RMUTL Journal

Page 1


บทบรรณาธิ ก าร


สารบั ญ และคณะผู ้ จ ั ด ทํ า

P

8-9

8-9

34-40

10-16

P

10-16

P P

25-33 P

41-53

56-57

17-24 P

25-33

17-24

P

P

58-61

34-40 41-53

วารสาร ราชมงคลล้ า นนา ฉบั บ ที ่ 1

RMUTL JOURNAL

Issue 1 ประจําเดือน มกราคม มิถุนายน 2557

January - June 2014

54-55 56-57

62 เรื่องจากปก

58-61 P


ผู ้ บ ริ ห ารเล่ า สู ่ ก ั น ฟั ง

“ราชมงคลล้านนา มหาวิทยาลัยนวัตกรรม เพื่อชุมชนสู่สากล”

รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา “ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา เปนมหาวิทยาลัย ชั้นนําดานการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ บนฐานสรางสรรค นวัตกรรม การวิจัย วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อชุมชนสูสากล” ประโยคสั้นๆ ที่สื่อถึงความ ตั้งใจและความมุงมั่นของ รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล า นนา ที ่ ไ ด น ํ า เสนอวิ ส ั ย ทั ศ น มหาวิทยาลัยตอสภามหาวิทยาลัยครั้งเมื่อเขารับตําแหนง จากวันนั้นจนถึง วันนี้วิสัยทัศนดังกลาวเริ่มเขาสูกระบวนการดําเนินงานที่เปนรูปธรรมชัดเจน ขึ้นทุกๆวัน รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทกั ษ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา กลาววา ตลอดระยะเวลาที่ไดดํารงตําแหนงอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา การกําหนดทิศทางเพื่อที่จะกาวสู การเปนมหาวิทยาลัยชั้นนําดานการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติบนฐานความคิด สร า งสรรค ส ร า งนวั ต กรรมเพื่ อ ชุ ม ชนท อ งถิ่ น ทั้ ง ในและต า งประเทศนั้ น การบริหารจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยจะเนนการกระจายอํานาจ การมี สวนรวม โปรงใสสามารถตรวจสอบได วันนี้การบริหารงานในสวนตางๆ สามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพดวยความรวมมือของทุกฝายซึ่งมี การดําเนินการในหลายๆดาน รศ.ดร.นํายุทธ ไดกลาวตอไปวา ในดานการจัดการเรียนการสอน จะเนนในเรื่องการเรียนวิชาพื้นฐาน ดานวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร 4 วารสาร ราชมงคลล้านนา

รวมถึงดานภาษาอังกฤษและดานสารสนเทศเพื่อใหนักศึกษาสามารถ แขงขันกับนักศึกษามหาวิทยาลัยอื่นๆ ในเวทีสากลได โดยไดปรับการ เรียนการสอนใหเปนแบบ 2 + 2 หรือเรียกวาการเรียนแบบ Modular System คือ ใน 2 ปแรกจะเปนการเรียนวิชาพื้นฐานสวนในอีก 2 ป หลังนั้นก็จะเปนการเรียนในแบบการประยุกตใชองคความรู การฝก ทักษะวิชาชีพ การออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษารวมกับสถานประกอบ การ และหลังจากที่นักศึกษาจบการศึกษาก็ยังจะมีการติดตามชวย เหลือประมาณ 3 ป ซึ่งในปแรก มหาวิทยาลัยจะชวยเหลือในสวนที่ นักศึกษายังขาดหรือสิ่งที่จําเปนตองเรียนรูถึงวิธีการในการประยุกตใช องคความรูกับการปฏิบัติงานจริง และในปที่ 2 จะเปนลักษณะการชวย เหลือในการเสริมใหเปนมืออาชีพ สวนในปที่ 3 เมื่อบัณฑิตสามารถ ปฏิบัติงานในสถานประกอบการไดอยางมืออาชีพและมีความเชี่ยวชาญ แลวก็จะเปนลักษณะของการพัฒนาทั้งตัวของบัณฑิตเพื่อพัฒนาองคกร ดวย และจะเปนการวัดดวยวาหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยดําเนินการไปนั้น ใชไดจริงหรือตรงตามความตองการของสถานประกอบการหรือไม หากเกิ ด ป ญ หาอุ ป สรรคในระหว า งการทํ า งานของบั ณ ฑิ ต มหาวิทยาลัยก็พรอมจะใหความชวยเหลือทั้งนี้เพื่อใหเกิดความเชื่อมโยง ระหวางศิษยเกา อาจารย และศิษยปจจุบันรวมกันเปนเครือขายที่เขม แข็งอันจะนําไปสูการสรางศักยภาพบัณฑิตของ มทร.ลานนาให


ผู ้ บ ริ ห ารเล่ า สู ่ ก ั น ฟั ง

เปนที่ยอมรับของสังคมตอไป เพราะสิ่งแรกที่เราตองคํานึงก็คือ คน ซึ่ง ถือวาเปนตัวขับเคลื่อนที่สําคัญ ดวยการกระตุนใหนําสิ่งตาง ๆ ที่ดีที่ มีอยูในแตละบุคคลออกมาใช ซึ่งเปนโอกาสทําใหเกิดความภูมิใจกับ ตัวบัณฑิต สวนหลักสูตรการเรียนการสอนก็จะมีการยุบรวมบางหลัก สูตรที่ซํ้าซอนเขาดวยกัน หรือจัดกลุมใหมเพื่อใชงานไดอยางคุมคา นอกจากนี้เราจะพัฒนาทักษะทางดานภาษาใหกับนักศึกษาโดยเฉพาะ ภาษาอังกฤษรวมถึงภาษาที่ใชในภูมิภาคอาเซียนดวยเพื่อเปดโอกาส ใหกับนักศึกษาไดพัฒนาศักยภาพ และอีกสวนสําคัญก็คือการพัฒนา บุคลากรทั้งในสายวิชาการและสายสนับสนุนในการพัฒนาศักยภาพ ทั้งในดานของการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นรวมถึงการฝงตัวในสถาน ประกอบเพื่อนําความรูมาปรับใชในการสอน รวมถึงการพัฒนาใหเขาสู ตําแหนงทางวิชาการในระดับที่สูงขึ้นตอไป ในวั น นี้ ม หาวิ ท ยาลั ย สร า งเครื อ ข า ยทางการศึ ก ษาทั้ ง ใน ประเทศและในตางประเทศ ไมวาจะเปนความรวมมือกับ Institutes of Technology ในประเทศฝรั่งเศส เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาสง เสริมใหมีการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีความเชี่ยวชาญยิ่งขึ้น อีกทั้ง ยังเปนความรวมมือในการสงอาจารย นักศึกษาไปศึกษาระบบการ เรียนการสอนในประเทศฝรั่งเศส เพื่อจะไดพัฒนาการจัดการศึกษา ในรูปแบบบัณฑิตนักปฏิบัติ (Hands-on) ของราชมงคลลานนาใน อนาคตตอไป ไดรับความไววางใจจากสมาคมระดับภูมิภาคเพื่อพัฒนาครู อาชีวศึกษาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต “Regional Association for Vocational Teacher Education in East and Southeast Asia” (RAVTE) ใหดํารงตําแหนงนายกสมาคม คนแรก โดยทานมองวาจะเปนสวนสําคัญในการขยายความรวมมือของ การผลิตครู อาชีวศึกษาในภาพรวมทั้งระบบก็จะเปนอีกสวนสําคัญ ของความรวมมือที่จะสงเสริมใหมหาวิทยาลัยกาวไปสูเปาหมายของ การเปนมหาวิทยาลัยชั้นนําในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออก และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต ความรวมมือที่เกิดขึ้นสืบเนื่องจากนโยบาย ของการมุงหมายที่จะพัฒนามหาวิทยาลัยใหกาวสูความเปนสากล การ แลกเปลี่ยนองคความรูสูการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยโดยการ ขับเคลื่อนของคณะทํางานทุกระดับ ดังนั้นวันนี้ การเปนมหาวิทยาลัย ไมใชเพียงแตการเปนมหาวิทยาลัยที่จะมุงใหความรูแกเยาวชนเพียง อยางเดียวแตการที่สถาบันการศึกษาที่ตอบสนองสังคม ชุมชนนั้น เปน พันธกิจสวนหนึ่งที่เราจะตองมุงเนนและขับเคลื่อนใหกาวสูจุดมุงหมาย ของการกาวเปน มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชนสูสากลสถาบันการ ศึกษาที่ไมใชเปนเพียงแหลงผลิตบัณฑิตเทานั้น แตจะยังคงเปนสถาน ศึกษาที่สรางบุคลากรอันทรงคุณคาเพื่อพัฒนาประเทศใหกาวทัดเทียม นานาประเทศตอไป รศ.ดร.นํายุทธ กลาวสรุป

“ พันธกิจส่วนหนึ่งที่เราจะต้องมุ่งเน้น และขับเคลื่อนให้ก้าวสู่จุดมุ่งหมายของ การก้าวเป็น มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อ ชุมชนสู่สากล สถาบันการศึกษาที่ไม่ใช่เป็น เพียงแหล่งผลิตบัณฑิตเท่านั้น แต่จะยัง คงเป็นสถานศึกษาที่สร้างบุคลากรอันทรง คุณค่า เพื่อพัฒนาประเทศให้ก้าวทัดเทียม นานาประเทศต่อไป ”

วารสาร ราชมงคลล้านนา 5


ผู ้ บ ริ ห ารเล่ า สู ่ ก ั น ฟั ง

Numyoot Songthanapitak A perspective from the

RMUTL President. "Rajamangala University of Technology Lanna is a leading University that produces graduates to be leading practitioners based on research, innovation, science, and technology to the international community”. This is a short statement reflecting the determination of Associate Professor Dr.Numyoot Songthanapitak, upon presenting his visions to the University Council's apparition when he took the position as the President of Rajamangala University of Technology Lanna. From the day of his resolve his visions have turned into a concrete implementation in the current period. Assoc.Prof.Dr.Numyoot Songthanapitak stated that during his term as a President of Rajamangala University of Technology Lanna, he has directed this university to become a leading university which has produced hands-on graduates based on a creative innovation for the local communities and overseas. The university management will focus on decentralization, participation, and transparency. Today, management of various sectors had effectively carried out the vision with more cooperation from all parties, where the various segments have been implemented. Assoc.Prof.Dr.Numyoot Songthanapitak said, teaching and learning will be focused on Science, Mathematics, English and Information Technology so that students can compete with students from other universities in the international arena. Teaching and learning will be taught as a 2 +2 or Modular System, i.e. the first 2 years will be the foundation and the next 2 years will be knowledge applications, vocational skills training, and cooperative education with the workplace. After graduation, there will be a follow up assistance for 3 years. In the first year, the university will help students who are lacking or need to learn how to apply the knowledge into practice. For the second year, assistance will be provided in enhancing the graduates to be professional. By the third year, when graduates have become professional and skillful, assistance will be utilized for the development of graduates and the organization. This will help the university to assess that the 6 วารสาร ราชมงคลล้านนา

curriculum implemented by the university is practical and has complied with the needs of the industry. If problems occur during the graduates’ work the university is ready to provide assistance in order to ensure the link between the alumni, faculty and current students to form a strong network that will lead to the creation of potential RMUTL graduates that are acceptable for society. The first thing we need to consider is that the significant driver is the human being. The motivation to utilize each individual’s ability would create a sense of pride among the graduates. Some syllabuses which are repetitive will be merged together or reorganized so that they will be highly efficient. In addition, we will develop the language skills among the students,


ผู ้ บ ริ ห ารเล่ า สู ่ ก ั น ฟั ง

especially English as well as ASEAN regional languages. This is an opportunity for the students to develop their potentiality in communicating in various languages. Another key development is human resources in the academic affairs and supporting staff. Development should be concentrated on their potentiality within their disciplinary field of higher learning or being embedded in the workplace so that the knowledge and skills can be applied in teaching or increasing academic recognition in the university level. Currently, the university is networking with domestic and international universities such as collaborating with the Institutes of Technology in France to encourage the development of hands-on graduates with higher level of expertise. The collaboration is aimed for teachers to acquire the teaching and learning methodology in France in order to form hands-on graduates in RMUTL. The President of Rajamangala University of Technology Lanna was also elected

by the “Regional Association for Vocational Teacher Education in East and Southeast Asia” (RAVTE) to be the first President of this organization. President Numyoot views this as a major expansion for the collaboration of vocational education teachers training. This will enhance RMUTL to achieve its goal as a leading university in East Asia and South East Asia. This collaboration originated from the policy which aims at the development of the university to have international standard and exchange knowledge management at all levels that are accompanied by the drives from all working levels. Today, the University is not only educating people but must also serve the communities. This is a mission that we need to be focused on and being an innovative university for the community at the international standard. It is an institution that is not only producing valuable graduates to help develop the country but being aligned with the international arena. วารสาร ราชมงคลล้านนา 7


Ready we go!!!!

ปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษ

ก้าวแรกสู่บัณฑิตนวัตกร

บทความโดย อาจารยภูมณี ศิริพรไพบูลย

โยฮันน โวลฟกัง ฟอน เกอเธ

โยฮันน โวลฟกัง ฟอน เกอเธ, นักปรัชญา ชาวเยอรมันเคยกลาววา คนที่ไมรูภาษาอื่น คือ คนทีไ่ มรจู กั ตัวเอง[1] คํากลาวของเกอเธ สะกิดให เราสดับตรับฟงถึงความสําคัญของภาษาในฐานะ สือ่ กลางของการสือ่ สาร เพราะเราไมไดอาศัยอยู โดดเดี่ยวบนโลกใบนี้ หรือพูดใหเฉพาะเจาะจง คือเราไมไดอาศัยอยูเดียวดายในอุษาคเนย เรา มีเพื่อนบานอยาง กัมพูชา ลาว พมา เวียดนาม มาเลเซี ย บรู ไ น อิ น โดนี เซีย ฟลิป ปน ส และ สิงคโปร ที่สามารถพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันได ดังสุภาษิต “นํ้าพึ่งเรือเสือพึ่งปา” ภาษาจึงเปนตัวแปรสําคัญ โดยเฉพาะ เมือ่ ประเทศในอาเซียนทัง้ 10 ประเทศตางตกลง ใชภาษาอังกฤษเปนภาษากลาง ประเทศไทยจึง ตองเรงพัฒนาศักยภาพของคนในชาติ ใหสามารถ ใชภาษาอังกฤษไดอยางชํานาญกันถวนทั่ว ซึ่ง เปนนิมิตหมายอันดีที่ประชากรในประเทศไทย มีแนวโนมความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ สูงขึ้นอยางตอเนื่อง [2] ผมในฐานะอาจารยสอนภาษาอังกฤษ แผนกวิชาภาษาตะวันตก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม ไดมโี อกาส เปนสวนหนึ่งในการจัดโครงการปรับพื้นฐาน ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาชัน้ ปท่ี 1 ปการศึกษา 2557 เพื่อวางพื้นฐานการฟง การพูด การอาน และการเขียนภาษาอังกฤษ ซึ่งโครงการดังกลาว ยังสอดรับกับเปาหมายของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา ทีต่ อ งการยกระดับมหาวิทยาลัย

8 วารสาร ราชมงคลล้านนา

สูสากล ตามโครงการปฏิรูปการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษแก น ั ก ศึ ก ษาและบุ ค ลากรเพื ่ อ รองรับการกาวเขาสูประชาคมอาเซียนอยาง เต็มตัวในป พ.ศ. 2558 ในสวนของโครงการปรับพื้นฐาน ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการ ศึกษา 2557 นั้น ประกอบไปดวย 2 โครงการ ยอย ไดแก “โครงการสอนปรับพื้นฐานภาษา อั ง กฤษโดยใช วี ดี ทั ศ น ” มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ พั ฒ นาไวยากรณ ภ าษาอั ง กฤษของนั ก ศึ ก ษา และ “โครงการอบรมการเขาใชงานโปรแกรม Tell Me More” มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริม ใหนักศึกษาพัฒนาทักษะดานการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษดวยตนเองซึ่ง ณ ตอนนี้ ทั้ ง สองโครงการดั ง กล า วได ดํ า เนิ น การจั ด กิจกรรมตาง ๆ ไปพรอม ๆ กัน และมีเสียง ตอบรั บ จากผู เข า ร ว มโครงการเป น อย า งดี จิรายุส หลาแกว นักศึกษาชั้นปที่ 1 สาขา วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล คณะ บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร บอกกับผมดวยวา “เขาดี ใจที่ ม หาวิ ท ยาลั ย จั ด โครงการปรั บ พื้ น ฐานภาษาอังกฤษเพราะเปนการเปดโอกาสให เขาพัฒนาทักษะทางอังกฤษทั้ง 4 ดาน ถึงแมวา ตอนนี้ เขาอาจจะยังตามเพื่อน ๆ บางคนในสาขา ที่มีพื้นฐานภาษาอังกฤษที่สูงกวาไมทัน แตเขา ก็เชื่อ ภายในไมเกิน 4 ป กอนเรียนจบ เขาตองมี ความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในระดับใช งานไดดี ไมเพียงแตนักศึกษาที่จะตองมีการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมและแนวทางการเรียนภาษา แตยังไดหมายรวมไปถึงครูอาจารยผูถายทอด วิชาความรูก็ตองมีการพัฒนาแนวทางการสอน ภาษาอังกฤษไปพรอมๆกัน” ดวย มหาวิทยาลัย จึ ง ได จั ด กิ จ กรรม“สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารการ พั ฒ นาเอกสารประกอบการสอนภาษา อังกฤษ 6 รายวิชาหลัก” ซึ่งจากการดําเนิน โครงการดั ง กล า วคณาจารย ข องแผนกวิ ช า ภาษาตะวันตกไดรับแนวทางในการปรับปรุง

เอกสารการสอนให ส อดคล อ งไปกั บ ประเด็ น ยุ ท ธศาสตร ด า นการเรี ย นการสอนในการ สร า งบั ณ ฑิ ต นวั ต กรที่ เ น น ผู เรี ย นเป น สํ า คั ญ และหากมหาวิ ท ยาลั ย มุ ง เน น ให เ กิ ด การ พั ฒ นาแล ว อี ก ส ว นสํ า คั ญ ที่ จ ะลื ม ไม ไ ด ก็ เห็ น จะเป น บุ ค ลากรในมหาวิ ท ยาลั ย ทุ ก ส ว นงานที่ จ ะได รั บ การพั ฒ นาทั ก ษะด า น ภาษาอั ง กฤษไปพร อ มๆกั น บุค ลากรใน มหาวิ ท ยาลั ย ก็ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรม เชนกันโดยใหมีการเรียนภาษาอังกฤษในทุกๆ สั ป ดาห เ พื่ อ ให เ กิ ด การเรี ย นรู อ ย า งต อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 23 ถึง 26 เมษายน พ.ศ. 2557 ที่ผานมาคณาจารยแผนกวิชาภาษา ตะวันตก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลาน นา ทั้ง 6 พื้นที่ ยังไดเขารวมโครงการ “สัมมนา เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารการพั ฒ นาเอกสารประกอบ การสอนภาษาอังกฤษ 6 รายวิชาหลัก” โดย มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ระดมสมองและจั ด ทํ า เอกสารในการพัฒนาเอกสารประกอบการสอน รายวิชาภาษาอังกฤษ 6 รายวิชา ซึ่งจากการ ดําเนินโครงการดังกลาว คณาจารยของแผนก วิ ช าภาษาตะวั น ตกได รั บ แนวทางในการ ปรับปรุงเอกสารการสอน ใหสอดคลองไปกับ ประเด็นยุทธศาสตรดานการเรียนการสอนใน การสรางบัณฑิตนวัตกรที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ จากที่ ผ มได เ ล า มาทั้ ง หมดนี้ นั บ เป น เรื่องดีๆที่กําลังเกิดขึ้นในบานหลังที่สองของเรา ผมมั่นใจวาในอีกไมเกิน 4 ปขางหนาทุกคนใน บานจะมีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ อยางชํานาญยกระดับมหาวิทยาลัยสูสากลตาม ที่ไดตั้งเปาหมายไว [1] Goethe, Johann Wolfgang von. (2010). Maxims and Reflections. Retrieved from http:// www.gutenberg.org/files/33670/33670-h/33670-h.htm [2] EF English Proficiency Index. (2013). EF English Proficiency Index 2013. Retrieved from http:// www.ef.co.th/__/~/media/efcom/epi/2014/ full-reports/ef-epi-2013-report-master-new.pdf


Ready we go!!!!

“English Preparation,” The First Steps toward Innovative Grad Students Goethe, German philosopher, stated that ignoring other languages, you won’t understand yourself. This quotation has reflected the importance of foreign languages as a communicative tool among human beings, dependent on one another for their living. Like the Thais, there are many neighboring countries located in South East Asia Cambodia, Laos, Myanmar, Vietnam, Malaysia, Brunei, Indonesia, Philippines, and Singapore. Languages, especially English as an international language, are becoming more essential to communicate among the 10 members of ASEAN. Therefore, Thai citizens are encouraged to learn and practice English more fluently throughout the nation. If possible, it’s a sign for enhancement of English competencies for Thais. I, as an English teacher of RMUTL, acquired a good opportunity to organize the course named “English Preparations for the 1st year Students in 2014”. The course provided the four basic communicative skills of

Languages English as an official language Is becoming more essential

skills of English – listening, speaking, reading and writing. In addition, the project responded to the mission of our university “Enhance the University as International Educational Institution” and it is relevant to the campaign of English Teachers Development for ASEAN 2015 teaching and learning environments. For the project “English Preparations for the 1st year students in 2014” consisted of 2 minor projects which were English preparation by using visual media focusing on improving grammatical knowledge of students. The second minor project was how to learn English by Tell Me More program. The Tell Me More program helps the learners to study language skills by themselves. There was feedback from the participants of the projects. One of them said that he was glad to attend this campaign because he had chances to practice English in the four skills. Even though he wasn’t very good at English, he would become better with English in the next 4 years.

According to the above projects, the English teachers are required to develop teaching approaches and pedagogies within our learning environment. Therefore, there was a workshop for the teachers to revise and develop the 6 English core courses in accordance with the university’s learning mission “Building Innovative Students by StudentCentered Learning”. Meanwhile, all staff members of RMUTL are also required to develop their English language learning skills once a week. Every project mentioned above is a good start to develop English language learning at RMUTL. I am certain that all of us will become more confident with English within 4 years and help our university to develop into an international institution.

ASEAN MAP

วารสาร ราชมงคลล้านนา 9


การจั ด การเรี ย นการสอน

สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ถวายรายงานโครงการ Electrical Engineer Division report the progress of “The Project ผลิตไฟฟ้าพลังงานโซล่าเซลล์ about of Solar Cell Power Generation in Addition to Hydro Power” เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2557 ผศ.อวยพร บัวใบ รองอธิการบดี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม พรอม ดวยคณะผูบริหารและคณาจารย เฝาทูลละอองพระบาทรับเสด็จสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเสด็จติดตามผลการ ดําเนินงานโครงการตามพระราชดําริ ณ โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน ชมรมอนุรักษพุทธศิลปไทยอนุสรณ บานแสนคําลือ ตําบลถําลอด อําเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน ในการนี้ อาจารยสาคร ปนตา หัวหนาสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา ถวายรายงานโครงการผลิตไฟฟาพ ลังงานโซลาเซลลรวมกับพลังงานนํา สําหรับหองเรียน ICT ที่ทางสาขา วิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร ของมหาวิทยาลัยฯ ไดจดั สรางขึน้ ดร.อุเทน คํานาน กลาววา สืบเนื่องจากเมื่อป พ.ศ. 2553 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนิน ไปยังศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” บานปตุคี ตําบล ยางเปยง อําเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม และไดเห็นถึงศักยภาพในการ ผลิตกระแสไฟฟาจากแผงโซลาเซลลซ่งึ ไดรับการสนับสนุนจากหนวยงาน ภาครัฐและเอกชนที่จะใชเปนเครื่องมือในการนําเสนอสื่อสาระสนเทศ ในการเรียนรูระยะไกล จึงมีพระราชดําริฯ ใหพัฒนาโครงการดังกลาว ไปยังโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน เพือ่ ใชในการเรียนการสอนใน หอง ICT ซึ่งเปนที่มาทําใหมีการตอยอดองคความรูในการผลิตไฟฟาจาก แผงโซลาเซลลและสือ่ สาระสนเทศในการเรียนรูร ะยะไกล ใหกบั โรงเรียน ดํารวจตระเวนชายแดนและเนื่องจาก ไฟฟาที่ผลิตในพื้นที่ไมเพียงพอ ตอการใชงาน จึงมีการนําไฟฟาที่ผลิตจากแผงโซลาเซลลมาชวยในการ เรียนการสอนในหองเรียน ICT ของโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนดวย โครงกล า วนี้ จึ ง เป น ความร ว มมื อ ของทางมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลลานนา ที่จะนําองคความรูจากการศึกษาพัฒนาสูงานวิจัย เพือลงไปสูชุมชนและยังเปนสวนหนี่งขององคกรทางการศึกษาที่จะได ชวยเหลือโรงเรียนที่ขาดแคลนใหไดมีโอกาสทางการศึกษาพัฒนาสูการ เรียนรูของเยาวชนตอไป

10 วารสาร ราชมงคลล้านนา

Assistant Professor Auyporn Buabai Vice-President of RMUTL, Chiang Mai Campus as well as his management team and lecturers had an audience with Her Royal Highness Princess Sirindhorn. The Princess visited the Royal Initiated Project at the Border Patrol Police School, “Anurak Buddha Silp Thai Anusorn” (Preservation Club) at Baan Sankamlue, Thumlord, Pang Mapa District, and Mae Hong Son Province. At the meeting Ajarn Sakorn Punta, Head of Electrical Engineer Division, reported on the progress of “The Project of Solar Cell Power Generation in Addition to Hydro Power” for ICT classroom which was built by Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Mai campus. Dr. Utain Khumnan stated that, since 2010, Her Royal Highness Princess Sirindhorn visited the ‘Mae Fah Luang Community Learning Center’ at Baan Pituki, Yang Piang, Om Koy district, Chiang Mai. The princess foresaw the potential of making electric current by solar cell, supported government and private sector, and telecommunication learning media. The princess contemplated to set up the project, ‘Solar Cell Power Generation in Addition to Hydro Power’, in ICT learning classroom, the Border Patrol Police School. The project promoted the knowledge of making solar cell power from solar cell panels, and telecommunication learning media, to the Border Patrol Police School, because the electric energy had not enough there. The project, cooperated with Rajamangala University of Technology Lanna, will lead to community research, parted with educational organization, and gives an opportunity to student in undeveloped school continually.


