หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)
คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา ศูนยรงั สิต/คณะแพทยศาสตร หมวดที่ 1. ขอมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Medical Sciences 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิทยาศาสตรการแพทย) ชื่อยอ : ปร.ด. (วิทยาศาสตรการแพทย) ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Doctor of Philosophy (Medical Sciences) ชื่อยอ : Ph.D. (Medical Sciences) 3. วิชาเอก (ถามี) ไมมี 4. จํานวนหนวยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 4.1 ทําวิทยานิพนธ ไมนอยกวา 48 หนวยกิต สําหรับผูทสี่ ําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 4.2 ทําวิทยานิพนธ ไมนอยกวา 72 หนวยกิต สําหรับผูทสี่ ําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และ ผูที่โอนมาจากหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาเอก ศึกษา 3 ป 5.2 ภาษาที่ใชในการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรจัดการศึกษาเปนภาษาไทย 5.3 การรับเขาศึกษา รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาตางชาติ 5.4 ความรวมมือกับสถาบันอื่น เปนหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ 5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 2
มคอ.2 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร - หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555 ปรับปรุงจากหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตศึกษา สาขาวิชา วิทยาศาสตรการแพทย หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550 - กําหนดเปดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2555 - ไดพิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ในการประชุมครั้งที่ 6/2555 เมื่อวันที่ 26 เดือน มีนาคม .พ.ศ 2555 - ไดพิจารณากลั่นกรองโดยคณะอนุกรรมการสภามหาวิทยาลัยดานหลักสูตรและการจัดการศึกษา ในการประชุมครัง้ ที่ 3/2555 เมื่อวันที่ 3 เดือน พฤษภาคม .พ.ศ 2555 - ไดรับอนุมัต/ิ เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัย ในการประชุมครัง้ ที่ 5/2555 เมื่อวันที่ 28 เดือน พฤษภาคม .พ.ศ 2555 7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพรอมเผยแพรคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แหงชาติ ในปการศึกษา 2558 8. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา 8.1 อาจารย 8.2 นักวิจัยดานวิทยาศาสตรการแพทย 8.3 นักวิทยาศาสตรประจําหองปฏิบัติการ 8.4 ผูเชี่ยวชาญดานวิทยาศาสตรการแพทย 9. ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตําแหนงทางวิชาการ และคุณวุฒิการศึกษาของ อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร ลําดับ 1
เลขประจําตัว ตําแหนงทาง บัตรประชาชน วิชาการ 3501200061XXX รองศาสตราจารย
ชื่อ-นามสกุล เกสร สุวรรณประเสริฐ
คุณวุฒิการศึกษา/สถาบัน/ ปการศึกษาที่จบ (พ.ศ.) - วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิทยาศาสตรชีวภาพ) จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2534 - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สรีรวิทยา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2529 - ประกาศนียบัตรวิชาพยาบาล ศาสตรและผดุงครรภชั้นสูง (พยาบาลศาสตรและผดุงครรภ ชั้นสูง) วิทยาลัยพยาบาลพุทธชิน ราชพิษณุโลก, 2521
3
มคอ.2 ลําดับ 2
3
4
เลขประจําตัว ตําแหนงทาง ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิการศึกษา/สถาบัน/ บัตรประชาชน วิชาการ ปการศึกษาที่จบ (พ.ศ.) 3829800096XXX ผูชวยศาสตราจารย ชัยรัตน ตัณทราวัฒนพันธ - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ชีวเคมีทางการแพทย) มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2548 - วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย) มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2543 3409901157XXX ผูชวยศาสตราจารย สุมาลี คอนโด - Doctor of Philosophy (Science) University of Sydney, Australia, 2540 - Master of Science (Medical Microbiology) University Kebangsaan Malaysia, Malaysia, 2535 - วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย) มหาวิทยาลัย ขอนแกน, 2528 3100800643XXX ผูชวยศาสตราจารย ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ - Doctor of Philosophy (Psychiatric Epidemiology) University of London, UK, 2551 - Master of science (Cognitive Science) University of Birmingham, UK, 2541 - วุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (จิตเวชศาสตร) มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร, 2540 - แพทยศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2536
10. สถานที่จัดการเรียนการสอน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต จังหวัดปทุมธานี 11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาที่จําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ปจจุบันประเทศตางๆ มีการแขงขันทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและองคความรูทางวิชาการเพื่อให 4
มคอ.2 ไดรับการยอมรับในความเปนประเทศชั้นนําของโลก ซึ่งดัชนีชี้วดั ความเปนประเทศชั้นนําคือการสราง นวัตกรรมใหมๆ จากผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ คุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรจะ นํามาซึ่งการเพิ่มพูนรายไดของประชากรและรายไดของประเทศ 11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ความเจริญ ก าวหนา ทางเทคโนโลยีแ ละการสื่ อ สารทํา ใหเ กิ ดการเรี ยนรู ขา วสารและรั บ วัฒนธรรมจากชาวตางชาติเพิ่มมากขึ้น สงผลใหวิถีชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไป การพัฒนาสังคม ของประเทศไทยยังไมทันตอการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของบริบททางสังคมและวัฒนธรรมซึ่งมี อิทธิพลตอประชาชนทําใหรูปแบบการดําเนินชีวิตเปลี่ ยนแปลงไปจากวัฒนธรรมดั้งเดิม ทําใหเกิด โรคภัยไขเจ็บเพิ่มมากขึ้น เกิดโรคที่คนพบใหมและยังไมมีวิธีรักษา นอกจากนั้น นโยบายของรัฐบาล ใหไทยเปนศูนยกลางของการบริการสุขภาพ (medical hub) โดยมุงเนนใหมีการประยุกตผลงานวิจัย ทางวิทยาศาสตรการแพทยเพื่อใหเกิดนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถใชแกปญหาในทาง การแพทยไดจริง เนื่องจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรมีสถานะเปนมหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนําและมีความปรารถนาที่ จะใหมีการนําผลงานวิจัยไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุดแกประชากรโลก ดังนั้น คณะแพทยศาสตรจึงได เปดหลักสูตรบูรณาการทางการแพทยสหสาขาหลังปริญญา เพื่อผลิตงานวิจัยและบุคลากรวิจัยที่มี ความรู ความสามารถและทักษะในการวิจัยระดับสูงตอบสนองนโยบายดังกลาว โดยมุงเนนใหเกิด การพัฒนาสังคมไทยใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลกปจจุบัน 12. ผลกระทบจากขอ 11.1 และ 11.2 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวของกับพันธกิจของ สถาบัน 12.1 การพัฒนาหลักสูตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มีการพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรใหมีความทันสมัย และเกิดการบูรณาการทางวิทยาศาสตรการแพทย เพือ่ มุงผลิตบุคลากรที่มีความสามารถทางดานการวิจัย และวิชาการในระดับสูง 12.2 ความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน หลักสูตรวิทยาศาสตรการแพทยฉบับปรับปรุงตอบสนองพันธกิจดานการวิจัยวิทยาศาสตรการ แพทย ผลิตงานวิจัยทางการแพทยระดับสากล และสรางองคความรูใหมดานวิทยาศาสตรการแพทยเพื่อ ประยุก ตใชท างการแพทย ไดอ ยางมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล และตอบสนองความตองการของ ประเทศ 13. ความสัมพันธกับหลักสูตรอื่นที่เปดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน (เชน รายวิชาที่เปดสอน เพื่อใหบริการวิทยาลัย/คณะ/ภาควิชาอื่น หรือตองเรียนจากวิทยาลัย/คณะ/ภาควิชาอื่น) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ รวมกับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาอื่นๆ ภายในคณะ นอกจากนี้ อาจารยที่ปรึกษาอาจกําหนดใหนักศึกษา เรียนรายวิชาภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเพิ่มเติม หรือเขารวมประชุมวิชาการ อบรม ระยะสั้น ที่เปนประโยชนตอการวิจัยเพิ่มเติมไดโดยไมนับหนวยกิต 5
มคอ.2 13.1 รายวิชาในหลักสูตรที่เปดสอนโดยวิทยาลัย/คณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น ไมมี 13.2 รายวิชาในหลักสูตรที่เปดสอนใหวิทยาลัย/คณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่นตองมาเรียน ไมมี 13.3 การบริหารจัดการ มอบหมายใหคณะอนุกรรมการหลักสูตรควบคุมการดําเนินการเกี่ยวกับกระบวนการจัดการ เรียนการสอนเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดของหลักสูตร หมวดที่ 2. ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา บูรณาการความรูวิทยาศาสตรการแพทยทั้งดานลึกและกวางที่สามารถนํามาใชเพื่อสุขภาวะของ ปวงชน 1.2 ความสําคัญ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเปนมหาวิทยาลัยพัฒนาองคความรูเพื่อชี้นําพัฒนา แกปญหาสังคมทุก ดาน คณะแพทยศาสตรมีศักยภาพทางดานโครงสราง หองปฏิบัติการ งบประมาณการวิจัย และมี บุคลากรที่มี ความรูและความเชี่ยวชาญในการผลิตนักวิจัยใหสามารถทําการวิจัย บูรณาการวิทยา ศาสตรการแพทยเพื่อสรางองคความรูใหมอันจะกอประโยชนแกวงการวิทยาศาสตรการแพทยในการ พัฒนาหรือแกปญหาสุขภาพชุมชนอยางมีประสิทธิภาพทุกระดับครบวงจรและยั่งยืน 1.3 วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อใหบัณฑิตทีส่ ําเร็จการศึกษาในหลักสูตรมีลักษณะดังนี้ 1. มีความรู ความสามารถและทักษะในการทําวิจัยระดับสากล มีความเขาใจอยางถองแทลกึ ซึง้ ในองคความรูระดับลึกและกวาง และมีศักยภาพในการทําวิจัยในระดับลึก 2. สามารถบูรณาการความรูดานวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน (พรีคลินิก) กับการประยุกตใช ในทางทางคลินิกและชุมชน 3. มีศักยภาพสูงในการผลิตงานวิจัยดานวิทยาศาสตรการแพทยในเชิงลึก 4. สามารถประยุกตใชความรูและผลของงานวิจัยเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ ปองกันรักษาและ ฟนฟูสุขภาพของประชาชนโดยรวม
6
มคอ.2 2. แผนพัฒนาปรับปรุง คาดวาจะดําเนินการแลวเสร็จครบถวนภายใน 5 ป 2.1 แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง ระบบกลไกการพัฒนาหลักสูตร
แผนพัฒนาคุณภาพบัณฑิต
2.2 กลยุทธ 2.3 หลักฐาน/ตัวบงชี้ - การปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ป ตามเกณฑ มาตรฐานหลักสูต ร ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ของสํ านั กงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา - การปรับปรุงคุณภาพหลักสูตร - ผลการประเมิ นคุ ณภาพหลั กสู ตรจาก คณาจารย ป ระจํ า หลั กสู ต ร นั กศึ กษา - การประกันคุณภาพหลักสูตร บั ณ ฑิ ต ที่ สํ า เร็ จ การศึ ก ษา และผู ใ ช บัณฑิต - การเสวนาทางวิชาการและ - ระดั บ ความพึ ง พอใจของผู เ ข า ร ว ม วิทยานิพนธ เสวนา - การพัฒนาทักษะนักศึกษาใน - จํานวนผลงานจากวิท ยานิพนธที่ไดรั บ การจัดทํานิพนธตนฉบับ การตีพิมพในวารสารระดับชาติ และ/ หรือระดับนานาชาติ - การสนับสนุนนักศึกษาในการ นําเสนอผลงานในที่ประชุม - จํ า นวนผลงานจากวิ ท ยานิ พ นธ ที่ นํ า วิชาการระดับชาติ และ/หรือ เสนอผลงานในการประชุม วิชาการใน ระดับนานาชาติ ระดับชาติ และ/หรือระดับนานาชาติ
หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1. ระบบ ใชระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาค การศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห และอาจเปดภาคฤดูรอนไดโดยใชเวลาการศึกษา ไมนอยกวา 8 สัปดาห แตใหเพิ่มชั่วโมงการศึกษาในแตละรายวิชาใหเทากับภาคปกติ 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ไมมี 1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค ไมมี 2. การดําเนินการหลักสูตร 2.1 วัน -เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน วัน-เวลาราชการปกติ ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน - กันยายน ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ ภาคฤดูรอน เดือนมีนาคม - พฤษภาคม 7
