ทิ ม มี 8 หลั ง เป็ น อาคารที่ พั ก ของพระสงฆ์ แพทย์ ห ลวง เจ้าพนักงาน และเป็นที่ประโคมปี่พาทย์ประกอบพิธี สร้างติดแนวรั้ว ราชวัติทั้ง 4 ด้าน ลักษณะเป็นสิ่งปลูกสร้างด้านหน้าโล่ง ด้านข้าง และ ด้านหลังออกแบบให้มผี นังสูง หรือพนักตามความเหมาะสมในการใช้งาน
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 ซึง่ เป็นคติธรรมเรือ่ ง ไตรลักษณ์ในพระพุทธศาสนา
1.2 อาคารประกอบพระเมรุมาศ นอกมณฑลพิธี
“พลับพล�หน้�พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปร�ส�ท” สำาหรับเจ้านาย ฝ่ายในประทับ ทอดพระเนตรริ้วขบวน และถวายบังคมพระบรมศพ ออกแบบโดยนายปฏิบตั ิ ทุย่ อ้น สถาปนิกชำานาญการ สำานักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร เนือ่ งจากครัง้ นีเ้ ป็นพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพ ของพระมหากษัตริย์ การออกแบบจึงมีความพิเศษ เป็นหลังคาจัว่ ตรีมขุ จัว่ ประธาน และจัว่ ซ้ายขวา ลวดลายเป็นลักษณะเดียวกัน คือลายหม้อดอก (ปูรณฆะตะ) กับลายหงส์ ต่างกันที่เทคนิคการทำา คือจั่วประธานจะ เป็นลายยา หรือลายแบบลงยา ส่วนจั่วซ้ายขวาจะเป็นเทคนิคการฉลุ ผ้าทองย่นสาบสี ลวดลายที่ใช้ประดับตกแต่งทั้งหมดของอาคารหลังนี้ ทั้งลวดลายทางสถาปัตยกรรม และลวดลายศิลปกรรม จะเน้นเป็นลาย พันธุพ์ ฤกษา เพือ่ แสดงถึงความเป็นผูห้ ญิง ส่วนสีจะเน้นความกลมกลืน กับอาคารประกอบพระเมรุมาศ ใช้สีขาว เทา ทอง เป็นหลัก
พลับพล�ยก “พลับพล�ยก” หรือ “พลับพล�อ�ค�รทรงโถง” ใช้สำาหรับ พระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จฯ ประทับเพื่อรอรับส่ง พระบรมศพในริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศ ประกอบด้วย “พลับพลา ยกหน้าวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม” เป็นอาคารสำาหรับสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั และพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จฯ ประทับระหว่างพระราชพิธี อัญเชิญพระบรมโกศลงจากพระยานมาศสามลำาคาน และอัญเชิญขึ้น ประดิษฐานบนพระมหาพิชัยราชรถ ก่อนสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ สดับปกรณ์ ถือเป็นจุดประทับแรกที่มีความสำาคัญ ออกแบบโดยนาย สัญชัย ลุงรุ่ง สถาปนิกปฏิบัติการ และนายพงศ์พิพัฒน์ ศรีวราลักษณ์ สถาปนิกชำานาญการ สำานักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร การออกแบบเป็นอาคารตรีมุขโถงโล่ง ไม่มีผนัง ที่ประดับยกสูง ปีกด้านข้างซ้าย ขวา หลังคาทรงปะรำา ปีกอาคารปะรำาด้านขวาใช้เป็นที่ สำาหรับประดิษฐานเครือ่ งประกอบพระราชอิสริยยศของในหลวง รัชกาล ที่ 9 ด้านซ้ายเป็นที่ประทับของพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชบริพาร หน้าบันทั้ง 3 ด้าน เป็นลายเทพนม จั่วประธานมีกรอบซุ้มเรือนแก้ว หน้าบันเป็นลายเทพนม จั่วด้านข้างซ้ายขวา ข้างเทพนม ประดับพาน พุ่ม แสดงถึงทวยเทพเฝ้ารับเสด็จ สีอาคารใช้โทนสีขาวทอง ลวดลาย ศิลปกรรมผ้าทองย่น เป็นลายดอกบัว แสดงถึงการถวายความเคารพ ด้วยดอกบัว เปรียบเสมือนในหลวง รัชกาลที่ 9 เป็นพระโพธิสัตว์ ความพิ เ ศษอี ก อย่ า งหนึ่ ง ของพลั บ พลายกหน้ า วั ด พระเชตุ พ น วิมลมังคลารามในครัง้ นี้ มีการสร้างห้องสรง 2 ห้อง เป็นอาคารแยกหลังคา ทรงปะรำา สำาหรับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ “พลับพล�ยกท้องสน�มหลวง” ด้านหน้าทางเข้ามณฑลพิธี ออกแบบโดยนายนฤพร เสาวนิตย์ สถาปนิกปฏิบตั กิ าร สำานักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร ออกแบบให้มีขนาด และสัดส่วนใหญ่กว่าพลับพลายก ในพระราชพิธีครั้งก่อนๆ เพื่อให้สอดคล้องกับสัดส่วน และขนาดของ พระเมรุมาศ และตามฐานานุศักดิ์แห่งการถวายพระเพลิงพระบรมศพ ของพระมหากษัตริย์ แนวคิดในการออกแบบจะยึดตามหลักโบราณราชประเพณี เป็น อาคารโถงทรงตรีมุข มุขด้านหน้าเพิ่มมุขประเจิด องค์ประกอบทาง สถาปัตยกรรมต่างๆ ออกแบบโดยแฝงความหมายให้เป็นที่ประทับของ เทพ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นสมมติเทพ พร้อมพระบรมวงศานุวงศ์ คือ เครื่องลำายองรวยระกาทรงวิมาน ซึ่งแปลงมาจากรูปวิมานเทวดาใน จิตรกรรม หน้าบันมุขประเจิดประดับลายซ้อนไม้ ทำาเป็นรูปเทวดาถือ ช่อกระหนก เหนือเศียรเป็นลายหน้ากาล ส่วนปีกด้านข้างซ้าย ขวา หลังคาทรงปะรำา ปีกอาคารปะรำาด้านข้างขวา ใช้เป็นทีส่ าำ หรับประดิษฐาน เครือ่ งประกอบพระราชอิสริยยศของในหลวง รัชกาลที่ 9 ส่วนด้านซ้าย เป็นที่ประทับของพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชบริพาร หน้าบันด้านซ้าย และขวา ประดับลายซ้อนไม้ เขียนพระคาถา เรียกว่า คาถาขอขมาพระสงฆ์ เป็นปัจฉิมคาถา ก่อนเสด็จสวรรคตของ
พลับพล�ยกพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปร�ส�ท
02 ประติมากรรม ประติมากรรมประดับพระเมรุมาศ รัชกาลที่ 9 นอกจากจะยึดตาม โบราณราชประเพณี หลักไตรภูมิตามคัมภีร์พระพุทธศาสนา ตลอดจน ความเชือ่ ตามศาสนาพราหมณ์แล้ว ยังมีความโดดเด่นกว่าทุกพระเมรุที่ ผ่านมา ตรงที่ประติมากรรม โดยเฉพาะเทวดา จะปั้นตามแบบศิลปะ รัชกาลที่ 9 คือคล้ายคลึงมนุษย์ มีกล้ามเนื้อ แววตาเหมือนจริง แต่ ตั ด ทอนรายละเอี ย ดของความเป็ น มนุ ษ ย์ ใ นบางส่ ว น เพื่ อ ให้ เ ข้ า สู่ ความเป็นอุดมคติตามหลักเทวนิยม โดยศึกษาต้นแบบมาจากงานของ พระเทวาภินิมมิต (ฉาย เทียมศิลป์ชัย) ศิลปินเอกในรัชกาลที่ 5-7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สมเด็จกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ผู้ได้รับการ ขนานนามว่า “นายช่างใหญ่แห่งกรุงสยาม” และพระพรหมพิจติ ร บรมครู ทางด้านศิลป สถาปัตยกรรมไทย