การจั ด การเรี ย น การสอน

“มหาวิทยาลัยชั้นนําด้านการผลิต บัณฑิตนักปฏิบัติบนฐาน สร้างสรรค์นวัตกรรม งานวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อ ชุมชนสู่สากล” เปนวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

ลานนา ที่มุงผลิตบัณฑิตออกสูตลาดแรงงานดวยความตั้งมั่นที่จะมุงหวัง ใหเปนแรงงานที่มีคุณภาพในระดับสากลทัดเทียมกับนานาประเทศ การ จัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยฯจึงไมมุงเนนความรูในหองเรียน เพียงอยางเดียวแตยังไดใหความรู ใหโอกาสในการลงมือทําจนเกิดความ เชี่ยวชาญ คณะวิ ท ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีก ารเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา พิษณุโลกเห็นความสําคัญของการพัฒนาการ เรียนการจึงไดจัดกิจกรรม“Matching…จากหิ้งสูหาง”เพื่อเปนการพัฒนา ขอบเขตของงานและสรางเครือขายผูใชประโยชนจากผลงานวิจัยอยาง เปนรูปธรรมโดยมุงหวังเพื่อตอยอดงานวิจัยรวมกับหนวยงานผูประกอบ การอันจะทําใหงานวิจัยไดรับการนําไปใชประโยชนและยกระดับคุณคา ของผลงานวิจัยสูสากลซึ่งหนึ่งในโครงการก็คือ“การนําเสนอผลงานทาง วิชาการของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรครั้ง ที่3”โดยเปนกิจกรรมเพื่อแสดงผลงานทางวิชาการของนักศึกษาในรูป แบบโปสเตอร ประกอบดวย สาขาวิชาสัตวศาสตร 24 เรื่อง สาขาวิชาพืช ศาสตร 1 เรื่อง สาขาวิชาประมง 1 เรื่อง สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร 13 เรื่อง สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร 5 เรื่อง และสาขาเทคโนโลยี เครื่องจักรกลเกษตร 6 เรื่อง รวมจํานวนทั้งสิ้น 50 เรื่อง โดยนักศึกษา ผูนําเสนอผลงานจะไดรับฟงความคิดเห็นและรับคําปรึกษาจากผูทรง คุณวุฒิ คณาจารย และบุคลากรจากหนวยงาน ผูประกอบการอันจะทําให นักศึกษาเปนบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีทั้งความเชี่ยวชาญเชิงวิชาการและความ ชํานาญในการปฏิบัติที่มีคุณภาพ การพัฒนาการเรียนการสอน จึงไมเพียงแคการศึกษาเลาเรียน ในหองเรียนการนําตําราความรูใหมมาใชเทานั้นแตการที่หนวยงานผูดูแล การเรียนการสอนไดจัดกิจกรรมอยางตอเนื่องเพื่อใหนักศึกษาไดมีการ พั ฒ นาปรั บ ตั ว เรี ย นรู ทั น เข า สู โ ลกการเปลี่ ย นแปลงและนํ า เข า สู ต ลาด แรงงานอยางมีคุณภาพ

Matching to Real Market

To follow the missions of Rajamangala University, the Faculty of Science and Agricultural Technology sets up the ‘Matching to Real Market’ activity or the 3rd Poster Presentation of students’ work. The academic poster presentation was joined by the following: 24 from Animal Science, one from Plant Science, one from Fishery Science, 13 from Food Technology, 5 from Computer Technology and 6 from Agricultural Mechanic Technology. Three hundred students took part in this presentation and the total number of posters was 50. The presenters gained opinions and suggestions from specialists and instructors to adapt in their future use. Authentic teaching methodology and approaches were used for improvement within the classroom, but it also showed the students how to adapt what they learned to be used in a realistic market environments. วารสาร ราชมงคลล้านนา 11


การจั ด การเรี ย นการสอน

มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ RMUTL Chiang Mai Campus students คว้า 1 เหรียญทอง 1 เหรียญเงิน won 1 gold and 1 silver medal การแข่งขันฝีมือแรงงานแห่งชาติ in National Skill Competition

12 วารสาร ราชมงคลล้านนา

8 students from Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Mai Campus, won 1 gold and 1 silver medal in 25th National Skill Competition 25 (World Skills Thailand 2014) in Mobile Robotics during 6-9 march 2014 that held in IMPACT Arena, Aumphur Pak Kled, Non-Thaburi Province. Winner (gold medal) from Mechatronics Engineering section, the team members were Mr. Kitipat Kantarak Mr. Kaitisak Mulsurin Mr. Jakapong Meunsan Mr. Thawatchai Muangmul. They were 2nd year student who’s studying in electronic on High Vocational Certificate which coached by Mr. Tharayut Kithiwararat whose led the team to win in this competition 2 times. Moreover, they would be Thai representative to participate in 10th ASEAN Skill Competition, in Vietnam. First runner up (silver medal) from Moblie Robotic demonstration, the team members were Mr. Chaiyaporn Somboonchai Mr. Mongkol Thepwan Mr. Teerat JAnjongkham and Mr. Pathithan Huangson. They were 2nd year student who’s studying in electronic on High Vocational Certificate which coached by Mr. Kakarin Thinnakorn they would be Thai representative to participate in 10th ASEAN Skill Competition, in Vietnam, August 2014.

World Skills Thailand 2014

8 นักศึกษาสาขาไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม ควา 1 เหรียญทองและ 1 เหรียญเงิน จากการแขงขันฝมือแรงงาน แหงชาติ ครั้งที่ 25 (World Skills Thailand 2014) ระหวางวันที่ 6 – 9 มีนาคม 2557 ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี การแขงขันสาขา Mobile Robotics รางวัลชนะเลิศ (เหรียญทอง) จากการแขงขันในสาขา แมคคาทรอนิกส ประกอบดวยนายกิตติวัฒน กันทารักษ, นาย เกียรติศักดิ์ มูลสุริทร, นายจักรพงศ หมื่นแสน และนายธวัชชัย เมืองมูล นักศึกษาสาขาไฟฟากําลัง ระดับ ปวส. 2 ชั้นปที่ 2 โดย มีอาจารยธรายุทธ กิตติวรารัตน ผูควบคุมทีม พรอมรักษาแชมป 2 สมัยซอน เปนตัวแทนประเทศไทยรวมแขงขันฝมือแรงงาน อาเซียน ครั้งที่ 10 ณ ประเทศเวียดนามและรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 (เหรียญเงิน) จากสาขาสาธิต Mobile Robotic ประกอบดวย นายชัยพร สมบูรณชัย, นายมงคล เทพ วรรณ, นายธีรัช จันจองคํา และนายปฏิภาณ หวงศร นักศึกษา สาขาไฟฟากําลัง ระดับ ปวส. 2 ชั้นปที่ 2 โดยมี อาจารยจักรริ นทร ถิ่นนคร ผูควบคุมทีม รวมเปนกําลังใจให 4 นักศึกษาจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม เปนตัวแทนประเทศไทยเขารวมการแขงขันฝมือแรงงานอาเซียน ครั้งที่ 10 ณ ประเทศเวียดนาม เดือนสิงหาคม 2557 นี้


การจั ด การเรี ย นการสอน

“AEC” เรื่องใกล้ตัว ที่ต้องเตรียมพร้อม

ต องยอมรั บ ว า ภาษาอังกฤษเปน ภาษาที่สําคัญ และ จําเปนสําหรับทุกประเทศเพื่อใชในการติดตอสื่อสารกัน และใน ป 2558 ที่กําลังจะมาถึงประเทศไทยจะกาวเขาสูประชาคมอาเซียน อยางเต็มรูปแบบซึ่งแนนอนวาคนไทยตองไดรับผลกระทบอยาง หลีกเลี่ยงไมไดนั่นก็คือเรื่องของ“ภาษา”จุดออนที่สําคัญของคนไทย ในขณะนี้ยังขาดความพรอมทางดานภาษาซึ่งเปนสิ่งที่ทําใหคนไทย มีศักยภาพในการแขงขันในตลาดแรงงานลดนอยลงกวาคนชาติอื่นๆ ดังนั้นการพัฒนาความรูความสามารถทางดานทักษะภาษาอังกฤษ ของคนไทยจึงถือเปนสิ่งที่สําคัญมากโดยเฉพาะอยางยิ่งนักศึกษา สวนใหญที่กําลังจะจบและเตรียมพรอมเขาสูตลาดแรงงานซึ่งยังขาด ทักษะดานภาษาเนื่องจากการฝกฝนดานภาษานั้นตองใชระยะเวลา และความตอเนื่องตามกฎบัตรอาเซียน มาตราที่ 34 ระบุไววา ใหใช ภาษาอังกฤษเปนภาษาสากลของอาเซียนนัน่ ก็หมายความวาประชากร ใน10ประเทศอาเซียนจะตองใชภาษาอังกฤษในการติดตอสื่อสาร เพิม่ ขึ้นนอกเหนือจากภาษาประจําชาติหรือภาษาทองถิ่นของตนเอง อาจารยอัศรา โรจนพิบูลธรรม หัวหนาสาขาศิลปศาสตร คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร.ลานนา ไดกลาววา “การ เตรียมความพรอมในดานภาษาเปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่ง นักศึกษา ส ว นใหญ ยั ง ขาดทั ก ษะในเรื่ อ งของภาษาซึ่ ง อาจมองว า เป น เรื่ อ ง ไกลตั ว แต แ ท ที่ จ ริ ง แล ว หากมองในอี ก แง มุ ม หนึ่ ง ถ า นั ก ศึ ก ษาได มีโอกาสทํางานรวมกับชาวตางชาติแนนอนวาภาษาจะกลายเปน สิง่ แรกในการติดตอสือ่ สาร หากนักศึกษาขาดทักษะดานภาษาจะ สงผลโดยตรงทําใหเกิดปญหาและอุปสรรคในการทํางานได ผูที่มี ทักษะดานภาษายอมไดเปรียบในการแขงขันเพื่อเขาสูตลาดแรงงาน มากกวาผูอื่น” ดังนัน้ แผนกภาษาตะวันตก สาขาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย ไดตระหนักและพรอมที่จะให การสนับสนุนชวยเหลือดานทักษะภาษาอังกฤษเพื่อใหนักศึกษา สามารถก า วเข า สู ต ลาดแรงงานได อ ย า งสมบู ร ณ จึ ง จั ด โครงการ “English Day 2014” เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ 2557 ณ อาคาร วิทยบริการ เพื่อฝกประสบการณการเรียนการสอนเปดโอกาสให นักศึกษาไดมโี อกาสใชภาษาอังกฤษในสถานการณจริงโดยใชกจิ กรรม ทีห่ ลากหลายเชนการใชเกมสตา งๆผานบทเพลงหรือบทบาทสมมุตซิ ง่ึ กิจกรรมเหลานี้สามารถจูงใจใหนักศึกษาเกิดการเรียนรูภาษาโดย ไมรูตัวเสริมสรางทักษะกระบวนการเรียนรูทางดานภาษาทั้งการฟง การพูด การอานและการเขียนเปนการเตรียมความพรอมเพื่อกาว เขาสูป ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ใหมปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้น

Preparing for ‘AEC’ In 2015, Thailand will be officially a member of the ASEAN Community and English will be used as an international language. However, Thai people still lack of English skills which causes Thai people to lessen in labor market competition. Therefore, English language skills development for Thai people is very important, especially graduate-to-be who lack of English language skills. Language practice takes time and is a continuous process. Following the Article 34 of the Charter of the ASEAN indicates English as the working language of ASEAN, which people in ten ASEAN member countries have to use English as an international language. Ms. Asara Rojanapiboontham, Department Head of Liberal Arts said that, “English language skills of many students are limited. It is required if the students have to work with the foreigners. So preparing students for English language learning is important.” Therefore, to emphasize on the matter of students’ English language skills, the Section of Western Languages, Department of Liberal Arts, RMUTL, Chiang Rai, operated the program ‘English Day 2014’ on 5 February 2014, at the Academic Service Building. The program aims were focused on the students abilities to learn and to improve English skills by using songs, games, and role play; as an effective preparation step into the ASEAN English language community. วารสาร ราชมงคลล้านนา 13


การจั ด การเรี ย นการสอน

“บือชอมี”

บือเนอมู... “ข้าวสามสุข” สู่ความภูมิใจระดับประเทศ

เมื่อกลาวถึง “ขาวสามสุข” หลายทานคงรูจักกันดีกับความ สําเร็จของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง ที่ไดสรางชื่อเสียงระดับประเทศ ในโครงการกลาใหม...ใฝรู ป 8 จัดโดย ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) โดยการควารางวัลชนะเลิศ โครง งาน “กลาใหม...สรางสรรคชุมชน” ระดับอุดมศึกษา ไดรับรางวัลเงินสด กวา 9 แสนบาท และถวยรางวัลพระราชทาน จากสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นํามาซึ่งความภาคภูมิใจสูมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา และประชาชนชาวจังหวัดลําปาง “ขาวสามสุข” ความสําเร็จของนักศึกษาภายใตชื่อ“ทีมบือเนอมู” ประกอบดวยนายชนสิษฎ นิยมไพรเวศน นายเกรียงศักดิ์ ลือชัย และ นางสาวอัมรินทร ปุกปนันท นักศึกษาสาขาพืชศาสตรคณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีการเกษตร โดยมี ดร.สุรพล ใจวงศษา เปนอาจารยที่ ปรึกษา ในการสงโครงงาน “ชุมชนพัฒนารักษาสิ่งแวดลอม สืบสาน วัฒนธรรมดวยขาวพื้นเมือง”เขารวมประกวด“ขาวสามสุข”ขาวกลาง ดอยที่ถายทอดเรื่องราวของชุมชนชาวปะกาเกอะญอ (กระเหรี่ยง) ผาน เมล็ดขาว นํา “สุขกาย สุขใจ สุขอารมณ” สูผูบริโภค ความสําเร็จที่ทีมงาน “บือเนอมู” ไดมุงสูเปาหมายที่สามารถ ทําไดสําเร็จนั่นคือ การใหความสําคัญเรื่อง “ขาว” อาหารหลักในการ ดํารงชีวิตของคนไทยมายาวนานไมวาจะเปนคนพื้นราบหรือคนพื้นที่สูง โดยขาวมีหลายสายพันธุมีเอกลักษณเฉพาะตัวแตดวยการศึกษาคนควา ความมุงมั่นของทีมงานบือเนอมู ที่ใหความสําคัญกับพันธุขาวพื้นเมือง ที่เปนมรดกทางการเกษตรของลูกหลาน 14 วารสาร ราชมงคลล้านนา

“ชุมชนพัฒนาสิ่งแวดลอมสืบสานวัฒนธรรมดวยผลิตภัณฑขาวพื้นเมือง” เปนกิจกรรมที่ชวยเหลือเกษตรกรชาวปะกาเกอะญอ (กระเหรี่ยง) ชุมชน บานทุงหลวงอําเภอแมวาง จังหวัดเชียงใหม พัฒนาการปลูกขาว ภายใต ชือ่ “ขาวสามสุข” ประกอบดวย สุขแรก ไดแก ขาวพันธุ “ บือชอมี ” (สุขกาย) สุขทีส่ องขาวพันธุ “บือเนอมู” (สุขใจ) และสุขทีส่ าม ขาวพันธุ “บือพะโดะ” (สุขอารมณ) โดยรวมกันพัฒนาการปลูกขาวพื้นเมืองให เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมดวยการใชปุยอินทรียที่เหมาะสมใหเปนผลิตภัณฑ ใหมของทองถิ่นเกิดการยอมรับจากสังคมและประเทศชาติ “ขาวสามสุข” จึงไมไดเพียงแตสรางความสุขใหแกทีมงานและ คนทั่วไป แตยังเปนสวนหนึ่งในการความสุข สรางรอยยิ้มใหกับชุมชนคน ทองถิ่นอันจะไดชวยกันดํารงไวซึ่งพันธุขาวทองถิ่นสรางความภูมิใจในการ เปนสวนยกระดับพันธุขาวพื้นเมืองใหเปนที่รูจักสูสากลสืบไป

บรรจุภัณฑ์ข้าวสามสุข Happy Rice Packaging


การจั ด การเรี ย นการสอน

“บือเนอมู”

“บือพะโดะ”

“Bue-ne-moo : Happy Rice” RMUTL Lampang’s Pride

Happy Rice is RMUTL Lampang students’ success that they won the First Prize of SCB Challenge Project: “Change Agent for Society”. It was held by Siam Commercial Bank for college students. They received cash of 900,000 baht and Her Royal Highness Princess Sirindhorn’s Cup. The student team, namely Mr. Chanasit Niyomprivet, Mr. Kriengsak Luechai, Ms. Amarin Pookpanan from the Department of Plant Science, Faculty of Science and Agricultural Technology, under Dr. Surapol Jaiwongsa, the leader and supervisor of the research group, conducted the project ‘Save the environment and Conserve the Culture of Native Rice’. They employed ‘Karens’ three kinds of native rice in the Tong Luang Village of Amphur Mae Wang, Chiangmai Province. “The Three Rice’s” are Buecho-mee meaning physical happiness, Bue-ne-moo meaning emotional happiness, and Bue-pa-do meaning blissfulness. The team puts emphasis on rice becauserice is the main food staple for the Thai people. Their rice farming project is environmentally friendly. So, the rice brings happiness to everyone. วารสาร ราชมงคลล้านนา 15


การจั ด การเรี ย นการสอน

Business Management 9 นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ RMUTL – Nine Students Won คว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 Program Second Runner Up with the ประกวดเขียนแผนพัฒนาธุรกิจ SMEs เพื่อ SMEs Business Plan Writing การแข่งขันภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Contest The AEC Project – SME’s to AEC’s, “MBS Festival จากโครงการ MBS Festival 2014 ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2014” announced that nine students from the RMUTL ระหวางวันที่ 24 - 26 มกราคม 2557 Business Management Program namely; Mr. Thanakorn

นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการชั้นปที่ 4 คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม 9 คน ไดแก นายธนากร กฤษะเสน น.ส.วิชญาดา ยาวีระ น.ส.อังคณา ศรีรางกาย นายกีรติ รัตนานุรักษ นายอกนิษฐ เลกะกุล น.ส.ชไมพร สินทรธง นายเทิดศักดิ์ กันยะ นายเทพกร เทพทอง และ น.ส.มานิตา กุลาตี รวม ประกวดเขียนแผนพัฒนาธุรกิจSMEs ภายใตหัวขอ “แผนพัฒนาธุรกิจ SMEs เพื่อการแขงขันภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (SMEs to AEC) ควารางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จากผูรวมเขาแขงขันกวา 100 ทีม ทั่วประเทศโดยทีมนักศึกษาทั้ง 9 คน ไดนําเสนอแผนพัฒนาธุรกิจเรื่อง ขาว กลองอินทรีย ตรา“วัชพืชหลังเขา” โดยนําประสบการณจากการลงพื้นที่ จริง ณ โครงการหลวงวัดจันทร อําเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม เพื่อ ศึกษาขอมูลและนําขอมูลทั้งหมดกลั่นกรองเขียนเปนแผนธุรกิจจนควารางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 โดยมี ผศ.ดวงพร ออนหวาน เปนที่ปรึกษาโครงการ โครงการ MBS Festival 2014 จัดขึ้นระหวางวันที่ 24 - 26 มกราคม 2557 ณ อาคารบริหารธุรกิจสิรินธร คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเสริมสรางและพัฒนา ความรูความสามารถและทักษะในดานตางๆของนิสิต มีความรูความเขาใจ เกี่ยวกับผลกระทบของการเปดเสรีตลาดแรงงานอาเซียนกับวิชาชีพพรอมทั้ง ไดมีโอกาสแสดงความรู ความสามารถเกี่ยวกับทักษะทางวิชาชีพในทุกๆดาน ปลูกฝงทัศนคติที่ดีในการปฏิบัติงานรวมกันเปนทีมตลอดจนเปนแนวทางใน การพัฒนาองคความรูและประสบการณท่ีไดรับจากการจัดกิจกรรมเพื่อมา ประยุกตใชใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดเกิดความคิดริเริ่มสรางสรรค และสราง เสริมประสบการณใหม เกิดทักษะและความเชี่ยวชาญในวิชาชีพทัดเทียมกับ ตางประเทศ เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในมุมมองตางๆ เพื่อนําไป ประยุกตใชไดอยางเหมาะสม ภายในงานมีกิจกรรมตางๆ ไดแก การเสวนา ทางวิชาการ การแขงขันตอบปญหาทางวิชาการดานการบัญชี การตลาด คอมพิวเตอรธุรกิจ เศรษฐศาสตรและการเงิน การแขงขันการใชโปรแกรม ทางคอมพิวเตอร การประกวดเขียนแผนพัฒนาธุรกิจ SMEs เพื่อการแขงขัน ภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการแขงขันโตวาที การแขงขันประกวด สุนทรพจนทางการบัญชี การประกวดรองเพลงไทยลูกทุงการประกวด หมอลํากลอน การออกรานและจัดแสดงนิทรรศการตางๆ

16 วารสาร ราชมงคลล้านนา

Krtisanasen, Miss. Witchayada Kawila, Miss. Ungkhana Sriranagkai, Mr. Kirati Rattananurak, Mr. Agkanit Lekakul, Miss. Chamaiporn Sinthonthong, Mr. Therdsak Kanya, Mr. Thepakorn Thepthong and Miss. Manita Kulatee won the second runner up position within the SMEs Business Plan Writing Contest. The team placed “Second Runner Up” among 100 teams from all over the country. This team presented under the theme, “The Organic Brown Rice” was initiated from their real life experience obtained from the Wat Chan Royal Project at Kalayni Wattana, Chiang Mai. The data collected from the research site was collected and developed into the business plan under the supervision of Assistant Professor Duangporn Onwan, at Mahasarakham University during January 24 to 26, 2557. The MBS Festival 2014 was held at the Sirindhorn Business Administration Building, Faculty of Accountancy and Management, Mahasarakham University during 24 - 26 January 2014. The objectives of the contest were to acquire the knowledge and skills of researchers to develop an insight on the impact of ASEAN labor and market liberalization. In addition, the students will also have the opportunity to demonstrate their business accruement and management skills. The students were to demonstrate a positive position of collaboration as a team as well as the development of knowledge and experience gained from the case study to the best application and creativity with the project. The students also obtained new experiences and possess equivalent vocational skills (professional development) as International students. They could exchange ideas in various perspectives and applied them appropriately in different situations. MBS Festival 2014 Fairs and Exhibitions which included the featured activities: Academic Seminars; Academic Quiz, Competitions in Accounting; Marketing, Computer Business, Economics and Finance; Computer Programming Contest; SMEs Business Plan under AEC Writing Contest; Debates and Accounting Speech Contest.


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

Bright “the Sufficient Economy Philosophy” to Students through Classroom Instructions.

นศ.รู้ค่าความพอเพียง บูรณาการผ่านการเรียนการสอน

ไมอาจปฏิเสธไดวาปจจุบันวัยรุนใหความสําคัญกับรูปลักษณ ภายนอก สวมเครื่องแตงกายแบรนดเนม ใชสมารทโฟนราคาแพงใชเงิน ฟุมเฟอยกับการเที่ยวเตรขาดจิตสํานึกและไมตระหนักถึงความพอเพียง ซึ่ ง ปรากฏให เ ห็ น อยู บ อ ยครั้ ง หากนั ก ศึ ก ษาได รั บ การปลู ก ฝ ง ที่ ดี กระบวนการคิดมีเหตุผล อยูบนพื้นฐานของความพอประมาณตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯได ยอม สงผลตอคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา ตาก ตระหนักถึงความสําคัญในการนําปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตในการเรียนการสอนจึงจัดใหมีรายวิชา "ปรั ญ ชาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น "และ"ภู มิ ป ญ ญา ทองถิ่น" ขึ้น เพื่อปลูกฝงใหนักศึกษาดําเนินชีวิตอยูบนพื้นฐานของความ พอเพียงและบูรณาการโดยใหนักศึกษาลงพื้นที่ชุมชนจัดทําโครงการ ที่ ต นสนใจเกิ ด การแลกเปลี่ ย นความคิ ด ประยุ ก ต แ ละพั ฒ นาเกิ ด เปนองคความรูใหมนําเสนอผลงานผาน“โครงการศึกษาองคความรู วิถีชีวิตและภูมิปญญาทองถิ่น ประจําป 2557” เทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ โดยจัดขึ้นเปนปที่ 7 เมื่อวันที่ 12 ก.พ. 2557 ณ อาคาร 60 ป ทรงครองราชย มทร.ลานนา ตาก ทั้งนี้ชุมชน นักศึกษาและมหาวิทยาลัยฯ ไดรับองคความรู ใหมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เกิดฐานขอมูลสําคัญในการ พัฒนาการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ นักศึกษาเกิดความภาค ภูมิใจในผลงานและตระหนักถึงการใชชีวิตอยางพอเพียง

Nowadays, it cannot deny that superficial look has played very important role to teenagers to look up to. The way the brand name products and smartphones increase their popularity among the teenagers causes them to spend lots of money to possess these luxurious items. It also introduces them a false moral practice and leads them to the ignorance of the Sufficient Economy Philosophy, which is usually seen in the society. It, however, is suggested that if the students could have a proper instruction that provides them a critical thinking skill and gets them realized the importance of the King Phumibol Adulyadej’s philosolophy, they could achieve better and happier lifestyle. The faculty of Business Administration and Liberal Arts, Rajamangala University of Technology Lanna Tak, has realized the importance in integrating the King’s philosophy in the classroom lessons. As a result of this, the Business Administration and Liberal Arts has recently put two new subjects; “Sufficient Economy” for Sustainable Development” and “Local Knowledge” in the curriculum to give them good understanding to living life based on the Sufficient Economy theory. They will have an opportunity to visit a local community and do an activity they are interested with the locals. This is expected to bright them experiences they share with the locals and new creative ideas for their knowledge presentation in “the Local Knowledge and the Sufficient Economy Project 2014”. It is 7th that this event was held to honor the King Phumibol Adulyadej. The event was held on February 12th, 2014 at the 60th reign building, Rajamangala University of Technology Lanna Tak. According to this event, the communities, students and university are expected to gain new knowledge based on the King’s philosophy and collect lots of database to improve effective classroom instructions. Moreover, the students will be proud to be part in this project and seriously realize the importance of living with the sufficient economy theory.

