จิตวิทยาการศึกษา จิตวิทยาการศึกษา คือ การนำาความรู ้เกี่ยวกับการปรับตัวของคนไปปฏิบตั ิจริ งเพื่อช่วยเหลือในการ ปรับตัวดังนั้นหน้าที่สาำ คัญประการแรกคือการจัดการเกี่ยวกับเรื่ องการเรี ยนรู ้ การเรี ยนการสอนซึ่ งจะเป็ น เรื่ องราวทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา “จิตวิทยา”เป็ นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมและกระบวนการทางจิต โดยศึกษาว่าสิ ่ งเหล่านี้ได้ อิทธิ พลอย่างไรจากสภาวะทางร่ างกาย สภาพจิตใจและสิ่ งแวดล้อมภายนอก เนื้อหาของจิตวิทยาการศึกษาที่เป็ นความรู ้พื้นฐานสำาหรับครู และนักการศึกษาประกอบด้วยหัวข้อ ต่อไปนี้ 1. ความสำาคัญของวัตถุประสงค์ของการศึกษาและบทเรี ยน 2. ทฤษฎีพฒั นาการ และทฤษฎีบุคลิกภาพ 3. ความแตกต่างระหว่างบุคคลและกลุ่ม 4. ทฤษฎีการเรี ยนรู้ 5. ทฤษฎีการสอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา 6. หลักการสอนและวิธีสอน 7. หลักการวัดผลและประเมินผลการศึกษา 8. การสร้างบรรยากาศของห้องเรี ยน ความสำ าคัญของจิตวิทยาการเรียนการสอน - ทำาให้รู้จกั ลักษณะนิสยั ของผูเ้ รี ยน - ทำาให้เข้าใจพัฒนาการบุคลิกภาพบางอย่างของผูเ้ รี ยน - ทำาให้ครู เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล - ทำาให้ครู ทราบว่ามีองค์ประกอบใดบ้างที่มีผลกระทบต่อสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเช่น แรงจูงใจ ความ คาดหวัง เชาวน์ปัญญา ทัศนคติ ฯลฯ - ทำาให้ครู ทราบทฤษฎี หลักการเรี ยนรู ้ รวมทั้งหลักการสอนและวิธีการสอน - ทำาให้ครู วางแผนการสอนได้อย่างเหมาะสม - ทำาให้ครู จดั สภาพแวดล้อมของห้องเรี ยนได้สอดคล้องกับพัฒนาการ รวมทั้งสร้างบรรยากาศใน ชั้นเรี ยนที่เอื้อต่อการปกครองชั้นเรี ยน (สุวรี , 2535)
จุดมุ่งหมายของการนำาจิตวิทยามาประยุกต์ ใช้ กบั การเรียนการสอน ในการสอนที่ดี ผูส้ อนจำาเป็ นต้องนำาทฤษฎีการเรี ยนรู ้มาประยุกต์ใช้กบั การเรี ยนการสอน เพื่อให้ผู ้ เรี ยนบรรลุจุดประสงค์ในการเรี ยนรู้ ซึ่งสามารถกระทำาได้หลายสถานการณ์ เช่น 1. การมีส่วนร่ วมในการรับรู้ โดยให้ผเู ้ รี ยนมีโอกาสคิดและไตร่ ตรอง 2. การทราบผลย้อนกลับ การให้ผเู้ รี ยนได้รับทราบผลของการทำากิจกรรมต่างๆ 3. การเสริ มแรง ทำาให้ผเู้ รี ยนมีความภาคภูมิใจ 4. การเรี ยนรู้ตามระดับขั้น โดยจัดความรู ้จากง่ายไปยากจิตวิทยาพัฒนาการ เป็ นการศึกษาเกี่ยวกับ พัฒนาการด้านต่างๆของมนุษย์ ตั้งแต่ปฏิสนธิ จนถึงวัยชรา หลักการสำ าคัญ 1. มีความรู้ในเนื้ อหาวิชาที่สอน 2. มีความสามารถในการประยุกต์หลักการจิตวิทยาเพื่อการเรี ยนการสอน 3. มีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ใหม่ 4. มีเจตคติที่ดีต่อผูเ้ รี ยน วัตถุประสงค์ ของจิตวิทยาการศึกษา 1. เป็ นการให้ความรู้เกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ของคนทั้งเด็กและผูใ้ หญ่และจัดรวบรวมอย่างมีระบบ 2. เป็ นการนำาความรู้เกี่ยวกับการเรี ยนและผูเ้ รี ยนมาจัดรู ปแบบเพื่อให้ผสู ้ อน จิตวิทยาการศึกษามีส่วนเกีย่ วข้องกับสาขาวิชาอืน่ ดังนี้ 1. จิตวิทยา (Psychology) 2. จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental Psychology) 3. จิตวิทยาสังคม (Social Psychology) 4. จิตวิทยาอปกติ (Abnormal Psychology 5.จิตวิทยาประยุกต์ (Applied Psychology) 6. จิตวิทยาการเรี ยนรู้ (Psychology of learning) 7.จิตวิทยาบุคลิกภาพ (Psychology of Personality)
