ปฏิสัมพันธ์อย่างไรจับใจมวลชน

Page 1

ปฏิสัมพันธ์อย่างไร จับใจมวลชน (ฉบับผู้ศรัทธา) ดร. อับดุลลอฮฺ อัลคอฏิร เขียน อ. ยูซุฟ อบูบักรฺ แปล

60.-


ปฏิสัมพันธ์อย่างไรจับใจมวลชน (ฉบับผู้ศรัทธา)


ปฏิสัมพันธ์อย่างไรจับใจมวลชน (ฉบับผู้ศรัทธา) แปลและเรียบเรียงจาก ‫( فن التعامل مع الناس‬ศาสตร์ในการปฏิสัมพันธ์) เขียน ดร. อับดุลลอฮฺ อัลคอฏิร แปล อ. ยูซุฟ อบูบักรฺ เรียบเรียง อุมมุ อิบาดุรเราะหฺมาน ตรวจวิชาการ อ. นาอีม วงศ์เสงี่ยม บรรณาธิการ| มัรยัม อ. ศิลปกรรม| กอนิตะฮฺ พิสูจน์อักษร| นะอีมะฮฺ, อิบติซาม พิมพ์ครั้งที่ 1| มีนาคม 2557 ราคา 60 บาท


จัดพิมพ์โดย: สำ�นักพิมพ์มิรอาต 61 ซ. เทอดไท 11 ถ.เทอดไท แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 เว็บไซต์: http://miratbooks.wordpress.com เฟซบุ๊ก: www.facebook/miratbook อีเมล: mirat.books@gmail.com พิมพ์ที่: นัตวิดาการพิมพ์ 457/202-203 ตรอกวัดจันทร์ใน (เจริญกรุง 107) ถ.เจริญกรุง บางคอแหลม กรุงเทพฯ 10210 โทร 02-2916530 จัดจำ�หน่ายโดย: อาลีพาณิชย์ 1579 ถ.เพชรเกษม ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90114 โทร 07-4266277, 089-8767511 แฟกซ์ 07-4258487 เว็บไซต์ www.alipanich.com ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการเผยแผ่โดยไม่มีเจตนาแสวงหาผลกำ�ไร หากพบหนังสือชำ�รุดหรือมีข้อผิดพลาดด้านการพิมพ์ โปรดส่งมาเปลี่ยนเล่มใหม่ตามที่อยู่สำ�นักพิมพ์มิรอาตด้านบน โดยสำ�นักพิมพ์จะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมด


ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์

เคยคุยกันในกองบรรณาธิการเกีย่ วกับเรือ่ งหมวดหมูห่ นังสือที่ เราอยากจะเห็นในวงการหนังสือมุสลิม หนึ่งในค�ำตอบที่ได้รับในวันนั้น คือหนังสือหมวดจิตวิทยาและการพัฒนาตนเองที่น�ำเสนอในเชิงฮาวทู ไม่นานหลังจากที่การพูดคุยครั้งนั้นจบลง ส�ำนักพิมพ์มิรอาต ก็ได้รับต้นฉบับหนังสือในหมวดที่ฝันไว้ว่าอยากเห็นอยู่ในชั้นหนังสือ มุสลิมไทยจากท่านอาจารย์ยูซุฟ อบูบักรพอดี อันเป็นที่มาของหนังสือ เชิงฮาวทูเล่มกะทัดรัดเล่มนี้ เคยมีอุสตาซ (ภาษาอาหรับ แปลว่าอาจารย์) ท่านหนึ่งบอกไว้ ว่า ทุกวันนี้มุสลิมเรามีผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ มากมาย ในพื้นที่หนึ่ง เรามีมสุ ลิมทีเ่ ป็นหมอนับพัน มีมสุ ลิมทีเ่ ป็นวิศวกรนับหมืน่ มีมสุ ลิมทีจ่ บ ปริญญาสาขาต่างๆ นับแสน แต่เรากลับหามุสลิมที่เป็นพ่อแม่คนเป็น จริงๆ ได้ไม่กี่คน หามุสลิมที่เป็นลูกให้เป็นยิ่งแทบไม่ได้ ยิ่งเราเรียนรู้ศาสตร์เฉพาะทางมากขึ้นเท่าไหร่ ดูเหมือนว่าเรา จะสู ญ เสี ย ศาสตร์ ธ รรมดาที่ ค วรจะมี อ ยู ่ ใ นตั ว เรา ที่ เ ราเรี ย กว่ า สามัญส�ำนึก ในเรื่องต่างๆ ไปพร้อมๆ กันเท่านั้น

