กิ จ ก ร ร ม ส ร า ง นั ก อ อ ก แ บ บ
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
การออกแบบและตกแตงภาพ เพื่อการประชาสัมพันธ ผานสื่อออนไลนเบื้องตน
กิ จ ก ร ร ม ส ร า ง นั ก อ อ ก แ บ บ
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
กิจกรรมสร้างนักออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
INDUSTRIAL DESIGN
การออกแบบ และตกแต่งภาพ
เพื่อการประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อออนไลน์เบื้องต้น Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
การออกแบบและตกแต่งภาพ เพื่อการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์เบื้องต้น
ในยุคที่มีโฆษณามากมายปรากฏอยู่บนสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ มุ่งเข้าสู่สายตาผู้บริโภคโดยง่ายดายผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ใน ชีวิตประจาวัน การสื่อสารด้วยภาพจึงเป็นอาวุธหลักในการมัดใจลูกค้าให้สนใจและเข้ามาสัมผัส เข้าอกเข้าใจ ชื่นชอบ และสนับสนุน จากเรื่องราวที่เจ้าของแบรนด์สื่อสารออกไปด้วยภาพ การออกแบบและตกแต่งภาพจึงเป็นเทคนิคเชิงรุกเพื่อเรียกร้องให้ผู้บริโภคสนใจ ในขณะที่มีคู่แข่งอีกมากมายพร้อมกระโจนเข้าสู่สมรภูมินี้เช่นกัน ทั้งนี้อาจคานึงถึงปัจจัยหลักๆ ในการใช้ภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์ ดังนี้ - รู้ว่าต้องการจะสื่อสารอะไร - เลือกรูปแบบภาพให้ตรงกับรูปแบบสื่อที่จะใช้ - มีการออกแบบที่ดี สร้างความมั่นใจและปรารถนาในตัวสินค้า - ภาพและเนื้อหาตรงประเด็น ภาพที่ดึงดูด เนื้อหาที่ชัดเจน และจัดวางข้อความให้น่าสนใจ - สามารถสะท้อนความเป็นตัวตนของแบรนด์ - เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เป็นภาพที่คนกลุ่มนี้จะสนใจและต่อยอดไปเป็นลูกค้าหรือสั่งซื้อสินค้า อย่างไรก็ตาม การใช้ภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์บนสื่อออนไลน์ยังมีองค์ประกอบอีกหลายส่วน ที่ผู้สร้างสรรค์จาเป็นต้อง เรียนรู้ เพื่อให้การประชาสัมพันธ์นั้นเปี่ยมด้วยประสิทธิภาพ ชัดเจน และลดความเสี่ยงที่จะเกิดความผิดพลาดจากการเลือกใช้รูปแบบ ที่ผิดประเภท เพื่อให้สารที่ส่งออกไปถึงมือผู้รับอย่างสมบูรณ์ที่สุด
