ความหมายของทฤษฎีการสอน หลักการสอน รูปแบบการสอน วิธีสอน และเทคนิคการสอน ทฤษฎีการสอน (Teaching Theory) คือ ข้อความรู ้ที่พรรณนา / อธิ บาย / ทำานาย ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางการ สอน ที่ได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ และการยอมรับว่าเชื่อถือได้ ซึ่งนักจิตวิทยาหรื อนักการศึกษาอาจพัฒนาหรื อแปลง มาจากทฤษฎีการเรี ยนรู้ เพื่อนำาไปใช้เป็ นหลักในการจัดการเรี ยนการสอนให้เป็ นไปตามจุดมุ่งหมายที่กาำ หนดไว้ ทฤษฎีการสอนหนึ่ง ๆ มักประกอบไปด้วยหลักการสอนย่อย ๆ หลายหลักการ หลักการสอน (Teaching Principle) คือ ข้อความรู ้ยอ่ ย ๆ ที่พรรณนา / อธิ บาย / ทำานาย ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางการสอนที่ได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ และการยอมรับว่าเชื่อถือได้ สามารถนำาไปใช้ในการสอนผูเ้ รี ยนให้เกิดการ เรี ยนรู ้ตามวัตถุประสงค์ที่กาำ หนด หลักการสอนหลาย ๆ หลักการ อาจนำาไปสู่การสร้างเป็ นทฤษฎีการสอนได้ รู ปแบบการสอน (Teaching Model) คือ แบบแผนการดำาเนินการสอนที่ได้รับการจัดไว้อย่างเป็ นระบบ อย่าง สัมพันธ์สอดคล้องกับทฤษฎี / หลักการเรี ยนรู้หรื อการสอนที่รูปแบบนั้นยึดถือ และได้รับการพิสูจน์ทดสอบว่ามี ประสิ ทธิ ภาพสามารถช่วยให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ตามจุดมุ่งหมายของรู ปแบบนั้น ๆ โดยทัว่ ไปแบบแผนการดำาเนิน การสอนดังกล่าว มักประกอบด้วย ทฤษฎี/ หลักการที่รูปแบบนั้นยึดถือและกระบวนการสอนที่มีลกั ษณะเฉพาะอัน จะนำาผูเ้ รี ยนไปสู่จุดหมายเฉพาะที่รูปแบบนั้นกำาหนด วิธีการสอน (Teaching Method) คือ ขั้นตอนที่ผสู ้ อนดำาเนินการให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ตามวัตถุประสงค์ ด้วยวิธีการต่างๆ ที่แตกต่างกันไปตามองค์ประกอบและขั้นตอนสำาคัญอันเป็ นลักษณะเด่นหรื อลักษณะเฉพาะที่ขาด ไม่ได้ของวิธีน้ นั ๆ เทคนิคการสอน (Teaching Technique) คือ กลวิธีต่างๆ ที่ใช้เสริ มกระบวนการสอน ขั้นตอนการสอน วิธี การสอน หรื อการดำาเนินการทางการสอนใด ๆ เพื่อให้การสอนมีคุณภาพและประสิ ทธิ ภาพมากขึ้ น
หลักเกณฑ์ ในการเลือกวิธีสอน วิธีสอนมีอยูด่ ว้ ยกันมากมายหลายวิธี แต่ละวิธีมีท้ งั ข้อดีและข้อเสี ย วิธีการสอนแต่ละวิธีอาจจะเหมาะสมกับ สถานการณ์บางอย่าง ซึ่งจะถือว่าวิธีการสอนวิธีใดวิธีหนึ่งเป็ นวิธีที่ดีที่สุดไม่ได้ ในบางครั้ งอาจต้องผสมผสานวิธี สอนหลาย ๆ วิธีเข้าด้วยกัน เพื่อให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ให้มากที่สุด ดังนั้นในการเรี ยนการสอนแต่ละครั้งต้องมีการ เลือกวิธีสอนที่เหมาะสม โดยมีหลักเกณฑ์ในการเลือก คือ 1. ลักษณะของเนือ้ หาวิชาที่จะสอน ถ้าผูส้ อนต้องการให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ท้ งั 3 ด้าน คือ ความรู ้ ทักษะ และเจตคติ ดังนั้น ลักษณะเนื้ อหาวิชา จึงเป็ นสิ่ งสำาคัญในการเลือกวิธีสอน การสอนความรู ้ เป็ นการส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนดำาเนินกิจกรรมทางสมอง เพื่อที่จะรับ เนื้อหาทฤษฎี หลักการและข้อเท็จจริ งต่าง ๆ สำาหรับการสอนทักษะนั้นเป็ นการส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเกิดความชำานาญใน
การใช้กล้ามเนื้ อ และความคิดได้อย่างแคล่วคล่องว่องไว ส่ วนการสอนเจตคติเป็ นการส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้รับค่านิยม และลักษณะนิสยั ที่ดีสิ่งเหล่านี้ยอ่ มต้องการวิธีการสอนที่แตกต่างกัน วิธีสอนอย่างหนึ่งอาจจะเหมาะสมต่อการสอน เนื้อหาวิชาในลักษณะหนึ่ง แต่บทเรี ยนโดยทัว่ ไป มักจะมีลกั ษณะปนทั้งทฤษฎีและปฏิบตั ิ ในการเลือกวิธีสอน ผูส้ อน ที่ดีควรจะเลือกวิธีสอนที่เหมาะสมที่สุดสำาหรับการสอนในแต่ละส่ วนของบทเรี ยน 2. ผู้สอน หลักในการเลือกวิธีสอนในข้อนี้ ยึดหลักความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็ นสำาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูส้ อน บางคนอาจมีเทคนิคในการพูด หรื อความสามารถในการถ่ายทอด โดยใช้คาำ พูดเพื่ออธิ บายสิ ่ งต่าง ๆ ได้เป็ นอย่างดี แต่ ในทางตรงกันข้ามผูส้ อนบางคนอาจพูดไม่เก่ง ถ่ายทอดไม่เป็ นอาจจะนำาวิธีการสอนอย่างอื่นมาใช้แทนการพูดอธิ บาย เช่น ใช้วิธีการแสดงให้เห็นจริ งด้วยวิธีการสาธิต หรื อด้วยการใช้สื่อการสอนต่าง ๆ เข้ามาช่วย ทั้งนี้เพื่อที่จะให้ผเู ้ รี ยน เกิดการเรี ยนรู ้นนั่ เอง 3. ทรัพยากรที่มีอยู่ สิ่ งที่ตอ้ งคำานึงถึงอีกอย่างหนึ่ง ในการเลือกวิธีสอน คือ ทรัพยากรต่าง ๆ ซึ่งอาจจะเป็ นเรื่ องของเวลาที่จาำ กัด วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ เช่น ถ้าหากวัตถุประสงค์ของบทเรี ยน ต้องการที่จะพัฒนาทักษะของผูเ้ รี ยน วิธีสอนที่ดี ที่สุดสำาหรับกรณี น้ ี กค็ ือ การให้ผเู้ รี ยนได้ลงมือปฏิบตั ิ แต่ถา้ หากว่าวัสดุที่มีอยูไ่ ม่เพียงพอ จึงมีการพิจารณาเลือกวิธี สอนแบบใหม่มาใช้ เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดทรัพยากรนี้ 4. หลักการของการเรียนรู้ ผูเ้ รี ยนจะเกิดการเรี ยนรู้ได้ดว้ ยการรับสิ่ งเร้า โดยผ่านทางประสาทรับรู ้ในส่ วนต่าง ๆ ยิง่ ถ้าได้ใช้ประสาทรับ รู้มากส่ วนเพียงใด ก็จะยิง่ ช่วยให้เกิดการเรี ยนรู้ได้ง่ายและเร็ วขึ้น ดังนั้นในการตัดสิ นเลือกวิธีสอน ผูส้ อนจะต้อง คำานึงถึงสิ่ งเหล่านี้ และสิ่ งอื่น ๆ อีก เช่น ความแตกต่างระหว่างบุคคล บรรยากาศของสิ่ งแวดล้อม ความพร้อมของผู ้ เรี ยน เป็ นต้น
กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน เนื้อหาสาระในบทนี้ จะเน้นความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของการเรี ยนรู ้ ขั้นตอนการเรี ยนรู ้รูปแบบ MIAP รายละเอียดกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนการเรี ยนรู ้ กิจกรรมของครู ผสู ้ อนและผูเ้ รี ยนในกระบวนการเรี ยนรู ้รูป แบบ MIAP ความหมายของกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP ความสัมพันธ์ระหว่างความสนใจและระยะเวลาของบท เรี ยน การแบ่งระยะเวลาที่เหมาะสมในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการเรี ยนรู ้รูปแบบ MIAP รวมถึงวิธีการตรวจปรับ ผูเ้ รี ยนระหว่างการจัดการเรี ยนการสอน ความหมายของการเรียนรู้
การเรี ยนรู้ เป็ นกระบวนการในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเ้ รี ยน จากเดิมที่คิดไม่เป็ นหรื อทำาไม่ได้ มา คิดเป็ นหรื อทำาได้โดยตัวผูเ้ รี ยนเอง พฤติกรรมดังกล่าวจะต้องเป็ นพฤติกรรมที่ค่อนข้างจะถาวร นัน่ หมายถึง หากผู ้ เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้แล้วก็จะสามารถทำาสิ่ งเหล่านั้นได้ตลอดไป ไม่ใช่เพียงแค่ครั้งหรื อสองครั้งเท่านั้น
พฤติกรรมจากการเรียนรู้ของผู้เรียน ขั้นตอนในการเรียนรู้ การเรี ยนรู้ไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญแต่มีกระบวนการในการพัฒนา ผูท้ ี่จะเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ ที่ตอ้ งการนั้น เบื้อง ต้นจะต้องมีความสนใจใคร่ ที่จะรู้อยากที่จะแก้ปัญหาในเรื่ องราวเหล่านั้น ซึ่งความสนใจหรื อปั ญหาที่อยากจะแก้เป็ น แรงกระตุน้ ให้เกิดแรงพลังในการพยายามหาข้อมูล หาแนวทางหรื อวิธีการที่จะแก้ไขปั ญหา การรับข้อมูลข่าวสารผูเ้ รี ยนอาจใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่ง เช่น การรับฟังทางหู การดูดว้ ยตา การสัมผัสด้วยมือ การดมหรื อการชิม ฯลฯ หรื ออาจใช้ประสาทสัมผัสหลายๆ อย่างพร้อมกัน เช่น ทั้งดูและฟังพร้อมๆ กันไป ซึ่งข้อมูล ข่าวสารต่างๆ ที่ผเู ้ รี ยนได้รับจะเก็บไว้เป็ นความรู้อยูใ่ นสมองที่พร้อมจะใช้แก้ปัญหา
ความรู้ ในตัวบุคคลและข้ อมูลข่ าวสาร ความรู ้เปรี ยบเสมือนไฟซึ่งอยูใ่ นแบตเตอรี่ หากต้องการจะทราบว่าแบตเตอรี่ มีไฟอยูม่ ากน้อยเพียงใดก็จะ ต้องเอาเครื่ องมือมาวัด หรื อนำา Load มาต่อเพื่อดูวา่ ใช้งานได้หรื อไม่ ความรู ้กเ็ ช่นกันหากต้องการทราบว่าผูเ้ รี ยนมี ความรู ้เพียงใด ก็ตอ้ งให้ผเู้ รี ยนนำาเอาความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ที่มีอยูไ่ ปทดลองใช้แก้ปัญหาและพิจารณาดูวา่ ผู ้ เรี ยนมีความรู ้เพียงใด พอที่จะแก้ปัญหานั้น ๆ ได้หรื อไม่อย่างไร ความสามารถในการแก้ปัญหาของแต่ละคนมีไม่ เหมือนกัน บางคนอาจทำาได้เร็ วเพราะมีทกั ษะในการคิดแก้ปัญหา โดยอาจเทียบเคียงกับสิ ่ งที่เคยมีประสบการณ์มา แล้ว บางคนยังแก้ปัญหาได้ชา้ เพราะขาดทักษะการแก้ปัญหา หรื อบางคนอาจแก้ไขปัญหาไม่ได้เลยเพราะขาดความรู ้ ที่เพียงพอที่จะนำาไปใช้แก้ปัญหานั้น ดังนั้นหลังจากที่ได้รับข้อมูลข่าวสารเกิดเป็ นความรู ้แล้ว ในขั้นตอนนี้ผเู ้ รี ยนจะต้องมีโอกาสฝึ กหัดใช้ขอ้ มูล ข่าวสารที่ได้รับมาทดลองฝึ กหัดแก้ปัญหาว่าจะสามารถทำาได้หรื อไม่เพียงใด อย่างไรก็ดี การฝึ กหัดนั้นจะไม่ส่งผลต่อ การเรี ยนรู ้เลย หากผูเ้ รี ยนไม่ทราบว่าการกระทำาหรื อการคิดแก้ปัญหาของตนถูกหรื อผิดอย่างไร ดังนั้น การเฉลยคำาตอบ จึงเป็ นกิจกรรมในขั้นตอนสุ ดท้ายของกระบวนการเรี ยนรู ้ที่จะต้องจัดให้มีข้ึ นเพื่อให้ ผูเ้ รี ยนได้ทราบผลการกระทำาหรื อการแก้ปัญหาต่าง ๆ
