็ นสิ่ งที่ยวั่ ยุให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้ 2. สิ่ งเร้าที่น่าสนใจ (Stimulus) ก่อนที่จะเรี ยนรู ้ได้ จะต้องมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจ และน่าสัมผัสสำาหรับ มนุษย์ ทำาให้มนุษย์ดิ้นรนขวนขวาย และใฝ่ ใจที่จะเรี ยนรู ้ในสิ่ งที่น่าสนใจนั้น ๆ 3. การตอบสนอง (Response) เมื่อมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจและน่าสัมผัส มนุษย์จะทำาการสัมผัสโดยใช้ ประสาทสัมผัสต่าง ๆ ทำาให้มีการแปลความหมายจากการสัมผัสสิ่ งเร้า เป็ นการรับรู ้ จำาได้ ประสานความรู ้ เข้าด้วยกัน มีการเปรี ยบเทียบ และคิดอย่างมีเหตุผล


4 การได้รับรางวัล (Reward) ภายหลังจากการตอบสนอง มนุษย์อาจเกิดความพึงพอใจ ซึ่งเป็ นกำาไร ชีวิตอย่างหนึ่ง จะได้นาำ ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ลำาดับขั้นของการเรียนรู้ 1. ประสบการณ์ (experiences) ในบุคคลปกติทุกคนจะมีประสาทรับรู ้ ก็คือ ประสาทสัมผัสทั้งห้า ซึ่งประสาทรับรู้น้ ี จะเป็ นเสมือนช่องประตูที่จะให้ได้รับรู ้และตอบสนองต่อสิ่ งเร้าต่าง ๆ 2. ความเข้าใจ (understanding) ก็คือ การตีความหมายหรื อสร้างมโนมติ (concept) ในประสบการณ์ นั้น กระบวนการนี้เกิดขึ้นในสมองหรื อจิตของบุคคล เพราะสมองจะเกิดสัญญาณ (percept) และมีความทรง จำา (retain) ขึ้น ซึ่งเราเรี ยกกระบวนการนี้ วา่ "ความเข้าใจ" ในการเรี ยนรู ้น้ นั 3. ความนึกคิด (thinking) ความนึกคิดถือว่าเป็ นขั้นสุ ดท้ายของการเรี ยนรู ้ ซึ่ งเป็ นกระบวนการที่เกิด ขึ้นในสมอง ที่จะค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ท้ งั เก่าและใหม่ได้ ซึ่งเป็ นหัวใจสำาคัญที่จะทำาให้ เกิดบูรณาการการเรี ยนรู้อย่างแท้จริ ง กลุ่มความรู้ (Cognitive) แนวคิดของทฤษฎีน้ ี จะเน้นความพอใจของผูเ้ รี ยน ผูส้ อนควรให้ผเู ้ รี ยนทำางานตามความสามารถของ เขาและคอยกระตุน้ ให้ผเู้ รี ยนประสบความสำาเร็ จ การเรี ยนการสอนจะเน้นให้ผเู ้ รี ยนลงมือกระทำาด้วยตัวเขา เอง ผูส้ อนเป็ นผูช้ ้ ีแนะ นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้ เช่น โคเลอร์ (kohler) เลวิน (Lawin) วิทคิน (Witkin) การนำาแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มความรู ้ (Cognition) มาใช้คือ การจัดการเรี ยนรู ้ตอ้ งให้ผเู ้ รี ยนได้ รับรู ้จากประสาทสัมผัส เพื่อกระตุน้ ให้เกิดการเรี ยนรู ้ จึงเป็ นแนวคิดในการเกิดการเรี ยนการสอนผ่านสื่ อที่ เรี ยกว่า โสตทัศนศึกษา (Audio Visual) วุฒิชยั ประสารสอย (2545, หน้า 10-17) ได้กล่าวว่าทฤษฎีการเรี ยนเรี ยนรู ้ท้ งั สองกลุ่มมีหลักการบาง ประการที่คล้ายคลึงกันและสามรถนำามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนได้ดงั นี้ 1.การพัฒนาแรงจูงใจ การเรี ยนรู้ที่ได้ผลนั้นต้องเริ่ มจากการที่ผเู ้ รี ยนมีความสนใจ 2.การให้ความสนใจเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างบุคคลผูเ้ รี ยนแต่ละคน 3.การให้ความสำาคัญของวัตถุประสงค์ในการเรี ยน 4. การจัดเนื้อหา 5. การเตรี ยมความพร้อมให้กบั ผูเ้ รี ยน 6. การคำานึงถึงอารมณ์ของผูเ้ รี ยน 7. การมีส่วนร่ วม


8. การรู้ผลแห่งการกระทำา 9. การเสริ มแรง

10. การฝึ กหัดและการกระทำาซ้าำ 11. การประยุกต์ใช้ผลผลิตของการเรี ยนรู ้ที่พึงปรารถนา การนำาหลักการเรี ยนรู้ดงั กล่าวไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน ย่อมจะช่วยให้ผเู ้ รี ยน ประสบผลสำาเร็ จในการเรี ยนรู้ได้เป็ นอย่างดี ทฤษฎีก ารประมวลสารการเรีย นรู้ ทฤษฎีประมวลสารหรือทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการ ประมวลผลข้อมูล เป็นทฤษฎีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนา สติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำางานของสมอง การทำางานของสมอง ซ้ึ่งมีการทำางานเป็นขั้นตอนดังนี้ คือ 1.การรับข้อมูล (Input) โดยผ่านทางอุปกรณ์หรือเครื่องรับข้อมูล 2.การเข้ารหัส (Encoding) โดยอาศัยชุดคาสั่งหรือซ้อฟต์แวร์ (Software) 3.การส่งข้อมูลออก (Output) โดยผ่านทางอุปกรณ์ ดังนั้น การที่ผู้เรียนรู้ตัวและรู้จักการบริหารควบคุมกระบวนการ ทางปัญหาหรือกระบวนการคิดของตนก็จะสามารถทำาให้บุคคลนั้น สามารถสั่งงานให้สมองกระทำาการต่าง ๆ อันจะทำาให้ผู้เรียนประสบ ความสำาเร็จในการเรียนรู้ได้

