สารบัญ บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา 1. ความจาเป็ นและวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกันคุณภาพการศึกษา 3. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551- 2565) 4. การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา 5. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 5.1 กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา 5.2 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 6. การเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและการประเมิน คุณภาพภายนอก กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 1. แนวทางการจัดการกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 2. ขั้นตอนการประเมินคุณภาพการศึกษา 2.1 การเตรี ยมการของหน่วยงานก่อนการตรวจเยีย่ มของผูป้ ระเมิน 2.2 การดาเนินการของหน่วยงานระหว่างการตรวจเยีย่ มเพื่อประเมินคุณภาพ 2.3 การดาเนินการของหน่วยงานภายหลังการประเมินคุณภาพ ตัวบ่ งชี้และเกณฑ์ การประเมินคุณภาพตามองค์ ประกอบคุณภาพ 1. แนวทางการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา 2. นิยามศัพท์ที่ใช้ในตัวบ่งชี้
หน้ า 1 1 3 4 6 8 9 14 16 18 18 25 25 29 29 30 30 32
สารบัญ (ต่ อ)
บทที่ 4 บทที่ 5
3. องค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมิน องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนดาเนินการ องค์ประกอบที่ 2 การดาเนินงานตามวิสัยทัศน์ พันธกิจของหน่วยงาน องค์ประกอบที่ 3 การบริ หารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 4 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 5 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวอย่างแนวทางปฏิบัติเพือ่ ให้ เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานด้ านกระบวนการ การดาเนินการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR)
หน้ า 36 36 39 43 50 53 56 71
บทที่ 1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา 1. ความจาเป็ นและวัตถุประสงค์ ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบตั ิมี 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจยั การให้บริ การทางวิชาการแก่สังคม และการทานุ บารุ งศิลปะและวัฒนธรรม การดาเนินการตาม ภารกิจทั้ง 4 ประการดังกล่าว มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว ปั จ จุ บ ัน มี ปั จ จัย ภายในและภายนอกหลายประการที่ ท าให้ ก ารประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ในระดับอุดมศึกษาเป็ นสิ่ งจาเป็ นที่จะต้องเร่ งดาเนินการ ปั จจัยดังกล่าวคือ 1) คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิ ตภายในประเทศ มีแนวโน้มที่จะมีความ แตกต่างกันมากขึ้น ซึ่ งจะก่อให้เกิดผลเสี ยแก่สังคมโดยรวมของประเทศในระยะยาว 2) ความท้าทายของโลกาภิ วตั น์ต่อการอุ ดมศึ กษา ทั้งในประเด็นการบริ การการศึ กษา ข้ามพรมแดน และการเคลื่ อนย้ายนักศึกษาและบัณฑิต อันเป็ นผลจากการรวมตัวของประเทศ ในภูมิภาคอาเซียน ซึ่ งทั้งสองประเด็นต้องการการรับประกันของคุณภาพการศึกษา 3) สถาบันอุดมศึกษามีความจาเป็ นที่จะต้องสร้ างความมัน่ ใจแก่สังคมว่าสามารถพัฒนา องค์ความรู้และผลิตบัณฑิต ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศให้มากขึ้นไม่วา่ จะเป็ นการ สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันระดับสากล การพัฒนาภาคการผลิตจริ งทั้งอุตสาหกรรมและ บริ การ การพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวติ ความเป็ นอยูร่ ะดับท้องถิ่นและชุมชน 4) สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ขอ้ มูลสาธารณะ (Public Information) ที่เป็ นประโยชน์ต่อ ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ทั้งนักศึกษา ผูจ้ า้ งงาน ผูป้ กครอง รัฐบาล และประชาชนทัว่ ไป 5) สังคมต้องการระบบอุดมศึกษาที่เปิ ดโอกาสให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยมีส่วนร่ วม (Participation) มีความโปร่ งใส (Transparency) และมีความรับผิดชอบซึ่ งตรวจสอบได้ (Accountability) ตามหลัก ธรรมาภิบาล 6) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้สถานศึ กษาทุ กแห่ งจัดให้มีระบบการประกันคุ ณภาพภายใน รวมถึ งให้มีสานักงาน รั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาท าหน้า ที่ ป ระเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกโดยการ ประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
2
7) คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศใช้มาตรฐานการอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 7 สิ งหาคม 2549 เพื่อเป็ นกลไกกากับมาตรฐานระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหน่วยงาน โดยทุกหน่วยงานระดับอุดมศึกษาจะได้ใช้เป็ นกรอบการดาเนิ นงานประกัน คุณภาพการศึกษา 8) กระทรวงศึ กษาธิ การได้มี ประกาศกระทรวงศึ กษาธิ การเรื่ องมาตรฐานสถาบันอุ ดมศึ กษา เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551 เพื่อเป็ นกลไกส่ งเสริ มและกากับให้สถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษา ให้มีมาตรฐานตามประเภทหรื อกลุ่ม สถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่ม 9) กระทรวงศึกษาธิ การได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศ แนวทางการปฏิ บตั ิตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 เพื่อให้การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาเป็ นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อการ ประกันคุณภาพของบัณฑิตในแต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา ด้วยความจาเป็ นดังกล่าว สถาบันอุดมศึกษาร่ วมกับต้นสังกัดจึงจาเป็ นต้องพัฒนาระบบและ กลไกการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้ 1) เพื่ อตรวจสอบและประเมิ นการดาเนิ น งานของภาควิชา คณะวิชาหรื อหน่ วยงาน เทียบเท่า และสถาบันอุดมศึกษาในภาพรวม ตามระบบคุณภาพและกลไกที่สถาบันนั้นๆกาหนดขึ้น โดยวิเคราะห์เปรี ยบเทียบผลการดาเนิ นงานตามตัวบ่งชี้ ในทุกองค์ประกอบคุ ณภาพว่าเป็ นไปตาม เกณฑ์และได้มาตรฐาน 2) เพื่ อให้ภาควิช า คณะวิ ช าหรื อ หน่ วยงานเที ย บเท่ า และสถาบันอุ ด มศึ ก ษาทราบ สถานภาพของตนเองอัน จะน าไปสู่ ก ารก าหนดแนวทางในการพัฒ นาคุ ณ ภาพไปสู่ เ ป้ าหมาย (Targets) และเป้ าประสงค์ (Goals) ที่ต้ งั ไว้ตามจุดเน้นของตนเองและเป็ นสากล 3) เพื่อให้ภาควิชา คณะวิชาหรื อหน่ วยงานเทียบเท่าและสถาบันอุดมศึกษาทราบจุดแข็ง จุดที่ควรปรับปรุ ง ตลอดจนได้รับข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดาเนิ นงานเพื่อเสริ มจุดแข็ง และ พัฒนาจุดที่ควรปรับปรุ งของสถาบันอย่างต่อเนื่อง 4) เพื่ อ ให้ ข ้อ มู ล สาธารณะที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ ผูม้ ี ส่ ว นได้ส่ ว นเสี ย ท าให้ ม ั่น ใจว่า สถาบันอุดมศึกษาสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กาหนด 5) เพื่อให้หน่ วยงานต้นสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้อง มีขอ้ มูล พื้นฐานที่จาเป็ นสาหรับการส่ งเสริ มสนับสนุนการจัดการอุดมศึกษาในแนวทางที่เหมาะสม
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
3
2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกันคุณภาพการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ ก าหนดจุ ด มุ่ ง หมายและหลั ก การของการจัด การศึ ก ษาที่ มุ่ ง เน้ น คุ ณ ภาพและมาตรฐาน โดยกาหนดรายละเอียดไว้ในหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่ งประกอบด้วย “ระบบการประกันคุณภาพภายใน” และ “ระบบการประกันคุณภาพภายนอก” เพื่อใช้เป็ นกลไก ในการผดุงรักษาคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา การประกันคุณภาพภายใน เป็ นการสร้างระบบและกลไกในการพัฒนา ติดตามตรวจสอบ และประเมินการดาเนินงานของสถานศึกษาให้เป็ นไปตามนโยบาย เป้ าหมายและระดับคุณภาพตาม มาตรฐานที่ กาหนดโดยสถานศึ กษาและหรื อหน่ วยงานต้นสังกัด โดยหน่ วยงานต้นสังกัดและ สถานศึ กษากาหนดให้มี ระบบการประกันคุ ณภาพภายในสถานศึ ก ษาและให้ถื อว่า การประกัน คุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หารการศึกษาที่ตอ้ งดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ องมีการ จัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุ ณภาพภายในเสนอต่อสภาสถาบัน หน่ วยงานต้น สังกัด และหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้องเพื่อพิจารณาและเปิ ดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนาไปสู่ การพัฒนา คุ ณภาพและมาตรฐานการศึ กษาและเพื่อรองรั บการประกันคุ ณภาพภายนอกการประกันคุ ณภาพ ภายนอก เป็ นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการติดตามและตรวจสอบคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยคานึ งถึงความมุ่งหมาย หลักการ และแนวการจัดการศึกษา ในแต่ละระดับ ซึ่ งประเมินโดย “สานักงานรั บรองมาตรฐานและประเมินคุ ณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรื อเรี ยกชื่อย่อว่า “สมศ.” พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2545 ได้กาหนด ให้สถานศึกษาทุกแห่ งต้องได้รับการประเมินคุ ณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้งในทุกรอบ 5 ปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุ ดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ซึ่ ง สมศ. ได้ดาเนิ นการประเมิ นคุ ณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ.2544-2548) รอบที่ ส อง (พ.ศ. 2549-2553) เสร็ จสิ้ นไปแล้ว ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างประเมินคุณภาพภายนอกภายนอกรอบที่สาม (พ.ศ. 2554-2558) ในการประเมินรอบที่สามของ สมศ. เป็ นการประเมินทั้งระดับสถาบันและคณะ วิชา แต่หากสถาบันใดจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั หลัก การประเมินจะครอบคลุมการจัดการนอก สถานที่ต้ งั หลักทั้งหมด นอกจากนั้นการประเมินคุณภาพจะมีความสอดคล้องกับจุดเน้นหรื อกลุ่ม สถาบันที่แต่ละสถาบันเลือกตามประกาศกระทรวงศึกษาธิ การรู ปแบบและวิธีการประเมินคุณภาพ ภายนอกจะเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดโดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิ นคุ ณภาพ การศึกษา (องค์การมหาชน) ซึ่งมีหลักการสาคัญ 5 ประการ ดังต่อไปนี้
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
4
1) เป็ นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่ได้มุ่งเน้นเรื่ องการตัดสิ น การจับผิด หรื อการให้คุณ-ให้โทษ 2) ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็ นธรรม โปร่ งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็ นจริ ง (Evidence-Based) และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability) 3) มุง่ เน้นในเรื่ องการส่ งเสริ มและประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตรมากกว่า การกากับ ควบคุม 4) ส่ งเสริ มการมี ส่วนร่ วมในการประเมิ นคุ ณภาพและการพัฒนาการจัดการศึกษาจาก ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง 5) มุ่งสร้ างความสมดุ ลระหว่างเสรี ภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษา ของชาติตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 ให้เอกภาพเชิงนโยบาย แต่ยงั คงมีความหลากหลายในทางปฏิ บตั ิ โดยสถาบันสามารถกาหนดเป้ าหมายเฉพาะและพัฒนา คุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถาบันและผูเ้ รี ยน
3. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) ได้กาหนดแนวทางการ พัฒนาและแก้ปัญหาอุดมศึกษาที่ไร้ทิศทาง ซ้ าซ้อน ขาดคุณภาพ และขาดประสิ ทธิภาพโดยใช้กลไก การประเมิ นคุ ณภาพและมาตรฐานการศึกษาเป็ นกลไกหลักในการดาเนิ นการกล่าวคือ ให้มีการ สร้างกลไกการประเมิน คุ ณภาพสถาบันอุดมศึ กษาตามพันธกิ จของสถาบันในแต่ละกลุ่ม ซึ่ งมีพ้ืนที่ บริ การและ จุดเน้นระดับการศึกษาที่ต่างกัน รวมทั้งมีพนั ธกิจและบทบาทในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของ ประเทศต่างกันตามความหลากหลาย ทั้งการพัฒนาฐานราก สังคม เศรษฐกิ จรวมถึงการกระจาย อานาจในระดับท้องถิ่น การขับเคลื่อนภาคการผลิตในชนบท ท้องถิ่นและระดับประเทศจนถึงการ แข่งขันในโลกาภิวตั น์ ซึ่ งระบบอุดมศึกษาแต่ละกลุ่มเหล่านี้ จะนาไปสู่ การเปลี่ยนแปลงอุดมศึกษา และส่ งผลกระทบที่เป็ นประโยชน์ต่อประเทศอย่างมีนยั สาคัญ อาทิ สามารถสร้างความเป็ นเลิศได้ ตามพันธกิจของตัวเอง สามารถตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศดีข้ ึน ส่ งผลเชิ งบวกต่อ การผลิต พัฒนาและการทางานของอาจารย์ สามารถปรับจานวนของบัณฑิตในสาขาที่เ ป็ นความ ต้องการของสังคม ลดการว่างงาน โดยที่สถาบันอุดมศึกษาในกลุ่มเหล่านี้ มีกลไกร่ วมกันในการ ประกันคุ ณภาพ เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถต่อยอด ถ่ายโอนแลกเปลี่ ยนกันได้ระหว่างกลุ่มและใน ระยะยาวการประเมินคุณภาพควรนาไปสู่ ระบบรับรองวิทยฐานะ (Accreditation) ที่นกั ศึกษาและ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
