Domeherb

Page 1

กรมทรัพย์สินทางปัญญาเดินหน้าพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการไทยสู้เวทีโลก ประกวดผลงาน ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมและภูมิปัญญาไทยระดับประเทศ

ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2556 เพราะอุตสาหกรรมสร้างสรรค์นับเป็นแรงขับเคลื่อนที่20 สาคัญในการยกระดับอุตสาหกรรมและบริการไทยให้มี มูลค่าเพิ่มสูงขึ้น เป็นการสร้างความโดดเด่นที่แตกต่างให้วันจันทร์ที่ 26 - วันพุธที่ 28 สิงหาคม 2556 แก่สินค้า และบริการของไทยซึ่งจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถ ประกวดผลงานการพาณิชย์ จึงได้เดินหน้าจัดโครงการ "ในการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งทางการค้าได้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในอีก 2 ปีข้างหน้า กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวง พัฒนาสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ด้วยนวัตกรรมและ ภายใต้โครงการพัฒนาผู้ประกอบการภูมิปัญญาไทย"อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ดว้ ย ทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อส่ง เสริมให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจด้านทรัพย์สินทางปัญญา ตลอดจนสนับสนุนให้เกิดการสร้างสรรค์ และการใช้ ประโยชน์ทรัพย์สินทางปัญญาในเชิงพาณิชย์ กลุ่มเป้าหมายของโครงการนี้ไม่ได้มีเฉพาะผู้ประกอบการ SMEs เท่านัน ้ แต่ยังรวมไปถึงนักประดิษฐ์ทช ี่ อบคิดค้น หรือสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมใหม่ๆ จนถึงนักศึกษา อาจารย์ นักวิจัย และประชาชนทั่วประเทศ โดยเริ่มต้นจาก การเชิญให้เข้าร่วมในโครงการ มีการกาหนดหลักสูตรตั้งแต่วิธีการฝึกอบรมให้สามารถพัฒนาสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ด้วยนวัตกรรมและภูมิปัญญาไทยที่สามารถนาไปใช้งานได้จริง ภายใต้เนื้อหาครอบคลุมเรือ ่ งทรัพย์สินทางปัญญา เบื้องต้น และการค้นหาฐานข้อมูลสิทธิบต ั รหรือภูมิปญ ั ญาไทยในการพัฒนาสินค้าหรือ ผลิตภัณฑ์ หลังจากที่ได้คัดเลือกผู้สมัครซึ่งมีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์ไปแล้ว จากนั้นทัง้ หมดก็ได้รับการพัฒนาและฝึกอบรม เพื่อเสริมสร้างความรู้และทักษะใน การสร้างหรือพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ เรียนรู้การสืบค้นข้อมูลสิทธิบัตร นานาชาติและฐานข้อมูลภูมิปัญญาไทยเพื่อการ ค้าการลงทุนหรือการประดิษฐ์คิดค้นหรือสร้างสรรค์ ได้รับการ แนะนาวิธีการออกแบบผลิตภัณฑ์สาหรับสินค้าหรือผลิตภัณฑ์และบรรจุ ภัณฑ์ วิธีการสร้างแบรนด์ของตัวเอง ตลอดจนการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและการจัดทาแผนธุรกิจ ในระยะแรกของโครงการการประกวดผลงานการพัฒนาสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ด้วยนวัตกรรม และภูมิปัญญาไทย เริ่ม จากในระดับภูมิภาค ด้วยความร่วมมือกับ 4 สถาบันการศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพฯ จัดฝึกอบรม รวมถึงจัดตั้งมุม Innovation Corner ในมหาวิทยาลัยเพื่อ เป็นช่องทางให้บริการข้อมูลด้านทรัพย์สินทางปัญญา ทั้งนี้ ส่วนใหญ่เป็นการสืบค้นข้อมูลสิทธิบัตรผ่านทาง อินเทอร์เน็ต