เทคนิคการออกแบบและตกแต่งภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ 1. รู้จักขนาดภาพที่ต้องใช้ การโพสต์ภ าพเพื่ อ การขายสิ น ค้า บนโลกออนไลน์ เ ป็น สิ่ ง ที่ แพร่ ห ลายในสั ง คม เพราะมี ผู้ใ ช้ ใ นวงกว้า ง สามารถเลือก กลุ่มเป้าหมายให้เห็นภาพสินค้าของเรา หรือเข้ามาติดตามเรื่องราวหรือข้อมูลที่จะใช้นาเสนอได้ง่าย โดยในปัจจุบัน สื่อสังคมออนไลน์ ที่มีการใช้เพื่อการค้าที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เช่น Facebook หรือ Instagram ซึ่งทั้ง 2 ช่องทางนี้มีรูปแบบ และรายละเอียด การใช้รูปภาพ ความละเอียด และการแสดงผลที่แตกต่างกัน ดังนั้นเมื่อจะต่อการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางใด ก็ควรมีข้อมูลของการ อัพโหลดรูปในแพลตฟอร์มนั้น เพื่อลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นและส่งผลเสียโดยไม่รู้ตัว
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
1.1 การใช้รูปเพื่อการประชาสัมพันธ์บนเฟซบุ๊ก (Facebook)
การใช้ภาพบนเฟซบุ๊กเพื่อการประชาสัมพันธ์นั้นมีความ หลายหลากและค่ อ นข้ า งยื ด หยุ่ น เพราะสามารถใช้ ภ าพทั้ ง รูปแบบแนวนอน แนวตั้ง จัตุรัส ได้อย่างเต็มที่ มีส่วนของรูปโปร ไฟล์ และรูปหน้าปกเพจ (Page cover) ที่สามารถใช้แปะเป็น โฆษณาหลักที่ลูกค้าจะเข้ามาเห็นทุกครั้ง แต่อย่างไรก็ตาม มีสิ่งที่ ต้องคานึงถึงดังนี้
1.1.1. รูปภาพหน้าปกเพจไม่ได้แสดงผลเท่ากันทุกที่ เนื่ อ งด้วยปัจ จุ บัน อุ ปกรณ์ ก ารใช้ สื่ อ สั ง คมออนไลน์ มี ขนาดหน้าจอที่หลากหลาย จึงเป็นเหตุผลให้ภาพหน้าปกเพจเมื่อ แสดงผลบนโทรศัพท์ มือถื อจะเห็น ภาพน้ อยกว่า ที่แสดงผลบน เครื่องคอมพิวเตอร์ ทาให้หากจัดวางข้อมูลผิดตาแหน่ง อาจทา ให้ข้อมูลนั้นไม่สามารถมองเห็นได้บนโทรศัพท์มือถือ
ตัวอย่างภาพการแสดงผลของหน้าปกเพจเฟซบุ๊ก (ภาพจากเพจเฟซบุ๊ก Starbucks Thailand)
1.1.2 การประชาสัมพันธ์ด้วยรูปขนาดสี่เหลี่ยมจัตุรัสอาจให้ผลที่ดีกว่า แนวคิดนี้ไม่มีรูปแบบที่ตายตัว แม้รูปถ่ายโดยทั่วไปจะมี ได้ไม่ ดีเ ท่ า ที่ ควร การใช้ รูปขนาดจั ตุ รัส จึ ง เป็น ตั วเลื อกหนึ่ ง ที่ ขนาดเป็ น แบบสี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า แต่ ใ นยุ ค ที่ ผู้ บ ริ โ ภคใช้ สามารถใช้พื้นทีบนจอโทรศัพท์มือถือได้อย่างคุ้มค่า โดยที่ยังคง โทรศัพ ท์ มือถือเป็น หลั ก การใช้ ภ าพประชาสั ม พั น ธ์ด้ วยภาพ ปรากฏชื่อเพจและข้อมูลรายละเอียดของโพสต์นั้นได้เป็นอย่างดี ขนาดสี่เหลี่ยมผืนผ้าบนจอขนาดเล็ก อาจจะทาให้รูปภาพนั้นดูมี นอกจากนี้ยังช่วยให้ภาพนั้นสามารถไปโพสต์ลงบนพื้นที่ออนไลน์ ขนาดเล็ก และอ่านข้อมูลได้ยากตามไปด้วยหากมีการจัดวางภาพ อื่นๆ ได้อย่างสะดวก เช่น LINE หรือ Instagram