เช่นเดียวกับสามัญส�ำนึกในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น


หากดูเผินๆ หนังสือเล่มนี้อาจไม่ใช่หนังสือที่น�ำเสนอเนื้อหา อะไรแปลกใหม่เป็นพิเศษ เป็นเพียงหนังสือทีน่ �ำเสนอเรือ่ งสามัญธรรมดา ในชีวติ แต่เป็นความธรรมดาทีใ่ นยุคเราทุกวันนีค้ อ่ ยๆ สูญหายไปเรือ่ ยๆ จนกระทั่งกลายเป็นเรื่องพิเศษขึ้นมาอีกครั้งเมื่อมีใครในสังคมน�ำเสนอ มันขึ้นมา

เป็นเรื่อง “ธรรมดา” ที่ส�ำคัญ แต่เราก็ “ลืม” มันอยู่เป็นนิจ

นัน่ คือการหันไปมองและเอาใจใส่กบั หัวใจของคนรอบข้างบ้าง ไม่ใช่สนใจแต่หัวใจของตัวเราเอง ส�ำนักพิมพ์มิรอาต ญุมาดัลอูลา 1435 | มีนาคม 2557


ค�ำทักทาย (ค�ำน�ำผู้แปล)

ผมดีใจที่ได้อ่านนวนิยายเรื่อง อ�ำนาจ โดยประภัสสร เสวิกุล เป็นผู้เขียน และยิ่งทวีความดีใจเมื่อมาได้อ่านหนังสือเล่มที่ก�ำลังอยู่ ในมื อ ของท่ า น ความรู ้ สึ ก ที่ ป ระสบในห้ ว งความนึ ก คิ ด ของผมคื อ เสียใจเล็กน้อยทีไ่ ด้อา่ นช้าไป...ประหนึง่ ดัง่ กับว่า ช้าไปทีไ่ ด้เสีย้ มสอนตน ขึ้นไปอยู่ ณ ที่ที่หนึ่งอย่างไร้ตรรกะและปรัชญา ปราศจาก ศาสตร์และศิลป์ ความรู้ก็พอมี หากแต่ความตระหนักดั่งกลีบเมฆ มิได้น�ำมาปฏิบัติหรือฝึกฝนอย่างจริงจัง แต่ส่วนลึกก็ยังมีความดีใจ ประพรมความรู ้ สึ ก อยู ่ มิ ใ ช่ น ้ อ ยที่ ไ ด้ อ ่ า นหลั ง จากสิ้ น สุ ด ภารกิ จ (อะมานะฮฺ) บางอย่างที่คิดว่ายิ่งใหญ่ ท�ำให้ความเข้าใจบางเรื่องราวกระจ่างขึ้น มองเห็นตนเอง ในรูปลักษณ์ที่ชัดเจนขึ้น เข้าใจ และรู้แจ้งขึ้นในลักษณะที่เพื่อนร่วมงาน แสดงออกกับเรา ได้เรียนรู้ถึงความหนักอึ้งของหัวโขนที่สวมใส่ เข้าใจ ความหนาวยะเยือกของลมหนาวแห่งอากาศเบื้องบน...การตลบตะแลง แกล้งแสดงสีหน้าของผู้คนร่วมสังคม ขอชุโกรต่อพระผูส้ ร้างทีไ่ ด้มอบพลังให้กบั ผมจนสามารถปฏิบตั ิ หน้าที่อย่างเต็มศักยภาพ (ส่วนผลลัพธ์นั้นอยู่ที่อัลลอฮฺ) ณ วันนี้ หัวโขนถูกถอดออกไป มาเดินย�่ำฝุ่น ณ เบื้องล่างเยี่ยง ปุถุชน...ดั่งคนเดิม