5
สาธารณะให้ความเชื่อถือ เป็ นฐานและเงื่อนไขในการจัดสรรงบประมาณของรัฐ และการสนับสนุน จากภาคเอกชน รวมทั้งการโอนย้ายหน่วยกิต จากกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิ การได้มีประกาศ กระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ในปี 2551 กาหนดประเภทหรื อกลุ่ม สถาบันอุดมศึกษาเป็ น 4 กลุ่ม คือ กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับต่ากว่าปริ ญญาตรี จัดฝึ กอบรมสนองตอบความต้องการของท้องถิ่น เพื่อเตรี ยมกาลังคนที่มีความรู ้เข้าสู่ ภาคการผลิต จริ งในชุมชน สถาบันสนับสนุนรองรับการเปลี่ยนอาชี พพื้นฐาน เช่น แรงงานที่ออกจากภาคเกษตร เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มให้ประชาชนได้มีโอกาสเรี ยนรู ้ตลอดชีวติ อันจะนาไปสู่ ความเข้มแข็งของ ชุมชนและการพัฒนาที่ยงั่ ยืน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้ นระดับปริ ญญาตรี หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับ ปริ ญญาตรี เพื่อให้ได้บณ ั ฑิตที่มีความรู้ความสามารถเป็ นหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการ เปลี่ยนแปลงในระดับภูมิภาค สถาบันมีบทบาทในการสร้ างความเข้มแข็งให้กบั หน่วยงาน ธุ รกิ จ และบุคคลในภูมิภาค เพื่อรองรับการดารงชี พ สถาบันอาจมีการจัดการเรี ยนการสอนในระดับ บัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริ ญญาโทด้วยก็ได้ กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรื อ เฉพาะกลุ่มสาขาวิชา ทั้งสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ กายภาพ วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ สังคมศาสตร์ หรื อ มนุษยศาสตร์ รวมทั้งสาขาวิชาชี พเฉพาะทาง สถาบันอาจเน้นการทาวิทยานิพนธ์หรื อการวิจยั หรื อ เน้นการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะในการประกอบอาชีพระดับสู ง หรื อเน้นทั้งสองด้าน รวมทั้งสถาบันอาจมีบทบาทในการพัฒนาภาคการผลิตจริ งทั้งอุตสาหกรรม และบริ การ สถาบันในกลุ่มนี้ อาจจาแนกได้เป็ น 2 ลักษณะคือ ลักษณะที่ 1 เป็ นสถาบันที่เน้นระดับ บัณฑิตศึกษา และลักษณะที่ 2 เป็ นสถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี กลุ่ม ง สถาบันที่เน้ นการวิจัยขั้นสู งและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับ ปริ ญญาเอก หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิ ตบัณฑิตระดับบัณฑิ ตศึกษาโดยเฉพาะระดับ ปริ ญญาเอก และเน้นการทาวิทยานิ พนธ์และการวิจยั รวมถึงการวิจยั หลังปริ ญญาเอก สถาบันเน้น การผลิตบัณฑิตที่เป็ นผูน้ าทางความคิดของประเทศ สถาบันมีศกั ยภาพในการขับเคลื่อนอุดมศึกษา ไทยให้อยูใ่ นแนวหน้าระดับสากล มุ่งสร้างองค์ ความรู้ทฤษฎี และข้อค้นพบใหม่ทางวิชาการ ดังนั้น การประกันคุ ณภาพการศึ กษาจึ งต้องสร้ างกลไกการประเมิ นคุ ณภาพให้สอดรั บกับการแบ่งกลุ่ ม สถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่มดังกล่าว
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
6
4. การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในหมวด 5 ที่วา่ ด้วยการบริ หารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ได้กาหนดให้ คณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษามี ห น้ า ที่ พิ จ ารณาเสนอมาตรฐานการอุ ด มศึ ก ษาที่ ส อดคล้อ งกับ ความต้อ งการตาม แผนพัฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ และสอดคล้อ งกับ มาตรฐานการศึ ก ษาของชาติ โดยคานึงถึงความเป็ นอิสระและความเป็ นเลิศทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการการ อุดมศึกษาจึงได้จดั ทามาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใช้เป็ นกลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และระดับหน่วยงาน เพื่อนาไปสู่ การกาหนดนโยบายการพัฒนาการอุดมศึกษาของ สถาบันอุดมศึกษาต่อไป มาตรฐานการอุดมศึกษาที่จดั ทาขึ้นฉบับนี้ ได้ใช้มาตรฐานการศึกษาของ ชาติที่เปรี ยบเสมือนร่ มใหญ่เป็ นกรอบในการพัฒนา โดยมีสาระสาคัญที่ครอบคลุมเป้ าหมายและ หลัก การของการจัด การศึ ก ษาระดับ อุ ด มศึ ก ษาของไทยและเป็ นมาตรฐานที่ ค านึ ง ถึ ง ความ หลากหลายของกลุ่มหรื อประเภทของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อให้ทุกสถาบันสามารถนาไปใช้กาหนด พันธกิจและมาตรฐานของการปฏิบตั ิงานได้ มาตรฐานการอุดมศึกษาที่ปรากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ ลงวันที่ 7 สิ งหาคม 2549 ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานด้านการบริ หาร จัดการการอุดมศึกษา และมาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู ้ และสังคมแห่ งการ เรี ยนรู้ มาตรฐานย่อยทั้ง 3 ด้านนี้ อยูใ่ นมาตรฐานการศึกษาของชาติที่ประกอบด้วยมาตรฐานย่อย 3 มาตรฐานเช่นกัน คือ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ท้ งั ในฐานะพลเมืองและ พลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่ งการเรี ยนรู้ / สังคมแห่งความรู้ แต่ละมาตรฐานย่อยของมาตรฐานการอุดมศึกษาจะมีความสอดคล้องและสัมพันธ์ กับมาตรฐานย่อยของมาตรฐานการศึกษาของชาติ เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา บรรลุตามจุดมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษาของชาติ นอกเหนื อจากมาตรฐานการอุ ดมศึ กษาที่ เป็ นมาตรฐานแม่บทแล้ว คณะกรรมการการ อุดมศึกษาได้จดั ทามาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ พ.ศ. 2551 เพื่อ นาไปสู่ การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตามกลุ่มสถาบันที่มีปรัชญา วัตถุประสงค์ และพันธกิจในการ จัดตั้งที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก 2 ด้าน คือ มาตรฐานด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา และมาตรฐานด้านการดาเนินการตาม ภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และกาหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเป็ น 4 กลุ่มได้แก่ กลุ่ม ก วิทยาลัย ชุมชน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง และกลุ่ม ง สถาบันที่เน้น การวิจยั ขั้นสู งและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริ ญญาเอก นอกจากนั้น ยังได้
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
7
จัดทากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2552 เพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐานการ อุ ด มศึ ก ษาและเพื่ อ เป็ นการประกั น คุ ณ ภาพบั ณ ฑิ ต ในแต่ ล ะระดั บ คุ ณ วุ ฒิ แ ละสาขาวิ ช า โดยกาหนดให้คุณภาพของบัณฑิ ตทุกระดับคุ ณวุฒิและสาขาวิชาต้องเป็ นไปตามมาตรฐานผลการ เรี ยนรู ้อย่างน้อย 5 ด้าน คือ ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ด้านความรู้ ดา้ นทักษะทางปั ญญา ด้านทักษะ ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งบุ ค คลและความรั บ ผิด ชอบ และด้า นทัก ษะการวิเ คราะห์ เ ชิ ง ตัว เลข การสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีส ารสนเทศ คณะกรรมการการอุด มศึ กษายังได้กาหนดเกณฑ์ มาตรฐานอื่นๆ อาทิ เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑ์การขอเปิ ดและ ดาเนิ นการหลักสู ตรระดับปริ ญญาในระบบการศึกษาทางไกล หลักเกณฑ์การกาหนดชื่ อปริ ญญา หลักเกณฑ์และแนวปฏิ บตั ิเกี่ ยวกับการพิจารณาประเมินคุ ณภาพการจัดการศึ กษานอกสถานที่ต้ งั ของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อส่ งเสริ มให้สถาบันอุดมศึกษาได้พฒั นาด้านวิชาการและวิชาชี พ รวมทั้ง การพัฒนาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้มีความทัดเทียมกัน และพัฒนาสู่ สากล ซึ่ งทาให้สถาบันอุดมศึ กษาสามารถจัดการศึ กษาได้อย่างยืดหยุ่น คล่ องตัว และต่อเนื่องในทุกระดับการศึกษา ตลอดจนสะท้อนให้เห็นถึงมาตรฐานคุณภาพการจัดการศึกษาใน ระดับอุดมศึกษา เพื่อให้การจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทมีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กาหนด ทั้งมาตรฐานการศึกษาระดับชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา และสัมพันธ์ กับมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่เกี่ ยวข้องกับการจัดการศึกษาอื่นๆ รวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุ ดมศึ กษาแห่ งชาติ จึ งจาเป็ นต้องมีระบบประกันคุ ณภาพที่ พฒั นาขึ้นตามที่กาหนดไว้ใน กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ทั้งนี้ ความ เชื่ อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษา หลักเกณฑ์ที่เกี่ ยวข้อง และการประกันคุ ณภาพการศึกษา สามารถแสดงในแผนภาพที่ 1.1
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
8
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐาน การอุดมศึกษา
หลักเกณฑ์ กากับมาตรฐาน รวมถึงมาตรฐานสถาบัน อุดมศึกษาและกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิ อุดมศึกษาแห่ งชาติ
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทย ที่พึงประสงค์ท้ งั ในฐานะ พลเมืองและพลโลก
มาตรฐานที่ 2 แนวทางการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่งการ เรี ยนรู ้/สังคมแห่งความรู ้
มาตรฐานด้ าน คุณภาพบัณฑิต
มาตรฐานด้ านการบริหาร จัดการอุดมศึกษา
มาตรฐานด้ านการสร้ างและ พัฒนาสั งคมฐานความรู้และ สั งคมแห่ งการเรียนรู้
การประกันคุณภาพภายใน ภายใต้ ตวั บ่ งชี้ตามองค์ ประกอบคุณภาพ 9 ด้ าน ผลผลิตทางการศึกษาทีไ่ ด้ คุณภาพ
แผนภาพที่ 1.1 ความเชื่ อมโยงระหว่ างมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพ
5. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ก่ อนมี ป ระกาศพระราชบัญญัติก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2542 ทบวงมหาวิทยาลัย ได้ ต ระหนั ก ดี ถึ ง ความส าคั ญ ของการปร ะกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาและได้ จ ั ด ท าประกาศ ทบวงมหาวิทยาลัย เรื่ อง นโยบายและแนวปฏิบตั ิในการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 เพื่อเป็ นแนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาตาม หลักการสาคัญ 3 ประการ คือ การให้เสรี ภาพทางวิชาการ (Academic Freedom) ความมีอิสระใน การดาเนิ นการของสถาบัน (Institutional Autonomy) และความพร้ อมของสถาบันที่จะรับการ ตรวจสอบคุณภาพจากภายนอกตามหลักการของความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability) ต่อมาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ระบุ ให้หน่ วยงานต้นสังกัดและสถานศึ กษาจัดให้มีระบบประกันคุ ณภาพภายในสถานศึ กษา ประกอบกับ พระราชบัญ ญัติ ร ะเบี ย บบริ หารราชการกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร พ.ศ. 2546 และกฎกระทรวงแบ่งส่ วนราชการ กาหนดให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าที่ พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอุ ดมศึ กษาที่ สอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ และแผนการศึกษาแห่ งชาติ สนับสนุนทรัพยากร ติดตาม ตรวจสอบ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
9
และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคานึงถึงความเป็ นอิสระและความเป็ นเลิศทาง วิชาการของสถานศึ กษาระดับปริ ญญาตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึ กษาแต่ละแห่ งและ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงมีหน้าที่ร่วมกับสถานศึกษาในการจัด ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 5.1 กฎกระทรวงว่าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๕ แห่ งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ อันเป็ นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบาง ประการเกี่ยวกับการจากัดสิ ทธิ และเสรี ภาพของบุคคล ซึ่ งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๓ ของ รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจัก รไทย บัญ ญัติ ใ ห้ก ระท าได้โ ดยอาศัย อานาจตามบทบัญ ญัติ แ ห่ ง กฎหมาย รัฐมนตรี วา่ การการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงไว ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิก (๑) กฎกระทรวงว่า ด้วยระบบหลัก เกณฑ์และวิธี ก ารประกันคุ ณภาพการศึ กษาภายใน สถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ (๒) กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุ ณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงนี้ “การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิ การ ประกาศ ก าหนดส าหรั บ การประกัน คุ ณ ภาพภายใน ซึ่ งกระท าโดยบุ ค ลากรของสถานศึ ก ษานั้น หรื อ โดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษา “การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม และการตรวจสอบคุ ณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่ งกระทาโดยสานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรื อผูป้ ระเมินภายนอก “การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า กระบวนการติดตามตรวจสอบ ความก้าวหน้าของการปฏิ บตั ิตามแผนการพัฒนาคุ ณภาพการศึกษา และจัดทารายงานการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา พร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่ งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา “การพัฒนาคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า กระบวนการพัฒนาการศึกษาเข้าสู่ คุณภาพ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยมีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา การจัดระบบและ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
