จุก 2 ชั้น แต่ละชั้นมีดอกไม้ทิศ และบนสุดเป็นปลี ยอด ส่วนปากพระโกศจันทน์ ประดับด้วยเฟื่องอุบะ และพู่ไม้จันทน์ ห้อยสลับกันไปรอบ หีบพระบรมศพจันทน์
07 พระบรมโกศ พระโกศจันทน์ Royal Funeral Pyre - 052
“พระโกศจันทน์” ออกแบบ และจัดสร้างโดย นายสมชาย ศุภลักษณ์อำาไพพร นายช่างศิลปกรรม อาวุโส สำานักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร พระโกศ จันทน์ ประกอบด้วย ฝา ตัวพระโกศ และฐานพระ โกศ ตัวพระโกศจันทน์ สร้างขึ้นโดยล้อตามพระ โกศทองใหญ่ มีพระลองในอยู่ด้านใน ถือเป็นเครื่อง แสดงถึงพระเกียรติยศสูงสุด จะถูกใช้อัญเชิญพระ
โกศพระบรมศพประดิษฐานยังพระจิตกาธานภายใน พระเมรุมาศ การออกแบบยึดหลักคติความเชื่อว่า พระมหากษัตริยค์ อื เทพเจ้า หรือพระราม ทีอ่ วตารมา จากพระนารายณ์ โดยมีพาหนะคือครุฑ ลวดลายของ พระโกศจันทน์จงึ ออกแบบเป็นลายบัวกลีบขนุน จาก เดิมที่เป็นลายใบเทศ มีเทพนมอยู่ตรงกลาง ประดับ อยู่รอบพระโกศจันทน์แปดเหลี่ยม ยอดพระโกศ จันทน์ทำาเป็นยอดมงกุฎเตี้ย ล้อตามพระลองใน ฝาพระโกศจันทน์ ฉลุลายดอกไม้ไหวต่อก้าน ตรงมาลัยทองจะมีดอกไม้ทิศ แบ่งเป็น 8 ทิศ ถัด จากดอกไม้ทศิ ตามชัน้ ยอดเชิงบาตรปักด้วยดอกไม้ ไหว 3 ชั้น ลดขนาดไปเรื่อยๆ ถัดขึ้นไปเป็นเกี้ยวรัด
“หีบพระบรมศพจันทน์” หรือ “ฐ�นพระ โกศจันทน์” เป็นเครื่องเฉลิมพระเกียรติอย่างหนึ่ง สำาหรับงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ในหลวง รัชกาลที่ 9 ถูกออกแบบ และรังสรรค์อย่าง งดงามโดยนายสมชาย ศุภลักษณ์อำาไพพร นายช่าง ศิลปกรรมอาวุโส โดยหีบพระบรมศพจันทน์ จะ ประดิษฐานเหนือพระจิตกาธานในพระเมรุมาศ คูก่ บั พระโกศจันทน์ทจี่ ะประดิษฐานอยูเ่ หนือหีบพระบรม ศพจันทน์อีกชั้น ลวดลายบนหีบพระบรมศพจันทน์สื่อถึงความ เป็นไทย ได้แก่ ลายเครือเถา ลายหน้ากระดาน ลาย กระจัง ลายบัวถลา รวมถึง ลายเครือเถาครุฑ ที่สื่อ ถึงรัชกาลที่ 9 ประดับรอบหีบพระบรมศพจันทน์ จำานวน 132 องค์ ซึง่ ครุฑแต่ละองค์ประกอบด้วยชิน้ ส่วน 53 ชิน้ การประกอบองค์ครุฑ รวมทัง้ ลวดลาย ต่างๆ จะนำางานไม้ที่ฉลุแต่ละส่วนมาประกอบซ้อน กันเป็นชั้นๆ เพื่อให้เห็นลวดลายชัดเจน มีมิติ และ เกิดความงดงาม หีบพระบรมศพจันทน์ยังประกอบด้วยงานฉลุ ลายอื่นๆ อาทิ อุบะ ช่อไม้ไหว เฟื่อง รวมถึง พุ่มข้าว บิณฑ์ ประดิษฐานอยูเ่ หนือฝาหีบพระบรมศพจันทน์ พระโกศพระบรมอัฐ ิ / พระโกศทองคำ�ลงย� “พระโกศพระบรมอัฐิ” ในครั้งนี้ มีทั้งหมด 6 องค์ 4 แบบ ประกอบด้วย พระโกศทองคำาลงยา ประดับรัตนชาติทรงพระบรมอัฐเิ ก้าเหลีย่ ม หรือพระ โกศองค์หลัก สำาหรับประดิษฐาน ณ พระที่นั่งจักรี มหาปราสาท และพระโกศแปดเหลี่ยมอีก 5 องค์ สำาหรับทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั สมเด็จ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์