วารสาร ราชมงคลล้านนา17


ทีมนักวิจัย มทร. ลานนา นาน รวมกับนักวิจัยคณะประมง มก. รายงานการพบปลาชนิดใหมของโลก

นายอมรชัย ล้อทองคํา อาจารยประจําสาขาวิชาประมง สาขาสัตวศาสตรและประมง คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา นาน รวมกับ ผศ. ดร. ปรัชญา มุสิกสินธร อาจารยประจําและผูเชี่ยวชาญดานปลานํ้าจืดในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต แหงคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และนายศักดา อาบสุวรรณ นักศึกษาปริญญาโท คณะประมง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร ทําการศึกษาวิจัยและบรรยายปลาชนิดใหมของโลก

โดยในป พ.ศ. 2551 อาจารยอมรชัย ลอทองคํา ไดรับทุนวิจัย จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เพื่อทําการศึกษาชนิด ปลาที่มีการแพรกระจายในอําเภอบอเกลือ จังหวัดนานซึ่งในการศึกษา ครั้งนั้นพบชนิดปลาไมนอยกวา 43 ชนิด หนึ่งในนั้นคือปลามันหัวแข็ง ซึ่ ง เป น ชื่ อ ท อ งถิ่ น ที่ ค นในอํ า เภอบ อ เกลื อ เรี ย กปลาชนิ ด นี้ มี ลั ก ษณะ แตกตางจากปลาในสกุลเดียวกันและไดนํามาตรวจสอบกับเอกสาร ทางวิ ช าการก็ พ บว า เป น ปลาที่ ยั ง ไม มี ชื่ อ วิ ท ยาศาสตร จ ริ ง จึ ง ได นํ า ปลาดังกลาวไปทําการศึกษาวิจัยรวมกับ ผศ.ดร.ปรัชญา มุสิกสินธร และ นายศักดา อาบสุวรรณ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรโดยการ ดําเนินงานดังกลาวไดรับทุนจากโครงการสงเสริมอาจารยเสริมสราง ประสบการณจากสถานประกอบการ(ฝงตัว)ของคณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร ในป พ.ศ. 2553 จนกระทั่งในป พ.ศ. 2557 จึง ไดรับการตีพิมพเผยแพรเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2557 ใน Zootaxa 3790 (4): 543–554. Garra waensis เปนชื่อวิทยาศาสตรที่ทีมวิจัยตั้งใหกับปลา ชนิดใหมนี้ และไดตั้งชื่อสามัญอยางเปนทางการวา ปลาเลียหินนํ้าวา ปลาชนิดนี้เปนปลาในสกุล (Genus) เดียวกันกับปลาเลียหิน หรือปลา มันพบวาเลียหินนํ้าวามีการแพรกระจายในลุมแมนํ้าวาใเขตอําเภอบอ เกลือ จังหวัดนานเทานั้น จึงเปนที่มาของชนิด (Species) ของปลา ชนิดนี้ แหลงนํ้าที่เราสามารถพบปลาชนิดนี้ได คือลํานํ้าตาง ๆ ที่ไหล ลงสูแมนํ้าวาในเขตอําเภอบอเกลือ ไมวาจะเปนลําหวยขนาดเล็กตาง ๆ บริเวณตนนํ้าของนํ้ามาง รวมถึงบริเวณตนนํ้าของแมนํ้าวา ซึ่งลักษณะ ทางกายภาพของแหลงนํ้าที่พบปลาชนิดนี้นั้นลํานํ้าจะตองมีกระแสนํ้าที่ ไหลเชี่ยว (~1.5 เมตร/วินาที) นํ้าใสเกือบตลอดป 18 วารสาร ราชมงคลล้านนา

Garra waensis

วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

พื้นทองนํ้าเปนกอนหินขนาดเล็กและนํ้ามีความเย็นตลอดป (เฉลี่ย ๒๐ องศาเซลเซียส) สองฟากฝงลําหวยจะเปนพื้นที่ปาที่อุดมสมบูรณมี ความครื้ ม เย็ น ตลอดป ไ ม มี พื้ น ที่ ทํ า การเกษตรในบริ เ วณดั ง กล า ว ดังนั้นปลาชนิดนี้จึงเปนปลาอีกชนิดหนึ่งที่สะทอนใหเห็นถึงภูมิศาสตร และสภาพแวดลอมไดเปนอยางดีและสะทอนถึงความอุดมสมบูรณของ ปาตนนํ้าของอําเภอบอเกลือไดเปนอยางดีถึงแมในปจจุบันปาตนนํ้า ในเขตอําเภอบอเกลือกําลังถูกคุกคามก็ตามปลาชนิดนี้สามารถพบได ตลอดปโดยเฉพาะในฤดูหนาวจะสามารถจับปลาชนิดนี้ไดเปนจํานวน มากซึ่ ง เข า ใจว า เป น ฤดู ก าลการผสมพั น ธุ ข องปลามั น หั ว แข็ ง เพราะ พบวาตัวเมียจะมีไขที่สมบูรณและตัวผูจะมีนํ้าเชื้อใหเห็นและปลาชนิดนี้ ก็ เ ป น ปลาอี ก ชนิ ด หนึ่ ง ที่ นํ า มาเป น อาหารของชุ ม ชนในเขตอํ า เภอ บอเกลือโดยการใชไซดักจับในเวลากลางคืนเพราะปลาชนิดนี้จะออก หากิ น ในเวลากลางคื น ส ว นในเวลากลางวั น นั้ น จะหลบตามซอกหิ น ตามพื้ น ท อ งนํ้ า อย า งไรก็ ต ามหากป า ต น นํ้ า ของอํ า เภอบ อ เกลื อ ยังถูกคุกคามมากขึ้นมีพื้นที่ทําการเกษตรมากขึ้นนาจะสงผลกระทบ ตอการดํารงอยูของปลาชนิดนี้อยางแนนอน ดั ง นั้ น การพบปลาชนิ ด ใหม นี้ จึ ง เป น ส ว นสํ า คั ญ ที่ จ ะนํ า ไป สู ก ารบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ ใ นเขตอํ า เภอบ อ เกลื อ ใน อนาคตและนําไปสูการศึกษาวิจัยในสวนอื่นๆที่เกี่ยวของกับปลาชนิดนี้ หากบุคคลหรือหนวยงานใดตองการเอกสารสามารถติดตอ ไดที่ อาจารยอมรชัย ลอทองคํา โทรศัพทเคลื่อนที่ : 082 893 2210 หรือ E-mail : amornchai@rmutl.ac.th


Garra waensis

วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

Mtr team. RMUTL Nan, together with the Fisheries Research Board report finds mg New species of fish. Mr. Amornchai Lortongkum, the lecturer in the department of Zoology and Fisheries,Faculty of Scienes and Agricultural Technology, Rajamangala University of Technology Lanna Nan, together with Asst. Prof. Dr. Prachya Musikasinthorn, the lecturer andprofessor in Taxonomy, Systematics and Biogeography of Freshwater Fishes of the Faculty of Fisheries, Kasetsart University and Mr. Sakda Arbsuwan, the graduate student in Faculty of Fisheries at Kasetsart University has done the research and described about the world’s new species of fish. In 2008, Mr. Amornchai received the research grant from King’s Mongkut University of Technology Thonburi for studying types of fish in Amphoe Bo Kluea, Nan province. In the study, there were 43 types of fish found, and, one of them named by native as “PlaMunHua Kang” was found being different from fi sh in the same Genus. After checking, the researchers discovered that there has not beena scientifi c name for this kind of fi sh yet. So, Mr. Amornchai continued studying about this new species of fi sh with Asst. Prof. Dr. Prachya Musikasinthorn and Mr. Sakda Arbsuwan fromthe Faculty of Fisheries, Kasetsart University. In 2010, the study funded by the project of promoting teacher and enhancing experience from establishment (embedded project) of Faculty of Sciences and Agricultural Technology and was published in Zootaxa 3790 (4): 543-554 on April 23th, 2014. The scientifi c name, “Garrawaensis” and the common name, “Pla lea Hin Nam Wa” are given to the fish by the researchers. This fish is in the genus Garra like Stone-lapping fish. It can be found only at Nam Wa Basin, Bo Kluea, Nan in water resource as tributaries that flow into Nam Wa River, including the brooks from Nam Mangand Nam Waheadwaters in the area of Bo Kluea county. The suitable physical characteristics of water for the fish are being the torrent (water flows atthe speed~1.5m/s.) with plentiful river bank and having moderate temperature

(approximately 20 degree C).Even though nowadays headwaters at Bo Kluea is being threaten, Garrawaensis is one thing that can refl ect the fertility of Bo Kluea’s environment. Garrawaensis can be found yearly, especially, in the winter which is regarded as its breeding season for it’s a period of time that females have fertilized egg while males’ sperm can be seen. This is one type of fish that can be food for local people. They fi sh them by using bamboo fish trap at night because these fish spend the day hiding and coming out at night. However, if there are more agricultural areas and more threaten river sources, there will certainly affect the living of Garrawaensis. Thus, the discovery of Garrawaensis is significant as it will lead to the progress of water resource management at Bo Klueacounty and other related research. For more information please contact Mr. Amornchai Lortongkum,call: 082 893 2210, E-mail: amornchai@rmutl.ac.th

วารสาร ราชมงคลล้านนา19


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

วิศวกรรมเครื่องกลตากช่วยชุมชน

สร้างนวัตกรรมเครื่องผสม RMUTL Tak develop innovative minced feed อาหารโคเนื้อ for beef cattle machine

จากปัญหาของกลุมผูเลี้ยงโคบานหนองตับ หมูที่ 8 ตําบล หนองบัวเหนือ อําเภอเมือง จังหวัดตาก ซึ่งเปนกลุมเลี้ยงโคเนื้อใน รูปแบบวิสาหกิจชุมชนไดประสบปญหาเรื่องคาอาหารสําหรับโคเนื้อ ที่มีราคาสูง เบื้องตนแกปญหาดานวัตถุดิบดวยการหาวัตถุดิบใน พื้นที่ซึ่งมีราคาตํ่าเพียงพอตอการนํามาผลิตอาหารโคเนื้อ แตติด ปญหาดานการผสมอาหาร กลุมบุคลากรผูมีความเชี่ยวชาญในดาน เครื่องกล มทร.ลานนาตาก จึงไดเขามาชวยพัฒนานวัตกรรมและ นําเทคโนโลยีลงสูชุมชนกลุมผูเลี้ยงโคบานหนองตับ อาจารยพิสุทธิ์ เพชรสุวรรณ หนึ่งในทีมผูวิจัยกลาววา ได เขามามีสวนรวมในการพัฒนานวัตกรรมดานการผสมอาหารสําหรับ โคเนื้อ จากการลงพื้นที่สํารวจและพูดคุยกับกลุมผูเลี้ยงโคเนื้อ ในชุมชนนั้นมีวัตถุดิบที่เพียงพอตอการนํามาทําอาหารสําเร็จของ โคเนื้อ และวัตถุดิบบางตัวก็สามารถใหคุณคาทางโภชนาการที่เพียง พอสามารถนํามาผสมเปนอาหารสําเร็จไดเชน รําขาว มันสําปะหลัง ขาวโพด กากถั่วและหญาเลี้ยงสัตว โดยอาศัยสูตรอาหารของ ศูนยวจิ ยั และพัฒนาปศุสตั วจงั หวัดตาก ทัง้ นีท้ มี ผูว จิ ยั ไดนาํ ขอมูลทีไ่ ด มาออกแบบ และสรางเครื่องตนแบบในการผสมอาหารโคเนื้อ โดย ใชหลักการของใบสกรูแนวตั้ง ติดตั้งในถังผสม ซึ่งจากการทดลอง เครื่องผสมอาหารที่สรางขึ้นสามารถผสมอาหารโคเนื้อไดตามสมติ ฐานที่ตั้งไวคือสามารถผสมไดครั้งละ700 กิโลกรัม สามารถปนผสม อาหารให วั ต ถุ ดิ บ ที่ ไ ด จ ากชุ ม ชนเข า กั น ได ดี โ ดยการหาค า การ กระจายของวัตถุดิบ นอกจากนั้นยังไดเปรียบเทียบราคาตนทุน อาหารสําเร็จที่ซื้อมากับราคาตนทุนจากการผสมโดยเครื่องผสม ที่สรางขึ้น สามารถลดตนทุนคาอาหารไดอยางเปนที่นาพอใจ

20 วารสาร ราชมงคลล้านนา

According to beef cattle farming problem of Nongtub villagers (Moo 8 Nong Bua Nua Subdistrict, Muang Tak, Tak Province) faced the big obstacle about the increasing capital of feeding. Ordinarily, the solution was solved by finding sufficient inexpensive feed in local area for beef cattle, however there was a problem about mincing all fertile grains.Experts in mechanical engineering RMUTL TAK supported to develop technological innovation to community of beef cattle farmer in Nongtub Village. Mr.Pisut Phechsuwan, a staff in research team, participated in developing minced feed for beef cattle. They produced the template of minced feed for beef cattle by experiment. The successful result of experiment, the machines were able to produce the feeds which mixed by specific formula of “Department of Livestock Development Ministry of Agriculture”. As a result, local farmers could produce feeds which consist of rice bran, cassava, corn, beans and grass which was affordable in local area and released rising capital problem in long term.


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

“โครงการหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ผ้าทอกะเหรี่ยงย้อมสีธรรมชาติ บ้านหล่ายแก้ว (หนองปู)” เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2557 คลินิกเทคโนโลยี งานบริ ก าร วิ ช าการ กองการศึ ก ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม เปด“โครงการหมูบานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผาทอกะเหรี่ยงยอมสีธรรมชาติบานหลายแกว(หนองปู) โดยไดรบั เกียรติ จาก ผศ.อวยพร บัวใบ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม รวมกับ นายดิเรก สุริวงค ปลัดอาวุโส อําเภอดอยเตา เปนประธานเปดโครงการ ณ ศูนยการเรียนรูว ฒ ั นธรรม ผาทอกระเหรีย่ ง บาน หลายแกว ตําบลบงตัน อําเภอดอยเตา จังหวัด เชียงใหม โครงการดังกลาว จัดขึ้นโดยคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหมและกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อใหดําเนินโครงการภายใตพันธกิจ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในดานการผลักดันหมูบานหรือ ชุมชน ใหเปนหมูบานตนแบบ ในการนําความรูท างดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีไปประยุกตใชในวิถชี วี ติ พัฒนาอาชีพและความเปนอยูใ หดขี น้ึ อยางยัง่ ยืน ตามนโยบายของกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ที่จะสรางงาน สราง เงิน สรางคุณภาพชีวิต ดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และนําองคความ รูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเขามาประยุกตใชในวิถีชีวิตความเปน อยูใหดีขึ้น โดยมีการประสานเชื่อมโยงรวมกับหนวยงานสนับสนุนอื่นๆ เพื่อบูรณาการการทํางานรวมกัน สงผลใหชุมชนลดรายจายภาคการผลิต เพิ่มรายได และพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนใหดีขึ้น ตลอดจนเปนการ เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน และเปนตนแบบของการพัฒนาชุมชน ดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางตอเนื่องและยั่งยืน และในครั้งนี้ ยังมีกี ารจัดเวทีเสวนาเพือ่ ทบทวนตนเอง วิเคราะหปญ  หาความตองการ และกําหนดเปาหมายการขับเคลื่อนโครงการ เพื่อทําความเขาใจในแผน พัฒนาหมูบาน คนหาและกําหนดหนาที่ของแกนนํากลุม โดย อาจารย ไพโรจน วรพจนพรชัย รองผูอ าํ นวยการกองการศึกษาและ อาจารย พิศาพิมพ จันทรพรหม อาจารยประจําสาขาวิชาตะวันออก พรอมกันนี้ ยังไดรับความอนุเคราะหจาก ผศ.ดร.รจนา ชื่นศิริกุลชัยอาจารยประจํา สาขาสิ่งทอและเครื่องประดับ ดร.ณงคนุช นทีพายัพทิศ อาจารยประจํา สาขาเทคโนโลยีศิลป และ ผศ.ญาณิศา โกมลสิรโิ ชค อาจารยประจําสาขา สิง่ ทอและเครือ่ งประดับ รวมใหคําแนะนําแกกลุมชาวบานและผูนําชุมชน ในโอกาสนี้ดวย

Science and Technology Village Project :

Natural (Nong Poo) Karen Weaving, Lai Kaew Village, Thailand

The Technology Clinic, Academic Science, Division of Education, RMUTL, Chiang Mai officially opened “Science and Technology Village Project Natural (Nong Poo) Karen Weaving, Lai Kaew Village.” At the ceremony on 29 April 2014, Mr. Komdet Ai-trakul, President of Tambon Bongton Sub-district Administration Office welcomed Mr. Pairote Worapotpornchai, Deputy Director of the Division of Education. The “Science and Technology Village Project Natural (Nong Poo) of Karen Weaving, Lai Kaew Village” Tumbon Doi Tao District, Chiang Mai Province was officially opened by Assistant Professor Auyporn Buabai, Vice-President of RMUTL, Chiang Mai Campus as well as Mr. Derek Suriwong, Senior Permanent Secretary of Doi Tao District. The project “Science and Technology Village Project Natural (Nong Poo) Karen Weaving, Lai Kaew Village” received financial support from the Ministry of Science and Technology under the mission of the Ministry to devise a format for the village or community to be a prototype for the application of science and technology in their daily life. It is also a means for the village or community to improve their way of life, generate employment, increase income and become sustainable in accordance with the policy of the Ministry. This project will also help the community improve their cooperation, which will reduce costs and allow the people to earn a better income. The project also strengthens the community and shows it as a model for the use of science and technology. Mr. Pairote is the RMUTL professor responsible for this project. There was also a seminar which provided feedback, needs assessment and future targets. The information collected at the seminar will be used to help the village develop a plan for the future and guide the village leadership in making important changes in village procedures. วารสาร ราชมงคลล้านนา 21


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ จากองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ

การฆ่าเชื้อในอาหารเหลวด้วยสนามไฟฟ้าแบบพัลส์ (pulsed electric field treatment) นี้ คือการกําจัดเชื้อจุลชีพที่มีอยูในอาหาร เหลวดวยกระบวนการอิเล็กโทรโพเรชั่น (electropolation) ซึ่งเปน กระบวนการทําลายเยื่อหุมเซลล (cell membrane) โดยการเพิ่มคา ความนําไฟฟา (electrical conductivity) และคาสภาพยอมไฟฟา (permeability) ของเยื่อหุมเซลล โดยการเพิ่มคาความนําไฟฟาและ สภาพยอมไฟฟาของเยื้อหุมเซลลสามารถทําไดโดยการใชสนามไฟฟาที่ มีลักษณะเปนพัลสหรือเปนชวงเวลาเกิดจากการจายพัลสแรงดันไฟฟา ใหกับอิเล็กโทรดที่มีความเขมสนามไฟฟา (electric field strength) สูงประมาณ 4 x 106 V/m และมีลักษณะเปนพัลสชวงสั้นประมาณ 100 µs ซึ่งสนามไฟฟาแบบพัลสที่มีความเขมสูงนี้จะสงผลทําใหแรง ดั น ไฟฟ า ที่ ต กคร อ มเยื่ อ หุ ม เซลล มี ค า สู ง เกิ น กว า ค า ความคงทนของ ไดอิเล็กตริก (dielectric strength) ของเยื่อหุมเซลลและทําใหเกิดรู พรุน (pores) เล็กๆจํานวนมากขึ้นที่เยื่อหุมเซลล รูพรุนดังกลาวจะนําไป สูกระบวนการตายของเซลล (programmed cell death) กระบวนการดั ง กล า วข า งต น เป น ผลงานการประดิ ษ ฐ เรื่อง "ระบบการฆาเชื้อจุลลินทรียในนํ้านมดวยสนามไฟฟาแบบ พัลส” (Milk Pasteurization System Using Pulsed Electric Field) ของ ผศ.ดร.พานิช อินตะ รองผูอํานวยการ วิทยาลัยเทคโนโลยีและ สหวิทยาการและคณะ จากหนวยวิจัยการประยุกตใชไฟฟาสถิตเพื่อ พลังงานและสิ่งแวดลอม (RUEE) วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ผลงานนี้ไดรับรางวัลได รับรางวัลเหรียญเงิน (Silver Medal) ในการประกวดผลงานการ ประดิษฐคิดคนระดับนานาชาติในงาน International Exhibition of Inventions of Geneva ครั้งที่ 42 ระหวางวันที่ 2 - 6 เมษายน 2557 ณ เมืองเจนีวา สวิสเซอรแลนด ซึ่งมีนักวิจัยจาก 45 ประเทศ 790 คน และผลงานรวมชิงชัยกวา 1,000 ชิ้นและรางวัล ผลงานประดิษฐคิดคน ประจําป 2557 ในงาน"วันนักประดิษฐแหงชาติ 2014 จากสภาวิจัย แหงชาติ อีกดวย เปนสิ่งการันตีถึงคุณภาพของงานวิจัยจากนักวิจัยของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ที่จะนําองคความรูลงสูชุมชน ผลงานสิ่งประดิษฐ อาจเปนเครื่องมือถายทอดองคความรูสู การลงมือปฏิบัติ แตเหนือสิ่งอื่นใดในการประดิษฐผลงานนั้นคือความ มุงหมายที่จะนําเครื่องมือเหลานี้ไปเปนสวนหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของคนในสังคมและการยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน ตอบสนอง ความเปน “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชนสูสากล” อยางแทจริง 22 วารสาร ราชมงคลล้านนา

The Innovation: Putting Knowledge into Practice

Liquid food pasteurization by pulsed electric field treatment is disinfecting microorganisms or pathogens existing in liquid food by electroporation, a process of ruining cell membrane by increasing electrical conductivity and permeability of cell membrane. Pasteurizing liquid food is effective or applicable to the pulsed electric field treatment or the electric field strength 4 (106 V/m together with shortpulsed around 100 µs. The electric field strength has an effect on the dielectric strength of cell membranes. There are a lot of pores leading to programmed cell death. With the reference to the above process, the research and innovation “Milk Pasteurization System Using Pulsed Electric Field” has been presented by Asst. Prof. Dr. Panich Intra, Deputy Director of College of Technology and Integrated Science and RUEE, RMUTL. This innovation was awarded as Silver Medal in 42th International Exhibition of Inventions of Geneva on 2nd - 6th April 2014 at Geneva, Switzerland. In addition, the innovation was awarded on “Inventor’s Day 2014” by National Research Council of Thailand. All mentioned awards could be a guarantee for certified researchers of RMUTL, transmitting knowledge to the community. Our mission is not only transmitting knowledge to the local community, but all of the innovations are capable to enhance qualified lives of people and the communities, in responding to our vision “Innovative University for community towards international”.


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

เฟือง..ส่วนประกอบชิ้นเล็กแต่เปี่ยม ด้วยคุณค่า Gear : A Unique Opportunity of Engineering ด ว ยความมุ ง มั่ น และความตั้ ง ใจฝ ก ฝนจนเกิ ด ความ เชี่ยวชาญของนายธีรดนัย สอนเปรมปรี และนายกิตติศักดิ์ กิติรัตน สองนักศึกษาสาขาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา พิษณุโลก โดยมีอาจารยวีระยุทธ หลาอมรชัยกุล เปนผูดูแลอยางใกลชิดจนทําใหสามารถควารางวัลชนะเลิศการ แข ง ขั นประลองการออกแบบเฟองภายในงาน“การแขงขันราช มงคลวิชาการวิศวกรรม ครั้งที่ 6” ซึ่งการแขงขันนี้จัดขึ้นเพื่อ ทดสอบความเปนเลิศทางวิชาการของนักศึกษากระตุนใหมีความ กระตือรือรนในการคนควาทางวิชาการเกิดความรวมมือในดาน การเรียนการสอน การวิจัยและสิ่งประดิษฐ ระหวางอาจารย นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลทั้ง 9 แหง ทั่วประเทศ ไดรวมกันจัดโครงการแขงทักษะ วิชาการวิศวกรรมศาสตร มาตั้งแต ป พ.ศ. 2551 และครั้งนี้ จัด ขึ้นเปนครั้งที่ 6 ระหวางวันที่ 28 - 30 มกราคม 2557 ที่ ผานมา ณ มทร.รัตนโกสินทร เขตพื้นที่ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม สองนักศึกษาคนเกงถายทอดประสบการณใหฟงวา“การแขงขัน ครั้งนี้ทั้งสองคนมีความมุงมั่นตั้งใจถึงแมการแขงขันจะรับรางวัล หรื อ ไม อ าจจะใช ป ระเด็ น สํ า คั ญ แต เ หนื อ สิ่ ง อื่ น ใดคื อ การที่ ไ ด มี โอกาสในการทํ า งานการได ท ดลองปฏิ บั ติ แ ละนํ า ผลงานที่ มี ไ ป ใชไดจริงและเปนประโยชนแกสังคม” หนึ่งในความภาคภูมิใจของ ราชมงคลลานนา พิษณุโลก ที่มีนักศึกษาคนเกงที่สามารถนําความรูในหองเรียนไปปรับใชใน ชีวิตประจําวันไดจริงและไดรับรางวัลในการแขงขันถึงแมวาจะเปน เวทีประกวดที่ไมไดยิ่งใหญระดับชาติแตก็เปนจุดเริ่มตนของการ กาวสูความเปน “บัณฑิตนักปฏิบัติ” ของราชมงคลลานนา อยาง เต็มภาคภูมิ

One thing that two mechanical engineering studentsTeedanai Sornprempree and Kittisak Kittirak-learned on their way to win the First Prize in the Gear Design Competition is that life’s a learning curve and they’re very grateful for their achievements. They want to let our campus community know that their team, together with their coach, Ajarn Weerayuth Laramornchaikhun, a lecturer from the Faculty of Engineering in RMUTL, Phitsanuloke, is the winners of Engineering Academic Competition. Furthermore, they also would like to provide the talented young students a chance to pursue their dreams while achieving a degree in higher education. The 6th Rajamangala Engineering Academic Competition was held at Rajamangala University of Technology Rattanakosin (RMUTR) Salaya campus, Nakorn Pathom on 28th – 30th January 2014. This project aimed to help instructors and students among 9 Rajamangala inter-campuses gain knowledge in academic skills and adapt these skills and knowledge within their studies. The 9 Rajamangala inter-campuses are comprised of Rajamangala University of Technology Krungthep, Rajamangala University of Technology Phra Nakhon, Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi, Rajamangala University of Technology Tawan-Ok, Rajamangala University of Technology Isan, Rajamangala University of Technology Srivijaya, and Rajamangala University of Technology Lanna. “Winning the first prize was a good chance to experience new things and enhance our studies in this field. Most significantly, it is an opportunity to apply our abilities to be used in real life situations,” our two “hands-on” students said.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 23


วิ จ ั ย และ สิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์

ราชมงคลล้านนา ลําปาง ชูผลงาน “เครื่องอบแห้ง

ข้าวแต๋นใช้พลังงานร่วม” สิ่งประดิษฐ์เพื่อสังคม ข้าวแต๋น ซึ่งเปนขนมพื้นบานของชาวเหนือที่มีมาชานานสืบตอจาก

รุนสูรุนโดยมีการพัฒนาจากขาวแตนหนานํ้าออยแบบดั้งเดิมปรับปรุงสูตรและ รู ป ลั ก ษณ ใ ห ก ลายเป น ขนมหน า ต า งๆที่ ดึ ง ดู ด ใจผู บ ริ โ ภคมากยิ่ ง ขึ้ น ขาวแตนลําปางจึงเปนสินคาโอทอปชนิดหนึ่งที่สรางชื่อเสียงและรายไดใหกับ จั ง หวั ด ลํ า ปางแม ว า การผลิ ต ข า วแต น จะมี ขั้ น ตอนที่ ไ ม ยุ ง ยากซั บ ซ อ นแต ป ญ หาข อ หนึ่ ง ที่ ผู ผ ลิ ต พบคื อ ขั้ น ตอนของการตากแห ง ด ว ยแดดซึ่ ง ใช เวลา 1-2 วัน หากไมมีแดดจะใชเวลานานขึ้นโดยเฉพาะฤดูฝนซึ่งกลุมผูผลิตจะ ประสบปญหาในการผลิตวัตถุดิบเปนอยางมาก ดวยเหตุนี้นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร นายเฉลิมพล กาตาสาย นายฐณวัฒน วงศไชยรัตนและนายประพจน ดีมาก สาขาเทคโนโลยีเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลลานนา ลําปาง จึงรวมกันพัฒนา “เครื่องอบแหงขาวแตนพลังงานรวม” เปนเครื่องชวยลดกระบวนการผลิตใหสามารถผลิตสินคาไดตรงกับยอดสั่ง สินคา โดยมี อาจารยชัชชัย วรพัฒน เปนอาจารยที่ปรึกษาและใหคําแนะนํา อยางตอเนื่อง เครื่องอบข้าวแต๋นพลังงานร่วม นี้ใชตนทุนในการผลิตตัวเครื่อง 30,000 บาท มีความกวาง 120 เซนติเมตร ยาว 220 เซนติเมตร สูง 110 เซนติเมตร ภายนอกตัวเครื่องหุมแผนสังกะสี ภายในบุดวยแผนสเตนเลส ดาน บนที่ใชรับแสงแดดครอบดวยกระจก หนา 6 มิลลิเมตร สามารถทํางานได 2 ระบบคือใชพลังงานจากแสงอาทิตยและใชพลังงานจากแกสหุงตมจากการ ทดลองใชเครื่องกับขาวแตนที่มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 3.7 เซนติเมตร จํานวน 1,260 ชิ้นเพื่อทําใหแหง พบวา ใชเวลาในการตากแหงดวยแดด ประมาณ 10 ชั่วโมง หากใชเครื่องอบขาวแตนแบบพลังงานรวมโดยใช แสงแดดใชเวลาประมาณ 6 ชั่วโมง ซึ่งสามารถลดเวลาลงจากปกติ 4 ชั่วโมง และหากใชแกสในการอบแหงใชเวลาประมาณ 5 ชั่วโมง สามารถลดเวลาจาก ปกติ 5 ชั่วโมง อัตราการสิ้นเปลืองในการอบแหงของแกสคือ 3.8 กิโลกรัม ตอชั่วโมง ผลงานสิ่งประดิษฐจากนักศึกษาหนึ่งชิ้นที่อาจจะไมไดทรงคุณคา มากนักแตผลงานชิ้นเล็กเพียงหนึ่งชิ้นอาจจะเปนชิ้นงานที่ยิ่งใหญสําหรับ ผู ป ระกอบการภาคครั ว เรื อ นที่ จ ะได นํ า ประโยชน จ ากสิ่ ง ประดิ ษ ฐ เ หล า นี้ไปใชประกอบอาชีพตอไป นี่คงเปนหนึ่งตัวอยางของ“บัณฑิตนักปฏิบัติ ราชมงคลลานนา” ที่ไมเพียงเกงในตําราเทานั้น แตยังสามารถที่จะนําองคความรูดานพลังงานกล มาปรับปรุงและพัฒนาจนกลายเปนสิ่งประดิษฐที่ทรงคุณคาใหประโยชนแก สังคม

24 วารสาร ราชมงคลล้านนา

Bi-source-energy

Khao Tan Dryer

Khao Tan, a kind of Northern Thai dessert, is

one of the famous and money-making OTOPs of Lampang province. Making Khao Tan process is not complicated. After the sticky rice was steamed, it was molded in a disc shape of about 4 cm diameters, and then let the discs dry in the sunshine to get ready for being fried. It was found that the 1 to 2-day drying period would be longer on overcast days, especially in the rainy season. To solve this problem, three students of Mechanical Technology, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Lanna, Lampang: Mr. Chalermpon Katasai, Mr. Tanawat Wongchairat, and Mr. Prapot Deemak, developed a Khao Tan dryer which employs two sources of energy, sunshine and liquid petroleum gas (LPG), under Mr. Chatchai Worapat’s supervision, their lecturer. The size-of 120 x 220 x 110-cms machine which costs 30,000baht is blanketed with zinc sheets, lined with stainless sheets, and topped with two 6-mm pieces of glass. It is operated either by sunshine or LPG. From the study of drying 1,260 pieces of Khao Tan with 3.7cms diameter, it took 10 hours to dry them in the sunshine, 6 hours to use this drying machine with the sunshine, and 5 hours with LP, consuming 3.8kg/hr. of gas. This machine is a sample of applying mechanical energy which lessens both capital and operating cost.


