กิ จ ก ร ร ม ส ร า ง นั ก อ อ ก แ บ บ
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
การสื่อสารภาพลักษณ (Image Communication)
ใหตรงกับสินคา และเทคนิคการนำเสนอใหนาสนใจ
กิ จ ก ร ร ม ส ร า ง นั ก อ อ ก แ บ บ
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
กิจกรรมสร้างนักออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
INDUSTRIAL DESIGN
การสื่อสารภาพลักษณ์
(Image Communication) ให้ตรงกับสินค้า และเทคนิค การนาเสนอให้น่าสนใจ Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
1
การสื่อสารภาพลักษณ์ (Image Communication)
ให้ตรงกับสินค้า และเทคนิคการนาเสนอให้น่าสนใจ
1.1 ตราสินค้า (Brand) ชื่อ สัญลักษณ์ โลโก้ หรือสิ่งอื่นๆที่สามารถบ่งบอกได้ ว่า ผลิ ตภั ณฑ์ นั้ น เป็น ของใคร มี อ ะไรที่ โ ดดเด่น แตกต่างจาก คู่แข่ง หรือประกอบด้วย 4 ส่วนประกอบ ดังนี้ 1. การจดจ าจากรู ป ลั ก ษณ์ ที่ เ ห็ น จากภายนอก (Attribute) 2. คุณประโยชน์ที่ได้รับ (Benefit) 3. คุณค่าและความภาคภูมิใจที่ได้เป็นเจ้าของ (Value) ขั้นตอนที่ 1. กาหนดจุดเด่นเพื่อสร้างเป็นภาพลักษณ์ 4. บุคลิกภาพส่วนบุคคล (Personality) เช่น ผลิตภัณฑ์ และใช้เป็นตัวกลางในการสื่อสารผลิตภัณฑ์หรือบริการ ใช้แล้วดูล้าสมัย หรือการใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อให้เข้ากับกลุ่มคนได้ เป็นต้น ให้เป็นที่รู้จักและจดจา เทคนิค วิธีการ และขั้นตอนของการสื่อสารลักษณะเด่น ของสินค้าเพื่อการสื่อสารภาพลักษณ์ของสินค้าที่ตรงจุดและโดน ใจผู้บริโภคซึ่งจะทาให้ผู้บริโภคสามารถรับรู้และเข้าใจกับสิ่งที่นัก ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมต้องการสื่อสาร เรียนรู้เทคนิค การเปรียบเทียบและตั้งข้อสังเกตจากกรณีศึกษาภาพลักษณ์และ การสร้างสรรค์อัตลักษณ์องค์กรที่มีประสิทธิภาพของสินค้าหรือ ธุรกิจซึ่งเป็นที่ยอมรับ
ขั้ น ตอนแรกคื อ การก าหนดแนวทาง การสร้ าง ภาพลัก ษณ์ใ ห้ กับสิ น ค้า หรื อ บริ ก าร เพื่ อ สร้ า งความชั ดเจน+ จดจ าของผู้ บ ริ โ ภค เป็ น กลยุ ท ธ์ ก ารสื่ อ สารทางการตลาด ภาพลักษณ์ของตราสินค้าเป็นจุดร่วมระหว่างองค์กร กับสินค้า และบริการ ภาพลักษณ์ที่ดีของตราสินค้ามีผลโดยตรงต่อองค์กร ผู้ผลิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้า หรือบริก ารภายใต้ตราสิ น ค้า ดังกล่าว
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
2
1.2 ภาพลักษณ์ กับตราสินค้า (Brand Image) ภาพลักษณ์ตราสินค้า หมายถึง ภาพลักษณ์ของบริษัท สินค้า บริการที่สื่อออกมาในเชิงบวก เพื่อให้ผู้บริโภคเข้าใจ รู้จัก และสามารถจดจาไปได้นาน โดยผู้บริโภคจะสามารถจดจาและ รู้จัก ภาพลักษณ์ตราสินค้าได้จากการใช้ประสบการณ์เดิมเข้ามา ช่วยจากการสัมผัส และจากการบอกเล่า ปากต่อปาก ภาพลักษณ์ กับตราสินค้า (Brand Image) ประกอบด้วย องค์ ป ระกอบที่ ส าคั ญ 5 ประการ มารวมกั น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ภาพลักษณ์ของตราสินค้า เป็นทิศทางการสื่อสารภาพลักาณ์จาก ผลิตภัณฑ์ และทาให้ผู้บริโภคจดจาตราสินค้าได้
และลีลา ในการสร้างภาพภาพลักษณ์ให้กับผลติภัณฑ์ เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายที่คาดหวังสนใจในตัวผลิตภัณฑ์ ซึ่งต้องอาศัยการ สร้างบุคลิกที่ชัดเจนให้เกิดขึ้นกับผลิตภัณฑ์ ที่คาดหวังสนใจในตัว ผลิตภัณฑ์ ซึ่งต้องอาศัยการสร้างบุคลิกที่ ชัดเจนให้เกิด ขึ้น กับ ผลิตภัณฑ์
บุคลิกของตราสินค้า (Brand Character) Coca Cola = “ความดั้งเดิม” เรียกว่า “คลาสสิค” Pepsi = “ความทันสมัย” เรียกว่า “Generation Next” 1.3 การเชื่ อ มโยงเอกลั ก ษณ์ ข องตราสิ น ค้ า กั บ ภาพลักษณ์และความแข็งแกร่ง
แผนผังแสดงองค์ประกอบที่ทำให้เกิดภำพลักษณ์ของตรำสินค้ำ