1. ประติม�กรรมนูนตำ่�พระโพธิสัตว์ ความสูงประมาณ 1 ฟุต ปรากฏอยู่บนบรรพ แถลงบนชั้นเชิงกลอนชั้นที่ 7 บริเวณปากองค์ระฆัง 2. เทวด�ยืนรอบพระเมรุม�ศ เป็นเทวดาเชิญฉัตร ประดับรอบชัน้ ที่ 3 บริเวณ บันไดนาคทั้ง 4 ด้าน ด้านละ 1 คู่ รวม 8 องค์ รับผิดชอบโดยนายภราดร เชิดชู ประติมากรชำานาญ การพิเศษ สือ่ ความหมายว่าเทวดามารับเสด็จในวาระ ที่เสด็จกลับสู่ทิพยสถาน 3. เทวด�นั่งรอบพระเมรุ เป็นเทวดาเชิญพุ่มโลหะ และเชิญบังแทรกนั่ง รอบพระเมรุ 32 องค์ จำาแนกเป็น เทวดานั่งคุกเข่า เชิญพุ่มโลหะ 8 องค์ และเทวดานั่งคุกเข่าเชิญ บังแทรก 24 องค์ ต้นแบบดินเหนียวปั้นโดยนาย ภราดร เชิดชู ประติมากรชำานาญการพิเศษ สำาหรับ เทวดานัง่ คุกเข่าเชิญพุม่ โลหะประดับอยูช่ นั้ ที่ 3 ส่วน เทวดานัง่ คุกเข่าเชิญบังแทรก ประดับอยูช่ นั้ ที่ 1 และ ชั้นที่ 2 ในบริเวณมุมพระเมรุมาศ และบันไดทาง ขึ้น โดยเทวดานั่งคุกเข่าเชิญบังแทรกในชั้นชาลาที่ 1 สวมมงกุฎยอดนำ้าเต้า ตาเหลือบลง ส่วนชั้นชาลา ที่ 2 เทวดาสวมมงกุฎยอดชัย ตามองตรง
Royal Funeral Pyre - 028
ความพิเศษของประติมากรรมในครั้งนี้ จะมี ขนาดใหญ่มากขึน้ และจำานวนชิน้ มากกว่าทุกพระเมรุ ที่ผ่านมา โดยมีมากถึง 606 ชิ้น ส่วนใหญ่หล่อ ไฟเบอร์กลาส และบางส่วนเป็นปูนปลาสเตอร์ โดย นั บ ตั้ ง แต่ ชั้ น ชาลาที่ 3 ลงไป จะประดั บ ด้ ว ย ประติมากรรม ท้าวจตุโลกบาล เทวดา ครุฑ ราชสีห์ คชสีห์ นาคราวบันได ตลอดจนสัตว์ประจำาทิศ รอบ ฐานพระเมรุมาศมีสระนำา้ และเขามอจำาลอง ประดับ สัตว์หิมพานต์ต่างๆ โดยการปั้นประติมากรรมท้าว จตุโลกบาลในครัง้ นี้ ถือเป็นครัง้ แรกซึง่ ไม่เคยปรากฏ ในงานพระเมรุมาก่อน ซึ่งประติมากรในครั้งนี้ ส่วน ใหญ่เป็นข้าราชการในกลุม่ ประติมากรรม สำานักช่าง สิบหมู่ กรมศิลปากร สำาหรับประติมากรรมปั้นลวดลาย และหล่อ ส่วนประกอบประดับตกแต่งพระเมรุมาศหลักๆ มี 15 ประเภท ได้แก่
เทวดาประดับรอบพระเมรุมาศ โดยมีทั้งเทวดานั่งและเทวดายืน ในส่วนของเทวดานั่ง ประกอบด้วย เทวดานั่งคุกเข่าเชิญพุ่มโลหะและ เชิญบังแทรก ซึ่งเทวดานั่งคุกเข่า เชิญพุ่มโลหะ ประดับชั้นที่ 3 ส่วน เทวดานั่งคุกเข่าเชิญบังแทรก ประดับอยู่ชั้นที่ 1 และ 2 บริเวณ มุมพระเมรุมาศและบันไดทางขึ้น