งานบริ ก ารวิ ช าการ

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ชุมชนพอเพียง บ้านวอแก้ว จังหวัดลําปาง การบริการวิชาการ เปนหนึ่งในพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง เพือ่ ถายทอดองคความรูศ าสตรตา งๆ ของมหาวิทยาลัยสูช มุ ชน ในปงบประมาณ 2557 คณะกรรมการบริหาร งานวิจัยและบริการวิชาการไดคัดเลือกโครงการการยกระดับคุณภาพ ชีวิตชุมชนพอเพียงบานวอแกว ตําบลวอแกว อําเภอหางฉัตร จังหวัด ลําปาง ใหเปนหนึง่ ในโครงการบริการวิชาการ โดยใหอาจารย เจาหนาที่ และนักศึกษาไดใชโอกาสครั้งนี้รวมศึกษาปญหาและดําเนินการรวมกับ ชุมชน ผูชวยศาสตราจารยนวลศรี จารุทรรศน หัวหนาโครงการ ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนพอเพียงบานวอแกว กลาววา การดําเนิน โครงการครั้งนี้มีแผนการดําเนินงาน 3 ป (2557-2559) โดยที่ผานมา มีการลงพื้นที่สํารวจและจัดเวทีเสวนาความรวมมือระหวางชุมชนกับ ทีมงานของมหาวิทยาลัยฯ การดําเนินงานของโครงการมีกลุมเปาหมาย 30 คน ประกอบดวย 8 กิจกรรม คือ 1.การปรับปรุงกระบวนการผลิตเห็ดและการเพิ่มแหลงอาหารเห็ด ใหกับชุมชนอยางยั่งยืน 2.การปลูกผักปลอดสารพิษและการผลิตปุยมูลไสเดือน 3.การเลี้ยงปลาดุกในบอซีเมนตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 4.การสงเสริมอาชีพการเลี้ยงกบตามแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง 5.การถายทอดองคความรูเ พือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการเลีย้ งไกพน้ื เมือง 6.การถายทอดองคความรูการแปรรูปผลิตภัณฑอาหารใหแก ชุมชน 7. การผลิตปุยหมักอินทรียจากใบไมแหงและปุยหมักจากมูล วัวแหง 8.การสงเสริมความรูดานการตลาดและการจัดการกลุมโครงการ ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนพอเพียงบานวอแกว มุงหวังใหชุมชนมีศูนย การเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงแบบครบวงจรผลิตภัณฑชุมชนมีตราสินคา และบรรจุภัณฑ กลุมเปาหมายไดรับการถายทอดและสงเสริมความรู สามารถเผยแพรใหเกิดประโยชนตอบุคคลอื่นทั้งในและนอกชุมชน อยางยัง่ ยืน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปางไดบรู ณาการ การเรียนการสอน การวิจยั สูก ารบริการวิชาการเพือ่ ใหอาจารยและ นักศึกษาเกิดกระบวนการเรียนรูในการทํางานและพัฒนาองคความ รู พ ร อ มเผยแพร สู ชุ ม ชนให เ ป น ศู น ย ก ลางการเรี ย นรู แ ก ผู ส นใจและ ประชาชนทั่วไป อันจะไดรับประโยชนจากการศึกษาครั้งนี้

Better Life by Sufficiency Economy : The Project of Wo Kaew Village

One of RMUTL Lampang academic service missions includes the Better Life by Sufficiency Economy - ‘Project of Wo Kaew Village’. The project aims are to help the villagers by providing them knowledge management and development of 8 key economic objectives with supervision provided by Assistant Professor Nuansri Jaruthat, and the teamwork of the village officials and RMUTL Lampang students. It is a 3-year project (2014-2016). The process started by surveying and holding panel discussions between the staff and the villagers which consists of 30 people. There are 8 activities developed and implemented included : 1) develop mushroom farming 2) organic vegetable farming and earthworms’ dung producing 3) catfish raising in cement tanks 4) frog raising 5) native chicken farming 6) food preservation 7) organic fertilizers from leaves and bull dung 8) marketing and management.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 25


งานบริ ก ารวิ ช าการ

สาขาวิศวกรรมโยธานําร่อง “องค์ความรู้จาก มหาวิทยาลัยสู่ชุมชน” จัดการขยะ อบต.เมืองพาน เห็นผลเป็นรูปธรรม ขยะ

หลายคนคิดวาคือสิ่งที่เราไมใชและเหลือจากการใช งาน จุดเริ่มตนของขยะเกิดจากกิจกรรมของมนุษยในการดํารงชีวิต แต จะมีใครสักกี่คนที่จะรูวาจุดสิ้นสุดของขยะเหลานี้นั้นอยูที่ไหน เมื่อไม นานมานี้ เราก็คงจะไดติดตามขาวไฟไหมบอขยะที่ สมุทรปราการ และ ปญหาขยะที่เกิดขึ้นมากมาย องคการบริหารสวนตําบล(อบต.)เมืองพานเปนอีกหนึ่งพื้นที่ ที่ประสบกับปญหาดานปริมาณขยะจํานวนกวา 16,000 กิโลกรัมตอ สัปดาห และตองเสียคาใชจายในการนําขยะไปทิ้งที่บอขยะ อําเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม สูญเสียงบประมาณกวาปละ 2,500,000 บาท ดังนั้น สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดลอมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา เชียงราย รวมกับ อบต.เมืองพาน จึงไดดําเนินโครงการลด ปริมาณขยะในพื้นที่โดยไดเริ่มตนจากการจัดทีมอาจารยและนักศึกษา ลงสํ า รวจข อ มู ล ในพื้ น ที่ ร วมถึ ง คั ด แยกหาองค ป ระกอบของขยะนํ า มาวางแผนดํ า เนิ น การและประยุ ก ต เข า กั บ การเรี ย นการสอนใน สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดลอม ดร.มงคลกร ศรีวิชัย อาจารยสาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่ง แวดลอม ผูดําเนินกิจกรรมกลาววา โครงการนี้เริ่มตนตั้งแตชวงเดือน ตุลาคม 2556 โดยทางสาขาไดรับการติดตอจาก อบต.เมืองพาน วา ตองสูญเสียงบประมาณสัปดาห 52,000 บาท ในการนําขยะไปทิ้งที่บอ ขยะเอกชนในอําเภอฮอดจังหวัดเชียงใหม และมีแนวโนมที่จะเสียคา ใชจายเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากราคานํ้ามันเชื้อเพลิงที่แพงขึ้นรวมถึงคาจัด บริการของบอขยะเอกชนที่เพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นจึ่งเริ่มจัดกิจกรรมโดยวิชา นําโครงงานวิศวกรรมมาบูรณาการในการดําเนินการในครั้งนี้ ซึ่งเริ่ม ตนจากการคัดแยกหาองคประกอบของขยะ หาแนวทางในการกําจัด หรือลดปริมาณขยะของแตละประเภท รวมถึงหาเทคโนโลยีตางๆที่ เหมาะสมเพื่อใชในกิจกรรมตางๆ โดยทาง อบต.เมืองพาน ก็ไดรวมมือ ดวยการจัดกิจกรรมประกวดชุมชนตนแบบในการลดปริมาณขยะภาย ใตโครงการ เมืองพานนาอยู เชิดชูคุณธรรม นอมนําปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง แบงการดําเนินงานเปน 3 ชวง ชวงละ 3 เดือน ซึ่งปจจุบัน เสร็จสิ้นดําเนินการชวงแรก เดือนมกราคมถึงมีนาคม ผลออกมาวา บานปากวาว หมูที่ 9 รับรางวัลชนะเลิศหมูบานระดับ M และบานปา วกวาวทองกวาวหมูที่ 15 ไดรับรางวัลชนะเลิศในกลุมหมูบานขนาด S ซึ่งสามารถลดปริมาณขยะจากสัปดาหละ 1,096 กิโลกรัมใหเหลือเพียง 350 กิโลกรัม 26 วารสาร ราชมงคลล้านนา

นายธีรพงษ วงคสอน นักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาวิศวกรรมโยธา และสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย กลาวเสริมวา ผมและเพื่อนอีก 2 คน ไดทําโครงงานศึกษาวิศวกรรมโยธา เกี่ยวกับการลดปริมาณขยะและหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการ ขยะ อบต.เมืองพาน ซึ่งจะตองไดนําองคความรูทุกอยางที่ไดเรียนใน มหาวิทยาลัยเขามาประยุกตใช ซึ่งถือไดวาเปนประโยชนมากโดยเรา สามารถนําความรูตางๆมาถายทอดใหกับชุมชนและเห็นวาการดําเนิน ในครั้งมีมีทิศทางที่ดีขึ้นก็มีความภาคภูมิใจและหวังวากิจกรรมครั้งนี้ จะสามารถเปนตนแบบใหกับพื้นที่อื่นๆ ในการจัดการขยะตอไปใน อนาคต


งานบริ ก ารวิ ช าการ

Civil Engineering Department Promotes: “The Knowledge Management from University to Community,” A Solid Waste Management Project of Phan SAO

Waste, many people think that it is something that we

do not need and throw away. The starting point of waste is from human routines, but nobody knows that where the end of waste? Recently, we heard about a landfill fire in Samutprakarn, and other waste problems. Phan Subdistrict Administrative Organization (SAO) is one area where gets the waste problems. There are more 16,000 kilograms per week, and Phan SAO has to pay a big budget 2,500,000 Baht per year for taking the solid waste to throw away in the landfill located in Hod District, Chiangmai. From this problem, Civil and Environmental Engineering Department, RMUTL Chiangrai joined Phan SAO to do a project for reducing the amount of solid waste in the Phan zone. The RMUTL Chiangrai Teachers and students surveyed and found the key factors of solid waste problems and applied the management plan into the Civil and Environmental Engineering classrooms. Dr. Mongkolkorn Sriwichai, a lecturer in Civil and Environmental Engineering Department, who did this project, said that this project started since October 2013 by contacting from Phan SAO that they have to pay a big budget 52,000 Baht per week for taking the solid waste from Phan District to throw away at the private landfill located in Hod District, Chiangmai. And also, they may pay more money for the diesel and the service of the private landfill, which will have increased costs in the future. So Mr. Teerapong Wongsorn, a senior Dr. Mongkolkorn started to do this project by integrating an Engineering student in Civil and Environmental Engineering, project for solving this problem. The first step started with separating RMUTL Chiangrai, also said that he and his the waste elements and finding the methods to remove or reduce the two friends did a Civil Engineering Project to amount of each type of solid waste. He also found a new suitable waste reduce amount of waste and find a new management technology for this project. Phan SAO participated within suitable technology in solid waste the engineering prototype community competition by reducing garbage management for Phan SAO. They applied all based on the project Phan management system with a sufficiency knowledge management resources from the economy. This project has three phases per month from January to University for this Project. From the result, March with the process in the first section is now complete, The results it is very useful plan for the community and demonstrated that M 9, Phakaw city won the award with M level and it is a good method to apply the result of M 15 Phakaw Tongkaw also won the award with an S level that reduced this project to other areas in the future. garbage from 1,096 kilograms to 350 kilograms per week. วารสาร ราชมงคลล้านนา 27


งานบริ ก ารวิ ช าการ

มทร.ล้านนา น่าน ปิดทองหลังพระ สร้างฝาย 100 ลูก ธารนํ้าใจ สู่ชุมชน

บ้านสบยาว เปนหมูบานที่ตั้งขึ้นพรอมกับลักษณะภูมิประเทศ กลาวคือ แมนํ้านานและแมนํ้ายาว (แมนํ้าสาขา) ไหลมาบรรจบ ความเขมแข็งของชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติ มีการอนุรักษพันธุสัตวในแมนํ้าทั้งสองสาย ยาวถึง 1,200 เมตร มีพื้นที่ปาชุมชนถึง 6,000 ไร ปจจุบันบานสบยาวตั้งอยูหมูที่ 7 ตําบลเมืองจัง อําเภอ ภูเพียง จังหวัดนาน มีครัวเรือน 103 ครัวเรือน ผูคนสวนใหญมีอาชีพทางการ เกษตร เชน ไรขาวโพด สวนผลไม เชน สม ลําไย ลิ้นจี่ ชาวบานสวนใหญนับถือ ศาสนาพุทธ วิถีการดําเนินชีวิตของชุมชนตั้งอยูในพุทธศาสนาและผูกพันกับสายนํ้า และผืนปา โครงการเดินตามรอยพ่อ ปดทองหลังพระฯ โดย มทร.ลานนา นาน ในพื้นที่ ขยายผลโครงการปดทองหลังพระฯบานหวยสบยาวจึงเปนพื้นที่ขยายผลอีกแหง หนึ่งของอําเภอภูเพียงที่มีการทบทวนองคความรูที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานที่ สําคัญในการพัฒนาตามโครงการ “ปดทองหลังพระ” สืบสานแนวพระราชดําริ ฯ โดยความรวมมือของ มทร.ลานนา นาน รวมกับชาวอําเภอภูเพียง รวมแรงสราง ฝาย 100 ลูก โดยไมใชงบประมาณของทางราชการ 28 วารสาร ราชมงคลล้านนา

นายอุกริช พึ่งโสภา ผูวาราชการจังหวัดนาน พรอมดวย นายชนาธิป เสมแยม นายอําเภอภูเพียง พ.อ.ชัชวาลย กุลกุศล รองผูอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดนาน รวมกับ ทุกภาคสวนและเอกชน รวม 24 หนวยงาน อาทิ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา นาน องคการบริหารสวนตําบล เมืองจังหนวยจัดการตนนํ้านํ้ามีด อ.เชียงกลาง ชมรมกํานัน ผูใหญบาน อําเภอภูเพียง ชุดปฏิบัติการทีมพี่เลี้ยงหมูบานขยาย ผลโครงการปดทองหลังพระฯ บานสบยาว จังหวัดทหารบก นาน กรมทหารพรานที่ 32 องคกรชุมชน บริษัทหางรานเอกชน และประชาชนชาวอําเภอภูเพียง กวา 600 คน รวมใจกันทําฝาย ชะลอนํ้า จํานวน 100 ลูก ที่ลํานํ้าหวยผามาน บริเวณปาชุมชน บานสบยาว(ใน) หมูที่7 ตําบลเมืองจัง อําเภอภูเพียง จังหวัด นาน ภายใตแผนปฏิบัติการ“สรางภูเพียงใหนาอยู คูปาตนนํ้า” โดยโครงการดังกลาวไมไดใชเงินงบประมาณของทางราชการ แตเปนการรวมแรงรวมใจของชาวบานและทุกภาคสวนที่รวม กันสนับสนุน ทั้งวัสดุอุปกรณที่หาไดภายในชุมชน ซึ่งชาวบาน ได เ สี ย สละมาเป น แรงงานและห อ ข า วมารั บ ประทานร ว ม กัน นายชนาธิป เสมแยม นายอําเภอภูเพียง กลาววา อําเภอ ภู เ พี ย งได เ สนอโครงการ“การบริ ห ารจั ด การนํ้ า แบบมี ส ว น ร ว มบ า นสบยาว”ซึ่ ง เป น หมู บ า นขยายผลโครงการป ด ทอง หลังพระสืบสานแนวพระราชดําริ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบ ประมาณจากโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยชาวชุมชนบานสบยาวไดริเริ่มดําเนิน การ สรางฝายชะลอนํ้าจํานวน 30 ลูก ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ กิจกรรมตามโครงการโดยไมขอรับการสนับสนุนงบประมาณ และใชความรวมมือรวมใจของชาวชุมชนเพื่อการบริหารจัดกา รนํ้าอยางมีสวนรวมอยางแทจริง การทําฝายชะลอนํ้า จํานวน 100 ลูก ครั้งนี้จะสามารถเพิ่มปริมาณนํ้าใหกับลํานํ้าหวยผา มาน ซึ่งเปนแหลงนํ้าตนทุนที่จะใชในการอุปโภค บริโภคและ การเกษตรในชุ มชนบ า นสบยาวและสร า งความอุดมสมบูรณ ความหลากหลายทางนิ เวศวิ ท ยาให กั บ ป า ชุ ม ชนบ า นสบยาว


งานบริ ก ารวิ ช าการ

Pidthong to build check dams of 100 “Kindness to community” Baan Sop Yao as the village is located along Nan river and Yao river. This river’s long 1,200 meters and 6,000 hectares of the forest area in the community. Nowadays Baan Sop Yao’s located at 7 Amphoe Muang Jung, Phuphiang, Nan province. Baan Sop Yao has 300 household residents and most people have a professional agriculture such as corn and fruits. Buddhist way of life in Baan SopYao. Pidthong project was extended by Rajamangala University of Technology Lanna Nan at Baan Sop Yao the continuance operations critical to Pidthong the project initiative by His Majesty the king cooperated with Rajamangala University of Technology Lanna Nan and Phuphiang villager physically help to build check dams of 100 without the budget of the government. Governor of Nan, Mr. Ukrit Phungsopa together with District Chief of Phuphiang, Mr. Chanatip Semyam and Deputy Director of Nan Internal Security Operations Common, Colonel Chatchawan Kulkusol and associated with government and enterprises including 24 count units for instance Sub district Administration Organization of MuangJung, Rajamangala University of Technology Lanna Nan, The watershed Management unit of Nammeed Chiangklang, Sub district Headman club of Chiangklang, Village Headman club of Chiangklang, Operation team of Pidthong of Baan SopYao, Army Officer of Nan, Department of Army 32, Community organizations, private organizations and 600 peoples of Phuphiang come together to build check dams of 100 at Phaman Stream Moo 7 Amphoe Muang Jung, Phuphiang, Nan province. Under the action plan “Create a liveable Phuphiang pair of watershed”. District Chief of Phuphiang, Mr. Chanatip Semyam said Phuphiang district has proposed a “Participatory action with water management at Baan SopYao” which is under The Royal initiative of His Majesty the King. To obtain funding under the Philosophy of Sufficiency Economy. The villager of SopYao to build check dams of 30, which is part of this project without the supporting budget for water management by actual participation. Thus, The number of check dams 100 will able to increasing the amount of watershed at Phaman creeks, Which is the source of water used for provincial consumption and agriculture in the village to create a rich and ecological diversity with forest community at Baan SopYao.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 29


งานบริ ก ารวิ ช าการ

ยกระดับคุณภาพชีวิตสร้างงานวิจัย

เพื่อรอยยิ้มของชุมชน ย้อนไปเมื่อ ป พ.ศ. 2554 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไดริเริ่มจัดโครงการ

“ยกระดับคุณภาพชีวิตหมูบาน/ชุมชน แบบมีสวนรวม” เพื่อใหมหาวิทยาลัยเขาไปมีสวนรวมกับ ชุมชนในการที่จะชวยยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในสังคมใหมีความเปนอยูที่ดีขึ้น อีกทั้งยังเปน การนําองคความรูจากนักวิจัย ของมหาวิทยาลัยฯ ไปชวยแกปญหา ของคนในชุมชน อันเปนหนึ่ง ในพันธกิจของมหาวิทยาลัยที่จะนําความรูในตําราลงสูการปฏิบัติ “ครูอาจารยไดสอน นักศึกษาไดฝก สังคมชุมชนไดประโยชน ” ซึ่งเปนโครงการที่ประสบผลสําเร็จเปนอยางมากจน กลายเปนโครงการตนแบบใหกับหลายๆ มหาวิทยาลัยไดนําแนวคิดนี้ไปปฏิบัติตอไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา พิษณุโลก ไดมุงมั่นในการดําเนินงานตาม โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมูบาน/ชุมชน แบบมีสวนรวม อยางตอเนื่องเปนประจําทุกปโดย ในป พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยฯ ไดทําการสํารวจพื้นที่หมูบานเปาหมาย โดยประเมินจากความ เขมแข็งของผูนําชุมชน การมีสวนรวมของชุมชน ความสอดคลองกับองคความรูและเทคโนโลยี ที่ มี แ ละความสอดคล อ งกั บ อั ต ลั ก ษณ ข องเขตพื้ น ที่ แ ละเลื อ กชุ ม ชนบ า นคลองตาล ต.หนองแขม อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก เปนหมูบานเปาหมายในการดําเนินโครงการฯ โดยทําการสํารวจและจัดเวทีประชาคมแลวพบวาชุมชนยังประสบปญหาในเรื่อง เกษตรกรรม มหาวิทยาลัยฯ จึงดําเนินงานโครงการ ยกระดับชุมชนปลูกขาวบานคลองตาล เพื่อ ลงพื้นที่สํารวจปญหา และรับขอเสนอแนะจากชาวบานในพื้นที่ เพื่อจัดทําแผนการดําเนินงาน โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตหมูบาน/ชุมชนแบบมีสวนรวม ประจําป 2557 – 2559 โดยสํารวจ พบวา ชาวบานมีความตองการ ที่จะผลิตขาวปลอดสารพิษและการแปรรูปขาวเพื่อบริโภคเอง ภายในชุมชนโดยการจัดตั้งโรงสีชุมชน สวนดานเศรษฐกิจชุมชน คือการวางแผนการผลิตเมล็ด พันธุขาวและจัดการแปลงผลิตเมล็ดพันธุขาวอีกทั้งมีความตองการที่จะประกอบอาชีพเสริม อาทิการเลี้ยงไกพื้นเมือง การทําไรนาสวนผสม การจัดทําขอมูลบัญชีตนทุนการผลิตในครัวเรือน และดานสังคมและการศึกษาคือการเสริมศักยภาพดานภาษาตางประเทศสําหรับผูนําชุมชน ทั้งนี้เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนที่ครอบคลุมทุกดานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา พิษณุโลก จึงไดรวมกันระดม แผนการพัฒนาระหวางคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตรและคณะวิศวกรรมศาสตรอันจะทําใหชุมชน บานคลองตาลเปนชุมชนที่มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น From the results, it has shown the cooperation of the community, the harmony between knowledge and that local people would like to grow technology, and the identity of the chemical-free rice and they would like community. The project target group is to harvest and keep the product to consume within their community. Also, In 2011, Rajamangala University Baan Klong Tarn village T. Nongkham A. they would like to have their own rice Phitsanuloke organized a project aimed Prompiram Phitsanuloke. mills and have a part-time seasonal to elevate the community in Phitsanuloke This project surveys and arranges the employment such as Agroforestry, for a better life quality of life. It was community center to determine the chicken farming or learning a foreign related to one of the university’s missions: problems around encounters within the language for village leaders. ‘Teachers Teach, Students Practice and agriculture community. It starts with the The project is developed and Communities Gains’. project ‘Let’s Elevate Baan Klong Tarn organized by three faculties of Rajamangala University Phitsanuloke: The Faculty of Rajamangala University Community,’ in order to do the survey Business Administration and Liberal Arts, Phitsanuloke develops community the projects every year. In 2014, this project and take suggestions from local people The Faculty of Engineering, and The survey evaluates: the strengths of village in order to develop a project plan for Faculty of Science and Agricultural Technology. the year 2014 - 2016. leaders,

Moving forward to a Better Community

30 วารสาร ราชมงคลล้านนา


งานบริ ก ารวิ ช าการ

มทร.ล้านนา ตาก ร่วมจัดทําแผน

หมู่บ้านอยู่ดี ชาวบ้านมีความสุข ชุมชุนจะพัฒนาได้ ตองมีการเสริมสรางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมใหแกทองถิ่น โดยริเริ่มจากคนในชุมชนกระตุน

ใหมองเห็นปญหาที่เกิดขึ้นและอาศัยความสามารถในการบริหารจัดการดานทรัพยากรเครื่องมือเครื่องใช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ตาก รวมโครงการจัดทําแผนหมูบานอยูดี ต.วังจันทร อ.สามเงา จ.ตาก โดยทําการศึกษา วิเคราะหปญหา อุปสรรค หาแนวทางชวยเหลือและพัฒนาชุมชนซึ่งหมูบานอยูดีมีไมลําไยเปนจํานวนมาก สามารถนํามาผลิตถานไมลําไยอัดแทง ไวใชในครัวเรือนและจําหนายภายในชุมชน มทร.ลานนา ตาก จึงไดสนับสนุนเครื่องบดถานและเครื่องอัดถานเปนเครื่องมือในการผลิตออกแบบ บรรจุภัณฑ และสงเสริมชองทางการจัดจําหนาย ทั้งนี้การจัดแผนดังกลาวเปนการยกระดับคุณภาพชุมชนแบบมีสวนรวมโดยมีการบูรณาการการเรียนการสอน งานวิจัยและการ บริการวิชาการ พัฒนาคนในชุมชนใหมีความรู มีอาชีพ มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความมั่นคงตามวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยฯที่วา มทร.ลานนา ตาก เปนสถาบันอุดมศึกษาชั้นนําในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติมีความเชี่ยวชาญเทคโนโลยี เปนมหาวิทยาลัยแหงการเรียนรูมุงพัฒนาชุมชนสังคม ประเทศชาติ มีการบริหารจัดการที่ดีและมีคุณภาพ

The university to establish “good living”community

To develop a community, it needs to be prospered on

economy, society and culture and the residents should be pointed the problems out. Additionally, it needs managing skills for the resources. On March 26th, 2014, The Rajamangala University of Technology Lanna Tak has joined the Wang-Chan community, Sam-Ngao district, Tak to establish the plan of good living community. After studying strength and weakness of this community, it found that longan is a reputation of this community. Charcoal can also be produced from the longan’s trees. Therefore, the university agreed to support the community’s economy by providing a charcoal extruder. According to this project, it shows that the living quality of this community has been improved. There are workshops, instructions, researches and academic services integrated in this project. The project can also provide the residents with knowledge, jobs and better life, which is the vision of RMUTL Tak that focuses on hands-on graduates who are good at technology to serve the community development, society and the nation with good quality of management.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 31


