01 พระเมรุม�ศ
Royal Funeral Pyre - 014
“พระเมรุม�ศ” ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 มีลักษณะทรง บุษบก 9 ยอด บุษบกประธานมี 7 ชั้นเชิงกลอน ออกแบบโดยนายก่ อ เกี ย รติ ทองผุ ด นายช่ า ง ศิ ลปกรรม สำ า นัก สถาปัตยกรรม กรมศิลปากร เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ไม่เคยมีรับสั่งเกี่ยวกับพระเมรุมาศของ พระองค์ ว่าจะต้องมีรปู แบบใดเป็นลายลักษณ์อกั ษร ดังนั้น ผู้ออกแบบพระเมรุมาศในครั้งนี้ จึงยึดตาม
โบราณราชประเพณี ที่ นั บ ตั้ ง แต่ ส มั ย รั ช กาลที่ 5 เป็นต้นมา พระเมรุมาศมีเพียงชั้นเดียว โดยถอด เอาพระเมรุใหญ่ซึ่งเป็นพระเมรุทรงปรางค์ที่คลุมอยู่ ภายนอกออกไป ลักษณะโดดเด่นของพระเมรุมาศ รัชกาลที่ 9 จึงเป็นพระเมรุมาศชั้นเดียว สอดรับกับความเชื่อที่ ได้รบั อิทธิพลมาจากพุทธศาสนาทีย่ ดึ คติไตรภูมิ โดย เขาพระสุเมรุเป็นศูนย์กลางของภูมิทั้งสาม ตลอด จนยึดคติความเชื่อตามศาสนาพราหมณ์ ที่นับถือ พระพรหม พระนารายณ์ พระศิวะ และพระพิฆเนศ โดยเชือ่ ว่าพระมหากษัตริยส์ บื เชือ้ สายมาจากเทพเจ้า ความพิเศษของพระเมรุมาศครั้งนี้ ยังมีขนาดใหญ่
กว่า 4 ครั้ง ที่ผ่านมา มีฐานกว้างด้านละ 59.60 เมตร สูง 55.18 เมตร ความพิเศษของพระเมรุมาศ ในรัชกาลที่ 9 มี อยู่ด้วยกัน 5 ประการ คือ 1. ชั้นเชิงกลอน โดย มีความใหญ่ของบุษบกประธานถึง 7 ชั้นเชิงกลอน ซึง่ ไม่เคยปรากฏมาก่อน 2. สือ่ ถึงในหลวง รัชกาลที่ 9 เป็นพระโพธิสตั ว์ 3. พระเมรุมาศครัง้ นีม้ ี 4 ชัน้ ชาลา แสดงถึงความสมจริงของเขาพระสุเมรุมากยิ่งขึ้น 4. เขาของจักรวาลที่มีสระนำ้า หรือสระอโนดาตล้อม รอบเขาพระสุเมรุ โดยสระอโนดาตทัง้ 4 มุม ทำาเป็น สระนำา้ จริง และ 5. เสาโคมไฟครุฑ จากเดิมเป็นหงส์ เพราะครุฑเป็นพาหนะของพระนารายณ์
และทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภกด้วย การก่อสร้าง เดิมจะใช้วิธีเทคอนกรีตสำาเร็จรูป และใช้ แ ผ่ น พื้ น สำ า เร็ จ รู ป ที่ มี ข ายในท้ อ งตลาด ทำาฐานราก แต่ครัง้ นีเ้ นือ่ งจากอาคารมีขนาดใหญ่กว่า เดิม และเพื่อความมั่นคง ไม่ให้เสี่ยงต่อฝน และลม แรง จึงใช้วิธีเทคอนกรีตฐานรากของพระเมรุมาศ และพระที่นั่งทรงธรรม ซึ่งถือเป็นครั้งแรกของการ ก่อสร้างพระเมรุมาศ โดยก่อนการออกแบบฐานราก จะใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยจำาลองสถานการณ์ การเกิ ด แรงลมระดั บ รุ น แรงที่ สุ ด เพื่ อ ออกแบบ ฐานรากให้รบั กับแรงลมได้ รวมถึง เจาะสำารวจชัน้ ดิน