4. ครุฑยืนรอบพระเมรุม�ศ ความสูง 2 เมตร ประดับอยูบ่ นชัน้ ที่ 2 บริเวณ สะพานเกรินทางทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวันออก อย่างละ 1 คู่ รวม 6 องค์ โดยนายพิทักษ์ เฉลิมเล่า ประติมากรชำานาญการ เป็นผู้ปั้นต้นแบบ ครุฑยืน ทั้ง 2 องค์ แตกต่างตรงที่องค์หนึ่งมีรูปกายเป็นครึ่ง มนุษย์ครึง่ นกอินทรี ขาเป็นมนุษย์ หางเป็นพญานาค ปีกนกลู่ลง บริเวณลำาคอประดับสังวาลนาค มือถือ ดอกบัวถวายแด่ในหลวง รัชกาลที่ 9 แนวคิดในการ ปั้น มีความเป็นไทยร่วมสมัย เพราะต้องการสื่อถึง อิทธิบาท 4 และพละ 5 ของในหลวง รัชกาลที่ 9 ซึ่งประชาชนสามารถน้อมนำาหลักธรรมดังกล่าวไป ใช้ในการดำาเนินชีวิต ส่วนอีกองค์ รูปกายเป็นครึ่ง มนุษย์ครึ่งนกอินทรี แต่ขาเป็นนก ช่วงแขนลู่ลงเพื่อ แสดงถึงความเคารพ และรับเสด็จในหลวง รัชกาล ที่ 9 สู่สรวงสวรรค์ ปีกสยายประดับลวดลายเครื่อง ทรงของพญานาค สื่อถึงความเชื่อมโยงโลกสวรรค์ โลกมนุษย์ และโลกบาดาล ลวดลายร่วมสมัยที่ผสม ผสานลายไทย และศิลปะสมัยใหม่
5. ท้�วจตุโลกบ�ลทั้งสี่ ประกอบด้วย ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวธตรฐ ท้าว วิรปู กั ษ์ และท้าววิรฬุ หก ความสูง 2 เมตร อยูช่ นั้ ที่ 2 ประจำาทิศทั้งสี่ของพระเมรุมาศ โดยท้าวจตุโลกบาล สื่อความหมายเทวดาที่รักษาทุกข์สุขของมนุษย์โลก ไว้ทั้ง 4 ทิศ และทำาหน้าที่ป้องกันอันตรายที่จะเกิด แก่มนุษย์โลก “ท้�วเวสสุวรรณ” เป็นเจ้าแห่งยักษ์ประจำาทิศ เหนือ รับผิดชอบงานปั้นโดยนายอัษฎายุธ อยู่เย็น ประติมากรปฏิบตั กิ าร ท้าวเวสสุวรรณทำาหน้าทีป่ กปักษ์ ดูแลทรัพย์ของโลกมนุษย์ แววตาดุดัน ทรงอำานาจ ประติ ม ากรศึ ก ษาจากพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ พระนคร โดยนำาเอาศิลปะสมัยลพบุรีมาประยุกต์ให้ เข้ากับศิลปะร่วมสมัยของรัชกาลที่ 9 “ท้�วธตรฐ” ประติมากรคือนายภคคีตา แก้ว กัญญา นายช่างศิลปกรรมปฏิบัติงาน ท้าวธตรฐ เป็นผู้ปกครองประจำาทิศตะวันออก ปกครองเหล่า คนธรรพ์ วิทยาธร และนางไม้นางอัปสร ประติมากร ตัง้ ใจปัน้ ให้สงู สง่า ใบหน้างดงาม แย้มยิม้ อย่างคนทีม่ ี
เจ้าหน้าที่นําประติมากรรมนาค 1 เศียร นาค 3 เศียร นาค 5 เศียร และนาค 7 เศียร มาติดตั้งบริเวณ ราวบันไดนาค ประดับพระเมรุมาศ ซึ่งยิ่งใหญ่ที่สุดนับแต่มีการสร้าง ราวบันไดนาคพระเมรุมาศ
Royal Funeral Pyre - 030
ดนตรีในหัวใจ ลักษณะเด่นคือ มือซ้ายทรงพิณ เชือ่ ม โยงถึงในหลวง รัชกาลที่ 9 ทีท่ รงเป็นนักดนตรี ด้าม พิณเป็นเศียรช้าง เพื่อให้เข้ากับงานไทย เครื่องทรง ลายดอกไม้ได้แนวคิดมาจากศิลปินที่นิยมนำาลูกปัด มาร้อย แต่ปรับให้เป็นดอกไม้ ถือเป็นประติมากรรม เพียงชิ้นเดียวในงานพระเมรุมาศครั้งนี้ ที่มีเครื่อง ทรงลายดอกไม้ “ท้�ววิรูปักษ์” ผู้ปกครองประจำาทิศตะวันตก ประติมากรโดยนายมงคล ฤาชัยราม ประติมากร ปฏิบตั กิ าร เนือ่ งจากท้าววิรปู กั ษ์เป็นเจ้าแห่งพญานาค มีฝงู นาคเป็นบริวาร ประติมากรจึงใส่เรือ่ งราวพญานาค ในงานปัน้ ลวดลายคล้ายหนังปลากระเบนสือ่ แทนนำา้ มือขวาอยู่ในท่าประทานพร ท่าทางการเคลื่อนไหว เหมือนกับพระพิรุณที่พระราชวังพญาไท สวมมงกุฎ ที่มียอดนาคสามเศียร มีหนวด ประทับยืนบนแท่น ฐานที่ประดับลายพญานาค “ท้�ววิรุฬหก” ผู้ปกครองประจำาทิศใต้ มีอสูร เป็นบริวาร ปั้นโดยนายจุมพลภัทร์ มั่นเกษวิทย์ ประติมากรปฏิบัติการ ท้าววิรุฬหกมีรูปร่างสูงสง่า น่าเกรงขาม ลักษณะเด่นมีงูเลื้อยพันมือซ้าย ฝ่ามือ จับคองู ส่วนมือขวาทรงทวน 6. เทพนม