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
3
ตัวอย่างภาพเปรียบเทียบการแสดงผลภาพขนาดจัตุรัสและผืนผ้าบนโทรศัพท์มือถือ (ภาพจาก Pinterest.com)
1.1.3 อย่าลืมตั้งค่าให้สามารถอัพโหลดภาพความละเอียดสูงได้ โดยปกติ แ ล้ ว รู ป ที่ ท าการอั พ โหลดลงบนเฟซบุ๊ ก รายละเอี ย ดส าคัญ ของภาพนั้ น มองเห็ น ไม่ ชัดเจน หรือเลือน โดยเฉพาะบนโทรศัพท์มือถือ จะถูกบีบอัดโดยการลดขนาดและ หายไป เพือ่ ป้องกันข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น จึงควรตั้งค่าให้สามารถ รายละเอียดลง เพื่อให้ผู้ชมสามารถกดรับชมภาพและแสดงผลได้ อัพโหลดภาพที่ความละเอียดสูง (Upload HD) เอาไว้ด้วย รวดเร็วขึ้น แต่การบีบอัดรูปเพื่อลดขนาดไฟล์เหล่านี้กลับทาให้
ปรับการตั้งค่าให้สามารถอัพโหลดภาพความละเอียดสูงได้
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
4
1.2 การใช้รูปเพื่อการประชาสัมพันธ์บนอินสตาแกรม (Instagram)
อินสตาแกรมเป็นพื้นที่ออนไลน์ใหม่ที่อาจมีอายุไม่มาก นั ก แต่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มหลากหลายในกลุ่ ม วั ย รุ่ น หรื อ วั ย เริ่ ม ทางาน เน้นการนาเสนอเรื่องราวผ่านรูปภาพ โดยถูกมองว่าเป็น สื่อที่อยู่ในกระแส ทันสมัย และเป็นพื้นที่แสดงความคิดสร้างสรรค์ ได้ เ ป็ น อย่ า งดี ผ่ า นการติ ด ตาม และค้ น หาด้ ว ยแฮชแทค # (Hashtag) โดยภาพที่ใช้ไม่มีควรมีตัวหนังสือมากนัก และภาพที่ อัพโหลดลงไปไม่ว่าขนาดใดก็ตาม จะดูปรับให้มีขนาดและความ
ละเอียดลดลง รวมไปถึงภาพที่เป็นแนวนอน หรือแนวตั้ง จะถูก แสดงผลเป็ น “รู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ” ขนาดเล็ ก บนหน้ า แกลอรี่ เท่านั้น หากต้องการเห็นภาพเต็มจะต้องกดเพื่อเข้าไปดูโพสต์นั้น หรือเห็นจากหน้า Feed เพียงอย่างเดียว ส่งผลให้ผู้ที่ค้นหาหรือ สนใจอาจมองไม่เห็นข้อมูลด้านซ้าย-ขวา หรือบน-ล่าง ที่ถูกตัด ออก และเลื่อนผ่านไป
ตัวอย่างภาพการแสดงผลภาพบนอินสตาแกรม (ภาพจาก seikowatchofficial)
2. เลือกใช้รูปภาพที่โดดเด่น ไม่ว่าประชาสั ม พั น ธ์อ ะไรก็ ตาม รู ปที่ ใ ช้ ควรมี ค วาม เกี่ย วข้องหรือสั มพั น ธ์กั บ เนื้ อ หาที่ จ ะใช้ ใ นการสื่ อ สาร การใช้ รู ป ภาพนั้ น อาจจะใช้ เ พี ย งภาพถ่ า ยที่ ส วยงาม ตกแต่ ง ด้ ว ย ข้อความที่จะสื่อสาร หรือใส่เครดิตเพื่อยืนยันตัวตนของแบรนด์ หรือจะตกแต่งภาพ โดยการประกอบภาพจากหลายภาพเข้ า ด้วยกันก็ได้ แต่ทั้งนี้ใ ห้คานึงถึงความสมดุลของภาพ และสารที่ ไม่ผิดเพี้ยนไปจากความตั้งใจของเจ้าของแบรนด์