งานบริ ก ารวิ ช าการ

“ชาวนาศตวรรษที่ 21” กิ จกรรมดี ๆ ของ นั ก ศึก ษาราชมงคลล้ า นนา โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.พีระ จูนอยสุวรรณ

กิจกรรมนอกหลักสูตร ถือเปนกิจกรรมที่ชวยสงเสริม

และพัฒนานักศึกษาในทุกๆดาน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ อุดมศึกษา (TQF) สโมสรนักศึกษาเปนองคกรหนึ่งในมหาวิทยาลัย ที่เปนแหลงรวมตัวของนักศึกษาผูสนใจในการพัฒนาตนเอง มีจิต อาสา โดยดําเนินกิจกรรมภายใตระเบียบวาดวยกิจกรรมนักศึกษาของ มหาวิทยาลัยและกํากับดูแลโดยอาจารยที่ปรึกษาสโมสรนักศึกษา สโมสรนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม ไดจัดชุดโครงการที่ชื่อวา "ชาวนาศตวรรษที่ 21" โดยกิจกรรมดังกลาวไดรับความอนุเคราะหใหคําแนะนํา ปรึกษา ตลอดโครงการโดยมูลนิธิรากแกว ซึ่งไดดําเนินโครงการมาตั้งแตป 2556 วัตถุประสงคหลักของโครงการฯ คือการสรางจิตสํานึกแกเยาว ชนรุนใหม ใหเขาใจถึงปญหาเรื่องขาว เรื่องชาวนา ซึ่งเปนกระดูกสัน หลังของชาติ ใหเขาถึงรากเหงาของปญหาที่แทจริงของชาวนา ที่ทํา นาหาเลี้ยงคนไทยแตทําไมถึงยากจนและมีหนี้สินมากมาย โดยสมาชิก โครงการไดผานกระบวนการรับความรู ขอมูลที่ถูกตองและนําการ ปลูกขาวเพื่อทดลองใหเห็นผลที่จับตองได และเปรียบเทียบกับวิธีการ แบบดั้งเดิม เพื่อใหชาวนาบานออนใตไดเห็นถึงความแตกตาง และ ข อ ดี ข  อ เสี ย ระหวางวิธีการทํานารูปดั้งเดิมและรูปแบบใหมที่โครง การฯพยายามนําเสนอ

สมาชิกโครงการ"ชาวนาศตวรรษที่ 21" มี ค วามหลากหลายหลากหลายของภู มิ ห ลั ง ทางครอบครัว แตเกือบทั้งหมดของสมาชิก โครงการ “เปนลูกชาวนา” กิจกรรมโครงการ เริ่ ม จากการศึ ก ษาหาข อ มู ล เรื่ อ งป ญ หาชาวนา ปญหาขาวของคนไทย หลังจากนั้นจึง เรียนรู เทคนิ ค การทํ า นาสมั ย ใหม โ ดยปราชญ ใ นเรื่ อ ง ขาว เชน กลุมชาวนาวันหยุด มาถายทอดใหแก ชุมชนบานออนใต อ.สันกําแพง จ.เชียงใหม ดวย กระบวนการของเกษตรอินทรีย ตั้งแตการเตรี ยมแปลงนา การเตรียมกลา การปองกันศัตรูพืช โดยทดลองปลูกขาวเหนียวพันธุสันปาตองซึ่งเปน ที่นิยมบริโภค การดํานาเราจะใชตนกลาเพียงตน เดียว (จากเดิมที่ใชตนกลาจํานวนมาก) และการ ทดลองดํานาแบบไมไถ ตั้งแตวันที่ 25 มกราคม 2557 ใชระยะเวลาในการดูแลและเจริญเติบโต มากวา 4 เดือน 32 วารสาร ราชมงคลล้านนา

เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2557 สมาชิก โครงการรากแกว จํานวน 20 คน รวมเรียนรูการ เกี่ยวขาวดวยเคียว (แบบดั้งเดิม) จากเกษตรกร ชุมชนออนใต และไดรวมลงแขกเกี่ยวขาวใน แปลงที่ไดทดลองปลูก ทั้ง 2 แปลง โดยมีจุด ประสงคเพื่อใหนักศึกษารุนใหม ได เรียนรู สัมผัสบรรยากาศและความรูสึกของชาวนาใน อดีต ที่เอาหลังสูฟาหนาสูดิน ผลิตขาวซึ่งเปน อาหารหลักของคนไทย เมื่อเกี่ยวเสร็จแลว ตาก แดดทิ้งไวอีกประมาณ ๓ วัน จึงจะทําการมัด รวงขาวและนําไปตีเพื่อใหขาวหลุดจากรวงดวย มือ กอนจะประเมินผลผลิตของโครงการ เพื่อ เปนขอมูล เพื่อการทํานาครั้งตอไป ที่สามารถ ลดต น ทุ น และเพิ่ ม ผลผลิ ต อี ก ทั้ ง ปลอดภั ย ต อ สุขภาพของผูบริโภคและที่สําคัญคือสุขภาพของ ชาวนา

ปลายปี 2557 โครงการ “ชาวนา ศตวรรษที่ 21” จะไดนําเสนอโครงการรวมถึง ผลจากการทดลองปลูกขาวดังกลาว ณ สถานที่ จั ด งานของมู ล นิ ธ ิ ร ากแก ว กรุ งเทพมหานคร ในวันที่เหมาะสมตอไป จากแนวคิดดังกลาว จะเห็นไดวา กิจกรรมนักศึกษานอกจากจะ สามารถกระทํ า ในรู ป แบบค า ยอาสาพั ฒ นาที่ เปนคายสรางแลว การทําชุดโครงการ เชน ค า ยพั ฒ นาชุ ม ชนลั ก ษณะดั ง กล า วจะช ว ยให นั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช าที่ เ กี่ ย วข อ งได นํ า ความรู มาประยุกตใชในโครงการไดอยางดี เชน การ วางแผนการตลาด (Business Plan) เพื่อขาย ขาวอินทรียที่ชาวนา ตําบลบานออนใต อําเภอ สันกําแพง จังหวัดเชียงใหม ผลิตไดในอนาคต การออกแบบบรรจุภัณฑ (Packaging) การ สรางสื่อเพื่อถายทอดองคความรูจากโครงการ (Knowledge Management) เพื่อขยาย แนวคิดแกผูสนใจอื่นๆ เปนตน


งานบริ ก ารวิ ช าการ

"Farmer 21st Century" Extracurricular activity Considered as an activity that helps promote and develop students in all aspects of The Higher Education Qualifications Framework (TQF), RMUTL Chiang Mai Student Union is an organization of student in campus. A place for a student who is interested in developing a voluntary self regulation on the implementation of activities under the supervision of RMUTL and Student Activities Student Advisor. RMUTL Student Union has a project named "Farmer 21st century " by such activities courtesy consultation throughout the project by Rakkaew Foundation since 2556 , The main objective of the project Is to create awareness among the younger generation to understand the problem of rice farmers who are the backbone of the nation. To reach the root of the real problems of farmers in Thailand , why can feed the poor and debt. By the project members through the process of getting knowledge. Accurate information and bring rice to try to see tangible results . And compared with traditional methods . Ontay subdistric farmers have seen the difference. Advantages and disadvantages between the traditional farming methods and new ways to present the project . Membership of the project are diverse range of family backgrounds . But almost all of the project members "As a son of a farmer" project began to study the information about the farmer. Thailand's rice problem ,Then Learn the techniques of modern sages like a group of rice farmers holidays. Broadcast to the community on the southern San Kampaeng district, Chiang Mai , with the process of organic farming. From preparing the plot Dare to Prepare Protection against pests Rice varieties grown by Sanpatong, which is commonly consumed. Seedlings to planters, we will use just one . (From the Wrappers are many) and experimental Wrappers not plowed. From 25 January 2557 to take care and grow about 4 months debris. On 25 May 2557, The member of the project 20 people attended learn to harvest with a scythe (Traditional ) farming community of southern Ontai subdistric. He and his help to harvest in plots that were planted and two converts, with the aim to expose students to the new generation. The project members have the atmosphere and feel of the farmers in the past. Page took back to earth against the sky . Production of rice, the staple food of Thailand . When about finished Sun and leave it for about 3 days to make a bunch of ears of corn, and to strike to disrupt rice grains by hand. First output of the project will assess To give information to do next time. That can reduce costs and increase productivity, safety , and health is important for the health of consumers and farmers. In late 2557 the project "Farmer 21st Century" will be presented, including the results of an experimental project such as growing rice venues Rakkaew Foundation's cage in the metropolitan environment. Of such a concept can be seen that the student will be able to act in ways aimed at a community development camp created. The project set Such as camping , community development as such will allow students related fields have the knowledge applied in the project as well as a marketing plan (Business Plan) to sell organic rice farmers at ontai subdistric, Sankumpeng Chiang Mai produced in the future . Packaging Design (Packaging) to create a medium for knowledge transfer from the project (Knowledge Management) to expand the concept to other interested parties and so on.

วารสาร ราชมงคลล้านนา33


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

Bhumibol Dam and voluntary students cooperated ‘CheckDam’, The Royal moisture retention Dam project

เขื่อนภูมิพลจับมือนักศึกษาจิตอาสา มทร.ล้านนาตาก

สร้างฝายชะลอนํ้าเฉลิมพระเกียรติ

เขื่อนภูมิพล อําเภอสามเงา จังหวัดตาก เปนปาตนนํ้าที่เปน แหลงอาหารใหกับชาวบานพรอมทั้งชวยในการทําการเกษตรในหนาแลง เพื่อใหชาวบานไดมีนํ้าไวใชในการอุปโภคบริโภคและการเกษตรโครงการ สรางฝายชะลอนํ้าเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ณ บริเวณรอบเขื่อนภูมิพล อําเภอสามเงา จังหวัดตาก จึงเกิดขึ้น มีวัตถุ ประสงคเพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสอันเปนมหามงคลทรง พระเจริญพระชนมายุ 86 พรรษา นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกตใชรวมถึงเพื่อกักเก็บนํ้าไวใชในการบริโภคและการเกษตรของ พื้นที่ใกลเคียง สรางความชุมชื่นใหกับผิวดินผืนเกาบริเวณโดยรอบและ สงเสริมใหนักศึกษาไดทํากิจกรรมที่เปนประโยชน ปลูกฝงจิตสํานึกที่ดี ใหจิตอาสารูจักเสียสละเพื่อประโยชนสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติ ในวันที่ 4 มีนาคม 2557 โดยผูเขารวมเปนจิตอาสาจากทุก คณะรวม 100 คน นส.นันทวรรณ ตาเปย นักศึกษาสาขาวิชาการ จัดการ ชั้นปที่ 1 ภาคสมทบ เลาความรูสึกในวันไปสรางฝายวา “ดิฉัน รูสึกตื่นเตนที่ไดเขารวมโครงการนี้เพราะเปนปแรกที่ราชมงคลลานนา ตาก ไดรวมสรางฝายกับเขื่อนภูมิพล ตอนเดินเขาไปพื้นที่รอนมากคะ ตอนสรางฝายยิ่งรอน ยิ่งเหนื่อย แตพอฝายเสร็จแลว “หายเหนื่อย เลยคะ ภูมิใจกับผลงานมากๆ” อยากฝากถึงรุนตอไป ใหนองๆ มารวม โครงการกันเยอะๆไดรูจักเพื่อนใหมตางสาขาตางคณะและไดรวมทํา ประโยชนตอชุมชนดวยคะ

34 วารสาร ราชมงคลล้านนา

Bhumibol Dam-located in Sam Ngao District, Tak province is in the vast headwater forest which functions as main foodsource for villagers. The Check-dam is beneficial in terms of agriculture and consuming in daily life use as well. The Royal check-dam project aims to honor on the occasion of the anniversary of His Majesty’s 86th birthday and achieves sufficiency economy philosophy. Moreover, the project assists to water irrigation and agricultural moisture. Additionally, this project supports voluntary students to share their sacrifice via the creative activity, which leads to have a good conscious mind for natural resource conservation in public and community.

4 March 2014, Nanthawan Tapia, a freshman student in management division (extra curriculum section) with other 100 voluntary students attends this project. She revealed, “This is the first year of RMUTL Tak cooperated with Bhumibol Dam to build the check-dam, I am so excited but slightly tired because of hot weather. However, I’m so proud of our notable contribution that relieves our exhaustion at all. Also, passes to junior students about the benefits of this project challenge their experience and community in the future.


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

เดินตามรอยพ่อ....พึ่งพาปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

ในยุ ค ของการเตรี ย มความพร้ อ มเข า สู ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นหลายๆคนคงหลี ก หนี ไ ม พ น จากกระแสของสั ง คมที่ มี ก าร เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา จึงไมนาแปลกใจที่มักจะเห็นวัยรุนใน ป จ จุ บั น ที่ จ ะฟุ ง เฟ อ ตามกระแสนิ ย มแต ใ นฐานะสถาบั น การศึ ก ษา ก็ ถื อ เป น โจทย สํ า คั ญ อย า งหนึ่ ง ที่ จ ะต อ งปลู ก ฝ ง ให นั ก ศึ ก ษานั้ น ตั้ ง อยู บนแนวคิ ด “พอเพี ย ง”มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล า นนา พิษณุโลกจึงเกิดแนวคิดจัดกิจกรรมใหนักศึกษา “อิ่มทอง..อิ่มปญญา” ได ทั้ ง ความรู ไ ด ทั้ ง การดํ า รงชี วิ ต จากประสบการณ ข องกํ า นั น ธวัชชัย เอี่ยมจิตร ที่นําแนวคิดมาบวกเขากับการลงมือทําประกอบ ขึ้ น เป น ความรู เ พื่ อ มาถ า ยทอดสํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาได นํ า เอาหลั ก แนวคิ ด ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งในพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ฯมาเป น แนวทางการดํ ารงชี วิ ต นั บ เปน โอกาสอัน ดีที่เหลานัก ศึก ษาได มีโ อกาส ได ร ว มแลกเปลี่ ย นประสบการณจากวิทยากรที่ไ ดลงมือปฏิ บัติ มากว า ค อ นชี วิ ต จึ ง ไม น า แปลกใจที่ ทุ ก กระบวนการนั้ น ออกมาจาก ประสบการณจริง สาขาวิชาสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา พิษณุโลก เล็งเห็นความสําคัญจากปรัชญาและปณิธานของมหาวิทยาลัยฯ ที่มุงเนนเรื่องการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา “บัณฑิตนักปฏิบัติ” จึงได เล็งเห็นถึงความจําเปนที่จะตองพัฒนาคน เศรษฐกิจ และสังคมควบคูกัน โดยยึดหลักการพัฒนาพึ่งพาตนเอง ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงไดจัดโครงการอบรม เรื่อง “ขาวไรซเบอรรี่ ขาวไทยเพื่อการพัฒนาที่ ยั่งยืน” แกนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา พิษณุโลก กํานันธวัชชัย เอี่ยมจิตร วิทยากรจากศูนยการเรียนรูพันธุขาว ชุมชนบานดักคะนน ต.ธรรมามูล อ.เมือง จ.ชัยนาทเลาวา “ตนเองได พัฒนาความรูดานการปลูกขาวไรซเบอรรี่ โดยนอมนําหลักเศรษฐกิจพอ เพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว กฏ 3 หวง 2 เงื่อนไข มาปรับ ใชในการดําเนินงานภายในศูนย เพื่อสงเสริมการปลูกขาวที่มีคุณคา ทางโภชนาการ และไมใชสารเคมี อันจะชวยเพิ่มมูลคาขาวและพัฒนา คุณภาพชีวิตชาวนาตามหลักการพึ่งพาตนเอง ทั้งดานสุขภาพ รายไดของ ครอบครัว และสิ่งแวดลอมในชุมชน” “นองธี” ชาวนารุนเยาววัย 15 ป ในฐานะเจาของนาขาว ไรซเบอรรี่ปลอดสารเคมี 5 ไร ซึ่งเปนหนึ่งในชาวนาที่เขารวมโครง การฯ เลาวา “เกิดความผูกพันกับอาชีพเกษตรกรมายาวนาน เพราะไม เพียงแตทําใหมีรายได แตยังไดรับความสุข ความภาคภูมิใจที่ไดสืบสาน อาชี พ ของบรรพบุ รุ ษ ซึ่ ง เป น อาชี พ ที่ ท รงเกี ย รติ ไ ม แ พ อ าชี พ อื่ น เลย” กิจกรรมนี้ นอกจากจะสงผลใหนักศึกษาไดรูจักและเรียนรูขาว พันธุ“ไรซเบอรรี่”แลวยังสงเสริมใหนักศึกษารูจักการทํานาโดยไมทําราย ธรรมชาติปรับปรุงดินโดยไมใชสารเคมีคัดเลือกพันธุที่ใหคุณคาสูงและ เหมาะสมกับพื้นที่เพื่อเพิ่มมูลคาขาวทําใหตนทุนการทํานาตํ่าแตราคาขาว และผลผลิตยังสูงอยูแตเหนือสิ่งอื่นใดนั้นการไดนอมนําเอาแนวคิดปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯมาปฏิบัติไมเพียง เฉพาะในเรื่องการเกษตรการประกอบอาชีพเพียงอยางเดียวแตยังหมาย รวมถึงหลักในการดํารงชีวิตในทุกๆโอกาสไดเปนอยางดี

Rajamangala Phitsanuloke Reinforced Sufficiency Economy Philosophy in Rice Berry Project In today’s fast paced world, many of our teenagers focus on fashion, entertainment, and social media trends which may lead them to extravagant lifestyles. As a role model of teacher, we should teach them to think back about whom we are and what we do for a living. In this regard, Rajamangala Phitsanuloke launched a project aimed to establish an activity for students to follow the philosophy of Sufficiency Economy. Social Science, in the Faculty of Liberal Arts, organized a seminar called ‘ Rice Berry, Rice of Sustainable Development’ held on 11th February 2014 in order to reinforce the Sufficiency Economy Philosophy with the topic of Rice Berry for the Sustainable Development. An invited instructor, Mr. Tawatchai Lamchitr, the village leader from Dakkanon village, T. Dhammamoon A. Muang Chainat province, provided useful information about rice berry harvest and study center. The Royal Development Study Center was established according to the three main principles and 2 conditions in order to produce nutritious rice and reduce the use of chemical fertilizer, so that farmers would have a good quality of life, health, income and provide for the community. One of the farmers, Tee, a 15-year old farmer who owns 5 rais of non-chemical rice berry field said, “Being a farmer brings not only income but also happiness to me and I am very proud of this career.” From this activity, students can have knowledge about rice berry and how to harvest chemically free. Students can develop and learn how to adapt the philosophy of Sufficiency Economy to their lives, not only in agriculture but also in their life management. วารสาร ราชมงคลล้านนา 35


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

พิธีตักบาตรเที่ยงคืน

“เป็งปุ๊ด” บูชาพระอุปคุต “เป็งปุ๊ด” หรือ “เพ็ญพุธ” ประเพณีตักบาตรเที่ยงคืน ในวันขึ้น ๑๕ คํ่า ที่ตรงกับวันพุธ เปน

ประเพณีโบราณของชาวลานนา เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อใดนั้นไมมีหลักฐานชัดเจน อาจจะไดรับอิทธิพลความเชื่อ จากวัฒนธรรมของพมา ซึ่งมีความเชื่อวา พระอุปคุต ซึ่งเปนภิกษุที่พระพุทธเจาทรงเปนองคอุปชฌาย เมื่อ สําเร็จเปนพระอรหันตแลวไดเสด็จลงไปจําศีลภาวนาอยูที่สะดือทะเล โดยในรอบ 1 ป จะขึ้นมาโปรดชาวเมือง กอนเวลารุงอรุณ ชาวพมามักตื่นตั้งแตตอนดึกเพื่อเตรียมอาหารไวใสบาตรพระอุปคุต สวนความเชื​ื่อของคน ลานนานั้น เชื่อกันวาพระอุปคุตซึ่งเปนพระอรหันตองคหนึ่งแปลงกายเปนสามเณรนอย ออกมารับบิณฑบาต โปรดสัตวโลกในยามเที่ยงคืนเสมอ บรรดาพุทธศาสนิกชนชาวลานนาจะเตรียมขาวสารอาหารแหงไวคอย ใสบาตร ตั้งแตหลังเที่ยงคืน โดยเชื่อวา หากผูใดไดทําบุญตักบาตรพระอุปคุตแลวจะไดบุญใหญหลวง เกิดโชค ลาภวาสนาประสบแตความสุขรํ่ารวยดวยทรัพยสินเงินทองและความเปนสิริมงคลในชีวิต ความเชื่อนี้จึงทําให พุทธศาสนิกชนถือปฏิบัติสืบทอดกันมา ดังนั้น เมื่อถึงวันเพ็ญตรงกับวันพุธชาวเหนือทุกคนจะไปคอยใสบาตร เปนพิเศษ โดยจะไปคอยใสบาตรที่หนาบานหรือตามถนนสายตาง ๆ คลายกับการใสบาตรในตอนเชาตรูที่เรา เคยเห็นกัน ทั้งนี้ บางปอาจมีครั้งเดียวหรือหลายครั้งแตในบางปกไมมีเลยซึ่งเปนประเพณีนิยมที่มีเฉพาะในภาค เหนือตอนบนอาทิ เชียงราย เชียงใหม ลําปาง และแมฮองสอน สําหรับ ในคืน วัน ที่ 14 มกราคม 2557 ที ่ ผ  า นมา แผนกวิ ช าสั ง คมศาสตร สาขาศิ ล ปศาสตร คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล า นนา เชี ย งราย นํ า โดยอาจารย ภีราวิชญ ชัยมาลา อาจารยประจําแผนกสังคมศาสตร อาจารยประจําวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม ได จัดโครงการ “อนุรักษฟนฟูประเพณีและวัฒนธรรมการตักบาตรเที่ยงคืน “เปงปุด” ณ ลานหนา อาคารอํานวยการ เพื่อใหนักศึกษาไดอนุรักษและฟนฟูวัฒนธรรมลานนาอันลํ้าคาใหคงอยูตอไป เรียนรูจากการ ปฏิบัติจริง

36 วารสาร ราชมงคลล้านนา


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

อาจารย์ภีราวิชญ์ ชัยมาลา กลาววา “การจัดโครงการครั้งนี้ได บูรณาการใหเขากับรายวิชา “การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม” ใน หนวยที่ 2 เรื่องภาระหนาที่และความรับผิดชอบของบุคคลหัวขอยอย “การดําเนินชีวิตของตนเองและครอบครัวอยางมีความสุขและการ มีสวนรวมในการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม”ซึ่งจะสะทอนใหเห็น วาการที่นักศึกษาจะอยูรวมกันในสังคมไมใชเพียงแตการรับผิดชอบตอ ตนเอง จะตองมีการรับผิดชอบตอสังคมดวยการมีสวนรวมในการพัฒนา สังคมและสิ่งแวดลอมที่ตนเองอาศัยอยูในฐานะเปนสมาชิกคนหนึ่งของ สังคม และมีกิจกรรมรวมกันในสังคม โครงการนี้ตองการใหนักศึกษา รวมเปนสวนหนึ่งในการอนุรักษวัฒนธรรมใหสืบตอไปและตองการฟนฟู ประเพณี ดั้ ง เดิ ม ที่ บ รรพบุ รุ ษ ได สื บ ทอดกั น มาในเขตเทศบาลนคร เชียงรายไดจัดกิจกรรมนี้อยางตอเนื่อง ซึ่งในปนี้เปนโอกาสดีที่นักศึกษา จะไดทําบุญในชวงเทศกาลปใหม 2557 เพื่อเปนสิริมงคลแกตนเองและ ไดเรียนรูจากการสังเกตเห็นและไดรูจากการอธิบายของอาจารยผูสอน วาขั้นตอนในการทําพิธีกรรมแบบลานนาสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีที่ ทรงคุณคาทางจิตใจไวใหยาวนานสืบตอไป อาจารยอธิบายในหองเรียน เสมอวา “พวกเราเปนเยาวชนที่ทันสมัย จะตองไมลืมของเกา และ ไมมัวเมาของใหม” ลืมของเกาในที่นี้ก็คือรากเหงาความเปนวัฒนธรรม ชาวลานนา มัวเมาของใหมก็คือไมหลงตามวัฒนธรรมที่รับเอามาจาก ตะวันตกมากเกินไป และรูจักใชวิจารณญาณในการดําเนินชีวิต ไมทําให ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม ตลอดจนถึงรากเหงาความเปน วัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวลานนาสูญหายไป

PENGPUD or Midnight Alms

Peng-pud or Midnight alms is held on Wednesday before waxing moon on the 15th which is the Lanna tradition that derived from Burmese culture. It was a belief that the Oupakud who was the Buddhist Saint kept the Buddhist precepts in a whirlpool. He would make alms giving begin at dawn once a year. So Burmese would prepare food for the monk at night. Lanna people believe that Oupakud would transform into novice and make alms giving at midnight. Therefore, Lanna people will prepare food for alms giving after midnight. It is a belief that whoever offers food to Oupakud will have a good fortune. People will offer food to the Monk at midnight on Wednesday which is a full moon day. This tradition which is held once or times a year is found in the Upper Northern region of Thailand such as Chiang Rai, Chiang Mai, Lampang, and Mae Hong Son. On 14 January 2014, Ajarn Peerawit Chaimala, Lecturer of Section of Social Science and Humanities, Department of Liberal Arts, Faculty of Business Administration and Liberal Arts, RMUTL Chiang Rai arranged the program ‘Peng-pud or Midnight Alms: Traditional and Cultural Conservation’ at Administration building. This program is for students to participate in local tradition and culture as well as to apply this knowledge in their daily life.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 37


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

“กัณฑ์มหาพน”

หนึ่งในความภาคภูมิใจของ มทร.ล้านนา ลําปาง ร่วมสืบสานประเพณีล้านนา ตั้งธรรมหลวงเวียงละกอน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

นั บ แต่ โ บราณกาลประเพณี เ ทศน มหาชาติ ล า นนาซึ่ ง ประกอบด ว ยประเพณี ตั้งธรรมหมายถึงการเทศนเรื่องทั่วไป การ เทศนตามประเพณีตางๆ เชน วันสงกรานต วันขึ้นปใหมพิธีสืบชะตาและการตั้งธรรมหลวง หมายถึง เปนการเทศนเฉพาะกาล กลาวคือ การเทศนแบบตั้งธรรมนี้สวนมากจะจัดขึ้น ในวัน “ยี่เปง” คือ วันเพ็ญเดือน 12 เดือน 3 และเดือน 4 ของลานนา โดยสวนมากเปน เรื่ อ งมหาชาติ ป ระเพณี นี้ จ ะต อ งใช เวลายาว นานถึง 7 วัน ชาวลานนาจึงมักเรียกการตั้ง ธรรมเชนนี้วา“ตั้งธัมมหลวง”ซึ่งมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง ไดเปน เจ า ภาพกั ณ ฑ ม หาพนเป น ประจํ า ทุ ก ป ร ว ม กับจังหวัดลําปาง ซึ่งจัดขึ้นโดยคณะสงฆจัง หวั ง ลํ า ปางมหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณ ราชวิทยาลัยวิทยาเขตแพร โรงเรียนวัดบุญ วาทยวิหารและคณะศรัทธาประชาชนไดจัด ตั้งโครงการตั้งธรรมหลวงเวียงละกอน(เทศน มหาชาติ ) เฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ จั ง หวั ด ลํ า ปาง ณ บริเวณศาลหลักเมืองจังหวัดลําปางเพื่อ เป น การเฉลิ ม พระเกี ย รติ เ นื่ อ งในวโรกาสวั น เฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวฯ เปนประจําทุกป 38 วารสาร ราชมงคลล้านนา