“ท่านเราะสูลุลลอฮฺ คือ แบบอย่างของเรา” มั่นใจและเลือกแปลหนังสือเล่มนี้อย่างตั้งใจแด่ท่านผู้อ่าน หวังให้เกิดประโยชน์และเกิดศิริมงคลในการด�ำเนินชีวิต สามารถด�ำรง ตนอยู่ในสังคมอย่างมีเกียรติ อินชาอัลลอฮุตะอาลา ด้วยเกียรติแห่งมิตรภาพ ยูซุฟ อบูบักรฺ


ค�ำน�ำผู้เขียน

การสรรเสริญเป็นสิทธิ์ของอัลลอฮฺ

ขอสรรเสริ ญ ท่ า นเราะสู ลุ ล ลอฮฺ ตลอดจนบรรดา วงศาคณาญาติ และบรรดาผู ้ ที่ เ จริ ญ รอยตามทางอั น ดี ง ามของ ท่านด้วยเถิด

พี่น้องผู้มีเกียรติทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอขอบคุณทุกๆ ท่านที่ได้ ร่วมฟังการบรรยายในครัง้ นี้ ขอดุอาอ์ตอ่ อัลลอฮฺให้พระองค์ทรงประทาน ความส�ำเร็จให้แก่ข้าพเจ้าในการน�ำเสนอเนื้อหาสาระบางอย่างตามที่ สติปัญญาของข้าพเจ้าพอจะมีอยู่บ้าง ความจริงเรื่องการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คนนั้นเป็นศาสตร์ที่มี เนือ้ หากว้างมาก ศาสตร์ๆ นีม้ คี วามส�ำคัญและจ�ำเป็นต่อมวลมนุษยชาติ ที่จะต้องเรียนรู้ เพื่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีงาม และเพื่อความส�ำเร็จทั้งใน โลกนี้และโลกแห่งอนาคต (อาคิเราะฮฺ)

ส�ำหรับมุสลิมแล้ว ศาสตร์ความรูเ้ กีย่ วกับการมีจรรยามารยาท และบุคลิกภาพทีด่ งี ามนัน้ ล้วนปรากฏอยูใ่ นค�ำสอนของอิสลาม ผ่านทาง จริยวัตรหรือแบบอย่างของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ซึ่งนี่คือต�ำราพัฒนา บุคลิกภาพที่ครบถ้วนและครอบคลุมสมบูรณ์ที่สุด


แต่ก็เป็นเรื่องน่าเสียดายที่มุสลิมส่วนมากกลับละเลยและ ไม่ใส่ใจในเรื่องนี้ บางคนที่มีโอกาสได้ศึกษาเรียนรู้ก็กลับไม่น�ำความรู้ นัน้ ไปปฏิบตั ิ ยอมตกเป็นผูท้ แี่ พ้พา่ ยต่ออารมณ์ใฝ่ตำ�่ (นัฟสู) และชัยฏอน มารร้าย มีมสุ ลิมจ�ำนวนน้อยมากทีพ่ ยายามผลักดันตัวเองสูค่ วามส�ำเร็จ พวกเขาพยายามเรี ย นรู ้ แ ละน�ำศาสตร์ ที่ ไ ด้ รั บ จากแบบอย่ า งท่ า น เราะสูลุลลอฮฺ มาประดับประดาตนเอง พวกเขาฝึกฝนและขัดเกลา ตนเอง (ตัรบียะฮฺ) จนได้เป็นบุคคลที่ประสบความส�ำเร็จอย่างแท้จริง

ฉะนั้น ส�ำหรับมุสลิม ผู้เป็นเจ้าของขุมทรัพย์แห่งศาสตร์อัน เลอค่านี้ การก้าวสู่การปฏิบัติจริง คือสิ่งที่เราต้องลงมือท�ำ ดร.อับดุลลอฮฺ อัลคอฏิร


