นวัตกรรมหน่วยที่ 1(knowledge)

Page 1

ความหมายของนวัตกรรม จากที่ได้ศึกษามาโดยสรุ ปแล้ว นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบตั ิ หรื อสิ่ งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรื อการปรุ งแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมและสิ่ งทั้งหลายเล่านี้ได้รับการทดลอง พัฒนามาจนเป็ นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบตั ิ ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่ งที่ดีกว่า นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational Innovation) สรุ ปได้วา่ นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง การนำาเอาสิ่ งใหม่ซ่ ึ งอาจจะอยูใ่ นรู ปของความคิด หรื อ การกระทำา รวมทั้งสิ่ งประดิษฐ์กต็ ามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาเพื่อที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรี ยนการ สอนมีประสิ ทธิภาพดียิ่งขึ้น ผูเ้ รี ยนสามารถเกิดการเรี ยนรู ้อย่างรวดเร็ วมีประสิ ทธิ ผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจ ในการเรี ยนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรี ยนได้อีกด้วย นวัตกรรม แบ่งออกเป็ น 3 ระยะ คือ - ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรื อเป็ นการปรุ งแต่งของเก่า - ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลอง - ระยะที่ 3 การนำาเอาไปปฏิบตั ิในสถานการณ์ทวั่ ไป \ หลักเกณฑ์ประกอบการพิจารณาว่าสิ่ งใดคือ นวัตกรรม 1. เป็ นสิ่ งใหม่ท้ งั หมดหรื อบางส่วน 2. มีการนำาวิธีการจัดระบบ มาใช้พิจารณาองค์ประกอบ 3. มีการพิสูจน์ดว้ ยการวิจยั หรื ออยูร่ ะหว่างการวิจยั 4. ยังไม่เป็ นส่วนหนึ่งในระบบงานปั จจุบนั แนวคิดพืน้ ฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา พอจะสรุ ปได้ 4 ประการคือ 1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) 2. ความพร้อม (Readiness) 3. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา 4. ประสิ ทธิภาพในการเรี ยน

การปฏิเสธและการยอมรับนวัตกรรม


การปฏิเสธนวัตกรรม เมื่อมีผคู้ น้ คิดหานวัตกรรมมามักจะได้รับการต่อต้านหรื อ การปฏิเสธ เนื่องมาจากสาเหตุหลายประการด้วยกันดังนี้ 1) ความเคยชินกับวิธีการเดิม ๆ 2) ความไม่แน่ใจในประสิ ทธิภาพ 3) ความรู้ของบุคคลต่อนวัตกรรม 4) ข้อจำากัดทางด้านงบประมาณ การยอมรับนวัตกรรม ขั้นตอนการยอมรับนวัตกรรม (Adoption Process) Everett M. Rogers (1971) ได้สรุ ปทฤษฎีข้ นั ตอนการยอมรับนวัตกรรม 5 ขั้นตอน ดังนี้คือ 1. ขั้นตื่นตัวหรื อรับทราบ (Awareness) 2. ขั้นสนใจ (Interest) 3. ขั้นประเมินผล (evaluation) 4. ขั้นทดลอง (trial) 5. ขั้นยอมรับปฏิบตั ิ (Adoption) อย่างไรก็ตามกระบวนการยอมรับทั้ง 5 ขั้นนี้ Rogers และ Shoemaker ชี้ให้เห็นว่ายังมีขอ้ บกพร่ อง อยูใ่ นบางประการคือ 1.กระบวนการยอมรับ เป็ นกระบวนการที่อธิ บายเฉพาะในด้านบวก (Positive) เท่านั้น 2.กระบวนการยอมรับทั้ง 5 ขั้นนี้ ในความเป็ นจริ งแล้วอาจเกิดไม่ครบทุกขั้นตอนหรื อบางขั้นตอน อาจเกิดขึ้นทุกระยะ 3.ผลการวิจยั แสดงให้เห็นว่า การยอมรับปฏิบตั ิท้ งั 5 ขั้นนี้ ยังไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ ถาวรทีเดียว

ปัจจัยต่ างๆ ทีม่ ีผลต่ อการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา


การยอมรับนวัตกรรมของบุคคลในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ นั้น อาจมีความแตกต่างกัน ทำำให้ผล ของการยอมรับที่จะเกิดขึ้นในลักษณะต่างๆ นี้ ข้ นึ อยูก่ บั ปั จจัยต่างๆ หลายประการ คือ 1. ปั จจัยเกี่ยวกับลักษณะของนวัตกรรม 2. ปั จจัยเกี่ยวกับผูร้ ับนวัตกรรม 3. ปั จจัยทางด้านระบบสังคม 4. ปั จจัยทางด้านการติดต่อสื่ อสาร กระบวนการตัดสินใจนวัตกรรม โรเจอร์ส (Rogers) ได้เสนอแบบจำาลอง กระบวนการตัดสิ นใจเกี่ยวกับนวัตกรรม (Innovation Decision Process) ซึ่งมิ​ิอยู่ 5 ขั้นตอนคือ 1.ขั้นความรู้ (Knowledge Stage) 2.ขั้นการจูงใจ (Persuasion Stage) 3.ขั้นการตัดสิ นใจ (Decision Stage) 4.ขั้นการลงมือปฏิบตั ิ (Implementation Stage) 5.ขั้นทบทวนการตัดสิ นใจ (Confirmation Stage) คุณลักษณะของนวัตกรรมทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อการยอมรับ ได้ แก่ 1.ผลประโยชน์ที่ได้รับจากนวัตกรรม (Relation advantage) คือ ระดับของการรับรู ้หรื อความเชื่อ ว่านวัตกรรมนั้นมีคุณสมบัติที่ดีกว่าความคิดหรื อสิ่ งที่มีอยูเ่ ดิม 2.การเข้ากันได้ดีกบั สิ่ งที่มีอยูเ่ ดิม (Compatibility) การเข้ากันได้ คือ ระดับของนวัตกรรมซึ่งมีความ สอดคล้องกับคุณค่า ประสบการณ์และความต้องการที่มีอยูแ่ ล้ว 3.ความซับซ้อน (Complexity) ความซับซ้อนของนวัตกรรมคือระดับของความเชื่อว่านวัตกรรมนั้น มีความยากต่อการเข้าใจและการนงไปใช้ นวัตกรรมบางอย่างสามารถทำาความเข้าใจและนำามาใช้ได้ง่าย 4.การทดลองได้ (Trial ability) การทดลองได้ของนวัตกรรมคือระดับของนวัตกรรมที่สามารถมอง เห็นผลจากการทดลองปฏิบตั ิเพื่อให้เห็นผลได้จริ ง อย่างน้อยภายใต้สภาพที่จาำ กัด ความคิดเหล่านี้ สามารถ ทดสอบหรื อทดลองได้อย่างเป็ นขั้นตอนหรื อเป็ นช่วง ๆ ไป 5.การสังเกตได้ (Observe ability) การสังเกตได้คือระดับของนวัตกรรมที่สามารถมองเห็น กระบวนการในการปฏิบตั ิได้อย่างเป็ นรู ปธรรม สามารถสัมผัสและแตะต้องได้จริ ง ๆ ความหมายของเทคโนโลยี


สรุ ปได้วา่ เทคโนโลยี หมายถึง การนำาเอาวิทยาศาสตร์ ประยุกต์มาใช้ เทคโนโลยี มิใช่คน หรื อเครื่ องจักร แต่เป็ นการจัดระเบียบอันมีบูรณาการและความสลับซับซ้อนของความคิด ทำาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน เกณฑ์ ในการพิจารณานำาเทคโนโลยีมาใช้ 1.ประสิ ทธิภาพ (Efficiency) เทคโนโลยีจะช่วยให้การทำางานบรรลุผลตามเป้ าหมายได้อย่างเที่ยง ตรงและรวดเร็ ว 2.ประสิ ทธิผล (Productivity) เป็ นการทำางานเพื่อให้ได้ผลผลิตออกมาอย่างเต็มที่มากที่สุดเท่าที่จะ มากได้ เพื่อให้ได้ประสิ ทธิผลสูงสุด 3.ประหยัด (Economy) เป็ นการประหยัดทั้งเวลาและแรงงานในการทำางานด้วยการลงทุนน้อยแต่ได้ ผลมากกว่าที่ลงทุนไป ความสำ าคัญของเทคโนโลยี 1.เป็ นพื้นฐานปัจจัยจำาเป็ นในการดำาเนินชีวิตของมนุษย์ 2.เป็ นปัจจัยหลักที่จะมีส่วนร่ วมในการพัฒนา 3.เป็ นเรื่ องราวของมนุษย์ และธรรมชาติ ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา นั้นเป็ นการประยุกต์เอาเทคนิค วิธีการ แนวความคิด อุปกรณ์และเครื่ องมือ ใหม่ๆมาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาโดยเน้นที่วตั ถุประสงค์ทางการศึกษาและยังรวมถึงความสนใจในเรื่ องความ แตกต่างๆระหว่างบุคคล ด้านพฤติกรรมศาสตร์ และทฤษฎีการเรี ยนรู ้ เทคโนโลยีดา้ นวิทยาศาสตร์ กายภาพ ระดับของเทคโนโลยีทางการศึกษา แบ่งออกได้ 3 ระดับ ได้แก่ 1. ระดับอุปกรณ์ การสอน เป็นกำรใช้เทคโนโลยีในระดับเครื่องช่วยกำร สอนของครู 2. ระดับวิธีสอน เป็ นการใช้เทคโนโลยีแทนการสอนของครู ดว้ ยตนเอง 3. ระดับการจัดระบบการเรียนการสอน เป็ นการใช้เทคโนโลยีการศึกษาระดับกว้าง สามารถจัด ระบบการศึกษาตอบสนองผูเ้ รี ยนได้จาำ นวนมาก