“กั ณ ฑ์ ม หาพน”ประกอบด ว ยตั ว ละครในนิทานชาดก ไดแก พระเวสสันดร พระนางมัทรี กัณหา ชาลี ชูชก พราหมณ เจตบุตรอจุตรษี“กัณฑมหาพน”เปนหนึ่งใน พระธรรมคัมภีร ที่นํามาเทศน ในงานตั้งธรรม หลวงเทศนมหาชาติ มีทั้งหมด 13 กัณฑ ดังนี้ กัณฑทศพร กัณฑหิมพานต ทานกัณฑ กัณฑ วนประเวสน กัณฑชูชก กัณฑจุลพนกัณฑ มหาพน กัณฑกุมารบรรพ กัณฑมัทรี กัณฑ สักบรรพ กัณฑมหาราช กัณฑฉกษัตริย และ นครกัณฑ โดยมีหนวยงาน สถาบันการศึกษา ตาง ๆ รวมเปนเจาภาพกัณฑเทศนเดินขบวน รวมงานกับจังหวัดเชนกัน โดยมุงหวัง เพื่อใหพุทธศาสนิกชน ทุกหมูเหลาไดรวมกันถวายทาน เปนพุทธบูชา เพื่อเฉลิมฉลองพุทธชยันตี 2,600 ป แหง การตรัสรูแหงองคพระสัมมาสัมพุทธเจาเพื่อ ถวายเป น พระราชกุ ศ ลในวโรกาสวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ฯอี ก ทั้ ง ยั ง เพื่ อ อนุ รั ก ษ สื บ สานวั ฒ นธรรม ประเพณีใหชาวพุทธมีโอกาสบําเพ็ญบุญกุศล รับฟงการเทศนมหาชาติตามคตินิยมความเชื่อ ที่มีมาแตโบราณที่วา“บุคคลใดที่ตั้งใจฟงธรรม มหาชาติจนจบ 13 กัณฑ ภายในวันหนึ่ง

มหาชาติจนจบ 13 กัณฑ ภายในวันหนึ่ง คืนหนึ่ง ผูนั้นจะวุฒิจําเริญดวยสมบัตินานา ประการในปจจุบันและจะไดเกิดรวมศาสนา พระศรีอาริยเมตไตรยในอนาคต”ซึ่งพระศรี อาริยเมตไตรยทรงตรัสวา พระองคจะเสด็จ มาอุบัติเมื่อสิ้นพุทธกาลคือ พุทธศักราช ๕,๐๐๐ แตในทุกๆกัณฑไมเพียงแตมถอยคําที่ สวยงามแตยังไดสอดแทรกหลักธรรมคําสอน ในพระพุทธศาสนาเพื่อจะเปนเครื่องมือหลอ หลอมจิตใจใหพุทธศาสนิกชนตอไป “กัณฑ์มหาพน” คือความภาคภูมิใจ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง ที่เปนสวนหนึ่ง ในการสรางความสมาน สามัคคีของคนในชุมชน ใหรูจักการทํางานเปน หมูคณะมีความรับผิดชอบรวมกัน ตลอดจน เพื่อเปนการอนุรักษขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมลานนา ภูมิปัญญาของบรรพชนให้ เป็นแบบอย่างแก่ อนุชนรุ่นหลังสืบไป


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

The Sermon “Mahapon Episode” In the past, Mahachart Sermon was conducted during Thai important festivals such as Songkran (Water Festival) or on the Thai New Year Day, at the life extension ceremony. These ceremonies were organized only on special occasion such as on the full moon night of the twelve lunar months (Yee Peng) and also on the 3rd and 4th lunar month. The sermons were mainly about Mahachart (the 10 lives of the Buddha) which would last about 7 days. This kind of sermon is generally called “Tungthumluang” literally means the great sermon as it takes a long time for the whole sermon. Rajamangala University of Technology Lanna, Lampang campus in collaboration with Lampang Province authorities, the Lampang Buddhist council as well as Mahachulalongkorn Rajawiitayalai Buddhist University, Phrae Campus hosts this sermon on the episode

“Mahapon” sermon every year. This year the sermon took place at the Lampang city pillar shrine to honor his Majesty the King on his Birthday. The characters in Mahapon episode consist of Phrawessantara, Phranangmatsrii, Kanhaa, Charlie, Choockok, Bhrama, the hunters and Arjuratta hermit. This episode is one of the sermons delivered on the occasion of Mahachart Sermon which consists of 13 episodes, namely ; Thosaporn, Himaphaan, Thanakan, Wanaprawet, Choochok, Chulapon, Mahapon, Kumaraban, Matsrii, Sakkaban, Maharat, Chakasat and Nakornkan. Organizations and educational institutions also cohosted this sermon and joined the procession in the city. The purpose of this sermon is to commemorate 2600 years of the Buddha’s Enlightenment or “Bhudda Chayantee” and celebrate his Majesty the King’s Birthday.

The event will also enhance Buddhist to listen to the Mahachart sermon in accordance with the belief that whoever listens to this 13 episode sermon within 24 hours would achieve all preferable assets in the present life and after death; he will be reborn in the era of Phrasreeariyametrai in the future. Phrasreeariyametrai is expected to be another Bhudda after this present Buddhism is ended in the Buddhist Era 5000. Each episode of the Mahachart has been composed of beautiful verbal language and subtle with the teaching of the Lord Buddha. Mahapon episode is a pride of RMUTL Lampang campus, which took part in this event in order to create unity among the people and sustain Lanna tradition and culture as a good model for the next generation.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 39


ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม

ศูนย์วัฒนธรรมศึกษา

ร่วมขบวนพิธีสักการะ

กู่เจ้าหลวงเชียงใหม่

ศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา นําโดยนายชัยปฐมพร ปวงวัน ผูอํานวยการศูนยวัฒนธรรม ศึกษา พรอมดวย อาจารย เจาหนาที่ นักศึกษาชมรมศิลปวัฒนธรรม รวมขบวนพิธีสักการะกูเจาหลวงเชียงใหม โดยไดรับเกียรติจากนาย วิเชียร พุฒิวิญู ผูวาราชการจังหวัดเชียงใหม พรอมดวยเจาดวงเดือน ณ เชียงใหม ผูแทนเจานายฝายเหนือ นําขบวนอัญเชิญเครื่องสักการะ กูเจาหลวงเชียงใหม จากหอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย เชียงใหม เขาสูบริเวณพิธี ณ วัดสวนดอก พระอารามหลวง ในขบวน ดังกลาวประกอบดวย ขบวนแหเครื่องสักการะของหนวยงานทั้ง ภาคราชการ เอกชน และจากสถาบันการศึกษาในจังหวัดเชียงใหม พิธีสักการะกู่เจ้าหลวงเชียงใหม่ ถือเปนพิธีสําคัญที่ชาวจังหวัด เชียงใหมไดรวมจัดขึ้นเปนประจําทุกปในชวงเทศกาลสงกรานต เพื่อเปน การบํ า เพ็ ญ กุ ศ ลถวายแด ด วงพระวิ ญ ญาณของเจ า หลวงเชี ย งใหม ทุ ก พระองค รวมถึงพระราชชายาเจาดารารัศมี และเจานายฝายเหนือคนอื่นๆ ที่ลวงลับไปแลวและยังเปนการแสดงออกถึงความเคารพและสืบสาน ประเพณีอันดีงาม

40 วารสาร ราชมงคลล้านนา

RMUTL Chiang Mai Campus Joined the Tribute to the

Chiang Mai Royal Family Cemetery The Division of Arts and Culture, Rajamangala University of Technology Lanna, joined a worship ceremony for Chiang Mai Royal Family. The ceremony was presided by Mr. Wichien Putthiwinyoo, Governor of Chiang Mai and the Princess Chao Dungduen Na Chiang Mai as the representative from Chiang Mai Royal Family. They all brought the tributes to worship Chiang Mai Royal Family Cemetery. The procession started from the Arts and Culture Exhibition Center, Chiang Mai University to Wat Suan Dok Monastery. The procession consists of tributes and pageantry from agencies, private and public sectors and institutions in Chiang Mai. The tribute to the Chiang Mai Royal family is considered as very important and held every year during Songkran Festival (Water Festival) in order to dedicate merits to the late Royal Rulers of Chiang Mai such as Princess Dararasmi and others. The ceremony also symbolized the extension of good Thai traditions and culture.


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

หลักสูตรอบรมนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา สาขาวิชาอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา ตาก จัดหลักสูตรอบรมนักศึกษากอนออก ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคเรียนที่ 1/2557 ระหวางวันที่ 24 - 28 มีนาคม 2557 ณ มทร.ลานนา ตาก โดย การอบรมในครั้งนี้เพื่อพัฒนาความรูความสามารถของนักศึกษาใหปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ พัฒนา ตนเเองใหทันเทคโนโลยีสมัยใหม และนําความรูที่ไดจากการฝกอบรมไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุด

โครงการประชุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์พัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษระหว่าง มทร. ล้านนา (เชียงใหม่ ลําปาง ตาก) ผศ.ประสาร รุจิระศักดิ์ รองอธิการบดี มทร.ลานนา ตาก ผศ.อวยพร บัวใบ รองอธิการบดี มทร.ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม อาจารยคูณธนา เบี้ยวบรรจง คณบดี คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร อาจารยวิกร จันทรวิโรจน ผูอํานวยการกองการศึกษา และไดรับเกียรติจากนายวิชัย ศรีพัฒนาสกุล ที่ปรึกษา มทร.ลานนา พรอมดวยคณาจารย รวมประชุมแลกเปลี่ยนประสบการณพัฒนาศักยภาพดานภาษาอังกฤษและพัฒนาสื่อ การสอนผานเทคโนโลยีสารสนเทศโดยใชโปรแกรม E-learning “Tell Me More” ใหแกนักศึกษาและบุคลากรเพื่อเตรียมความพรอมในการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในป 2558 ณ หองประชุม 2 อาคารอํานวยการ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2557

วารสาร ราชมงคลล้านนา 41


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

เปิดมุมมองสะพานมิตรภาพไทยลาว

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการ จัดทําแผนยุทธศาสตร์ มทร.ล้านนา เชียงราย

สานสัมพันธ์เศรษฐกิจสู่อาเซียน

งานประกันคุณภาพการศึกษา รวมกับงานยุทธศาสตรและแผน มทร.ลานนา เชียงราย จัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทําแผน ยุทธศาสตร ณ หองประชุม 1 วันที่ 24–25 กุมภาพันธ 2557

สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อมจัดสัมมนา การประมาณราคาและเทคนิคงานโยธา

นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด จัดโครงการสัมมนา ทางวิ ชาการในหั ว เรื ่ อ ง “เปด มุม มองสะพานมิต รภาพ ไทย-ลาว สานสัมพันเศรษฐกิจสูอาเซียน” ในการจัดทํา โครงการสัมมนาในครั้งนี้ไดกลาวถึง แนวโนมเศรษฐกิจและ โอกาสของขยายตัวของเศรษฐกิจใน จังหวัดเชียงราย ดาน การเตรี ย มความพร อ มของแรงงานที่ จ ะก า วไปสู ส ถาน ประกอบการณในตางประเทศ ผลกระทบที่มีตอผูประกอบ การและนั ก ลงทุ น หลั ง เป ด สะพานมิ ต รภาพไทย - ลาว การทําธุรกิจ และการเคลื่อนยายแรงงาน 7 อาชีพ ไดแก วิศวกร พยาบาล สถาปนิก นักสํารวจ นักบัญชี แพทยและ ทันตแพทย

สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา เชียงราย จัดสัมมนาการประมาณราคาและเทคนิคงานโยธา เพื่อใหนักศึกษาได แลกเปลี่ยนความรูและประสบการณในงานดานโยธา สรางบัณทิตนักปฏิบัติ

..............................................................................................................................................................................................

นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์

อบรมเชิงปฏิบัติการโปรแกรม PLC เบื้องต้น

คว้ารางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1 สําหรับนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ จากการแข่งขันทักษะทางวิชาการวิศวกรรม

อาจารย์ แ ละนักศึกษา มทร.ลานนา เชียงราย คว า รางวั ล รองชนะเลิศอันดับที่ 1 จาการแขงขันทักษะราชมงคลวิชาการวิศวกรรม ครั้งที่ 6 โครงงานวิศวกรรมศาสตร(ภาคโปสเตอร) ณ มทร.รัตนโกสินทร เมื่อวันที่ 28–30 มกราคม 2557 42 วารสาร ราชมงคลล้านนา

อาจารย์จักรวัฒน์ สัญใจ อาจารยประจําสาขาวิชาไฟฟา คณะวิ ศ วกรรมศาสตร มทร.ล า นนา เชี ย งราย จั ด อบรมเชิง ปฏิบัติการโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทลเลอร (PLC) เพื่อฝกการเขียน คําสั่ง โดยใช Programming Consle , Cx-One Programming ผาน ระบบคอมพิวเตอรใหแกนักศึกษาวิศวกรรมไฟฟาชั้นปสุดทาย เมื่อ วันที่ 12 มีนาคม 2557 ณ หองปฏิบัติการ PLC อาคารปฏิบัติการไฟฟา


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

.....................................................................................................................................

อบรมเชิงปฏิบัติการ"ความรู้เบื้องต้นด้าน มทร.ศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง เข้าศึกษาแลก มาตรวิทยาและการสอบเทียบเครื่องมือวัด เปลี่ยนประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการ อุตสาหกรรม เพื่อเข้าสู่สถานประกอบการ" สํานักงาน กับ มทร.ล้านนา เชียงราย สาขาวิ ศ วกรรมอุตสาหการ และสาขาวิศวกรรมโลจิ ส ติ ก ส คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา เชียงราย นําโดย อาจารยสมควร สงวนแพง และอาจารยประจําสาขา จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “ความรู เบื้องตนดานมาตรวิทยาและการสอบเทียบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม เพื่อเขาสูสถานประกอบการ” เมื่อวันที่ 20–21 มีนาคม 2557 ณ อาคารวิศวกรรมอุตสาหการ มทร.ลานนา

คณะวิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี การประมง มทร.ศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง นําโดย ผศ.ดร.ชุตินุช สุจริต หัวหนาสํานักงานคณบดี พรอมดวยบุคลากรเขาศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยนประสบการณ ด า นการบริ ห ารจั ด การสํ า นั ก งาน การประกั น คุ ณ ภาพการศึกษา อีกทั้งยังแลกเปลี่ยนความคิดเห็นขอเสนอแนะในการทํางาน เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2557

.............................................................................................................................................................................................. .....................................................................................................................................

บุคลากร มทร.ล้านนา เชียงราย สายสนับสนุน

วิจัย สิ่งประดิษฐ์ Conference

ฝึกอบรมเพิ่มทักษะการให้บริการ และโครงงาน สานต่อสู่นักวิจัยรุ่นใหม่

งานทรัพยากร กองบริหารทรัพยากร มทร.ลานนา เชียงราย จั ด โครงการอบรมเชิ ง ปฏิบ ัต ิก าร การพัฒนาทัก ษะใหบ ริ ก ารของ บุ ค ลากรสายสนั น สนุ น ของมหาวิทยาลัย (Service mind) ณ หองประชุม อาคารวิทยบริการ เมื่อวันที่ 29-30 เมษายน 2557 เพื่อ เพิ ่ ม ทั ก ษะ กระบวนการเรียนรูก ารใหบ ริก ารที่ด ี ความสามั ค คี ใ น หมู  คณะ รู  จ ั ก การทํ างานเปน ทีม มีจิต สาธารณะ เรียนรู  ว ิ ธ ี ก าร วางแผนการทํางาน เกิดความรักในองคกรมากยิ่งขึ้น

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา เชียงราย จัดโครงการ “นําเสนอผลงานวิชาการงาน วิจัยสิ่งประดิษฐ Conference และโครงงาน ประจําป 2557” เมื่อ วันที่ 19 มีนาคม 2557 ที่ผานมา โดยรศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ใหเกียรติเปน ประธานในพิธีเปดและกลาวใหโอวาทแกนักวิจัยและนักศึกษา ในครั้ง นี้ยังไดรับเกียรติจากศาตราจารยดร.โนบุตากะ อิโตะ อาจารยประจํา คณะวิศวกรรมศาสตรจากมหาวิทยาลัยเชียงใหมรวมบรรยายพิเศษใน หัวขอ“การสรางงานวิจัยที่มีคุณภาพแกนักศึกษา” ผศ.นิติพงษ สมไชยวงค รองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร ประธานคณะกรรมการจัดงาน กลาววา “การนําเสนอผลงานวิชาการ ครั้งนี้ไดรับความรวมมือจากนักวิชาการทั้งในและนอกมหาวิทยาลัย เปนอยางมากซึ่งเขามาแลกเปลี่ยนความรูผลงานวิจัยอีกทั้งยังเพิ่ม ขีดความสามารและประสบการณของนักศึกษากอนออกไปสูตลาด แรงงานหรือศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นตอไป”

วารสาร ราชมงคลล้านนา 43


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

พิธีลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือ MOU

และร่วมประชุมระบบดูแลช่วย เหลือนักเรียนและการส่งเสริม การศึกษาต่อสายอาชีพ

MOU

เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2557 ผศ.อวยพร บัวใบ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม ลงนาม บันทึกขอตกลงความรวมมือ (MOU) และรวมประชุมระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนและการสงเสริมการศึกษาตอสายอาชีพ ประจําป 2557 ณ โรงแรมเชียงใหมฮิลล จังหวัดเชียงใหม โดย นายวิเชียร พุฒิวิญู ผูวาราชการจังหวัดเชียงใหม ประธานเปดการประชุม และรวมบรรยายพิเศษ

โครงการ “เสวนาเครือข่ายนักวิจัยและแหล่ง ทุนวิจัยภายนอก”

งานวิจัยและบริการวิชาการ กองการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม จัด “โครงการเสวนา เครือขายนักวิจัยและแหลงทุนวิจัยภายนอก” โดยไดรับเกียรติจาก ผศ.อวยพร บัวใบ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม เปนประธานในพิธีเปดและใหนโยบายเกี่ยวกับงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ในชวงเชาเปนการเสวนาในหัวขอ “นโยบายในการใหการสนับสนุนทุนวิจัยในชวงป 2558 – 2560” โดย ศ.ดร.สัญชัย.จตุรสิทธา ประธานเครือขายบริหารงานวิจัยภาคเหนือ ตอนบน และคุณปยะฉัตร ใครวานิช เบอรทัน ผูอํานวยการ สวทช.ภาคเหนือ 44 วารสาร ราชมงคลล้านนา


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2557 เวลา 09.00 น. ผศ.อวยพร บัวใบ รองอธิการบดี มทร.ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม กลาวตอนรับ นายวิเชียร พุฒิวิญู ผูวาราชการจังหวัดเชียงใหม ในโอกาสเดินทางเปนประธานเปดงาน “วันเด็กแหงชาติ” ประจําป 2557 ณ โรงอาหาร มทร.ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม งานดังกลาวจัดขึ้นโดย ความรวมมือระหวางจังหวัดเชียงใหม สํานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต 1 และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา โดยไดรับเกียรติจาก นายสินอาจ ลําพูนพงษ ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงใหมเขต 1 กลาวรายงานการจัดงาน ในการนี้ ผูวาราชการไดอานสาร นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เนื่องในโอกาส “วันเด็ก แหงชาติ” ประจําป 2557 หลังจากนั้นไดโอวาทและมอบเกียรติบัตรให เด็กและเยาวชนดีเดนประจําป 2557 และเด็กไทยมีคุณธรรมอีกดวย

..............................................................................................................................................................................................

จัดกิจกรรมเดินเทิดพระเกียรติ ครั้งที่ 8

มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ จัด กิจกรรมเดินเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 8 ในวันที่ 8 กุมภาพันธ 2557 จากสนามฟุตบอล มทร.ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม ถึงสวนสัตวเชียงใหม โดยไดรับ เกียรติจาก รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา กลาวราช สดุดีแดองคสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี และกลาวเปดงาน ซึ่งรายไดจากการ จําหนายบัตรเมื่อหักคาใชจายแลวมหาวิทยาลัยฯ จะได นําขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี โดยเสด็จพระราชกุศล ตามพระราชอัธยาศัยตอไป

..............................................................................................................................................................................................

เทคโนเรดิโอ จัด “ปนรักใหนอง ” ใหรอยยิ้ม ใหความรู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม รวมกับ สถานีวิทยุกระจายเสียง มทร. ลานนา FM 97.25 MHz “เทคโนเรดิโอ” และสโมสรนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร จัด กิจกรรม “ราชมงคลลานนาปนรักใหนอง” ครั้งที่ 1 เพื่อบริจาค ทุนทรัพยและสิ่งของใหแกเด็กและเยาวชนในถิ่ทุรกันดารเมื่อวัน ที่ 13-14 กุมภาพันธ 2557 ณ โรงเรียนบานปาไฮ จังหวัด เชียงใหม โดยมีการแสดงของศิลปนจาก KPN การแขงขันจรวด ขวดนําของนักเรียน ดวย

เทคโนเรดิโอ “ปันรักให้น้อง ” วารสาร ราชมงคลล้านนา 45


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

เดินเทิดพระเกียรติฯการกุศล แด่สมเด็จพระเทพฯ

เมื ่ อ วั น ที ่ 22 กุ ม ภาพั น ธ์ 2557 มทร.ล า นนา น า น จัดกิจกรรมเดินเทิดพระเกียรติฯการกุศล ถวายแดสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมี รศ.คมสัน อํานวยสิทธิ์ รองอธิการบดี เปนประธานในพิธี พรอมดวยผูบริหาร คณาจารย บุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษา และประชาชน พร อ มใจกั น ร ว มกิ จ กรรม ดวยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณฯ ที่พระองคทรงมีพระเมตตาใน การเสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค พระราชทานปริญญาบัตร แกบัณฑิต และมหาบัณฑิต มทร.ลานนา อีกทั้งภายในงานยังได จับสลากรางวัลใหแกผูที่มารวมงานดวย

โครงการฝึกอบรมวิชาชีพ

การทําเบเกอรี่ ให้กับผู้ต้องขังหญิง คลินิกเทคโนโลยี มทร.ลานนา นาน นําโดย ผศ.มลิวรรณ กิจชัยเจริญ และคณาจารย เจาหนาทีส่ าขาอุตสาหกรรม เกษตร คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยี ก ารเกษตร ร ว มกั บ เรื อนจํ าจั งหวั ด น าน จั ด โครงการ ฝกอบรมวิชาชีพ การทําเบเกอรี่ ให กับผูตองขังหญิง โดยไดรับเกียรติจาก รศ.ดร.คมสัน อํานวยสิทธิ์ รองอธิการบดี เป น ประธานในพิ ธ ี เ ป ด โครงการ ณ เรื อนจําจัง หวัดน าน เมื ่ อ วั น ที ่ 24 - 26 มีนาคม 2557

46 วารสาร ราชมงคลล้านนา

โครงการพัฒนากยภาพบุคลากรในการ ขับเคลื่อนระบบประกันคุณภาพการศึกษา คณาจารย์ เจาหนาที่ และนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีการเกษตรเขารวมอบรมในโครงการพัฒนาศักยภาพ บุคลากรในการขับเคลื่อนระบบประกันคุณภาพการศึกษา โดยมี รศ.ดร.คมสัน อํานวยสิทธิ์ รองอธิการบดี เปนประธานเปดโครงการ ดังกลาว โดยมี ดร.นาวิน พรมใจสา อาจารย จากมหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงราย เปนวิทยากร ไดมาใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับ ตัวบงชี้และการจัดเอกสารเพื่อรอรับการตรวจประเมินของ สกอ. และ สมศ. และกิจกรรมการปฏิบัติการแตละองคประกอบของ ระบบประกันคุณภาพการศึกษา เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557 ณ หองประชุมพุทธรักษา มทร.ลานนา นาน

พิ ธ ี ถ วายราชสดุ ด ี และทํ าบุ ญ ตั ก บาตร รศ.ดร.คมสัน อํานวยสิทธิ์ รองอธิ ก ารบดี มทร. ลานนา นาน พรอมดวย คณะผูบ ริหาร คณาจารย เจาหนาที่ และนักศึกษา ร ว มทํ า บุ ญ ตั ก บาตร พระสงฆจํานวน 9 รูป แล ะ จ ั ดพิ ธ ี ถ วาย พระพรชัยมงคล และ ถวายราชสดุดี เนื ่ อ งใน วโรก า ส มหามงคลวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ดวยความจงรัก ภักดีและสํานึกในมหาพระกรุณาธิคุณเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2557 ณ มทร.ลานนา นาน


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ เกี่ยวกับค่าใช้จ่าย(การคลัง) กองคลัง มทร.ลานนา จัดโครงการประชุมเพื่อทบทวนและถายทอดองค ความรูเกี่ยวกับคาใชจายสําหรับผูใหบริการและผูรับบริการ เพื่อถายทอดองคความ รูเกี่ยวกับขั้นตอนการจายเงินยืม /เงินทดรองราชการ/ หลักเกณฑอัตราการเบิกจาย เงินคาใชจายเดินทางไปราชการ การฝกอบรม การจัดงานและการจัดประชุม/วินัยงบ ประมาณและการคลัง/ ความรับผิดทางละเมิด การบริหารความเสี่ยงและการควบคุม ภายใน เมื่อที่ 13 มีนาคม 2557 ณ มทร.ลานนา นาน

โครงการอบรมเทคนิคการวัดค่าสี เพื่อการประยุกต์ใช้ในงานวิจัย สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร จัดโครงการฝกอบรมเทคนิคการวัดคาสีเพื่อการประยุกตใชในงานวิจัย โดยอาจารย วิรัน วิสุทธิธาดา ผูชวยคณบดีฝายวิจัยและพัฒนา เปนประธานเปดโครงการฝกอบรม โดย คุณอุศนา โซลาย จากบริษัท คัลเลอ โกลโบล จํากัด เปนวิทยากรพิเศษใหความ รูเกี่ยวกับเทคนิคเรื่องสีและการวัดคาสีดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2557 ณ อาคารเรียนสาขาอุตสาหกรรมเกษตร มทร.ลานนา นาน

สัมมนาปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ ปีการศึกษา 2556

นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาพืชศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การเกษตร จัดงานสัมมนาปญหาพิเศษทางพืชศาสตร โดยไดรับเกียรติจาก รศ.ดร.คมสัน อํานวยสิทธิ์ รองอธิการบดี กลาวเปดงานสัมมนาปญหาพิเศษ ทางพืชศาสตร โดยมีคณาจารย และนักศึกษา สาขาพืชศาสตรและ สาขาภู ม ิ ท ั ศ น เข า ร ว มรั บ ฟ ง และแสดงความคิ ด เห็ น ในการสั ม มนาของ นั กศึ ก ษา ระหว างวั นที่ 4-5 มีน าคม 2557 ณ หอ งประชุ มพุ ท ธรั ก ษา มทร.ลานนา นาน

โครงการอบรมค่ายสุขภาพดี วิถีคนทํางาน มทร.ล้ านนา น า น ร ว มกั บ งานส ง เสริ มสุ ข ภาพ กลุ  มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลนาน จัดโครงการอบรมคายสุขภาพดี วิถีคนทํางาน เพื่อความครอบคลุม การสรางเสริมสุขภาพในกลุมวัยทํางาน และสรางองคกรตนแบบดานการสรางเสริมสุข ภาพ “ปลอดโรค ปลอดภัย กายเปนสุข” โดยไดรับเกียรติจาก นายพิษณุ ขันติพงษ ผู  อ ํ า นวยการโรงพยาบาลน า น เป น ประธานเป ด โครงการอบรม เมื ่ อ วั น ที่ 1 เมษายน 2557 ณ หองประชุมพูภูคา มทร.ลานนา นาน วารสาร ราชมงคลล้านนา 47