นอกจากนี้ การจัดวางองค์ประกอบภาพยังเป็นสิ่งที่ที่ ควรคานึงถึง เพื่อให้มั่นใจได้ว่าจุดเด่นของภาพจะถูกส่งตรงถึง สายตาของลูกค้าที่ดีที่สุด โดยอาจใช้การจัดวางแบบกึ่งกลาง หรือ กฎสามส่วน (Rule of Thirds) โดยอาจเว้นที่ว่างของภาพสาหรับ การใส่ข้อความมาใช้ในการจัดวางเบื้องต้นได้
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
5
ตัวอย่างภาพการจัดวางแบบกึ่งกลาง (ภาพจากเพจเฟซบุ๊ก Nike และ McDonald’s)
รูปแบบของกฎสามส่วน
ตัวอย่างภาพการจัดวางด้วยกฎสามส่วน (ภาพจากเพจเฟซบุ๊ก Samsung Mobile)
นอกจากนี้ขนาดของภาพ เช่นมุมกว้าง มุมระดับกลาง หรือมุมแคบก็สามารถช่วยกระตุ้นการประชาสัมพันธ์ได้ดี เช่น ภาพ อาหารที่ถ่ายในระยะใกล้ๆ จะช่วยกระตุ้นให้รู้สึกน่ารับประทานมากขึ้น
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
6
ตัวอย่างภาพอาหารในระยะต่างๆ (ภาพจากเพจเฟซบุ๊ก Best Foods Thailand)
3. เข้าใจถึงสี การใช้ สี เ ป็ น จิ ต วิ ท ยาอย่ า งหนึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยดึ ง ดูด หรื อ กระตุ้นลูกค้าที่ตรงกับกลุ่มเป้าหมายให้เข้ามาสนใจเลือกดู หรือ จับจ่ายใช้สอยได้เป็นอย่างดีในยามที่กาลังเลื่อนหน้าจอเพื่อเช็ค ข้อมูลประจาวันบนสังคมออนไลน์อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามก็ ไม่ควรจะใช้สีที่ ห ลากหลายจนหลุ ดความเป็นตัวตนของสินค้า เพราะจะกลายเป็นว่าเรื่องราวของสินค้า และสีที่มีความเฉพาะตัว จะถูกกลืนหายไปด้วย
สีเหลือง
การใช้ สี ที่ ตรงกั บกลุ่ มเป้า หมาย อาจใช้ อ ย่ างคร่าวๆ เช่ น กลุ่ ม ผู้ สู ง อายุ มั ก จะชอบสี ที่ มี ค วามสบายตาและเป็ น ธรรมชาติ เช่น สีฟ้า หรือสีเขียว ขณะที่กลุ่มวัยรุ่นมั กจะชื่นชอบ สีที่สดใส เช่น สีเหลือง สีแดง หรือสีส้ม แต่ก็ยังมีข้อมูลที่ปรากฏ ว่า คนบางส่ วนกลั บ ไม่ ชอบสี เ หลื อ ง สี ส้ ม หรื อ สี ม่วงเช่ น กั น นอกจากนี้ สี ต่า งๆยั ง สามารถบอกถึ ง อารมณ์ ต่า งๆ ที่ ผู้ที่ เ ห็น สามารถรับรู้ถึงความรู้สึกได้ ดังนี้
ให้ความรู้สึกในแง่ดี ชัดเจน และอบอุ่น
สีส้ม
ให้ความรู้สึกเป็นมิตร ร่าเริง และมีความมั่นใจ
สีแดง
ให้ความรู้สึกน่าตื่นเต้น อ่อนเยาว์ และกล้าหาญ
สีม่วง
ให้ความรู้สึกถึงความคิดสร้างสรรค์ มีจินตนาการ และเฉลียวฉลาด
สีฟ้า
ให้ความรู้สึกน่าไว้วางใจ น่าเชื่อถือ มีความแข็งแรง
สีเขียว
ให้ความรู้สึกสงบ เจริญเติบโต และการมีสุขภาพดี
สีเทา