ท้�วเวสสุวรรณ (ล่�ง) 1 ใน 4 ท้าวจตุโลกบาล แววตาดุดัน ทรงอํานาจ เป็นเจ้าแห่งยักษ์ประจําทิศ เหนือ ทําหน้าที่ปกปักษ์ดูแลทรัพย์สิน ของโลกมนุษย์
ประดับรอบท้องไม้พระเมรุมาศองค์ประธาน สร้างโดยศูนย์ศลิ ปาชีพ เกาะเกิด จ.พระนครศรีอยุธยา และศูนย์ศลิ ปาชีพสีบวั ทอง จ.อ่างทอง ออกแบบ และ ควบคุมการสร้างโดยนายสุดสาคร ชายเสม ทีป่ รึกษา คณะกรรมการฝ่ายจัดสร้างพระเมรุมาศ ประกอบ ด้วย “เทพนมนัง่ ส้น” จำานวน 28 องค์ และ “เทพนม แกะไม้กลีบลายพระโกศ” จำานวน 56 องค์ และ ขนาดใหญ่ จำานวน 24 องค์ 7. ครุฑยุดน�ค ประดับรอบท้องไม้พระเมรุมาศองค์ประธาน จำานวน 28 องค์ จัดสร้างโดยศูนย์ศิลปาชีพ เกาะ เกิด จ.พระนครศรีอยุธยา และศูนย์ศิลปาชีพสีบัว ทอง จ.อ่างทอง ออกแบบ และควบคุมการสร้างโดย นายสุดสาคร ชายเสม ที่ปรึกษาคณะกรรมการฝ่าย จัดสร้างพระเมรุมาศ 8. เทพชุมนุม รอบฐ�นท้องไม้พระเมรุม�ศชั้นล่�ง จั ด สร้ า งโดยศู น ย์ ศิ ล ปาชี พ เกาะเกิ ด จ.พระนครศรีอยุธยา และศูนย์ศิลปาชีพสีบัวทอง จ.อ่างทอง ออกแบบ และควบคุมการสร้างโดยนาย สุดสาคร ชายเสม ที่ปรึกษาคณะกรรมการฝ่ายจัด สร้างพระเมรุมาศ ประกอบด้วย
“เทพชุมนุมฐานไพทีนั่งราบ” 24 แบบ จำานวน 132 องค์ แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1.ครุฑพนมนั่ง ราบยอดนำา้ เต้า 16 องค์ 2.เทวดาพนมนัง่ ราบ 32 องค์ ประกอบด้วย พระประโคนธรรพตาพระพุทธรูปยอด ลำาโพงห่มหนังเสือ พระปัญจสิงขรยอดนำา้ เต้าห้ายอด หน้ามนุษย์ ธตรฐยอดบัด (เดินหน) วิรปู กั ษ์ยอดนาค วิรุฬหกหน้ามนุษย์ ยอดหางไก่ และเทวดายอดชัย 3. พานรพนมนัง่ ราบ 20 องค์ ประกอบด้วย หนุมาน ทรงเครือ่ งอินทรชิต พาลีไม่ใส่เสือ้ ชมพูวราชยอดชัย องคตยอดสามกลีบ สุครีพยอดบัด และ ประเภทที่ 4. ยักษ์พนมนั่งราบ จำานวน 64 องค์ ประกอบด้วย สวัสดีมาร ทศกัณฑ์ จักรวรรดิ สวมมงกุฎหางไก่ เวสสุวรรณ สวมมงกุฎยอดนำา้ เต้าเหลีย่ ม มังกรกัณฐ์ สวมมงกุฎยอดนาค อินทราชิต สวมชฎากาบไผ่ เดินหน ทศคิรีวันหน้าแบบอินทรชิต ใส่งวงช้าง ยอดเดินหน ทศคิรีธรหน้าแบบอินทรชิตยอดช้าง ตาจระเข้ สัทธาสูร ยอดจีบ และทัพนาสูรยอด สามกลีบ ทัง้ นีร้ ปู แบบการปัน้ ส่วนใหญ่ศกึ ษาจากงาน ประติมากรรมประดับวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และพระมณฑปวัดพระศรีรัตนศาสดารามที่มียักษ์ ประดับบริเวณบันได ส่วนบรรดาหัวโขน เป็นศิลปะ รัตนโกสินทร์ ส่วนเครื่องทรงต่างๆ ออกแบบเป็น ศิลปะต่างๆ เช่น ศิลปะอยุธยา โดยเลือกเครื่องยอด ที่เป็นทรงสูง มีเครื่องยอดสง่างาม ถือเป็นการรวม เหล่าทวยเทพที่มีความหลากหลายที่สุดที่เคยมีมา สื่อถึงเหล่าองค์เทพต่างๆ ได้มาเฝ้ารอรับเสด็จกลับ สู่สรวงสวรรค์ 9. ร�วบันไดน�ค 1 เศียร น�ค 3 เศียร น�ค 5 เศียร และน�ค 7 เศียร จั ด สร้ า งโดยศู น ย์ ศิ ล ปาชี พ เกาะเกิ ด จ.พระนครศรีอยุธยา และศูนย์ศิลปาชีพสีบัวทอง จ.อ่างทอง ออกแบบ และควบคุมการสร้างโดยนาย สุดสาคร ชายเสม โดยบันไดนาคชั้นที่ 1 นาคเศียรเดียว รูปแบบ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ได้ต้นแบบจากเรือพระที่นั่ง อนันตนาคราช บันไดนาคชั้นที่ 2 “เหราพต” เป็น นาค 3 เศียร อ้างอิงจากประติมากรรมนาค พบที่ เตาวัดมะปรางค์ จ.สิงห์บรุ ี รูปแบบศิลปะสมัยสุโขทัย จำานวน 8 ตัว บันไดนาคชั้นที่ 3 นาคทรงเครื่อง 5 เศียร พญาวาสุกรีนาคราช เป็นนาคสวมมงกุฎ ยอดชัย ต้นแบบจากราวบันไดนาควัดพระพุทธบาท จ.สระบุรี ศิลปะสมัยอยุธยา จำานวน 8 ตัว บันได นาคชั้นที่ 4 ชั้นพระเมรุมาศองค์ประธาน เป็นชั้นที่ สำาคัญที่สุด เป็นนาคนิรมิตพญาอนันตนาคราช มี 7 เศียร ต้นแบบจากปราสาทพระเทพบิดร ศิลปะสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่ละเศียรมีหน้าเป็นเทวดา ตามคัมภีร์พระนารายณ์บรรทมสินธุ์บนแท่นพญา อนันตนาคราช และชั้นสำาซ่าง เป็นนาคเศียรเดียว
Royal Funeral Pyre - 034
จำานวน 8 ตัว ออกแบบนาคโดยยึดปรัชญาธรรม ตัวพญานาคได้ถูกมกรกลืนกินเข้าไป เปรียบชีวิตที่ ถูกเวลากลืนกินทุกขณะ การสร้างราวบันไดนาคประดับพระเมรุมาศ ครั้งนี้ยิ่งใหญ่ที่สุดนับแต่มีการสร้างราวบันไดนาค พระเมรุมาศ และยังเป็นครัง้ แรกทีม่ กี ารประดับเลือ่ ม เป็นพลาสติกสังเคราะห์เคลือบสีสันต่างๆ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 แผนกวิจติ รศิลป์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา กรุงเทพฯ และนาย นครินทร์ ศรีเมฆ จิตอาสา โดยต้นแบบราชสีห์ของ นายนพรัตน์ มีลกั ษณะพิเศษตรงทีม่ อี ณ ั ฑะข้างเดียว และลิ้นดำา เชื่อกันว่าเป็นสิริมงคล และอายุยืน
10. คชสีห์-ร�ชสีห์
ประกอบด้วยช้าง 1 คู่ ม้า 1 คู่ โค 1 คู่ และสิงห์ 1 คู่ ประดับทางขึ้นบันไดชั้นที่ 1 ยึดตามความเชื่อ เรือ่ งไตรภูมติ ามคติศาสนาพุทธ ในเรือ่ งเขาพระสุเมรุ ป่าหิมพานต์ และสระอโนดาต โดยเชื่อกันว่ามีหิน ก้อนหนึง่ ทีเ่ ป็นแหล่งกำาเนิดแม่นาำ้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ หินก้อน นั้นมี 4 ด้าน แต่ละด้านประกอบด้วย หัวช้าง หัวม้า หัวโค และหัวสิงห์ ซึ่งมีนำ้าพ่นออกมา เกิดเป็นปัญจ มหานที หรือแม่นำ้าศักดิ์สิทธิ์ 5 สาย หล่อเลี้ยงชมพู ทวีป (โลกมนุษย์) ได้แก่ แม่นำ้าคงคา แม่นำ้ายมุนา แม่นำ้ามหิ แม่นำ้าอจิรวดี และแม่นำ้าสรภู “ช้าง” ปัน้ โดยนายอัษฎายุธ อยูเ่ ย็น ประติมากร ปฏิบัติการ สื่อถึงความสุข ความอุดมสมบูรณ์ของ