มคอ.2 2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา คุณสมบัติของผูเ ขาศึกษาตองเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 ขอ 7 และมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. สําหรับผูเ ขาศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี 1.1 เปนผูสําเร็จ การศึก ษาระดับ ปริญญาตรี ห รือคาดวาจะสําเร็จการศึก ษากอนวันขึ้น ทะเบียนเปนนักศึกษาคณะแพทยศาสตรทางดานวิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาศาสตร ชีวภาพหรือสาขาที่เ ที ยบเทาทั้ ง ในหรือ ตางประเทศจากสถาบันการศึ ก ษาที่ส ภา มหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะ โดยตองมีผลการเรียนดีอยูในระดับเกียรตินิยม หรือมี คา ระดับ เฉลี่ ยสะสมไม ต่ํา กว า 3.50 หรื อคณะกรรมการสอบคัด เลื อ กโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาคณะแพทยศาสตรพิจารณาใหสมัครได หรือ 1.2 เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรี หรือคาดวาจะสําเร็จ การศึกษากอนวันขึ้น ทะเบียนเปนนักศึกษาคณะแพทยศาสตร หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หรือเภสัชศาสตรบัณฑิต ตองมีผลการเรียนดี อยูในระดับเกียรตินิยม หรือมีคาระดับเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 หรือคณะกรรมการ สอบคัดเลือก โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาคณะแพทยศาสตร พิจารณาใหสมัครได 2. สําหรับผูเขาศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา โท หรือคาดวาจะสําเร็จการศึก ษากอนวันขึ้นทะเบียนเปนนักศึก ษาคณะแพทยศาสตร ทางดานวิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาศาสตรชีวภาพ หรือสาขาที่เทียบเทาทั้งในหรือตาง ประเทศจากสถาบันการศึกษาที่ส ภามหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะ โดยตองมีคาระดับ เฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.25 หรือคณะกรรมการสอบคัดเลือกโดยความเห็นชอบของคณะ กรรมการบัณฑิตศึกษาคณะแพทยศาสตรพิจารณาใหสมัครได 3. เปนนักศึกษาที่กําลังศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทยของคณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ที่มีคาระดับเฉลี่ยสะสมตั้งแต 3.50 ขึ้นไป ลง ทะเบียนเรียนรายวิชามาแลวไมนอยกวา 12 หนวยกิต และคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา ของคณะแพทยศาสตร โดยการเสนอของคณะอนุกรรมการกลุม และอาจารยที่ป รึกษา พิจารณารวมกันใหปรับเปลี่ยนมาศึกษาระดับปริญญาเอกได ทั้งนี้ การปรับเปลี่ยนระดับ การศึกษาดังกลาวตองดําเนินการใหแลวเสร็จกอนลงทะเบียนวิทยานิพนธ โดยนักศึกษา ตองสอบวัดคุณสมบัติใหผานตามเกณฑ และทําวิทยานิพนธใหมีจํานวนหนวยกิตเทากับ ระดับปริญญาเอก และมีระยะเวลาในการศึกษาตามเกณฑการศึกษาของหลักสูตรระดับ ปริญญาเอก 4. กรณีเปนผูเขาศึกษาชาวตางชาติตองสามารถฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทยอยูในระดับดี ตามเกณฑที่คณะกรรมการบัณฑิตศึกษากําหนด 8
มคอ.2 การคัดเลือกผูเขาศึกษา 1. ผูเขาศึกษาตองผานการสอบขอเขียนและการสัมภาษณตามเกณฑที่คณะกรรมการบัณฑิต ศึกษาของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรกําหนด 2. ผูเขาศึกษาตองสงผลทดสอบภาษาอังกฤษ TU-GET หรือ TOEFLหรือ IELTS โดยผลสอบ ตองไมเกิน 2 ป นับถึงวันสมัคร 3. ผูเขาศึกษาจะตองสงเอกสารแนวคิดการวิจัยที่คาดวาจะทําเปนวิทยานิพนธเมื่อไดรับการ คัดเลือกเขาศึกษา (concept paper) ตามกลุมขอบขายงานวิจัยที่เลือก ไปยังคณะแพทย ศาสตรในวันสมัครสอบ เพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการสอบคัดเลือก และ ตองนําเสนอปากเปลาในวันสอบสัมภาษณ 4. เงื่อนไขอื่นๆ ใหเปนไปตามประกาศรับสมัครบุคคลเขาศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ/หรือคณะแพทยศาสตร 2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา - การปรับตัวและวิธีการเรียนรูในระดับบัณฑิตศึกษา - ทักษะภาษาอังกฤษ 2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพื่อแกไขปญหา/ ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3 2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา 2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพื่อแกไขปญหา/ ขอจํากัดของนักศึกษา การปรับตัวและวิธีการเรียนรูใน ระดับบัณฑิตศึกษา
ทักษะภาษาอังกฤษ
- มีระบบอาจารยที่ปรึกษาทั่วไปดูแลนักศึกษาตั้งแตแรก เข า จนสํ า เร็จ การศึ ก ษา และมี ก ารแต ง ตั้ง อาจารย ที่ ปรึ ก ษาวิ ท ยานิพ นธเ พื่ อช ว ยดู แ ลและติ ด ตามการทํ า วิทยานิพนธของนักศึกษาอีกทางหนึ่ง - นั ก ศึ ก ษารุ น พี่ ใ ห คํ า แนะนํ า ในด า นการเรี ย น และ ถายทอดประสบการณดานตางๆ เชน การบริหารเวลา เพื่อใหสามารถสําเร็จการศึกษาทันตามเวลาที่หลักสูตร กําหนด - เจาหนาที่งานบริการการศึกษาใหขอมูลและคําแนะนํา เรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษา - สงเสริม ใหนักศึก ษาเขารับการอบรมเพื่อพั ฒ นาทักษะ ภาษาอังกฤษ
2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป ในแตะละปการศึกษาจะรับนักศึกษาปละ 5 คน 9
มคอ.2 จํานวนนักศึกษา
2555 5 5 -
จํานวนนักศึกษาแตละปการศึกษา 2556 2557 2558 5 5 5 5 10 10 10 15 15 5 5
2559 5 10 15 5
นักศึกษาใหม นักศึกษาเกา รวม คาดวาจะจบการศึกษา 2.6 งบประมาณตามแผน งบดําเนินการ คาตอบแทนกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ 17,500 บาท คาตอบแทนกรรมการสอบเคาโครงวิทยานิพนธ 17,500 บาท คาตอบแทนกรรมการสอบวิทยานิพนธ 25,000 บาท คาตอบแทนอาจารยทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ 75,000 บาท คาวัสดุ-สารเคมีวิทยาศาสตร 100,000 บาท คาประชุมคณะอนุกรรมการ 8,000 บาท รวมทั้งสิ้น 243,000 บาท ประมาณการคาใชจายตอหัวนักศึกษา 100,000 ตอป โดยมีการบริหารจัดการเปนโครงการปกติ ใชงบประมาณแผนดินประจําป 2.7 ระบบการศึกษา แบบชั้นเรียน แบบทางไกลผานสื่อสิ่งพิมพเปนหลัก แบบทางไกลผานสื่อแพรภาพและเสียงเปนสื่อหลัก แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกสเปนสื่อหลัก (E-learning) แบบทางไกลทางอินเตอรเน็ต อื่นๆ (ระบุ) 2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย ไมมี 3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จํานวนหนวยกิตรวมและระยะเวลาการศึกษา จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 1. ทําวิทยานิพนธ ไมนอยกวา 48 หนวยกิต สําหรับผูทสี่ ําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 2. ทําวิทยานิพนธ ไมนอยกวา 72 หนวยกิต สําหรับผูทสี่ ําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และผูท ี่โอนมาจากหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย 10
มคอ.2 ระยะเวลาศึกษา เปนหลักสูตรแบบศึกษาเต็มเวลา 1. นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ตองใชระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร อยางนอย 6 ภาคการศึกษาปกติ และอยางมากไมเกิน 10 ภาคการศึกษาปกติ 2. นัก ศึ ก ษาที่ สํา เร็จ การศึ ก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี และนัก ศึก ษาที่ โ อนมาจากหลัก สูต ร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย ตองใชระยะเวลาการศึกษา ตลอดหลักสูตรอยางมากไมเกิน 16 ภาคการศึกษาปกติ 3.1.2 โครงสรางหลักสูตร แบบ 1 (ทําเฉพาะวิทยานิพนธ) 1. วิทยานิพนธ 1.1 ผูเขาศึกษาทีส่ ําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทไมนอยกวา 48 หนวยกิต 1.2 ผูเขาศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และผูที่โอนมาจากหลักสูตรวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย ไมนอยกวา 72 หนวยกิต อาจารยที่ปรึกษาอาจกําหนดใหนักศึกษาเรียนรายวิชาภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตรที่เปนประโยชนตอการวิจัยเพิ่มเติมไดโดยไมนับหนวยกิต ขอบขายงานวิจัย 3.1.2.1 กลุมชีววิทยาระดับเซลลและอณูชีววิทยา (Cell and Molecular Biology) มุง เนนการวิจัย ทางดา นชี ววิท ยาและอณู ชีววิ ท ยาระดับ เซลลในเชิ ง ลึก เพื่ อนํา ไปประยุก ต ใชทางการแพทย มีวัตถุประสงคในการผลิตบัณฑิตรุนใหมที่มีความเปนเลิศในการผลิตผลงานวิจัยทางดาน เซลลตนกําเนิดเพื่อสรางองคความรูใหม รวมทั้งสามารถนําเทคโนโลยีเซลลตนกําเนิดไปใชประยุกตใชให เกิดประโยชนในทางการแพทย การเรียนการสอนครอบคลุมเนื้อหาที่ทันสมัยทางดานชีววิทยาระดับเซลล และโมเลกุลของเซลลตนกําเนิดชนิดตางๆ อาทิเชน เซลลตนกําเนิดตัวออน เซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด เซลล ตนกําเนิดจากเนื้อเยื่อรางกาย ตลอดจนความรูทางดานอณูชีววิทยาของเซลลตนกําเนิดที่เปนประโยชน ทางการแพทย นักศึกษามีโอกาสไดรับประสบการณตรงจากการฝกปฏิบัติการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยใน การวิจัยเซลลตนกําเนิด การเขารวมกิจกรรมการประชุมสัมมนา โดยผูเชี่ยวชาญทางดานเซลลตนกําเนิดทั้ง ในระดับชาติและนานาชาติ ขอบขายงานวิจัย 1. Embryonic stem cells ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับชีววิทยาของเซลลตนกําเนิดจากตัวออน การ เพาะเลี้ยง ตลอดจนการนําไปประยุกตใชทางการแพทย 2. Adult stem cells ศึกษาเกี่ยวกับแหลงอื่นๆ ของเซลลตนกําเนิด วิธีการคัดแยก คุณสมบัติ รวมทั้งประโยชนและการนําไปใชทางคลินิก 3. Induced pluripotent stem cells ศึก ษาวิจัยในดานการเหนี่ยวนําเซลลรางกายใหมี คุณสมบัติเปนเซลลตนกําเนิด ทั้งในภาวะปกติและภาวะที่เปนโรค 11
มคอ.2 4. Application of cell and molecular biology in medicine ศึกษาวิจัยทางชีววิทยา และอณูชีววิทยาในระดับเซลล รวมทั้งการนําเทคนิคทางดานเซลลชีววิทยาและอณูชีววิทยา ไปประยุกตใชทางการแพทย 3.1.2.2 กลุมเวชศาสตรการเจริญพันธุ (Reproductive Medicine) ศึกษาวิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลงของระบบสืบพันธุ ทั้งระดับโมเลกุล เซลล และอวัยวะ กลไก ที่เกี่ยวของกับการสรางเซลลสืบพันธุ การปฏิสนธิ การฝงตัว การเจริญและการพัฒนาของตัวออน การ เปลี่ยนแปลงของระดับฮอรโมนการเจริญพันธุตลอดทุกชวงของชีวิต รวมทั้งการตั้งครรภ การเปลี่ยนแปลง ทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของมารดาและทารกขณะอยูในครรภจนถึงคลอด หลังคลอด และในวัยชรา บทบาท หนาที่และความแตกตางระหวางเซลลตนกําเนิด เซลลปกติและเซลลสืบพันธุ วงจรชีวิตของเซลล สืบพันธุ วงจรการสืบพันธุของมนุษย พันธุกรรมศาสตรของระบบการเจริญพันธุ ทักษะการใชเทคโนโลยี ตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเจริญพันธุ (Reproductive Technologies) โดยศึกษาทั้งภาคทฤษฎีและภาค ปฏิบัติ ตั้งแตระดับ basic sciences จนถึงระดับ advanced clinical sciences ขอบขายงานวิจัย 1. Fertility and infertility : ศึก ษาวิจัยการทํางานของระบบสืบ พันธุ การเจริญ พันธุ การมีบุตรยาก สาเหตุ การรักษาและการใชเทคโนโลยีในการแกไขปญหาการมีบุตรยาก 2. Reproductive endocrinology : ศึก ษาวิจัยตอมไรทอที่ทําหนาที่ควบคุม การทํางาน ของระบบสืบพันธุในภาวะปกติและผิดปกติ รวมทั้งการแกไขภาวะที่ผิดปกตินั้นๆ 3. Stem cell in reproduction : ศึกษาวิจัยบทบาทของเซลลตนกําเนิดจากตัวออนและ เนื้อเยื่อตางๆ ในระบบสืบพันธุ รวมทั้งการใชประโยชนทางคลินิก 4. Reproductive genetics : ศึกษาวิจัยพันธุศาสตรของระบบสืบพันธุในระดับโมเลกุล ความผิดปกติตางๆ และหลักการแกไข 3.1.2.3 กลุมสรีรวิทยาคลินิก (Clinical Physiology) ศึกษาโดยใชฐานองคความรูทางพยาธิสรีรวิทยาและงานวิจัยทางวิทยาศาสตรการแพทยที่เกี่ยว ของเชื่อมโยงไปยังองคความรูทางวิทยาศาสตรการแพทยคลินิก วิจัยในลักษณะสหบูรณาการของวิทยา ศาสตรการแพทย โดยเนนหนักทางสรีรวิทยาของหัวใจ หลอดเลือด ไต สมอง และพฤติกรรมเปนดานหลัก ขอบขายงานวิจัย 1. Neuro-cardiovascular research : Stroke, Atherosclerosis, Atrial fibrillation : Biomarker and Oxidative stress 2. Membrane transport : ศึกษาเกี่ยวกับกลไกการขนสงผานเยื่อบุหลอดไต พยาธิสรีรวิทยา ของโรคที่มีความผิดปกติของการขนสงผานเยื่อบุลําไส เชน โรคอุจจาระรวง และสมุนไพรที่ ออกฤทธิ์ยับยั้งกลไกการขนสงสารผานเยื่อบุ 3. Microcirculation – prevention of angiogenesis and apoptosis mechanisms in tumors : ศึกษาเกี่ยวกับการสรางหลอดเลือดใหม (angiogenesis) ทั้งในแง physiological เช น ใน wound healing และ pathological angiogenesis เช น ใน tumor 12
มคอ.2 angiogenesis กับผลของสมุนไพร หรือสารตางๆ ที่มีผลตอการทํางานของระบบหัวใจและ หลอดเลือด โดยสวนใหญเปนการศึกษาในสัตวทดลอง เชน dorsal skin fold chamber เพื่อวิเคราะหหลอดเลือดเฉพาะที่ภายใน chamber ที่ศึกษา 4. Behavioral Sciences : memory, psychiatric problem : ศึกษาวิจัยกลไกทางสรีร วิทยา การรักษาและพฤติกรรมในสัตวทดลองที่ถูกเหนี่ ยวนําทําใหเปนโรคหรือมีภาวะผิด ปกติท างระบบประสาท โดยทํ าการทดลองใน animal model ของโรคตางๆ เช น Schizophrenia, Depression, Anxiety เปนตน 5. Stem cell research 3.1.2.4 กลุมเภสัชโภชนศาสตร (Nutraceutical Sciences) การเรียนการสอนแบบสหวิทยาการ เพื่อผลิตบัณฑิตใหเรียนรูวิธีการและขบวนการแปรรูปสาร จากธรรมชาติที่เปนอาหารและสมุนไพรที่มีผลตอสุขภาพมาเปนยาและอาหารเสริมสุขภาพ เพื่อใชในการ ปองกันและรักษาโรค เนื้อหาการเรียนการสอนมุงเนนใหบัณฑิตรูจักสารเคมีกลุมตางๆ จากธรรมชาติที่มี คุณคาทางโภชนาการ การสกัดแยกสาร และการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพและฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา การ ศึกษาพิษวิทยา ศึกษาการแปรรูปใหเปนผลิตภัณฑยา อาหารเสริมสุขภาพ เพื่อใชรักษาและปองกันโรค ศึกษาความคงตัวของผลิตภัณฑ การทดลองทางคลินิกกับผูปว ย โดยมุงเนนสมุนไพรที่ใชเปนอาหาร วิธีการ วิเคราะหส ารจากธรรมชาติ ดวยวิธีการตางๆ ทั้งทางชีวภาพเคมีและทางกายภาพ วิเคราะหคุณคาทาง โภชนาการ และการแปรรูปเพื่อใหใชสะดวกในรูปอาหารเสริมและยาเม็ด พรอมทั้งการทดลองทางคลินิก ศึกษาวิธีการตรวจสอบทางอาหาร ตลอดจนความรูเกี่ยวกับพระราชบัญญัติ กฎ ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยว ของซึ่งทางสํานักคณะกรรมการอาหารและยากําหนด รวมถึงความรูดานการบริหารจัดการงานวิจัยทาง ดานผลิตภัณฑธรรมชาติชนิดตางๆ ทั้งในตลาดในประเทศและตางประเทศ การจดสิทธิบัตรผลิตภัณฑที่ ผลิตไดเปนขอมูลที่สากลยอมรับ ขอบขายงานวิจัย 1. ศึกษาวิจัยที่มาของยา อาหาร จากสมุนไพร สารเคมีของสมุนไพร และประโยชนของการ คัดเลือกยาจากสมุนไพร เพื่อนํามาใชรักษา และปองกันโรค 2. ศึกษาวิจัยวิธีการการสกัด การแยกสารสําคัญที่ใชเปนสารมาตรฐาน การควบคุมคุณภาพ ของสารสกัดสมุนไพร การทํามาตรฐานสมุนไพร การศึกษาความคงตัวของสารสกัดสมุนไพร การวิเคราะหสารทางโภชนาการ สารสําคัญที่ออกฤทธิ์ตอสุขภาพ 3. ศึกษาวิจัยการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพและฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพรที่เกี่ยวของกับ โรคตางๆ เชน ฤทธิ์ตานมะเร็ง ฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ตานการอักเสบ ฤทธิ์เพิ่มภูมิตาน ทาน ฤทธิ์ตานการแพ ฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือด ฤทธิ์ ตานเชื้อ เชน แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส มาลาเรีย และการทดสอบพิษ เปนตน 4. การศึกษาวิจัยเทคนิคการแปรรูปสมุนไพรใหเปนอาหารและยา เพื่อใชรักษาและปองกันโรค การควบคุมมาตรฐาน การศึกษาความคงตัวของผลิตภัณฑ การทดลองทางคลินิกเกี่ยวกับยา และอาหารเสริม การบริหารและการตลาดของผลิตภัณฑจากธรรมชาติ การขึ้นทะเบียนตอ 13