ให้ความรู้สึกสมดุล เป็นกลาง และความใจเย็น
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
7
สีมีอิทธิพลต่อการรับรู้และการดึงดูดความสนใจ (ภาพจาก milled.com)
ตัวอย่างการใช้สีเพื่อเพิ่มความหมายในภาพ (ภาพจากเพจเฟซบุ๊ก KFC และ Tipco Health Society)
หลายผลิตภัณฑ์มักจะมีสีหลัก ที่แสดงถึงความเป็นตัวตนของตนเองอยู่แล้ว แต่บางครั้งมักจะเกิดความลาบากใจเมื่ อจะต้อง ใช้สีที่สอง หรือสีที่สามเข้ามาร่วมในงานออกแบบด้วย ซึ่งอาจใช้ทฤษฎีของวงล้อสี (Colour Wheel) มาใช้ในการช่วยออกแบบได้ เช่น การใช้สีเดียวแต่ไล่น้าหนักจากเข้มไปอ่อน การใช้สีใกล้กัน หรือการใช้สีตรงกันข้ามได้
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
8
ตัวอย่างภาพการออกแบบโดยใช้การไล่น้าหนักสี (ภาพจาก Pinterest)
ภาพวงจรสี (ภาพจาก pinimg.com)
ภาพตัวอย่างการเลือกใช้สีใกล้เคียง และการใช้สีตรงข้าม
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
9
3. ใช้ตัวหนังสือให้โดนใจ ทาไมเราถึงเห็นป้ายที่แปะว่าลดราคา 50 เปอร์เซ็นต์ได้ นอกจากนี้ยังมีเทคนิคอื่นๆ เช่นการใส่กรอบข้อความ ชัดเจนก่อน นั่นเพราะมีการจัดวางองค์ประกอบของข้อความให้มี ทั้งกรอบสี หรือใช้เพียงเส้นตีกรอบ เพื่อเน้นข้อความนั้นให้โดด ความชัดเจนด้วยขนาดที่อาจมีขนาดใหญ่ หรือการใช้สีที่เรียกร้อง เด่นได้เช่นเดียวกัน ให้ต้องสังเกตตาแหน่งนั้นเป็นจุดแรกๆ เช่น ป้ายลดราคานิยมใช้ สี แ ดงเพื่ อ สร้ า งความตื่ น ตาตื่ น ใจ หรื อ ตั ว อั ก ษรที่ ล ด 50 เปอร์เซ็นต์ใช้สีที่โดดเด่นออกมาจากส่วนอื่นของภาพภาพอย่าง ชัดเจน สิ่งที่ต้องคานึงถึงเมื่อมีการจัดวางข้อความลงบนภาพ ประชมสัมพันธ์ทุกครั้ง คือ ข้อความใดที่มีความสาคัญมากที่สุด และข้อความใดที่มีความสาคัญรองลงมา บ่อนครั้งที่ ข้อความ สาคัญอย่างสโลแกน หรือประโยคเด็ด มักมาในขนาดที่ใหญ่ เป็น ตั ว หนา หรื อ ใช้ สี โ ดดเด่ น เพื่ อ โน้ ม น้ า วชั ก จู ง ให้ ผู้ ช มได้ อ่ า น ข้อความนั้นเป็นอันดับแรก ขณะที่ข้อความรองอาจเป็นแค่การ อธิบายขยายความเพียงเล็กน้อย แต่ก็ไม่ควรมีขนาดเล็กหรือมี ความยาวมาก เกิ น ไป เพราะจะท าให้ อ่ า นได้ ย าก บน โทรศัพท์มือถือ
ตัวอย่างภาพการเน้นข้อความโดยการใส่กรอบ (ภาพ Pinterest)
ตัวอย่างภาพการจัดวางแบบกึ่งกลาง (ภาพจากเพจเฟซบุ๊ก Lancome และ Vaseline)
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
10