ซึ่งอาจกล่าวโดยสรุ ปได้วา่ การเรี ยนรู้ของบุคคลประกอบด้วย 4 ขั้นตอนสำาคัญ คือ
1. เริ่ มจากการสนใจปัญหา (Motivation) โดยใคร่ ที่จะแก้ปัญหานั้น ๆ ให้สาำ เร็ จ โดยมีแนวทางการปฏิบตั ิ ดังนี้ - นำาเข้าสู่บทเรี ยนด้วยคำาถามที่น่าสนใจซึ่ งเกี่ยวกับเรื่ องที่จะเรี ยน - แสดงชิ้นงานสำาเร็จหรื อผลงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับบทเรี ยน แล้วถามคำาถาม - กระตุน้ ให้มีการถกปัญหาสั้น ๆ กันในระหว่างกลุ่มผูเ้ รี ยน - ใช้สื่อช่วยสอน นำาเข้าสู่บทเรี ยนด้วยภาพ แบบจำาลอง ตัวอย่าง หรื อสิ ่ งที่จะช่วยดึงดูดความสนใจ - บรรยายเหตุการณ์ เล่าเรื่ อง หรื อเล่าปัญหาจากประสบการณ์ ซึ่งก่อให้เกิดความต้องการหรื อการใช้ ความคิดเห็นหรื อทักษะที่ผสู้ อนกำาลังแสดง 2. ตามด้วยการศึกษาหาข้อมูล (Information) ที่เพียงพอเหมาะสม เพื่อเป็ นความรู ้ ย่อมจะต้องมีการศึกษา ข้อมูลและทำาการเก็บรวบรวมข่าวหรื อข้อความต่าง ๆ เพื่อที่จะได้นาำ ไปใช้ในการแก้ปัญหานั้น 3. ลงมือฝึ กหัดแก้ปัญหา (Application) โดยใช้ความรู ้และประสบการณ์ที่มีอยู่ เป็ นขั้นตอนที่มีบทบาทสำาคัญ ต่อขบวนการเรี ยนรู้ ซึ่งนับเป็ นขั้นตอนที่สานต่อเนื่องมาจากขั้นสนใจปัญหาและขั้นศึกษาข้อมูล ขั้นนี้เป็ นขั้นตอนที่ จัดขึ้นเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสใช้ความรู้หรื อทักษะที่ได้รับมาจากขั้นศึกษาข้อมูล มาใช้ในการแก้ปัญหา ด้วยการ ฝึ กหัดทำางานจริ งหรื อทำาแบบฝึ กหัด 4. ขั้นสำาเร็ จผล (Progress) ขั้นสำาเร็ จผลถึงเปรี ยบเหมือนกับเป็ นขั้นตรวจผลงานของผูเ้ รี ยนที่ได้จากการ ฝึ กหัดหรื อการแก้ปัญหานัน่ เอง โดยกิจกรรมการปฏิบตั ิในขั้นสำาเร็ จผลจะครอบคลุมกิจกรรมต่อไปนี้ - ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูเ้ รี ยนหลังขั้นพยายามโดยเทียบกับวัตถุประสงค์การสอนที่ต้ งั ไว้ - ดำาเนินกิจกรรมโดยตรวจสอบผลงานของผูเ้ รี ยนโดยส่ วนรวมในชั้นเรี ยน - บอกระดับคุณภาพความสำาเร็ จของผูเ้ รี ยน - ถกปั ญหา ให้เหตุผลสำาหรับข้อผิดพลาดและมุ่งหมายแก้ไขให้มีความสำาเร็ จผลดียิง่ ขึ้น - ทำาการตรวจปรับในระหว่างขั้นสำาเร็ จผลบ่อย ๆ การใช้ MIAP มาช่วยในการสอนจะทำาให้เรามัน่ ใจได้วา่ การสอนของเราบรรลุวตั ถุประสงค์จริ งๆ โดยที่กระบวนการเรี ยนรู้ 4 ขั้นตอนนี้ รู้กนั โดยทัว่ ไปว่า “เป็ นกระบวนเรี ยนรู ้รูปแบบ M I A P”
กิจกรรมของครู และผู้เรียน
การเรี ยนรู้เกิดขึ้นโดยตัวของผูเ้ รี ยนเอง ครู เป็ นแต่เพียงผูช้ ่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้ง่ายขึ้ นเร็ วขึ้นเท่านั้น ดังนั้น เพื่อที่จะช่วยสนับสนุนให้ผเู้ รี ยนได้เกิดการเรี ยนรู ้ ครู ผสู ้ อนและผูเ้ รี ยนจะต้องเตรี ยมการและดาเนินการใน กิจกรรมการเรี ยนการสอน ดังนี้ ครู ผ้ สู อน (1) เตรี ยมคำาถามเพื่อนำาเข้าสู่บทเรี ยน (Motivation) ได้ดว้ ยปั ญหาที่น่าสนใจ เป็ นปั ญหาที่ไม่เหลือ บ่ากว่า แรงที่จะคิดหาคำาตอบได้ (2) เตรี ยมการให้เนื้ อหา/ข้อมูล (Information) จะโดยการบรรยาย ถามตอบ สาธิ ตให้ดู หรื อเตรี ยมเอกสารอื่น ใดให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษา (3) เตรี ยมแบบฝึ กหัดในขั้นพยายาม (Application) ให้ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสนำาความรู ้และประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ ได้รับมาฝึ กหัดแก้ปัญหา (4) เตรี ยมการเฉลยหรื อให้คาำ ตอบ (Progress) เพื่อให้ผเู ้ รี ยนทราบผลการฝึ กหัดว่าถูกหรื อผิด หรื อ มีแนวทาง ที่ถูกต้องในการแก้ปัญหานั้นอย่างไร ผู้เรียน (1) จะต้องสนใจ คิดติดตามหรื อแสวงหาแนวทางในการแก้ปัญหาให้สาำ เร็ จลุล่วงลงไป ผูท้ ี่ไม่สนใจจะ ไม่ เกิดการเรี ยนรู ้ (2) หาข้อมูลข่าวสาร ซึ่งจะทำาให้ได้ขอ้ มูลที่จาำ เป็ นเก็บไว้ในสมองเป็ นความรู ้ที่จะนำาไปใช้แก้ปัญหาให้ สำาเร็ จลุล่วงลงไป (3) ฝึ กหัดทำา โดยนำาเอาความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ที่มีอยูใ่ นสมอง ออกมาใช้แก้ปัญหา ข้อมูล ที่เพียงพอ เหมาะสม จะช่วยให้แก้ปัญหาสำาเร็ จลุล่วงไปได้ (4) ตรวจสอบผล เพื่อที่จะทำาให้ทราบว่าการฝึ กหัดโดยใช้ความรู ้และประสบการณ์ที่มีอยูจ่ ากข้อมูลข่าวสาร ที่ได้รับนั้นได้ผลอย่างไร การจัดการเรี ยนการสอนจริ งในชั้นเรี ยน ขั้นตอนการฝึ กหัดทำา (Application) ครู ผสู ้ อนจะต้องเปิ ดโอกาสให้ ผูเ้ รี ยนได้ฝึกหัดทำาอย่างเต็มที่ โดยไม่รบกวนหรื อให้ความช่วยเหลือมากนัก พร้อมทั้งเตรี ยมการต่างๆ เพื่อเฉลยผลใน ขั้นตอนต่อมา ซึ่งอาจสรุ ปกิจกรรมของครู ผสู้ อนและผูเ้ รี ยน ได้ดงั นี้