มคอ.2 สํานักคณะกรรมการอาหารและยา ตลอดจนการจดสิทธิบัตร 3.1.2.5 กลุมจุลชีววิทยาทางการแพทย (Medical Microbiology) มุงเนนการทํางานวิจัยทางดานจุลชีววิทยาทางการแพทย การศึกษากลไกการกอโรค กลไกการ ดื้อยาของเชื้อแบคทีเรีย ระบาดวิทยาในเชิงอณูชีววิทยาของเชื้อกอโรค โรคติดเชื้อที่สําคัญ เชน โรคเอดส อหิวาตกโรค โรคเมลิออยโดซิส และการศึกษาฤทธิ์ตานเชื้อของสมุนไพรไทย ขอบขายงานวิจัย 1. การศึกษาปจจัยความรุนแรงของ Burkholderia pseudomallei (Virulence factors study of Burkholderia pseudomallei) 2. กลไกของการดิ้อยาของแบคทีเรีย : Mechanisms of antibacterial resistance 3. การแยกสายพันธุของเชื้อในระดับ โมเลกุล เชน เชื้อ Vibrio cholerae, เชื้อกอโรคใน โรงพยาบาล เชน Acinetobacter sp., Pseudomonas sp. (Molecular typing of bacteria such as Vibrio cholerae, Hospital-acquired pathogens i.e. Acinetobacter sp., Pseudomonas sp.) 4. สมุนไพรที่มีฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterial activities of Thai medicinal herbs) 5. การตรวจหาการปนเปอนของเชื้อแบคทีเรียในสมุนไพรไทยโดยใชเทคนิคระดับโมเลกุล (Detection of bacterial contamination in Thai medicinal herbs using molecular techniques) 3.1.2.6 กลุมระบาดวิทยาประยุกต (Applied Epidemiology) มุงเนนใหเขาใจถึงหลักการของระบาดวิทยา (epidemiology) ผสมผสานกับความรูทางชีวสถิติ (biostatistics) เพื่อประยุก ตใชกับ งานระบาดวิท ยาในการวางแผนแกปญ หาทางสาธารณสุขอยาง เหมาะสม ประยุกตใชกับเวชปฏิบัติ (clinical practice) และงานในสาขาอาชีพทางวิทยาศาสตรสุขภาพ (health related disciplines) ตามหลักการการแพทยเชิงประจักษ (evidence based medicine) นักศึก ษาสามารถประยุกตใชวิธีวิจัยทางระบาดวิท ยา ความรูและทักษะทางชีวสถิติในงานวิจัยระบาด วิท ยา และงานวิจัยวิทยาศาสตรสุขภาพระดับ ชุม ชน (community-based) หรือระดับ เวชปฏิบัติ (clinical-based) อยางมีคุณภาพตามหลักวิทยาศาสตร ขอบขายงานวิจัย 1. คุณภาพชีวิตดานสุขภาพ (Health Related Quality of Life) 2. การวิจัยทางคลินิก (Clinical Research) 3. การวิจัยทดลองทางคลินิกในคน (Clinical Trial) 4. พฤติกรรมสุขภาพวัยรุนและผูส ูงอายุ 5. ระบาดวิทยาทางสังคม (Social Epidemiology) กับสุขภาพจิตและพฤติกรรมสุขภาพ 6. ความรุนแรงในครอบครัวกับสุขภาพจิตและพฤติกรรมสุขภาพ
14
มคอ.2 3.1.3 รายวิชาในหลักสูตร รหัสวิชา รายวิชาในหลักสูตรประกอบดวย อักษรยอ 2 ตัว และตัวเลข 3 ตัว โดยมีความหมายดังนี้ อักษรยอ พว/MS หมายถึง อักษรยอของสาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย เลขหลักหนวย เลข 0 หมายถึง วิชาบังคับ เลข 1-9 หมายถึง วิชาเลือก เลขหลักสิบ เลข 0 หมายถึง วิชาในวิชาบังคับ เลข 1 หมายถึง วิชาในกลุมชีววิทยาระดับเซลลและอณูชีววิทยา เลข 2 หมายถึง วิชาในกลุมเวชศาสตรการเจริญพันธุ เลข 3 หมายถึง วิชาในกลุมสรีรวิทยาคลินิก เลข 4 หมายถึง วิชาในกลุมโภชนศาสตร เลข 5 หมายถึง วิชาในกลุมจุลชีววิทยาทางการแพทย เลข 6 หมายถึง วิชาในกลุมระบาดวิทยาประยุกต เลขหลักรอย เลข 6-7 หมายถึง วิชาระดับบัณฑิตศึกษา เลข 9 หมายถึง วิชาวิทยานิพนธ 3.1.3.1 วิทยานิพนธ นักศึกษาจะตองเลือกหัวขอในการทําวิทยานิพนธตามกลุมขอบขายงานวิจัยจํานวน ไมนอยกวา 48 หนวยกิต สําหรับผูที่สําเร็จ การศึกษาระดับ ปริญญาโท และไมนอยกวา 72 หนวยกิต สําหรับผูที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและผูที่โอนมาจากหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชาวิทยาศาสตรการแพทย โดยความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต พว.900 วิทยานิพนธ 48/72 MS 900 Dissertation 3.1.4 แสดงแผนการศึกษา หลักสูตรนี้เปดสอนแผนการศึกษา แบบ 1 โดยมีการทําวิทยานิพนธที่กอใหเกิดองคความรู ใหม อาจารยที่ปรึกษา และ/หรือคณะอนุกรรมการกลุมอาจกําหนดใหศึกษารายวิชาเพิ่มเติมหรือทํา กิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มขึ้นก็ไดโดยไมนับหนวยกิต แตจะตองมีผลสัมฤทธิ์ตามที่หลักสูตรกําหนด - ผูเขาศึกษาทีส่ ําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ตองทําวิทยานิพนธไมนอยกวา 48 หนวยกิต - ผูเขาศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และผูที่โอนมาจากหลักสูตรวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย ตองทําวิทยานิพนธไมนอยกวา 72 หนวยกิต 15
มคอ.2 แผนการศึกษา 1. สําหรับผูเขาศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับ 2. สําหรับผูเขาศึกษาที่สําเร็จการศึกษา ปริญญาโท ระดับปริญญาตรี หรือผูที่โอนมาจาก หลักสูตรปริญญาโท ปการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 พว.900 วิทยานิพนธ 6 หนวยกิต พว.900 วิทยานิพนธ 6 หนวยกิต รวม 6 หนวยกิต รวม 6 หนวยกิต ภาคการศึกษาที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 พว.900 วิทยานิพนธ 6 หนวยกิต พว.900 วิทยานิพนธ 6 หนวยกิต รวม 6 หนวยกิต รวม 6 หนวยกิต ปการศึกษาที่ 1 ภาคฤดูรอน สอบวัดคุณสมบัติ ปการศึกษาที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 พว.900 วิทยานิพนธ 9 หนวยกิต พว.900 วิทยานิพนธ 15 หนวยกิต รวม 9 หนวยกิต รวม 15 หนวยกิต ภาคการศึกษาที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 พว.900 วิทยานิพนธ 9 หนวยกิต พว.900 วิทยานิพนธ 15 หนวยกิต รวม 9 หนวยกิต รวม 15 หนวยกิต ปการศึกษาที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 พว.900 วิทยานิพนธ 9 หนวยกิต พว.900 วิทยานิพนธ 15 หนวยกิต รวม 9 หนวยกิต รวม 15 หนวยกิต ภาคการศึกษาที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 พว.900 วิทยานิพนธ 9 หนวยกิต พว.900 วิทยานิพนธ 15 หนวยกิต รวม 9 หนวยกิต รวม 15 หนวยกิต จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 48 หนวยกิต ไมนอยกวา 72 หนวยกิต
16
มคอ.2 3.1.5 คําอธิบายรายวิชา 3.1.5.1 คําอธิบายรายวิชาภาษาไทย พว.900 วิทยานิพนธ 48/72 MS 900 Dissertation การสรางโครงการวิจัยและการดําเนินงานวิจัยอันกอใหเกิดความรูใหมในสาขาวิชาวิทยาศาสตร การแพทย เขียนวิทยานิพนธเกี่ยวกับ หัวขอทางวิทยาศาสตรการแพทย และนําเสนอวิทยานิพนธ การ เขี ย นรายงานวิ จั ย เพื่ อ ตี พิ ม พ เ ผยแพร ผ ลงานลงในวารสารวิ ช าการ จริย ธรรมในการทํ า วิ จัย และ จรรยาบรรณในการเผยแพรผลงานวิชาการ 3.1.5.2 คําอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ MS 900 Dissertation 48/72 Development of research proposal on novel knowledge in medical sciences as well as conducting research according to the proposal project: writing thesis related to medical sciences, presenting research result and publishing research article in academic journal; medical sciences reaearch ethic, publishing research according to professional etiquette
17
มคอ.2 3.2 ชื่อ สกุล เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตําแหนงและคุณวุฒิของอาจารย ผลงานทางวิชาการและภาระงานสอนระบุในภาคผนวก 3.2.1 อาจารยประจําหลักสูตร ลําดับที่ 1
เลขประจําตัวบัตร ประชาชน 3501200061XXX
รองศาสตราจารย
2
38298000096XXX
ผูชวยศาสตราจารย
3
3409901157XXX
ผูชวยศาสตราจารย
4
5
3100800643XXX
3130300324XXX
ตําแหนงทางวิชาการ
ผูชวยศาสตราจารย
รองศาสตราจารย
ชื่อ-นามสกุล
คุณวุฒิ
เกสร สุวรรณประเสริฐ
- วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - ประกาศนียบัตรวิชาพยาบาลศาสตร และผดุงครรภชั้นสูง ชัยรัตน ตัณทราวัฒนพันธ - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - วิทยาศาสตรบัณฑิต สุมาลี คอนโด
- Doctor of Philosophy - Master of Science
- วิทยาศาสตรบัณฑิต ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ - Doctor of Philosophy - Master of science - วุฒิบัตรแสดงความรูค วามชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม - แพทยศาสตรบัณฑิต พฤหัส ตออุดม - วุฒิบัตรแสดงความรูค วามชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม - ประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตรการแพทยคลินิก - แพทยศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชา - วิทยาศาสตรชีวภาพ - สรีรวิทยา - พยาบาลศาสตรและผดุง ครรภชั้นสูง - ชีวเคมีทางการแพทย - เทคนิคการแพทย - Science - Medical Microbiology
สําเร็จการศึกษาจาก สถาบัน ป พ.ศ. - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - 2534 - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - 2529 - วิทยาลัยพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก - 2521 -
- เทคนิคการแพทย - Psychiatric Epidemiology - Cognitive Science - จิตเวชศาสตร -
มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยขอนแกน University of Sydney, Australia Universiti Kebangsaan Malaysia, Malaysia มหาวิทยาลัยขอนแกน University of London, UK University of Birmingham, UK มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
- 2548 - 2543 -2540 -2535 -2528 - 2551 - 2541 - 2540
- สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา
- จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - แพทยสภา (มหาวิทยาลัยขอนแกน)
- 2536 - 2539
- สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา
- มหาวิทยาลัยขอนแกน
- 2536
- มหาวิทยาลัยขอนแกน
- 2535
ลําดับที่ 1-4 เปนอาจารยผูรบั ผิดชอบหลักสูตร 18
มคอ.2 3.2.2 อาจารยประจําที่รวมสอนในหลักสูตร ลําดับที่ 1
เลขประจําตัวบัตร ตําแหนงทาง ประชาชน วิชาการ 3100504213XXX ผูชวยศาสตราจารย
ชื่อ-นามสกุล ศิริกุล มะโนจันทร
2
3190900142XXX อาจารย
ไพรัตน ฐาปนาเดโชพล
คุณวุฒิ - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - พยาบาลศาสตรบัณฑิต - วุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม - Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
- เวชศาสตรการเจริญพันธุ
สําเร็จการศึกษาจาก สถาบัน - มหาวิทยาลัยมหิดล - มหาวิทยาลัยมหิดล - มหาวิทยาลัยมหิดล - แพทยสภา (โรงพยาบาลยุวประสาทไวท โยปถัมภ) - The University of Alabama at Birmingham, USA - คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล - มหาวิทยาลัยขอนแกน - มหาวิทยาลัยขอนแกน - The University of Maschester, UK - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - แพทยสภา
- สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา
- แพทยสภา (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)
- 2534
- สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา
- จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
- 2532
- จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
- 2528
- แพทยสภา (มหาวิทยาลัยขอนแกน)
- 2539
- กายวิภาคศาสตร - กายวิภาคศาสตร - พยาบาลศาสตร - จิตเวชศาสตรเด็กและวัยรุน - Cell Biology
- แพทยศาสตรบัณฑิต 3
38298000096XXX ผูชวยศาสตราจารย
ชัยรัตน ตัณทราวัฒนพันธ - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - วิทยาศาสตรบัณฑิต
4
3100501889XXX ผูชวยศาสตราจารย
ภาคภูมิ เขียวละมาย
- Doctor of Philosophy - แพทยศาสตรบัณฑิต
5
3100502998XXX ผูชวยศาสตราจารย
เจริญไชย เจียมจรรยา
- หนังสืออนุมัติแสดงความรูความ ชํานาญในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม - วุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม - ประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตรการแพทยคลินิก - แพทยศาสตรบัณฑิต
6
3130300324XXX
รองศาสตราจารย
พฤหัส ตออุดม
- วุฒิบัตรแสดงความรูค วามชํานาญ
- ชีวเคมีทางการแพทย - เทคนิคการแพทย - Biochemistry
- สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา
ป พ.ศ. - 2545 - 2540 - 2535 - 2553 - 2542 - 2534 - 2548 - 2553 - 2550 - 2545 - 2552
19
มคอ.2 ลําดับที่
เลขประจําตัวบัตร ประชาชน
ตําแหนงทาง วิชาการ
ชื่อ-นามสกุล
คุณวุฒิ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม - ประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตรการแพทยคลินิก - แพทยศาสตรบัณฑิต
7
8
3100400751XXX ผูชวยศาสตราจารย
35199200026XXX รองศาสตราจารย
อาทิตย บุญยรางกูร
ตรีทิพย รัตนวรชัย
9
3501200061XXX รองศาสตราจารย
เกสร สุวรรณประเสริฐ
10
3309901176XXX ผูชวยศาสตราจารย
โสภาพรรณ เอกรัตนวงศ
11
3190200313XXX ผูชวยศาสตราจารย
อัญญานีย บุโรดม
- วุฒิบัตรแสดงความรูค วามชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม - วุฒิบัตรแสดงความรูค วามชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม - แพทยศาสตรบัณฑิต - Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
- สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา
สําเร็จการศึกษาจาก สถาบัน
ป พ.ศ.