สารบัญ

12 14 16 18 21 23 25 27 30 32 36 38 40 42 45 48 52

เรียกขานผู้อื่นด้วยชื่อที่ดีงาม เอาใจใส่ในเรื่องของคนอื่น แสดงมิตรไมตรีด้วยการให้ของขวัญ ให้เกียรติผู้อื่นด้วยการกล่าวชมเชยและ ขอค�ำปรึกษาหารือจากเขา รู้จักกล่าวขอบคุณและดุอาอ์ให้แก่พี่น้อง ไม่เพิกเฉยในความสามารถพิเศษของผู้คน อย่ายึดติดว่าตัวเองดีเพียงคนเดียว จงเป็นคนถ่อมตน อย่าเป็นคนดูถูกคนอื่น อย่าด่วนต�ำหนิคนอื่น พยายามมองหาความดีของเขาหรือเธอ จงให้อภัยและลืมความผิดของคนอื่น เมื่อเราผิดต้องรู้จักยอมรับผิด อย่าเป็นคนที่ชอบการทะเลาะเบาะแว้ง เปลี่ยนจากพูดเชิงบังคับเป็นพูดโน้มน้าวใจแทน ค�ำนึงถึงกาลเทศะในการตักเตือนด้วยทุกครั้ง ระมัดระวังการใช้ค�ำพูดในการแสดงความเห็น เชิงวิจารณ์ ประวัติผู้เขียน


ขอมอบ แด่...ผู้น�ำทุกท่าน และผู้ตามทุกคน


เรียกขานผู้อื่นด้วยชื่อที่ดีงาม


โดยธรรมชาติแล้วมนุษย์ชอบให้ผู้อื่นเรียกชื่อที่ตนเองชื่นชอบ เรียกอย่างให้เกียรติด้วยน�้ำเสียงที่สุภาพ ไพเราะ ท่านเราะสูล นั้นจะเรียกบรรดาเศาะหาบะฮฺด้วยกับชื่อที่ เป็นทีร่ กั ของพวกเขา แม้กระทัง่ กับบรรดาเด็กๆ ท่านก็จะเรียกด้วยชือ่ ที่ ไพเราะ หรือหากท่านจะเรียกด้วยฉายานาม ท่านก็จะใช้ฉายานามที่ ไพเราะ น่ารัก น่าเอ็นดู ในบางครั้งที่เราไม่รู้จักชื่อผู้ที่เราสนทนาด้วย หรือเกิดลืมชื่อ ของผู้ร่วมสนทนา หรือที่แย่ยิ่งไปกว่านั้น คือเราไม่สนใจที่จะถามถึงชื่อ เสียงเรียงนามของเขาเลย การกระท�ำเช่นนีถ้ อื เป็นความล้มเหลวในการ ปฏิสัมพันธ์อย่างสิ้นเชิง เพราะเราก�ำลังท�ำให้ผู้ที่สนทนาอยู่กับเรารู้สึก ว่าเราไม่ให้ความส�ำคัญในตัวเขา ฉะนั้นแล้ว จงแนะนำ�ตัวเราเอง จากนั้นก็ถามชื่อของผู้ที่เรา สนทนาด้วย เราจะต้องพยายามจำ�ชื่อของเขาให้ได้ การจำ�ชื่อคนอื่น นั้นเปรียบดังเสน่ห์ที่จะทำ�ให้ผู้คนรู้สึกดีกับเรา