1. Country of Origin หมายถึง ประเทศแหล่งก าเนิด สินค้า 2. Organization หมายถึง องค์การ 3. Product หมายถึง ลักษณะของผลิตภัณฑ์ 4. Brand Effect หมายถึ ง สิ่ ง ที่ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ภาพลักษณ์ตราสินค้า 5. Brand Personality หมายถึง ลักษณะของผลิตภัณฑ์ (ทางกายภาพ) โดยต้องอาศัยคาพูด รูปภาพ อารมณ์ น้ําเสียง
ภาพลักษณ์ตราสินค้า(Brand Image) เป็นภาพโดยรวม ของตราสินค้า มักจะเป็นภาพลักษณ์ที่ถูก สร้างขึ้น โดยพยายาม เชื่มมโยงเอกลักษณ์ของตราสินค้า ให้ติดอยู่ในความทรงจาและ การจดจาของผู้บริโภค ภาพลักษณ์ตราสินค้าจะถูกสร้างขึ้นได้ จากหลายวิธิดีว้ยกัน เช่น การสร้างประสบการณ์ ให้ผู้บริโภคมี ประสบการณ์และความทรงจาที่ดีกับ สินค้า บริการ องค์กร หรือ การอ้างอิงจากตัวของตราสินค้าเอง ได้แก่ ชื่อสินค้า หรือโลโก้
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
3
รวมทง้ํ จากการกาหนดตัวตนของตราสินค้าผ่านบริษัทประเทศผ สนองตอบต่อความต้องการของผู้บริโภคได้ ความชื่นชอบในตรา ผู้ลิต ตัวบุคคลและตัวบริษัท ดังนั้นผู้บริโภคจะเลือกซื้อหรือเลือก สินค้าของผู้บริโภคอาจมองได้หลายมมุ เช่น มองความน่าเชื่อถือ ส่งต่อข้อมูลสาหรับสินค้าที่มีภาพลักษณ์ตราสินค้ามากกว่าสินค้า มองความสะดวกสบาย มองประสิทธิภาพของสินค้า เป็นต้น ที่ไม่มีภาพลักษณ์ในเชิงบวก ซึ่ง ภาพลั ก ษณ์ มีความส าคัญ ต่อ ทั ศนคติเ และต่ อ การ ตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคที่มีต่อตราสินค้าโดยจะขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 1.ความแข็งแกร่ ง ที่เกี่ ยวพันกั บ แบรนด์ (Strength of ประการคื อ 1) ผู้ บ ริ โ ภคพบว่ า ตราสิ น ค้ า เกี่ ย วพั น กั บ ตนเอง Brand Associations) ทาให้ผู้บริโภครับข่าวสารได้มากกว่าเดิม อย่ า งไร 2) ผู้บริ โ ภคพบว่า ความเกี่ ย วพั น กั บแบรนด์แตกต่าง ผู้บริโภคมีความรู้ที่เกี่ยวกับตราสินค้ามากขึ้นกว่าเดิมที่เคยรู้ ซึ่ ง อย่างไร 3) ผู้บริโภคพบว่าความ เกี่ยวพันกับแบรนด์เชื่อถือได้ รวมถึงวิธีการได้รับข้อมูลข่าวสาร จานวนหรือปริมาณของข้อมูล อย่างไร หรือแม้แต่ประสบการณ์เดิมที่ ผู้บริโภคมีต่อตราสินค้า ความเชื่ อ ของผู้ บ ริ โ ภคเกี่ ย วกั บ คุ ณ ประโยชน์ แ ละ 3.เอกลั ก ษณ์ ที่ เ กี่ ย วพั น กั บ แบรนด์ (Uniqueness of คุ ณ ลั ก ษณะของตราสิ น ค้ า สามารถก่ อ ตั ว ขึ้ น ได้ ห ลายวิ ธี Brand Associations) การสร้างเอกลักษณ์ของตราสินค้า เพื่อทา คุ ณ ประโยชน์ ข องตราสิ น ค้ า (Brand Benefit) คื อ คุ ณ ค่า ที่ ให้ มีความแตกต่า งออกไปจากตราสิ น ค้า อื่ น ถื อ เป็น สิ่งสาคัญ ผู้ บ ริ โ ภคยึ ด ติ ด ไว้ กั บ คุ ณ ลั ก ษณะของสิ น ค้ า และบริ ก าร ส่ ว น อย่างยิ่งต่อความสาเร็จในการสร้างแบรนด์ขึ้นมา แต่ถ้าหากว่า คุ ณ ลั ก ษณะของตราสิ น ค้ า (Brand Attributes) คื อ ลั ก ษณะที่ ตราสิ น ค้า นั้ น มี คู่แ ข่ ง หมายความว่า ตราสิ น ค้า นั้ น ได้มีก าร สามารถอธิ บ ายได้ ถึ ง บุ ค ลิ ก ที่ เ ด่ น ชั ด ของสิ น ค้ า และบริ ก าร แบ่งปันความเกี่ยวพันบางอย่างเกี่ยวกับตราสินค้าของตนให้กับ โดยทั่วไปประสบการณ์ตรงจากผู้บริโภคจะ เป็นแหล่งข้อมลู ที่ ตราสิ น ค้ า อื่ น ไปบ้ า งแล้ ว ความเกี่ ย วพั น ของตราสิ น ค้ า ที่ ถู ก สร้ า งขึ้ น จากคุ ณ ประโยชน์ แ ละคุ ณ ลั ก ษณะของตราสิ น ค้ า ที่ แบ่งปันไปนี้ สามารถช่วยในการสร้างสมาชิกและกาหนดขอบเขต แข็งแกร่ง ซึ่งข้อมูล ทั้ง 2 นี้จะมีผลหรือมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ ของการแข่งขันกับสินค้าและการให้บริการอื่นๆ ในกลุ่มผู้บริโภค ซื้อสินค้า ผู้บริโภคมักจะใช้ประสบการณ์ในนอดีตมาช่วยในการ ถึ ง แม้ ว่ า บางครั้ ง ตราสิ น ค้ า อาจจะไม่ มี ก ารแข่ ง ขั น กั บ สิน ค้า ตัดสินใจซื้อสินค้า