- มหาวิทยาลัยขอนแกน
- 2536
- มหาวิทยาลัยขอนแกน
- 2535
- เวชศาสตรการเจริญพันธุ
- แพทยสภา (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)
-2550
- สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา
- แพทยสภา (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)
-2546
- จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
-2540
- Enviromental Toxicology - The University of Texas Medical Branch at Galveston,Texas, USA - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - ชีวเคมี - มหาวิทยาลัยเชียงใหม - วิทยาศาสตรบัณฑิต - เคมี - มหาวิทยาลัยเชียงใหม - วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต - วิทยาศาสตรชีวภาพ - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - สรีรวิทยา - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตรวิชาพยาบาลศาสตร - พยาบาลศาสตรและผดุง - วิทยาลัยพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก และผดุงครรภชั้นสูง ครรภชั้นสูง - Doctor of Philosophy - Kyorin University School of Medicine, Japan - สรีรวิทยา - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - มหาวิทยาลัยมหิดล - กายภาพบําบัด - วิทยาศาสตรบัณฑิต - มหาวิทยาลัยขอนแกน - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - สรีรวิทยา - มหาวิทยาลัยมหิดล - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - สรีรวิทยา - มหาวิทยาลัยมหิดล
- 2538 - 2529 - 2525 - 2534 - 2529 - 2521 - 2547 - 2535 -2532 - 2548 - 2538
20
มคอ.2 ลําดับที่
เลขประจําตัวบัตร ประชาชน
ตําแหนงทาง วิชาการ
ชื่อ-นามสกุล
12
3309901367XXX ผูชวยศาสตราจารย
พรพรหม จินตนา
13
3100502198XXX ผูชวยศาสตราจารย
จันทริมา เจริญพันธุ
14
3730100698XXX อาจารย
ปริศนา ปยะพันธุ
15
3760100085XXX อาจารย
นภัสนันท เดือนศักดิ์
16
3101500157XXX ผูช วยศาสตราจารย
ชินวัฒน ธาราทรัพย
17
3101201987XXX ผูช วยศาสตราจารย
สมบัติ มุงทวีพงษา
คุณวุฒิ - พยาบาลศาสตรบัณฑิต - วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - พยาบาลศาสตรบัณฑิต - วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - วิทยาศาสตรบัณฑิต - Doctor of Philosophy - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - วิทยาศาสตรบัณฑิต - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - วิทยาศาสตรบัณฑิต - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - วิทยาศาสตรบัณฑิต - Neuroscience Critical Care Fellowship - Stroke Fellowship Residency Program - วุฒิบัตรแสดงความรูค วามชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม - ประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง
สาขาวิชา - พยาบาลศาสตร - สรีรวิทยา - สรีรวิทยา - พยาบาลศาสตร - สรีรวิทยา - สรีรวิทยาของการออก กําลังกาย - กายภาพบําบัด - Physiology - สรีรวิทยา - กายภาพบําบัด - สรีรวิทยา - สรีรวิทยา - กายภาพบําบัด - กายวิภาคศาสตร - ชีววิทยา - วิทยาศาสตรทั่วไป - Neuroscience Critical Care - Stroke - ประสาทวิทยา - อายุรศาสตร
สําเร็จการศึกษาจาก สถาบัน - มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - มหาวิทยาลัยเชียงใหม - มหาวิทยาลัยขอนแกน - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - มหาวิทยาลัยมหิดล
ป พ.ศ. - 2534 - 2548 - 2541 - 2535 - 2549 - 2543
- มหาวิทยาลัยมหิดล - The Queen's University of Belfast, UK - มหาวิทยาลัยมหิดล - มหาวิทยาลัยมหิดล - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - มหาวิทยาลัยมหิดล - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร - Saint Louis University, USA
- 2540 - 2550 - 2542 - 2540 - 2550 - 2544 - 2542 -2532 -2525 -2521
- Saint Louis University, USA
- 2549
- 2550
- แพทยสภา (คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาล - 2541 รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล) - คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี - 2539
21
มคอ.2 ลําดับที่
เลขประจําตัวบัตร ประชาชน
ตําแหนงทาง วิชาการ
ชื่อ-นามสกุล
คุณวุฒิ
สาขาวิชา
- 2535
- ชีวเวชศาสตร - อายุรศาสตรโรคไต
สําเร็จการศึกษาจาก สถาบัน มหาวิทยาลัยมหิดล - คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - แพทยสภา (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)
- อายุรศาสตร
- แพทยสภา (มหาวิทยาลัยขอนแกน)
-2541
- มหาวิทยาลัยขอนแกน - University of Sydney, Australia - Universiti Kebangsaan Malaysia, Malaysia - มหาวิทยาลัยขอนแกน - The University of Melbourne, Australia - มหาวิทยาลัยมหิดล - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - King’s College, University of London, UK - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - University of Maryland, USA - มหาวิทยาลัยมหิดล - The University of Alabama at Birmingham, USA - The University of Connecticut at
-2537 -2540 -2535
วิทยาศาสตรการแพทยคลินิก - แพทยศาสตรบัณฑิต 18
19
3309800069XXX รองศาสตราจารย
3409901157XXX ผูชวยศาสตราจารย
อดิศว ทัศณรงค
สุมาลี คอนโด
20
3101502010XXX
รองศาสตราจารย
นุชสิริ เลิศวุฒิโสภณ
21
3909800881XXX
รองศาสตราจารย
อรุณพร อิฐรัตน
22
3101501536XXX รองศาสตราจารย
กรณกาญจน ภมรประวัติ
23
3100601132XXX
พินทุสร หาญสกุล
ผูชวยศาสตราจารย
- วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต - วุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม - วุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม - แพทยศาสตรบัณฑิต - Doctor of Philosophy - Master of Science
- Science - Medical Microbiology
- วิทยาศาสตรบัณฑิต - Doctor of Philosophy - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - วิทยาศาสตรบัณฑิต - Doctor of Philosophy
- เทคนิคการแพทย - Medical Biochemistry - โภชนศาสตร - ชีวเคมี
- เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต - เภสัชศาสตรบัณฑิต - Doctor of Philosophy - วิทยาศาสตรบัณฑิต - Doctor of Philosophy
- เภสัชเวท
- Master of Science
- Pharmacognosy
- Entomology - ชีววิทยา - Biochemistry and Moleccular Genetics - Biochemistry
ป พ.ศ.
-2554 -2543
-2528 -2529 -2521 -2517 -2545 -2528 -2523 - 2539 - 2528 -2547 -2540
22
มคอ.2 ลําดับที่
24
25
เลขประจําตัวบัตร ประชาชน
3140600003XXX
ตําแหนงทาง วิชาการ
อาจารย
3100503150XXX รองศาสตราจารย
ชื่อ-นามสกุล
นวลจันทร ใจอารีย
อนุชา อภิสารธนรักษ
คุณวุฒิ
- วิทยาศาสตรบัณฑิต - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - วิทยาศาสตรบัณฑิต - Fellowship - The American Board
26
27
28
3101701688XXX อาจารย
3100901419XXX รองศาสตราจารย
3101201643XXX รองศาสตราจารย
พลวัฒน ติ่งเพ็ชร
ภาสกร ศรีทิพยสุโข
- แพทยศาสตรบัณฑิต - Doctor of Philosophy - แพทยศาสตรบัณฑิต - หนังสืออนุมัติแสดงความรูความ ชํานาญในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม - วุฒิบัตรแสดงความรูค วามชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม - Master of Medical Statistics - Master of Epidemiology - แพทยศาสตรบัณฑิต
กองเกียรติ กูณฑกันทรากร - หนังสืออนุมัติแสดงความรูความ ชํานาญในการประกอบวิชาชีพ
สาขาวิชา
สําเร็จการศึกษาจาก สถาบัน
Storrs, USA - ชีวเคมี - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - วิทยาศาสตรการแพทย - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการ - มหาวิทยาลัยมหิดล พัฒนาทรัพยากร - พยาบาลและผดุงครรภ - วิทยาลัยหัวเฉียว - Infectious Disease
ป พ.ศ. -2535 - 2553 - 2540 -2535 -2545
- Washington University School of Medicine, USA - The American Board of Internal Medicine, USA - มหาวิทยาลัยมหิดล - University of Sydney, Australis
-2538 -2551
- เวชศาสตรครอบครัว
- มหาวิทยาลัยมหิดล - แพทยสภา
-2544 -2547
- กุมารเวชศาสตร
- แพทยสภา (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร)
-2544
- Medical Statistics - Epidemiology
- University of Newcastle, Australia - University of London, UK - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
-2546
- Internal Medicine
- Infectious Diseases and Immunology
- ประสาทวิทยา
- แพทยสภา
-2543
-2538 -2534 - 2543
23
มคอ.2 ลําดับที่
เลขประจําตัวบัตร ประชาชน
ตําแหนงทาง วิชาการ
ชื่อ-นามสกุล
คุณวุฒิ เวชกรรม - The American Board - แพทยศาสตรบัณฑิต
29
3100800643XXX ผูชวยศาสตราจารย
ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ - Doctor of Philosophy - Master of science - วุฒิบัตรแสดงความรูค วามชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม - แพทยศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชา
สําเร็จการศึกษาจาก สถาบัน
- Psychiatry and Neurology - Saint Louis University, USA - คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล - Psychiatric Epidemiology - University of London, UK - Cognitive Science - University of Birmingham, UK - จิตเวชศาสตร - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร - จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ป พ.ศ. - 2542 - 2536 - 2551 - 2541 - 2540 - 2536
3.2.3 อาจารยพิเศษ และผูทรงคุณวุฒิที่รวมสอนในหลักสูตร ลําดับที่ เลขประจําตัวบัตร ตําแหนงทางวิชาการ ชื่อ-นามสกุล ประชาชน 1 3100202627XXX รองศาสตราจารย พัชรา วิสุตกุล 2 3
5209400002XXX 3101500974XXX
รองศาสตราจารย อาจารย
รังสรรค พาลพาย เจริญ ทวีผลเจริญ
คุณวุฒิ
สาขาวิชา
- Doctor of Philosophy - Biochemistry - แพทยศาสตรบัณฑิต - Animal Reproduction - Doctor of Philosophy - วุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญใน - สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา การประกอบวิชาชีพเวชกรรม - แพทยศาสตรบัณฑิต
-
สําเร็จการศึกษาจาก สถาบัน ป พ.ศ. Edinburgh University Scotland, UK -2508 -2498 มหาวิทยาลัยแพทยศาสตรศิริราช Kyoto University, Japan -2541 แพทยสภา - 2534
- จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
- 2528
24
มคอ.2 4. องคประกอบเกี่ยวกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน หรือการฝกปฏิบัต)ิ (ถามี) 4.1 มาตรฐานผลการเรียนรูของประสบการณภาคสนาม ไมมี 4.2 ชวงเวลา ไมมี 4.3 การจัดเวลาและตารางสอน ไมมี 5. ขอกําหนดเกี่ยวกับการทําวิจัย และการทําวิทยานิพนธ 5.1 คําอธิบายโดยยอ รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต พว.900 วิทยานิพนธ 48/72 MS 900 Dissertation การสร า งโครงการวิ จั ย และการดํ า เนิ น งานวิ จั ย อั น ก อ ให เ กิ ด ความรู ใ หม ใ นสาขาวิ ช า วิท ยาศาสตรก ารแพทย เขีย นวิท ยานิพนธเ กี่ย วกับ หั วขอทางวิท ยาศาสตรก ารแพทย และนํา เสนอ วิทยานิพนธ การเขียนรายงานวิจัยเพื่อตีพมิ พเผยแพรผลงานลงในวารสารวิชาการ จริยธรรมในการทําวิจยั และจรรยาบรรณในการเผยแพรผลงานวิชาการ 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู การวัดผลวิทยานิพนธ แบงเปน 2 ระดับคือระดับ S (ใชได) และระดับ U (ใชไมได ) โดย วิทยานิพนธที่ไดรับระดับ S จะตองไดมติเปนเอกฉันทจากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ นักศึกษาตองมีมาตรฐานผลการเรียนรูอยางนอยดังตอไปนี้ 1. มีความเขาใจ และมีความรูในสาระสําคัญ อยา งถองแทในองคความรูดานวิท ยาศาสตร การแพทย 2. สามารถออกแบบ ดําเนินการวิจัย พัฒนาเทคนิคการวิจัย เพื่อใหไดมาซึ่งองคความรูใ หมดาน วิทยาศาสตรการแพทย 3. มีทักษะในการปฎิบัติการงานวิจัยทางดานวิทยาศาสตรการแพทยอยางกวางขวางและอยางมี ประสิทธิภาพ 4. มีคุณธรรม จริย ธรรม ความรับผิดขอบในการดําเนินการวิจัย และมีจรรยาบรรณในการ เผยแพรผลงานทางดานวิทยาศาสตรการแพทย 5.3 ชวงเวลา ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษาที่ 1 เปนตนไป 5.4 จํานวนหนวยกิต 1. ไมนอยกวา 48 หนวยกิต สําหรับผูท ี่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 25
มคอ.2 2. ไมนอยกวา 72 หนวยกิต สําหรับผูท ี่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และผูที่โอนมาจาก หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย 5.5 ขอกําหนดการทําวิทยานิพนธ และการสอบวัดคุณสมบัติ 5.5.1 การทําวิทยานิพนธ 1. นักศึกษาสามารถลงทะเบียนทําวิทยานิพนธไดตั้งแตภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษา 2. กรณีที่นักศึกษายังสอบวัดคุณสมบัติไมผาน ใหนักศึกษาลงทะบียนทําวิทยานิพนธได ไมเกิน 6 หนวยกิตตอภาคการศึกษา 3. นักศึกษาสามารถเขียนวิทยานิพนธเปนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได โดยใหอยูใน ดุลยพินิจของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 4. หลังจากลงทะเบียนทําวิทยานิพนธแลว นักศึกษาตองเสนอรางเคาโครงวิทยานิพนธ ตอคณะอนุกรรมการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย และ/หรือคณะอนุกรรมการกลุม เพื่อใหคณบดีคณะแพทยศาสตรแตงตั้งอาจารยที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ และกรรมการวิ ทยานิพนธ รวมไมนอยกวา 5 คน ซึ่งจะใหคํา แนะนํานักศึกษา รวมทั้งสอบเคาโครงวิทยานิพนธ และสอบปองกันวิทยานิพนธ 5. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิต ศึก ษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึก ษา และไดรับ ความเห็นชอบจาก คณะอนุกรรมการหลักสูตร และ/หรือคณะอนุกรรมการกลุม 5.5.2 การสอบวิทยานิพนธ 1. อาจารยผูส อบเคาโครงวิท ยานิพนธและสอบปองกันวิท ยานิพนธ ใหเ ปนไปตาม เกณฑม าตรฐานหลัก สูตรระดับ บัณฑิตศึ ก ษาของสํา นัก งานคณะกรรมการการ อุดมศึก ษา และไดรับความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการหลัก สูต ร และ/หรือ คณะอนุกรรมการกลุม 2. เมื่อนักศึกษาจัดทําเคาโครงวิทยานิพนธเสร็จแลว ใหคณบดีแตงตั้ง คณะกรรมการ สอบเคาโครงวิทยานิพนธอยางนอย 5 คน ซึ่งจะตองประกอบดวยอาจารยที่ปรึกษา วิ ท ยานิ พ นธ อาจารย ป ระจํ า มหาวิ ท ยาลั ย และผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ จ ากภายนอก มหาวิทยาลัย เพื่อรวมกันสอบเคาโครงวิทยานิพนธ 3. เมื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธเห็นวานักศึกษาพรอมที่จะเสนอวิทยานิพนธ ให คณบดี แ ต ง ตั้ ง คณะกรรมการสอบป อ งกั น วิ ท ยานิ พ นธ ซึ่ ง เป น ชุ ด เดี ย วกั น กั บ คณะกรรมการสอบเคาโครงวิทยานิพนธ 4. การสอบเคาโครงวิทยานิพนธและการสอบปองกันวิทยานิพนธ จะตองมีกรรมการ สอบฯ ครบทุกคน จึงจะถือวาการสอบนั้นมีผลสมบูรณ ถากรรมการสอบฯ ไมครบ ให เ ลื่ อ นการสอบออกไป ในกรณี ที่ มี ค วามจํ า เป น อาจเปลี่ ย นกรรมการสอบ วิทยานิพนธใหมหรือแตงตั้งเพิ่มเติมได 26