13


เอาใจใส่ในเรื่องของคนอื่น


มนุษย์จะรูส้ กึ พึงพอใจเมือ่ มีใครให้ความสนใจกับเขา เขาชอบ ที่มีคนให้ความส�ำคัญกับเขา ใส่ใจในเรื่องของเขา และชอบที่มีคนเห็น ด้วยในสิ่งที่เขาพูด โดยพื้นฐานแล้ว มนุษย์ต้องการให้ผู้อื่นได้รับรู้ถึงสภาพความ เป็นอยูข่ องตัวเอง เขาอยากให้มใี ครสักคนถามว่า “ต้องการอะไรไหม?” “ขาดเหลืออะไรหรือเปล่า?” และไม่ต้องการให้ใครมาพูดว่า “ต้องท�ำ แบบนั้นสิ” “ท�ำแบบนี้สิ” ค�ำพูดลักษณะดังกล่าวไม่ใช่เรื่องสลักส�ำคัญ อะไรในชีวิตของเขาเลย แต่สิ่งที่ส�ำคัญส�ำหรับเขา คือการให้ความสนใจ ในสิ่งที่เขาต้องการ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ บอกไว้ว่า “คนที่เป็นที่รักยิ่ง ณ ที่อัลลอฮฺ คือผู้ที่ก่อประโยชน์ให้แก่ผู้อื่น การงานที่เป็นที่รักยิ่ง ณ ที่อัลลอฮฺ คือการมอบความสบายใจให้ แก่มุสลิม ปลดเปลื้องความทุกข์ ยกหนี้สินให้แก่เขา ขับไล่ความ หิวโหย (ให้แก่เขา) หากท่านเดินไปกับพีน่ อ้ งของท่านเพือ่ จุนเจือ ในสิ่งที่เขาต้องการ นั่นถือเป็นที่รักยิ่ง ณ ที่ฉันมากกว่าที่ท่าน พ�ำนัก (อิอฺติก๊าฟ) อยู่ในมัสยิดเป็นเวลาหนึ่งเดือน” (บันทึก โดยอัฏฏ็อบรอนียฺ หมายเลข 13646) ดังนัน้ การเข้าไปมีสว่ นร่วมในชีวติ ของเพือ่ นมนุษย์ แม้เพียง ด้วยการส่งยิ้มหรือพูดคุยซักถามด้วยความห่วงใยเพียงเล็กน้อย จึงถือเป็นสิ่งที่มีความสำ�คัญทั้งสิ้น หากใครทำ�เช่นนั้นด้วยความ บริสุทธิ์ใจ เขาก็จะสามารถครองหัวใจของเพื่อนมนุษย์ไว้ได้โดย ปริยาย และด้วยความบริสุทธิ์ใจที่เขาได้กระท�ำไปเพื่ออัลลอฮฺนั่นเอง พระองค์ก็จะทรงเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างเขากับเพื่อนมนุษย์ ให้เกิดเป็น สายใยแห่งรักขึ้นมาระหว่างกัน

15


แสดงมิตรไมตรีด้วยการให้ของขวัญ


มนุษย์จะรู้สึกดีกับผู้ที่แสดงมิตรไมตรีแก่เขา และหนึ่งในวิธีที่

เราสามารถแสดงออกซึ่งไมตรีจิตของเราแก่ผู้อื่น คือการมอบของขวัญ เล็กๆ น้อยๆ

เรื่องนี้เป็นสิ่งส�ำคัญอย่างหนึ่งซึ่งจะก่อให้เกิดความรักแก่กัน และกัน ดังที่มีปรากฏในหะดีษของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ความว่า “จงมอบของขวัญให้แก่กันเถิด เพราะมันจะก่อให้เกิดความรัก ซึ่งกันและกัน” (บันทึกโดยมาลิก ในหนังสืออัลมุวัฏเฏาะฮฺ 2/326, อัลบัยฮะกียฺ หมายเลข 946) “ของขวั ญ ” แม้ บ างที อ าจเป็ น สิ่ ง ที่ มี ร าคาเพี ย งน้ อ ยนิ ด แต่ทว่าความรู้สึกของผู้ที่ได้รับมันมาแล้วนั้นกลับใหญ่หลวงยิ่งนัก