ประโยชน์ ของการศึกษาจิตวิทยา 1. ช่วยให้ผสู้ อนสามารถเข้าใจตนเอง 2. ช่วยให้ผสู้ อน เข้าใจทฤษฎีวิธีการใหม่ ๆ 3. ช่วยให้ผสู้ อนเข้าใจธรรมชาติความเจริ ญเติบโตของผูเ้ รี ยนและสามารถจัดการเรี ยน การสอนให้ เหมาะสม กับความสนใจ ของผูเ้ รี ยนแต่ละวัยได้ 4. ช่วยให้ผสู้ อน เข้าใจ และสามารถเตรี ยมบทเรี ยน 5. ช่วยให้ผสู้ อน รู้จกั วิธีการศึกษาผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล 6.ช่วยให้ผสู้ อนมีสมั พันธ์ภาพที่ดีกบั ผูเ้ รี ยน 7. ช่วยให้ผบู้ ริ หารการศึกษา ได้วางแผนการศึกษา การจัดหลักสูตร อุปกรณ์การสอน และการ บริ หารได้อย่างถูกต้อง 8.ช่วยให้ผเู้ รี ยนสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี ทฤษฎีการเรียนรู้ กลุ่มความรู้ ความเข้าใจ นักทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่า พฤติกรรมหรื อการตอบสนองใดๆ ที่บุคคลแสดงออกมานั้นต้องผ่าน กระบวนการคิดที่เกิดขึ้นระหว่างที่มีสิ่งเร้าและการตอบสนอง ทฤษฎีการเรี ยนรู้กลุ่มนี้ ยงั แบ่งย่อยได้อีกดังนี้ 1. ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt's Theory) 2. ทฤษฎีสนามของเลวิน ( Lewin's Field Theory) ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ นักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ มีความสนใจเกี่ยวกับการรับรู ้การเชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์เก่าและ ใหม่ นำาไปสู่กระบวนการคิดเพื่อการแก้ปัญหา องค์ ประกอบของการเรียนรู้ มี 2 ส่ วน คือ 1. การรับรู้ (Perception) 2. การหยัง่ เห็น (Insight) หลักของการหยัง่ เห็นสรุ ปได้ ดังนี้ 2.1 การหยัง่ เห็นขึ้นอยูก่ บั สภาพปัญหา 2.2 คำาตอบที่เกิดขึ้นในใจถือว่าเป็ นการหยัง่ เห็น 2.3 คำาตอบหรื อการหยัง่ เห็นที่เกิดขึ้นสามารถนำาไปประยุกต์ ใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
ทฤษฎีสนามของเลวิน(Lewin's Field Theory) การเรี ยนรู้ เกิดขึ้นจากการจัดกระบวนการรับรู ้ และกระบวนการคิดเพื่อการแก้ไขปัญหาแต่เขาได้ นำาเอาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาร่ วมอธิบายพฤติกรรมมนุษย์สิ่งที่อยูใ่ นความสนใจและต้องการจะมีพลัง เป็ นบวก Lewin กำาหนดว่า สิ่ งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์ จะมี 2 ชนิด คือ 1. สิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment) 2. สิ่ งแวดล้อมทางจิตวิทยา (Psychological environment) การนำาหลักการทฤษฎีกลุ่มความรู้ ความเข้าใจ ไปประยุกต์ ใช้ 1. ครู ควรสร้างบรรยากาศการเรี ยนเป็ น 2. เปิ ดโอกาสให้มีการอภิปรายในชั้นเรี ยน โดยใช้แนวทางต่อไปนี้ 2.1 เน้นความแตกต่าง 2.2 กระตุน้ ให้มีการเดาและหาเหตุผล 2.3 กระตุน้ ให้ทุกคนมีส่วนร่ วม 2.4 กระตุน้ ให้ใช้ความคิดอย่างรอบคอบ 2.5 กำาหนดขอบเขตไม่ให้อภิปรายออกนอกประเด็น 3. การกำาหนดบทเรี ยนควรมีโครงสร้างที่มีระบบเป็ นขั้นตอน 4. คำานึงถึงเจตคติและความรู้สึกของผูเ้ รี ยน 5. บุคลิกภาพของครู และความสามารถในการถ่ายทอด "ทฤษฎีปัญญาสังคม" ทฤษฎีปัญญาสังคมเน้นหลักการเรี ยนรู ้โดยการสังเกต (Observational Learning) เกิดจากการที่ บุคคลสังเกตการกระทำาของผูอ้ ื่นแล้วพยายามเลียนแบบพฤติกรรมนั้น ขั้นตอนของการเรียนรู้ โดยการสังเกต 1. ขั้นให้ความสนใจ (Attention Phase) 2. ขั้นจำา (Retention Phase) 3. ขั้นปฏิบตั ิ(Reproduction Phase) 4. ขั้นจูงใจ (Motivation Phase
หลักพื้นฐานของทฤษฎีปัญญาสังคม มี 3 ประการ คือ 1. กระบวนการเรี ยนรู้ตอ้ งอาศัยทั้งกระบวนการทางปั ญญา 2. การเรี ยนรู้เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ 3. ผลของการเรี ยนรู้กบั การแสดงออกอาจจะแตกต่างกัน การนำาหลักการมาประยุกต์ ใช้ 1. ในห้องเรี ยนครู จะเป็ นตัวแบบที่มีอิทธิ พลมาก 2. การสอนแบบสาธิตปฏิบตั ิ เป็ นการสอนโดยใช้หลักการและขั้นตอนของทฤษฎีปัญญาสังคมทั้ง สิ้ น