ความคิดรวบยอดของเทคโนโลยี 1. ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์ กายภาพ คือมีเพียงวัสดุ และอุปกรณ์เท่านั้น ไม่รวมวิธีการ หรื อปฏิกิริยาสัมพันธ์อื่น ๆ เข้าไปด้วย 2. ความคิดรวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์ เป็ นการนำาวิธีการทางจิตวิทยาการรับรู ้มาใช้ควบคู่กบั ผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรม เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเปลี่ยนพฤติกรรมการเรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้นมิใช่เพียงการใช้เครื่ องมืออุปกรณ์เท่านั้น แต่รวมถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เข้าไปด้วย เป้าหมายของเทคโนโลยีการศึกษา 1. การขยายพิสยั ของทรัพยากรของการเรี ยนรู ้ ครอบคลุมถึงเรื่ องต่างๆ เช่น 1.1 คน 1.2 วัสดุและเครื่ องมือ 1.3 เทคนิค-วิธีการ 1.4 สถานที่ 2. การเน้นการเรี ยนรู้แบบเอกัตบุคคล 3. การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา 4. พัฒนาเครื่ องมือ-วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา บทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษากับการจัดการเรียนการสอน 1. ช่วยให้ผเู้ รี ยนเรี ยนได้กว้างขวางมากขึ้น 2. สามารถสนองเรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคล 3. ให้การจัดการศึกษาดีข้ ึน 4. มีบทบาทสำาคัญต่อการพัฒนาสื่ อการสอน 5. ทำาให้การเรี ยนรู้ไม่เน้นเฉพาะด้านความรู ้เพียงอย่างเดียว 6. ช่วยเพิ่มโอกาสทางการศึกษา สาเหตุที่นำาเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ ในทางการศึกษา พอสรุ ปได้ 3 ประการ คือ 1. การเพิ่มจำานวนประชากร 2. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม 3. ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการใหม่


แนวคิดในการใช้ เทคโนโลยีทางการศึกษากับการศึกษาไทย ซึ่ งประมวลได้ 3 ประการ คือ 1. คนไทยส่วนใหญ่ไม่นบั ถือตนเอง 2. การไม่เห็นคุณค่าของสิ่ งแวดล้อม 3. การขาดทักษะที่พึงประสงค์ การนำานวัตกรรมและเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ ในการพัฒนาการเรียนการสอน การจัดการเรี ยนการสอนปัจจุบนั ได้นาำ ทฤษฎีการเรี ยนรู ้และหลักการแนวคิดทางเทคโนโลยีการ ศึกษาในทัศนะต่างๆมาใช้ร่วมกันอย่างผสมผสานเพื่อก่อให้เกิดคุณภาพของการสอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 4 ประการ คือ ให้ผเู ้ รี ยนได้มีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้อย่างแข็งขัน ด้วยความพึงพอใจและเต็มใจที่จะเรี ยนรู ้ 2. ให้ผเู ้ รี ยนได้รับข้อมูลย้อนกลับอย่างฉับพลัน ช่วยกระตุน ้ ผูเ้ รี ยนต้องการจะเรี ยนรู ้ต่อไป 3. ให้ผเู ้ รี ยนได้รับการเสริ มแรงด้วยการให้ประสบการณ์แห่ งความสำาเร็ จเรี ยนรู ้ดว้ ยความพอใจ 4. ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้เป็ นขั้นตอนทีละน้อย ไม่ดบ ั ข้องใจ เรี ยนด้วยความพอใจ และไม่เบื่อหน่าย ความสัมพันธ์ ระหว่ าง เทคโนโลยี กับ นวัตกรรม 1.