4. อย่าลืมใส่เครดิตตัวเองลงไปในภาพ ความน่าเชื่อถือเป็นสิ่งที่สาคัญในการทาการค้าบนโลก ดิจิทัล เมื่อมีการใส่เครดิตลงไป เช่นตราสินค้า ชื่อสินค้า อีเมล์ หรือเบอร์โทรศัพท์ติดต่อ แม้กระทั่งการใส่ลายน้าลงไปบนภาพ ก็จะช่วยให้ภาพสินค้าของเรานั้นมีความน่าเชื่อถือ แสดงถึงความ ใส่ใจต่อการนาเสนอสินค้า ให้ส่งตรงไปถึงผู้รับสารได้อย่างดี เกิด ภาพจาจนก่อให้เกิด ความสัมพันธ์ระหว่างผลิตภัณฑ์และลูกค้า ในขณะที่ภาพที่ขาดการใส่เครดิตไปอาจเกิดการขโมยภาพเพื่อ นาไปใช้ต่ออย่างผิดลิขสิทธิ์ หรืออาจทาให้ผู้สนใจท่านอื่นมองว่า เป็นภาพสแปมบนโลกออนไลน์ก็เป็นได้ มีสินค้ามากมายที่มีลักษณะคล้ายกันถูกโพสต์ขึ้นสู่โลก ออนไลน์ตลอดเวลา หลายครั้งที่อาจเกิดการหยิบยืมใช้รูปจาก การค้นหา มาเป็นรูปภาพของตนเองจนเกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นเราจะมั่นใจได้อย่างไรว่าภาพที่เรา โพสต์เพื่อขายสินค้าของเรานั้นจะไม่ถูกผู้อื่นนาไปแอบอ้างอย่าง ไม่ถูก ต้อง หรือน าไปแอบใส่ เ ครดิตเป็น ของตนเอง จนสิ น ค้า
ดั้งเดิมของเรากลายเป็นสินค้าเลียนแบบในสายตาผู้บริโภค การ ใส่ลายน้าคาดไปบนรูปจึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะป้องกันปัญหาที่ อาจจะเกิดขึ้น ขณะเดียวกันหากมีการใส่เครดิตของผลิตภัณฑ์ลง ไปในภาพที่โพสต์ทุกครั้งจะเกิดภาพสะดวกเมื่อนาภาพเดียวกัน ไปโพสต์ในแหล่งเผยแพร่อื่นๆ หรือถือสืบค้นจากผู้บริโภค เพราะ เครดิตของเราก็จะติดตามรูปนั้นไปด้วยทุกที่ ซึ่งอาจจะนาพาให้ผู้ ที่สนใจเข้ามาศึกษาตัวผลิตภัณฑ์ของเราที่ต้นทางของการโพสต์ ได้มากขึ้น ดังนั้น อย่าลืมที่จะใส่เครดิตลงไปตามที่เห็นสมควร ต าแหน่ ง ของการวางเครดิ ต นั้ น สามารถวางได้ หลากหลายรูปแบบ แต่ต้องคานึงว่าเครดิตที่ใส่ลงไปนั้น จะไม่ไป รบกวนภาพ บดบัง ภาพ หรื อ เบี่ย งประเด็น ข้ อ มู ล หลัก ที่ จ ะใช้ สื่อสารในภาพนั้น ดังนั้น การใส่เครดิตของผลิตภัณฑ์จึงไม่ควรมี ขนาดใหญ่และใช้เท่าที่จาเป็น ซึ่งอาจวางไว้ในตาแหน่งบริเ วณ มุมภาพ หรือด้านล่างของภาพ เพื่อให้สารหลักที่อยู่บริเวณตรง กลางของรูปภาพนั้นไม่ถูกรบกวน
ตัวอย่างต้าแหน่งการวางเครดิต และพื้นที่เว้นว่างบริเวณกรอบภาพ
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
11