การจัดประกวดได้รับความสนใจเป็นอย่างมากมีผู้เข้าร่วมอบรมถึง 652 คน ก่อนส่งผลงานเข้าประกวดในระดับ ภูมิภาคถึง 219 ผลงาน โดยแต่ละภูมิภาคก็ได้คัดเลือกผลงานที่มีศักยภาพในการพัฒนาต่อยอดจานวน ภูมิภาคละ 20 ผลงาน โดยเจ้าของผลงานยังได้รับการอบรมแบบเข้มข้นในการนาความรู้สิทธิบัตรไปพัฒนา ต่อยอดสินค้าของ ตน เพื่อเข้าสู่การประกวดผลงานการพัฒนาสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ด้วยนวัตกรรมและ ภูมิปัญญาไทยระดับประเทศ โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบันการศึกษาและหน่วยงานเอกชนต่างๆ มาร่วมให้คะแนนตัดสิน ซึ่งนางปัจฉิมา ธนสันติ อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้มีการจัดงานประกาศผลรางวัลการประกวดผลงานการพัฒนาสินค้าหรือ ผลิตภัณฑ์ ด้วยนวัตกรรมและภูมิปัญญาไทยระดับประเทศไปเมื่อวันที่ 16 สิงหาคมที่ผ่านมา ณ ห้องประชุม สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ งานนี้ได้รับเกียรติจาก นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ มาเป็นประธานในงาน พร้อมด้วย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้แก่ นางวัชรี คลี่สวุ รรณ์ ผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ายส่งเสริมและพัฒนา SMEs มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ นายศิริชัย เลิศศิริมิตร นายกสมาคมของขวัญของชาร่วยและตกแต่งบ้าน นายพงษ์ศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ รองประธานกรรมการบริหารสถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์ สภา อุตสาหกรรม นายยิ่งยง ตันธนพงศ์พันธุ์ ผู้จัดการทรัพย์สินทางปัญญาสานักงานเทคโนโลยี บมจ.ปูนซิเมนต์ไทย และนายเสกสันต์ บุญสุวรรณ ที่ปรึกษาด้านทรัพย์สินทางปัญญา กรมทรัพย์สน ิ ทางปัญญา บริเวณด้านหน้างานเป็นนิทรรศการหรือจุดแสดง 20 ผลงานที่ผ่านเข้ารอบจนสู่ระดับประเทศ ได้แก่ ไข่แอนติบอดี้ Ig-Block, สหัศธารา เท็บ-บรับ โดยโดมเฮิร์บ, โปสการ์ดหุ่นกระดาษชุดรามเกียรติ์ (Postcardcube), อุปกรณ์ช่วย ฝึกเดินสาหรับผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก, เครื่องทาน้าอุน ่ จากเครื่องปรับอากาศ PAC frenergy, อุปกรณ์เก็บผลปาล์ม ร่วงและเมล็ดยางพารา, ศิลปะแห่งจินตนาการ Balloon Click, รีโมทรถยนต์ที่ควบคุมด้วยโทรศัพท์มอ ื ถือ, เครื่อง ถ่างแผลผ่าตัดมะเร็งเต้านมและผ่าตัดอื่นๆ, อุปกรณ์ดูดหัวพิมพ์ เครื่องพริ้นตัน, กรงดักหนู Iron Cat, เยลลี่เม่า พร้อมดื่มเอ็มเบอร์ร,ี่ ซุปเพื่อสุขภาพกาบาสูง ศรีวิสุทธิ์, กาแฟเพื่อสุขภาพ, อุปกรณ์ช่วยนึ่งข้าวเหนียว, กระเบื้อง ซีเมนต์ลายผ้า, เครื่องนอนศรีเทพ, ชุดปลูกดอกไม้ Rabbit Bloom, ผลิตภัณฑ์เห็ดปรุงรสครูกานต์ และเครื่องปรุง รสอาหารล้านนาสาเร็จรูป สาหรับผู้ชนะการประกวดผลงานการพัฒนาสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ด้วยนวัตกรรมระดับ ประเทศ ประจาปี 2556 ได้แก่ ผลงานเครื่องทาน้าร้อนจากเครื่องปรับอากาศ PAC Frenergy จากภาคกลาง ของบริษัท แอดวานซ์ เอ็กซเชนจ์ เทคโนโลยี จากัด คว้ารางวัลชนะเลิศ ได้รับเงินรางวัลมูลค่า 100,000 บาท, ผลงานกระเบื้องซีเมนต์ลายผ้า จาก ภาคเหนือ ของบริษัท กระเบื้องไม้งาม จากัด รับรางวัลที่ 2 พร้อมเงินรางวัลมูลค่า 50,000 บาท, ผลงานสหัศธารา เท็บ-บรับ โดยโดมเฮิร์บ (ภาคกลาง) ของสาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต รับรางวัลที่ 3 และเงินรางวัลมูลค่า 30,000 บาท และรางวัลชมเชยอีก 2 รางวัล คือ อุปกรณ์เก็บผลปาล์มร่วงและเมล็ดยางพารา จากภาคใต้ และ เครื่องถ่างแผลผ่าตัดมะเร็งเต้านมและ ผ่าตัดอื่นๆ จากภาคใต้เช่นกัน ได้รับเงินรางวัล 10,000 บาท นอกจากการประกาศผลการประกวดผลงานดังกล่าวแล้ว ในงานนี้ยังมีการเปิดตัวโครงการสร้างเครือข่ายชุมชนด้าน ทรัพย์สินทางปัญญา จากการรับสมัครอาสาพิทก ั ษ์ทรัพย์สินทางปัญญา (อสทป.) จากจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ ซึ่ง กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้มีการสร้างเครือข่ายตั้งแต่ปี 2546 ภายใต้ชื่อ "อาสาพิทักษ์ภูมิปัญญาไทย" (อสทป.) ก่อนเปลี่ยนชือ ่ มาเป็น "อาสาพิทักษ์ทรัพย์สินทางปัญญา" (อสทป.) ซึ่งจะมีบทบาทสาคัญยิ่งในการร่วมงานกับกรม ตามยุทธศาสตร์การสนับสนุน ส่งเสริม เผยแพร่ความรู้และสร้างความเข้าใจในงานคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทาง ปัญญา ตลอดจนช่วยกระตุ้นประชาชนในท้องถิ่นในการประดิษฐ์คด ิ ค้น พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ โดยบรรดา อสทป. เหล่านี้ยังจะคอยช่วยดูแลและรายงานหากมีการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา และได้เข้าร่วมงานการตัดสินผลการ ประกวดในวันนั้นด้วย จะเห็นได้ว่าทั้งโครงการประกวดผลงานการพัฒนาสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ด้วยนวัต กรรมและภูมิปัญญาไทย และ โครงการสร้างเครือข่ายชุมชนด้านทรัพย์สินทางปัญญา เป็นภารกิจสาคัญของกรมทรัพย์สินทางปัญญาซึ่งมี บทบาทหน้าที่ส่งเสริมและสนับ สนุนให้คนไทยใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้หรือภูมิปัญญาไทย นามาพัฒนาต่อ ยอดเป็นผลงานทรัพย์สินทางปัญญา เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างมูลค่าเพิ่มและนามาซึ่งเศรษฐกิจที่ดีของประเทศ ต่อไป ในอนาคต