10
โครงสร้าง การวางแผน และการดาเนิ นงานตามแผน รวมทั้งการสร้างจิตสานึ กให้เห็นว่าการพัฒนา คุณภาพการศึกษาจะต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็ นความรับผิดชอบร่ วมกันของทุกคน “สานัก งาน” หมายความว่า สานัก งานรั บรองมาตรฐานและประเมิ นคุ ณภาพการศึ กษา (องค์การมหาชน) หมวด ๑ บททัว่ ไป -----------------------------ข้อ ๓ ระบบการประกัน คุ ณ ภาพภายในเพื่ อ การพัฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาและพัฒ นา มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย (๑) การประเมินคุณภาพภายใน (๒) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (๓) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ข้อ ๔ ระบบการประกันคุ ณ ภาพภายนอกเพื่ อ รั บ รองมาตรฐานและมุ่ ง พัฒ นาคุ ณ ภาพ การศึกษาทุกระดับ ตองประกอบด้วย (๑) การประเมินคุณภาพภายนอก (๒) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ข้อ ๕ ให้ส ถานศึ ก ษาดาเนิ นการประกันคุ ณภาพภายในอย่า งต่ อเนื่ องเป็ นประจาทุ ก ปี โดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ทั้งนี้ ด้วยการสนับสนุ นจากหน่ วยงาต้นสังกัดและการมีส่วนร่ วมของ ชุมชน ข้อ ๖ ให้สถานศึกษาจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิ ดเผย รายงานนั้นต่อสาธารณชน ข้อ ๗ สถานศึกษาต้องนาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปประกอบการ จัดทาแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
11
ส่ วนที่ ๓ การอุดมศึกษา -------------------------------ข้อ ๓๐ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ งเรี ยกว่า “คณะกรรมการประกันคุ ณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา” ประกอบด้วย (๑) กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิตาม (๓) ซึ่ งรัฐมนตรี แต่งตั้ง เป็ นประธานกรรมการ (๒) เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็ นรองประธานกรรมการ (๓) กรรมการผู ้ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซ่ ึ งรั ฐ มนตรี แ ต่ ง ตั้ง โดยค าแนะน า ของคณะกรรมการ การอุดมศึกษา จากผูม้ ีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ ยวชาญ และประสบการณ์ ในด้านการจัด การศึกษาการบริ หารสถานศึกษา หรื อการประเมินการจัดการศึกษา จานวนไม่เกิ นเก้าคนเป็ น กรรมการซึ่ งในจานวนนี้ จะต้องแต่ งตั้งบุ คคลที่ ไม่เป็ นข้าราชการหรื อพนักงานมหาวิทยาลัยที่ มี ตาแหน่งหรื อเงินเดือนประจาจานวนไม่นอ้ ยกว่าห้าคน ให้เลขาธิ การคณะกรรมการการอุดมศึกษาแต่งตั้งข้าราชการของสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาซึ่ งดูแลงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา เป็ นกรรมการและเลขานุการ ข้อ ๓๑ ให้นาความในข้อ ๑๐ ข้อ ๑๑ และข้อ ๑๒ มาใช้บงั คับกับคุณสมบัติ ลักษณะ ต้องห้าม วาระการดารงตาแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการแทน การแต่งตั้งกรรมการเพิ่ม และการพ้น จากตาแหน่งของกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิตามข้อ ๓๐ (๓) โดยอนุโลม ข้อ ๓๒ คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษามีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) วางระเบียบหรื อออกประกาศกาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิ บตั ิเกี่ ยวกับการประกัน คุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เพื่อส่ งเสริ ม สนับสนุ น และพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา (๒) เสนอแนะแนวทางปรั บ ปรุ งและพัฒนาคุ ณภาพการศึ ก ษาแก่ ส ถานศึ กษาโดยนาผล การประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปปรับปรุ งคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง (๓) แต่งตั้งคณะทางานเพื่อดาเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา (๔) ปฏิบตั ิการอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่รัฐมนตรี หรื อคณะกรรมการการอุดมศึกษามอบหมาย ข้อ ๓๓ ให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยยึด หลักเสรี ภาพทางวิชาการและความมีอิสระในการดาเนินการของสถานศึกษา เพื่อให้มีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผลในการพัฒนาคุ ณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา อย่างต่อเนื่อง และเตรี ยมความพร้อมเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
12
ข้อ ๓๔ หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้พิจารณาจาก (๑) ระบบการประกัน คุ ณ ภาพภายในของคณะวิ ช าและสถานศึ ก ษาระดับ อุ ด มศึ ก ษา โดยคานึงถึงมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิ การประกาศกาหนด (๒) ผลการปฏิบตั ิงานของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบการประกัน คุณภาพภายในที่กาหนดไว้ (๓) ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลการดาเนิ นงานตามระบบการประกันคุ ณภาพภายใน ที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา ข้อ ๓๕ วิธีการประกันคุ ณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุ ดมศึกษา ให้ใช้แนวปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี้ (๑) ให้ค ณะวิชาและสถานศึ ก ษาระดับอุ ดมศึ กษาจัดให้มีหน่ วยงานหรื อคณะกรรมการ ที่รับผิดชอบการดาเนิ นการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาขึ้น โดยมีหน้าที่พฒั นา บริ หารและ ติดตามการดาเนิ นการประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนประสานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้เกิด ความมัน่ ใจว่าการจัดการศึกษาจะเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ (๒) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุ ณภาพภายใน เพื่อใช้กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาให้มีประสิ ทธิ ภาพภายใต้กรอบ นโยบายและหลักการที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด (๓) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาดาเนิ นการตามระบบการประกันคุณภาพ ภายใน โดยถือเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หารการศึกษา (๔) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบและกลไกควบคุมคุณภาพ ขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังต่อไปนี้ (ก) หลักสู ตรการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ (ข) คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์ (ค) สื่ อการศึกษาและเทคนิคการสอน (ง) ห้องสมุดและแหล่งการเรี ยนรู ้อื่น (จ) อุปกรณ์การศึกษา (ฉ) สภาพแวดล้อมในการเรี ยนรู้และบริ การการศึกษา (ช) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรี ยนของนักศึกษา (ซ) องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นสมควรให้แต่ละคณะ วิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบการติดตามตรวจสอบคุ ณภาพการศึกษาตามที่
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
13
เห็นสมควร โดยให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาส่ งเสริ มและสนับสนุ นให้มีการพัฒนา ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับคณะวิชาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง ข้อ ๓๖ ให้ ห น่ ว ยงานต้น สั ง กัด ของสถานศึ ก ษาระดับ อุ ด มศึ ก ษาจัด ให้ มี ก ารติ ด ตาม ตรวจสอบคุ ณ ภาพการศึ ก ษานั้ น อย่ า งน้ อ ยหนึ่ งครั้ งในทุ ก สามปี และแจ้ง ผลให้ ส ถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิ ดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน หมวด ๓ การประกันคุณภาพภายนอก -----------------------------------------ข้อ ๓๗ การประกันคุณภาพภายนอกให้คานึงถึงจุดมุ่งหมายและหลักการ ดังต่อไปนี้ (๑) เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (๒) ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็ นธรรม และโปร่ งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็ น จริ งและมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (๓) สร้างความสมดุลระหว่างเสรี ภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของ ชาติ โดยให้มีเอกภาพเชิ งนโยบาย ซึ่ งสถานศึ กษาสามารถกาหนดเป้ าหมายเฉพาะและพัฒนา คุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษาและผูเ้ รี ยน (๔) ส่ งเสริ ม สนับสนุน และร่ วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา (๕) ส่ งเสริ มการมี ส่วนร่ วมในการประเมิ นคุ ณภาพ และพัฒนาการจัดการศึกษาของรัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น (๖) ความเป็ นอิสระ เสรี ภาพทางวิชาการ เอกลักษณ์ ปรัชญา ปณิ ธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้ าหมายของสถานศึกษา ข้อ ๓๘ ในการประกันคุ ณภาพภายนอก ให้สานักงานทาการประเมินคุณภาพภายนอก สถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่ อง ดังต่อไปนี้ (๑) มาตรฐานที่วา่ ด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา (๒) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการบริ หารจัดการศึกษา (๓) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ (๔) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการประกันคุณภาพภายใน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
14
ในกรณี ที่มีความจาเป็ นต้องทาการประเมินคุณภาพภายนอกจากมาตรฐานอื่นเพิ่มเติมจาก มาตรฐานที่กาหนดในวรรคหนึ่ ง ให้สานักงานประกาศกาหนดมาตรฐานอื่นได้โดยความเห็นชอบ ของรัฐมนตรี ข้อ ๓๙ วิธีการในการประกันคุณภาพภายนอก ให้เป็ นไปตามระเบียบที่สานักงานกาหนด ข้อ ๔๐ ในกรณี ที่ ผ ลการประเมิ นคุ ณภาพภายนอกแสดงว่า ผลการจัดการศึ ก ษาของ สถานศึกษาได้ไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน ให้สานักงานแจ้งเป็ นหนังสื อพร้อมแสดงเหตุผลที่ไม่ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานแก่หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษานั้น และให้สถานศึกษานั้นปรับปรุ งแก้ไข โดยจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพและดาเนินการตามแผน เพื่อขอรับการประเมินใหม่ภายในสองปี นับ แต่วนั ที่ได้รับแจ้งผลการประเมินครั้งแรก ให้สถานศึกษาเสนอแผนพัฒนาคุณภาพต่อสานักงานเพื่อพิจารณาอนุ มตั ิภายในสามสิ บวัน นับแต่วนั ที่ได้รับแจ้งผลการประเมินตามวรรคหนึ่ง ข้อ ๔๑ ในกรณี ที่สถานศึกษาไม่ดาเนิ นการปรับปรุ งแก้ไขภายในกาหนดเวลาตามข้อ ๔๐ ให้สานักงานรายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอาชี วศึกษาหรื อ คณะกรรมการการอุดมศึกษา หรื อหน่วยงานต้นสังกัดอื่น แล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณาสั่งการต่อไป 5.2 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 5.2.1 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันอุดมศึ กษาอาจพัฒนาระบบประกันคุ ณภาพที่ เหมาะสมสอดคล้องกับระดับการ พัฒนาของสถาบัน โดยอาจเป็ นระบบประกันคุณภาพที่ใช้กนั แพร่ หลายในระดับชาติหรื อนานาชาติ หรื อเป็ นระบบเฉพาะที่ ส ถาบันพัฒนาขึ้ นเอง แต่ ไ ม่ ว่า จะเป็ นระบบคุ ณภาพแบบใดจะต้องมี กระบวนการทางานที่เริ่ มต้นจากการวางแผน การดาเนินงานตามแผน การตรวจสอบประเมิน และ การปรับปรุ งพัฒนา ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนิ นภารกิจของสถาบันบรรลุเป้ าประสงค์และมีพฒั นาการ อย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกันก็เป็ นหลักประกันแก่สาธารณชนให้มนั่ ใจว่าสถาบันอุดมศึกษาสามารถ สร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ 5.2.2 มาตรฐาน ตัวบ่ งชี ้และเกณฑ์ ประเมินคุณภาพ มาตรฐานเป็ นกรอบสาคัญในการดาเนิ นงานของสถาบันอุดมศึกษา คือมาตรฐานการ อุดมศึกษา อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนั สถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ยังต้องดาเนินการให้ได้ตามมาตรฐาน และหลักเกณฑ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอีกมาก เช่น มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษากรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึ กษาแห่ งชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษามาตรฐานเพื่อการประเมิน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
15
คุณภาพภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบตั ิราชการตามมิติดา้ นต่างๆ ของสานักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณี มหาวิทยาลัยของรัฐเป็ นต้น ตัวบ่ งชี้ เป็ นข้อกาหนดของการประกันคุณภาพภายในที่พฒั นาขึ้นในองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้านที่มีความครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการอุดมศึกษาและพันธกิจสนับสนุ น ได้แก่ (1) ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนดาเนินการ (2) การผลิตบัณฑิต (3) กิจกรรมการพัฒนา นักศึกษา (4) การวิจยั (5) การบริ การทางวิชาการแก่สังคม(6) การทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม (7) การบริ หารและการจัดการ (8) การเงินและงบประมาณ และ (9) ระบบและกลไกการประกัน คุณภาพ ซึ่ งตัวบ่งชี้ ดงั กล่ าวสามารถชี้ วดั คุ ณลักษณะที่ พึงประสงค์ตามมาตรฐานการอุดมศึ กษา มาตรฐานและหลักเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบคุณภาพนั้นๆ ได้ท้ งั หมด ดังนั้น ในบทที่ 3 ของคูม่ ือฉบับนี้จึงได้พฒั นาตัวบ่งชี้ที่หน่วยงานจาเป็ นต้องใช้ประเมินคุณภาพภายใน ทั้งตัวบ่งชี้ ที่ ใช้ประเมินปั จจัยนาเข้า กระบวนการ และผลผลิตหรื อผลลัพธ์ นอกจากนี้ ตัวบ่งชี้ ที่ใช้ประเมิน กระบวนการยังได้นาเสนอตัวอย่างแนวทางปฏิ บตั ิเพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐานไว้ดว้ ยในบทที่ 4 เพื่อประโยชน์ของหน่วยงานในการนาตัวบ่งชี้ ดงั กล่าวไปใช้เกณฑ์การประเมินเป็ นมาตรวัดของแต่ ละตัวบ่งชี้ ซ่ ึ งพัฒนาจากเกณฑ์และแนวปฏิ บตั ิที่เป็ นมาตรฐาน ทั้งนี้ เพื่อให้การประเมินคุณภาพ การศึกษามีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน 5.2.3 กลไกการประกันคุณภาพ ในด้านของกลไกการประกันคุ ณภาพ ผูท้ ี่มีความสาคัญส่ งผลให้การดาเนิ นงานประสบ ความสาเร็ จและนาไปสู่ การพัฒนาคุ ณภาพอย่างต่อเนื่ องคือ คณะกรรมการระดับนโยบายและ ผูบ้ ริ ห ารสู ง สุ ด ของสถาบัน ที่ จ ะต้อ งให้ ค วามส าคัญ และก าหนดนโยบายการประกัน คุ ณ ภาพ การศึกษาที่ชัดเจนและเข้าใจร่ วมกันทุ กระดับ โดยมอบหมายให้หน่ วยงานหรื อคณะกรรมการ รับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และกระตุน้ ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่ อง หน้าที่สาคัญประการหนึ่ งของคณะกรรมการหรื อหน่ วยงานนี้ คือ การจัดระบบประกันคุ ณภาพ พร้อมทั้งตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพที่เหมาะสมสาหรับสถาบัน ระบบประกันคุณภาพที่ ใช้ตอ้ งสามารถเชื่ อมโยงให้เกิดคุ ณภาพของการปฏิบตั ิงาน ตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับภาควิชาหรื อ สาขาวิชา ระดับคณะวิชาไปจนถึงระดับสถาบัน โดยอาจจาเป็ นต้องจัดทาคู่มือคุ ณภาพในแต่ละ ระดับเพื่อกากับการดาเนิ นงาน แต่ที่สาคัญคณะกรรมการหรื อหน่ วยงานนี้ ตอ้ งประสานงานและ ผลักดันให้เกิดระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่มีประสิ ทธิ ภาพซึ่ งสามารถใช้งานร่ วมกันได้ในทุก ระดับ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
16
5.2.4 ระบบฐานข้ อมูลและระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์และวัดผลดาเนิ นงานเป็ นสิ่ งจาเป็ นในกระบวนการประกันคุ ณภาพ การวัด และวิเคราะห์ผลการดาเนิ นงานจะไม่สามารถทาได้อย่างถูกต้องและมีประสิ ทธิ ภาพหากปราศจาก ฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศที่เป็ นจริ ง ถูกต้องตรงกันทุกระดับตั้งแต่ระดับบุคคล ภาควิชา คณะ วิชา และสถาบัน ตลอดจนเป็ นข้อมูลที่สามารถเรี ยกใช้ได้อย่างรวดเร็ ว ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่ดี มีประสิ ทธิ ภาพจึงเป็ นปั จจัยสาคัญยิ่งที่ จะส่ งผลต่อความสาเร็ จของการประกันคุ ณภาพการศึกษา และส่ ง ผลต่ อคุ ณภาพในทุ ก ขั้นตอนการดาเนิ นงานตั้ง แต่ ก ารวางแผน การปฏิ บตั ิ งานประจา การตรวจสอบประเมิน ตลอดจนถึงการปรับปรุ งและพัฒนา
6. การเชื่ อมโยงระหว่ างการประกันคุณภาพการศึ กษาภายในและการประเมินคุณภาพ ภายนอก ตามมาตรา 48 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ระบุวา่ “ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หารการศึกษา ที่ตอ้ งดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง” ในขณะที่มาตรา 49 ของพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการ ประเมิ นคุ ณภาพภายนอกไว้ว่า “ให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็ นองค์การมหาชนทาหน้าที่พฒั นาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุ ณภาพภายนอกและทาการ ประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา” จากข้อ มู ล ข้า งต้น จะเห็ น ว่ า การประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในเป็ นส่ ว นหนึ่ งของ กระบวนการบริ หารการศึกษาปกติที่ตอ้ งดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง โดยมีการควบคุมดูแลปั จจัยที่ เกี่ยวข้องกับคุณภาพ มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดาเนิ นงานเพื่อนาไปสู่ การพัฒนา ปรับปรุ งคุณภาพอย่างสม่าเสมอ ด้วยเหตุน้ ี ระบบประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทั้งปั จจัยนาเข้า (input) กระบวนการ (process) และผลผลิตหรื อผลลัพธ์ (output/outcome) ซึ่ งต่างจากการประเมิน คุณภาพภายนอกที่เน้นการประเมินผลการจัดการศึกษา ดังนั้น ความเชื่ อมโยงระหว่างการประกัน คุ ณ ภาพภายในกับ การประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกจึ ง เป็ นสิ่ ง จ าเป็ นโดยได้เ ชื่ อ มโยงให้ เ ห็ น จาก แผนภาพที่ 1.2
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
17
3
แผนภาพที่ 1.2 ความสั มพันธ์ ระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในกับการประเมินคุณภาพ ภายนอก จากแผนภาพที่ 1.2 จะเห็นว่า เมื่อสถาบันอุดมศึกษามีการดาเนิ นการประกันคุณภาพภายใน แล้ว จาเป็ นต้องจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ซึ่ งเป็ นผลจากการ ประกันคุณภาพภายในหรื อเรี ยกว่า รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) เพื่อนาเสนอสภาสถาบัน หน่ วยงานต้นสังกัด หน่ วยงานที่เกี่ ยวข้องและเปิ ดเผยต่อสาธารณชน เอกสารดังกล่าวจะเป็ นเอกสารเชื่ อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในของสถาบัน การติดตาม ตรวจสอบของต้นสังกัด และการประเมินคุณภาพภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรื อ สมศ. ดังนั้นสถาบันอุดมศึกษาจาเป็ นต้องจัดทา รายงานการประเมินตนเองที่มีความลุ่มลึ ก สะท้อนภาพที่แท้จริ งของสถาบันในทุกองค์ประกอบ คุณภาพ
บทที่ 2 กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 1. แนวทางการจัดการกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จุ ดมุ่ งหมายของการประเมิ นคุ ณภาพการศึ ก ษาภายในก็เพื่อตรวจสอบและประเมิ นการ ดาเนิ นงานของสถาบันตามระบบและกลไกที่สถาบันนั้นๆ ได้กาหนดขึ้น ทั้งนี้ เพื่อให้สถาบัน ได้ทราบสถานภาพที่แท้จริ ง อันจะนาไปสู่ การกาหนดแนวทางและพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์และ มาตรฐานที่ต้ งั ไว้อย่างต่อเนื่ อง การประเมินคุณภาพที่มีประสิ ทธิ ภาพนั้น ทั้งคณะผูป้ ระเมินและ สถาบันที่รับการประเมินจาเป็ นต้องกาหนดบทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างเหมาะสม และสอดคล้อง กับกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ทั้งนี้ สถาบันต้องวางแผนจัดกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในให้เสร็ จก่อน สิ้ นปี การศึกษาที่ จะเริ่ มวงรอบการประเมิ น เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถาบัน ดังนี้ 1) เพื่อให้สามารถนาผลการประเมินและข้อเสนอแนะไปใช้ปรับปรุ งและพัฒนาการจัด การศึกษาได้ทนั ในปี การศึกษาถัดไป และตั้งงบประมาณได้ทนั ก่ อนเดื อนตุ ลาคม (กรณี ที่เป็ น สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) 2) เพื่ อให้ส ามารถจัดท ารายงานประจาปี ที่ เป็ นรายงานประเมิ นคุ ณภาพภายในส่ ง ให้ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและเผยแพร่ ต่อสาธารณชนได้ภายใน 120 วันนับจากวันสิ้ น ปี การศึกษาของแต่ละสถาบัน เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเกิดประโยชน์ดงั ที่กล่าวข้างต้น จึงควรมีแนวทางการ จัดกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ดังปรากฏในตารางที่ 2.1 ตารางดังกล่าวสามารถ แยกได้เป็ น 4 ขั้นตอนตามระบบการพัฒนาคุณภาพ PDCA คือ การวางแผน (Plan) การดาเนินงาน และเก็บข้อมูล (Do) การประเมินคุณภาพ (Check) และการเสนอแนวทางปรับปรุ ง (Act) โดยมี รายละเอียดดังนี้ P = กิจกรรมข้อที่ 1 เริ่ มกระบวนการวางแผนการประเมินตั้งแต่ตน้ ปี การศึกษา โดยนาผล การประเมิ นปี ก่ อนหน้านี้ มาใช้เป็ นข้อมูลในการวางแผนด้วย กรณี ที่ มีการเปลี่ ย นแปลงระบบ ประกันคุ ณภาพหรื อตัวบ่ งชี้ หรื อเกณฑ์การประเมิ น จะต้องมี การประกาศให้ทุกหน่ วยงานใน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
19
สถาบันได้รับทราบและถือปฏิบตั ิโดยทัว่ กันก่อนเริ่ มปี การศึกษา เพราะต้องเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือน มิถุนายน D = กิจกรรมข้อที่ 2 ดาเนินงานและเก็บข้อมูลบันทึกผลการดาเนินงานตั้งแต่ตน้ ปี การศึกษา คือเดือนที่ 1–เดือนที่ 12 ของปี การศึกษา (เดือนมิถุนายน–เดือนพฤษภาคม ปี ถัดไป) C = กิ จกรรมข้อที่ 3–8 ดาเนิ นการประเมินคุณภาพในระดับภาควิชา คณะวิชาหรื อ หน่วยงานเทียบเท่า และสถาบัน ระหว่างเดือนมิถุนายน–สิ งหาคม ของปี การศึกษาถัดไป A = กิจกรรมข้อที่ 9 วางแผนปรับปรุ งและดาเนินการปรับปรุ งตามผลการประเมินโดยคณะ กรรมการบริ หารของสถาบันอุดมศึ กษานาข้อเสนอแนะและผลการประเมินของคณะกรรมการ ประเมิ น คุ ณ ภาพภายในมาวางแผนปรั บ ปรุ ง การดาเนิ น งาน (รวมทั้ง ข้อเสนอแนะของสภา มหาวิทยาลัย) มาทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี และเสนอตั้งงบประมาณปี ถัดไป หรื อจัดทาโครงการ พัฒนาและเสนอใช้งบประมาณกลางปี หรื องบประมาณพิเศษก็ได้ สาหรับกิจกรรมข้อที่ 10 ในตารางดังกล่าวเป็ นกิ จกรรมที่สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ งต้อง ดาเนินการตามกฎหมาย เพื่อประโยชน์ของสถาบันในการปรับปรุ งคุณภาพ และเพื่อประโยชน์ของ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดใช้เป็ นข้อมูลประกอบการตัดสิ นใจ เชิ งนโยบาย เพื่อการส่ งเสริ มสนับสนุ นคุ ณภาพและมาตรฐานการศึ กษาของชาติให้ทดั เที ยมกับ นานาอารยะประเทศและมีความเป็ นสากล
ต.ค.-พ.ค.
กิจกรรมดาเนินการ
1. สถาบันวางแผนการประเมิน คุ ณ ภาพป ร ะจ าปี การ ศึ กษ า โดยประกาศตัวบ่งชีก้ ่อนเริ่ มต้ น ปี การศึกษาใหม่ และแจกคู่มื อ การจัดทา SAR (กรณี ที่มีการ เปลี่ ย นแปลงตั ว บ่ ง ชี ้ วิ ธี ก าร ก าหนดการประเมิ น คุ ณ ภาพ ภายในประจาปี )
ต.ค.-พ.ค.
เปรียบเทียบงบประมาณ กับปี การศึกษา
ปี การศึกษา (มิ.ย. – พ.ค.)
ปี งบประมาณ ถัดไป
พ.ค. – มิ.ย.
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (ปิ ดเทเอม)
ปี งบประมาณ (ต.ค. - ก.ย.)
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (ปิ ดเทเอม)
ตารางที่ 2.1 วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 20
3. ภาควิ ช าหรื อหน่ ว ยงาน เที ย บเท่ า จั ด ท า SAR และ เ ต รี ย ม ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ ภาควิชาหรื อหน่วยงานเทียบเท่า และแต่ ง ตั้ง กรรมการประเมิ น ระดับ ภาควิ ช าหรื อหน่ ว ยงาน เทียบเท่า
2. สถาบันเก็ บข้อ มูลระยะ 12 เ ดื อ น ต า ม ตั ว บ่ ง ชี้ ที่ ไ ด้ ประกาศใช้บนระบบ CHE QA Online (มี ทีมงานให้คาปรึ กษา กับบุคลากร และหรื อหน่ วยงาน และหรื อภาควิ ช าในการเก็ บ ข้ อ มู ล พ ร้ อ ม ทั้ ง พิ จ า ร ณ า ปรั บ ปรุ ง ด าเนิ น การตามความ เหมาะสม)
กิจกรรมดาเนินการ
ต.ค.-พ.ค.
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (เปิ ดเทอม)
ตารางที่ 2.1 วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 21
6. ประเมินระดับคณะวิชาหรื อ หน่วยงานเทียบเท่าบนระบบ CHE QA Online
5. คณะนาผลการประเมินระดับ ภ า ค วิ ช า ห รื อ ห น่ ว ย ง า น เที ยบเท่ ามาจัดท า SAR บน ระบบ CHE QA Online และ เตรี ยมการประเมินระดับคณะ วิ ช าหรื อ หน่ ว ยงานเที ย บเท่ า และแต่ ง ตั้ งคณะกรรมการ ประเมิ น ระดับ คณะวิ ช าหรื อ หน่วยงานเทียบเท่า
4. ประเมินระดับภาควิชาหรื อ หน่วยงานเทียบเท่า
กิจกรรมดาเนินการ
ต.ค.-พ.ค.
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (เปิ ดเทอม)
ตารางที่ 2.1 วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 22
9. ผูบ้ ริ หารของสถาบันอุดมศึกษา น า ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ ข้อ เสนอแนะของคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพภายใน (รวมทั้ง ข้อ เสนอแนะของสภาสถาบัน ) ม า ว า ง แ ผ น ป รั บ ป รุ ง ก า ร ด าเนิ น งาน หรื อ ปรั บ แผนกล ยุ ท ธ์ / แผนปฏิ บั ติ ง านประจ าปี และเสนอขอตั้ งงบประมาณปี ถัดไป หรื อจัดทาโครงการพัฒนา เสนอใช้งบประมาณกลางปี
8. ประเมิ น ระดับ สถาบัน บน ระบบ CHE QA Online และ นาเสนอผลการประเมิ นผ่านสภา สถาบั น เพื่ อ พิ จ ารณาวางแผน พัฒนาสถาบันในปี การศึกษาต่อไป
กิจกรรมดาเนินการ
ต.ค.-พ.ค.