นวัตกรรมเป็ นเรื่ องของการคิดค้นหรื อการกระทำาใหม่ ๆเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีข้ึ น ส่ วนเทคโนโลยีน้ นั มุ่งไปที่การนำาสิ่ งต่าง ๆรวมทั้งวิธีการเข้ามาประยุกต์ใช้กบั การทำางาน การนำาเอา นวัตกรรมเข้ามาใช้น้ ี ก็จดั ได้วา่ เป็ นเทคโนโลยีดว้ ย และในการใช้เทคโนโลยีน้ี ถา้ เราทำาให้เกิดวิธีการหรื อสิ่ ง ใหม่ๆ ขึ้น สิ่ งนั้นก็เรี ยกว่าเป็ นนวัตกรรม เราจึงมักเห็นคำา นวัตกรรม และ เทคโนโลยี อยูค่ วบคู่กนั เสมอ

ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมการศึกษาและเทคโนโลยีการศึกษา


ความแตกต่ างระหว่ างนวัตกรรมและเทคโนโลยี จากความหมายของนวัตกรรมและเทคโนโลยี จึงน่าจะสรุ ปได้วา่ นวัตกรรมกับเทคโนโลยีแตกต่าง กันในประเด็นดังนี้ 1. จุดกำาเนิด นวัตกรรมเกิดจากแนวคิดและความรู ้ใหม่ ๆ ที่เกิดจากการคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี เกิดจากการนำานวัตกรรมมาพิสูจน์ตามขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์ และถูกนำามาใช้อย่างมีระบบเพื่อแก้ปัญหา ต่าง ๆ ให้เกิดประสิ ทธิภาพ 2. นิยาม นวัตกรรมคือแนวคิดแนวปฏิบตั ิหรื อการกระทำาใหม่ ๆ ส่ วนเทคโนโลยีเป็ นนวัตกรรมที่ เป็ นที่ยอมรับและใช้เป็ นแนวปฏิบตั ิในการดำารงชีวิต 3.การนำาไปใช้ นวัตกรรมถูกนำาไปใช้ในกลุ่มย่อย ส่ วนเทคโนโลยีนาำ ไปใช้อย่างแพร่ หลายในชีวิต ประจำาวัน ในการดำารงชีวิตของมนุษย์จะต้องมีการปรับปรุ งพัฒนาแนวคิดกระบวนการต่าง ๆ เพื่อนำาไปสู่ นวัตกรรม และจะต้องใช้เทคโนโลยีในการอำานวยความสะดวกในการปฏิบตั ิงานและการดำารงชีวิต ความหมายของสารสนเทศ (Information) จากการศึกษามาแล้วสามารถสรุ ปได้วา่ สารสนเทศ คือ ภาษา ข้อมูล ข่าวสาร และความรู ้ที่ได้มีการ ประมวลผลมาแล้ว หรื อเก็บรวบรวมไว้ในรู ปแบบต่าง ๆให้อยูใ่ นรู ปแบบที่มีความสัมพันธ์กนั มีความหมาย มีคุณค่าเพิ่มขึ้นและมีวตั ถุประสงค์ในการใช้งาน สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้ แหล่ งทีม่ าของข้อมูลสารสนเทศ 1. ข้อมูลภายใน หมายถึง ข้อมูลที่เกิดขึ้นภายในองค์กรนั้น ได้แก่ ข้อมูล การปฏิบตั ิงาน ที่ เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลงานบุคลากร ข้อมูลงานกิจการนักเรี ยน 2. ข้อมูลภายนอก หมายถึง ข้อมูลที่เกิดขึ้นนอกองค์กร ข้อมูลหน่วยงานอื่นๆ ประโยชน์ ของสารสนเทศ 1. ให้ความรู้ทาำ ให้เกิดความคิดและความเข้าใจ 2. ใช้ในการวางแผนการบริ หารงาน 3. ใช้ประกอบการตัดสิ นใจ 4. ใช้ในการควบคุมสถานการณ์ หรื อเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้ น ำ อน 5. เพื่อให้การบริ หารงานมีระบบ ลดความซ้าซ้