ประดับบันไดทางขึน้ ในชัน้ ที่ 2 ทัง้ 4 ทิศ รวม 8 องค์ คชสีห์เป็นสัตว์หิมพานต์ ลำาตัวเป็นราชสีห์ หัว เป็นช้าง เรียกว่าครึ่งช้างครึ่งราชสีห์ คชสีห์เป็นตรา สัญลักษณ์ของกระทรวงกลาโหม แทนถึงเสนาบดี ฝ่ายกลาโหม ส่วนราชสีห์ เป็นตราสัญลักษณ์ของ กระทรวงมหาดไทย แทนถึงเสนาบดีฝ่ายมหาดไทย “คชสีห”์ ปัน้ โดยนายอนุเทพ พจน์ประศาสตร์ จิตอาสา ส่วน “ราชสีห”์ มี 2 ต้นแบบ ต้นแบบแรกปัน้ โดยนาย นพรัตน์ บุญมี นายช่างศิลปกรรมชำานาญงาน และ ต้นแบบที่ 2 ปัน้ โดยนายวายุพดั รัตนเพชร นักเรียน
11. สัตว์มงคลประจำ�ทิศ
พื ช พั น ธุ์ ธั ญ ญาหาร อั น เนื่ อ งมาจากพระมหา กรุณาธิคุณของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่ทรงดำาเนิน โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำาริมากมาย จนนำา ความอุดมสมบูรณ์มาสู่ประเทศชาติ “ม้า” ปั้นโดย นายนพรัตน์ บุญมี นายช่างศิลปกรรมชำานาญงาน ลักษณะเด่นเป็นม้ามงคล มีอณ ั ฑะทองแดงข้างเดียว มีความเฉลียวฉลาด ขนตัง้ พอง ยกขาหน้าขึน้ ข้างหนึง่ เพื่อแสดงความเคารพในหลวง รัชกาลที่ 9 12. สัตว์หิมพ�นต์ “สัตว์หมิ พ�นต์” สัตว์ทปี่ ระดับตกแต่งรายรอบ พระเมรุมาศตามคติเรื่องโลก และจักรวาล ซึ่งมีเขา พระสุเมรุเป็นศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วยเขาสัตบริภณ ั ฑ์ และดาษดื่นด้วยสิงสาราสัตว์นานาพันธุ์ โดยสัตว์ หิมพานต์ประดับพระเมรุมาศ ประกอบด้วย ช้าง 10 ตระกูล สิงห์ 4 ตระกูล ม้า 4 ตระกูล และ โค 8 ตระกูล และสัตว์ผสม เกือบ 200 ชิ้น ใน สระอโนดาต ในพระเมรุมาศ รัชกาลที่ 9 ประกอบด้วย ช้าง
ตระกูลพรหมพงศ์ (ตระกูลช้างทีก่ าำ เนิดจากเทวฤทธิ์ ของพระพรหม) จำานวน 10 หมู่ ได้แก่ ฉัททันต์ อุโบสถ เหมหัตถี มงคลหัตถี คันธหัตถี ปิงคัล ดามพหัตถี ปั ณ ฑรนาเคนทร์ คั ง ไคย กาฬวกะหั ต ถี และ สัตว์ผสมอีก 4 กลุ่ม ประกอบด้วยกรินทร์ปักษา (ช้างผสมนก) วารีกุญชร-กุญชรวารี (ช้างผสม ปลา) สิงหกุญชร (ช้างผสมสิงห์) และพญานาค หัวช้าง (ช้างผสมพญานาค) ซึง่ เป็นสัตว์ผสมทีค่ ดิ ขึน้ ใหม่ ช้างแต่ละเชือกอยู่ในท่านอน ลุก นั่งไม่ซำ้ากัน ความโดดเด่นคือการออกแบบให้เป็นศิลปะ ร่วมสมัยประจำารัชกาลที่ 9 โดยนำาลักษณะของ “งาอ้อมจักรวาล” ของพระเศวตอดุลยเดชพาหนซึ่ง เป็นช้างเผือกประจำารัชกาลที่ 9 มาใส่ในหมวดของ “อุโบสถ” ช้างทัง้ 30 เชือก ทำาจากไฟเบอร์กลาส รับ ผิดชอบงานปั้นโดย วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ส่วนสัตว์หิมพานต์ที่เป็นสิงห์ ม้า และโค มี จำานวนรวมกว่า 150 ชิ้น ในสระอโนดาตทิศตะวัน ออก ตะวันตก และทิศใต้ ตามลำาดับนั้น รับผิด ชอบโดยคณะช่างปั้นปูนสด จ.เพชรบุรี นำาโดยนาย สมชาย บุญประเสริฐ ช่างปั้นจังหวัดเพชรบุรี โดย สิงห์ 4 ตระกูล ได้แก่ ไกรสรราชสีห์ บันฑุราชสีห์ ติณสีหะ และกาฬสีหะ ส่วนม้า 4 ตระกูล ประกอบ ด้วย วลาหก อัสสาชาไนย สินธพ และอัศดร และ