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (เปิ ดเทอม)
ตารางที่ 2.1 วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 23
10. ส่ ง รายงานประจ าปี ที่ เป็ น รายงานการประเมิ น คุ ณ ภาพ ภายใน (ประกอบด้วย SAR และ ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพภายใน ร ะ ดั บ ค ณ ะ ห รื อ ห น่ ว ย ง า น เที ยบเท่ า และระดับ สถาบัน)ให้ ส านั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึ กษาผ่านระบบ CHE QA Online และหน่วยงานต้นสังกัด (ภายใน 120 วัน นับ จากสิ้ น ปี การศึกษา)
กิจกรรมดาเนินการ ต.ค.-พ.ค.
มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (เปิ ดเทอม)
ตารางที่ 2.1 วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 24
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
25
2. ขั้นตอนการประเมินคุณภาพการศึกษา 2.1 การเตรียมการของหน่ วยงานก่ อนการตรวจเยีย่ มของผู้ประเมิน 2.1.1 การเตรียมรายงานประจาปี ก. จัดทำรำยงำนประจำปี ที่เป็ นรำยงำนกำรประเมินคุณภำพภำยใน โดยใช้รูปแบบกำร จัดทำรำยงำนประจำปี ที่เป็ นรำยงำนกำรประเมินคุ ณภำพภำยในตำมที่กำหนดในระบบฐำนข้อมูล ด้ำนกำรประกันคุ ณภำพ (CHE QA Online) ปั จจุบนั สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ ได้พฒั นำระบบฐำนข้อมูลด้ำนกำรประกันคุณภำพ (CHE QA Online) เป็ นฐำนข้อมูลกลำงเพื่อใช้ ประโยชน์ในเชิ งนโยบำยและกำรส่ งเสริ มสนับสนุ นกำรพัฒนำคุณภำพอุดมศึกษำ ตลอดจนอำนวย ควำมสะดวกให้กบั สถำบันอุ ดมศึ กษำในกำรดำเนิ นงำนประกันคุ ณภำพกำรศึกษำผ่ำนทำงระบบ ออนไลน์ ตั้งแต่กำรจัดเก็บข้อมูลพื้นฐำน (common data set) และเอกสำรอ้ำงอิง กำรประเมินตนเอง กำรประเมินของคณะกรรมกำรประเมินคุณภำพ รวมทั้งกำรจัดทำรำยงำนประจำปี ที่เป็ นรำยงำนกำร ประเมินคุณภำพภำยในบนระบบฐำนข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์ (e-SAR) รวมทั้งเปิ ดเผยต่อสำธำรณะ เพื่อกำรคุ ้มครองผูบ้ ริ โภค โดยมี นโยบำยให้สถำบันอุ ดมศึ กษำทุ กแห่ ง ในสัง กัดใช้ฐำนข้อมู ล ดังกล่ำวในกำรดำเนินงำนประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยใน และจัดส่ งรำยงำนประจำปี ที่เป็ นรำยงำน กำรประเมินคุณภำพภำยในผ่ำนทำงระบบออนไลน์และเปิ ดเผยต่อสำธำรณชนตำมกฎหมำย ข. จัดกำรเตรี ยมเอกสำรหรื อหลักฐำนอ้ำงอิงในแต่ละองค์ประกอบคุณภำพ 1) เอกสำรหรื อหลักฐำนอ้ำงอิงในแต่ละตัวบ่งชี้ ตอ้ งเป็ นข้อมูลในช่ วงเวลำเดี ยวกับ ที่นำเสนอในรำยงำนกำรประเมินตนเอง ตลอดจนสำระในเอกสำรต้องตรงกับชื่ อเอกสำรที่ระบุใน รำยงำนกำรประเมินตนเอง 2) กำรนำเสนอเอกสำรในช่วงเวลำตรวจเยีย่ มอำจทำได้ในสองแนวทำงคือ จัดเอกสำร ให้อยู่ในที่ อยู่ปกติ ตำมหน่ วยงำน ในกรณี น้ ี ต้องระบุ ใ ห้ชัดเจนว่ำจะเรี ยกดู เอกสำรได้จำกผูใ้ ด หน่วยงำนไหน ชื่อหรื อหมำยเลขเอกสำรอะไร หรื ออำจจัดในแนวทำงที่สอง คือ นำเอกสำรมำรวม ไว้ที่เดี ยวกันในห้องทำงำนของคณะผูป้ ระเมิน โดยจัดให้เป็ นระบบที่สะดวกต่อกำรเรี ยกใช้ กำร นำเสนอเอกสำรในแนวทำงนี้ เป็ นที่นิยมกว่ำแนวทำงแรก เพรำะสำมำรถเรี ยกหำเอกสำรได้รวดเร็ ว และดูควำมเชื่ อมโยงในเอกสำรฉบับต่ำงๆ ได้ในครำวเดียวปั จจุบนั เอกสำรหรื อหลักฐำนอ้ำงอิงที่ เกี่ยวข้องกับตัวบ่งชี้แต่ละตัวและองค์ประกอบคุณภำพแต่ละองค์ประกอบสำมำรถบรรจุหรื อจัดเก็บ (upload) หรื อเชื่อมโยง (link) ไว้บนระบบฐำนข้อมูลด้ำนกำรประกันคุณภำพ (CHE QA Online) ซึ่ ง ทำให้กำรจัดเก็บเป็ นระบบและง่ำยต่อกำรค้นหำของคณะกรรมกำรประเมิน และไม่เป็ นภำระเรื่ อง กำรจัดเตรี ยมเอกสำรหลักฐำนของหน่วยงำน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
26
2.1.2 การเตรี ยมบุคลากร ก. กำรเตรี ยมบุคลำกรในหน่วยงำน ควรมีควำมครอบคลุมประเด็นต่ำงๆ ดังต่อไปนี้ 1) ทำควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรประเมินคุณภำพในประเด็นที่สำคัญๆ อำทิ กำรประเมิน คุณภำพคืออะไร มีควำมสำคัญต่อกำรพัฒนำอย่ำงไร ขั้นตอนกำรประเมินคุณภำพเป็ นเช่นไร 2) เน้นย้ ำกับบุคลำกรในกำรให้ควำมร่ วมมือกำรตอบคำถำมหรื อกำรสัมภำษณ์ โดย ยึดหลักว่ำตอบตำมสิ่ งที่ปฏิบตั ิจริ งและผลที่เกิดขึ้นจริ ง 3) เปิ ดโอกำสให้มีกำรอภิปรำย ซักถำม แสดงควำมคิดเห็น เพื่อสร้ำงควำมกระจ่ำงใน กำรดำเนินงำนของทุกหน่วยงำนในทุกประเด็น เพื่อควำมเข้ำใจที่ถูกต้องของบุคลำกร 4) เน้นย้ำให้บุคลำกรทุกคนตระหนักว่ำกำรประกันคุณภำพ คือภำรกิจประจำของทุก คนที่ตอ้ งร่ วมมือกันทำอย่ำงต่อเนื่อง ข. กำรเตรี ย มบุ ค ลำกรผูป้ ระสำนงำนในระหว่ำ งกำรตรวจเยี่ย มจำเป็ นต้องมี บุ ค ลำกร จำนวน 1-3 คน ทำหน้ำที่ประสำนงำนระหว่ำงคณะผูป้ ระเมินกับบุคคลหรื อหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ผูป้ ระสำนงำนควรเตรี ยมตัวดังนี้ 1) ทำควำมเข้ำใจทุกกิจกรรมของแผนกำรประเมินอย่ำงละเอียด 2) ทำควำมเข้ำใจอย่ำงดีกบั ภำรกิจของคณะวิชำและสถำบันเพื่อสำมำรถให้ขอ้ มูลต่อ ผูป้ ระเมิน รวมทั้งต้องรู ้ ว่ำจะต้องติดต่อกับใครหรื อหน่ วยงำนใด หำกผูป้ ระเมินต้องกำรข้อมูล เพิ่มเติมที่ตนเองไม่สำมำรถตอบได้ 3) มีรำยชื่อ สถำนที่ หมำยเลขโทรศัพท์ของผูท้ ี่คณะกรรมกำรประเมินจะเชิญมำให้ ข้อมูลอย่ำงครบถ้วน 4) ประสำนงำนล่ ว งหน้ำ กับ ผู ้ที่ จ ะให้ ข ้อ มู ล ที่ เ ป็ นบุ ค ลำกรภำยในและภำยนอก หน่ วยงำนว่ำจะเชิ ญมำเวลำใด ห้องใด หรื อพบกับใครตำมตำรำงกำรประเมินที่คณะกรรมกำร ประเมินกำหนด 5) เมื่ อ มี ปั ญ หำในกำรอ ำนวยควำมสะดวกแก่ ค ณะผู ้ป ระเมิ น จะต้อ งสำมำรถ ประสำนงำนแก้ไขได้ทนั ที 2.1.3 การเตรี ยมสถานทีส่ าหรั บคณะผู้ประเมิน ก. ห้องทำงำนของคณะผูป้ ระเมิน 1) จัดเตรี ยมห้องทำงำนและโต๊ะที่กว้ำงพอสำหรับวำงเอกสำรจำนวนมำก โดยเป็ น ห้องที่ปรำศจำกกำรรบกวนขณะทำงำน เพื่อควำมเป็ นส่ วนตัวของคณะกรรมกำร
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
27
2) จัดเตรี ยมคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครื่ องเขียนในห้องทำงำนและอุปกรณ์เสริ มอื่นๆ ให้คณะผูป้ ระเมินพร้อมใช้งำนได้ตำมควำมต้องกำร 3) จัดเตรี ยมโทรศัพท์พร้อมหมำยเลขที่จำเป็ นไว้ในห้องทำงำนหรื อบริ เวณใกล้เคียง 4) ห้องทำงำนควรอยู่ใกล้กบั ที่จดั เตรี ยมอำหำรว่ำง อำหำรกลำงวันตลอดจนบริ กำร สำธำรณูปโภคอื่น ๆ 5) ควรประสำนงำนกับคณะผูป้ ระเมิน เพื่อทรำบควำมต้องกำรพิเศษอื่นใด เพิ่มเติม ข. ห้องที่ใช้สัมภำษณ์ผบู้ ริ หำร อำจำรย์ บุคลำกร นักศึกษำ ฯลฯ ควรจัดไว้เป็ นกำรเฉพำะ ให้เหมำะสมกับกำรใช้งำน 2.1.4 การเตรี ยมการประสานงานกับทีมคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ก. สถำบันอุ ดมศึ ก ษำจัดท ำค ำสั่ ง แต่ ง ตั้ง และจัดส่ ง ให้ค ณะกรรมกำรประเมิ นคุ ณภำพ กำรศึกษำภำยในทรำบ ทั้งนี้ แนวทำงกำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรประเมิน เป็ นดังนี้ 1) คณะกรรมการประเมินระดับภาควิชาหรื อหน่ วยงานเทียบเท่ า - มีกรรมกำรประเมินฯ อย่ำงน้อย 3 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ขนำดของภำควิชำหรื อ หน่วยงำนเทียบเท่ำ - เป็ นผูป้ ระเมิ นจำกภำยนอกภำควิชำหรื อหน่ วยงำนเที ยบเท่ำที่ ผ่ำนกำรฝึ กอบรม หลักสู ตร ผูป้ ระเมินของ สกอ. อย่ างน้ อย 1 คน ในกรณี ที่ผูป้ ระเมินจำกภำยนอกภำควิชำหรื อ หน่ วยงำนเที ย บเท่ ำ เป็ นผูท้ ี่ มี ค วำมรู ้ และประสบกำรณ์ สู ง ซึ่ งสำมำรถให้ค ำแนะนำที่ จ ะเป็ น ประโยชน์อย่ำงยิ่งต่อภำควิชำหรื อหน่วยงำนเทียบเท่ำที่รับกำรประเมิน อำจอนุ โลมให้ไม่ตอ้ งผ่ำน กำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. ก็ได้ ส่ วนผูป้ ระเมินจำกภำยในภำควิชำหรื อหน่วยงำน เทียบเท่ำต้องผ่ำนกำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. หรื อที่สถำบันจัดฝึ กอบรมให้โดยใช้ หลักสู ตรของ สกอ. - ประธำนคณะกรรมกำรประเมิ นฯ เป็ นผูป้ ระเมิ นจำกภำยนอกภำควิช ำหรื อ หน่วยงำนเทียบเท่ำ โดยต้องเป็ นผูท้ ี่ผำ่ นกำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. หรื อที่สถำบัน จัดฝึ กอบรมให้โดยใช้หลักสู ตรของ สกอ. 2) คณะกรรมการประเมินระดับคณะวิชาหรื อหน่ วยงานเทียบเท่ า - มีกรรมกำรประเมินฯ อย่ำงน้อย 3 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ขนำดของคณะวิชำหรื อ หน่วยงำนเทียบเท่ำ - เป็ นผูป้ ระเมิ นจำกภำยนอกสถำบันที่ ผ่ำนกำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมิ นของ สกอ. อย่างน้ อย 1 คน ในกรณี ที่ผปู้ ระเมินจำกภำยนอกสถำบันเป็ นผูท้ ี่มีควำมรู้และประสบกำรณ์ สูง
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
28
ซึ่ งสำมำรถให้คำแนะนำที่จะเป็ นประโยชน์อย่ำงยิ่งต่อคณะที่รับกำรประเมินอำจอนุ โลมให้ไม่ตอ้ ง ผ่ำนกำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. ก็ได้ ส่ วนผูป้ ระเมินจำกภำยในหน่วยงำนต้องผ่ำน กำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. หรื อที่สถำบันจัดฝึ กอบรมให้โดยใช้หลักสู ตรของ สกอ. - ประธำนคณะกรรมกำรประเมินฯ เป็ นผูป้ ระเมินจำกภำยในหรื อนอกสถำบันก็ได้ ในกรณี ที่เป็ นผูป้ ระเมินภำยในสถำบันต้องอยูน่ อกสังกัดคณะที่ประเมิน โดยประธำนต้องเป็ นผูท้ ี่ ขึ้นบัญชีประธำนคณะกรรมกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยในของ สกอ. 3) คณะกรรมการประเมินระดับสถาบัน - มีกรรมกำรประเมินฯ อย่ำงน้อย 5 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ขนำดของหน่วยงำน - เป็ นผูป้ ระเมิ นจำกภำยนอกสถำบันที่ ผ่ำนกำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมิ นของ สกอ. อย่ำงน้อยร้ อยละ 50 ส่ วนผูป้ ระเมินจำกภำยในสถำบันต้องผ่ำนกำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผู ้ ประเมินของ สกอ. หรื อที่สถำบันจัดฝึ กอบรมให้โดยใช้หลักสู ตรของ สกอ. - ประธำนคณะกรรมกำรประเมินฯ เป็ นผูป้ ระเมินจำกภำยนอกสถำบันที่ข้ ึนบัญชี ประธำนคณะกรรมกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยในของ สกอ. ข. สถำบัน อุ ด มศึ ก ษำแจ้ง ให้ ค ณะกรรมกำรประเมิ น คุ ณ ภำพทรำบว่ำ คณะกรรมกำร ประเมินฯ จะต้องทำกำรประเมินคุ ณภำพกำรศึกษำภำยในระดับคณะวิชำหรื อหน่ วยงำนเทียบเท่ำ และระดับสถำบัน ผ่ำนทำงระบบ CHE QA Online พร้อมทั้งจัดส่ ง username และ password ให้ คณะกรรมกำรประเมินฯ ทุกท่ำนและทุกระดับทรำบเพื่อเข้ำไปศึกษำรำยงำนกำรประเมินตนเอง ล่วงหน้ำก่ อนวันรั บกำรตรวจเยี่ยมอย่ำงน้อย 2 สัปดำห์ โดยในส่ วนของผูท้ ำหน้ำที่ประธำน คณะกรรมกำรประเมินคุ ณภำพกำรศึกษำภำยในระดับสถาบัน สถำบันอุดมศึกษำจะต้องแจ้งให้ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำจัดส่ งรหัสประจำตัว (ID code) ให้ดว้ ย เพื่อให้ประธำนฯ ทำ หน้ำที่ตรวจสอบและยืนยันควำมถูกต้องของข้อมูลพื้นฐำน (common data set) และผลกำรประเมิน ก่อนส่ งรำยงำนกำรประเมินคุณภำพของคณะกรรมกำรประเมินฯ เข้ำสู่ ระบบ นอกจำกนั้น ให้สถำบันแจ้งรำยชื่อผูท้ ำหน้ำที่ประสำนงำนระหว่ำงสถำบัน คณะวิชำ หรื อหน่ วยงำนเทียบเท่ำกับคณะกรรมกำรประเมินฯ รวมทั้งเบอร์ โทรศัพท์และ E-mail address สำหรับติดต่อ ค. ประสำนงำนกับ ประธำนหรื อตัวแทนของคณะกรรมกำรประเมิ นคุ ณภำพเพื่ อร่ วม เตรี ยมแผนกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยใน อำทิ กำรจัดตำรำงเวลำเข้ำตรวจเยี่ยมกำรให้ขอ้ มูล ที่คณะกรรมกำรประเมินฯ ต้องกำรเพิ่มเติมก่อนกำรตรวจเยีย่ ม กำรนัดหมำยต่ำง ๆ เป็ นต้น