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

สาขาการจัดกการ มทร.ล้านนา ลําปาง จัดโครงการสัมมนาวิชาการ “เรียนรู้สู่อีกขั้น เพื่อแข่งขันในสนาม AEC”

สาขาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร.ลานนา ลําปาง จัดโครงการ “เรียนรูสูอีกขั้นเพื่อแขงขันในสนาม AEC” โดย ดร.วิ ร ิ ย ะ  ชั ย พาณิ ช ย เจ า ของและผู  ก  อ ตั ้ ง เว็ บ ไซต เ อ็ น ดู โซน www.eduzones.com และ www.ajwiriya.com เปนวิทยากร เมื ่ อ วั น ที ่ 13 กุ ม ภาพั น ธ 2557 ณ ห อ งบรรยายรวมเฉลิ ม พระเกี ย รติ 80 พรรษา มทร.ลานนา ลําปาง

มทร.ล้านนา ลําปาง ร่วมจัดนิทรรศการเชิงสาธิต ในงานรําลึกวันประวัติศาสตร์รถไฟ รถม้าลําปาง ครั้งที่ 15 สาขาวิชาวิทยาศาสตร สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร และสาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร มทร.ลานนา ลําปาง รวมจัดนิทรรศการ เชิงสาธิตในงานรําลึกวันประวัติศาสตรรถไฟ รถมาลําปาง ครั้งที่ 15 วันที่ 1-5 เมษายน 2557 ณ สถานีรถไฟนครลําปาง กิจกรรมภายใน งานมีบริการเครื่องดื่มนํ้าสับปะรดแท 100% และผลิตภัณฑแปรรูปจากสับปะรด ในการออกบูธจัดกิจกรรมครั้งนี้ไดรับความสนใจ จากผูรวมงานเปนจํานวนมาก

สาขาวิชาการจัดการราชมงคลลําปาง

จัดโครงการนําเสนอแผนธุรกิจ (Business Plan) ครั้งที่ 3 สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร.ลานนา ลําปาง จัดโครงการนําเสนอแผนธุรกิจ สําหรับนักศึกษา สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร เมื่อวันที่ 21 กุ ม ภาพั น ธ 2557 เพื ่ อ ให น ั ก ศึ ก ษาได น ํ า ไปเป น ประสบการณในการเรียนรูในการทํางานที่สามารถนํา ไปใชไดจริง ฝกแกไขปญหาเฉพาะหนา และสามารถเขียนแผนธุรกิจได 48 วารสาร ราชมงคลล้านนา


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

อาจารย์ มทร.ล้านนา ลําปาง เป็นวิทยากร ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การทําถั่วเหลือง วิทยุราชมงคลลําปางร่วมโครงการอบรม หลักสูตรผู้ประกาศในกิจการกระจายเสียง หมักเทมเป้ อาจารย์สุพัฒน์ ใต้เวชศาสตร์ อาจารยประจําสาขาวิชา และกิจการโทรทัศน์ ระดับต้น

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร มทร.ลานนา เปนวิทยากร ฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ การทําถั่วเหลืองหมักเทมเป ใหแกนักศึกษา พยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตร ป 1 เมื่อที่ 15 มีนาคม 2557 ณ มทร.ลานนา ลําปาง เพื่อใหนักศึกษาเขาใจกระบวนการถนอม อาหาร โดยกระบวนการหมักจากเชื้อราไรโซปส โอลิโกสปอรัส (Rhizopus oligosporus) ทําใหรสชาติของเทมเป มีลักษณะที่ แตกตางจากการบริโภคถั่วเหลืองทั่วไป อีกทั้งยังมีคุณคาทางอาหาร เพิ่มขึ้น

สถานีวิทยุกระจายเสียง เครือขายการศึกษาบริการ สาธารณะ มทร.ล า นนา ลํ า ปาง FM 107.50 MHz ส ง ตั ว แทน สถานีเขารวมอบรมโครงการหลักสูตรผูประกาศในกิจการกระจาย เสียงและกิจการโทรทัศน ระดับตน เมื่อวันที่ 20 - 22 กุมภาพันธ 2557 ณ มหาวิทยาลัยแมโจ เพื่อเตรียมความพรอมดานวิชาชีพ ของบุคลากรในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน เปนจุด เริ่มตนของการพัฒนาดานวิชาชีพและใหผูเขารวมอบรมนําความ รู มาปรับใชกับการดําเนินงานสถานีวิทยุฯตอไป

ราชมงคลลําปาง จับมือ มสธ. อข่ายสถาบันการศึกษา จ.ลําปาง และ OTOP พร้อมขับเคลื่อนการ และเครื จัดโครงการด้านงานประกันคุณภาพการศึกษา การประชุมคณะทํางานด้านการแปรรูป

แก้ไขปัญหาสับปะรดจังหวัดลําปาง

ผศ.มนูญ เมฆอรุณกมล รองอธิการบดี มทร.ลานนา ลําปาง เปนประธานเปดประชุมคณะทํางานดานการแปรรูปและ OTOP ซึ่งเปนหนึ่งในคณะทํางานขับเคลื่อนการแกไขปญหา สับปะรดจังหวัดลําปาง เพื่อแกปญหาผลผลิตราคาตกตํ่า และ พัฒนาขับเคลื่อนสับปะรดจังหวัดลําปาง ซึ่งเปนหนึ่งในพันธกิจ ของมหาวิ ท ยาลั ย ฯด า นการวิ จั ย และบริ ก ารวิ ช าการสู ชุ ม ชน พัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรผูปลูกสับปะรดจังหวัดลําปาง เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ 2557 ณ หองประชุมสํานักบริหาร มทร.ลานนา ลําปาง

ฝ่ายกิจการนักศึกษา กองการศึกษา สํานักประกันคุณภาพ การศึ ก ษา คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ก ารเกษตร คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ลานนา ลํ า ปาง รวมกับ ศูนยวิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ลําปาง และเครื อ ข า ยสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาภายในจั ง หวั ด ลํ า ปาง จั ด กิ จ กรรมโครงการสร า งเครื อ ข า ยพั ฒ นาคุ ณ ภาพในสถาบั น อุดมศึกษา และระหวางสถาบันอุดมศึกษา การประเมินการประกัน คุณภาพการศึกษาของสถาบันการศึกษา เพื่อขอรับการสนับสนุน งบประมาณ การประเมินผลและการรายงานผลการจัดกิจกรรม และการเปนวิทยากรกลุมสัมพันธสําหรับการจัดกิจกรรม เมื่อวันที่ 18-19 มกราคม 2557 ณ อาคาร 80 พรรษา มทร.ลานนา ลําปาง

วารสาร ราชมงคลล้านนา 49


สรุปข่าวรอบรั้ว rmutl

มทร.ล้านนา สร้างเครือข่ายการศึกษา MOU ร่วมกับ TJUT พัฒนาการศึกษาสู่ระดับอาเซียน

มทร.ล้านนา ลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ (Cooperation Agreement) รวมกับ Tianjin University of Technology (TJUT) แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อเปนการสรางความรวมมือใน ดานการทํางานวิจัยรวมของบุคลากรสายวิชาการ การแลกเปลี่ยนบุคลากรในรูปแบบของวิทยากร การเขารวมประชุม สัมมนา ฝกอบรม และกิจกรรมดานวิชาการอื่นๆและการแลกเปลี่ยนนักศึกษาดาน วิชาการ วิจัย และวัฒนธรรมโดย รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มทร.ลานนา พรอมดวย คณะผูบริหารรวมใหการตอนรับ และเปนเกียรติในพิธีลงนามบันทึกขอตกลงในครั้งนี้ เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2557 ณ หองประชุมสํานักงานอธิการบดี มทร.ลานนา

มทร.ล้านนา ขยายเครือข่ายทางการศึกษาในเขตประเทศอาเซียน

มทร.ล้านนา ลงนามความรวมมือทางวิชาการ รวมกับ COLOMBO PLAN STAFF COLLEGE TECHNICIAN EDUCATION ในการรวมกิจกรรม การสรางความรวมมือสําหรับการฝกอบรมอยางมือ อาชีพ การสรางโอกาสแกบุคลากรและการพัฒนาการฝกอบรมเพื่อการพัฒนาสําหรับบุคลากร โดยมี รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มทร.ลานนา พรอมดวยคณะผูบริหาร และคณาจารยรวม ใหการตอนรับ Dr.Mohammad Naim Yaakub Directir General Colombo Plan Staff College for Technician Education และรวมลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือทางวิชาการ ครั้งนี้ โดยถือ เปนการสรางเครือขายทางการศึกษาในเขตอาเซียน ซึ่งในโอกาสนี้ยังไดเยี่ยมชมการดําเนินงานและหอง ปฏิบัติของคณะวิศวกรรมศาสตรดวย เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ 2557 ณ มทร.ลานนา

ราชมงคลฯล้านนา ร่วมเป็นส่วนหนึ่งแก้ไขปัญหาความยากจน ผศ.ประพัฒน เชื้อไทย รองอธิการบดีดานบริหารยุทธศาสตรและแผนพัฒนา พรอมดวย ผศ.อวยพร บัวใบ รองอธิการบดี มทร.ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม รวมพิธีเปดกิจกรรม “มหกรรมการ ปองกันและแกไขปญหาความยากจน” เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ 2557 ณ ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม โดยไดรับเกียรติจาก นายวิเชียร พุฒิวิญู ผูวาราชการจังหวัดเชียงใหม เปนประธานในพิธีเปดกิจกรรม อีกทั้งยังไดรวมลงนามบันทึกความรวมมือในโครงการการลดความเลื่อมลําดานรายไดดวยการขจัด ความจน ในชนบทจังหวัดเชียงใหม ซึ่งทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ยังไดรวมจัด นิทรรศการแสดงผลงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ และผลิตภัณฑตางๆ ดวย

พิธีลงนามบันทึกความร่วมมือ ว่าด้วยความร่วมมือด้านเครือข่ายการ ประกันคุณภาพการศึกษา รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มทร.ลานนา รวมพิธีลงนามบันทึกความรวมมือ วา ดวยความรวมมือดานเครือขายการประกันคุณภาพการศึกษา ระหวางสถาบันการศึกษา จํานวน 5 แหง ในจังหวัดเชียงใหม ประกอบดวย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยนอรทเชียงใหม มหาวิทยาลัยฟารอีสเทรน และมหาวิทยาลัยราชมงคลลานนา เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2557 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม โดยมี ผศ.มนูญ เมฆอรุณกมล รองอธิบการบดี มทร.ลานนา ลําปาง และ ดร.สุเทพ ทองมา ผอ.สํานักงานประกันคุณภาพการศึกษา เขารวมเปนพยานพิธีลงนามในครั้งนี้

มทร.ล้านนา ขยายเครือข่ายความร่วมมือพัฒนาการเรียนและงานวิจัย ร่วมกับวิทยาลัยชุมชน ฯ มทร.ล้านนา ลงนามความรวมมือทางวิชาการ กับวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน เพื่อสรางเครือขาย ทางวิชาการของอาจารยและนักศึกษา โดยรศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี พรอมดวย ผศ.ประพัฒน เชื้อไทย รองอธิการบดี ดานบริหาร ยุทธศาสตรและแผน และ ผศ.สนิท พิพิธสมบัติ รองอธิการบดี ดานวิชาการ และกิจการนักศึกษา รวมลงนามความรวมมือ โดยมี นายคมสัน คูสินทรัพย ผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน พรอมคณะรวมลงนามในครั้งนี้ ณ ศาลาราชมงคล มทร.ลานนา เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2557 50 วารสาร ราชมงคลล้านนา


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

การสัมมนาการพัฒนาเอกสารประกอบการสอนภาษาอังกฤษ

รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มทร.ลานนา เปนประธานเปดและบรรยายพิเศษ ในการสัมมาเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาเอกสารประกอบการสอนภาษาอังกฤษ 6 รายวิชาหลัก มทร.ลานนา” โดยมีอาจารยผูสอนภาษาอังกฤษ จาก มทร.ลานนา 6 พื้นที่ เขารวมในการสัมมนา ดังกลาว ซึ่งภายหลังเสร็จสิ้นพิธีเปดการสัมมนา ประธานในพิธี รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ ไดเขา ประชุมกลุมยอยรวมกับอาจารยชาวตางชาติ เพื่อหารือแนวทางการพัฒนาวิธีการสอน ตลอดจนอุปสรรค ปญหาที่มีผลกระทบตอการเรียนรูดานภาษาอังกฤษของนักศึกษาและบุคคลากร มทร.ลานนา เพื่อหา แนวทางแกไข ใหนักศึกษาและบุคคลากรของมหาวิทยาลัยสามารถพัฒนาทักษะดานภาษาอังกฤษ ในระดับที่สูงขึ้นตอไป เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2557 ณ โรงแรมเชียงใหมแกรนดวิว เชียงใหม

พิธีวันสถาปนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ครบรอบ ปีที่ 9 ศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา จัดงาน “วันสถาปนามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ครบรอบ 9 ป” เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2557 ณ ศาลาราชมงคล มทร.ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม โดยไดรับเกียรติจาก รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทักษ อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เปนประธาน โดยมีพิธีทางศาสนา พระสงฆ จํานวน 9 รูป เจริญพุทธมนต และถวายจตุปจจัยไทยธรรท หลังจากนั้นเปนการแสดงธรรมบรรยาย เรื่อง “ธรรมะสราง สุข” โดยพระครูธีระสุตพจน (พระมหาสงา ธีระสํวโร) พิธีถวายเครื่องราชสักการะ กลาวสํานึกในพระ มหากรุณาธิคุณ ที่พระราชทานนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา จากนั้นประธานในพิธีได มอบรางวัล “เพชรราชมงคล” “คนดีศรีราชมงคล” แกบุคคลที่ไดรับคัดเลือกจํานวนทั้งสิ้น 66 คน

อธิการบดีเป็นประธานพิธีทําบุญครบรอบ 30 ปี มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ (เจ็ดยอด) เมื่อวันจันทร์ที่ 13 มกราคม 2557 เวลา 08.09 น. รศ.ดร.นํายุทธ สงคนาพิทักษ อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ใหเกียรติเปนประธานในพิธีเจริญพระพุทธมนตเนื่องในโอกาศ ครบรอบ30ป มทร.ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม (เจ็ดยอด) และพิธีเบิกเนตรองคพระวิษณุกรรม หลังจากการบูรณะโดยมีอาจารยอาวุโส บุคลากรปจจุบัน ศิษยเกา และนักศึกษารวมงานอยางอบอุน ณ ลานพระวิษณุรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม (เจ็ดยอด)

การอบรมการตรวจสอบและการความคุมการปฏิบัตงานด้านการคลัง สําหรับผู้บริหาร กองคลัง สํานักงานอธิการบดี มทร.ลานนา จัดโครงการฝกอบรมเกี่ยวกับการตรวจสอบและ การควบคุมการปฏิบัติงานดานการคลังภาครัฐสําหรับผูบริหาร เพื่อใหผูบริหารตระหนักถึงความรับผิด ชอบตอกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานดานการเงินการคลัง และใหทราบถึงวิธีการตรวจสอบ และการควบคุมการปฏิบัติงานในระบบ GFMIS และระบบ e-GP ไดรับเกียรติจาก รศ.ดร.นํายุทธ สงคธนาพิทกั ษ อธิการบดี มทร.ลานนา เปนประธานเปด ณ หองประชุม 2 อาคารอํานวยการ มทร.ลานนา ภาคพายัพ เชียงใหม เมื่อวันที่ 16-17 มกราคม 2557

การบูรณาการการจัดการความรู้สู่ชุมชนและประชาคมอาเซียน ดร.ภาสวรรธน์ วัชรดํารงคศักดิ์ รองอธิการบดี ดานวิจัยและการถายทอดเทคโนโลยี และ บุคลากร มทร.ลานนา เขารวมโครงการประชุมสัมมนาเครือขายการจัดการความรู มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล สถาบันการพลศึกษา และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป “การบูรณาการการจัดการ ความรูสูชุมชนและประชาคมอาเซียน” 12 - 13 กุมภาพันธ 2557 ณ มทร.สุวรรณภูมิ ในวันที่ 12 กุมภาพันธ 2557 โดยมี นายวิทยา ผิวผอง ผูวาราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนประธานเปด มีการบรรยายทางวิชาการ โดยคุณดํารง พุฒตาล และกิจกรรมการประกวดแนวปฏิบัติที่ดี วารสาร ราชมงคลล้านนา 51


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

โครงการ “ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษา”

ฝ่ายกิจกรรมนักศึกษา มทร.ลานนา พิษณุโลก รวมกับ สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดพิษณุโลก จัดโครงการ “ปลูกฝง คุณธรรมจริยธรรม ในสถานศึกษา” เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2557 โดยมีนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะ บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร และคณะวิศวกรรมศาสตร เขารวม กิจกรรมเปนจํานวนมาก

โครงการ Q อาสา มุ่งสู่การ พัฒนา Smart Farmer รุ่นที่ 1 การอบรมส่งเสริมความรู้การนําเครื่องมือ

GPS มาใช้ในงานส่งเสริมการเกษตรฯ

ดร.ทินกร ทาตระกูล รองอธิการบดี มทร.ลานนา พิษณุโลก เปนประธานเปดการอบรมใหความรูในการนําเครื่องมือ GPS มาใช ในงานส ง เสริ ม การเกษตรและการพัฒนาสิ่งแวดลอมในชนบท ณ มทร.ลานนา พิษณุโลก เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2557 โดยการอบรม ครัง้ นีไ้ ดรบั เกียรติจาก คุณโศรยา เส็งชืน่ นักวิชาการสงเสริมการเกษตร ชํานาญการ สํานักงานเกษตรจังหวัดพิษณุโลก เปนวิทยากรบรรยาย ใหความรูกับนักศึกษาจํานวน 200 คน

กิ จ กรรมสร้ า งเครื อ ข่ า ยป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต

ดร.ทินกร ทาตระกูล รองอธิการบดี มทร.ลานนา พิษณุโลก รับมอบอุปกรณจาก สํานักงาน ป.ป.ช. จังหวัดพิษณุโลก เพื่อนํามา จัดกิจกรรมสงเสริมสนับสนุนและประสานใหเกิดการเสริมสรางทัศนคติ คานิยมในความซื่อสัตยสุจริต ในสถาบันการศึกษาทุกระดับ เพื่อสราง เครือขายปองกันและปราบปรามการทุจริต เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2557 ณ มทร.ลานนา พิษณุโลก

52 48 วารสาร ม.ราชมงคลล้ เทคโนโลยีารนนา าชมงคลล้านนา

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ลานนา พิษณุโลก รวมกับ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหาร แห ง ชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ จั ด โครงการ ฝ ก อบรมเชิงปฏิบัติการ Q อาสา มุงสูการพัฒนา Smart Farmer รุ  น ที ่ 1 โดยได ร ั บ เกี ย รติ จ าก นายสุ ร ั ต น สงวนทรั พ ย เกษตรจังหวัดพิษณุโลกเปนประธานเปดงาน เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2557 ณ มทร.ลานนา พิษณุโลก

อบรมการผลิตจุลินทรีย์เพื่อ

ควบคุมโรค แมลงในนาข้าว ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ มทร.ลานนา พิษณุโลก จัดการอบรม การผลิตจุลินทรียเพื่อควบคุมโรค แมลงในนาขาว (เชื้อราบิวเวอเรีย และ ไตรโคเดอรมา)โดยไดรับเกียรติจาก ดร.ยรรยง เฉลิมแสน ผศ.ดร.มาลี ตั้งระเบียบ และ ผศ.สุมาลี พรหมรุกขชาติ งานอารักขาพืช สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มทร.ล า นนา เป น วิ ท ยากรในการอบรม ณ ห อ งประชุ ม อาคารวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศท มทร.ลานนา พิษณุโลก เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2557


สรุปข่าวรอบรั้ว

rmutl

มทร.ล้านนา จับมือ 9 สถาบันอุดมศึกษาภาคเหนือ สร้างเครือข่ายงานวิจัยเชิงวิชาการ รศ.ดร.นํายุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เปนประธานเปดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง“ใหนักวิชาชีพไทยที่อยูตางประเทศกลับ มารวมพัฒนาการอุดมศึกษาไทย (ATPAC)” ระหวางวันที่ 20-21 มิถุนายน 2557 ณ โรงแรม เชียงใหมแกรนดวิว เพื่อสรางองคความรูดานบริหารธุรกิจแลกเปลี่ยนประสบการณดานการ สอนและงานวิจัยในกลุมเครือขาย สรางความสัมพันธระหวางนักวิชาการในประเทศไทยและ นักวิชาการที่ทํางานอยูตางประเทศและในโอกาสนี้ ยังไดมีการลงนามบันทึกขอตกลงความ รวมมือการจัดตั้งเครือขายงานวิจัยเชิงวิชาการรวมกับมหาวิทยาลัยในเขตภาคเหนือตอนบน 10 สถาบัน เพื่อรวมเปนเครือขายงานวิจัยเชิงวิชาการรวมกันในสถาบันอุดมศึกษาของไทย โครงการนี้ เ กิ ด ขึ้ น จากความร ว มมื อ ของสมาคมนั ก วิ ช าชี พ ไทยในอเมริ ก าและ แคนาดา (ATPAC) รวมกับสํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กอตั้ง สมาคมเมื่อป พ.ศ.2534 มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีในประเทศไทย และมุงใหเกิดความรวมมือกันระหวางสมาคมกับองคกรตางๆ ใน ประเทศไทยและประเทศอื่นๆ และเพื่อใหเกิดความสัมพันธอันดีระหวางสมาชิก ปจจุบัน มีสมาชิกคือ กลุมอาจารยมหาวิทยาลัย กลุมนักวิชาการและนักวิจัยในหนวยงานตางๆ นัก ธุรกิจและนักศึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ..............................................................................................................

มทร.ล้านนา จับมือภาคีเครือข่าย สร้าง “ดงลานโมเดล” ต่อยอด “โป่งแพร่โมเดล" คืนรอยยิ้มให้ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา รวมกับศูนยประสาน งานเครือขายการจัดการภัยพิบัติภาคประชาชน จังหวัดเชียงราย จัด โครงการหองเรียนชุมชนตนแบบ "ดงลานโมเดล" เพื่อเปนชุมชน ต น แบบในการเรี ย นรู ห ลั ก การซ อ มแซมบ า นตามหลั ก วิ ศ วกรรมที่ ถูกตอง ระหวางวันที่ 14 - 18 มิถุนายน 2557 ณ บานดงลาน หมูที่ 17 ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย โดยไดรับเกียรติจาก นาย พงษศักดิ์ วังเสมอ ผูวาราชการจังหวัดเชียงราย เปนประธานเปดปาย หองเรียนชุมชน "ดงลานโมเดล" โดยมีวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ จากมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล า นนามาให ค วามรู ทั้ ง ภาค ทฤษฏีและภาคปฏิบัติ พรอมดวยผูชวยศาสตราจารยสนิท พิพิธสมบัติ รองอธิการบดีดานวิชาการและกิจการนักศึกษา คณาจารย และ นักศึกษา รวมใหความรูแกชาวบานในชุมชนดงลาน หลั ง จากนั้ น ได ต อ ยอดโครงการโดยจั ด กิ จ กรรมต อ เนื่ อ ง “โป ง แพร โ มเดล” โดยมี ผศ.อุ ด ม สุ ธ าคํ า รองอธิ ก ารบดี มทร.ลานนา เชียงราย เปนประธานเปดโครงการ “โปงแพรโมเดล” หองเรียนชุมชนเพื่อการสรางและซอมแซมบานตามหลักวิชาการ โดย อาจารยเอกชัย กิตติวรากุล อาจารยประจําคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา และคณะ พรอมดวย คณาจารยและนักศึกษา มทร.ลานนา รวมกับวิศวกรและบุคลากรจาก อบจ.เชียงราย ไดจัดอบรมภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ ตลอดจนสราง ความรูความเขาใจเกี่ยวกับแผนดินไหวเพื่อใหประชาชนตระหนักถึง ความปลอดภัยหากตองมีการกอสรางที่อยูอาศัยในอนาคต วารสาร ราชมงคลล้านนา 53


คอลัมน์ RMUTL CARE

54 วารสาร ราชมงคลล้านนา


คอลัมน์ RMUTL CARE

Special

Gift For You

วารสาร ราชมงคลล้านนา 55


คอลัมน์ ปัญหาสุขภาพ

การส่งเสริมสุขภาพ กับการศึกษา เมื่อกล่าวถึงสุขภาพดี สิ่งที่ควรคํานึงถึง คือ รางกาย จิตใจ สังคม และ วิจารณญาณ หรือ ปญญา ซึ่งตองมีโลกทรรศนที่ถูกตองดวย จึงจะครบองคประกอบของการมีสุขภาพดี ขณะที่การศึกษาเปนกระบวน การที่ทําใหเกิดการเรียนรู เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทั้ง 3 ดาน คือ ความรู ทัศนคติหรือเจตคติ และการปฏิบัติที่เรียกยอกันวา KAP ซึ่งจะ เกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพไมไดเลย หากผูเรียนนั้นมีสุขภาพที่ไมดี สุขภาพกับการศึกษาจึงควรอยูคูกัน โดยคนเราจําเปนตองมีการศึกษา เรียนรู เพื่อดํารงรักษาไวซึ่งสุขภาพที่ดีและปรับปรุงสงเสริมสุขภาพ ตนเอง สุขภาพชุมชน และสุขภาพสังคมใหดียิ่งขึ้น ขณะเดียวกัน คนเราก็จําเปนตองมีสุขภาพที่แข็งแรง เพื่อจะไดศึกษาเลาเรียนได อยางมีประสิทธิภาพ สามารถนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนไดอยางมี คุณคาแทจริง โปรแกรมสุขภาพ หรือ โครงการสุขภาพในสถานศึกษา จึงเปน สิ่งหนึ่งที่ควรพิจารณาถึงแนวทางการพัฒนาเพื่อใหเกิดประโยชนแก นักศึกษาและบุคลากรทุกคน โปรแกรมสุขภาพ หมายถึง การจัดและ ดําเนินงานในดานบริการสุขภาพ การจัดสิ่งแวดลอมใหถูกสุขลักษณะ เอื้อตอการสรางเสริมสุขภาพ และการสอนสุขศึกษา ซึ่งเปนการพัฒนา KAP เกี่ยวกับสุขภาพและองคประกอบอื่นๆ ที่มีผลตอสุขภาพของตนเอง ชุมชน และสังคมเพื่อมุงหวังใหทุกคนมีสุขภาพที่ดีขึ้น โดยการสอนมิได หมายถึง การกําหนดเปนหนวยกิตไวในวิชาหนึ่งวิชาใด แตควรเปนการ สอดแทรก ผสมผสานเขาไปใน วิชาทุกหลักสูตร รวมทั้งในกิจกรรมเสริม หลักสูตรตางๆ เพื่อใหเกิดเปนพฤติกรรมสุขภาพอยางแทจริงและยั่งยืน