หรือบริการจากตราสินค้าใดสินค้าหนึ่ง การพูด ประเภทเดีย วกั น แต่ว่า อาจมี ก ารแข่ ง ขั น กั บสิ น ค้า อื่น ที่ อาจมี แบบปากต่อปาก (Word of Mouth) จากเพื่อนและญาติ หรือจาก ความเกี่ยวพันกันอยู่บ้าง เช่น เตาเผาขยะ ที่ไม่ได้มีบริษัทคู่แข่ง แหล่งอื่นๆ เช่น สื่อโฆษณาหรือ หนังสือพิมพ์ สิ่งเหล่านี้ถือเป็น เกี่ยวกับเตาเผาขยะโดยตรง แต่ ยังมีคู่แข่งเกี่ยวกับการกาจัดขยะ ส่วนหนึ่งที่มีความสาคัญมากสาหรับธุรกิจ ของบริษัทอื่นๆ หรือเกี่ยวกับการขนส่งสาธารณะ เช่น รถไฟฟ้า แม้ จ ะไม่ มีอ ย่ า งอื่ น ที่เ หมื อ นกั น แต่ก็ ยั ง มี ก ารขนส่ งสาธารณะ 2.ความชื่นชอบที่เกี่ยวพันกับตราสินค้า (Favourability อย่ า งอื่ น ๆ ที่ ส ามารถแข่ ง ขั น กั บ รถไฟฟ้ า ได้ เ ช่ น กั น ยกตวั of Brand Associations) การที่ผู้บริโภคจะเลือกว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อย่างเช่น การขนส่งสาธารณะอย่ างรถร่ วม ขสมก. รถแท็ก ซี่ ให้เป็นความชื่นชอบของตน จาเป็นต้องอาศัยการวิ เคราะห์อย่าง โดยสาร เรือโดยสาร หรือแม้แต่วินมอเตอร์ไซด์ เป็นการแข่งขัน ถี่ ถ้ ว น สามารถเชื่ อ มโยงตั ว ตนให้ เ ข้ า กั บ ตราสิ น ค้ า นั้ น ๆได้ ทางตรง แต่ก็มีความเกี่ยวพันกับการขนส่ง สาธารณะที่ให้บริการ สามารถครองใจผู้บริ โ ภคไปได้ระยะยาว ความชื่ น ชอบในตรา อยู่ ดังนั้นการ สร้างเอกลักษณ์ที่เกี่ยวพันกับตราสินค้า จึงเป็นสิ่ง สินค้า ของผู้บริโภคจึงถูกสร้างขึ้นจากการทาให้ผ้บริโภคเชื่อมั่น ที่สาคัญ ทาให้ผู้บริโภคสามารถจดจา และเชื่อถือตราสินค้าของ ว่าแบรนด์นั้นมีคุณประโยชน์และคุณลักษณะของตราสินค้าตรงกับ เรา ตนเอง ซึ่งสามารถทาใหผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจ และสามารถ
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
4
เอกลักษณ์ ของตราสินค้า (Brand Identity) ใช้การโฆษณาร่วมกับสัญลักษณ์ที่มีภาพลักษณ์ ภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ Esso ใช้ “เสือ”แทนสัญลักษณ์ Esso = เสือ / รถยนต์ จะวิ่งเร็วเหมือนเสือ การสัมผัสตราสินค้า (Brand Contact) – เห็นโฆษณาบ่อยๆจากสัญลักษณ์ที่ถูกสร้างขึ้นส่งผลถึงการจดจา ขั้นตอนที่ 2. การสื่อสารภาพลักษณ์ตราสินค้า 2.1 การสื่อสารภาพลั กษณ์ ตราสินค้า ด้วยเครื่อ งมื อ การสื่อ สารการตลาด (Marketing Communication Tools) การก าหนดภาพลั ก ษณ์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม การตลาดที่ พึ ง ประสงค์นั้น วิเคราะห์จาแนกโดยอาศัยกรอบทฤษฎีส่วนประสม ทางการตลาด ร่วมกั บทฤษฎี การสื่ อ สารการตลาด ดัง นั้ นการ บรรลุเป้าหมายของภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาดจึงสามารถ ด าเนิ น การได้ โ ดยอาศั ย เครื่ อ งมื่ อ การสื่ อ สารการตลาด (Marketing Communication Tools) ที่ มี อ ยู่ ม าประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ ห้ กลมกลืนกัน ดังนี้ 1. การสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาดโดยอาศัย การโฆษณา (Advertising) การโฆษณาเป็นเครื่องมือหลักในการสื่อสารภาพลักษณ์ ของสิ น ค้ า โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ภาพที่ สื่ อ ถึ ง ความสวยงาม ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีล้าสมัย ทั้งนี้ การสร้างภาพลักษณ์ ตรายี่ห้อของสินค้าหรือบริการผ่านทางโฆษณา มีองค์ประกอบที่ สาคัญคือ ภาพของสินค้า คาขวัญ คาบรรยายจุดเด่นของสินค้า ชื่อผู้แทนจาหน่าย สถานที่ติดต่อและโทรศัพท์ ชื่อและที่ตั้งของ บริษัท ซึ่งทั้งหมดนี้ต้องบ่งบอกถึงบุคลิกของสินค้าและตาแหน่ง ครองใจของสินค้านั้น ๆ อย่างเด่นชัด
2. การสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาดโดยอาศัย การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) การประชาสัมพันธ์เป็นเครื่องมือที่สร้างความเชื่อถือได้ ดีและมีความยืดหยุ่นสูง จึงสามารถช่วยสร้างภาพลักษณ์ตรายี่ห้อ และภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์โดยรวมของบริษัทได้ด้วยวิธีการเสนอ ข้อเท็จจริงเชิงบวกอย่างนุ่มนวลและไม่โอ้อวด จึงกลายเป็นจุด แข็งที่เสริมสร้ า งความเชื่อถื อไว้วางใจแก่ผู้บริโ ภคในระยะยาว นอกจากนี้ การทาประชาสัมพันธ์ยังเป็นเครื่องมือหลักของการ สื่อสารภาพลั กษณ์ ขององค์ก ร โดยถ่ายทอดผ่านทางกิจ กรรม พิเศษ การรณรงค์ และสื่อ เพื่อบ่งบอกถึงประสิทธิภาพและความ เจริญก้าวหน้าของกิจการ และแสดงให้เห็นถึงความรับผิด ชอบที่ ธุรกิจมีต่อสังคม 3. การสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาดโดยอาศัย การสื่อสารผ่านบุคคล (Personal Contact) การสื่อสารผ่านทางบุคคลในที่นี้อาจเป็นพนักงานขาย สินค้า ตัวแทนจาหน่าย หรือสมาชิกในระบบการตลาดขายตรง ซึ่งทาหน้าที่โดยตรงในการถ่ายทอดข้อมูลและให้บริการที่ดีแก่ ลูกค้า ตลอดจนช่วยเสริมสร้างการรับรู้และทัศนคติที่ดีต่อองค์การ ธุ ร กิ จ ตามเป้ า หมายที่ ก าหนดไว้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในการ ดาเนินงานธุรกิจขายตรง (Direct Sale) ซึ่งถือว่าสื่อบุคคลเป็น กลไกหลักในการขับเคลื่อนธุรกิจและเป็นช่องทางในการสื่อสาร ระหว่างบริษัทกับลูกค้าในทุก ๆ เรื่อง ทั้งเรื่องสินค้า บริการ และ กิ จ กรรมต่ า ง ๆนอกจากช่ อ งทางสื่ อ บุ ค คลซึ่ ง ท าหน้ า ที่ ข าย โดยตรงแล้ว พนักงานบริการ รวมถึงพนักงานทั้งหมดของบริษัท ล้วนมีส่วนช่วยสนับสนุนภาพลักษณ์ของธุรกิจทั้งสิ้น
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
5
4. การสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาดโดยอาศัย การส่งเสริมการขาย การส่งเสริมการขายในที่นี้ห มายรวมทั้งกิจกรรมและ อุ ป กรณ์ ส่ ง เสริ ม การขายที่ จั ด ขึ้ น ทั้ ง สองส่ ว นนี้ ต้ อ งมี ค วาม สอดคล้องกับพฤติกรรมของกลุ่มผู้บริโภคที่เป็นเป้าหมาย เพื่อ ช่วยสร้างเสริมภาพลักษณ์ที่ดีและถูกต้องของสินค้า รวมไปถึง ภาพลัก ษณ์ที่ ดีของธุรกิจ โดยสะท้ อ นถึง ตาแหน่ง ครองใจของ สินค้าหรือบริการที่ขายอย่างชัดเจนและมีรสนิยมอันเหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมาย 5. การสร้างภาพลักษณ์เพื่อส่งเสริมการตลาดโดยอาศัย การสื่อสารผ่านอัตลักษณ์ของธุรกิจ (Business Identity) การสื่อสารผ่านอัตลักษณ์ของธุรกิจในที่นี้หมายถึงการ กาหนดรูปแบบหรือการออกแบบ (Design) ซึ่งสามารถถ่ายทอด ผ่านองค์ประกอบหลั ก ๆ ของธุรกิ จ ได้โ ดยตรง คือ ถ่ า ยทอด ผ่ า นอั ต ลั ก ษณ์ ข องสิ น ค้ า (Product Identity) ซึ่ ง เน้ น ที่ ก าร ออกแบบตัวสินค้าและบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับตาแหน่งครอง ใจ นอกจากนี้ ยั ง ถ่ า ยทอดผ่ า นอั ต ลั ก ษณ์ ข ององค์ ก าร (Corporate Identity) ซึ่ง เน้ น ที่ รูปทรงของอาคาร การตกแต่ ง สถานที่ บรรยากาศ ป้ายสัญลักษณ์ รวมถึงเครื่องแบบพนักงาน ที่ จ ะช่วยสื่อความหมายและสร้ า งความประทั บใจในทิ ศทางที่ ต้องการได้อย่างสอดคล้องกัน ดังนั้น หากธุรกิจสามารถผสมผสานการใช้เครื่ อ งมื อ สื่อสารการตลาด (Marketing Communication Tools) หลาย ๆ ชนิดเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน โดยที่ทุก ๆ เครื่องมือดังได้กล่าว มาข้ า งต้ น ต่ า งมุ่ ง สู่ เ ป้ า หมายที่ ชั ด เจนเป็ น หนึ่ ง เดี ย วแล้ ว ก็ สามารถผลักดันให้เกิดเป็นภาพลักษณ์ที่เข้มแข็ง และทรงพลัง มากพอที่ จ ะช่วยสนับสนุน การตลาดของธุรกิจ ได้อ ย่ า งดี ดัง ที่ Kotler (2000:296-297) ได้ ยื น ยั น ไว้ ว่ า ภาพลั ก ษณ์ ที่ มี ประสิทธิภาพจะช่วยให้เกิดผลดีต่อธุรกิจใน 3 ส่วนคือ 1) ช่วยสร้างบุคลิกและคุณค่าแก่สินค้า (Product Value and Proposition) 2) ช่วยนาเสนอความแตกต่างที่ชัดเจน ไม่สับสนกับ คู่แข่ง และ 3) ภาพลั ก ษณ์ ใ นจิ ต ใจ (Mental Image) ช่ ว ย ก่อให้เกิดพลังของอารมณ์ความรู้สึก โดยการถ่ายทอดภาพลักษณ์ เหล่านี้ผ่านช่องทางการสื่อสารทุกชนิดและการสื่อสารตราสินค้า (Brand Contact) เช่น หากกาหนดว่า “ไอบีเอ็มคือบริการ” (IBM Means Service) ข่าวสารนี้จะต้องสื่อผ่านทุกทางทั้งสัญลักษณ์ (Symbols) สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ สื่ อ โสตทั ศ น์ บรรยากาศของบริ ษั ท
กิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดขึ้น ตลอดจนพฤติกรรมการแสดงออกของ พนักงาน 2.2 การสื่อสารภาพลักษณ์สินค้าด้วยภาพ
2.2.1 การสื่อความหมายด้วยภาพสามารถทาได้ 3 วิธี
การแสดงด้วยภาพมักจะแสดงออกถึงความคิดในทางที่ ง่ายที่สุด ตรงไปตรงมา การถ่ายทอดวัฒนธรรมระหว่างประเทศที่ ใช้ภาษาต่างกัน ภาพเป็นสิ่งสาคัญที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร 1.ภาพเหมื อ น (Representation) หมายถึ ง ภาพที่ แสดงถึงสิ่งที่เรามองเห็นและสังเกตได้จากสภาพแวดล้อม และ ประสบการณ์ 2.ภาพสั ญ ลั ก ษณ์ (Symbolism) หมายถึ ง มนุ ษ ย์ สร้างสรรค์ขึ้นเป็นลักษณะของสัญลักษณ์แทนสิ่งที่เรามองเห็นจริง โดยทาให้ดูง่ายขึ้นและมีความหมายชัดเจน 3.ภาพนามธรรม (Abstract) คือ การลดรายละเอีย ด จากสิ่ ง ที่ มองเห็ น ไปสู่ อ งค์ประกอบในการมองขั้ น พื้ น ฐาน ซึ่ง ความจริงแล้วการจะเข้าใจในโครงสร้างขององค์ประกอบต่างๆ ที่ มองเห็น มีความสาคัญมาก และการวาดภาพเหมือนให้เหมือน ของจริงมากเท่าใด ความหมายของภาพจะอธิบายถึงสิ่งในภาพ อย่างเฉพาะเจาะจงเท่านั้น 2.2.2 ประเภทของภาพที่สามารถสื่อสารภาพลักษณ์ของ ตราสินค้า
1. ภาพสินค้าโดด (Product Alone) คือ การออกแบบ โฆษณาโดยใช้ ภ าพของสิ นค้า เพี ยงอย่ า งเดีย ว โดยมีข้อความ โฆษณาประกอบได้ บ้ า งตามสมควร วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ให้ มี ลักษณะที่โดดเด่นเห็นไดชัดเจนเป็นโฆษณาที่ ออกแบบง่ายที่สุด ผู้ดูรู้ง่ายเข้าใจง่าย ว่าเป็นโฆษณาอะไร เพราะไม่มีสิ่งมาปะปนให้ สับสนยุ่งยาก
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
6
สินค้าหรือบริการที่โฆษณาจะเกิดผลเสียอย่างไร ถ้าได้ใช้สินค้า หรือบริการที่โฆษณาแล้วจะเกิดผลดีอย่างไร วัตถุประสงค์ เพื่อให้ ผู้ดูรู้ง่าย เข้าใจง่ายแสดงผลให้เห็นได้ชัดเจน
2. ภาพสินค้าพร้อมการตกแต่งประกอบ (Product in setting) คือ การโฆษณาสินค้าพร้อมองค์ประกอบอื่น ๆ เช่นฉาก หลั ง (Background) หรื อ ส่ ว นประกอบอื่ น ๆ ที่ เ หมาะสมกั บ สินค้านั้น วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มบรรยากาศเพิ่มความหมาย เพิ่ม 5. ภาพประกอบพาดหัว (Dramatizing the Headline) ความประทับใจแก่ภาพที่โฆษณายิ่งขึ้น คือ การเลือกใช้ภาพโฆษณาที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับพาด หัวโดยตรง วัตถุประสงค์ เพื่อให้พาดหัวมีน้าหนัก ได้ภาพพจน์ ชัดเจน เชื่อถือได้ ชวนให้ติดตามอ่านเรื่องราวรายละเอียดต่อไป
3. ภาพสินค้าขณะถูกใช้ (Product in Use) คือ ภาพ โฆษณาที่ แสดงการใช้ สิ นค้าเพื่อ ให้ เห็ นว่า สิน ค้า นั้ นใช้ อ ย่ างไร วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ เตื อ นใจให้ นึ ก ถึ ง สิ น ค้ า นึ ก ถึ ง การใช้ เห็ น ประโยชน์จากการใช้ เร้าใจให้เกิดความต้องการซื้อและการที่ มี 6.ใช้ภาพประกอบข้อความโฆษณา (Dramatizing the ภาพคนกาลังใช้สินค้าหรือบริการ ช่วยเพิ่มความมีชีวิตชีวาให้แก่ Caption) คือ การเลือกใช้ภาพโฆษณาที่มีความหมายเกี่ยวข้อง ภาพที่โฆษณา สัมพันธ์กับข้อความที่ใช้โฆษณาโดยตรง วัตถุประสงค์ เพื่อให้การ โฆษณานั้นน่าสนใจ ได้ภาพพจน์ชัดเจน เข้าใจง่าย จาง่าย