สุกฤษฎิ์ สุขิตเจริญกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท กระเบื้องไม้งาม จากัด รางวัลที่ 2 ผลงานกระเบื้องซีเมนต์ลายผ้า "ที่ผ่านมาบริษัททาธุรกิจผลิตกระเบื้องซีเมนต์พิมพ์ลายซึ่งเป็นลายของประเทศ แถบยุโรป แต่หลังจากที่ได้เข้าร่วม ในโครงการนี้แล้วก็ได้แรงบันดาลใจว่า น่าจะดึงความเป็นเอกลักษณ์ของไทยไปอวดสู่สายตาชาวโลกด้วยการใช้ ลายผ้าที่ ทั้งประณีตสวยงามบ่งบอกถึงอัตลักษณ์ความเป็นประเทศไทยผ่านกระเบื้อง คิดว่าการที่กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้จัดโครงการประกวดนี้เป็นสิ่งที่ดีมาก ต่อผู้ประกอบการ เพราะเป็นการ สนับสนุนให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ นอกจากนี้ ผลงานที่เราทาขึ้นมายังจะได้จดเป็นสิทธิบัตร หากไม่มีการจด อาจมีผู้ประกอบการอื่นๆ นาไปลอกเลียนแบบหรือนาไปทาอะไรต่อยอด ซึ่งนับว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อ ผู้ประกอบการเจ้าของผลงาน" อัจฉรา ปู่มี กรรมการผู้จัดการบริษัท แอดวานซ์ เอ็กซเชนจ์ เทคโนโลยี จากัด เจ้าของผลงานชนะเลิศเครื่องทาน้าร้อน จากเครื่องปรับอากาศ PAC Frenergy "บริษัทเข้าร่วมกับกรมทรัพย์สินทางปัญญาตั้งแต่ครั้งแรกที่มีการจัดอบรม สัมมนาให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ ฐานข้อมูลของกรม ทาให้ได้ความรู้จากการสืบค้นหาฐานข้อมูลในระบบ แล้วยังได้แรงบันดาลใจจากวิทยากรตั้งแต่ ให้คาแนะนาว่า จะต้องนานวัตกรรมหรือการประดิษฐ์คิดค้นเพื่อต่อยอดในการทาธุรกิจ จากนั้นก็มีการเข้าเวิร์คช็อป มีอาจารย์มาให้ความรู้เกี่ยวกับการทาแผนธุรกิจ การหาแนวทางการทาการตลาด ซึ่งทาให้ได้ความรู้ที่จะมา พัฒนาการทาธุรกิจและผลิตภัณฑ์ต่อไป สาหรับแนวความคิดของการออกแบบผลิตภัณฑ์มาจากการใช้เครื่องปรับอากาศซึ่งมี การทิ้งความร้อนเอาไว้ โดย เครื่องนี้มีระบบการทางานจากการนาความร้อนที่เหลือทิ้งจากกระบวนการอัดไอ ที่มีแรงดันและอุณหภูมิสูงของชุด คอมเพรสเซอร์ในระบบปรับอากาศมาใช้ ซึ่งสามารถทาอุณหภูมิน้าร้อนได้สูงถึง 50-60 องศาเซลเซียส และยังเป็น การระบายความร้อนได้ดข ี ึ้น ลดการใช้พลังงานได้มากถึง 10-20% พร้อมกับได้น้าร้อนใช้ฟรีช่วยประหยัดไฟฟ้า หรือแก๊สหุงต้ม ที่สาคัญคือช่วยชาติประหยัดพลังงาน" รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์ หัวหน้าสาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ม.ธรรมศาสตร์ รางวัลที่ 3 ผลงานสหัศธารา เท็บ-บรับ โ ดยโดมเฮิร์บ "สหัศธาราเป็นยาในบัญชีหลักและเป็นสูตรยาที่มีใช้มานานแล้ว แต่ไม่มีใครคิดวิธีแปรรูปให้ใช้ง่ายๆ ทางศูนย์วิจัย แพทย์แผนไทยจึงมีความคิดว่าต้องดึงตารับยานี้มาแปรรูปให้ใช้ ง่ายและสะดวกกับผู้ใช้ ผ่านการวิจัยตั้งแต่ต้นน้าถึง ปลายน้า ก็คือทดลองตั้งแต่ระดับในหลอดทดลอง สัตว์ และคน ซึ่งในเวลานี้ถึงขั้นตอนทดลองในคนแล้ว โดย คุณสมบัติของสหัศธาราเปรียบเทียบได้กับยาต่างประเทศที่ใช้กันอยูท ่ ุก วันนี้บางชนิด ทาให้มีความคิดว่าอนาคต ข้างหน้าอาจมีการนามาใช้ทดแทนยาจากต่างประเทศซึ่ง จริงๆ แล้ว มาร์เก็ตแชร์ของยาในตลาดโลกเยอะมาก ดังนั้น หากเรานามาทดแทนได้ จะทาให้คุณค่าของยาไทยดีขึ้น ส่งผลตั้งแต่เกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรมีอาชีพ เพิ่มขึ้น ธุรกิจยาไทยก็จะออกไปสู่อาเซียนหรือสูต ่ ลาดโลกได้"


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.