ความแตกต่ างระหว่ างบุคคล จำาเนียร ช่วงโชติ (2532) กล่าวไว้ในเรื่ องการวัดความแตกต่างระหว่างบุคคล ว่า บุคคลมีคุณลักษณะ ที่แตกต่างกันซึ่งวัดได้ มีดงั นี้


ำ ก สัดส่ วน และ 1. คุณลักษณะทางร่ างกายและทางสรี ระวิทยาของบุคคล เช่น ขนาด ส่ วนสูง น้าหนั การทำางานของระบบต่างๆในร่ างกาย 2. คุณลักษณะทางจิตวิทยาของบุคคล เช่น ความแตกต่างในเรื่ อง การสัมผัส การรับรู ้สิ่ งต่างๆ ความ แตกต่างในเรื่ องสติปัญญา ความสนใจ เจตคติ ค่านิยม ความสามารถพิเศษ และด้านบุคลิกภาพ นอกจากนี้ ยังมีการจำาแนกประเภทความแตกต่างระหว่างบุคคล ในลักษณะอื่นๆ อีกมากมาย ในที่น้ี จะกล่าวถึงลักษณะความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยแบ่งเป็ นความแตกต่างด้านต่างๆ 4 ด้าน คือ 1. ความแตกต่างทางด้านร่ างกาย 2. ความแตกต่างทางด้านอารมณ์ 3. ความแตกต่างทางด้านสังคม 4. ความแตกต่างทางด้านสติปัญญา ซึ่งจะกล่าวถึงความแตกต่างแต่ละประเภทดังนี้ 1.ความแตกต่ างทางด้ านร่ างกาย สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ 1.1.ลักษณะทางร่ างกายซึ่งสามารถมองเห็นได้เด่นชัด เช่น รู ปร่ าง หน้าตา อายุ เพศ 1.2.ลักษณะทางร่ างกายซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้เด่นชัด เช่น การทำางานของระบบต่างๆ ในร่ างกาย การเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต กลุ่มเลือด 2.ความแตกต่ างทางด้ านอารมณ์ อารมณ์ หมายถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลที่ถูกกระตุน้ จากสิ่ งเร้า ทั้งสิ่ งเร้าภายในและภายนอก และความรู ้สึกที่เกิดขึ้นนี้ มีผลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคล สิ่ งแวดล้อมอื่นๆ ที่มีอิทธิพลทำาให้บุคคลมีอารมณ์แตกต่างกัน ได้แก่การศึกษาจากครอบครัว โรงเรี ยน สภาพของสังคมที่บุคคลอาศัยอยู่ ขนบธรรมเนียม ฐานะทางเศรษฐกิจ ตลอดจนสื่ อมวลชนต่างๆ 3.ความแตกต่ างทางด้ านสังคม บุคคลแต่ละบุคคลมีพฤติกรรมด้านสังคมแตกต่างกัน นับตั้งแต่ลกั ษณะการพูดจาสื่ อสาร การแต่ง กาย การคบเพื่อน และบุคลิกภาพทางสังคมอื่นๆ ย่อมส่ งผลให้บุคคลมีลกั ษณะสังคมที่ไม่เหมือนกัน

4.ความแตกต่ างทางด้ านสติปัญญา ความแตกต่างทางด้านสติปัญญา ได้แก่ ความสามารถของบุคคลในการจำา การคิด การตัดสิ นใจ การ แก้ปัญหา การเรี ยนรู้ และการกระทำาสิ่ งต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการปรับตัว นักจิตวิทยาและนักศึกษา