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
29
2.2 การดาเนินการของหน่ วยงานระหว่ างการตรวจเยีย่ มเพือ่ ประเมินคุณภาพ 1) เปิ ดโอกำสให้ บุ ค ลำกรทุ ก คนได้ร่ ว มรั บ ฟั ง คณะกรรมกำรประเมิ น คุ ณ ภำพชี้ แจง วัตถุประสงค์และวิธีกำรประเมินในวันแรกของกำรตรวจเยีย่ ม 2) บุคลำกรพึงปฏิบตั ิงำนตำมปกติระหว่ำงกำรตรวจเยี่ยม แต่เตรี ยมพร้อมสำหรับกำรนำ เยีย่ มชม หรื อตอบคำถำม หรื อรับกำรสัมภำษณ์จำกคณะกรรมกำรประเมินคุณภำพ 3) จัดให้มีผปู้ ระสำนงำนทำหน้ำที่ ตลอดช่ วงกำรตรวจเยี่ยม ทั้งนี้ เพื่อประสำนงำนกับ บุคคลหรื อหน่ วยงำนที่คณะกรรมกำรประเมินฯ ต้องกำรข้อมูลและเพื่อนำกำรเยี่ยมชมหน่วยงำน ภำยใน ตลอดจนอำนวยควำมสะดวกอื่นๆ 4) ในกรณี ที่คณะกรรมกำรประเมินฯ ทำงำนต่อหลังเวลำรำชกำร ควรมีผปู้ ระสำนงำน ส่ วนหนึ่งอยูอ่ ำนวยควำมสะดวก 5) บุ ค ลำกรทุ ก คนควรได้มี โ อกำสรั บ ฟั ง กำรให้ข้อ มู ล ป้ อนกลับ จำกคณะกรรมกำร ประเมินฯ เมื่อสิ้ นสุ ดกำรตรวจเยีย่ ม ตลอดจนเปิ ดโอกำสให้ซกั ถำมหรื อขอควำมเห็นเพิ่มเติมได้ตำม ควำมเหมำะสม 2.3 การดาเนินการของหน่ วยงานภายหลังการประเมินคุณภาพ 1) ผูบ้ ริ หำรระดับภำควิชำ คณะวิชำหรื อหน่วยงำนเทียบเท่ำ และระดับสถำบันรวมทั้ง ผูเ้ กี่ ยวข้อง นำผลกำรประเมินและข้อเสนอแนะเข้ำสู่ กำรประชุ มหรื อสัมมนำระดับต่ำงๆ เพื่อ วำงแผนพัฒนำหรื อปรั บ ปรุ ง กำรด ำเนิ น ภำรกิ จอย่ำ งเป็ นรู ป ธรรมต่ อไป โดยอำจจัด ท ำเป็ น แผนปฏิ บตั ิกำรในกำรแก้ไขจุดที่ควรปรับปรุ ง และเสริ มจุดแข็ง ซึ่ งประกอบด้วยกิ จกรรมที่ตอ้ ง ดำเนิ นกำร กำหนดเวลำเริ่ มต้นจนถึ งเวลำสิ้ นสุ ดกิ จกรรม งบประมำณสำหรั บแต่ละกิ จกรรม ตลอดจนผูร้ ับผิดชอบกิจกรรมเหล่ำนั้น ทั้งนี้ เพื่อให้สำมำรถติดตำมตรวจสอบผลกำรพัฒนำได้อย่ำง ต่อเนื่อง 2) พิจำรณำกำรจัดกิจกรรมเสริ มสร้ำงขวัญและกำลังใจ โดยแสดงให้เห็นว่ำหน่วยงำนชื่น ชมผลสำเร็ จที่เกิดขึ้น และตระหนักว่ำผลสำเร็ จทั้งหมดมำจำกควำมร่ วมมือร่ วมใจของทุกฝ่ ำย 3) ภำควิชำ คณะวิชำหรื อหน่วยงำนเทียบเท่ำ และหน่ วยงำนควรให้ขอ้ มูลย้อนกลับแก่ คณะกรรมกำรประเมินคุ ณภำพเพื่อประโยชน์ในกำรพัฒนำผูป้ ระเมิ นคุ ณภำพกำรศึก ษำภำยใน ต่อไป
บทที่ 3 ตัวบ่ งชี้และเกณฑ์ การประเมินคุณภาพ ตามองค์ประกอบคุณภาพ 1. แนวทางการพัฒนาตัวบ่ งชี้เพือ่ การประกันคุณภาพภายในหน่ วยงานสนับสนุน 1.1 หลักการ การพัฒ นาตัว บ่ ง ชี้ การประกัน คุ ณ ภาพภายในหน่ ว ยงานสนับ สนุ น ของมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มีหลักการสาคัญ 4 ประการ คือ 1) ตัวบ่งชี้ พฒั นาขึ้นภายใต้องค์ประกอบคุณภาพ 5 ด้านที่มีความครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการอุดมศึกษาและพันธกิจสนับสนุน ซึ่ งมีความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่กาหนดใน กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 2) ตัวบ่งชี้ตอบสนองเจตนารมณ์แห่ งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ และมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ ยวข้อง รวมทั้งสอดคล้องไปในทิศทาง เดียวกับตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 3) ตัวบ่งชี้ประเมินปั จจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิตหรื อผลลัพธ์ ทั้งนี้ เพื่อความเชื่อมโยง และความเป็ นเอกภาพของระบบประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย 4) ตัวบ่งชี้มีความสมดุลระหว่างมุมมองการบริ หารจัดการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านบุคลากรผูป้ ฏิบตั ิงาน ด้านผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ด้านกระบวนการภายใน ด้านการเงิน และด้านการเรี ยนรู้และนวัตกรรม 1.2 เกณฑ์ การประเมิน 1.2.1 ตัวบ่งชี้ เชิ งคุ ณภาพจะระบุ เกณฑ์มาตรฐานเป็ นข้อๆ กาหนดเกณฑ์การประเมิ น ตัวบ่งชี้ เป็ น 5 ระดับ มีคะแนนตั้งแต่ 1 ถึง 5 การประเมินจะนับจานวนข้อและระบุวา่ ผลการ ดาเนิ นงานได้กี่ขอ้ ได้คะแนนเท่าใด กรณี ที่ไม่ดาเนิ นการใดๆ หรื อดาเนิ นการไม่ครบที่จะได้ 1 คะแนน ให้ถือว่าได้ 0 คะแนน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
31
1.2.2 ตัวบ่งชี้ เชิ งปริ มาณอยูใ่ นรู ปของร้อยละหรื อค่าเฉลี่ย กาหนดเกณฑ์ การประเมินเป็ น คะแนนระหว่าง 1 ถึง 5 โดยเป็ นค่าต่อเนื่ อง (มีจุดทศนิยม) สาหรับการแปลงผลการดาเนินงานตาม ตัวบ่งชี้ (ซึ่ งอยูใ่ นรู ปร้อยละหรื อค่าเฉลี่ย) เป็ นคะแนนทาโดยการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ โดยที่แต่ละ ตัวบ่งชี้จะกาหนดค่าร้อยละหรื อค่าเฉลี่ยที่คิดเป็ นคะแนน 5 ไว้ ตัวอย่างเช่น กาหนดร้อยละ 100 เป็ นคะแนน 5 ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ ได้ร้อยละ 75.51 คะแนนที่ได้
=
75.51 100
5
=
3.78
ข้ อปฏิบัติเรื่ องจุดทศนิยม การคานวณค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าคะแนนให้ใช้ทศนิ ยม 2 ตาแหน่ง โดยการปั ดทศนิยม ตาแหน่งที่ 3 ตามหลักการปัดทศนิยม (ตั้งแต่เลข 5 ขึ้นไปปั ดขึ้น) เช่น 72.364 เป็ น 72.36 3.975 เป็ น 3.98 1.2.3 กาหนดเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ เป็ น 5 ระดับ มีคะแนนตั้งแต่ 1 ถึง 5 กรณี ที่ไม่ ดาเนินการใดๆ หรื อดาเนิ นการไม่ครบที่จะได้ 1 คะแนนให้ได้ 0 คะแนน โดยมีความหมายของ คะแนน ดังนี้ คะแนน 0.00 – 1.50 หมายถึง การดาเนินงานต้องปรับปรุ งเร่ งด่วน คะแนน 1.51 – 2.50 หมายถึง การดาเนินงานต้องปรับปรุ ง คะแนน 2.51 – 3.50 หมายถึง การดาเนินงานระดับพอใช้ คะแนน 3.51 – 4.50 หมายถึง การดาเนินงานระดับดี คะแนน 4.51 – 5.00 หมายถึง การดาเนินงานระดับดีมาก
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
32
3. นิยามศัพท์ ทใี่ ช้ ในตัวบ่ งชี้ การบู รณาการ (Integration) หมายถึ ง การผสมกลมกลื นของแผน กระบวนการ สารสนเทศการจัดสรร ทรัพยากร การปฏิบตั ิการ ผลลัพธ์ และการวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุ น เป้ าประสงค์ที่สาคัญของสถาบัน (Organization-wide goal) การบูรณาการที่มีประสิ ทธิ ผล เป็ น มากกว่า ความสอดคล้องไปในแนวทางเดี ย วกัน (Alignment) ซึ่ ง การดาเนิ นการของแต่ ล ะ องค์ประกอบภายในระบบการจัดการ ผลการดาเนิ นการมีความเชื่ อมโยงกันเป็ นหนึ่ งเดี ยวอย่าง สมบูรณ์ การให้ บริการทางวิชาการแก่สังคม หมายถึง กิจกรรมหรื อโครงการให้บริ การแก่สังคมภายนอก สถาบันการศึกษา หรื อเป็ นการให้บริ การที่จดั ในสถาบันการศึกษาโดยมีบุคคลภายนอกเข้ามาใช้บริ การ การให้ อานาจในการตัดสิ นใจ หมายถึง การให้อานาจและความรับผิดชอบในการตัดสิ นใจ และในการปฏิบตั ิแก่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน ซึ่ งเป็ นผูม้ ีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับงาน เพื่อให้มีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิผล จรรยาบรรณอาจารย์ และบุ คลากรสายสนับสนุ น หมายถึ ง ประมวลความประพฤติที่ อาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนพึงปฏิบตั ิเพื่อรักษา ส่ งเสริ มเกียรติคุณ ชื่อเสี ยง และฐานะของ อาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนตามที่สภามหาวิทยาลัยกาหนด โดยอาจใช้กรอบแนวทางตาม ประกาศ ก.พ.อ. เรื่ อง มาตรฐานของจรรยาบรรณที่พึงมีในสถาบันอุดมศึกษา โดยต้องยึดมัน่ ใน หลักการ 6 ประการ คือ 1) ยึดมัน่ และยืนหยัดในสิ่ งที่ถูกต้อง 2) ซื่ อสัตย์สุจริ ตและรับผิดชอบ 3) ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความโปร่ งใสและสามารถตรวจสอบได้ 4) ปฏิบตั ิหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบตั ิอย่าง ไม่เป็ นธรรม 5) มุ่งผลสัมฤทธิ์ ของงาน 6) ไม่ใช้อานาจครอบงาผิดทานองคลองธรรมต่อนักศึกษา และต้องครอบคลุมจรรยาบรรณ10 ประการ คือ 1) จรรยาบรรณต่อตนเอง 2) จรรยาบรรณต่อ วิชาชี พ 3) จรรยาบรรณต่อการปฏิ บตั ิงาน 4) จรรยาบรรณต่อหน่วยงาน 5) จรรยาบรรณต่อ ผูบ้ งั คับบัญชา 6) จรรยาบรรณต่อผูใ้ ต้บงั คับบัญชา 7) จรรยาบรรณต่อผูร้ ่ วมงาน 8) จรรยาบรรณต่อ นักศึกษาและผูร้ ับบริ การ 9) จรรยาบรรณต่อประชาชน และ10) จรรยาบรรณต่อสังคม แนวปฏิบัติที่ดี หมายถึ ง วิธีปฏิ บตั ิ หรื อขั้นตอนการปฏิ บตั ิ ที่ทาให้องค์การประสบ ความสาเร็ จหรื อสู่ ความเป็ นเลิ ศตามเป้ าหมาย เป็ นที่ ยอมรั บในวงวิชาการหรื อวิชาชี พนั้นๆ มี หลักฐานของความสาเร็ จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุ ปวิธีปฏิบตั ิ หรื อขั้นตอนการปฏิบตั ิ ตลอดจน ความรู้และประสบการณ์ บันทึกเป็ นเอกสาร เผยแพร่ ให้หน่ วยงานภายในหรื อภายนอกสามารถ นาไปใช้ประโยชน์ได้ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย (Stakeholders) หมายถึง กลุ่มคนต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบ หรื ออาจ ได้รับผลกระทบจากการดาเนินการและความสาเร็ จของสถาบัน ตัวอย่างของกลุ่มผูม้ ีส่วนได้ส่วน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
33
เสี ยที่สาคัญ เช่ น นักศึกษา ผูป้ กครอง สมาคมผูป้ กครอง ผูป้ ฏิบตั ิงาน คู่ความร่ วมมือทั้งที่เป็ น ทางการและไม่เป็ นทางการ คณะกรรมการกากับดูแลสถาบันในด้านต่างๆ ศิ ษย์เก่ า นายจ้าง สถาบันการศึกษาอื่นๆ องค์การที่ทาหน้าที่กากับดูแลกฎ ระเบียบ องค์การที่ให้เงินสนับสนุน ผูเ้ สี ย ภาษี ผูก้ าหนดนโยบาย ผูส้ ่ งมอบ ตลอดจนชุมชนในท้องถิ่นและชุมชนวิชาการหรื อวิชาชีพ แผนกลยุทธ์ หมายถึง แผนระยะยาวของสถาบันโดยทัว่ ไปมักใช้เวลา 5 ปี เป็ นแผนที่ กาหนดทิศทางการพัฒนาของสถาบัน แผนกลยุทธ์ประกอบไปด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์ วัตถุประสงค์ ผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภัยคุกคาม กลยุทธ์ต่างๆ ของสถาบันควร คลอบคลุ ม ทุ ก ภารกิ จของสถาบัน มี ก ารก าหนดตัวบ่ง ชี้ ค วามส าเร็ จของแต่ ล ะกลยุท ธ์ และค่ า เป้ าหมายของตัวบ่งชี้เพื่อวัดระดับความสาเร็ จของการดาเนินงานตามกลยุทธ์ โดยสถาบันนาแผนกล ยุทธ์มาจัดทาแผนดาเนินงานหรื อแผนปฏิบตั ิการประจาปี แผนปฏิบัติการประจาปี หมายถึง แผนระยะสั้นที่มีระยะเวลาในการดาเนิ นงานภายใน 1 ปี เป็ นแผนที่ ถ่ า ยทอดแผนกลยุท ธ์ ล งสู่ ภ าคปฏิ บ ัติ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การด าเนิ นงานจริ ง ตามกลยุ ท ธ์ ประกอบด้วย โครงการหรื อกิจกรรมต่างๆ ที่จะต้องดาเนิ นการในปี นั้นๆ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายตาม แผนกลยุทธ์ ตัวบ่งชี้ความสาเร็ จของโครงการหรื อกิจกรรม ค่าเป้ าหมายของตัวบ่งชี้ เหล่านั้นรวมทั้ง มีการระบุผรู้ ับผิดชอบหลักหรื อหัวหน้าโครงการ งบประมาณในการดาเนิ นการรายละเอียดและ ทรัพยากรที่ตอ้ งใช้ในการดาเนินโครงการที่ชดั เจน