7.ภาพแสดงคุณภาพของสินค้า (Testimonial) คือ การ 4. ภาพแสดงปั ญ หาจากการที่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ สิ น ค้ า (Problems) หรือ แสดงประโยชน์ ที่ได้จากการใช้สินค้า (Users) ใช้ภาพที่แสดงให้เห็นคุณภาพของสินค้า โดยสามารถถ่ายทอด คือ การใช้ภาพโฆษณาที่แสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดว่า ถ้าไม่ได้ใช้ ออกมาเป็น ภาพให้ เ ห็ น ได้อ ย่ า งเด่น ชั ด แทนที่ จ ะใช้ข้อ ความ
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
7
โฆษณากล่ า วถึ ง ประโยชน์ ล อย ๆ วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ให้ เ ป็ น ว่าเปรียบเทียบเสมือนอะไรวัตถุประสงค์ เพื่อให้เข้าใจง่าย ได้ หลักฐานเสมือนประจักษ์พยานที่เชื่อถือได้ ยอมรับได้ ภาพพจน์ที่ชัดเจน
8.ภาพแสดงเรื่ อ งราวต่ อ เนื่ อ งกั น (Continuous) คื อ 11. ภาพโฆษณาเปรี ย บเที ย บ หรื อ ภาพแสดงความ การโฆษณาที่ใช้ภาพต่อเนื่องกันเป็นขั้นเป็นตอน หรือเป็นฉาก ๆ แตกต่าง (Contrast) คือ การใช้ภาพโฆษณาเปรียบเทียบ แสดง อย่างมีโครงเรื่อง (Plot) ใช้ภาพวาดหรือภาพถ่ายก็ได้ ให้เห็นความแตกต่างของสินค้าที่โฆษณากับสินค้าคู่แข่งขันว่า แตกต่างกันอย่างไร หรือใช้เปรียบเทียบสินค้ายี่ห้อเดียวกันแต่ ต่างยุคสมัยกัน เพื่อแสดงให้เห็นการพัฒนาของสินค้าว่าก้าวหน้า เพียงใด วัตถุประสงค์ เพื่อแสดงส่วนดีที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน หรือ สินค้าชนิดเดียวกันแต่แดสงให้เห็นว่ารุ่นใหม่ดีกว่ารุ่นเก่าอย่างไร
9. ภาพขยายส่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใดของสิ น ค้ า เป็ น พิ เ ศษ (Product Feature) คือ ภาพโฆษณาที่ประกอบด้วยส่วนที่เจาะจง ขยายจุดที่ต้องการเน้นออกมาให้เด่นเป็นพิเศษ เพื่อให้สังเกตง่าย ว่าแตกต่างจากสินค้าโดยทั่วไปอย่างไร วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิด ความสนใจเป็นพิเศษ เป็นจุดจูง ใจให้ตัดสินใจได้ง่ายเมือจะเลือก 12. ภาพการ์ ตู น (Cartoon) คือ ภาพที่ เ ขีย นขึ้นให้ดู ซื้อสินค้า ผิดเพี้ยนเพื่อล้อเลียนธรรมชาติประชาชนโดยทั่วไปชอบการ์ตูน มาก โดยเฉพาะเด็ ก ๆ วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ให้ ก ารโฆษณาดู สนุกสนาน หรือตลกขบขัน ทาเรื่องยากให้ดูง่าย ๆ ไม่เคร่งเครียด เหมาะที่จะใช้โฆษณาสินค้าสาหรับเด็ก ๆ เป็นพิเศษ
10. ภาพแสดงภาพพจน์ของสินค้า หรือภาพเทียบเคียง (Comparison) คือ การใช้ภาพโฆษณาที่แสดงภาพพจน์ของสิน้า
13. ภาพฝั น หรื อ จิน ตนาการ (Fantasy) คือ ภาพที่ เจาะจงสร้างขึ้นมาเพื่อให้แ ปลก พิสดารกว่าภาพโฆษณาทั่ว ๆ
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
8
ไป โดยใช้เทคนิคในการผลิตหรือถ่ายทา วัตถุประสงค์ เพื่อให้ 2.4 องค์ประกอบของภาพลักษณ์จากการรับรู้ สะดุดตา น่าสนใจ ประทับใจ การกระตุ้น (Stimulated) 2.3 การสื่อสารภาพลักษณ์สินค้าด้วยตัวอักษรและการ การรับรู้ (Perception) เขียน การตัดสินใจซื้อ (Buying Decision) ตัวอักษรและการเขียนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญต่อการ สื่อสารภาพลักษณ์ของสินค้า ความต้องการของการสื่อสารจาก การค้นหา + การกระตุ้น สิ่งที่อยู่ในใจกลุ่มเป้าหมาย + ภาพอย่างเดียวในบางครั้งอาจไม่เพียงพอ หากเพิ่มการสื่อสาร เพื่อตัดสินใจซื้อสินค้าของเรา ภาพลักษณืของสินค้าด้วยการเขียน (Copywriting) ด้วยแล้วจะ ทาให้ข้อมูลที่ต้องการสื่อสารสร้างความเข้าใจได้มากยิ่งขึ้น วิธีการกระตุ้นกลุ่มเป้าหมาย 1.สิ่งเร้าภายนอก เช่น ค่านิยม ความเชื่อ การเขียน (Copywriting) ที่ดี มีวิธีการดังนี้ วัฒนธรรมประเพณี กิจวัตรประจาวัน ฯ 1. รู้ถึงกลุ่ มเป้าหมายว่า เป็นใคร ต้อ งการอะไร และ 2.