ค้นพบว่า คนเรามีระดับสติปัญญาแตกต่างกัน ตั้งแต่ระดับสูง-ต่าำ ซึ่งมีผลทำาให้เกิดความแตกต่างในด้าน ประสิ ทธิ ภาพของบุคคล ทั้งในแง่ของการทำางาน และการทำาพฤติกรรมอื่นๆ ในชีวิต สาเหตุของความแตกต่ างระหว่ างบุคคล ความแตกต่างระหว่างบุคคลถูกกำาหนดโดยปั จจัยใหญ่ๆ 2 ประการ คือ พันธุกรรม และสิ่ งแวดล้อม พันธุกรรม (Heredity) หมายถึง การถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ของบรรพบุรุษไปสู่รุ่นหลาน โดยผ่าน กระบวนการทางชีววิทยา การถ่ายทอดลักษณะต่างๆ นั้น กำาหนดโดยสารพันธุกรรมที่เรี ยกว่า ยีน สิ่ งแวดล้อม (Environment) หมายถึง สิ่ งเร้าต่างๆ ที่มากระทบหรื อเกี่ยวข้องกับบุคคลทั้งที่เป็ นสิ่ งเร้า ทางกายภาพและสิ่ งเร้าทางจิตวิทยา มีผลทำาให้บุคคลแตกต่างกัน ทฤษฎีพฒ ั นาการ ทฤษฎีพฒ ั นาการของ กีเซล (Gesell) กีเซลเน้นถึงการเติบโตและลักษณะของเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน ถึงแม้แบบแผนและขั้นตอน พัฒนาการจะเหมือนกัน พัฒนาการของเด็กเป็ นกระบวนการที่ประสานสัมพันธ์กนั ทุกด้านทั้งร่ างกาย จิตใจ ดังนั้นการพัฒนาเด็กจึงต้องพัฒนาไปพร้อมๆกันทุกด้าน ทฤษฎีพฒ ั นาการตามวัยของโรเบิร์ต เจ. ฮาวิกเฮิร์ส ฮาวิกเฮิร์ส ถือว่าการพัฒนาการของมนุษย์ไม่ได้ข้ ึนกับปั จจัยทางสรี ระหรื อชีวะเพียงอย่างเดียว สังคมและวัฒนธรรม และปัจจัยทางจิตวิทยาของแต่ละบุคคลมีอิทธิ พลในพัฒนาการของบุคคลด้วย ทฤษฎีพฒ ั นาการของ Sigmund Freud ฟรอยด์ เชื่อว่าพฤติกรรมส่วนใหญ่ของมนุษย์ มีแรงจูงใจมาจากจิตไร้สาำ นึก และยังเชื่อเกี่ยวกับ ธรรมชาติของมนุษย์วา่ มนุษย์เกิดมาพร้อมกับแรงขับทางสัญชาตญาณ ฟรอยด์ ได้อธิบายว่าสัญชาตญาณจะแสดงออกมาในรู ปของพลังทางจิตที่เกี่ยวข้องกับพลังขับทาง เพศเรี ยกว่า พลังลิบิโด (Libido) พัฒนาการของอีริกสัน (Erikson’s psychosocial stage of Development) อีริกสัน ได้สรุ ปว่า ประสบการณ์และการเลี้ยงดูที่ทารกได้รับมีส่วนสำาคัญในการสร้างบุคลิกภาพ ทฤษฎีการสื่ อสาร ทฤษฏี SMCR ของเบอร์ โล (Berio) เดวิด เค. เบอร์โล (David K.Berlo) ได้พฒั นาทฤษฎีที่ผสู ้ ่ งจะส่ งสารอย่างไร และผูร้ ับจะรับการแปล ความหมาย และมีการโต้ตอบกับสารนั้นอย่างไร ทฤษฏี S M C R ประกอบด้วย


ผูส้ ่ ง (Source) ต้องเป็ นผูท้ ี่มีทกั ษะความชำานาญในการสื่ อสารสามารถ “เข้ารหัส” (encode) เนื้อหา ข่าวสาร มีทศั นคติที่ดีต่อผูร้ ับเพื่อผลในการสื่ อสารมีความรู ้อย่างดีเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารที่จะส่ ง ข้อมูลข่าวสาร (Message) เกี่ยวข้องด้านเนื้ อหา สัญลักษณ์ และวิธีการส่ งข่าวสาร ช่องทางในการส่ง (Channel) หมายถึง การที่จะส่ งข่าวสารโดยการให้ผรู ้ ับได้รับข่าวสาร ข้อมูลโดย ผ่านประสานทสัมผัสทั้ง 5 หรื อเพียงส่วนใดส่ วนหนึ่ง ผูร้ ับ (Receiver) ต้องเป็ นผูม้ ีทกั ษะความชำานาญในการสื่ อสารสามารถ “ถอดรหัส” (decode) สาร เป็ นผูท้ ี่มีทศั นคติ ระดับความ และพื้นฐานทางสังคมวัฒนธรรม เช่นเดียวหรื อคล้ายคลังกันกับผูส้ ่ ง ตามลักษณะของทฤษฏี S M C R นี้ มีปัจจัยที่มีความสำาคัญต่อขีดความสามารถของผูส้ ่ งและรับที่จะ ทำาการสื่ อสารความหมายนั้นได้ผลสำาเร็ จหรื อไม่เพียงใด ได้แก่ ทักษะในการสื่ อสาร (Communication skills) หมายถึง ทักษะซึ่งทั้งผูส้ ่ งและผูร้ ับควรจะมีความ ชำานาญในการส่งและการรับการเพื่อให้เกิดความเข้าใจกันได้อย่างถูกต้อง ทัศนคติ (Attitudes) เป็ นทัศนคติของผูส้ ่ งและผูร้ ับซึ่งมีผลต่อการสื่ อสาร ถ้าผูส้ ่ งและผูร้ ับ มีทศั นคติ ที่ดีต่อกันจะทำาให้การสื่ อสารได้ผลดี ทั้งนี้เพราะทัศนคติยอ่ มเกี่ยวโยงไปถึงการยอมรับซึ่งกันและกัน ระหว่างผูส้ ่ งและผูร้ ับด้วย ระดับความรู้ (Knowledge levels) ถ้าผูส้ ่ งและผูร้ ับมีระดับความรู ้เท่าเทียมกันก็จะทำาให้การสื่ อสาร นั้นลุล่วงไปด้วยดี แต่ถา้ หากความรู้ของผูส้ ่ งและผูร้ ับมีระดับที่แตกต่างกันย่อมจะต้องมีการปรับปรุ งความ ยากง่ายของข้อมูลที่จะส่ งในเรื่ องความยากง่ายของภาษาและถ้อยคำาสำานวนที่ ระบบสังคมและวัฒนธรรม (Socio - culture systems) ระบบสังคมและวัฒนธรรมในแต่ละชาติเป็ น สิ่ งที่มีส่วนกำาหนดพฤติกรรมของประชาชนในประเทศนั้น ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องไปถึงขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ ยึดถือปฏิบตั ิ สังคมและวัฒนธรรมในแต่ละชาติยอ่ มมีความแตกต่างกัน

การสื่ อสารทางเดียวเชิงเส้ นตรงของแชนนันและวีเวอร์ คล็อด อี. แชนนัน (Claude E.Shannon) และวอร์เรนวีเวอร์ (Warren Weaver) ได้คิดทฤษฏีการ สื่ อสารทางเดียวเชิงเส้นตรง การสื่ อสารเริ่ มด้วยผูส้ ่ งซึ่งเป็ นแหล่งข้อมูลทำาหน้าที่ส่งเนื้ อหาข่าวสารเพื่อส่ งไป ยังผูร้ ับ โดยผ่านทางเครื่ องส่งหรื อตัวถ่ายทอดในลักษณะของสัญญาณที่ถูกส่ งไปในช่องทางต่าง ๆ กันแล้ว