ขั้นตอนการเรียนรู้ กิจกรรมผู้เรียน กิจกรรมครู ผ้ สู อน
การใช้ เวลาในการสอนรู ปแบบ MIAP ปกติแล้วในตอนต้นชั้วโมงหรื อเริ่ มการเรี ยนการสอนแต่ละครั้ง หากผูส้ อนนำาเข้าสู่บทเรี ยนด้วยคำาถามที่ ท้าทายการคิดแก้ปัญหาก็จะสร้างความสนใจให้แก่ผเู ้ รี ยนในระดับสู ง แต่เมื่อจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและเวลา ล่วงเลยไปความสนใจของผูเ้ รี ยนก็อาจลดลง และจะเพิ่มสู งขึ้นอีกครั้งหนึ่งเมื่อใกล้หมดเวลาเรี ยน
ปัจจัยแห่ งความสำ าเร็จ (Key of Success) การสอนแบบ M I A P ให้ประสบความสำาเร็ จได้น้ นั ครู ผสู ้ อนจะต้องทำาความเข้าใจถึงแก่นของการ สอนแบบ M I A P และตอบคำาถามให้ได้ก่อนว่า “ทำาไมต้องสอนแบบ M I A P” ซึ่ งผูส้ อนจะต้องเข้าใจถึง สิ่ งต่างๆ ต่อไปนี้ 1. พฤติกรรมการเรี ยนรู้ของมนุษย์ 2. ปั จจัยที่มีผลต่อการเรี ยนรู้ 3. การทำาให้เกิดความคงทนในการเรี ยนรู ้ 4. ระดับความสำาคัญของเนื้ อหา โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้
1.1 พฤติกรรมการเรียนรู้ ของมนุษย์
“การเรี ยนรู้” หมายถึง การทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากไม่รู้เป็ นรู ้ จากทำาไม่ได้เป็ นทำาได้จากการ ขาดจิตสำานึกที่ดี เป็ นมีจิตสำานึกที่ดีพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของมนุษย์จะแบ่งออกเป็ น 3 ด้าน คือ 1.1.1 ด้านสมอง จิตพิสยั (Cognitive Domain) เป็ นการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับข้อเท็จจริ ง (Fact) ความคิดรวบยอด (Concept) และหลักการ (Principle) 1.1.2 ด้านกล้ามเนื้อ ทักษะพิสยั (Psychomotor Domain) เป็ นพฤติกรรมทางกล้ามเนื้ อ แสดงออกทางด้านร่ างกาย เช่น การขับรถ การเล่นกีฬา 1.1.3 ด้านจิตสำานึก จิตพิสยั (Affective Domain) เป็ นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในเช่นการเห็นคุณค่า เจตคติ 1.2 ปัจจัยที่มีผลต่ อการเรียนรู้
ต้องคำานึงถึงปั จจัยต่างๆดังต่อไปนี้
1.2.1 ขนาดของความรู้ ถ้าความรู ้มีขนาดใหญ่เกินไปผูร้ ับก็จะไม่สามารถรับได้ 1.2.2 การเรี ยงลำาดับของความรู้ เนื้อหาความรู้ตอ้ งเรี ยงลำาดับอย่างเหมาะสม ดังนี้ ก. จากสิ่ งไม่รู้ไปยังสิ่ งที่รู้ ข. จากสิ่ งที่ง่ายไปหาสิ่ งที่ยาก ค. จากสิ่ งที่เห็นจริ งไปยังสิ่ งที่เลื่อนลอย ง. จากสิ งที่สังเกตไปหาเหตุผลและกฎเกณฑ์ นอกจากนั้นยังมีปัจจัยอืน่ ๆ อีก ได้ แก่ * การมีส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยน * การอิ่มตัวในการรับเนื้ อหา (Saturation) * การสรุ ปเนื้อหาด้วยใจความสำาคัญ * ผูเ้ รี ยนมีการทำากิจกรรมการแก้ปัญหา * มีการประเมินผลกิจกรรม * มีความเหมาะสมของสื่ อการสอน
1.3 ทำาอย่างไรจึงจะเกิดความคงทนในการเรียนรู้ การทำาให้เกิดความคงทนในการเรี ยนรู ้ ทำาได้โดย
ำ 1) การทำาซ้าำ การทำาซ้าหลายๆครั ้ งจะทำาให้การจำามีความคงทนมากขึ้น 2) การสรุ ปเนื้อหาที่สาำ คัญ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถจำาเนื้ อหาที่สาำ คัญได้ดี ครู ผสู ้ อนอาจสรุ ปสาระ สำาคัญเพื่อให้ง่ายต่อการจำา 3) การใช้เทคนิคในการจำา เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถจดจำาส่ วนที่สาำ คัญของเนื้ อหาได้ อาจใช้เทคนิคการ จำาดังนี้ 1. การท่องจำาเป็ นทำานอง 2. การท่องคำาคล้องจอง 3. การจำาโดยผูกเป็ นเรื่ องเป็ นราว 1.4 ระดับความสำาคัญของเนือ้ หา 1. Must know สิ่ งที่ผเู้ รี ยนต้องรู ้ ถ้าขาดเนื้อหาส่ วนนี้ จะไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ 2. Should know สิ่ งที่ผเู้ รี ยนควรรู ้ เป็ นเนื้อหาที่ช่วยทำาให้เข้าใจง่ายขึ้น รวดเร็ วขึ้น ลึกซึ้ งขึ้น 3. Could know สิ่ งที่ผเู้ รี ยนน่าจะรู ้ จะช่วยให้รู้กว้างขึ้น แต่มีความสำาคัญน้อย ผูส้ อนจะต้องวิเคราะห์ความสำาคัญของเนื้ อหาทั้งหมด และจะต้องให้ความสำาคัญเนื้ อหาในส่ วนที่ เป็ น Must know มากที่สุด
หลักเกณฑ์ การสร้ างใบเนือ้ หา 1.
เป็ นเนื้อหาที่สาำ คัญของวัตถุประสงค์
2.
ใช้คาำ อธิบายง่ายๆ อ่านแล้วเข้าใจได้ทนั ที
3.
ใช้รูปภาพแทนคำาบรรยาย หรื อประกอบคำาบรรยายให้มากที่สุด
4.