ระบบและกลไก ระบบ หมายถึง ขั้นตอนการปฏิ บตั ิงานที่มีการกาหนดอย่างชัดเจนว่าต้องทาอะไรบ้าง เพื่อให้ได้ผลออกมาตามที่ตอ้ งการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานจะต้องปรากฏให้ทราบโดยทัว่ กันไม่วา่ จะ อยู่ใ นรู ป ของเอกสารหรื อ สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ห รื อ โดยวิ ธี ก ารอื่ น ๆ องค์ป ระกอบของระบบ ประกอบด้วย ปั จจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิต และข้อมูลป้ อนกลับ ซึ่ งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยง กัน กลไก หมายถึ ง สิ่ งที่ทาให้ระบบมี การขับเคลื่ อนหรื อดาเนิ นอยู่ได้ โดยมีการจัดสรร ทรัพยากรมีการจัดองค์การ หน่วยงาน หรื อกลุ่มบุคคลเป็ นผูด้ าเนินงาน ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ทาหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลเข้ามาทาการประมวลผล รวมทั้งการวิเคราะห์เพื่อจัดทาเป็ นสารสนเทศในรู ปแบบต่างๆ และนาส่ งไปยังผูท้ ี่มีสิทธิ ได้รับ สารสนเทศเพื่อใช้ในการปฏิบตั ิงาน การบริ หาร หรื อการตัดสิ นใจ โดยมีคอมพิวเตอร์ รวมทั้ง อุปกรณ์ ต่างๆ เป็ น เครื่ องมือสนับสนุ นการทางานของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศใน องค์การมีหลายประเภทในแต่ละประเภทมีได้หลายระบบ ทั้งนี้ เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์เฉพาะ ด้านในการทางานที่แตกต่างกันออกไป
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
34
หลักธรรมาภิบาล หมายถึง การปกครอง การบริ หาร การจัดการ การควบคุม ดูแลกิจการ ต่างๆ ให้เป็ นไปในครรลองธรรม นอกจากนี้ ยังหมายถึงการบริ หารจัดการที่ดี ซึ่ งสามารถนาไปใช้ ได้ท้ งั ภาครัฐและเอกชน ธรรมที่ใช้ในการบริ หารงานนี้ มีความหมายอย่างกว้างขวาง กล่าวคือ หาได้ มีความหมายเพียงหลักธรรมทางศาสนาเท่านั้น แต่รวมถึ งศีลธรรม คุณธรรม จริ ยธรรม และ ความถูกต้อง ชอบธรรมทั้งปวง ซึ่ งวิญญูชนพึงมีและพึงประพฤติปฏิบตั ิ อาทิ ความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์การภายนอก เป็ นต้น หลักธรรมาภิบาลของการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) ที่เหมาะสมจะ นามาปรับใช้ในภาครัฐมี 10 องค์ประกอบ ดังนี้4 1) หลักประสิ ทธิ ผล (Effectiveness) คือ ผลการปฏิบตั ิราชการที่บรรลุวตั ถุประสงค์ และ เป้ าหมายของแผนการปฏิบตั ิราชการตามที่ได้รับงบประมาณมาดาเนินการรวมถึงสามารถเทียบเคียง กับส่ วนราชการหรื อหน่ วยงานที่มีภารกิจคล้ายคลึ งกันและมีผลการปฏิ บตั ิงานในระดับชั้นนาของ ประเทศเพื่อให้เกิ ดประโยชน์สุขต่อประชาชนโดยการปฏิ บตั ิราชการจะต้องมีทิศทางยุทธศาสตร์ และเป้ าประสงค์ที่ชัดเจนมีกระบวนการปฏิบตั ิงานและระบบงานที่เป็ นมาตรฐาน รวมถึงมีการ ติดตามประเมินผลและพัฒนา ปรับปรุ งอย่างต่อเนื่องและเป็ นระบบ 2) หลักประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency) คือ การบริ หารราชการตามแนวทางการกากับดูแลที่ดี ที่มีการออกแบบกระบวนการปฏิบตั ิงานโดยใช้เทคนิคและเครื่ องมือการบริ หารจัดการที่เหมาะสม ให้องค์การสามารถใช้ทรัพยากรทั้งด้านต้นทุน แรงงานและระยะเวลาให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อการ พัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบตั ิราชการตามภารกิจเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกกลุ่ม 3) หลักการตอบสนอง (Responsiveness) คือ การให้บริ การที่สามารถดาเนิ นการได้ ภายในระยะเวลาที่กาหนด และสร้างความเชื่ อมัน่ ความไว้วางใจ รวมถึงตอบสนองความคาดหวัง หรื อความต้องการของประชาชนผูร้ ับบริ การ และผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยที่มีความหลากหลายและมี ความแตกต่าง 4) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) คือ การแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิ หน้าที่และผลงานต่อเป้ าหมายที่กาหนดไว้ โดยความรับผิดชอบนั้นควรอยูใ่ นระดับที่สนองต่อความ คาดหวังของสาธารณะ รวมทั้งการแสดงถึงความสานึกในการรับผิดชอบต่อปั ญหาสาธารณะ 5) หลักความโปร่ งใส (Transparency) คือ กระบวนการเปิ ดเผยอย่างตรงไปตรงมา ชี้ แจง ได้เมื่อมีขอ้ สงสัยและสามารถเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารอันไม่ตอ้ งห้ามตามกฎหมายได้อย่างเสรี โดย ประชาชนสามารถรู ้ ทุ ก ขั้น ตอนในการด าเนิ น กิ จ กรรมหรื อ กระบวนการต่ า งๆและสามารถ ตรวจสอบได้
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
35
6) หลักการมีส่วนร่ วม (Participation) คือ กระบวนการที่ขา้ ราชการ ประชาชนและผูม้ ีส่วนได้ ส่ วนเสี ย ทุ ก กลุ่ มมี โอกาสได้ เข้า ร่ วมในการรั บรู้ เรี ย นรู้ ท าความเข้า ใจร่ วมแสดงทัศ นะ ร่ วมเสนอปั ญหาหรื อ ประเด็นที่ สาคัญที่ เกี่ ยวข้อง ร่ วมคิ ดแนวทางร่ วมการแก้ไขปั ญหา ร่ วมใน กระบวนการตัดสิ นใจ และร่ วมกระบวนการพัฒนาในฐานะหุ น้ ส่ วนการพัฒนา 7) หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) คือ การถ่ายโอนอานาจการตัดสิ นใจ ทรัพยากร และภารกิ จจากส่ วนราชการส่ วนกลางให้แก่หน่วยการปกครองอื่นๆ (ราชการบริ หาร ส่ วนท้องถิ่น) และภาคประชาชนดาเนินการแทนโดยมีอิสระตามสมควร รวมถึงการมอบอานาจและ ความรับผิดชอบในการตัดสิ นใจและการดาเนิ นการให้แก่บุคลากร โดยมุ่งเน้นการสร้างความพึง พอใจในการให้บริ การต่อผูร้ ับบริ การและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย การปรับปรุ งกระบวนการ และเพิ่ม ผลิตภาพเพื่อผลการดาเนินงานที่ดีของส่ วนราชการ 8) หลักนิติธรรม (Rule of Law) คือ การใช้อานาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ ใน การบริ หารราชการด้วยความเป็ นธรรม ไม่เลื อกปฏิบตั ิ และคานึ งถึ งสิ ทธิ เสรี ภาพของผูม้ ีส่วนได้ ส่ วนเสี ย 9) หลักความเสมอภาค (Equity) คือ การได้รับการปฏิบตั ิและได้รับบริ การอย่างเท่าเทียม กันโดยไม่มีการแบ่งแยกด้าน ชายหรื อหญิง ถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุความพิการ สภาพทาง กายหรื อสุ ขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษา การฝึ กอบรม และอื่นๆ 10) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) คือ การหาข้อตกลงทัว่ ไปภายในกลุ่มผูม้ ี ส่ วนได้ส่วนเสี ยที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งเป็ นข้อตกลงที่เกิดจากการใช้กระบวนการเพื่อหาข้อคิดเห็นจากกลุ่ม บุคคลที่ได้รับประโยชน์และเสี ยประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มที่ได้รับผลกระทบโดยตรงซึ่ งต้องไม่มี ข้อคัดค้านที่ยุติไม่ได้ในประเด็นที่สาคัญ โดยฉันทามติไม่จาเป็ นต้องหมายความว่าเป็ นความเห็ น พ้องโดยเอกฉันท์
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
36
4. องค์ ประกอบคุณภาพ ตัวบ่ งชี้ และเกณฑ์ การประเมิน องค์ ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ หลักการ สถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่ งมีปรัชญา ปณิ ธาน และจุดเน้นที่อาจแตกต่างกัน ดังนั้นจึงเป็ น หน้า ที่ที่ หน่ วยงานสนับ สนุ นในสถาบันจะกาหนดวิสัยทัศน์ แผนกลยุทธ์และแผนปฏิ บตั ิ การ ประจาปี ให้ชดั เจนและสอดคล้องกับปรัชญา ปณิ ธาน กฎหมาย และจุดเน้นของสถาบัน ที่สนับสนุน ภารกิจของสถาบันตามหลักการอุดมศึกษา มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพ ตลอดจนสอดคล้องกับกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 25512565) และการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก มาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2. พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน 3. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2547 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 5. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 6. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 7. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (Thai Qualification Framework for Higher Education) (TQF: HEd.) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 8. หลักการอุดมศึกษา ตัวบ่ งชี้ จานวน 1 ตัวบ่งชี้ คือ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
37
ตัวบ่ งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : หน่ ว ยงานสนับ สนุ น ในมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคลล้า นนา มี พ นั ธกิ จ หลัก คื อ สนับสนุนการเรี ยนการสอนการวิจยั การบริ การทางวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุ งศิลปะและ วัฒนธรรม ในการดาเนินพันธกิจหลัก จาเป็ นต้องมีการกาหนดทิศทางการพัฒนาและการดาเนิ นงาน ของหน่วยงานสนับสนุน เพื่อให้ดาเนินการสอดคล้องกับอัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ให้มีคุณภาพ มีความเป็ นสากล และเจริ ญเติบโตอย่างยัง่ ยืน ดังนั้น หน่ วยงานสนับสนุ นจึงต้อง กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ตลอดจนมีการพัฒนาแผนกลยุทธ์และแผนดาเนินงานเพื่อเป็ นแนวทางใน การดาเนินงานของหน่วยงาน ในการพัฒนาแผนกลยุท ธ์ นอกเหนื อจากการพิ จารณาอัตลัก ษณ์ และเอกลัก ษณ์ ของ มหาวิทยาลัยแล้ว จะต้องคานึ งถึงหลักการอุดมศึกษา กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาวมาตรฐาน การศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชี พที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ ดา้ นต่างๆ ของ ชาติ รวมถึ งทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ และการ เปลี่ยนแปลงของกระแสโลก ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนินงานของหน่วยงานเป็ นไปอย่างมีคุณภาพ เป็ นที่ ยอมรับ และสามารถตอบสนองยุทธศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยและตอบสนองความต้องการของ ผูร้ ับบริ การในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยการมีส่วนร่ วม ของบุคลากรในหน่วยงาน และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริ หารมหาวิทยาลัย 2. มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ระดับหน่วยงานไปสู่ ผปู ้ ฏิบตั ิงาน 3. มี ก ระบวนการแปลงแผนกลยุ ท ธ์ เ ป็ นแผนปฏิ บ ัติ ก ารประจ าปี ตามพัน ธกิ จ ของ หน่วยงาน 4. มีตวั บ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบตั ิการประจาปี และค่าเป้ าหมายของแต่ละตัวบ่งชี้ เพื่อวัดความสาเร็ จของการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิการประจาปี 5. มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี ครบตามพันธกิจ 6. มีการติดตามผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบตั ิการประจาปี อย่างน้อย ปี ละ 1 ครั้ง และรายงานผลต่อผูบ้ ริ หารเพื่อพิจารณา