มคอ.2 5. นักศึกษาจะสอบวิทยานิพนธไดเมื่อสอบภาษาตางประเทศ และสอบวัดคุณสมบัติได ระดับ P (ผาน) แลว 6. การสอบวิ ท ยานิ พ นธ ใ ห เ ป น ไปตามระเบี ย บและข อ บั ง คั บ ของมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร และการสอบวิทยานิพนธที่จะไดผลระดับ S ตองไดมติเปนเอกฉันท จากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ 5.5.3 การสอบวัดคุณสมบัติ 1. นั ก ศึ ก ษาต อ งเสนอขอสอบวั ด คุ ณ สมบั ติ ภ ายในระยะเวลา 2 ภาคการศึ ก ษา นับตั้งแตวันขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา 2. คณะแพทยศาสตรจะเปดให สอบวัดคุณสมบัติทุกภาคการศึกษา ซึ่งเปนการสอบ แบบขอเขียนและการสอบแบบปากเปลา โดยคณบดีคณะแพทยศาสตรเปนผูแตงตั้ง คณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ หลัก เกณฑก ารสอบใหเ ปนไปตามเกณฑของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และหลักสูตรกําหนดไว 3. นักศึกษาจะตองสอบวัดคุณสมบัติใหไดระดับ P (ผาน) ภายใน 3 ครั้ง มิฉะนั้นจะถูก ถอนชื่อออกจากทะเบียนนักศึกษา ทั้งนี้ นักศึกษาที่สอบวัดคุณสมบัติไมผานภายใน 2 ครั้ง สามารถขอโอนไปศึกษาเพื่อรับปริญญาในหลักสูตรระดับปริญญาโทได 5.6 การเตรียมการ 1. มีการแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธเพื่อใหคําแนะนําและชวยเหลือทางดานวิชาการแก นักศึกษา 2. เมื่อไดรับอนุมัติหวั ขอวิทยานิพนธ ใหนักศึกษาทําวิทยานิพนธโดยมีอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ หลักใหคําแนะนําและดูแลในระหวางการทําวิจัย และนักศึกษาจะตองติดตออาจารยที่ปรึกษา วิทยานิพนธหลักโดยสม่ําเสมอ 3. ระหว างทํ าวิ ท ยานิ พนธ ใหนั กศึ ก ษารายงานความก าวหนาของการทํ าวิท ยานิ พนธ ลงใน Portfolio เมื่อสิน้ สุดภาคการศึกษาทุกภาคการศึกษาตามแบบฟอรมทีค่ ณะกําหนด และเสนอตอ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 5.7 กระบวนการประเมินผล กระบวนการประเมินผลการทําวิทยานิพนธจะประเมินคุณภาพของวิทยานิพนธ และประเมิน ความรูความสามารถของนัก ศึก ษาโดยวิธีก ารนําเสนอและสอบปากเปลาโดยคณะกรรมการสอบ เคาโครงวิทยานิพนธและคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธซึ่งคณบดีแตงตั้ง หลักสูตรมีก ลไกสําหรับการทวนสอบมาตรฐานโดยการแตง ตั้งอาจารยที่ปรึก ษาวิท ยานิพนธ และคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธที่มีคุณสมบัติเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิต ศึกษา พ.ศ. 2548 และในการสอบวิทยานิพนธคณะจะประกาศกําหนดการสอบวิทยานิพนธใหทราบ ทั่วกันและเปดโอกาสใหผูสนใจเขารวมฟงได 27
มคอ.2 หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธหรือกิจกรรมของนักศึกษา มีคุณธรรม และจริยธรรม และเจตคติที่ดี - มีก ารสอดแทรกจริยธรรมการดําเนินงานวิจัย และวิทยานิพนธ มีความเชี่ยวชาญในศาสตรเฉพาะดาน มีความรู - สง เสริมใหนัก ศึก ษาเขารวมศึกษาทางวิชาการ ลุมลึกและทันสมัย มีประสบการณในสาขาวิชา รวมกับนักศึกษาในหลักสูตรและอาจารยผูสอน ที่เกี่ยวของ เขาใจอยางถองแทในเนื้อหา และ โดยมีนัก ศึก ษาเปนผูนําการสัม มนาในหัวขอที่ สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสรางองคความรู สาขาวิชากําหนด ใหม และการประยุกตใช - สงเสริมใหนักศึกษาเขารวมการอบรม การอบรม เชิงปฏิบัติการ ในสถาบันหรือองคกรที่อาจารยที่ ปรึกษาเห็นชอบ - สง เสริ ม ให นั ก ศึ ก ษาเปน วิ ท ยากรบรรยายใน เนื้อหาที่เ กี่ยวของกับ ขอบขายงานวิจัย ภายใต การควบคุมของอาจารยที่ปรึกษา - สงเสริมใหนักศึกษาเขารวมประชุม วิชาการที่มี การนําเสนอผลงานวิจัยอยางนอยปละ 1 ครั้ง - สงเสริมใหนักศึกษานําเสนอผลงานวิทยานิพนธ หรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธ ดวยวาจาหรือลาย ลัก ษณ อัก ษรที่มีร ายงานการประชุม ซึ่ง มีคณะ กรรมการตรวจสอบผลงาน มีความเปนผูนํา และมีความรับผิดชอบ ตลอดจน - ส ง เสริ ม ให นั ก ศึ ก ษากล า คิ ด กล า แสดงออก มีวินัยในตนเอง อดทน รูจักใหอภัยและรับ ฟงความคิ ดเห็นของ ผูอื่น สามารถประสานความคิดและประโยชน ดวยหลักการและเหตุผลของความถูกตอง - สงเสริมใหนักศึกษาไดเปนผูนํากลุมกิจกรรมใน ระดั บ และสถานการณ ที่ เ หมาะสม มี ค วาม รับผิดชอบตอบทบาทหนาที่ของตนทั้งในฐานะ ผูนําและผูตาม
28
มคอ.2 2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน 2.1 คุณธรรม จริยธรรม (1) ผลการเรียนรู ดานคุณธรรม จริยธรรม สามารถจัดการเกี่ยวกับปญหาทางคุณธรรม จริยธรรมที่ซับซอนในบริบ ททางวิชาการ และการวิจัยทางดานวิทยาศาสตรการแพทย สามารถใชดุลยพินิจอยางผูรู ดวยความยุติธรรม ดวย หลักฐาน ดวยหลักการที่มีเหตุผลและคานิยมอันดีงาม แสดงออกหรือสื่อสารขอสรุปของปญหาโดย คํานึงถึง ความรูสึกของผูอื่นที่จ ะไดรับผลกระทบ สามารถชี้ใหเห็นขอบกพรองของจรรยาบรรณที่ เปนอยูในปจจุบันเพื่อทบทวนและแกไข สนับสนุนอยางจริงจังใหผูอื่นใชดุลยพินิจทางดานคุณธรรม จริยธรรมในการจัดการกับความขัดแยงและปญ หาที่มีผลกระทบตอตนเองและผูอื่น แสดงออกซึ่ง ภาวะผูน ําในการสงเสริมใหมีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรมในที่ทํางานและในชุมชน นักศึกษาตองมีคุณสมบัติดานคุณธรรม จริยธรรมอยางนอย 4ขอ ดังนี้ 1. ตระหนักถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการทําวิจัยทางดานวิทยาศาสตรการแพทย 2. มีดุลยพินิจอยางผูรูโดยใชหลักฐาน มีเหตุผล และคานิยมอันดีงาม 3. แสดงออกและสื่อสารโดยคํานึงถึงความรูสึกของผูอื่นที่จะไดรับผลกระทบ 4. มีภาวะผูนํา ซื่อสัตย มีวินัย ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม (2) กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนา ดานคุณธรรม จริยธรรม อาจารย ที่ป รึก ษาสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในระหวางการดําเนินการวิจัย จัด กิจกรรมสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม ปลูกฝงนักศึกษาใหมีระเบียบวินัย กลาแสดงออก มีเหตุผล กําหนด ให นั ก ศึ ก ษาส ง โครงการวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วกั บ จรรยาบรรณทั้ ง ในคนและสั ต ว ท ดลองเพื่ อ ขออนุ มั ติ จ าก คณะอนุกรรมการจริย ธรรมการวิจัยในคนและสัตวทดลองกอนดําเนินการวิจัย (3) กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูใ นดานคุณธรรม จริยธรรม วิธีการประเมินผลการเรียนรูด านคุณธรรมและจริยธรรม มีหลายวิธี เชน ประเมินระหวาง ทําวิจัย ประเมินดวยตนเองหลังทําวิจัย ประเมินจากความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมาย ความตรงตอเวลา การสงงานตามกําหนดระยะเวลาที่มอบหมาย การเขารวมกิจกรรม 2.2 ความรู (1) ผลการเรียนรู ดานความรู สามารถพั ฒ นานวั ต กรรมหรื อ สร า งองค ค วามรู ใ หม ที่ ลุ ม ลึ ก ทางด า นวิ ท ยาศาสตร การแพทย มีความเขาใจอยางถองแทและลึก ซึ้ง ในองคความรูที่เ ปนแกนในสาขาวิชาวิท ยาศาสตร การแพทย รวมทั้ง ขอ มูล เฉพาะทางทฤษฎี หลั ก การและแนวคิด ที่เ ป นรากฐาน มีค วามรูที่ ทัน สมั ย (update) ในสาขาวิชาเฉพาะทางของตน สามารถวิเ คราะห ประเด็นปญหาสําคัญ สามารถเรียนรูและ พัฒนาเทคโนโลยีตางๆ ที่ใชในการทําวิจัยของตนเองได และสามารถสังเคราะหขอมูลจากผลงานวิจัย และ สรุปผลงานวิจัยไดอยางถูกตองเปนที่ยอมรับโดยนักวิจัยในสาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย รูเทคนิคการ 29
มคอ.2 วิจัยและพัฒนาขอสรุปซึ่งเปนที่ยอมรับในสาขาวิชาดานวิทยาศาสตรการแพทยไดอยางชาญฉลาด ดังนั้น นักศึกษาตองมีมาตรฐานความรูดังตอไปนี้ 1. มีความเขาใจในสาระสําคัญอยางถองแทและลึกซึ้งในองคความรูดานวิทยาศาสตร การแพทย 2. มีความรูที่เปนปจจุบัน (update) ในดานวิทยาศาสตรการแพทย 3. สามารถเรียนรูและพัฒนาเทคนิคการวิจัย เทคโนโลยีที่ใชในการวิจัยและองคความรู ดานวิทยาศาสตรการแพทย 4. สามารถบูรณาการความรูวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน คลินิก และชุมชน (2) กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนา ดานความรู สง เสริม ใหนั ก ศึก ษาเขา รวมเสวนาทางวิชาการรวมกับ นัก ศึก ษาในหลั ก สูตรและกั บ อาจารย สงเสริมใหนักศึกษาเขารับการอบรม การอบรมเชิงปฏิบัติการในสถาบันหรือองคกรที่อาจารยที่ ปรึกษาเห็นชอบ สงเสริมใหนักศึกษาเปนวิทยากรบรรยายในเนื้อหาที่เกี่ยวของกับขอบขายงานวิจัยภายใต การควบคุมของอาจารยที่ปรึกษา สงเสริมใหนักศึกษาเขารวมประชุมวิชาการที่มีการนําเสนอผลงานวิจัย อยางนอยปละ 1 ครั้ง สงเสริมใหนักศึกษานําเสนอผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธ ดวย วาจาหรือลายลักษณอักษรที่มีรายงานการประชุมซึ่งมีคณะกรรมการตรวจสอบผลงาน (3) กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูใ นดานความรู ประเมินจากการรายงานการศึกษาคนควา การทําโครงการและการนําเสนอปากเปลา การสอบวัดคุณสมบัติ การสอบเคาโครงวิทยานิพนธ การสอบปองกันวิทยานิพนธ 2.3 ทักษะทางปญญา (1) ผลการเรียนรู ดานทักษะทางปญญา สามารถใชความเขาใจอันถองแทในทฤษฎีและเทคนิค แสวงหาความรูในการวิเคราะห ประเด็นและปญ หาสําคัญไดอยางสรางสรรค และพัฒ นาแนวทางการแกไขปญ หาดวยวิธีก ารใหมๆ สามารถสังเคราะหผลงานการวิจัยและสรางทฤษฎีเพื่อพัฒนาความรูความเขาใจใหม ๆ ที่สรางสรรคโดย บูรณาการแนวคิดตางๆ ทั้ง จากภายในและภายนอกสาขาวิชาที่ศึก ษาในขั้นสูง สามารถออกแบบและ ดําเนินโครงการวิจัยที่สําคัญและซับซอนเพื่อใหเกิดการพัฒนาองคความรูใหมอยางมีนัยสําคัญ นักศึกษา ตองมีคุณสมบัติตางๆ จากการสอนเพื่อใหเกิดทักษะทางปญญาดังนี้ 1. สามารถนําขอมูลและหลักฐานมาคิดอยางมีวิจารณญาณ สรางสรรคอยางเปนระบบ 2. สามารถวิเคราะหป ระเด็น ปญหาและสังเคราะหขอมูลทางดานวิทยาศาสตรการ แพทย 3. สามารถใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรทําการวิจัย และใชนวัตกรรมที่เหมาะสม ในการแกไขปญหา 4. สามารถออกแบบและดําเนินโครงการวิจัยเพื่อพัฒ นาองคความรู ใหมท างดา น วิทยาศาสตรการแพทย 30
มคอ.2 (2) กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนา ดานทักษะทางปญญา สงเสริมใหนักศึกษามีการปฏิบัติไดจริงในการทําวิจัยทีส่ ําคัญและซับซอน เนนใหนักศึกษา ฝกทักษะการคิดและการแกไขปญหาโดยวิธีการอภิปรายกลุม การนําเสนอรายบุคคล การสัมมนา เปนตน (3) กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูใ นดานทักษะทางปญญา ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา เชน การนําเสนอรายงาน การศึกษา คนควาอยางเปนระบบ การสัมภาษณ การปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ เปนตน 2.4 ความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ (1) ผลการเรียนรู ดานความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ มีความสามารถสูงในการแสดงความเห็นทางวิชาการ สามารถวางแผนวิเคราะหและแก ป ญ หาที่ ซั บ ซ อ นสู ง มากด ว ยตนเอง รวมทั้ ง วางแผนในการปรั บ ปรุ ง ตนเองและองค ก รได อ ย า งมี ประสิทธิภาพสรางปฏิสัมพันธในกิจกรรมกลุมอยางสรางสรรค และแสดงออกถึงความโดดเดนในการเปน ผูนําในทางวิชาการและสังคมที่ซับซอน นักศึกษาควรมีคุณสมบัติอยางนอยดังตอไปนี้ 1. สามารถแสดงความคิดเห็นทางวิชาการ มีความโดดเดนในการเปนผูนําทางดาน วิทยาศาสตรการแพทย 2. มีปฏิสัมพันธระหวางบุคคลและกลุมคนอยางสรางสรรค เหมาะสม 3. มีความรับผิดชอบในบทบาทหนาที่ตอตนเองและสังคม 4. มีวุฒิภาวะทางอารมณ ความสามารถในการปรับตัว และมีความอดทน (2) กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนา ดานความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ มีการกําหนดกิจกรรมการทํางานเปนกลุม การทํางานที่ตองประสานงานกับผูอื่นหรือตอง คนควาหาขอมูล เนนปฏิสัมพันธระหวางนักศึกษากับนักศึกษา นักศึกษากับอาจารยที่ปรึกษา (3) กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูใ นดานความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาในหองปฎิบัติการ การนําเสนอรายงาน หรือโครงการกลุม ประเมินความสามารถในการทํางานกลุม 2. 5 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (1) ผลการเรียนรู ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ สามารถคัดกรองขอมูล ทางคณิตศาสตรและสถิติเพื่อนํามาใชในการศึก ษาคนควาใน ประเด็นปญหาที่สําคัญและซับซอน สรุปปญหาและเสนอแนะแกไขปญหาในดานตางๆ โดยเจาะลึกใน สาขาวิชาเฉพาะ สามารถสื่อสารอยางมีป ระสิทธิภาพดวยเทคโนโลยีที่เ หมาะสมกับกลุมบุคคลตางๆ ทั้ง ในวงการวิชาการ รวมถึง ชุม ชนทั่วไป โดยการนําเสนอรายงานทั้งในรูป แบบที่เ ปนทางการและไม เปนทางการผานสิ่งตีพิมพทางวิชาการ รวมทั้งวิทยานิพนธหรือโครงการคนควาที่สําคัญ นักศึกษาควรมี ทักษะอยางนอยดังตอไปนี้ 31
มคอ.2 1. สามารถวิเ คราะห คั ดกรองข อ มูล ทางคณิต ศาสตร และสถิติ ขั้น สู ง ในการศึก ษา คนควาวิจัย 2. สามารถสรุ ป ป ญ หาและเสนอแนะวิ ธี ก ารแก ไ ขผ า นการบู ร ณาการทางด า น วิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน คลินิก และชุมชน 3. สามารถสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพทั้งปากเปลาและการเขียน เลือกใชรูปแบบของ สื่อในการนําเสนอไดอยางเหมาะสม 4. สามารถใชเ ทคโนโลยีส ารสนเทศไดอย างเหมาะสมกับ สถานการณ บุคคล และ กลุมบุคคล (2) กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนา ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใช เทคโนโลยี สารสนเทศ เนนใหนักศึกษาไดฝกทักษะการสื่อสารระหวางบุคคลทั้งการพูด การฟง และการเขียน จัดประสบการณการเรียนรูที่สงเสริมใหนักศึกษาไดเลือกและใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการคนควาหา ขอมูลทางวิชาการที่กาวหนาและในการสื่อสารที่หลากหลายรูปแบบและวิธีการ (3) กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูใ นดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินผลงานตามกิจ กรรมการทําวิจัยหลากหลายวิธี เชน การสังเกต การใชแบบ ประเมิน เปนตน 2. 6 ทักษะพิสัย (1) ผลการเรียนรู ดานทักษะพิสัย สามารถพัฒนาทักษะการปฏิบัติการวิจัยทางดานวิทยาศาสตรการแพทยภายใตกรอบ ปฏิบัติของระเบียบวิธีวิจัย และจริยธรรมในการทําวิจัย มีความสามารถในการบูร ณาการความรูดาน วิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐานกับคลินิกและชุมชน นักศึกษาควรมีทักษะอยางนอยดังตอไปนี้ 1. มีทัก ษะในการปฎิบัติก ารงานวิจัย ขั้นสูง ทางดานวิท ยาศาสตรก ารแพทยอยางมี ประสิทธิภาพ 2. ประยุกตจริยศาสตรไปสูจริยธรรมใฝรูในการดําเนินการวิจัยทางดานวิทยาศาสตร การแพทย 3. มีความสามารถในการบูรณาการความรูดานวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน คลินิ ก และชุมชน 4. มีความใฝรู ติดตามการเปลี่ยนแปลงองคความรูทางดานวิทยาศาสตรการแพทยอยาง ตอเนื่องและเผยแพรความรูเพื่อประโยชนสุขแกชุมชน (2) กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนา ดานทักษะพิสัย จัดกิจกรรมที่เนนใหผูเรียนไดฝกทักษะในการปฏิบั ติการงานวิจัยทางดานวิทยาศาสตร การแพทย มีอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธดูแล ควบคุม ติดตามนักศึกษาอยางใกลชิดในการดําเนินการ 32