อัครราชกุมารี และทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราช กัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี โดยพระโกศพระบรมอั ฐิ สำ า หรั บ ทู ล เกล้ า ฯ ถวายสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 สถาบันสิริกิติ์ สวนจิตรลดา เป็นผู้รับ ผิดชอบจัดสร้าง ภายใต้การควบคุมของนายสมชาย ศุภลักษณ์อำาไพพร นายช่างศิลปกรรมอาวุโส ส่วน อีก 5 องค์ สำานักช่างสิบหมู่รับผิดชอบควบคุมทุก ขั้นตอน ออกแบบโดยนายช่าง 3 คน พระโกศพระบรมอั ฐิ อ งค์ ห ลั ก ของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่นำาไปประดิษฐาน ณ พระที่นั่งจักรี มหาปราสาท ออกแบบโดยนายอำาพล สัมมาวุฒ ธิ นักวิชาการช่างศิลป์เชี่ยวชาญ เป็นพระโกศเก้า เหลี่ยมตลอดองค์เป็นครั้งแรก เพื่อให้สอดรับกับ สถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ 9 ยอด มีแนวคิดสื่อ ถึงพระมหากรุณาธิคุณ และพระบรมราโชวาทของ พระองค์ หรือ 9 คำาสอนพ่อ โดยเฉพาะปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ทีพ่ ระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย ลักษณะโดยรวมของพระโกศองค์นี้ ประกอบ ด้วย 5 ส่วน ดังนี้ ส่วนฐาน ประกอบด้วยฐาน สิงห์ ถัดขึ้นไปเป็นหน้ากระดานล่าง ประดับด้วย ลายประจำายามก้ามปู เหนือขึ้นมาเป็นลายแข้งสิงห์ ประดับด้วยกาบแข้งสิงห์ ปากสิงห์ พื้นลายลงยาสี แดงทำาเป็นลายก้านขดใบเทศ 9 ด้าน เหนือลายแข้ง สิงห์เป็นลายบัวหลังสิงห์ เหนือจากฐานสิงห์ประกอบ ด้วยฐานบัวเชิงบาตรซ้อน 2 ชัน้ ถัดขึน้ มาเป็นลายบัว หงายรับหน้ากระดาน ส่วนฐานประกอบด้วยลายท้อง ไม้ ลายกลับบัวหงาย ลายเกสรบัว ประดับรัตนชาติ โดยลวดลายส่ ว นฐานตามแบบพระราชประเพณี แสดงโครงสร้างใช้สำาหรับตั้งสิ่งที่สำาคัญ ควรเคารพ และบ่งบอกฐานานุศักดิ์พระมหากษัตริย์ ส่วนองค์พระโกศเป็นลายกลีบบัวจงกลซ้อน ขึ้นไปหาปากพระโกศ จำานวน 4 ชั้น ตรงกลางเป็น พระปรมาภิไธยย่อ “ภปร” เมือ่ นำาไปประดิษฐานบน พระวิมานพระบรมอัฐิในพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท จะหันด้านนี้ออก โดยพระปรมาภิไธยย่อวางบน รัตนชาติ ส่วนฝาพระโกศทำาเป็นยอดทรงมงกุฎเกีย้ ว มาลัยทองเรียงลำาดับขึ้นไปตั้งแต่ชั้นที่ 1, 2, 3 และ 4 เรียกว่า “ทรงจอมแห” ส่วนยอดพระโกศสร้าง 2 แบบ ได้แก่ แบบพุ่มข้าวบิณฑ์ ทำาด้วยเงินบริสุทธิ์ ประดับเพชร และแบบสุวรรณฉัตร ฉัตร 9 ชั้น ทำา ด้วยทองคำาลงยาประดับเพชร สำาหรับเครื่องประดับ พระโกศ ทำาด้วยเงินประดับด้วยเพชร อย่างดอกไม้ เอว ดอกไม้ไหว หรือดอกไม้เพชร เฟื่องอุบะ และ ดอกไม้ทิศ มีขนาดลดหลั่นกันตามความเหมาะสม ยอดพระโกศสร้างเป็นพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร หรื อ ฉั ต ร 9 ชั้ น เป็ น ฉั ต รทองประดั บ ลวดลาย กรวยเชิง ประดับเพชรที่มีกระจังเข็มขัดล้อม ใช้ อั ญ เชิ ญ พระโกศพระบรมอั ฐิ จ ากพระเมรุ ม าศ เข้ า พระบรมมหาราชวั ง กระทั่ ง เก็ บ รั ก ษาไว้ บ น