เนื้อหาต้องสมบูรณ์อ่านแล้วเข้าใจได้ทนั ที ไม่ตอ้ งอธิ บายเพิ่ม
สรุปลักษณะของบทเรียนทีด่ ี 1.น่าสนใจ 2. เนื้อหาถูกต้อง 3. ส่ งเสริ มความคิด 4. เน้นจุดสำาคัญให้ผเู้ รี ยนเรี ยนรู้ดว้ ยการลงมือปฏิบตั ิ ความหมายของรู ปแบบการสอน ในทางศึกษาศาสตร์ มีคาำ ที่เกี่ยวข้องกับรู ปแบบ คือ รู ปแบบการสอน Model of Teaching หรื อ Teaching
Model และรู ปแบบการเรี ยนการสอนหรื อรู ปแบบ การจัดการเรี ยนการสอน Instructional Model หรื อ TeachingLearning Model คำาว่า รู ปแบบการสอน มีผอู้ ธิบายไว้ดงั นี้ (๑) รู ปแบบการสอน หมายถึง แบบหรื อแผนของการสอน รู ปแบบการสอนแบบหนึ่งจะมีจุดเน้นที่เฉพาะ เจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง รู ปแบบการสอนแต่ละรู ปแบบจึงอาจมีจุดหมายที่แตกต่างกัน (๒) รู ปแบบการสอน หมายถึง แผนหรื อแบบซึ่งสามารถใช้การสอนในห้องเรี ยน หรื อสอนพิเศษเป็ นกลุ่ม ย่อย หรื อ เพื่อจัดสื่ อการสอน ซึ่งรวมถึง หนังสื อ ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสี ยง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และหลักสูตร รายวิชา รู ปแบบ การสอนแต่ละรู ปแบบจะเป็ นแนวในการออกแบบการสอนที่ช่วยให้นกั เรี ยนบรรลุ วัตถุประสงค์ ตามที่รูปแบบนั้น ๆ กำาหนด (๓) รู ปแบบการสอน หมายถึง แผนแสดงการเรี ยนการสอน สำาหรับนำาไปใช้สอนในห้องเรี ยน เพื่อให้ผเู ้ รี ยน เกิดการเรี ยนรู ้ตามจุดมุ่งหมายที่กาำ หนดไว้ให้มากที่สุด แผนดังกล่าวจะแสดงถึงลำาดับความสอดคล้องกัน ภายใต้หลัก การของแนวคิดพื้นฐานเดียวกัน องค์ประกอบทั้งหลายได้แก่ หลักการ จุดมุ่งหมาย เนื้ อหา และทักษะที่ตอ้ งการสอน ยุทธศาสตร์ การสอน วิธีการสอน กระบวนการสอน ขั้นตอนและกิจกรรมการสอน และการวัดและประเมินผล ความหมายการออกแบบการสอน การออกแบบการสอน หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากหลักการเรี ยนรู ้และการสอนมาสู่ การวางแผน สำาหรับการจัดการเรี ยนการสอนและกิจกรรมการเรี ยน (Smit & Ragan, 1999) การออกแบบการสอน หมายถึง การนำาวิธีระบบมาประยุกต์ใช้กาำ หนดรู ปแบบ ของการวางแผนจัดการเรี ยน การสอน ซึ่งในการวางแผนจัดการเรี ยนการสอนแต่ละครั้ ง ต้องพิจารณาที่ปัจจัย Input กระบวนการ Process ผลผลิต Output และผลกระทบ Impact (ไพฑูรย์ ปลอดอ่อน) การออกแบบการสอน หมายถึง กระบวนการครบวงจรสำาหรับการวิเคราะห์ความต้องการในการเรี ยน เป้ า หมายในการเรี ยน และการพัฒนาระบบในการนำาส่ งความรู ้เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายที่กาำ หนดไว้ โดยกระบวนการใน การพัฒนานี้ครอบคลุมการพัฒนาเอกสารการเรี ยนการสอน กิจกรรมการเรี ยนการสอนการทดลอง การปรับปรุ งการ เรี ยนการสอน และกิจกรรม ในการวัดและประเมินผลผูเ้ รี ยน (Briggs, 1997) ความเป็ นมาของการออกแบบการสอน ธอร์นไดค์ ( Edward L. Thorndike, 1898) พัฒนาทฤษฎีการเรี ยนรู ้อย่างเป็ นวิทยาศาสตร์ โดยเริ่ มทดลองกับ สัตว์ “อินทรี ยส์ ร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่ งเร้า และการสนองตอบ”
แฟรงคลิน (Franklin Bobbilt, 1920-30) พัฒนาการสอนรายบุคคล “เป้ าหมายของโรงเรี ยน ควรมาจากพื้น ฐานการวิเคราะห์ทกั ษะที่จาำ เป็ น สำาหรับชีวิตที่ประสบความสำาเร็ จ” ไทเลอร์ (Ralph W. Tyler, 1930) ปรับปรุ งกระบวนการการเขียนวัตถุประสงค์การสอน“วัตถุประสงค์การ สอน เชิงพฤติกรรม ประเมินเพื่อปรับปรุ ง” เบนจามิน บลูม ( Benjamin Bloom, 1956) จำาแนกวัตถุประสงค์ทางการศึกษา เป็ นลำาดับขั้นที่ชดั เจน (Taxonomy of Educational Objectives) “ใช้ทวั่ ไปในกลุ่มสาขาศึกษาศาสตร์ จนถึงปั จจุบนั ” บี เอฟ สกินเนอร์ (B. F. Skinner,1950-60) เสนอแนวทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Operant Conditioning) ซึ่งมี รากฐานมาจากแนวคิดของ ธอร์นไดค์ “เน้นการเสริ มแรงในการเชื่อมโยงระหว่างสิ ่ งเร้ากับการตอบสนอง” “แนวคิดของ Skinner เป็ นที่มาของ วิธีระบบ (System Approach) ในการออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การประเมิน (Evaluation) และการปรับปรุ ง (Revise)” โรเบิร์ต กาเย ( Robert Gagne,1960) นำาเสนอแนวคิดทางพุทธิ ปัญญา(Cognitive Theories) มาใช้ในการ ออกแบบการสอน “ศึกษาความเข้าใจ (Understand) ที่เกิดขึ้นในจิตใจ (Mind)” “ปลายปี ค.ศ. 1960 การออกแบบการสอนได้รับการยอมรับว่าเป็ นสาขาวิชา” เกิดคำาว่า “Instructional System” ค.ศ. 1970 ทฤษฎีการเรี ยนรู้ การประมวลสารสนเทศ (Information Processing) มีบทบาทอย่างมาก ปั จจุบนั ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) กำาลังได้รับความสนใจ” พัฒนาการออกแบบการสอน 1. ID1 พื้นฐานมาจากกลุ่มพฤติกรรมนิยม 2. ID2 พื้นฐานมาจากกลุ่มพุทธิปัญญานิยม 3. พื้นฐานจาก Constructivism