ตัวอย่างการใส่เครดิตลงในภาพ (ภาพจากเพจเฟซบุ๊ก Malee Club และ Foremostfamily) อย่างไรก็ตามการใส่เครดิตหรือข้อมูลใดๆ ลงไปบนภาพนั้นให้คานึงไว้เสมอว่า ไม่ควรวางชิดขอบจนเกินไป เพราะอาจเกิด ความไม่สมดุล หรือมองเห็นได้ยากเมื่อทาการโพสต์ลงไป จึงให้สมมติรูปของเรานั้น มีกรอบที่กินพื้นที่ด้านในเข้ามาเล็กน้อยเสียก่อน และจะไม่ใส่ข้อมูลใดๆ เข้าไปกินพื้นที่บริเวณขอบนั้นเด็ดขาด 5. รู้ถึงลิขสิทธิ์ภาพ ความผิดพลาดที่เกิดจากความไม่เข้าใจเรื่องลิขสิทธิ์ใน ผลงานภาพมีเกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้ง ขณะเดียวกันผู้ผลิตสินค้าที่ว่า จ้างหรือสร้างสรรค์สื่อเพื่อประชาสัมพันธ์สินค้าก็คงไม่อยากให้ เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ผลงานของตนเองเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการ นามาใช้อย่างผิดวิธี ขออนุญาตแต่นาไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ หรือ ถู ก ลั ก ลอบน าผลงานของตนเองไปใช้ ที่ อื่ น โดยไม่ ข ออนุ ญ าต โดยเฉพาะเมื่อเกิดการละเมิดเพื่อนามาใช้ในจุดประสงค์ทางด้าน การค้า ซึ่งสุ่มเสี่ยงให้เกิดการฟ้องร้องทางกฎหมายได้ 5.1 การใช้รูปภาพที่เกิดจากการถ่ายหรือสร้างสรรค์ขึ้น เอง หากเป็นผู้สร้างสรรค์ภาพถ่ายนั้นขึ้นมาเอง สิทธิ์นั้นให้ ถือว่าเป็นของผู้สร้างสรรค์โดยอัตโนมัติ หรือเมื่อเกิดการว่าจ้าง ช่างภาพให้ถ่ายรูปผลิตภัณฑ์ สิทธิ์การนาไปใช้นั้นก็จะถือเป็นของ ผู้ว่าจ้าง แต่ขณะเดียวกันช่างภาพก็มีสิทธิ์ในการเรียกร้องในการ ใส่เครดิตว่าตนเป็นผู้ สร้างสรรค์งานนั้น แต่ให้ระวังเรื่องการนา ผลิตภัณฑ์ไปวางถ่ายในสถานที่อื่นที่ไม่ใช่พื้นที่สาธารณะโดยไม่ ขออนุญาต เพราะจะถือเป็นการละเมิดสิทธิ์กับเจ้าของสถานที่นั้น เช่นเดียวกัน
5.2 การใช้รูปภาพที่สืบค้นจากแหล่งออนไลน์ หลายครั้งอาจเกิดความเข้าใจผิดว่า สามารถนารูปที่สืบ ด้นจากแหล่งออนไลน์มาใช้ได้ เมื่อนาไปตกแต่ง หรือตัดต่อให้ เปลี่ยนไปจากเดิมเล็กน้อย แต่ในความเป็นจริงนั้น ทุกรูปล้วนมี ลิขสิทธิ์จากผู้ว่าจ้าง หรือผู้สร้างสรรค์มาตั้งแต่ต้นทาง ดังนั้นหาก มีวัตถุประสงค์ที่จะนารูปมาใช้เพื่อการค้า จึงควรหลีกเลี่ยงวิธีการ นี้โดยทันที อย่างไรก็ตามยังมีแนวทางอื่นในการนาภาพมาใช้ เช่น - ขออนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ภาพเพื่อนามาใช้ใ น วัตถุประสงค์ทางการค้าอย่างถูกต้อง - เลื อ กค้ น หารู ป บน Search Engine ที่ ส ามารถคั ด กรองเฉพาะรู ป ที่ ส ามารถน ามาใช้ เ พื่ อ การค้ า ได้ ฟ รี อ ย่ า งถู ก ลิ ข สิ ท ธิ์ เช่ น การตั้ ง ค่ า Usage rights เมื่ อ ค้ น หาภาพบน Google - ใช้ภาพจากเว็บไซต์ที่เปิดโอกาสให้สามารถนาภาพไป ใช้ ไ ด้ ฟ รี โดยไม่ คิ ด ค่ า ลิ ข สิ ท ธิ์ เช่ น www.pixabay.com, www.pexels.com, picjumbo.com - ซื้ อ ภ าพ จ าก เ ว็ บ ไ ซต์ ที่ ขาย ภ าพ โ ดย เ ฉ พ า ะ www.shutterstock.com, www.istockphoto.com ซึ่ ง จะมี ร าคา และเงื่อนไขที่แตกต่างกันไป