มคอ.2 วิจัยตามระเบียบวิธีวิจัยอยางมีจริยธรรม สงเสริมใหนักศึกษาเขารวมนําเสนอผลงานวิชาการในการประชุม วิชาการระดับชาติและนานาชาติ (3) กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูใ นดานทักษะพิสัย มีการประเมินทักษะการปฏิบัติการวิจัยในหองปฏิบัติการ การสอบปองกันวิทยานิพนธ 3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping) ผลการเรียนรูตามตารางดังมีความหมายตอไปนี้ 1. คุณธรรม จริยธรรม 1. ตระหนักถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการทําวิจัยทางดานวิทยาศาสตรการแพทย 2. มีดุลยพินิจอยางผูรูโดยใชหลักฐาน มีเหตุผล และคานิยมอันดีงาม 3. แสดงออกและสื่อสารโดยคํานึงถึงความรูสึกของผูอื่นที่จะไดรับผลกระทบ 4. มีภาวะผูนํา ซื่อสัตย มีวินัย ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม 2. ความรู 1. มีความเขาใจในสาระสําคัญอยางถองแทและลึกซึ้งในองคความรูดานวิทยาศาสตรการแพทย 2. มีความรูที่เปนปจจุบัน (update) ในดานวิทยาศาสตรการแพทย 3. สามารถเรียนรูและพัฒ นาเทคนิคการวิจัย เทคโนโลยีที่ใชในการวิจัยและองคความรูดาน วิทยาศาสตรการแพทย 4. สามารถบูรณาการความรูวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน คลินิก และชุมชน 3. ทักษะทางปญญา 1. สามารถนําขอมูลและหลักฐานมาคิดอยางมีวิจารณญาณ สรางสรรคอยางเปนระบบ 2. สามารถวิเคราะหประเด็นปญหา และสังเคราะหขอมูลทางดานวิทยาศาสตรการแพทย 3. สามารถใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรทําการวิจัย และใชนวัตกรรมที่เหมาะสมในการแกไข ปญหา 4. สามารถออกแบบและดําเนินโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรูใหมทางดานวิทยาศาสตร การแพทย 4. ความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 1. สามารถแสดงความคิดเห็นทางวิชาการ มีความโดดเดนในการเปนผูนําทางดานวิทยาศาสตร การแพทย 2. มีปฏิสัมพันธระหวางบุคคลและกลุมคนอยางสรางสรรค เหมาะสม 3. มีความรับผิดชอบในบทบาทหนาที่ตอตนเองและสังคม 4. มีวุฒิภาวะทางอารมณ ความสามารถในการปรับตัว และมีความอดทน 33
มคอ.2 5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. สามารถวิเคราะห คัดกรองขอมูลทางคณิตศาสตรและสถิติขั้นสูงในการศึกษา คนควา วิจัย 2. สามารถสรุปปญหาและเสนอแนะวิธีการแกไขผานการบูร ณาการทางดานวิทยาศาสตร การแพทยพื้นฐาน คลินิก และชุมชน 3. สามารถสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพทั้งปากเปลาและการเขียน เลือกใชรูปแบบของสื่อในการ นําเสนอไดอยางเหมาะสม 4. สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางเหมาะสมกับสถานการณ บุคคล และกลุมบุคคล 6. ทักษะพิสัย 1. มีทักษะในการปฎิบัติการงานวิจัยขั้นสูงทางดานวิทยาศาสตรการแพทยอยางมีประสิทธิภาพ 2. ประยุกตจริยศาสตรไปสูจริยธรรมใฝรูในการดําเนินการวิจัยทางดานวิทยาศาสตรการแพทย 3. มีความสามารถในการบูรณาการความรูดานวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน คลินิก และชุมชน 4. มีความใฝรู ติดตามการเปลี่ยนแปลงองคความรูทางดานวิทยาศาสตรการแพทยอยางตอเนื่อง และเผยแพรความรูเพื่อประโยชนสุขแกชุมชน
34
มคอ.2
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping) ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง รหัส/ชื่อรายวิชา
1 ดานคุณธรรม จริยธรรม
1 พว.900 วิทยานิพนธ
2
3
2 ดานความรู
3 ดานทักษะทาง ปญญา
4 ดาน ความสัมพันธ ระหวางบุคคลและ ความรับผิดชอบ
5 ดานทักษะการ วิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการ ใชเทคโนโลยี สารสนเทศ
6 ดานทักษะพิสัย
1
4
1
2
3
4
2
3
4
1
2
3
4
1
2
3
4
1
2
3
4
35
มคอ.2 หมวดที่ 5. หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน (เกรด) การวัดผลใหเ ปนไปตามขอบัง คั บ มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร วา ดวยการศึก ษาระดับ บัณฑิตศึก ษา พ.ศ. 2553 ดังนี้ 1.1 การวัดผลการศึกษาสําหรับรายวิชาที่ไมนับหนวยกิต ใหแบงเปน 2 ระดับ คือ ระดับ P (ผาน) และระดับ N (ไมผาน) โดยไมมีคาระดับ 1.2 การสอบวัดคุณสมบัติ แบงเปนระดับ P (ผาน) และระดับ N (ไมผาน) และไมนับหนวยกิต 1.3 การวัดผลวิทยานิพนธ แบงเปน 2 ระดับ คือ ระดับ S (ใชได) และระดับ U (ใชไมได) หนวย กิตที่ไดจะไมนํามาคํานวณคาระดับเฉลี่ย 1.4 การสอบภาษาตางประเทศ แบงเปน 2 ระดับคือ ระดับ P (ผาน) และระดับ N (ไมผาน) และ ไมนับหนวยกิต 1.5 เงื่อนไขอื่นๆ ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูขณะนักศึกษายังไมสําเร็จการศึกษา มีคณะอนุกรรมการกลุม อาจารยที่ปรึกษาทั่วไป อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ติดตามและให คําแนะนําและชวยเหลือทางดานวิชาการแกนักศึกษา โดยระหวางทําวิทยานิพนธใหนักศึกษารายงาน ความกาวหนาของการทําวิทยานิพนธทุกภาคการศึกษา ตามแบบฟอรมที่กําหนดลงใน Portfolio กรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชา การทวนสอบในระดับรายวิชา มีคณะอนุกรรมการ วิชาเอกพิจารณาความเหมาะสมของขอสอบหรืองานที่มอบหมายวาครอบคลุมผลการเรียนรูตามที่ กําหนดในรายละเอียดวิชา และจัดใหนักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา 2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูหลังจากนักศึกษาสําเร็จการศึกษา ประเมินจากบัณฑิตทีจ่ บ และจากผูใชบัณฑิต 3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 1. ไดระดับ P (ผาน) ในการสอบวัดคุณสมบัติ 2. ไดระดับ P (ผาน) ในรายวิชาที่ไมนับหนวยกิต 3. ไดคาระดับ P (ผาน) ในการสอบภาษาตางประเทศ ตามเกณฑที่มหาวิทยาลัยกําหนด ไดแก ผลทดสอบภาษาอัง กฤษ TU-GET ซึ่ง จัดสอบโดยสถาบันภาษา มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร ไมต่ํากวา 550 คะแนน หรือผลคะแนน TOEFL (paper-based test) ไมต่ํากวา 550 คะแนน หรือผลคะแนน TOEFL (computer-based test) ไมต่ํากวา 213 คะแนน หรือผลคะแนน TOEFL (internet -based test) ไมต่ํากวา 79 คะแนน หรือผลคะแนน IELTS ไมต่ํากวา 5.5 คะแนน 36
มคอ.2 4. ไดระดับ S (ใชได) ในการสอบวิทยานิพนธ โดยการสอบปากเปลาขั้นสุดทายโดยคณะกรรมการที่ คณะแพทยศาสตร แตง ตั้ง และนําวิท ยานิพนธที่พิม พและเย็บ เลม เรียบรอยแลว มามอบให มหาวิทยาลัยตามระเบียบ 5. ผลงานวิทยานิพนธจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยดําเนินการใหผลงานหรือสวนหนึ่งของ ผลงานไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารที่มีคา Impact Factor ไมต่ํากวา 0.5 หรือสิ่งพิมพ ทางวิชาการที่มีกรรมการภายนอกมารวมกลั่นกรอง (Peer Review) กอนการตีพิมพ และเปนที่ ยอมรับในสาขาวิชานั้น 6. ตองปฏิบัติตามเงื่อนไขอื่นๆ ตามที่คณะแพทยศาสตรและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรกําหนด อีกทั้ง ตองชําระหนี้สินตางๆ ทั้งหมดที่มีกับมหาวิทยาลัยเปนที่เรียบรอยแลว หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย 1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม 1. มีการปฐมนิเทศอาจารยใหม ใหมีความรูความเขาใจในนโยบายของมหาวิทยาลัย บทบาทหนาที่ ของอาจารย กฎ ระเบียบตางๆ รวมถึงสิทธิ ผลประโยชนของอาจารย 2. สงเสริมใหอาจารยเพิ่มพูนความรูโดยเขารวมอบรมเพื่อพัฒนาการสอน การวัดและการประเมินผล การทําวิจัยเพื่อพัฒ นาการเรียนการสอน การศึกษาดูงาน การประชุม สัมมนา และการประชุม วิชาการเสนอผลงานทั้งในและตางประเทศ 3. คณะมีการจัดโครงการฝกอบรมอาจารยใหมเรื่องบทบาทและหนาที่ของอาจารย การจัดการเรียน การสอน การจัดทํารายละเอียดรายวิชาและแผนการสอน ตลอดจนการประเมินผล มีการจัดอบรม เทคนิค วิธีการสอน โดยการใชสื่อตางๆ และมอบเอกสารที่เกี่ยวของ เชน รายละเอียดหลักสูตร คูมือการศึกษาและหลักสูตร คูมืออาจารย กฎ ระเบียบตางๆ 2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล 1. สงเสริมอาจารยใหมีการเพิ่มพูนความรูโดยเขารวมอบรมเพื่อพัฒนาการสอน อบรมการวัด และการประเมิ น ผล อบรมการทํ า วิ จั ย เพื่ อพั ฒ นาการเรี ย นการสอน การศึ ก ษาดู ง าน ประชุมสัมมนา และการประชุมวิชาการเสนอผลงานทั้งในและตางประเทศ 2. สงเสริมใหอาจารยไปประชุม/อบรม/สัมมนาเพื่อพัฒนาวิชาชีพอาจารย การจัดทําเว็บไซต เอกสารเผยแพร การพัฒนาความรู 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอื่นๆ 1. สงเสริมการทําวิจัยสรางองคความรูใหม 2. มีการกระตุนอาจารยทําผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา 3. สงเสริม ใหอาจารยเขารวมการวิจัย การทําผลงานทางวิชาการ การนําเสนอผลงานทาง วิชาการ การศึกษาตอยอด และการอบรมระยะสั้น 37
มคอ.2 หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 1. การบริหารหลักสูตร 1.1 มีค ณะอนุ ก รรมการหลัก สูต รทํ าหนา ที่บ ริห ารจัด การหลัก สูต รประกอบด วย ผู อํา นวยการ บัณฑิตศึกษา อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร คณาจารยจากขอบขายงานวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของ และนัก วิชาการศึก ษา การบริห ารอยูภายใตกํากับ ของคณะกรรมการบัณฑิตศึก ษาของคณะ แพทยศาสตร 1.2 มีอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร อาจารยประจําหลักสูตร อาจารยผูสอน อาจารยพิเศษ อาจารยที่ ปรึกษาทั่วไป อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ อาจารยผูสอบวิทยานิพนธ ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ มาตรฐานหลัก สูตรระดั บ อุดมศึก ษา พ .ศ . 2548 แนวทางบริห ารเกณฑม าตรฐานหลัก สูต ร ระดับ อุดมศึกษา พ .ศ . 2548 และขอ บังคับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 1.3 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรวางแผนการจัดการเรียนการสอนรวมกับคณะอนุกรรมการหลักสูตร อาจารยผูสอน และอาจารยที่ปรึกษาวิท ยานิพนธ ติดตามและรวบรวมขอมูลสําหรับใชในการ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยกระทําทุกปอยางตอเนื่อง 1.4 มีก ารประเมินหลัก สูต รและนําผลมาพัฒ นาและปรับ ปรุง หลัก สูตรใหทันสมัยอยางตอเนื่อ ง อยางนอยทุกๆ 5 ป 1.5 มีการประเมินการสอนโดยนักศึกษาเพื่อนําผลไปพัฒนาและปรับปรุงการสอนรายวิชาตางๆ 1.6 มีก ารประกัน คุณภาพวิ ท ยานิพ นธ โดยการจัด หาอาจารยที่ ป รึก ษาที่มีคุ ณสมบัติเ หมาะสม มีความสามารถในขอบขายงานวิจัยนั้นๆ และกําหนดใหนักศึกษาจะตองรายงานความกาวหนาใน การทําวิทยานิพนธตออาจารยที่ป รึกษา โดยเขียนลงใน Portfolio นับ ตั้งแตลงทะเบียนทํา วิทยานิพนธ เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล นักศึกษาสําเร็จการศึกษาตาม อาจารยที่ปรึกษาทั่วไปและอาจารย จํานวนนักศึกษาที่สําเร็จ หลักสูตรอยางนอย 80 % ที่ปรึกษาวิทยานิพนธใหคําปรึกษา การศึกษา แนะนําและติดตามนัก ศึก ษา เพื่อ ติดตามความกาวหนาและรับทราบ ปญหาเพื่อหาแนวทางแกไข 2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 2.1 การบริหารงบประมาณ หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาใชงบรายไดพิเศษในการบริหารจัดการเปนรายปงบประมาณ ซึ่งได รับการจัดสรรเพื่อปรับปรุงคุณภาพการสอนและการวิจัยตามความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจํา 38
มคอ.2 คณะแพทยศาสตร มีการจัดทํางบประมาณรายรับและงบประมาณรายจ ายที่ชัดเจน มีระบบบัญชีที่ เปนปจจุบันและตรวจสอบได 2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยูเดิม 1. สถานที่และอุปกรณการสอน ใช ส ถานที่ แ ละอุ ป กรณ ก ารสอนของคณะแพทยศาสตร ศู น ย สุข ศาสตร โรงพยาบาล ธรรมศาสตรเฉลิมพระเกียรติ และสถาบันอื่นๆ 2. หองสมุดและสารสนเทศ นัก ศึกษาสามารถใชบ ริก ารของสํานัก หอสมุด มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร และหองสมุด คุณหญิงนงเยาว ชัยเสรี นอกจากนี้ยังมีหองสมุดมหาวิทยาลัยอื่นๆ ที่มีหนังสือ ตํารา หรือวารสารทาง วิชาการเกี่ยวของกับหลักสูตร ซึ่งนักศึกษาสามารถใชบริการได 2.1 หนังสือและวารสาร (ทรัพยากรสารสนเทศของสํานักหอสมุด ปงบประมาณ 2553) สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - หนังสือ มีจํานวนรวมทั้งหมด 1,036,613 เลม ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ รวม หนังสือ 716,991 319,622 1,036,613
เอกสาร
วารสาร
- เอกสาร มีจํานวนรวมทั้งหมด 35,940 เลม ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ 21,052 14,888 - วารสาร มีจํานวนรวมทั้งหมด 3,652 ชื่อเรื่อง ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ 1,526 2,126 - คลังหนังสือ มีจํานวนรวมทั้งหมด 163,407 เลม
รวม 35,940 รวม 3,652
จัดเก็บขอมูลรวม ไมมีการแยกขอมูลหนังสือภาษาไทยและภาษาตางประเทศ
2.2 สารสนเทศ นักศึกษาสามารถสืบคนทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส ดังนี้ - วิทยานิพนธอิเล็กทรอนิกสของ มธ. มีจํานวนรวมทัง้ หมด 12,480 เลม ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ รวม วิทยานิพนธอิเล็กทรอนิกสของ มธ. 11,129 1,351 12,480 - หนังสือหายากอิเล็กทรอนิกส มีจํานวนรวมทั้งหมด 763 เลม ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ รวม หนังสือหายากอิเล็กทรอนิกส 754 8 763 39
มคอ.2 - วารสารอิเล็กทรอนิกส มีจํานวนรวมทั้งหมด 8,085 ฉบับ ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ รวม วารสารอิเล็กทรอนิกส 8,025 60 8,085 - ฐานขอมูล มีจํานวนรวมทั้งหมด 86 ฐาน - โสตทัศนวัสดุ มีจํานวนรวมทั้งหมด 47,418 รายการ 2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม มีกระบวนการจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม โดยคณะอนุกรรมการหลักสูตร และ/หรือคณะอนุกรรมการกลุมเสนอเรื่องผานคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาไปยังคณะกรรมการ ประจําคณะแพทยศาสตร - จัดหาตํารา หนังสือ สิ่งพิม พ วารสารทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ ทรัพยากร สารสนเทศ และเอกสารอางอิงตางๆ ที่ทันสมัยอยางเพียงพอ - จัดใหมีอาคารสถานที่ที่เ อื้ออํานวยตอการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย ไดแก หอ งบรรยาย ห อ งปฏิ บั ติ ก าร ห องประชุม /สั ม มนา อย า งเหมาะสมและเพี ย งพอ พรอมทั้งมีการบํารุงรักษาที่ดี - จัดใหมีคอมพิวเตอร สื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย เอื้ออํานวยตอการสืบคน พรอมทั้ง มีการบํารุงรักษาที่ดี - จัดใหมีบ รรยากาศที่เ อื้อตอการเรียนรู ไดแก การจัดหองเรียนกลุม และการจัดใหมี หองพักนักศึกษารวม - จัดใหมีขอมูลเกี่ยวกับทุนการศึกษาและทุนวิจัย 2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร มีกระบวนการประเมินความเพียงพอของทรัพยากรการเรียนการสอนในดานตางๆ โดยใช ขอมูลจากแบบประเมินการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษาจากนักศึกษา และขอมูลจาก คณาจารยผูเกี่ยวของ เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล มีงบประมาณที่สนับสนุนการ ใชขอมูลการใชงบประมาณ ติดตามสรุปการใชงบประมาณ จัดการศึกษาทีเ่ พียงพอ ที่ผานมาประกอบการจัดทํา เทียบงบประมาณที่ตั้งไว งบประมาณปถัดไป 3. การบริหารคณาจารย 3.1 การรับอาจารยใหม มีการคัดเลือกอาจารยใหมตามระเบียบและหลักเกณฑของมหาวิทยาลัยโดยอาจารยใหมจะตองมี วุฒิการศึกษาและคุณสมบัติตามที่คณะ สาขาวิชา และมหาวิทยาลัยกําหนด 40