การออกแบบการสอนในยุคที่ 1 ID1 พืน้ ฐานมาจากกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ตามแนวคิดนี้การเรี ยนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเป็ นผลอันเนื่องมาจากประสบการณ์ที่คน เรา มีปฏิสมั พันธ์กบั สิ่ งแวดล้อมหรื อจากการฝึ กหัด การออกแบบการสอนในยุคแรก (ID1) ที่พบในปั จจุบนั ได้แก่ บทเรี ยนโปรแกรม ชุดการสอน และบท เรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็ นต้น ลักษณะสำ าคัญของการออกแบบการสอนในยุค ID1 1. ระบุวตั ถุประสงค์การสอนที่ชดั เจน 2. การสอนในแต่ละขั้นตอนนำาไปสู่การเรี ยนแบบรอบรู ้ในหน่วยการสอนรวม 3. ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนตามอัตราการเรี ยนรู้ของตนเอง 4. ดำาเนินการไปตามโปรแกรมหรื อลำาดับขั้นที่กาำ หนดไว้ การออกแบบการสอนในยุคที่ 2 ID2 พืน้ ฐานมาจากกลุ่มพุทธิปัญญานิยม ตามแนวคิดนี้ การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผูเ้ รี ยนเกิดจากการจัดระเบียบ ขยายความคิด และจัดหมวดหมู่ของ ความจำาลง สู่โครงสร้างทางปัญญา โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับกระบวน การคิด การให้เหตุผลของผูเ้ รี ยนซึ่งมี ปฏิสมั พันธ์ระหว่างสิ่ งเร้าภายนอกกับสิ่ งเร้าภายใน คือ ส่ งผ่านสื่ อไปยังความรู ้ความเข้าใจ กระบวนการรู ้ การคิด ที่ช่วยส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ การออกแบบการสอนในยุคที่ 3 พืน้ ฐานจาก คอนสตัคติวสิ ต์ ( Constructivism) ตามแนวคิดนี้เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลางโดยการสร้างความรู ้จะเกิดขึ้ นเมื่อผูเ้ รี ยนได้สร้างสิ่ งที่แทนความรู ้ ความจำาในระยะทำางานอย่างตื่นตัว
ครู ผสู ้ อนเป็ นเพียงผูช้ ้ ี แนะแนวทางหรื อโมเดลในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ช่วยให้นกั เรี ยนเกิดการ เรี ยนรู ้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ โดยการเรี ยนรู้ในยุคนี้ จะเน้นการพัฒนากระบวนการคิดอย่างอิสระให้ผเู ้ รี ยน สร้าง
ความรู ้ได้ดว้ ยตนเอง ตลอดจนเรี ยนรู้จากการปฏิบตั ิของตนเองโดยวิธีการเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย สามารถคิดแบบ องค์รวมได้ พัฒนาการออกแบบการสอน การใช้วิธีระบบในการฝึ กทหารของกองทัพบกอเมริ กนั ช่วงสงครามโลกครั้ งที่ 2 เชื่อว่า “การเรี ยนรู ้ใด ๆ ไม่ ควรเกิดอย่างบังเอิญ แต่ควรเกิดจากการพัฒนาสิ่ งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม มีกระบวนการขั้นตอน และสามารถ วัดผลจากการเรี ยนรู้ได้อย่างชัดเจน” การออกแบบการเรี ยนการสอนต้องอาศัยความรู ้ศาสตร์ สาขาต่างๆ ได้แก่ จิตวิทยาการศึกษา การสื่ อความ หมาย การศึกษาศาสตร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ามาร่ วม หลักการและขั้นตอนการออกแบบการสอน แนวคิดของ ADDIE 1. ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis) - กำาหนดหัวเรื่ องและวัตถุประสงค์ทวั่ ไป - วิเคราะห์ผเู้ รี ยน - วิเคราะห์วตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - วิเคราะห์เนื้ อหา 2. ขั้นการออกแบบ (Design Phase) - การออกแบบบทเรี ยน - การออกแบบผังงาน (Flowchart) - การออกแบบบทดำาเนินเรื่ อง (Storyboard) - การออกแบบหน้าจอภาพ (Screen Design)
3. ขั้นพัฒนา (Development) - การเตรี ยมการ
- การสร้างบทเรี ยน - การสร้างเอกสารประกอบการเรี ยน 4. ขั้นการนำาไปทดลองใช้ (Implementation) การนำาบทเรี ยนไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่าง เพื่อตรวจสอบ ความเหมาะสมของบทเรี ยนในขั้นต้น ปรับปรุ งแก้ไขก่อนนำาไปใช้ กับกลุ่มเป้ าหมายจริ ง เพื่อหาประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยน และนำาไปให้ผเู ้ ชี่ยวชาญ ตรวจสอบความเหมาะสมและประสิ ทธิภาพ 5. ขั้นการประเมินผล (Evaluation) การประเมินผล คือ การเปรี ยบเทียบกับการเรี ยนการสอนแบบปกติ โดยแบ่งผูเ้ รี ยนออกเป็ น 2 กลุ่ม เรี ยนด้วยบทเรี ยน ที่สร้างขึ้น 1 กลุ่ม และเรี ยนด้วยการสอนปกติอีก 1 กลุ่ม หลังจากนั้น จึงให้ผเู ้ รี ยนทั้งสอง กลุ่ม ทำาแบบทดสอบชุดเดียวกัน และแปลผล คะแนนที่ได้ สรุ ปเป็ นประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยน แนวคิดของคอนสตัคติวสิ ต์ 1. การสร้างการเรี ยนรู้ (Learning Constructed) ความรู ้จะถูกสร้างจากประสบการณ์ การเรี ยนรู ้เป็ น กระบวนการสร้างสิ่ งแทนความรู ้ในสมองที่ผเู ้ รี ยนเป็ นผูส้ ร้างขึ้น 2. การแปลความหมายของแต่ละคน(Interpretation personal) การเรี ยนรู ้เป็ นการแปลความหมาย ตามสภาพจริ ง หรื อประสบการณ์ของแต่ละคน 3. การเรี ยนรู้เกิดจาการลงมือกระทำา (Learning active) การเรี ยนรู ้เป็ นการที่ผเู ้ รี ยนได้ลงมือกระทำา ซึ่งเป็ นการสร้างความหมายโดยอาศัยพื้นฐานของประสบการณ์ 4. การเรี ยนรู้ที่เกิดจากการร่ วมมือ (Learning Collaborative) เกิดจากแนวคิดที่หลากหลายในกลุ่ม และปรับเปลี่ยนสร้างเป็ นสิ่ งแทนความรู้ในสมอง ส่ งเสริ มให้เกิดความร่ วมมือกับคนอื่นจากการร่ วมแสดง แนวคิดที่หลากหลายที่จะทำาให้เกิดปัญหาเฉพาะนำาไปสู่สถานการณ์ที่ทุกคนยอมรับในระหว่างกัน " 5. การเรี ยนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated) ควรเกิดขึ้นในสภาพชั้นเรี ยนจริ ง (Situated or anchored) “การเรี ยนรู้ตอ้ งเหมาะสมกับบริ บทของสภาพจริ ง หรื อสะท้อนบริ บทที่เป็ นสภาพจริ ง " 6. การทดสอบเชิงการบูรณาการ (Testing Integrated) การทดสอบควรจะเป็ นการบูรณาการเข้ากับ ภารกิจการเรี ยน (Task) ไม่ควรเป็ นกิจกรรมที่แยกออกจากบริ บท การเรี ยนรู ้ “การวัดการเรี ยนรู ้ เป็ นวิธีการที่ผู ้ เรี ยนใช้โครงสร้างความรู้เป็ นเครื่ องมือในการส่ งเสริ มให้เกิดการคิดในเนื้ อหาการเรี ยนรู ้น้ นั ๆ”
แนวคิดของโรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gange') 1. เร่ งเร้าความสนใจ (Gain Attention) 2. บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) 3. ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knoeledge) 4. นำาเสนอเนื้อหาใหม่ (Present New Information) 5. ชี้แนะแนวทางการเรี ยนรู้ (Guide Learning) 6. กระตุน้ การตอบสนองบทเรี ยน (Elicit Response) 7. ให้ขอ้ มูลย้อนกลับ (Provide Feedback) 8. ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess Performance) 9. สรุ ปและนำาไปใช้ (Review and Transfer) เร่ งเร้ าความสนใจ (Gain Attention) กระตุน้ หรื อเร้าให้ผเู้ รี ยนเกิดความสนใจกับบทเรี ยนและเนื้ อหาที่จะเรี ยน การเร้าความสนใจผูเ้ รี ยนนี้ อาจ ทำาได้โดย การจัดสภาพแวดล้อมให้ดึงดูดความสนใจ เช่นการใช้ภาพกราฟิ ก ภาพเคลื่อนไหว และการใช้เสี ยง ประกอบบทเรี ยน บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) การบอกให้ผเู้ รี ยนทราบถึงจุดประสงค์ของบทเรี ยนนี้ มีความสำาคัญเป็ นอย่างยิ่ง ผูเ้ รี ยนสามารถควบคุมการ เรี ยนของตนเองได้โดยการเลือกศึกษาเนื้ อหาที่ตอ้ งการศึกษาได้เอง ดังนั้นการที่ผเู ้ รี ยนได้ทราบถึงจุดประสงค์ ของบทเรี ยนล่วงหน้าทำาให้ผเู้ รี ยนสามารถมุ่งความสนใจไปที่เนื้ อหาบทเรี ยนที่เกี่ยวข้อง
ทบทวนความรู้ เดิม (Activate Prior Knowledge)
การทบทวนความรู้เดิมช่วยกระตุน้ ให้ผเู้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้เนื้ อหาใหม่ได้รวดเร็ วยิง่ ขึ้น รู ปแบบการทบทวน ความรู ้เดิมในบทเรี ยนบนเว็บทำาได้หลายวิธีเช่น กิจกรรมการถาม-ตอบคำาถาม หรื อการแบ่งกลุ่มให้ผเู ้ รี ยน อภิปรายหรื อสรุ ปเนื้ อหาที่ได้เคยเรี ยนมาแล้ว เป็ นต้น นำาเสนอเนือ้ หาใหม่ (Present New Information) การนำาเสนอบทเรี ยนสามารถทำาได้หลายรู ปแบบด้วยกันคือ การนำาเสนอด้วยข้อความ รู ปภาพ เสี ยง หรื อแม้ กระทัง่ วีดิทศั น์ อย่างไรก็ตามสิ่ งสำาคัญที่ผสู้ อนควรให้ความสำาคัญก็คือผูเ้ รี ยน ผูส้ อนควรพิจารณาลักษณะของผู ้ เรี ยนเป็ นสำาคัญเพื่อให้การนำาเสนอบทเรี ยนเหมาะสมกับผูเ้ รี ยนมากที่สุด ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ (Guide Learning) การชี้แนวทางการเรี ยนรู้หมายถึงการชี้ แนะให้ผเู ้ รี ยนสามารถนำาความรู ้ที่ได้เรี ยนใหม่ผสมผสานกับความรู ้ เก่าที่เคยได้เรี ยนไปแล้ว เพื่อให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ที่รวดเร็ วและมีความแม่นยำามากยิ ง่ ขึ้น กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน (Elicit Response) ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยน นักการศึกษาต่างทราบดีวา่ การเรี ยนรู ้เกิดขึ้ นจากการที่ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสมี ส่ วนร่ วมในกระบวนการเรี ยนการสอนโดยตรง ดังนั้น ในการจัดการเรี ยนการสอน จึงควรเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนมี ส่ วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยน ให้ ข้อมูลย้ อนกลับ (Provide Feedback) การที่ผสู ้ อนสามารถติดต่อสื่ อสารกับผูเ้ รี ยนได้โดยตรงอย่างใกล้ชิด เนื่องจากบทบาทของผูส้ อนนั้น เปลี่ยน จากการเป็ นผูถ้ ่ายทอดความรู้แต่เพียงผูเ้ ดียว มาเป็ นผูใ้ ห้คาำ แนะนำาและช่วยกำากับการเรี ยนของผูเ้ รี ยนรายบุคคล ทำาให้ผสู ้ อนสามารถติดตามก้าวหน้าและสามารถให้ผลย้อนกลับแก่ผเู ้ รี ยนแต่ละคนได้ดว้ ยความสะดวก ทดสอบความรู้ ใหม่ (Assess Performance) การทดสอบความรู้ใหม่หลังจากศึกษาบทเรี ยน เรี ยกว่า การทดสอบหลังบทเรี ยน เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ผู ้ เรี ยนได้ทดสอบความรู้ของตนเอง นอกจากนี้ จะยังเป็ นการวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนว่าผ่านเกณฑ์ที่กาำ หนดหรื อ ไม่ เพื่อที่จะไปศึกษาในบทเรี ยนต่อไปหรื อต้องกลับไปศึกษาเนื้ อหาใหม่ สรุ ปและนำาไปใช้ (Review and Transfer)
การสรุ ปและนำาไปใช้ จัดว่าเป็ นส่วนสำาคัญในขั้นตอนสุ ดท้ายที่บทเรี ยนจะต้องสรุ ปมโนคติของเนื้ อหา เฉพาะประเด็นสำาคัญๆ รวมทั้งข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสทบทวนความรู ้ของตนเอง หลังจากศึกษาเนื้ อหาผ่านมาแล้ว ในขณะเดียวกัน บทเรี ยนต้องชี้ แนะเนื้อหาที่เกี่ยวข้องหรื อให้ขอ้ มูลอ้างอิงเพิ่ม เติม เพื่อแนะแนวทางให้ผเู้ รี ยนได้ศึกษาต่อในบทเรี ยนถัดไป หรื อนำาไปประยุกต์ใช้กบั งานอื่นต่อไป แนวคิดของดิคค์ และคาเรย์ (Dick and Carey model) 1. การกำาหนดเป้ าหมายของการสอน (Identify Instructional Goals) เป็ นการกำาหนดความมุ่งหมายการสอน ซึ่งต้องพัฒนาให้สอดคล้องกับความมุ่งหมายทางการศึกษา วิเคราะห์ความจำาเป็ น (Needs Analysis) และ วิเคราะห์ผเู ้ รี ยน 2. ดำาเนินการวิเคราะห์การเรี ยนการสอน (Conduct Instructional Analysis) เป็ นการวิเคราะห์ภารกิจ หรื อ วิเคราะห์ข้นั ตอนการดำาเนินการสอน ผลการวิเคราะห์การสอนที่ได้ จะเป็ นการจัดหมวดหมู่ของภารกิจ (Task Classification) ตามลักษณะของจุดมุ่งหมายการสอน 3. กำาหนดพฤติกรรมก่อนเรี ยนและลักษณะผูเ้ รี ยน (Identify Entry Behaviors, Characteristics) การศึกษา