แต่ลกั ษณะของการส่ งสัญญาณแต่ละประเภท เมื่อทางฝ่ ายผูไ้ ด้รับสัญญาณแล้ว สัญญาณที่ได้รับจะถูกปรับ ให้เหมาะสมกับเครื่ องรับหรื อการรับเพื่อทำาการแปลสัญญาณให้เป็ นเนื้ อหาข่าวสารนั้นอีกครั้งหนึ่งให้ตรง กับที่ผสู ้ ่ งส่ งมา จากทฤษฏีการสื่ อสารนี้ พิจารณาได้วา่ แชนนันและวีเวอร์ สนใจว่าเมื่อมีการสื่ อสารกันจะมีอะไรเกิด ขึ้นกับข้อมูลข่าวสารที่ส่งไปนั้น ไม่วา่ จะเป็ นการส่ งโดยผ่านอุปกรณ์ระบบไฟฟ้ า หรื อการส่ งโดยใช้ สัญญาณต่าง ๆ ในขณะที่สญ ั ญาณถูกส่ งไปจะมีสิ่งต่าง ๆ “สิ่ งรบกวน” (noise source) เช่น ในการส่ งวิทยุ ระบบ AM สัญญาณจะถูกรับกวนโดยไฟฟ้ าในบรรยากาศ จึงสรุ ปได้วา่ “สิ่ งรบกวน” คือ สิ่ งที่ทาำ ให้สญ ั ญาณเสี ยไปภายหลังที่ถูกส่ งจากผูส้ ่ งและก่อนที่จะถึง ผูร้ ับทำาให้สญ ั ญาณที่ส่งไปกับสัญญาณที่ได้รับมีลกั ษณะแตกต่างกัน และอาจกล่าวได้วา่ เป็ นอุปสรรคของ การสื่ อสารเนื่องจากทำาให้การสื่ อสารไม่ได้ผลเต็มที่ถูกต้องตามที่ควรจะเป็ น การสื่ อสารเชิงวงกลมของออสกูดและชแรมม์ ตามปกติแล้วในการสื่ อสารระหว่างบุคคลและแบบกลุ่มบุคคลนั้น ผูส้ ่ งและผูร้ ับจะมีการเปลี่ยน บทบาทกันไปมาในลักษณะการสื่ อสารสองทาง โดยเมื่อผูส้ ่ งได้ส่งข้อมูลข่าวสารไปแล้ว ทางฝ่ ายผูร้ ับทำาการ แปลความหมายข้อมูลที่รับมา และจะเปลี่ยนบทบาทจากผูร้ ับกลับเป็ นผูส้ ่ งเดิมเพื่อตอบสนองต่อสิ ่ งที่รับมา ลักษณะดังกล่าวทำาให้ชารลส์ อี. ออสกูด (Charles E.Osgood) และ วิลเบอร์ แอล. ชแรมม์ (Wibur L. Schramm) ได้สร้างแบบจำาลองการสื่ อสารเชิงวงกลมขึ้น โดยเน้นถึงไม่เพียงแต่องค์ประกอบของการ สื่ อสารเท่านั้น แต่รวมถึงพฤติกรรมของทั้งผูส้ ่ งและผูร้ ับด้วยโดยที่แบบจำาลองการสื่ อสารเชิงวงกลมนี้ จะมี ลักษณะของการสื่ อสารสองทางซึ่งตรงกันข้ามอย่างเห็นได้ชดั กับการสื่ อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของ แชนนันและวีเวอร์ ข้อแตกต่างอีกประการคือในขณะที่ความสนใจของแชนนันและวีเวอร์ อยูท่ ี่ช่องทางการ ติดต่อระหว่างผูส้ ่งและผูร้ ับ แต่ออสกูดและชแรมม์ได้มุ่งพิจารณาและเฉพาะพฤติกรรมของผูส้ ่ งและผูร้ ับซึ่ง เป็ นผูท้ ี่มีส่วน สำาคัญในกระบวนการสื่ อสาร