แนวทางในการจัดทำาระบบสารสนเทศ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล 2. การตรวจสอบข้อมูล 3. การประมวลผล 4. การจัดเก็บข้อมูล 5. การวิเคราะห์ 6. การนำาไปใช้ ความสำ าคัญของสารสนเทศ การรู้สารสนเทศมีความสำาคัญต่อความสำาเร็ จของบุคคลในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. การศึกษา 2. การดำารงชีวิตประจำาวัน 3. การประกอบอาชีพ 4. สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง กระบวนการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูลควรประกอบด้วย 1.1 การรวบรวมข้อมูล 1.2 การตรวจสอบข้อมูล 2. การประมวลผลข้อมูล ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 2.1 การจัดกลุ่มข้อมูล 2.2 การจัดเรี ยงข้อมูล 2.3 การสรุ ปผล 2.4 การคำานวณข้อมูลที่เก็บรวบรวม 3. การดูแลรักษาข้อมูลประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้ 3.1 การเก็บรักษาข้อมูล 3.2 การทำาสำาเนาข้อมูล 3.3 การสื่ อสารและเผยแพร่ ขอ้ มูล 3.4 การปรับปรุ งข้อมูล


ประเภทของแหล่งสารสนเทศ สามารถเข้าใช้สารสนเทศเหล่านั้นได้ แบ่งได้เป็ น 4 ประเภท ดังนี้ 1.แหล่งสารสนเทศที่เป็ นบุคคล 2. แหล่งสารสนเทศที่เป็ นสถาบัน 3.แหล่งสารสนเทศที่เป็ นสถานที่ 4. อินเทอร์เน็ต การเลือกใช้ ทรัพยากรสารสนเทศ 1. มีความสอดคล้องกับเนื้ อหาสารสนเทศที่ตอ้ งการ 2. การพิจารณาความน่าเชื่อถือในตัวทรัพยากร 3. ความสะดวกในการใช้งานทรัพยากร 4. ความทันสมัยของเนื้ อหา จริยธรรมในการใช้ สารสนเทศ คือ การใช้สารสนเทศโดยชอบธรรมบนพื้นฐานของจริ ยธรรมทางสารสนเทศ เช่น การนำาข้อความหรื อ แนวคิดของผูอ้ ื่นมาใช้ในงานของตน จะต้องเขียนอ้างอิงถึงผลงานที่นาำ มาอ้างทุกครั้ ง เพื่อเป็ นการให้เกียรติผู ้ เขียนเดิม อีกทั้งยังช่วยผูอ้ ่านในการติดตาม ค้นหารายการอ้างอิงที่ตอ้ งการค้นคว้าเพิ ่มเติมต่อไปได้ ขั้นตอน การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ สารสนเทศ ระดับเนื้อหาสารสนเทศมี 3 ระดับ ได้แก่ 1. สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Information) 2. สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information) 3. สารสนเทศตติยภูมิ (Tertiary Information) เ คุณสมบัติของสารสนเทศ วัชราภรณ์ อิสิชยั กุล (2531) ได้กาำ หนดคุณสมบัติ (Attributes) ที่สาำ คัญของสารสนเทศ ดังนี้ 1. สามารถเข้าถึงได้

2. ความครบถ้วน

3. ความถูกต้องเที่ยงตรง

4. ความเหมาะสม

5. ความทันเวลา

6. ความชัดเจน

ำ อน 10. ความไม่ลาำ เอียง 8. ความสามารถในการพิสูจน์ได้ 9. ความซ้าซ้

7. ความยืดหยุน่

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ จากที่ได้ศึกษาสรุ ปได้วา่ เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีและ สารสนเทศ ซึ่งรวมถึงกระบวนการต่าง ๆ และระบบงานที่ที่นาำ มาใช้ท้ งั ทางด้านการประมวลผลข้อมูล การ จัดเก็บ การค้นคืน การเผยแพร่ และการนำาไปใช้ประโยชน์


ประโยชน์ ของเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การศึกษา 1. ให้ความรู้ทาำ ให้เกิดความคิดและความเข้าใจ 2. ใช้ในการวางแผนการบริ หารงาน 3. ใช้ประกอบการตัดสิ นใจ 4. ใช้ในการควบคุมสถานการณ์ หรื อเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น 5. เพื่อให้การบริ หารงานมีระบบ 6.ช่วยเสริ มสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึน 7.ช่วยให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศที่กระจายไปทัว่ ทุกแห่ ง 8.ประโยชน์ต่อสิ่ งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ 9.ประโยชน์ต่อการป้ องกันประเทศ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.