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
12
ตัวอย่างการค้นหาภาพจาก Google โดยเลือกเฉพาะภาพที่สามารถน้าไปใช้ได้ฟรี
ภาพตัวอย่างเว็บไซต์ส้าหรับการค้นหาภาพเพื่อน้าไปใช้ในการประชาสัมพันธ์
จะเห็นได้ว่า การนารูปภาพจากแหล่งอื่ นมาใช้นั้น แม้ จะสวยงาม ถู ก ใจ รวดเร็ ว แต่ ก็ มี เ งื่ อ นไข และการลงทุ น ที่ แตกต่างกัน ไป เมื่ อ เกิ ดความผิดพลาดขึ้ น มา ผลงที่ ได้มัก ไม่ คุ้ ม ค่ า กั บ ความเสี ย หายที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ดั ง นั้ น หากเจ้ า ของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ามารถว่ า จ้ า งหรื อ สร้ า งสรรค์ ภ าพให้ ไ ด้ อ ย่ า งมี
คุณภาพเองได้ เช่น การถ่ายรูปสินค้าทั้งหมดเก็บเอาไว้ รวมไป ถึงเซ็ตรูปภาพอื่นๆ ในหลากหลายอารมณ์ จะช่วยลดความเสี่ ยง จากการละเมิดลิขสิทธิ์ สามารถนามาทาซ้า ดัดแปลงให้เข้ากับ เนื้อหาที่จะนาเสนอ และยังช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้สนใจ ในตัวผลิตภัณฑ์ได้มากยิ่งขึ้นอีกด้วย
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
13
6. การใช้แอพพลิเคชันเพื่อการตกแต่งภาพ แอพพลิเคชันเพื่อการตกแต่งภาพบนโทรศัพท์มือถือนั้น มีให้เลือกใช้หลากหลาย เช่น Snapseed ที่มีรูปแบบการตกแต่ง ภาพที่น่าจะเป้นที่ชื่นชอบของผู้ใช้มือใหม่ ขณะที่หลายแอพพลิเคชันจากผู้ผลิตซอฟต์แวร์ตกแต่งภาพชั้นนาสามารถดาวน์โหลด นามาใช้ได้ฟรี เพียงแค่สมัครสมาชิกกับเจ้า ของแอปพลิเ คชั่ น เสียก่อน เช่น Adobe Photoshop Mix ที่สามารถตัดต่อภาพ ใส่ ข้ อ ความ และจั ด ล าดั บ เลเยอร์ ที่ ซั บ ซ้ อ นได้ ใ นระดั บ หนึ่ ง ซึ่ ง
สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมของงาน อย่ างไรก็ตาม แอพพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือเหล่านี้ มักจะมีข้อจากัดในเรื่อง ฟั ง ก์ ชั น การใช้ ง านที่ ไ ม่ อ าจเที ย บเท่ า กั บ ซอฟต์ แ วร์ บ น คอมพิ วเตอร์ เช่ น การใช้ รูปแบบตัวอั ก ษรภาษาไทย การจั ด ข้อความ ความละเอียดในการตัดต่อภาพ หรือลูกเล่นในการวาด ภาพกราฟิ ก ประกอบ แต่ก็ ส ามารถท างานได้ ดีใ นระดับหนึ่งที่ ต้องการความรวดเร็วและสามารถทางานได้ทุกที่
ตัวอย่างภาพการใช้ Adobe Photoshop Mix
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
14
NOTE