ขอบข่ ายประสบการณ์ ในทฤษฏีการสื่อสารของชแรมม์


ชแรมม์ได้นาำ ทฤษฏีการสื่ อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของเชนนันและวีเวอร์ มาใช้เพื่อเป็ นแนวทางใน การอธิ บายการสื่ อสารที่เกิดขึ้นในการเรี ยนการสอน โดยเน้นถึงวัตถุประสงค์ของการสอน ความหมายของ เนื้อหาข้อมูล และการที่ขอ้ มูลได้รับการแปลความหมายอย่างไร นอกจากนี้ชแรมม์ยงั ให้ความสำาคัญของการสื่ อความหมาย การรับรู ้ และการแปลความหมายของ สัญลักษณ์วา่ เป็ นหัวใจสำาคัญของการเรี ยนการสอน ตามลักษณะการสื่ อสารของชแรมม์น้ี การสื่ อสารจะเกิด ขึ้นได้อย่างดีมีประสิ ทธิภาพเฉพาะในส่วนที่ผสู ้ ่ งและผูร้ ับทั้งสองฝ่ ายต่างมีวฒั นธรรม ประเพณี ความเชื่อ ความรู ้ ฯลฯ ทีสอดคล้องกล้ายคลึงและมีประสงการณ์ร่วมกัน จึงจะทำาให้สามารถเข้าใจความหมายที่สื่อกัน นั้นได้ จากทฤษฏีการสื่ อสารของชแรมม์เนื่องจากในการสื่ อสารเราไม่สามารถส่ ง “ความหมาย” (meaning) ของข้อมูลไปยังผูร้ ับได้ สิ่ งที่ส่งไปจะเป็ นเพียง “สัญลักษณ์” (symbol) ของความหมายนั้น เช่น คำาพูด รู ปภาพ เสี ยงเพลง ท่าทาง ฯลฯ ดังนั้น เมื่อมีการสื่ อสารเกิดขึ้น ผูส้ ่ งต้องพยายามเข้ารหัสสารซึ่ งเป็ น สัญลักษณ์เพื่อให้ผรู้ ับเข้าใจได้โดยง่าย ซึ่งสารแต่ละสารจะประกอบด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ มากมาย โดยที่ สัญลักษณ์แต่ละตัวจะบ่งบอกถึง “สัญญาณ” (signal) ของบางสิ่ งบางอย่างซึ่ งจะทราบได้โดยประสบการณ์ ของคนเรา เพื่อถ่ายทอดความหมายของสารที่ตอ้ งการจะส่ ง โดยพยายามเชื่อมโยงเนื้ อหาสารเข้ากับ ประสบการณ์ที่สอดคล้องกันทั้งสองฝ่ าย เพื่อให้ผรู ้ ับสามารถแปลและเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์เหล่า นั้นได้โดยง่ายในขอบข่ายประสบการณ์ของตน อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเรี ยนการสอนเป็ นการที่ผสู ้ อนต้องให้ความรู ้และขยายขอบข่าย ประสบการณ์ของผูเ้ รี ยนให้กว้างขวางยิ่งขึ้น หากมีสิ่งใดที่ผเู ้ รี ยนยังไม่มีประสบการณ์หรื อยังไม่มีความรู ้ใน เรื่ องนั้นอย่างเพียงพอ ผูส้ อนจำาเป็ นต้องพยายามเพิ่มพูนความรู ้และประสบการณ์ในเรื่ องนั้น ๆ ให้แก่ผเู ้ รี ยน โดยการอภิปรายร่ วมกัน ให้ผเู้ รี ยนตอบคำาถาม หรื อทำาการบ้านเพิ ่มเติมย่อมจะเป็ นการทราบข้อมูลป้ อนกลับ ว่าผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู้และได้รับประสบการณ์ในเรื่ องที่เรี ยนนั้นอย่างเพียงพอและถูกต้องหรื อไม่ จากทฤษฏีการสื่ อสารที่กล่าวมาแล้วอาจสรุ ปได้วา่ ในการสื่ อสารนั้นการที่ผสู ้ ่ งและผูร้ ับจะสามารถ เข้าใจกันได้ดีเพียงใดย่อมขึ้นอยูก่ บั ทักษะ ทัศนคติ ความรู ้ ระบบสังคมและวัฒนธรรมของทั้งสองฝ่ าย ถ้าทั้ง ผูส้ ่ งและผูร้ ับมีสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ สอดคล้องกันมากจะทำาให้การสื่ อสารนั้นได้ผลดียงิ่ ขึ้น เพาะต่างฝ่ ายจะมี ความเข้าใจซึ่งกันและกัน และสามารถขจัดอุปสรรค์ในการสื่ อสารระหว่างผูส้ ่ งและ ผูร้ ับออกไปได้

ทฤษฎีระบบ


ทฤษฎีระบบ (System Theory) เป็ นทฤษฎีที่ทาำ ให้นกั บริ หาร สามารถที่จะมองเห็นภาพรวมของ องค์การทั้งหมดตามหน้าที่ที่สมั พันธ์กบั สิ่ งแวดล้อม โดยพิจารณาองค์การในลักษณะระบบนั้นจะก่อให้เกิด การวิเคราะห์และการแก้ไขปัญหาขององค์การทั้งระบบ คำาว่าระบบ (System) อาจจัดได้วา่ เป็ นกลุ่มของส่ วนที่เกี่ยวข้องกันและมีความสัมพันธ์กนั ในเชิงที่ จะต้องบรรลุจุดมุ่งหมายร่ วมกันดังนี้ คือ (สมยศ นาวีการ, 2544, หน้า 49) 1. ส่วนต่าง ๆ ของระบบ อยูใ่ นสถานะที่เคลื่อนไหวได้ การเคลื่อนไหวของส่ วนต่าง ๆ จะมี ปฏิกิริยากระทบต่อกันเสมอ โดยที่ในระบบหนึ่ง ๆ จะประกอบด้วยระบบย่อยต่าง ๆ (Subsystems) และ ภายในระบบย่อยก็จะประกอบไปด้วย ระบบย่อยเล็กลงไปอีก หากมีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้ น ณ ส่ วนหนึ่ง ส่ วนใดของระบบจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อเนื่องกันเป็ นลูกโซ่ (Chain of Effects) 2. ระบบประกอบไปด้วยองค์ประกอบ ดังต่อไปนี้ (1) ปัจจัยนำาเข้า (Inputs) ได้แก่ ทรัพยากรต่างๆ นัน่ คือทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรทางกายภาพ ทรัพยากรทางการเงิน และข้อมูลที่ตอ้ งใช้ในการผลิตสิ นค้าและบริ การ (2) กระบวนการแปรสภาพ (Transformation Process) ประกอบด้วย เทคนิคในการจัดการต่างๆ รู ปแบบกิจกรรมการผลิต เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการผลิต (3) ปัจจัยนำาออก (Outputs) ได้แก่ สิ นค้า บริ การ กำาไร ขาดทุน และผลที่คาดหวังอื่น ๆ เช่น ศักยภาพของพนักงานที่พฒั นาขึ้น เป็ นต้น (4) ข้อมูลย้อนกลับ (Feed Back) คือ ข้อมูลเกี่ยวกับผลที่เกิดจากกิจกรรมขององค์การ ซึ่งสามารถ นำาไปพิจารณาเพื่อปรับปรุ งประสิ ทธิภาพในขั้นตอนต่าง ๆ ได้ จากทฤษฎีระบบนั้น องค์การจะใช้กระบวนการแปรสภาพเพื่อเปลี่ยนปั จจัยนำาเข้าไปเป็ นผลผลิต และในขณะเดียวกันกลไกในระบบก็จะขึ้นกับการนำาข้อมูลย้อนกลับไปใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์เพื่อ ตรวจสอบผลลัพธ์ และ ปรับปรุ งปัจจัยนำาเข้า 3. การจัดการเชิงสถานการณ์ นักทฤษฎีที่อยูใ่ นกลุ่มทฤษฎีระบบ อาทิเช่น แคทซ์ และโรเซนวิกส์ (Katz and Rosenzweig) ได้นาำ เสนอทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์ (Contingency Theory of Management) ว่าน่าจะเป็ นทฤษฎีที่กาำ จัดจุด อ่อนของทฤษฎี โดยมุ่งเน้นการบูรณาการทฤษฎีและแนวความคิดต่าง ๆ รวมทั้งปรับปรุ งพฤติกรรมการ จัดการตามสถานการณ์เฉพาะอย่างที่เกิดขึ้นในองค์การ เพื่อนำามาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปั ญหาที่มีลกั ษณะ เฉพาะตามสถานการณ์น้ นั ๆมีการวิเคราะห์วา่ การนำาทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์มาใช้ จะได้ประโยชน์ จากหลักการจัดการแต่ละสถานการณ์เท่านั้นแต่ไม่สามารถนำามาใช้ได้กบั สถานการณ์ทวั่ ไปได้ อย่างไร