โค 8 ตระกูล ได้แก่ โคอุสุภราช โคกระบิน โคหา โคหงส์ โคสีเมฆ โคสีทองแดง โคมีลายดุจเกล็ดปลา โคสีดังเสี้ยนโตนด นอกจากนี้ มีสตั ว์หมิ พานต์ทเี่ ป็นสัตว์ผสมเพิม่ อีก 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มกินรี กินนร นรสิงห์, กลุ่ม หงส์, กลุ่มนกทัณฑิมา หัสดีลิงค์ วายุภักดิ์ การวิก และกลุ่มนาค นาคปักษิณ สุบรรณเหรา เหราพต ตลอดจนมีลิง สิงหพานร พานร มฤค มัจฉานุ สาง แปลง นกยูง นรเหรา ปลานิล ปลาในวรรณคดี ทั้งหมดปั้นปูนปลาสเตอร์ 13. ครุฑประดับหัวเส� จำ า นวน 12 ชิ้ น มี ความพิ เ ศษกว่ า ทุ กพระ เมรุที่ผ่านมา ที่โคมไฟเป็นหงส์ แต่ครั้งนี้เป็นครุฑ เพราะต้องการสื่อว่าในหลวง รัชกาลที่ 9 คือพระ นารายณ์อวตารลงมา และมีครุฑเป็นพาหนะ โดย นายสมชาย ศุภลักษณ์อำาไพพร นายช่างศิลปกรรม อาวุโส ออกแบบลายเส้นครุฑยุดนาค โดยศึกษา ค้นคว้าข้อมูลงานประติมากรรมสมัยโบราณ โดยครุฑหัวเสามี 2 ขนาด ความสูง 1.75 เมตร จำานวน 4 ชิ้น ประดับอยู่ชั้นที่ 3 และขนาด 1.5 เมตร จำานวน 8 ชิ้น ประดับอยู่ชั้นที่ 2 และ บางส่วนทีพ่ ระทีน่ งั่ ทรงธรรม ครุฑอยูใ่ นอิรยิ าบถกาง
แขน มือทั้งสองข้างจับนาค โดยครุฑความสูง 1.75 เมตร ปั้นโดยนายภราดร เชิดชู ประติมากรชำานาญ การพิเศษ และขนาด 1.5 เมตร ปั้นโดยนายภคคีตา แก้วกัญญา นายช่างศิลปกรรมปฏิบัติงาน 14. คุณทองแดง-คุณโจโฉค�บไปป์ สุนัขทรงเลี้ยงในรัชกาลที่ 9 คุณทองแดง และ คุณโจโฉ อยู่ในอิริยาบถนั่งขนาบด้านซ้าย และด้าน ขวาของพระจิตกาธาน “คุณทองแดง” เป็นสุนัขเพศ เมีย พันธุ์ไทย งานประติมากรรมจึงมีลักษณะเชิง สัญลักษณ์ หรืออุดมคติ มีลักษณะนุ่มนวล เพื่อสื่อ ถึงความเป็นไทย ขณะที่ “คุณโจโฉ” เป็นสุนัขเพศ ผู้ พันธุ์เทศ งานประติมากรรมจึงมีลักษณะของ ศิลปะตะวันตก มีความเป็นธรรมชาติ ตรงไปตรงมา คุณโจโฉมีลกั ษณะเด่นตรงทีค่ าบไปป์ ทัง้ คุณทองแดง และคุณโจโฉ ปั้นโดยนายชิน ประสงค์ ข้าราชการ บำานาญ อดีตผู้อำานวยการส่วนประติมากรรม
คุณทองแดง (ขว�) - คุณโจโฉค�บไปป์ (ซ้�ย) สุนัขทรงเลี้ยงในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ประดับอยู่ด้านข้างของพระจิตกาธานภายใน พระเมรุมาศองค์ประธาน
ต้นแบบปูนปลาสเตอร์คุณทองแดง และต้นแบบดินเหนียวคุณโจโฉ สุนัข ทรงเลี้ยงในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ประดับอยู่ด้านข้าง ของพระจิตกาธานภายในพระเมรุมาศ องค์ประธาน ปั้นโดยนายชิน ประสงค์