17


ให้เกียรติผู้อื่นด้วยการกล่าวชมเชย และขอค�ำปรึกษาหารือจากเขา


โดยธรรมชาติแล้ว มนุษย์จะรักผู้ที่ให้เกียรติแก่ตัวเขา

การให้เกียรตินนั้ เป็นสิง่ ส�ำคัญทีจ่ ะต้องปฏิบตั ดิ ว้ ยความเหมาะ สม ผู้ใหญ่ต้องรู้จักให้เกียรติผู้น้อย เพื่อที่จะสอนให้เขาได้รู้จักให้เกียรติ และอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้อื่น หากผู้ใหญ่ท�ำตัวให้เป็นแบบอย่างเช่นนี้ เองแล้ว คนอื่นก็จะให้เกียรติเขาไปโดยปริยาย การพูดถึงความดีของผู้อื่นเป็นการให้เกียรติกันวิธีหนึ่ง ซึ่งนี่ไม่ เหมือนกับการสรรเสริญเยินยอผู้อื่นจนเกินความจริงด้วยเจตนาที่ไม่ บริสุทธิ์ ต้องการเพียงความพึงพอใจจากผู้ที่ตนยกยอ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ที่ถูก ยกยอเป็นประตูให้ตนก้าวไปสู่ความส�ำเร็จในโลกดุนยา ท่านเราะสูล เคยกล่าวชมเชยบรรดาเศาะหาบะฮฺของท่าน เพื่อส่งเสริมให้พวกเขากระท�ำความดีโดยที่ท่านไม่ได้สรรเสริญเยินยอ เกินกว่าความเป็นจริงเลย ท่านเคยกล่าวว่า “ผู ้ ที่ มี ค วามเมตตาต่ อ ประชาชาติ ข องฉั น มากที่ สุ ด ได้ แ ก่ อบูบักรฺ ผู้ที่มีความเคร่งครัดต่อค�ำสั่งใช้ของอัลลอฮฺมากที่สุด ได้ แ ก่ อุ มั ร ผู ้ ที่ มี ค วามละอายมากที่ สุ ด ได้ แ ก่ อุ ษ มาน ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องกิตาบุลลอฮฺมากที่สุด ได้แก่ อุบัยยฺ บินกะอ์บ ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องมรดก (ฟะรออิฎ) มากที่สุด ได้แก่ มุอาซ บินญะบัล และในแต่ละประชาชาติมีผู้ที่ซื่อสัตย์ ส่วนผู้ที่ซื่อสัตย์ของประชาชาตินี้ ได้แก่ อะบูอุบัยดะฮฺ บิน อัลญัรรอฮฺ” (บันทึกโดยติรมิซียฺ หมายเลข 3790) ผู้น�ำที่ฉลาดควรจะต้องจ�ำเรื่องนี้ไว้ เพราะการที่ลูกน้องหรือ คนในปกครองได้รับเกียรติจากผู้น�ำ นั่นก็จะเพิ่มความมั่นใจให้แก่พวก เขา และยังจะเพิ่มพลังในการท�ำงานของพวกเขาอีกด้วย 19


นอกจากนี้แล้ว เราควรรู้จักปรึกษาหารือกับคนอื่นในเรื่อง ที่เขามีข้อมูล ถึงแม้ว่าเราอาจจะไม่ได้ประโยชน์จากแนวคิดหรือความ คิดเห็นของเขาเลยก็ตาม แต่ล�ำพังแค่การขอค�ำปรึกษาจากคนอื่นนั้น ก็ถือว่าเราได้ให้เกียรติเขาแล้ว คนที่เราไปขอค�ำปรึกษาจะรู้สึกเป็น เกียรติทไี่ ด้ให้ค�ำปรึกษา และความรูส้ กึ นีเ้ องทีจ่ ะเป็นตัวสร้างความสนิท ชิดเชื้อให้เกิดขึ้นในหัวใจ

อัลลอฮฺ

ได้ตรัสไว้ความว่า َ َ ‫مْر َفإِ َذا َع َز‬ ‫للا‬ ِ ّ‫مْت َف َت َو َّك ْل َع َلى ه‬ ِ ‫َو َش‬ ِ ‫اورْ ُه ْم فِي األ‬ “และจงปรึกษาหารือกับพวกเขาในกิจการทั้งหลาย ดังนั้นเมื่อ เจ้าได้ตดั สินใจแล้วก็จงมอบหมายต่ออัลลอฮฺเถิด” (อาละอิมรอน 159 : 3)

จากการที่เราได้ปรึกษาหารือกับเพื่อนมนุษย์ บางครั้งเราอาจ จะได้พบแนวคิดใหม่ๆ ที่เราเองนึกไม่ถึงแต่ทีแรก เมื่อการปรึกษาหารือ ได้สนิ้ สุดลง และเรามีค�ำตอบให้ตวั เองว่าเราจะเลือกไปทางไหนแล้ว เช่น นั้นก็ขอให้เรามอบหมายกิจการงานนั้นต่อพระองค์อัลลอฮฺต่อไป

20


สำ�นักพิมพ์มิรอ�ต


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.