สิ่งเร้าภายใน เช่น อารมณ์ ความรู้สึก การเรียนรู้ พฤติกรรมเป้าหมายเป็นเช่นไร 3. ลักษณะของสิ่งเร้า ที่มีอิทธิพลต่อผู้บริโภค 2. การค้นคว้าข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องทั้งกลุ่มเป้าหมาย สี (Color) รส(Taste) กลิ่น(Smell) หรือตัวสื่อที่จะใช้ในการสื่อสารกับตัวกลุ่มเป้าหมาย เสียง(Sound) สัมผัส(Feel) 3. การตอบโจทย์ ซึ่ ง จะต้ อ งหาใจความหลั ก เพี ย ง ใจความเดียวเท่านั้น ไม่ควรทาให้ภายในงานเดียว มีใจความหลัก ภาพลั ก ษณ์ จ ะสามารถแยกองค์ ประกอบออกเป็น 4 หลายใจความ เพราะอาจทาให้เกิดความสับสนจากข้อมูลที่ใช้ ส่วนแต่ความจริงแลว้ องค์ประกอบทั้ง 4 ส่วน สามารถแยกออก สื่อสารได้ จากกั น ได้ เนื่ ง จากทั้ ง 4 ส่ วน มี ความสั มพั น ธ์ และสามารถ 4. เป็น การกล่ า วถึ ง สิ่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ตั วสิ น ค้ า หรื อ เชื่ อ มโยงกั น และองค์ประกอบทั้ ง 4 ส่ วนนี้ มีความเกี่ย วข้ อ ง บริการเท่านั้น สัมพันธ์กันอย่างไม่อาจแบ่งแยกได้ คือ 5. จะต้องอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง 1. องค์ประกอบเชิงการรับรู้ (Perceptual Component) 6. มีความเรียบง่าย ด้วยการใช้คาพูดน้อย เข้าใจง่าย เป็นสิ่งที่บุคคลได้จากการสังเกตโดยตรง แล้วนาสิ่งนั้นไปสู่การ สื่อความหมายได้ตรงตามความต้องการ รับรู้ สิ่งที่ถูกรับรู้นี้อาจจะเป็นบุคคล สถานที่ เหตุการณ์ ความคิด 7. ควรทาความรู้จักสื่อแต่ละสื่อ เพื่อนาไปใช้สื่อสารให้ หรือสิ่งของต่าง ๆ เราจะได้ภาพของสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เหล่านี้ โดนใจผู้บริโภคมากที่สุด โดยผ่านการรับรู้เป็นเบื้องแรก 8. ไม่ยึดติดกับความคิดในครั้งแรก ควรมีการปรับปรุง 2. องค์ ป ระกอบเชิง ความรู้ (Cognitive Component) พัฒนาให้ดีกว่าเดิม จนได้งานที่สมบูรณ์ ได้แก่ ส่วนที่เป็นความรู้เกี่ยวกับลักษณะ ประเภท ความแตกต่าง ของสิ่งต่าง ๆ ที่ได้จากการสังเกตและรับรู้ 3. องค์ประกอบเชิงความรู้สึก (Affective Component) ได้แก่ ความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ อาจเป็ นความรู้สึก ผูกพันยอมรับหรือไม่ยอมรับ ชอบหรือไม่ชอบ 4 . อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ เ ชิ ง ก า ร ก ร ะ ท า ( Cognative Component) เป็นความมุ่งหมายหรือเจตนา ที่เป็นแนวทางใน การปฏิบัติตอบโต้สิ่งเร้านั้น โดยเป็นผลของปฏิสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบเชิงความรู้และเชิงความรู้สึก
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
9
ตัวอย่ำงกำรใช้องค์ประกอบทัง้ 4 อย่ำงเป็นส่วนประกอบในหนังสือแนะนำสินค้ำ
องค์ประกอบเชิงการรับรู้ เชิงความรู้ เชิงความรู้สึก และเชิงการกระทานี้จะผสมผสานกันเป็นภาพที่บุคคลได้มีประสบการณ์ ในโลก ดังนั้น ภาพลั ก ษณ์ ที่ ดีของตราสิ น ค้า จึ ง สั มพั น ธ์โ ดยตรงกั บพฤติก รรมของผู้บ ริ โ ภค ซึ่ง กว่า ผู้บริ โ ภคเป้า หมาย (Target Consumer) แต่ละราย จะเปลี่ยนฐานะมาเป็นลูกค้า (Customer) นั้น จะผ่านการรับรู้(Perception) จนเกิดความรู้ (Knowledge) และ ความรู้สึก (Affection) ที่ดีต่อผลิตภัณฑ์และองค์การธุรกิจ จนกระทั่งเกิดพฤติกรรมการซื้อ (Buying) มาบริโภคในที่สุด 2.5 เทคนิคการนาเสนอ เพื่อสื่อสารภาพลักษณ์สินค้า ด้วยภาพประกอบ 1.จากภาพหนึ่งภาพ สู่ภาพที่หลากหลาย ในภาพใหญ่ๆยังมีภาพเล็กๆอีกมากมายซ่อนอยู่ ใช้การแยกภาพหนึ่งภาพออกเป็น อีกหลายภาพย่อยๆ วิธีการนี้ทาให้ภาพประกอบมีสีสัน และโทนภาพเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ช่วยให้ทางานได้ง่ายขึ้น ซึ่งประกอบด้วย เทคนิคดังนี้ เรื่องราว การเลือกสิ่งที่น่าสนใจในภาพใหญ่ออกมา เป็นการดึงรายละเอียดที่น่าสนใจในภาพออกมาเพื่อสร้างเป็นภาพใหม่ การแยกภาพย่อยๆ ที่ประกอบอยู่ในภาพใหญ่ออกมาจะช่วยเน้นและเสริมเรื่อราวที่ต้องการนาเสนอได้ชัดเจน และน่าสนใจยิ่งขึ้น