มคอ.2 การกําหนดคุณสมบัตทิ ั่วไป 1. คุณสมบัติทั่วไปเปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2. คุณสมบัติของผูสมัคร เปนผูที่สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาระดับปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวของ โดยตองไดเกรด เฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.25 วุฒิปริญญาตรีตองไดเกรดเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 2.75 และไมมี เกรด F ในวิชาหลัก จบจากมหาวิทยาลัยที่คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยรับรอง 3.2 การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร 1. อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร อาจารยประจําหลักสูตร คณะอนุกรรมการหลักสูตร อาจารยที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ และอาจารยผูสอนจะตองประชุมรวมกันในการวางแผนการจัดการเรียน การสอน การประเมินผล และใหความเห็นชอบการประเมินผล 2. อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร อาจารยที่ปรึก ษาวิท ยานิพนธ และอาจารย ผูส อนตองเก็บ รวบรวมขอมูลเพื่อเตรียมไวสําหรับการปรับปรุงหลักสูตร 3. อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร อาจารยประจําหลักสูตร คณะอนุกรรมการหลักสูตร อาจารยที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ และอาจารยผูสอนตองปรึกษาหารือแนวทางที่จะทําใหบรรลุเปาหมาย ตามหลักสูตร 3.3 การแตงตั้งคณาจารยพิเศษ 1. คณาจารยพิเศษตองมีคุณสมบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐาน หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 โดยอาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาเสนอขออนุมัติ การเชิญตอรองคณบดีฝายวิชาการ ผานผูอํานวยการบัณฑิตศึกษา 2. คณะแพทยศาสตรกําหนดใหร ายวิชาที่เชิญ คณาจารยพิเศษมาบรรยาย สอนปฏิบัติก าร และถายทอดประสบการณตรงใหแกนัก ศึก ษา มีสัดสวนของอาจารยพิเ ศษตออาจารย ผูสอนภายในคณะเปน 1 ตอ 3 3. คณาจารยพิเศษตองมีแผนการสอนตามคําอธิบายรายวิชาที่แตละคณะอนุกรรมการกลุม จัดทําไวประกอบการสอน โดยประสานงานกับอาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา 4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 4.1 การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง มีก ารกําหนดคุณสมบัติบุคลากรใหครอบคลุม ภาระหนาที่ที่ตองรับ ผิดชอบ และมีขั้นตอน การคัดเลือกโดยคณะกรรมการคัดเลือกบุคลากรกอนรับ เขาทํางาน ซึ่ง ควรมีวุฒิป ริญ ญาตรี ที่มี ความสามารถในการปฎิบัติงานตามตําแหนง และมีจิตใจรักการบริการดานการศึกษา 4.2 การเพิ่มทักษะความรูเพื่อการปฏิบัติงาน มีก ารพัฒ นาบุคลากรใหมีพัฒ นาการเพิ่มพูนความรู สรางเสริม ประสบการณในภาระงานที่ รับผิดชอบ สามารถสนับสนุนบุคลากรสายวิชาการหรือหนวยงานใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง โดย 41
มคอ.2 การอบรม ศึกษาดูงาน และมีการสนับสนุนใหบุคลากรไดรวมงานกับอาจารยในโครงการวิจัยของแต ละขอบขายงานวิจัย 5. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา 5.1 การใหคําปรึกษาดานวิชาการ และอื่นๆ แกนักศึกษา - มีการแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาทั่วไป ทําหนาที่การดูแล สนับสนุน สงเสริม และใหคําแนะนํา ดานการวางแผนการศึก ษา ผลการศึก ษา และติดตามนัก ศึก ษาตั้ง แตแรกเขาจนสําเร็จ การศึกษา - มีการจัดกิจกรรมอาจารยที่ปรึกษาพบนักศึกษา - มีการแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธเพื่อชวยดูแลและติดตามการทําวิทยานิพนธของ นักศึกษาอีกทางหนึ่งโดยอาจารยที่ปรึกษานัดหมายกับนักศึกษาเพื่อใหคําปรึกษา 5.2 การอุทธรณของนักศึกษา - การอุท ธรณของนัก ศึก ษา ใหเ ปนไปตามขอบัง คับ มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร วาดวยวินัย นักศึกษา พ.ศ. 2547 หมวดที่ 4 - นั ก ศึ ก ษาสามารถเสนอขออุ ท ธรณ ต อ คณะกรรมการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาผ า นผู อํ า นวยการ บัณฑิตศึกษากรณีที่นักศึกษามีความสงสัยเกี่ยวกับผลการสอบหรือผลการประเมินรายวิชาใด สามารถที่จะยื่นคํารองขอดูผลการสอบหรือกระดาษคําตอบ ตลอดจนดูคะแนนและวิธีการ ประเมินของคณะกรรมการสอบหรืออาจารยแตละรายวิชาได 6. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต 1. มีการจัดทําแผนการดําเนินงาน - เพื่อใหไดนักศึกษาที่มีคุณภาพ และเปนไปตามเปาหมายที่ตั้งไว - เพื่อปรับปรุงหลักสูตรใหทันสมัย และสอดคลองกับความตองการตลาดแรงงานและสังคม 2. มีแผนการประชาสัมพันธใหบุคลากรในสาขาที่เกี่ยวของมาศึกษาตอในระดับปริญญาเอก เพื่อเพิ่ม วุฒิการศึกษา ทําวิทยานิพนธในเรื่องที่สนใจหรือเปนปญหาที่พบในการปฏิบัติงาน อันจะเปนการ พัฒนาตอยอดงานเดิม หรือสรางนวัตกรรมใหมดานวิทยาศาสตรการแพทย 3. มีแผนการประเมินความพึง พอใจของผูใชบัณฑิต เพื่อนํามาปรับปรุง หลัก สูตรใหตรงกับ ความ ตองการของตลาดแรงงานและสังคม 4. มีการกําหนดกลุมเปาหมายของผูสนใจเขามาศึกษา 7. ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators) ของหลักสูตร ดัชนีบงชี้ผลการดําเนินงาน 1) อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม
ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 42
มคอ.2
2) 3)
4)
5)
6)
7)
8) 9) 10)
11)
12)
ดัชนีบงชี้ผลการดําเนินงาน ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5 และทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติ มีรายละเอียดของรายวิชา ตามแบบ มคอ.3 อยางนอยกอนการเปดสอนในแตละภาคการ ศึกษาใหครบทุกรายวิชา จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชา ตามแบบ มคอ.5 ภายใน 30วัน หลังสิ้นสุดภาค การศึกษาที่เปดสอนใหครบทุกรายวิชา จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดป การศึกษา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตาม มาตรฐานผลการเรียนรู ทีก่ ําหนดใน มคอ.3 อยางนอยรอยละ 25 ของรายวิชาที่เปดสอน ในแตละปการศึกษา มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู จากผลการประเมินการดําเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปที่แลว อาจารยใหม (ถามี) ทุกคนไดรบั การปฐมนิเทศ หรือคําแนะนําดานการจัดการเรียนการสอน อาจารยประจําทุกคนไดรบั การพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อยางนอยปละหนึง่ ครั้ง จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนไดรับ การพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไมนอยกวา รอยละ 50 ตอป ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทาย/ บัณฑิตใหมที่มีตอคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไมนอย กวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิต 43
มคอ.2 ดัชนีบงชี้ผลการดําเนินงาน ใหม เฉลี่ยไมนอ ยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5
หมวดที่ 8. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธการสอน - มีการประเมินผลการเรียนรูของนักศึกษาระหวางการทําวิจัยวิทยานิพนธ โดยการสังเกต พฤติกรรมของนักศึก ษา การอภิปรายโตตอบจากนักศึกษา การตอบคําถามของนักศึกษา เปนตน - ใหนักศึกษาบันทึกปญหา อุปสรรคในการทําวิจัย ในแตละภาคการศึก ษาลงใน portfolio เสนอตอคณะอนุกรรมการกลุมผานอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ เพื่อปรับปรุงกลยุทธการ สอนและทําวิ จัย และวางแผนพัฒ นาให ส อดคล องและเหมาะสมกับ โครงการวิจัย ของ นักศึกษา 1.2 การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน - คณะอนุกรรมการกลุมประชุมรวมกันเพื่อกลั่นกรอง และพิจารณาคัดเลือกอาจารยที่ปรึกษา วิทยานิพนธที่มีศักยภาพ และเหมาะสมกับหัวขอวิจัยของนักศึกษาแตละราย - มีก ารจัดสงคูมือบทบาทหนาที่ของอาจารยที่ป รึ ก ษาวิทยานิพนธใหแกอาจารยที่ป รึก ษา วิทยานิพนธทุกทาน เพื่อใหทราบรูปแบบและแนวทางในการใหคําปรึกษาวิทยานิพนธแก นักศึกษา - ใหนักศึกษาบันทึกขอมูลการทําวิจัยลงใน portfolio ทุกภาคการศึกษา และคณะอนุกรรมการกลุมและอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธนําขอมูลที่ไดรับมาวางแผนพัฒนากลยุทธการสอน และการทําวิจัยตอไป 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม การประเมินหลักสูตรในภาพรวม ประเมินโดยใชขอมูลจาก - แบบประเมินจากการประเมินโดยนักศึกษาชั้นปสุดทาย บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา ผูใชบัณฑิต/ ผูมีสวนไดสวนเสียอื่นๆ - รายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร 3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร การประเมินคุณภาพการศึก ษาประจําป เปนการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบง ชี้ผ ลการ ดําเนินงานที่ร ะบุในหมวดที่ 7 ขอ 7 โดยอาจารยผูรับผิดชอบหลัก สูตร และคณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน มีคณะกรรมการประเมินอยางนอย 3 คน ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิในสาขา/สาขาวิชา เดียวกัน อยางนอย 1 คน 44
มคอ.2 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง 1. อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรทบทวนผลการประเมินประสิทธิผลของการสอนและการทําวิจัยจาก สรุปรายงานของคณะอนุกรรมการกลุมเมื่อสิ้นภาคการศึกษา และทํารายงานผลการดําเนินการ รายวิชาเสนอผูอํานวยการบัณฑิตศึกษา 2. อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ในหมวดที่ 7 ขอ 7 จากการ ประเมินคุณภาพภายใน 3. อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร/ประธานอนุกรรมการหลักสูตร สรุปผลการดําเนินการงานหลักสูตร ประจําป โดยรวบรวมขอมูลการประเมินประสิทธิผลของการสอนและการทําวิจัย รายงานผลการ ดําเนินการของรายวิชา รายงานผลการประเมินการสอนและสิ่ง สนับ สนุนการเรียนการสอน รายงานผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน ความคิด เห็นของผู ท รงคุณวุ ฒิ จัดทํา รายงานผลการดํ าเนินงานหลัก สูตรประจําป เ สนอผูอํ านวยการ บัณฑิตศึกษา 4. จัดประชุมอาจารยประจําหลักสูตร พิจารณาทบทวนและสรุปผลการดําเนินงานหลักสูตร ปญหา ของการบริหารหลักสูตรในภาพรวม วิเคราะหขอมูลเพื่อวางแผนปรับปรุงการดําเนินงานสําหรับ ใชในปก ารศึก ษาตอไป และจัดทํารายงานผลการดําเนินงานหลัก สูตรเสนอตอคณะกรรมการ บัณฑิตศึกษา
45
มคอ.2
ภาคผนวก ภาคผนวก 1 ผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําหลักสูตรและอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร ชื่อ-นามสกุล รศ.ดร.เกสร สุวรรณประเสริฐ
ผลงานทางวิชาการ งานวิจัย 1. “การศึกษาสมรรถภาพทางการกีฬาในเด็กนักเรียนกอนวัยรุน (อายุ 11-15 ป) ” หนังสือรายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2544, ISBN 974-572-860-8 2. Suwanprasert K. Oxidative stress in medicine: Revisits ROS/RNS, redox signaling and atherosclerosis. 37th Physiological Society of Thailand Annual Conference, Pattaya, Thailand, 2008 3. Chatchanayeunyong R. and Suwanprasert K. Inducible expression of Lectin-like oxidized low density lipoprotein (LOX-1) activated by dosedegree dependent of oxLDL through vascular reactive oxygen species. JSBS 2009 ( in press) 4. Suwanprasert K. Effect of Angiotensin II on Uptake of Oxidized Low Density Lipoprotein (oxLDL) in Cultured Umbilical Artery. Research Report of Thammasat University, 2009. 5. Chatchanayeunyong R. and Suwanprasert K. Vascular oxidative stress through superoxide dismutase (SOD) and intracellular reactive oxygen species activated by oxLDL mediated LOX-1 receptor expression. Thammasat Medical Journal , 9 (2), 2009 . 6. Suwanprasert K. Oxidative stress from bench to clinical (episode 1 ) : Changes: New Trends in Medicine, Med TU Forum, 14-17 July, 2009. 7. Suwanprasert K., and Chatchanayeunyong R. 46
มคอ.2 ชื่อ-นามสกุล
ผศ.ดร.ชัยรัตน ตัณทราวัฒนพันธ
ผลงานทางวิชาการ “Inhibition of Lox-1 expression and nitric oxide synthesis of umbilical artery through reactive oxygen species (ROS) scavenger”. Research Report of Thamamsat University, 2010. 8. Chatchanayeunyong R., Tarasub C and Suwanprasert K. “ Degrees of oxidized low-density lipoprotein, the uptake of artery and endothelial dysfunction : mechanism of LOX-1 receptor and Redox signals “ Ph.D. Thesis, Thamamsat University, 2009. 9. Painupong A and Suwanprasert K “Vascular Oxidative Stress through LOX-1 Induced eNOS Uncoupling” Comission on Higher Congress III University StaffDevelopment Consortium (CHEUSDC Congress III)/Office of the Higher Education Commission Royal Cliff Grand Hotel and Spa, Pattaya, Chonburi, Thailand, 2010 10. Srikuan K., Painupong A., Mungthaweepongsa S., Suwanprasert K “Study of circulating soluble LOX-1 receptor and oxidative stress in acute stroke ” 8th Asian Congress for Microcirculation , Bangkok, Thailand , 19-21 October, 2011.(submit) 11. Painupong A. and Suwanprasert K. “Intravascular Oxidative Stress Through Lectin-like Oxidized Low Density Lipoprotein Receptor-1(LOX-1) Induces eNOS” 8th Asian Congress for Microcirculation , Bangkok, Thailand , 19-21 October, 2011.(submit) งานวิจัย 1. Tantrawatpan C, Maleewong W, Wongkham C, Wongkham S, Intapan PM, Nakashima K. Evaluation of immunoglobulin G 4subclass antibody in a 47
มคอ.2 ชื่อ-นามสกุล
2.