การวางผังทีต่ ง้ั ยังมีความโดดเด่นกว่าทุกพระเมรุ ที่ผ่านมา โดยนายพรธรรม ธรรมวิมล ภูมิสถาปนิก สำานักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร พิจารณาจากจุด ตัดของแนวแกนของโบราณสถานที่สำาคัญของเกาะ รัตนโกสินทร์ชั้นใน คือ แกนเหนือ-ใต้ ตรงกับแนว เจดียท์ องในวัดพระศรีรตั นศาสดาราม (วัดพระแก้ว) และแนวแกนตะวันออก-ตะวันตก ตรงกับอุโบสถ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ราชวรมหาวิหาร โดย จุดที่ตัดกันเป็นที่ตั้งของพระเมรุมาศ การวางผัง ให้ พ ระเมรุ ม าศเชื่ อ มโยงกั บ พระบรมมหาราชวั ง และวัด ซึ่งเป็นโบราณสถานที่สำาคัญ เชื่อมโยงว่า ในหลวง รัชกาลที่ 9 คือพระมหาราชาผู้เป็นใหญ่
เพือ่ คำานวณกำาลังรับนำา้ หนักดินฐานราก อีกทัง้ มีโครง ถักเหล็กเป็นตัวยึดที่ฐานรากอีกด้วย การตกแต่งพระเมรุมาศ ใช้งานซ้อนไม้ทดแทน การแกะสลักไม้จริง ส่วนใหญ่เป็นงานซ้อนไม้ดว้ ยวิธี การหล่อด้วยไฟเบอร์กลาส ที่ใช้สำาหรับงานลำาลอง หรืองานชั่วคราว การประดับตกแต่งจะใช้การปิด ผ้าทองย่นสาบกระดาษสี แทนการปิดทองประดับ กระจก โดยใช้ผ้าทองย่น 5 สีหลัก คือ สีทอง สีขาว สีนำ้าเงิน สีชมพู และสีเขียว ลายผ้าทองย่น ประดับฐานชั้นล่างได้คัดสรรลายพิเศษเพื่อให้สม พระเกียรติ เป็นลายชั้นสูงสำาหรับพระมหากษัตริย์
เช่น ลายก้ามปู ลายก้านแย่ง ลายลูกฟัก และลาย ก้านต่อ ถือเป็นลวดลายที่มีเอกลักษณ์รังสรรค์เพื่อ งานพระเมรุมาศโดยเฉพาะ ซึ่งลายก้านต่อจะใช้ ทุ ก ส่ ว นสำ า คั ญ ของพระเมรุ ม าศ ทั้ ง บริ เ วณฐาน สิงห์ บัวฐาน เสาหัวเม็ด ลักษณะของลายก้านต่อ จะเป็นการต่อลายกันอย่างน้อย 3 ลาย เช่น ลาย ดอกไม้ ใบเทศน์เปลว หน้าเทพนม ประดับต่อกัน เป็นชั้นขึ้นไป กล่าวได้วา่ พระเมรุมาศ รัชกาลที่ 9 มีความเป็น เอกลักษณ์อย่างทีไ่ ม่เคยปรากฏในประวัตศิ าสตร์มา ก่อน อีกทั้ง ยังนำาเทคนิค และเทคโนโลยีสมัยใหม่ มาช่วยในการก่อสร้าง เพื่อเพิ่มความมั่นคง แข็งแรง ความรวดเร็ว และสวยงามวิจิตรศิลป์…
ผ้าขาว 9 ชัน้ มีความสูง 5.10 เมตร แต่ละชัน้ มีระบาย ขลิบทองแผ่ลวดซ้อน 3 ชัน้ ฉัตรชัน้ ล่างสุดห้อยเฟือ่ ง อุบะจำาปาทอง โดยในพระเมรุมาศ รัชกาลที่ 9 นพปฎลมหาเศวตฉัตรจะประดิษฐานบนยอดสุดของ บุษบกประธาน สำาหรับลวดลายบนนพปฎลมหาเศวตฉัตร เป็น บัวกลุม่ บัวแวง คัน่ ด้วยบัวลูกแก้ว แล้วจึงเป็นปลียอด โดยส่วนยอดจะเป็นองค์เจดีย์
บุษบกซ่�ง หรือสำ�ซ่�ง
“พระที่นั่งทรงธรรม” เป็นอาคารประกอบใน มณฑลพิธี มีความสำาคัญรองลงมาจากพระเมรุมาศ ตั้ ง อยู่ กึ่ ง กลางด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกของพระเมรุ ม าศ สำาหรับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ ประทับทรงธรรม และประกอบพระราชพิธีบำาเพ็ญ พระราชกุศลออกพระเมรุ และมีท่ีสำาหรับพระราช อาคันตุกะ คณะองคมนตรี คณะรัฐมนตรี ข้าราชการ ชั้นผู้ใหญ่ ทั้งฝ่ายทหาร พลเรือน สมาชิกรัฐสภา ตลอดจนคณะทูตานุทูต เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ออกแบบโดยนายอาทิตย์ ลิม่ มัน่ สถาปนิกปฏิบตั กิ าร สำานักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร ความพิเศษของพระทีน่ ง่ั ทรงธรรมในครัง้ นี้ เป็น อาคารขนาดใหญ่ ทรงจัตรุ มุข จัว่ ภควัม ทรงพระพุทธรูป สือ่ ถึงพระมหากษัตริยท์ นี่ อกจากเป็นสมมติเทพแล้ว ยังทรงเป็นพระโพธิสัตว์ มีมุขปีก ซ้าย ขวา ยื่น ออกมารับกับแนวความยาวของมณฑลพิธี รองรับ ผู้เข้าร่วมพระราชพิธีได้ประมาณ 2,700 คน และ เนื่องจากเป็นอาคารที่ใหญ่ ในการก่อสร้างจึงต้องเท ฐานรากเพื่อความแข็งแรง ภายในพระที่นั่งทรงธรรม แบ่งระดับพื้นที่ตาม ฐานันดรศักดิ์ ได้แก่ พืน้ ทีส่ าำ หรับพระบรมวงศานุวงศ์ ประทับ สูงจากพืน้ 1.80 เมตร รองลงมา คณะองคมนตรี คณะรัฐมนตรี ข้าราชการชัน้ ผูใ้ หญ่ อยูท่ ่ี 1.30 เมตร การตกแต่งภายในจะยึดตามโบราณราชประเพณี มีความสวยงามรองลงมาจากพระเมรุมาศ ประดับ ลายซ้อนไม้ ผ้าทองย่น ลายฉลุ รวมถึง มีภาพ จิตรกรรมฝาผนังที่แสดงเรื่องราวโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำาริ 3 ด้าน 46 โครงการ โทนสี จะเป็นไปในทิศทางเดียวกับอาคารหลังอื่นๆ ซึ่งจะ เน้นโทนสีดอน หลังคาสีเทา องค์ประกอบอื่นๆ เป็น สีทอง ให้สอดคล้องกับพระเมรุมาศ
“บุษบกซ่�ง” หรือ “สำ�ซ่�ง” สิ่งปลูกสร้างรูป ทรงสี่เหลี่ยม สร้างขึ้นตามมุมทั้งสี่ของพระเมรุมาศ ใช้เป็นทีส่ าำ หรับพระพิธธี รรมสวดพระอภิธรรมตลอด งานพระเมรุมาศ นับตัง้ แต่พระบรมศพประดิษฐานบน พระจิตกาธาน จนกว่าจะถวายพระเพลิงพระบรมศพ แล้วเสร็จ โดยมีพระพิธีธรรม 4 สำารับ นั่งอยู่ประจำา สำาซ่าง และจะผลัดกันสวดทีละสำาซ่างเวียนกันไป โดยในส่วนของพระเมรุมาศ รัชกาลที่ 9 สำาซ่างอยู่ ที่ฐานบุษบกชั้นชาลาที่ 3 ทั้ง 4 มุม ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ฐาน องค์บุษบก และเครื่องยอด ซึ่งมีชั้นเชิงกลอน 5 ชั้น โดยส่วนยอดของสำาซ่างจะ เป็นทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ หอเปลื้อง
Royal Funeral Pyre - 016
“หอเปลื้อง” สิ่งปลูกสร้างขนาดเล็กที่ใช้เก็บ พระโกศพระบรมศพ และเครื่องประกอบหลังจากที่ เปลื้องพระบรมศพออกจากพระลองขึ้นประดิษฐาน บนพระจิตกาธาน และเป็นที่เก็บเครื่องใช้เบ็ดเตล็ด ในช่วงการถวายพระเพลิงพระบรมศพ เช่น ท่อนฟืน ไม้จนั ทน์ ช่อไม้จนั ทน์ ขันนำา้ ฯลฯ ซึง่ ต้องตัง้ นำา้ สำาหรับ เลี้ ย งเพลิ ง เมื่ อ เวลาถวายพระเพลิ ง พระบรมศพ โดยในส่วนของพระเมรุมาศ รัชกาลที่ 9 หอเปลื้อง อยู่ที่ฐานบุษบกชั้นชาลาที่ 2 ทั้ง 4 มุม ประกอบ ด้วย 3 ส่วน คือ ฐาน องค์บุษบก และเครื่องยอด โดยจะมี 5 ชั้นเชิงกลอนเช่นเดียวกับสำาซ่าง แต่มี ขนาดย่อมลงมา โดยส่วนยอดของหอเปลื้องจะเป็น ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ นพปฎลมห�เศวตฉัตร “นพปฎลมห�เศวตฉัตร” หรือเศวตฉัตร 9 ชัน้ สำาหรับพระมหากษัตริยท์ ที่ รงรับพระบรมราชาภิเษก ตามโบราณราชประเพณี แ ล้ ว ลั ก ษณะเป็ น ฉั ต ร
1.1 อ�ค�รประกอบพระเมรุม�ศ พระที่นั่งทรงธรรม