พระวิมานพระบรมอัฐิ จะถอดเปลี่ยนเป็นพุ่มข้าวบิณฑ์ นอกจาก พระโกศทองคำาลงยาแล้ว ยังมีพระโกศศิลา และฐานไม้กลึงแกะสลัก ลงรักปิดทองสำาหรับรองรับยอดพระโกศเมื่อถอดผลัดเปลี่ยนในงาน ราชพิธี พระโกศทองคำาลงยาองค์นี้ ขนาดฐานกว้าง 20 เซนติเมตร วัดจาก ฐานถึงยอดพุ่มข้าวบิณฑ์ สูง 80 เซนติเมตร วัดจากฐานถึงยอดฉัตร สูง 99 เซนติเมตร รัตนชาติทใ่ี ช้ประดับพระโกศเป็นเพชรเจียระไนสีขาว มีขนาดเล็ก และใหญ่ตามความเหมาะสม รวม 5,368 เม็ด ส่วนยาสี ที่ใช้ตกแต่งพระโกศมี 3 สี ได้แก่ สีเหลือง สีประจำาวันพระราชสมภพ สีแดง สีแห่งความเข้มแข็ง การหลอมรวมดวงใจของคนในชาติ และสี เขียว สีความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ของประเทศ สำาหรับพระโกศทองคำาลงยาแปดเหลี่ยม ที่ออกแบบโดยนาย สมชาย ศุภลักษณ์อำาไพพร นายช่างศิลปกรรมอาวุโส จะมีขนาดเล็ก กว่าพระโกศลงยาที่เป็นพระโกศองค์หลัก โดยใช้แนวคิดเดียวกับการ ออกแบบพระโกศจันทน์ คือพระนารายณ์ทรงครุฑ โดยองค์พระโกศมีบวั กลีบขนุนหุ้มอยู่โดยรอบ 8 เหลี่ยม ใจกลางเป็นเทพยดาพนมมือ ด้าน ล่างมีครุฑยุดนาคหน้าอัดยืนรายอยู่ตามท้องไม้ที่ฐาน ส่วนสีที่ใช้ลงยา ได้แก่ สีขาว สีชมพู สีเขียว สีเหลือง เป็นหลัก แซมด้วยสีนำ้าเงิน โดยสี เหลือง และขาว สือ่ ถึงวันพระราชสมภพของในหลวง รัชกาลที่ 9 คือวัน จันทร์ สีเขียว เป็นสีของเดชของวันพระราชสมภพ สีชมพู สื่อถึงความ เป็นมงคล อายุ และสีนาำ้ เงิน สือ่ ถึงนำา้ และสีของสถาบันพระมหากษัตริย์ นอกจากนี้ ยังมีพระโกศทองคำาลงยาที่ออกแบบโดยนายณัฐพงค์ ปิยมาภรณ์ นักวิชาการช่างศิลป์ ชำานาญการพิเศษ ได้ออกแบบตาม แนวความคิดตามหลักศาสนาพราหมณ์ ที่เชื่อกันว่าพระมหากษัตริย์ เปรียบเหมือนสมมติเทพ สถิตอยู่บนสรวงสวรรค์บนยอดเขาพระสุเมรุ ซึ่งถือเป็นศูนย์กลางของจักรวาล เมื่อสวรรคต เปรียบเสมือนการเสด็จ สูส่ วรรคาลัย ถือเป็นการถวายพระเกียรติยศแสดงความเคารพอย่างสูง ในวาระเสด็จคืนสู่เทวพิภพ ณ ดินแดนเขาพระสุเมรุ พระโกศองค์นี้มี ลักษณะพิเศษคือ มีครุฑพนมทำาด้วยโลหะเงิน ประจำาอยู่ทั้ง 8 ทิศของ ฐานพระโกศ เปรียบได้กบั ครุฑพนมปกปักรักษาพระบรมอัฐขิ องในหลวง
หีบพระบรมศพจันทน์ เป็นฐานของพระโกศจันทน์ ประดิษฐานเหนือพระจิตกาธาน ภายในพระเมรุมาศ
วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบรมวงศานุวงศ์ทกุ พระองค์ โดยลวดลายบน ช่อไม้จันทน์ ออกแบบโดยใช้ลายดอกไม้เทศซ้อนไม้ ทั้งหมด แต่วิธีการผูกลายเพื่อให้เกิดเป็นลายต่างๆ จะแตกต่างกัน ส่วนวิธกี ารทำาช่อไม้จนั ทน์ จากเดิมเป็นดอกไม้ เทศซ้อนไม้ คือนำาแผ่นไม้แบนๆ มาฉลุซ้อนกัน แต่ ช่อไม้จันทน์ในงานพระราชพิธีครั้งนี้ ไม่ได้ซ้อนไม้ เพียงอย่างเดียว แต่ใช้วิธีแกะลายด้วย เพื่อให้นูนสูง และเพิ่มมิติมากขึ้น ท่อนฟืนไม้จันทน์ “ท่อนฟืนไม้จนั ทน์” ออกแบบโดยนายสมชาย ศุภลักษณ์อำาไพพร นายช่างศิลปกรรมอาวุโส โดย ท่อนฟืนไม้จันทน์จะใช้ทั้งหมด 24 ท่อน แต่ละท่อน มีหน้ากว้าง 2 นิว้ ยาว 60 เซนติเมตร ออกแบบโดย ใช้ลายทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ส่วนหน้าฟืนเป็นลายดอก ประจำายาม จะใช้วิธีทำาลายรดนำ้า ต่างจากทุกครั้ง ที่ใช้วิธีฉลุลายปิดทอง โดยจะฉลุลายเฉพาะส่วนบน และส่วนล่างของท่อนฟืน แต่ครั้งนี้จะมีลวดลายที่ หน้าฟืนด้วย
Royal Funeral Pyre - 056
รัชกาลที่ 9 หรือยามเสด็จฯ ไปในวิมานต่างๆ จะมี ครุฑพนมเป็นพาหนะรับใช้อยู่ทุกทิศ ลักษณะโดยรวมของพระโกศองค์นี้ เป็นรูปทรง กระบอกแปดเหลี่ยมปากผาย ฝาพระโกศเป็นทรง ยอดมหามงกุฎแปดเหลี่ยม ลงยาสีประดับรัตนชาติ ส่วนฐานล่างเป็นหน้ากระดานฐานสิงห์ ลวดลายของ หน้ากระดานเป็นลักษณะลายประจำายามก้ามปู มี ดอกประจำายามทิศประดับที่มุมทั้ง 8 ทิศ ลงยาสีฟ้า ประดับรัตนชาติ ถัดขึ้นมาเป็นฐานสิงห์ และบัวหลัง เจียด หรือหลังสิงห์ หน้าฐานสิงห์มีลวดลายประดับ ลงยาสีชมพู และสีเขียว ท้องสิงห์ประดับลวดลาย ประจำายามลงยาสีฟา้ และชมพู ถัดขึน้ ไปเป็นท้องไม้ ทรงแปดเหลี่ยม มีลักษณะพิเศษคือ บริเวณมุม ทั้งแปดทิศของท้องไม้ ประดับด้วยครุฑพนมซึ่งทำา ด้วยโลหะเงิน ถัดขึ้นไปเป็นลวดลายบัวหงาย ลงยา สีชมพูประดับรัตนชาติ หน้ากระดานแปดเหลี่ยม ลวดลายเป็นลูกฟักก้ามปู ลงยาสีประดับรัตนชาติ ตัง้ กระจังเจิม และกระจังตาอ้อยลงยาสีประดับรัตนชาติ ถั ด ขึ้ น ไปอี ก เป็นลวดลายกระจังปฏิญาณรอบเอว
พระโกศ รองรับด้วยบัวเกสรกระจังปฏิญาณลงยา สีฟ้า และประดับรัตนชาติ สำ า หรั บ เอวของพระโกศประดั บ ด้ ว ยดอกไม้ เอว และเกสรทำาด้วยโลหะเงินประดับรัตนชาติ องค์ พระโกศเป็นทรงกระบอกปากผาย ประดับลวดลาย บัวกลีบขนุนซึง่ เป็นลายรักร้อยซ้อนกันขึน้ ไป ภายใน กลีบลงยาสีฟา้ และสีชมพูประดับด้วยรัตนชาติ โดย กลีบของบัวกลีบขนุนทำาซ้อนกันขึ้นไป 4 ชั้น จนถึง ปากกระบอกที่ผายออก โดยสีที่ใช้ลงยา ได้แก่ สีฟ้า สีเขียว และสีชมพู ช่อไม้จันทน์ “ช่อไม้จันทน์” ออกแบบโดยนายสมชาย ศุภลักษณ์อาำ ไพพร นายช่างศิลปกรรมอาวุโส มีทงั้ หมด 7 แบบ ได้แก่ ช่อไม้จันทน์ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ใน รัชกาลที่ 9 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ
ลายครุฑหน้าอัด (หน้าอัด ภาษาช่าง แปลว่า หน้าตรง) ประดับหีบพระบรมศพ จันทน์ โดยทำ�เป็นงานลายซ้อนไม้ (บน) เจ้าหน้าที่กรมศิลปากรนำ�ฝาหีบ พระบรมศพจันทน์ มาประกอบกับ หีบพระบรมศพจันทน์ (ซ้าย)
ธ
สถิตในดวงใจไทย
นิรันดร์