56 วารสาร ราชมงคลล้านนา

โดย

ผศ.อมรรัตน พรหมศรี

การจัดและดําเนินงานในด้านบริการสุขภาพ จะประกอบดวย การตรวจและติดตามผล การปองกันโรคการรักษาเบื้องตนและ สงเสริมสุขภาพ รวมทั้งบริการดานสวัสดิภาพและการปฐมพยาบาล ซึ่งจะเปนการดําเนินงานที่ตอเนื่องตลอดเวลา ตองคิดกิจกรรม รูปแบบ การใหบริการ รูปแบบการรณรงค เพื่อใหเกิดผลดังเปาหมายที่วางไว ขณะที่ปจจุบันกระแสการตื่นตัวดานสุขภาพที่สูงขึ้น ทําใหเกิดการจัด บริการดานสุขภาพหลากหลายรูปแบบ มีผลิตภัณฑดานสุขภาพและ บรรดาอาหารเสริมตางๆ เพิ่มขึ้นอยางมากมาย แตหนวยงานของรัฐ ที่มีหนาที่กํากับควบคุมคุณภาพสินคาและบริการเหลานี้ ไมสามารถ ตรวจสอบควบคุมไดทั่วถึง ทําใหเกิดชองวางที่มีการเอารัดเอาเปรียบ ทําใหเกิดความเชื่อผิดผิด หรือหลอกลวงผูบริโภค ทําใหเกิดความ สิ้นเปลืองเงินทอง เสียโอกาสในการรักษา ไปจนถึงเสียชีวิตได จึง จําเปนตองมีการรณรงคใหเกิดความรูเทาทันสินคาและบริการตางๆ ใหเกิดการฉลาดเลือก ฉลาดกิน ฉลาดใช สวนการแกปญหาสุขภาพ และสวัสดิภาพ อาจตองมีทั้งการจัดบริการ การใหการศึกษาขอมูล และการออกกฎกติกาบังคับใชเพื่อใหเกิดผลตอการปฏิบัติที่แทจริง การจัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ จึงหมายถึง สิ่งแวดลอม ทางกายภาพ สิ่งแวดลอมทางดานจิตใจสังคมและสุขาภิบาลทั่วไป ที่ตองปลอดภัย เหมาะสมและเพียงพอ โดยครอบคลุมทั้งอาคารและ บริเวณ นํ้าดื่ม สภาพแวดลอมในการศึกษาเลาเรียน เอื้อตอสุขภาพ และการสรางเสริมสุขภาพ ซึ่งสิ่งเหลานี้ไมใชเปนเพียงหนาที่ของบุคคล กลุมใดหรือฝายใดดูแล หากแตตองเปนความรวมมือของทุกคนภายใน มหาวิทยาลัย ที่จะชวยกันรวมมือดูแลรักษา การสอนสุขศึกษา ดังที่กลาวมานั้นไมควรเปนเพียงการเรียน ในวิชาหนึ่งวิชาใด หากแตตองมีทั้งการสอนแบบสอนโดยตรง สอนแบบ สหสัมพันธ และสอนแบบบูรณาการ ซึ่งตองอาศัยความสนใจและการ ใหความสําคัญของผูบริหาร ที่จะกําหนดเปนนโยบายแลวมอบลงสูผู ปฏิ บั ต ิ ผ  า นสายการบั ง คั บบั ญชา และสนั บสนุ น ให เกิดการสรา ง บรรยากาศโดยรวมใหเปนองคกรที่ใสใจสุขภาพ เปนผูนําในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง โดยไมลืมวาเปาหมาย คือ การปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพมากกวาการจด ทองจํา ทําขอสอบ หรือ การรูแต ไมทํา จึงจะสามารถทําใหมหาวิทยาลัยกาวสูการเปนมหาวิทยาลัย สรางเสริมสุขภาพไดอยางแทจริง ถึงเวลาแล้วหรือยัง ที่ชาวมทร.ล.จะรวมมือกันสรางสุขภาพ ที่ดีใหเกิดขึ้นกับทุกคน โดยอยาลืมวา “สุขภาพที่ดีไมมีขาย อยากได ตองทําเอง”


คอลัมน์ ปัญหาสุขภาพ

Health Promotion and Education The word “Good Health” refers to a condition of physical, mental, and social well-being and the absence of disease or other abnormal conditions. Education also refers to learning processes that generate knowledge which will change 3 perspectives of behavior such as knowledge, attitude, and practice (KAP). However, KAP cannot work out efficiently if learners are not in good health. Therefore, it is necessary for the person to have knowledge in order to promote his/ her health, community health, and social health as well as study efficiency in order to be able to utilize his / her knowledge. The health programs or health in academic institution projects are emphasized on the tendency of development of benefits to students and staff. Health promotion program means managing and operating in health services such as organizing hygienic environmental conditions as well as teaching health education is considered as one of the KAP development plans. Though, the health education subject is considered as a non - credit subject, it should have been taught in all curriculums and support activities which will sustain the good health of students and staff. Organized and operating in health services including with checking and monitoring of disease prevention, treatment and health promotion such as welfare

and first aid which should be provided continuously. Moreover, it should emphasize on activities, service design, and creative campaigns to achieve these goals. At present, the current health awareness trend has been increased which cause a variety of health services. There are various health supplements and all but government agencies cannot monitor and control thoroughly on the quality of these products and services. Therefore customers have been taken advantage such as wrong understanding towards product and services which they might waste a lot of money, lose an opportunity to get proper treatment, or even lead to death. Therefore, it is quite necessary to campaign on products and service awareness so customers will understand products and services safely.

The environmental hygiene refers to appropriate physical environment, psychological, social and general sanitation such as building, drinking water, and study environment which is conducive to health and health promotion. These are not the only responsibility of any specific person, group or division administrator, but it is a collaboration of everyone within the university. Health Education studies are not a part of any specific subjects. However, it should be taught directly and internationally assigned from the policy to implementation. Furthermore, the top level leader should support and promote health concerns throughout the organization and become a role model to change behaviors rather than focusing on theoretical approach health to promote within the university.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 57


การปรั บ ตั ว และเ ต รี ย ม ก าร ขอ งน ั ก ศ ึ ก ษ า

ASEAN

การเกิดขึ้นของประชาคมอาเซียน ชี้วาสังคมไทยในอนาคตจะมีความเปลี่ยนแปลง ในหลายเรื่องที่กระทบตอวิถีชีวิตที่เคยดําเนิน มาในอดีต นักศึกษาจึงหลีกเลี่ยงไมไดที่จะตอง เรียนรู ปรับตัวและเตรียมการ (Adaptability and Preparation) ถึงแมสถาบันจะไดเตรียม ความพรอมดานระบบ กลไก และกิจกรรมแลว ก็ตาม แตโดยตัวของกับสถานการณในอนาคต ประเด็ น ที่ นั ก ศึ ก ษาจะต อ งเตรี ย มตนเอง ประกอบดวย 1. การเตรียมด้านลักษณะนิสัย 1.1 นักศึกษาตองมีความกระตือรือรน ทางวิชาการและวิชาชีพที่ตนเองเรียนมากขึ้น 58 วารสาร ราชมงคลล้านนา

กว า เดิ ม หากไม ต อ งเสี ย โอกาสจากการเป ด กวางทางเศรษฐกิจและโอกาสการทํางานที่เพิ่ม ขึ้นในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนโดยเฉพาะ อยางยิ่งผูที่เรียนในสาขาวิชาชีพ 7 สาขาวิชาชีพ ที่ จ ะมี ก ารเคลื่ อ นย า ยแรงงานอย า งเสรี 1.2 พัฒนาความเปนคนมีวินัย มุง เน น ความสามารถในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ภายใต สังคมพหุวัฒนธรรม ควรจะพัฒนาการเรียนรู วินัยที่เพิ่มสูงขึ้นกวาเดิมคือแสดงออกซึ่งการ เคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษยเปนความเคารพ ความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม เปนความมีวินัยนอกจากจะเปนปจจัยเอื้อตอ

ASCC

AEC

APSC

การปรับตัวและเตรียมการของนักศึกษา เพื่อความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน

การเสริมสรางโอกาสการมีงานทําแลวยังสงผล ต อ การเสริ ม สร า งความสงบสุ ข ในภู มิ ภ าค อีกดวย 1.3 พัฒนาคนใหเปนคนมีเปาหมาย การเรี ย นรู ที่ ชั ด เจนโดยพึ ง มี เ ป า หมายที่ จ ะ ทําใหตนมีสมรรถนะที่เพียงพอในการทํางาน ไดทั่วอาเซียนตลอดจนเรียนรูเปาหมายปลาย ทางของการเปนบัณฑิตยุคใหมที่จะเปนตองมี คุณลักษณะที่เพิ่มสูงขึ้นกวาในอดีตที่ผานมา


ก า ร ป ร ั บ ต ั วแล ะ เ ต ร ี ยม ก า ร ข อ ง น ั ก ศ ึ ก ษา

2. การสร้างโอกาสในการเพิ่มพูนสมรรถนะในตน สมรรถนะ คือ ความสามารถที่จะตองแสดงออกมาใหเห็น การเพิ่มพูนสมรรถนะในตน 2.1 นักศึกษาไทยตองเตรียมพรอมสําหรับการเขาสูประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ดังนั้น ทักษะดานภาษาตางประเทศโดยเฉพาะ ภาษาอั ง กฤษซึ่ ง เป น ภาษากลางของประชาคมอาเซี ย นนั ก ศึ ก ษา จึ ง ต อ งสร า งโอกาสการเรี ย นรู แ ละเพิ่ ม เติ ม ทั ก ษะทางด า นภาษา อั ง กฤษให ม ากขึ้ น ให ส ามารถสื่ อ สารได เ พราะป จ จุ บั น การสื่ อ สาร ทางอินเทอรเนตติดตอประสานทางธุรกิจถือวาเปนสิ่งที่ทุกคนควรรู ยิ่ ง รู ม ากยิ่ ง เพิ่ ม ศั ก ยภาพใหกับ ตนเองสามารถติด ตอเชื่อมโยงกั น ได กับประเทศเพื่อนบานความสามารถในการสื่อสารเปนภาษาสากลโดย เฉพาะภาษาอังกฤษจะเปนคุณสมบัติพื้นฐานที่จะประกันความกาวหนา ในอนาคตหรืออาจจะหมายถึงโอกาสในการมีงานทําหรือไมมีงานทําได 2.2 แมวาภาษาอังกฤษจะเปนภาษากลางของอาเซียน แต ทิศทางในอนาคตภาษาจีนจะมีความสําคัญสูงสุดจึงควรใหความสนใน การศึกษาภาษาจีนเชนเดียวกัน นอกจากนี้ควรสรางโอกาสการเรียนรู ภาษาประเทศเพื่อนบาน เพื่อสรางโอกาสใหตนเองสามารถทํางานใน ประเทศเพื่อนบานไดดวย รวมทั้งศึกษาภาษาที่ 3 เชน จีน เกาหลี หรือ ภาษาของเพื่ อ นบ า นในกลุ ม อาเซี ย นเพิ่ ม เติ ม ด ว ยจะดี ม าก 2.3 สรางความสามารถในการทํางานรวมกับผูอื่น ควรพัฒนา ตนเองใหแนใจไดวา สามารถที่จะทํางานกับผูคนตางวัฒนธรรมได ซึ่งถือ เปนศักยภาพที่เพิ่มสูงขึ้นกวาในอดีตที่ผานมา 3. การเตรียมตนเองด้านแนวคิดและทัศนคติ 3.1 นักศึกษาตองเรียนรู ทําความเขาใจในความเปนประชาคม อาเซี ย นว า คื อ อะไรภาพที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จากการรวมกั น เป น ประชาคม อาเซียนในป พ.ศ. 2558 เปนอยางไร และตอไปจะพัฒนาไปเปนอยางไร มี milestones อะไรบาง ตองปรับกรอบแนวคิดของตัวเองใหเปดกวาง มี ค วามสนใจและตระหนั ถึ ง ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น อั น เนื่ อ งมาจากการรวมตั ว ของประเทศต า งๆสู ป ระชาคมอาเซี ย นในส ว นของข อ ดี แ ละ ขอเสียอยางเขาใจ 3.2 นักศึกษารุนใหมจําเปนตองพัฒนาทัศนคติ Care & share กับคนในอาเซียน ถาหากเราไม care เขา เราก็อยูกับเขาไม ได แตขณะเดียวกันเราตอง share ในสิ่งที่เราตองเรียนรูรวมกันใน รากฐานวัฒนธรรมที่แตกตางกันถึงจะทําใหอาเซียนอยูได 3.3 นักศึกษารุน ใหมจาํ เปนตองตระหนักถึงความเปนชาติและ ความดํารงอยูของรัฐชาติ ทบทวนและพิจารณาคานิยมของคนรุนใหมใน ป จ จุ บั น ที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ ต อ ความสุ ข สบายส ว นตั ว ไม ส นใจกิ จ กรรม เพื่ อ สั ง คมและขาดความรู ค วามสนใจใจความเป น ไปของบ า นเมื อ ง หากนั ก ศึ ก ษารุ น ใหม ยั ง คงซึ ม ซั บ รั บ เอาค า นิ ย มเหล า นี้ ไว ก ารดํ า รง รักษาความเปนชาติจะยังคงเปนที่พึ่งที่หวังไดหรือไม

ไทยดวยกันเทานั้นแตเปนคนตางชาติตางวัฒนธรรมที่จะมีจํานวนเพิ่ม มากขึ้ น แนวคิ ด ที่ ค วรจะเสริ มสร า งในตนเองคื อ ทํ า ให ต นเองสามารถ ทํางานไดทั่วอาเซียนทั้งทางดานการเรียนรูการเสริมสรางปฏิสัมพันธ การสื่ อ สารการมี วิ นั ย ในตนเองนอกจากนี้ ก ารเกิ ด ขึ้ น ของประชาคม อาเซียนสอนเราวาเราตองมีวินัยเรียนรูอยูตลอดเวลาอยางหลีกเลี่ยง ไมไดเพราะสังคมแหงอนาคตเปนสังคมใหมท่ีเราไมเคยชินเนื่องจากแตก ต า งจากอดี ต ที่ ผ า นมาความรู เ พื่ อ การดํ า รงตนให อ ยู ร อดใหอยูอยา งมี ความสุขเปนสิ่งที่เราตองแสวงหา จะตองเรงสราง 4.2 การเรียนรูของนักศึกษายุคใหมจึงจําเปนตองปรับทั้ง กระบวนการเรี ย นรู ป รั บ ทั ศ นคติ ที่ จ ะต อ งตระหนั ก ถึ ง ความเป น ชาติ การปรั บ กระบวนทั ศ น ก ารเรี ย นรู ยุ ค ใหม ค วรเป น ไปอย า งอย า งมี เปาหมายอยางคนที่รูเทาทันสถานการณการสรางความสามารถในการ ทํ า งานร ว มกั บ ผู อื่ น ที่ ต า งวั ฒ นธรรมได แ ละเรี ย นรู ป ระเทศเพื่ อ นบ า น ทั้ ง ในด า นประวั ติ ศ าสตร แ ละวั ฒ นธรรมเพื่ อ ให เ กิ ด ความเข า ในอั น ดี ระหวางกัน 4.3นักศึกษาควรเรียนรูประเทศเพื่อนบานทั้งในดานประวัติศาสตร และวั ฒ นธรรมเพื่ อ ให เ กิ ด ความเข า ใจอั น ดี ร ะหว า งกั น การเรี ย นรู ประวั ติ ศ าสตร ใ นอดี ต สอนให เรารั ก ชาติ บ นความเข า ใจที่ ค าดเคลื่ อ น หากเขาใจวาทุกวัฒนธรรมลวนเปนสิ่งที่มีคุณคาตอคนในแตละสังคม การมีมุมมองตอประเทศเพื่อนบานจะนําไปสูความเขาใจกันมากยิ่งขึ้น 5. ติดตามข้อมูลข่าวสารความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน และความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับประเทศเพื่อนบ้านอีก 9 ประเทศ นักศึกษาตองมีความสนใจและตระหนักถึงผลที่เกิดขึ้นอันเนื่อง มากจากการรวมตัวของประเทศตางๆสูประชาคมอาเซียนในสวนของ ประโยชนที่ไดรับและขอควรระวังอยางเขาใจเพราะจะนําไปสูความเทา ทัน การปรับตัว เตรียมการ มิใชรอใหเกิดผลขึ้นกอนจึงคอยปรับตัวซึ่ง อาจจะทําใหเราไมทันการการเกิดขึ้นของประชาคมอาเซียนจะกอใหเกิด ความเปนสังคมพหุวัฒนธรรมเพิ่มมากขึ้น การเรียนรูเกี่ยวกับประเทศ เพื่อนบานจะทําใหไดรับประโยชนสําหรับการออกไปทํางานหรือการทํา ธุ ร กิ จ ในประเทศต า งๆแต สิ่ ง สํ า คั ญ ที่ ต อ งควบคู กั น คื อ ต อ งรู จั ก ตนเอง ดวยวามีเอกลักษณอะไรมีศักยภาพแคไหน 6. ด้านการรู้จักตนเอง วิกรม กรมดิษฐ ไดใหขอคิดแกนักศึกษาวา กอนเขาสูประชาคม อาเซียนนั้น สิ่งที่นักศึกษาตองตระหนักรูใหมากที่สุด คือ การรูจักตนเอง โดยที่นักศึกษาควรจะตองคนหาตัวตนของตนวา เราคือใคร เราตองการ อะไร เรามีความชอบความสนใจ ความถนัดอะไรและเราจะเดินเขาสู ตลาดไปทํางานอะไรโดยที่ตลาดมีความตองการทางดานไหนการที่จะพบ คําตอบดังกลาวนักศึกษาตองมีทัศนคติวาการเรียนรูทางดานนี้ไมมีสิ้นสุด ตองเรียนรูตลอดเวลาแมจะแกเฒาก็ตามนักศึกษาตองสนใจพัฒนาศึกษา สิ่งตางๆรอบตัวเพื่อใหเราสามารถรูเทาทันตนเองรูเทาทันโลกนักศึกษา ที่หาคําตอบนี้ไมไดจะประสบปญหาตางๆตามมามากมาย

4. การเตรียมตนเองด้านการเรียนรู้ 4.1 ปรับกระบวนทัศนการเรียนรูของตนเองการเรียนรูในยุคใหม (ขอมูล:ผลการดําเนินงานเครือขายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย) ควรเปนไปอยางมีเปาหมายอยางคนรูเทาทันสถานการณการเรียนควร เปนไปเพื่อสะสมความรูและประสบการณที่รูจักที่จะสรางมูลคาเพิ่ม ในตนเองทําใหตนเปนคนมีศักยภาพรอบเพราะคูแข็งในอนาคตมิใชคน

วารสาร ราชมงคลล้านนา 59


การปรั บ ตั ว และ เ ต รี ย ม ก าร ขอ งน ั ก ศ ึ ก ษ า

Students Adaptation and Readiness Preparation

for Entering the ASEAN Community The emergence of the ASEAN Community has led to changes in many aspects of Thai lifestyle and Students are inevitable to learn, adapt and prepare for those changes. Although, institutions have prepared management system and activities for a future situation, students also need to prepare themselves in the following aspects.

y t i n u m m

60 วารสาร ราชมงคลล้านนา

A

2. Create opportunities to enhance and demonstrate their competencies 2.1 Thai Students should prepare themselves before entering the ASEAN Economic Community by mastering foreign languages, especially English and languages used by ASEAN countries. Students need to expose themselves to opportunities that encourage them to communicate in English. According to everyday communication, internet plays a major role in business connection which everyone needs to master language and communication skills that help them to keep a good network with our neighboring countries. In addition, the ability to communicate in a universal language, especially English, is the basic feature that ensures future work opportunity.

A

E

3. Change of attitudes and self-concept 3.1 Students need to understand the importance of ASEAN, which will be officially started in 2015 and how this will result in the development of our country, what milestones or framework need to be considered for that development. Students also need to understand the advantages and disadvantages of being one of ASEAN member Countries.

onomics c E n C a o e s

1. Personality 1.1 Students have to be more enthusiastic on academic and vocational areas if they don’t want to miss job opportunities offered by other ASEAN country. Particularly for those who are within the 7 vocational programs will have more chance for labor mobility. 1.2 Self- discipline. Self-discipline focuses on the ability to live under a multicultural society. Students must learn how to express respect for human dignity, diversity of race and culture as this discipline can be a factor that contributes to enhance the job opportunities. It also strengthens peace in the region. 1.3 Students should have precise learning goals which help them to achieve enough potential work across ASEAN, and to be a better generation of powerful graduates than what we have in the past.

2.2 Although English is the common language for communication among ASEAN countries, Chinese language will also be given greater attention. Mastering languages as well as Korean and other languages of ASEAN member will definitely increase job opportunity in many countries. 2.3 Students should be able to work with other people who come from different cultural background.


ก า ร ป ร ั บ ต ั วแล ะ เ ต ร ี ยม ก า ร ข อ ง น ั ก ศ ึ ก ษา

Students Adaptation and Readiness preparation For Entering the ASEAN Community

ASEAN Community 3.2 Students need to develop the idea of "care and share" with other people in the region. We cannot survive as a member without caring for one another. At the same time, we must share what we have learned together within cultural diversity. 3.3 Students need to understand the importance of being a nation and its existence. A new generation is gradually losing this principle and values and becoming more involved with the comfort of the self. If this habit continues to remain, there is little hope for the country to grow. 4. Preparing to learn. 4.1 Change in attitude towards learning. The concept of Learning for new generation should be focused on goaloriented. Students should accumulate the skills, knowledge and experience to build their potential because increasing competitors are from all around and other countries. Students should find ways to strengthen their abilities and skills, in order to be able to work across ASEAN countries. The emergence of ASEAN urges us to think about qualities such as interaction, network, relationship and discipline that need to be accelerated. 4.2 Learning process of young students needs to be changed, especially in the attitude towards learning, which should be goal directed, awareness of situations, creating anability to work successfully with people from different countries. 4.3 Students should have knowledge about the history and culture other countries to have a better understanding of the difference between cultures.

Learning history develops love for the country. In addition, if everyone has a clear understanding of all cultures, they shall value the differences which will later lead to peace and togetherness. 5. Track updated information about ASEAN and related knowledge Students must have an interest and awareness of the consequences arising from the integration of the ASEAN countries, its benefits and drawbacks. We need to be prepared before the changes take place. The emergence of the ASEAN Community will cause a multicultural society and therefore learning about our neighbors would be extremely useful for working with businesses outside the country. Meanwhile, it is very important that we have uniqueness and develop our strengths. 6. Self- Realization Vikrom Kromadit has given good thought for students that before having to be one of the ASEAN members, what students need to realize is that for most is to know about the self. Students should be able to find their identity; who they are and what we want, what kind of aptitudes we have and what the demand from the markets. To find the answers, students need to have attitude for lifelong learning which will help them to know the world and develop themselves accordingly throughout their lives.

วารสาร ราชมงคลล้านนา 61


เรื่อง จากปก

สองสาวหน้าใส เธอมีชื่อเสียงเรียงนามว่า.......

น้องเจน

นส. ปรียากานต์ ใจกันทะ ชื่อเล่น น้องยี่หวา นักศึกษาจากสาขาวิชา การจัดการ ปี 4 และ นส. เจนจิรา รุ่งเเหย้ม หรือ น้องเจน บัณฑิต ใหม่ ป ้ า ยแดง จาก คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ และ ศิลปศาสตร์ สาขาวิชาการบัญชี Q: ความรู้สึกอย่างไรที่เลือกมาเรียนที่ราชมงคลล้านนา เจน : รูสึกวาตัวเองเปนคนโชคดีมากที่ไดเขามาเรียนใน มหาวิทยาลัยที่ตนใฝฝนอยากจะเรียนถึงแมวาจะไดมีโอกาสเรียนที่ มหาวิทยาลัยแหงนี้เพียงสองปแตก็มีความรักความผูกพันกับที่นี่มาก มี เพื่อนๆ พี่ๆนองๆที่นารักตลอดจนอาจารยที่คอยใหคําปรึกษาและ ใหความรู ถายทอดประสบการณใหมๆเพื่อเปนบัณฑิตที่มีคุณภาพ มหาวิทยาลัยฯไดใหโอกาสที่จะใหเราไดคิด วิเคราะห และทดลองปฏิบัติ จนเกิดความเชี่ยวชาญ จนในวันนี้ ที่สําเร็จการศึกษาแลวและไดนํา ความรูที่ไดเรียนมา ไปใชในการทํางานจริง ยี่หวา : ตัดสินใจเลือกเรียนที่นี่ดวยเหตุผลที่วาเปนสถาน ศึกษาที่มีโดดเดนในระดับภูมิภาค มีชื่อเสียงมายาวนานและที่สําคัญ เชื่ อ ว า หากไดเขามาเรียนที่นี่แลวจะสามารถออกไปทํางานไดอยางดี และก็เปนอยางที่คาดหวังคะเพราะที่มีรุนพี่ มีเพื่อนๆและครูอาจารย ที่คอยใหคําปรึกษา ชวยเหลือในการเรียนที่นี่คะ Q: การเข้าร่วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯ เจน : การมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆกับทางมหาวิทยาลัย นั้นไดมีโอกาสรวมกิจกรรมกับมหาวิทยาลัยในหลายๆกิจกรรม สิ่ง เหลานี้ก็ถือวาเปนสวนหนึ่งที่สําคัญที่เปนสวนในการสรางเสริมการ เรียนในดานของการรูจักการเสียสละ การทํางานเปนทีมรวมกับคนอื่นๆ ยี่หวา : การมีสวนรวมกับมหาวิทยาลัยไดทํากิจกรรมใน หลายๆกิจกรรมกับมหาวิทยาลัย ไดรูจักกับเพื่อนๆใหม ในสาขาตางๆ และเมื่ อ มี โอกาสไดไปรวมงานในวงการบันเทิงก็ไดนําประสบการณ กลับมาใชในการรวมกิจกรรมกับทางมหาวิทยาลัยอยางเนื่องที่สําคัญ คือถึงแมวาจะตองไปทํางานในวงการบันเทิงแตก็ไดรับความชวยเหลือ จากอาจารยที่ใหคําแนะนําอยางดีคะ 62 วารสาร ราชมงคลล้านนา

น้องยี่หวา

Q : เมื่อจบการศึกษาไปแล้วได้นําความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการทํางานหรือไม่ เจน : หลังจากที่จบการศึกษาแลวความรูที่ไดเรียนมาก็ไดมี การปรับใชบางเพราะไมไดทํางานตรงตามสาขาที่เรียน แตสิ่งที่ไดนําไป ใช คือประสบการณชีวิตในมหาวิทยาลัยทั้งในการที่ไดทํากิจกรรม การ ฝกประสบการณ การศึกษาดูงานสิ่งเหลานี้ถือเปนสวนสําคัญอยางมาก ที่ชวยใหสามารถปรับตัวเขาสูการทํางาน

หนึ่ ง นั ก ศึ ก ษาและหนึ่ ง ศิ ษ ย์ เ ก่ า ถึ ง แม้ จ ะแตกต่ า งกั น ใน สถานภาพ แต่ทั้งสองเหมือนกันในความเป็นลูกราชมงคลล้านนา สถานศึกษาที่ซึ่งผลิตบัณฑิตรุ่นต่อรุ่นออกสู่สังคม เป็นส่วนหนึ่งใน การพัฒนาประเทศ เป็น “มหาวิทยาลัยชั้นนําด้านการผลิต บัณฑิต นักปฏิบัติบนฐานสร้างสรรค์นวัตกรรม วิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเพื่อชุมชนสู่สากล”


พิธีพระราชทานปริญญาบัตร

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ แทน พระองคในการพระราชทานปริญญาบัตรแกผูสําเร็จการศึกษา จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ประจําปการศึกษา 2556

วันที่ 15-19 ธันวาคม 2557 ณ หอประชุม มทร.ธัญบุรี ต.คลองหก อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี

สถานีวิทยุกระจายเสียงบริการสาธารณะ เครือข่ายการศึกษาและบริการท้องถิ่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่ ความถี่ 97.25 เมกะเฮิรตซ์

053-225-331 www.fm9725.rmutl.ac.th



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.