ขนาด โดยทั่วไปจะมองกันว่าภาพใหญ่คือภาพที่สาคัญ ดังนั้นภาพไหนที่อยากเน้นเป็นพิเศษ ก็ทาการขยายให้ใหญ่ ภาพใด ไม่มีความสาคัญมากนักก็ปรับลดขนาดลง
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
10
ใช้เทคนิคเดียวกันร่วมกับงานอื่น ภาพทุกภาพเกิดจากภาพเดียวที่นาภาพมาตัดเป็นส่วนต่างๆ และวางรวมกันโดยจัดวางใหม่ จากภาพหนึ่งภาพย่อยออกมาเป็นหลายภาพ ประกอบกันเป็นชิ้นงานใหม่
มองในรายละเอียด มองดูแบบใกล้ๆ ลงรายละเอียดจะพบว่าภาพธรรมดาหนึ่งภาพ มีการผสมผสานของเส้นสาย รูปทรง สีสัน ส่วนโค้ง มุม ฯลฯ ให้สังเกตส่วนที่ทาให้เกิดความแตกต่างและความหลากหลายเข้าไว้
เลย์เอาท์ การจัดวางตาแหน่งของภาพย่อยในบิเวณพื้นที่ของภาพใหญ่ จากภาพเพียงภาพเดียวทาให้สามารถสร้างสรรค์งาน ที่เต็มไปด้วยความหลากหลายของ ขนาด รูปทรง พื้นผิว เป็นต้น ถ้าภาพเยอะใช้เส้นกริดช่วยจัด
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
11
สีสันและความกลมกลืนที่คล้ายคลึงกัน การตกแต่งบางส่วนด้วยสีเรียบๆ ช่วยให้งานดูโดดเด่น สะดุดตายิ่งขึ้น สิ่งสาคัญอยู่ที่ การเลือกสีให้เข้ากับภาพมากที่สุด โดยการใช้ Eyedropper Tool (ในโปรแกรมPhotoshop) เก็บตัวอย่างสีต่างๆจากภาพต้นแบบ แล้ว เทียบกับวงล้อสีว่าสีเหล่านั้นอยู่ตาแหน่งไหน
จากตัวอย่างนี้สีที่เลือกมาเป็นสี โทนร้อน ดังนั้นเพื่อรักษาโทนอุ่นเอาไว้ ให้เลือกสีที่อยู่ถัดไป 1 หรือ 2 ช่วง การเลือกสี ใกล้เคียงแบบนี้เป็นการใช้สีแบบAnalogous ไม่ว่าจะเลือกสีใดในช่วงสีก็รับประกันได้ว่าภาพรวมของการสื่อสารเป็นไปในโทนสีที่ไม่ ขัดแย้งกัน ตัดด้วยสีตรงข้าม ลดอุณหภูมิของสีร้อน โดยการเลือกสีคู่ตรงข้าม (Complement) จะช่วยสร้างคอนทราสต์ ทาให้ชิ้นงานมี พลังมากขึ้น
2.พื่นฐานแห่งการครอป (crop) การตัดภาพ หรือเรียกกันว่าการครอป(crop) ไม่ใช่เทคนิคการตัดภาพให้พอดีกับพื้นที่บน หน้างาน แต่เป็นวิธีการที่เน้นรายละเอียดของบางส่วนในภาพ เพื่อบอกเล่าเรื่องราว
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
12
ซูม ครอปเพื่อบอกเล่าเรื่องราว ความแตกต่างของระยะบอกเล่าเรื่องราวไม่เหมือนกัน ภาพซ้ายคือลูกเบสบอลในสภาพมอมแมม ภาพขวาคือลูกเบสบอลที่ซูมและครอปเข้าไปที่ลูกเบสบอล ในระยะใกล้ขนาดนี้ทา ให้เห็นลักษณะหนังของลูกเบสบอล รอยเย็บ คราบฝุ่น สร้างความรู้สึกทางอารมณ์ให้กับภาพ
ตาแหน่งครอปภาพโคลสอัพที่ระดับตา ครอปส่วนไม่สาคัญทิง้ ไป
มุม ระดับแนวเส้นขอบฟ้า ถ้าสังเกตุดีๆจะเห็นว่าเส้นขอบฟ้าในภาพนี้เอียง ยิ่งเส้นขอบฟ้าอยู่กับแผ่นน้าด้วยแล้วยิ่งดูผิดจาก ความเป็นจริง ให้ปรับภาพตามเส้นตรงอ้างอิง(เส้นขอบฟ้า) ระนาบของภาพจะไม่เอียง
ในทางกลับกันถ้าต้องการสร้างสรรค์ภาพให้มีลักษณะที่แตกต่างออกไป ปรับความลาดเอียงเส้นเส้นตรงอ้างอิง(เส้นขอบฟ้า) ก็จะทาให้ภาพเกิดมุมมองใหม่ๆ มากขึ้น
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
13
3. การใช้ภาพเป็นพื้นแบคกราว ใช้แบคกราวเรียบๆ ภาพแบคกราวที่มีรายละเอียดของภาพมากจนเกินไป อาจดูดีเวลาแสดงภาพเป็นเทมเพลท แต่พอใส่ ข้อความลงไปในภาพแล้ ว ทาให้ข้อความนั้น อ่านได้ยากมาก ควรใช้แบคกราวในโทนสรมืด หรือโทนสีกลางไม่จั ดจ้าน หรือใช้ ภาพประกอบตามลักษณะทั้ง 4 แบบตามภาพตัวอย่าง
ครอปเพื่อเติมเต็มพื้นที่ว่าง วิธีสาหรับการสร้างภาพแบคกราว เพื่อใช้ตกแต่งในงานนาเสนอ หรือส่วนต่างๆของเว็บไซท์ หรือ บล็อก ฯลฯ วิธีการครอปภาพเพื่อนาไปวางในพื้นที่แคบๆ ให้ใช้ภาพที่มัรายละเอียดของส่วนประกอบที่ทาให้ผู้พบเห็นคิดถึงตราสินค้า ครอปตรงส่วนที่มีรายละเอียด (เช่นภาพตัวอย่าง ส่วนที่ครอปนั้นมีทั้งเข็ม ด้าย กระดุม และสายวัด และยังมีสีที่ตัดกันหลายสี ช่วย แยกสิ่งของแต่ละอย่างออกจากกันได้อย่างชัดเจน
Industrial Design กิ จ ก ร ร ม ส ร้ า ง นั ก อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
14
NOTE