ศ�ล�ลูกขุน 1-3 “ศาลาลูกขุน” เป็นอาคารโถงไม่มผี นัง ใช้เป็นที่ สำาหรับข้าราชการชัน้ ผูใ้ หญ่เฝ้าทูลละอองธุลพี ระบาท
รับเสด็จ รวมทั้ง ใช้เป็นอาคารบริการ ในงานพระราชพิธีครั้งนี้มี ศาลาลูกขุน 3 แบบ ศาลาลูกขุน 1 จำานวน 4 หลัง ตั้งอยู่ทิศเหนือ และทิศใต้ของพระเมรุมาศ ฝั่งละ 2 หลัง ศาลาลูกขุน 2 จำานวน 2 หลัง ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ และทิศใต้ของพระที่นั่งทรงธรรม และ ศาลาลูกขุน 3 จำานวน 5 หลัง ตั้งอยู่นอกรั้วราชวัติทางทิศใต้ของ มณฑลพิธี ทั้ง 3 แบบ มีสถาปนิกผู้ออกแบบหลัก 2 ราย ได้แก่ นายธนารัตน์ สอดทรัพย์ สถาปนิกปฏิบัติการ และนายปณิธาน เจริญใจ สถาปนิกชำานาญการ สำานักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร การออกแบบศาลาลูกขุนทัง้ 3 แบบ ออกแบบตามลำาดับฐานานุศกั ดิ์ ของผู้ใช้สอยอาคาร
Royal Funeral Pyre - 020
พระเมรุมาศที่มองจากฐานไปยัง ยอดสูงสุด ทำ�ให้เห็นโครงสร้าง เหล็กที่แข็งแรง มั่นคง
Royal Funeral Pyre - 024
ศ�ล�ลูกขุน 1 ใช้เป็นที่สำาหรับข้าราชการชั้น ผูใ้ หญ่เฝ้าทูลละอองธุลพี ระบาท เป็นอาคารโถงขนาด ใหญ่ ยกพื้นสูงเพื่อความสง่างาม หลังคาหลักเป็น ทรงจั่ว และมีหลังคาปะรำาตลอดความยาวอาคาร ทั้ง 2 ข้างเพื่อเพิ่มพื้นที่การใช้สอย ความสูงของ หลังคาปรับให้เหมาะสมกับพระเมรุมาศ หลังคา ทรงจั่วภควัม เปรียบในหลวง รัชกาลที่ 9 เป็น พระโพธิสัตว์ ออกแบบหน้าบันให้เป็นสัญลักษณ์ เครื่องบูชาลายเครื่องทองน้อย ซึ่งเป็นเครื่องสักการ บูชาพระมหากษัตริย์ งานศิลปกรรมประดับตัวอาคาร เป็นลวดลายดอกไม้ต่างๆ แสดงถึงการสักการะ และสื่อถึงพระราชกรณียกิจที่ทรงมีต่อการพัฒนา
สิ่งแวดล้อม และธรรมชาติ ศ�ล�ลูกขุน 2 ใช้เป็นที่สำาหรับข้าราชการชั้น ผู้ใหญ่ในลำาดับรองลงมาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท เป็นอาคารโถงขนาดย่อมลงมากว่าศาลาลูกขุน 1 หลังคาทรงจั่วภควัม ยกพื้นสูงเช่นเดียวกับศาลา ลูกขุน 1 แตกต่างกันตรงลวดลายหน้าบัน เป็น ลวดลายพานพุ่ม ซึ่งเป็นเครื่องสักการบูชาเช่นกัน ศ�ล�ลูกขุน 3 อยู่นอกรั้วราชวัติ เป็นอาคาร ทีใ่ ช้สาำ หรับงานบริการในช่วงพระราชพิธี หลังคาทรง ปะรำาตัดเรียบ และเนื่องจากเป็นอาคารบริการนอก มณฑลพิธี จึงลดการใช้สีทอง และลดการประดับ ลวดลายลงตามฐานานุศักดิ์ของอาคาร
ทับเกษตร/ ทิม “ทับเกษตร” และ “ทิม” ออกแบบโดยนาย ณรงค์ฤทธิ์ ทองแสง สถาปนิกปฏิบัติการ สำานัก สถาปัตยกรรม กรมศิลปากร ทับเกษตร มี 4 หลัง เป็นอาคารทีส่ ร้างอยูท่ มี่ มุ ทัง้ สีข่ องพืน้ ที่ เพือ่ กำาหนด ขอบเขตของมณฑลพิธี การออกแบบทับเกษตรครั้ง นี้ เป็นอาคารเครื่องยอดชั้นบรรพแถลง 3 ชั้น อิงรูป แบบการประดับตกแต่งจากพระเมรุมาศ ออกปีกทัง้ สองข้างอาคารหลังคาจัว่ ภควัม เชือ่ มต่อกับรัว้ ราชวัติ และทิม ใช้เป็นที่สำาหรับข้าราชการที่มาในพระราช พิธีพัก และฟังสวดพระอภิธรรม