พฤติกรรมและคุณลักษณะของผูเ้ รี ยน (Identify Entry Behaviors) ว่าเป็ นผูเ้ รี ยนระดับใด มีพื้นความรู ้มากน้อย เพียงใด 4. เขียนจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม (Write Performance Objective) เป็ นจุดมุ่งหมายเฉพาะหรื อจุดมุ่งหมาย เชิงพฤติกรรม และสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการสอน เพื่อช่วยให้มองเห็นแนวทาง การเรี ยนการสอน เป็ น แนวทางในการวางแผนการจัดสภาพแวดล้อมการเรี ยน ช่วยให้เห็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบ ช่วยผูเ้ รี ยน ให้เรี ยนอย่างมีจุดมุ่งหมาย 5. พัฒนาข้อสอบอิงเกณฑ์ (Develop Criterion – Referenced Test Items) เป็ นการสร้า แบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ เพื่อประเมินการเรี ยนการสอน 6. พัฒนายุทธวิธีการสอน (Develop Instructional Strategies) เป็ นแผนการสอนหรื อเหตุการณ์การสอน ที่ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู้ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพตามจุดมุ่งหมาย 7. พัฒนาและเลือกวัสดุการเรี ยนการสอน (Develop and Select Instructional Materials) เป็ นการพัฒนาและ เลือกสื่ อการเรี ยนการสอนทั้งสื่ อสิ่ งพิมพ์และสื่ อโสตทัศน์ 8. ออกแบบและดำาเนินการประเมินเพื่อการปรับปรุ ง (Design and Conduct Formative Evaluation)
9. การปรับปรุ งการสอน (Revise Instruction) 10. การออกแบบและดำาเนินการประเมินระบบการสอน (Design and Conduct Summative E valuation) เป็ น ขั้นการแก้ไขและปรับปรุ งการสอนตั้งแต่ข้นั ที่ 2 ถึงขั้นที่ 8 แนวคิดของเกอร์ ลาชและอีลาย (Ger lach and Ely Model) 1. การกำาหนด เป็ นการกำาหนดว่าต้องการให้ผเู ้ รี ยน ได้รู้อะไร แค่ไหน อย่างไร 2. การกำาหนดเนื้ อหา (Specify Content) เป็ นการกำาหนดว่าผูเ้ รี ยนต้องเรี ยนอะไรบ้างจึงจะสามารถบรรลุเป้ า หมายที่ต้ งั ไว้ 3. การวิเคราะห์ประสบการณ์เดิมของผูเ้ รี ยน (Analyze Learner Background Knowledge) เป็ นการวิเคราะห์ เพื่อให้ทราบความสามารถพื้นฐานของผูเ้ รี ยน 4. เลือกวิธีสอน (Select Teaching Method) ทำาการเลือกวิธีสอนให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย 5. กำาหนดขนาดของกลุ่ม (Determine Group Size) เลือกว่าจะสอนเป็ นกลุ่มย่อยหรื อกลุ่มใหญ่อย่างไร 6. กำาหนดเวลา (Time Allocation) กำาหนดว่าจะใช้เวลาในการสอนมากน้อยเพียงใด 7. กำาหนดสถานที่ เครื่ องอำานวยความสะดวก (Specify Setting and Facilities) กำาหนดว่าจะสอนที่ไหน ต้องเตรี ยมอะไรบ้าง 8. เลือกแหล่งวิชาการ (Select Learning Resources) จะต้องใช้สื่ออะไร อย่างไร 9. ประเมินผล (Evaluation) การสอนตรงตามจุดมุ่งหมายหรื อไม่ 10. วิเคราะห์ขอ้ มูลป้ อนกลับเพื่อการปรับปรุ งแก้ไข (Analyze Feedback for Revision) เป็ นการวิเคราะห์วา่ ถ้า การสอนไม่ได้ผลตามจุดมุ่งหมายจะปรับปรุ งแก้ไขตรงไหน อย่างไร
ปัญหาหลักของการออกแบบการสอน
1. ปั ญหาด้านทิศทาง (Direction) - ผูเ้ รี ยนไม่ทราบว่าจะเรี ยนไปเพื่ออะไร - ไม่รู้วา่ จะต้องเรี ยนอะไร - ต้องสนใจจุดไหน 2. ปั ญหาด้านการวัดผล (Evaluation) เกิดขึ้นกับทั้งผูส้ อนและผูเ้ รี ยน ผูส้ อนจะมีปัญหา เช่น จะรู ้ได้อย่างไรว่าผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้หรื อ ไม่ วิธีที่ใช้อยูใ่ ช้ได้ผลดีไหม ถ้าจะปรับปรุ งเนื้ อหาจะปรับปรุ งตรงไหน จะให้คะแนนอย่างยุติธรรมได้อย่างไร ผู ้ เรี ยนจะมีปัญหา เช่น ฉันเรี ยนรู้อะไรบ้างจากสิ่ งนี้ ข้อสอบยากเกินไป ข้อสอบกำากวม 3. ปัญหาด้านเนื้ อหาและการลำาดับเนื้ อหา (Content and Sequence) ครู อาจสอนเนื้อหาที่ไม่ต่อเนื่องกัน เนื้อหายากเกินไป เนื้ อหา ไม่ตรงกับจุดมุ่งหมาย เนื้ อหาไม่สมั พันธ์กนั ส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนเกิดความไม่เข้าใจ และ สับสนในเนื้อหาที่เรี ยน ฯลฯ 4. ปัญหาด้านวิธีการ (Method) การสอนหรื อวิธีสอนของครู อาจทำาให้ผเู ้ รี ยนเกิดความเบื่อหน่ายไม่อยากเข้า ห้องเรี ยน มีทศั นคติที่ไม่ดีต่อการเรี ยน หรื อปั ญหาการสอนที่ไม่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายที่ต้ังเอาไว้ 5. ปั ญหาข้อจำากัดต่าง ๆ (Constraint) การสอนหรื อการฝึ กอบรมนั้นต้องใช้แหล่งทรัพยากร 3 ลักษณะ คือ บุคลากร ครู ผสู้ อน และสถาบันต่าง ๆ - บุคลาการที่วา่ นี้อาจจะเป็ นวิทยากร ผูช้ ่วยเหลือต่าง ๆ เช่น พนักงานพิมพ์ ผูค้ วบคุมเครื่ องไม้ เครื่ องมือ หรื ออื่น ๆ - สถาบันต่าง ๆ หมายถึง แหล่งที่เป็ นความรู ้ แหล่งที่จะให้ความร่ วมมือสนับสนุนต่าง ๆ อาจเป็ น ห้องสมุด หน่วยงานต่าง ๆ เป็ นต้น
ประโยชน์ ของการออกแบบการสอน
1. ช่วยให้จดั ทำาหลักสูตรวิชาชีพทุกสาขาวิชาง่ายขึ้น 2. ช่วยให้ครู และนักเรี ยนมีปฏิสมั พันธ์ที่ดีต่อกัน 3. ช่วยให้นกั เรี ยนมีความตั้งใจ สนุกกับเนื้ อหา เกิดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ได้ง่ายขึ้น 4. ช่วยให้จดั ทำาสื่ อการเรี ยนการสอนได้ถูกต้องเหมาะสมตามความต้องการของผูเ้ รี ยน และนำาไป ใช้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 5. ช่วยให้ผทู้ ี่สนใจเกิดแรงกระตุน้ ที่จะพัฒนาและออกแบบการเรี ยนการสอนให้เหมาะสมกับเนื้ อ วิชาและผูเ้ รี ยน