ก็ตาม ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากหลาย ๆ สถานการณ์ที่มีลกั ษณะเฉพาะนั้น จะกลายเป็ นประสบการณ์ที่ผู ้ บริ หารสามารถนำามาพัฒนาทักษะทางการบริ หารงานให้มีประสิ ทธิ ภาพยิ ง่ ๆ ขึ้นไป และอาจพัฒนาไปสู่ แนวคิดและเทคนิคการจัดการใหม่ ๆ ได้ต่อไป ทฤษฎีการเผยแพร่ ทฤษฎีการเผยแพร่ น้ นั เกิดจากการผสมผสานทฤษฎี หลักการ และความรู ้ ความจริ งจากหลายสาขา วิชาที่มีศาสตร์เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ เป็ นทฤษฎีที่ไม่บ่งชี้ เฉพาะว่าใช้สาำ หรับการเผยแพร่ นวัตกรรมของ สาขาวิชา หรื อศาสตร์ใดศาสตร์หนึ่งโดยเฉพาะ เนื่องจากการเผยแพร่ นวัตกรรมนั้นมีในทุกสาขาวิชาและทุก ศาสตร์ นักวิจยั ที่ทาำ การศึกษาและสังเคราะห์ผลการวิจยั ต่างๆ แล้วนำามาสร้างเป็ นทฤษฎีการเผยแพร่ การเผยแพร่ การ เผยแพร่ (Diffusion) หมายถึง กระบวนการที่ทาำ ให้นวัตกรรมได้รับการยอมรับและถูกนำาไปใช้ โดยสมาชิกของชุมชน เป้ าหมาย ฉะนั้นการเผยแพร่ จึงเป็ นกระบวนการซึ่งนวัตกรรม (Innovation) จะถูกนำา ไปถ่ายทอดผ่านช่องทางของการสื่ อสาร (Communication Channels) ในช่วงเวลาหนึ่ง (Time) กับสมาชิกที่ อยูใ่ นระบบสังคมหนึ่ง (Social System) ให้เกิดการยอมรับ (Adoption) สาเหตุของการศึกษาทฤษฎีการเผยแพร่ การศึกษาถึงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการเผยแพร่ นวัตกรรมในสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษานั้น มี สาเหตุสาำ คัญ 3 ประการ ได้แก่ 1. ต้องการทราบว่า ทำาไมผลผลิตของพวกเขาจึงเป็ นที่ยอมรับ หรื อไม่เป็ นที่ยอมรับ 2. เทคโนโลยีทางการศึกษามีที่มาจากการเป็ นนวัตกรรมมาก่อน 3. การศึกษาทฤษฎีการเผยแพร่ นวัตกรรม จะนำาไปสู่การเผยแพร่ นวัตกรรมอย่างเป็ นระบบ ทฤษฎีการเรียนรู้ ของบลูม ทฤษฎีการเรี ยนรู้ เบนจามิน บลูมและคณะ (Bloom et al, 1956) ได้จาำ แนกจุดมุ่งหมายการเรี ยนรู้ออกเป็ น 3 ด้าน คือ 1.พุทธิ พิสยั (Cognitive Domain) ซึ่งเป็ นความสามารถทางสติปัญญามี 6 ระดับ ได้แก่ 1.1.ความรู้ความจำา 1.2. ความเข้าใจเป็ นความสามารถในการจับใจความสำาคัญของสื่ อ 1.3. การนำาความรู้ไปใช้ 1.4. การวิเคราะห์ ผูเ้ รี ยนสามารถคิด 1.5. การสังเคราะห์