3.
4.
5.
6.
ผลงานทางวิชาการ peptide-based enzyme-linked immunosorbent assay for the serodiagnosis of human fascioliasis., Parasitology. 2007; .2026-2021 :134 Churdchomjan W, Manochantr S, Kheolamai P, Tapanadechopone P, Tantrawatpan C, U-pratya Y Issaragrisil S. The Number and Characteristics of Endothelial Progenitor Cell from Peripheral Blood of Type 2Diabetes Patients. Tham Med. 2008; .363-352:(3)8 Tanuchit S, Kheolamai P, Manochantr S, Tantrawatpan C, U-pratya Y, Supokawej A, Chiamchanya C, Issaragrisil S. The Characteristic of Mesenchymal Stem Cells from Peripheral Blood and Mobilized Peripheral Blood in Comparison to Bone Marrow Derived Mesenchymal Stem Cells. Tham Med J. 2008; .291-281:(3)8 Supadej Rojpaisan, Sirikul Manochantr, Yaowaluk U- pratya, Chairat Tantrawatpan, Pakpoom Kheolamai, Aungkura Supokawej, Surapol Issaragrisil. Characterization of mesenchymal stem cells from umbilical cord and Wharton’s jelly in comparison to bone marrow derived mesenchymal stem cells. Tham Med J. 2009; 9(3):259-270. Weerachai Saijuntha and Chairat Tantrawatpan. Review article: Diagnostic tools for human opisthorchiasis.Journal of Medical Technology and Physical Therapy. 2009; 21(2): 198-211. Churdchomjan W, Kheolamai P, Manochantr S,Tapanadechopone P, Tantrawatpan C, U-pratya Y,Issaragrisil S. Comparison of endothelial progenitor cell function in type 2 diabetes with 48
มคอ.2 ชื่อ-นามสกุล
ผลงานทางวิชาการ good and poor glycemic control. BMC Endocr Disord. 2010; 10: 5. 7. Manochantr S., Tantrawatpan C., Kheolamai P., U-pratya Y., Supokawej A., & Issaragrisil S. Isolation characterization and neural differentiation potential of amnion derived mesenchymal stem cells. J Med Assoc Thai. 2010; 93 (Suppl. 7): S183S191. 8. Saijuntha W, Tapdara S and Tantrawatpan C. Multilocus enzyme electrophoresis analysis of Echinostoma revolutum amd Echinostoma malayanum (Trematode: Echinostomatidae) isolated from Khon Kaen Province, Thailand. Asian Pacific Journal of Tropical Medicine 2010; 3(8): 633-636. 9. Saijuntha W, Sithithaworn P, Tantrawatpan C, Tapdara S and Andrews RH. Allozyme analysis of the temporal populations of Echinostoma revolutum collected from domestic ducks in Khon Kaen Province (Thailand). Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health. Vol 42 No. 1 January 2011; 39 10. Pakpoom Ounhalekjit, Chairat Tantrawatpan, Sirikul Manochantr, Pakpoom Kheolamai, Yaowaluk U-pratya, Aungkura Supokawej, Surapol Issaragrisil. The expressions of Membrane type-1-matrix metalloproteinase and its inhibitor gene in leukemic cells. Tham Med J 2010; 10(4). 11. Saijuntha W, Tantrawatpan C, Sithithaworn P, Andrews RH, Petney TN. Spatial and temporal genetic variation of Echinostoma revolutum (Trematoda: Echinostomatidae) from Thailand and 49
มคอ.2 ชื่อ-นามสกุล
ผศ.ดร.สุมาลี คอนโด
ผลงานทางวิชาการ the Loa PDR. Acta Tropica 2011; 118(2), 105-109. 12. Pewpan M. Intapan, Verajit Chomongkol, Chairat Tantrawatpan, Oranuch Sanpool, Nimit Morakote, and Wanchai Maleewong. Molecular identification of Trichinella papuae from a Thai patient with imported trichinellosis. American Journal of Tropical Medicine & Hygiene, 2011. (in press) 13. Tantrawatpan C, Saijuntha W, Pilab W, Sakdakham K, Pasorn P, Thanonkeo S,Thiha, Satrawaha R, Petney T. Genetic differentiation among populations of Brachytrupes portentosus (Lichtenstein 1796) (Orthoptera: Gryllidae) in Thailand and the Lao PDR: the Mekong River as a biogeographic barrier. Bull Entomol Res. 2011 May 4:1-10. งานวิจัย 1. Lutthisungoen, A, Kondo S, Udomsopagit S, Smittipat N, Palittapongarnpim P, 2008. Characterization of Vibrio cholerae O1 Isolated During 2001-2004 by Variable Number of Tandem Repeat (VNTR) Typing. Thammasat Medical Journal. 8(3):7pages. 2. Sumalee Kondo and Pravech Ajawatanawong. .2009 Distribution and sequence analysis of virulence associated genes in Vibrio cholerae O1, O139 and non-O1/non-O139 isolates from Thailand. Southeast Asian J Trop Med Public Health 40(5):1015-24 PMID 19842384 3. Sumalee S Kondo, Suwanna S Trakulsomboon, Prasit P Palittapongarnpim. .2010 Pulsed field gel electrophoresis analysis of Vibrio cholerae isolates 50
มคอ.2 ชื่อ-นามสกุล
ผลงานทางวิชาการ in southern Thailand. Southeast Asian J Trop Med Public Health 41(2):410-7 PMID 20578525 4. Sumalee S Kondo, Chisanucha C Sattaponpan, Arunporn A Itharat. .2010Antibacterial activity of Thai medicinal plants Pikutbenjakul. J Med Assoc Thai 93 Suppl )7(:S131-5 PMID 21298838 5. Kondo, S, Trakoolsomboon S, Smittipat N, Juthayothin T, Palittapongarnpim P, 2010. Pulsed field gel electrophoresis analysis of vibrio cholerae isolates in southern Thailand. Southest Asian J Trop Med Public Health. 41(2):8pages. 6. Darunee D Srichana, Rattana R Taengtip and Sumalee S Kondo. 2011. Antimicrobial activity of Gynostemma pentaphyllum extracts against fungi producing aflatoxin and fumonisin and bacteria causing diarrheal disease. Southeast Asian J Trop Med Public Health 42(3):704-10 (2011) PMID 21706950
ผศ.ดร.นพ.ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ หนังสือ
1. การลวงละเมิดทางเพศในเด็ก มีหนทางชวยเหลือและปองกัน หรือไม: มติชนรายวัน วันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2551. งานวิจัย 1. Kulkantrakorn K, Jirapramukpitak T. A prospective study in one year cumulative incidence of depression after ischemic stroke and Parkinson's disease: A preliminary study. Journal of the Neurological Sciences 2007; 263: 165-168 2. Jirapramukpitak T, Prince M, Harpham T. Rural urban migration, illicit drug use and hazardousharmful drinking among young Thai population. Addiction 2008; 103: 91-100 51
มคอ.2 ชื่อ-นามสกุล รศ.นพ.พฤหัส ตออุดม
ผลงานทางวิชาการ หนังสือ/ตํารา 1. พฤหัส ตออุดม. การดําเนินการคลอดและการคลอดปกติ: อติวุทธ กมุทมาศ, เดนศักดิ์ พงศโรจนเผา, พฤหัส ตออุดม บรรณาธิการ. ตําราสูติศาสตร : การตั้งครรภและการคลอด ปกติ. กรุงเทพ : บุคเนต; 2546. 265-79 งานวิจัย 1. พฤหัส ตออุดม. รายงานการวิจยั เรือ่ งความรู ทัศนคติ และ พฤติกรรมเกี่ยวกับโรคเอดสของสตรีตั้งครรภในโรงพยาบาล ธรรมศาสตร. 2548. 2. พฤหัส ตออุดม. รายงานการวิจัย เรื่องการยอมรับการตรวจ คัดกรองธาลัสซีเมีย โดยวิธี hemoglobin typing ในสตรี ตั้งครรภโรงพยาบาลธรรมศาสตร. 2548. 3. วรรณวรางค หิริโอตป, ศิริเพ็ญ ตออุดม, พฤหัส ตออุดม, เจริญไชย เจียมจรรยา. ความสัมพันธระหวางการติดเชื้อ แบคทีเรียในน้ําอสุจิกับผลวิเคราะหน้ําอสุจิของผูชายที่มา ปรึกษาในหนวยผูมบี ุตรยาก. ธรรมศาสตรเวชสาร 8,2 (เม.ย.-มิ.ย.2551) 106-111. 4. Chiamchanya C, Tor-udom P, Gamnarai N. Comparative study of intracytiplasmic sperm injection and in vitro fertilization with high indemination concentration in sibling oocytes in the treatment of unexplained infertility. J Med Assoc Thai. 2008 Nov; 91(8):1155-60. Erratum in: J Med Assoc Thai. 2009 Dec; 92(12):1713.
52
มคอ.2 ภาคผนวก 2 ภาระงานของอาจารยประจําหลักสูตร ลําดับ
รายนามอาจารย
ภาระงานสอนกอนปรับปรุงหลักสูตร (ชั่วโมง : สัปดาห)
ป .ตรี
1 2 3 4 5
รศ.ดร.เกสร สุวรรณประเสริฐ ผศ.ดร.ชัยรัตน ตัณทราวัฒนพันธ ผศ.ดร.สุมาลี คอนโด ผศ.ดร.นพ.ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ รศ.นพ.พฤหัส ตออุดม
ประกาศ ฯบัณฑิต
ภาระงานสอนภายหลังปรับปรุง หลักสูตร (ชั่วโมง : สัปดาห)
ป .ตรี
ประกาศ ป.โท ฯบัณฑิต ป.เอก
แพทย ประจํา บาน
ภาระงานที่ปรึกษา วิทยานิพนธ /การ คนควาอิสระกอน ปรับปรุงหลักสูตร (จํานวนนักศึกษา) รวม
วิทยานิพนธ
การ คนควา อิสระ
ภาระงานที่ปรึกษา วิทยานิพนธ /การ คนควาอิสระหลัง ปรับปรุงหลักสูตร (จํานวนนักศึกษา)
ป.โท ป.เอก
แพทย ประจํา บาน
รวม
วิทยานิพนธ
5.8
1.3
0.0
7.1
4
1
6.3
5.4
0.0
11.7
2
1
5.1
3.4
0.0
8.5
2
1
1.0
0.0
1.10
2.10
4
1
7.5
2.2
0.1
9.8
2
1
การ คนควา อิสระ
53
มคอ.2 ภาคผนวก 3 แนบสําเนาเอกสารตอไปนี้ 1. ขอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2533 พรอมดวย ฉบับแกไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 2. ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยการสอบภาษาตางประเทศสําหรับการศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2539 3. ระเบียบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยการวิทยานิพนธ พ.ศ. 2535 พรอมดวยฉบับแกไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 4. ขอบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาดวยวินัยนักศึกษา พ.ศ. 2547 หมายเหตุ เอกสารหัวขอนี้ใหใสในเลมเอกสารหลักสูตรฉบับที่จะเสนอสภามหาวิทยาลัย และสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา สวนฉบับรางทีเ่ สนอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย และ คณะอนุกรรมการสภามหาวิทยาลัยและการจัดการศึกษา ยังไมตองใส
54