1.6. การประเมินค่า 2.จิตพิสยั (Affective Domain) พฤติกรรมด้านจิตใจ ประกอบด้วย พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ระดับ ได้แก่ 2.1.การรับรู้ เป็ นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฏการณ์ หรื อสิ่ งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่ง 2.2. การตอบสนอง เป็ นการกระทำาที่แสดงออกมาในรู ปของความเต็มใจ และพอใจต่อสิ่ งเร้า 2.3. การเกิดค่านิยม การเลือกปฏิบตั ิในสิ่ งที่เป็ นที่ยอมรับกันในสังคม 2.4. การจัดระบบ การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์ 2.5. บุคลิกภาพ การนำาค่านิยมที่ยดึ ถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็ นนิสยั ประจำาตัว 3.ทักษะพิสยั (Psychomotor Domain) พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้ อประสาท ประกอบด้วย พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ขั้น ดังนี้ 1.การรับรู้ เป็ นการให้ผเู้ รี ยนได้รับรู้หลักการปฏิบตั ิที่ถูกต้อง หรื อ เป็ นการเลือกหาตัวแบบที่สนใจ 2.กระทำาตามแบบ หรื อ เครื่ องชี้ แนะ เป็ นพฤติกรรมที่ผเู ้ รี ยนพยายามฝึ กตามแบบที่ตนสนใจ 3.การหาความถูกต้อง พฤติกรรมสามารถปฏิบตั ิได้ดว้ ยตนเอง 4.การกระทำาอย่างต่อเนื่องหลังจากตัดสิ นใจเลือกรู ปแบบที่เป็ นของตัวเอง 5. การกระทำาได้อย่างเป็ นธรรมชาติ พฤติกรรมที่ได้จากการฝึ กอย่างต่อเนื่อง จนสามารถปฏิบตั ิ ได้คล่องแคล่วว่องไวโดยอัตโนมัติ ทฤษฎีการเรียนรู้ ของกาเย่ โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gagne) ได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับการสอน คือ ทฤษฎีเงื่อนไขการเรี ยน รู ้ ทฤษฎีการเรี ยนรู้ของกาเย่อธิบายว่าการเรี ยนรู ้มีองค์ประกอบ 3 ส่ วน คือ ก. หลักการและแนวคิด 1) ผลการเรี ยนรู้หรื อความสามารถด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ ซึ่ งมีอยู่ 5 ประเภท คือ – ทักษะทางปัญญา (Intellectual skill) ซึ่งประกอบด้วยการจำาแนกแยกแยะ การสร้างความ คิดรวบยอด การสร้างกฎ การสร้างกระบวนการหรื อกฎชั้นสู ง – กลวิธีในการเรี ยนรู้ (Cognitive strategy) – ภาษาหรื อคำาพูด (verbal information) - ทักษะการเคลื่อนไหว (motor skills) - เจตคติ (attitude) 2) กระบวนการเรี ยนรู้และจดจำาของมนุษย์ มนุษย์มีกระบวนการจัดกระทำาข้อมูลใน สมอง ซึ่งมนุษย์จะอาศัยข้อมูลที่สะสมไว้มาพิจารณาเลือกจัดกระทำาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง และในขณะที่


กระบวนการจัดกระทำาข้อมูลภายในสมองกำาลังเกิดขึ้น เหตุการณ์ภายนอกร่ างกายมนุษย์มีอิทธิ พลต่อการ ส่ งเสริ มหรื อการยับยั้งการ เรี ยนรู้ที่เกิดขึ้นภายในได้ ดังนั้นในการจัดการเรี ยนการสอน กาเย่จึงได้เสนอแนะว่า ควรมีการจัดสภาพการเรี ยนการสอนให้ เหมาะสมกับการเรี ยนรู้แต่ละประเภท ซึ่งมีลกั ษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน ข. วัตถุประสงค์

เพื่อช่วยให้ผเู้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้เนื้ อหาสาระต่าง ๆ ได้อย่างดี รวดเร็ ว และ

สามารถจดจำาสิ่ งที่เรี ยนได้นาน ค. กระบวนการเรี ยนการสอน กาเย่ได้นาำ เอาแนวความคิดมาใช้ในการเรี ยนการสอนโดยยึดหลัก การนำาเสนอเนื้อหาและจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้จากการมีปฏิสมั พันธ์ หลักการสอน 9 ประการ ได้แก่ 1) เร่ งเร้าความสนใจ (Gain Attention) 2) บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) 3) ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge) 4) นำาเสนอเนื้อหาใหม่ (Present New Information) 5) ชี้แนะแนวทางการเรี ยนรู้ (Guide Learning) 6) กระตุน้ การตอบสนองบทเรี ยน (Elicit Response) 7) ให้ขอ้ มูลย้อนกลับ (Provide Feedback) 8) ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess Performance) และ 9) สรุ ปและนำาไปใช้ (Review and Transfer) รายละเอียดแต่ละขั้นตอน มีดงั นี้ 1. เร่ งเร้าความสนใจ (Gain Attention) กระตุน้ หรื อเร้าให้ผเู้ รี ยนเกิดความสนใจกับบทเรี ยนและเนื้ อหาที่จะเรี ยน การเร้าความสนใจผูเ้ รี ยน นี้อาจทำาได้โดย การจัดสภาพแวดล้อมให้ดึงดูดความสนใจ เช่น การใช้ภาพกราฟิ ก ภาพเคลื่อนไหว และ/ หรื อการใช้เสี ยงประกอบบทเรี ยนในส่วนบทนำา 2. บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) การบอกให้ผเู้ รี ยนทราบถึงจุดประสงค์ของบทเรี ยนนี้ มีความสำาคัญเป็ นอย่างยิง่ โดยเฉพาะการ เรี ยนการสอนบนเว็บที่ผเู้ รี ยนสามารถควบคุมการเรี ยนของตนเองได้โดย การเลือกศึกษาเนื้ อหาที่ตอ้ งการ ศึกษาได้เอง ดังนั้นการที่ผเู้ รี ยนได้ทราบถึงจุดประสงค์ของบทเรี ยนล่วงหน้าทำาให้ผเู ้ รี ยนสามารถมุ่งความ สนใจไปที่เนื้ อหาบทเรี ยนที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งยังสามารถเลือกศึกษาเนื้ อหาเฉพาะที่ตนยังขาดความเข้าใจที่จะ ช่วยทำาให้ผเู ้ รี ยนมีความรู้ความสามารถตรงตามจุดประสงค์ของบทเรี ยนที่ได้กาำ หนดไว้


3. ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge) การทบทวนความรู้เดิมช่วยกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้เนื้ อหาใหม่ได้รวดเร็ วยิง่ ขึ้น รู ปแบบ การทบทวนความรู้เดิมในบทเรี ยนบนเว็บทำาได้หลายวิธี เช่น กิจกรรมการถาม-ตอบคำาถาม หรื อการแบ่ง กลุ่มให้ผเู ้ รี ยนอภิปรายหรื อสรุ ปเนื้ อหาที่ได้เคยเรี ยนมาแล้ว เป็ นต้น 4. นำาเสนอเนื้อหาใหม่ (Present New Information) การนำาเสนอบทเรี ยนบนเว็บสามารถทำาได้หลายรู ปแบบด้วยกัน คือ การนำาเสนอด้วยข้อความ รู ปภาพ เสี ยง หรื อแม้กระทัง่ วีดิทศั น์ อย่างไรก็ตามสิ่ งสำาคัญที่ผสู ้ อนควรให้ความสำาคัญก็คือผูเ้ รี ยน ผู ้ สอนควรพิจารณาลักษณะของผูเ้ รี ยนเป็ นสำาคัญเพื่อให้การนำาเสนอบทเรี ยนเหมาะสมกับผูเ้ รี ยนมากที่สุด 5. ชี้แนะแนวทางการเรี ยนรู้ (Guide Learning) การชี้แนวทางการเรี ยนรู้ หมายถึง การชี้แนะให้ผเู ้ รี ยนสามารถนำาความรู ้ที่ได้เรี ยนใหม่ผสม ผสานกับความรู้เก่าที่เคยได้เรี ยนไปแล้ว เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ที่รวดเร็ วและมีความแม่นยำามากยิ ่งขึ้น 6. กระตุน้ การตอบสนองบทเรี ยน (Elicit Response) นักการศึกษาต่างทราบดีวา่ การเรี ยนรู ้เกิดขึ้นจากการที่ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสมีส่วนร่ วมในกระบวนการ เรี ยนการสอนโดยตรง ดังนั้นในการจัดการเรี ยนการสอนบนเว็บจึงควรเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมใน กิจกรรมการเรี ยน ซึ่งอาจทำาได้โดยการจัดกิจกรรมการสนทนาออนไลน์รูปแบบ Synchronous หรื อการแลก เปลี่ยนความคิดเห็นผ่านเว็บบอร์ดในรู ปแบบ Asynchronous เป็ นต้น 7. ให้ขอ้ มูลย้อนกลับ (Provide Feedback) ลักษณะเด่นประการหนึ่งของการเรี ยนการสอนบนเว็บก็คือการที่ผสู ้ อนสามารถติดต่อสื่ อสารกับผู ้ เรี ยนได้โดยตรงอย่างใกล้ชิด เนื่องจากบทบาทของผูส้ อนนั้นเปลี่ยนจากการเป็ นผูถ้ า่ ยทอดความรู ้แต่เพียงผู ้ เดียวมาเป็ นผูใ้ ห้คาำ แนะนำาและช่วยกำากับการเรี ยนของผูเ้ รี ยนรายบุคคล และด้วยความสามารถของ อินเทอร์ เน็ตที่ทาำ ให้ผเู้ รี ยนและผูส้ อนสามารถติดต่อกันได้ตลอดเวลา ทำาให้ผสู ้ อนสามารถติดตามก้าวหน้า และสามารถให้ผลย้อนกลับแก่ผเู้ รี ยนแต่ละคนได้ดว้ ยความสะดวก 8. ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess Performance) การทดสอบความรู้ความสามารถผูเ้ รี ยนเป็ นขั้นตอนที่สาำ คัญอีกขั้นตอนหนึ่ง เพราะทำาให้ท้ งั ผูเ้ รี ยน และผูส้ อนได้ทราบถึงระดับความรู้ความเข้าใจที่ผเู ้ รี ยนมีต่อเนื้ อหาในบทเรี ยนนั้นๆ การทดสอบความรู ้ใน บทเรี ยนบนเว็บสามารถทำาได้หลายรู ปแบบ ไม่วา่ จะเป็ นข้อสอบแบบปรนัยหรื ออัตนัย การจัดทำากิจกรรม การอภิปรายกลุ่มใหญ่หรื อกลุ่มย่อยเป็ นต้น ซึ่งการทดสอบนี้ ผเู ้ รี ยนสามารถทำาการทดสอบบนเว็บผ่าน ระบบเครื อข่ายได้


9. สรุ ปและนำาไปใช้ (Review and Transfer) การสรุ ปและนำาไปใช้ จัดว่าเป็ นส่วนสำาคัญในขั้นตอนสุ ดท้ายที่บทเรี ยนจะต้องสรุ ปมโนคติของ เนื้อหาเฉพาะประเด็นสำาคัญ ๆ รวมทั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสทบทวน ความรู ้ของตนเองหลังจากศึกษาเนื้ อหาผ่านมาแล้ว ในขณะเดียวกันบทเรี ยนต้องชี้ แนะเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง หรื อให้ขอ้ มูลอ้างอิงเพิ่มเติม เพื่อแนะแนวทางให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาต่อในบทเรี ยนถัดไปหรื อนำาไปประยุกต์ใช้ กับงานอื่นต่อไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.