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
38
7. มีการประเมินผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง และรายงานผลต่อผูบ้ ริ หารเพื่อพิจารณา 8. มีการนาผลการพิจารณา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะของผูบ้ ริ หารไปปรับปรุ งแผน กลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิการประจาปี เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 หรื อ 7 ข้อ
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 8 ข้อ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
39
องค์ ประกอบที่ 2 การดาเนินงานตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ ของหน่ วยงาน หลักการ หน่ วยงานสนับสนุ นในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาถูกกาหนดไว้ใน โครงสร้ า งการบริ ห ารงาน เพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลัย ตาม พ.ร.บ. มหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล หรื ออาศัยอานาจในการจัดตั้งจากสภามหาวิทยาลัยภายใต้กรอบวิสัยทัศน์ พันธกิจในการบริ หารจัดการให้เกิดผลในการพัฒนาระบบและกลไกการพัฒนาการปฏิบตั ิงานของ หน่วยงาน ดังนั้นหน่ วยงานจึงต้องมีระบบและกลไกในการให้บริ การตามเป้ าหมายของหน่วยงาน และมีการประเมินความพึงพอใจของผูร้ ับบริ การ เพื่อนามาใช้ในการพัฒนางานตามภารกิจที่ได้รับ มอบหมาย มาตรฐานและเอกสารที่เกีย่ วข้ อง 1. แผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 2. แผนปฏิบตั ิงานประจาปี งบประมาณของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาในปี นั้น ๆ 3. โครงสร้ า งมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนาที่ ไ ด้ ค วามเห็ น ชอบจาก สภามหาวิทยาลัย 4. อานาจหน้า ที่ และภารกิ จที่ ไ ด้รับ มอบหมายจากมหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา 5. แผนปฏิ บ ตั ิ งานประจาปี ของหน่ วยงานที่ ส นองต่ อแผนยุท ธศาสตร์ วิสัย ทัศ น์ และ พันธกิจของหน่วยงานตามกรอบของแผนปฏิบตั ิการของมหาวิทยาลัย 6. คู่มือประกันคุณภาพภายในสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัย ตัวบ่ งชี้จานวน 3 ตัวบ่ งชี้ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาการปฏิบตั ิงานของหน่วยงาน 2.2 ระบบและกลไกการให้บริ การของหน่วยงาน 2.3 ผลการประเมินความพึงพอใจในการให้บริ การ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
40
ตัวบ่ งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกในการพัฒนาการปฏิบัติงานของหน่ วยงาน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : หน่ วยงานสนับ สนุ นเป็ นหน่ วยงานกลางที่ มีหน้า ที่ ใ นการประสานการดาเนิ นงานตาม พันธกิจที่ได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัยลงสู่ การปฏิบตั ิ ดังนั้นแต่ละหน่วยงานจะต้องนาภารกิจที่ ได้รับมาบริ หารจัดการ วางระบบและกลไกในการถ่ายทอดลงสู่ การปฏิบตั ิให้เกิ ดผลในการพัฒนา อย่างต่อเนื่ อง โดยการมี ส่วนร่ วมของบุคลากรภายในหน่ วยงานและผูป้ ฏิ บตั ิ ให้เกิ ดความชัดเจน สามารถปฏิบตั ิได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัย เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีการกาหนดนโยบาย กลยุทธ์ แผนปฏิบตั ิงาน ตามพันธกิจหลัก 2. มี โครงสร้ า งการบริ ห ารจัด การภายในหน่ วยงาน และมี ก ารวิ เคราะห์ อ ัตราก าลัง ที่ เหมาะสม 3. มีการกาหนดคุ ณลักษณะของงาน (Job Description) และ กาหนดคุ ณสมบัติของผู ้ ปฏิบตั ิ (Job Specification) 4. มี ระเบี ย บข้อบัง คับ มาตรการแนวการปฏิ บตั ิ งาน (Procedure Instruction) และวิธี ปฏิบตั ิงานที่เป็ นมาตรฐาน (Work Instruction) 5. มีการทบทวนประเมินผลขั้นตอนและวิธีปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่อง 6. มีการนาผลการประเมินไปพิจารณาปรับปรุ งการปฏิ บตั ิ งานให้สอดคล้องกับภารกิ จ ของหน่วยงาน เกณฑ์ ประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ
คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรื อ 3 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 ข้อ
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 6 ข้อ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
41
ตัวบ่ งชี้ที่ 2.2 ระบบและกลไกในการให้ บริการของหน่ วยงาน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : หน่ ว ยงานสนั บ สนุ น เป็ นหน่ ว ยงานที่ ต้อ งรั บ ผิ ด ชอบในการขับ เคลื่ อ นภารกิ จ ของ มหาวิทยาลัยที่ได้รับมอบหมายให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพ โดยจะเกิดขึ้นได้โดยการสร้างความเข้าใจใน ระบบและกลไกในการให้บริ การทั้งระดับผูบ้ ริ หารและผูป้ ฏิบตั ิให้เกิดผลในการดาเนิ นงานร่ วมกัน ให้ชดั เจนและปฏิบตั ิได้ เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีการจัดทากลยุทธ์ แผนภูมิในการดาเนินงานของการปฏิบตั ิงานการให้บริ การ 2. มีคณะกรรมการ คณะทางาน หรื อหน่วยงานดาเนินงานให้บริ การตามแผนที่กาหนด 3. มีการกาหนดหลักเกณฑ์และหรื อระเบียบในการให้บริ การ 4. มีกระบวนการในการสร้างความสัมพันธ์กบั ผูใ้ ช้บริ การ 5. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานตามแผนภูมิที่กาหนด 6. มีการนาผลการประเมินไปพัฒนาปรับปรุ งการวางแผนการให้บริ การในปี ต่อไป เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรื อ 4 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 ข้อ
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 6 ข้อ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
42
ตัวบ่ งชี้ที่ 2.3 ผลการประเมินความพึงพอใจในการให้ บริการ ชนิดตัวบ่ งชี้ : ปริ มาณ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : ผลการประเมิ นความพึงพอใจในการให้บริ การเป็ นตัวชี้ วดั อันหนึ่ งที่แสดงถึ งระบบและ กลไกในการติดต่อประสานงานหรื อให้บริ การของหน่วยงานควรจะได้รับการพัฒนาปรับปรุ งมาก น้อยขนาดไหน ดังนั้นผลการประเมินเป็ นสิ่ งที่หน่ วยงานจะต้องดาเนิ นการจัดทาเพื่อนามาพัฒนา งานของหน่วยงานให้ดีข้ ึน เอกสารหลักฐานประกอบการประเมิน : 1. แบบสอบถามความพึงพอใจในการรับบริ การของหน่ วยงานที่ ครอบคลุ มการกิ จของ หน่วยงาน 2. แบบประเมิ นที่ นามาใช้ในการคานวณ ควรไม่น้อยกว่าร้ อยละ75 ของการให้บริ การ ทั้งปี 3. สู ตรในการคานวณ ร้อยละของความพึงพอใจ = เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 ≤ ร้อยละ 50 51-65
ผลรวมค่าเฉลี่ยจากแบบประเมิน ค่าคะแนนเต็มของแบบประเมิน
คะแนน 3 66-80
คะแนน 4 81-95
100
คะแนน 5 >ร้อยละ 95
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
43
องค์ ประกอบที่ 3 การบริหารและการจัดการ หลักการ หน่ วยงานสนับสนุ นในสังกัดสถาบันอุดมศึกษาต้องให้ความสาคัญกับการบริ หารจัดการ โดยมีผบู้ ริ หารทาหน้าที่ในการกากับดูแลการทางานของสถาบันให้มีประสิ ทธิ ภาพ จะต้องบริ หาร จัดการด้านต่างๆ ให้มีคุณภาพ เช่น ทรัพยากรบุคคล ระบบฐานข้อมูล การบริ หารความเสี่ ยง การ บริ หารการเปลี่ยนแปลง การบริ หารทรัพยากร เพื่อสัมฤทธิ ผลตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ โดยใช้หลัก ธรรมาภิบาล (Good Governance) มาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 2. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 3. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. มาตรฐานการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการตามคารับรองการปฏิบตั ิราชการสานักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) 5. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) 6. เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็ นเลิศ 2552-2553 7. เกณฑ์การบริ หารจัดการภาครัฐ (PMQA) ตัวบ่ งชี้ จานวน 5 ตัวบ่งชี้ คือ 3.1 ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารทุกระดับของหน่วยงาน 3.2 ระบบการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน 3.3 การพัฒนาหน่วยงานสู่ สถาบันเรี ยนรู ้ 3.4 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจ 3.5 ระบบบริ หารความเสี่ ยง
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
44
ตัวบ่ งชี้ที่ 3.1 ภาวะผู้นาของผู้บริหารทุกระดับของหน่ วยงาน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : ปั จจัยสนับสนุ นที่สาคัญต่อการเจริ ญก้าวหน้าของหน่ วยงาน คือ ผูบ้ ริ หารทุกระดับของ หน่ ว ยงานนั้น ๆ หากผู้บ ริ ห ารมี วิสั ย ทัศ น์ เ ป็ นผู้น าที่ ดี มี ธ รรมาภิ บ าล รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม รักความก้าวหน้าดูแลบุคลากรอย่างดี เปิ ดโอกาสให้บุคลากรภายในหน่วยงานเข้ามามีส่วนร่ วมใน การบริ หาร มีความสามารถในการตัดสิ นใจแก้ปัญหา และกากับดูแลติดตามผลการดาเนิ นงานของ หน่วยงานไปในทิศทางที่ถูกต้อง จะทาให้หน่วยงานเจริ ญรุ ดหน้าอย่างรวดเร็ ว เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. ผูบ้ ริ หารมีวสิ ัยทัศน์ กาหนดทิศทางการดาเนิ นงานและสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากร ทุกระดับ มี ความสามารถในการวางแผนกลยุทธ์ มีการนาข้อมูลสารสนเทศเป็ นฐานในการ ปฏิบตั ิงานเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. ผูบ้ ริ หารมีการกากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนิ นงานตามที่มอบหมาย รวมทั้ง สามารถสื่ อสารแผนและผลการดาเนินงานของหน่วยงานไปยังบุคลากรในหน่วยงาน 3. ผูบ้ ริ หารสนับสนุนให้บุคลากรในหน่วยงานมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการ ให้อานาจ ในการตัดสิ นใจแก่บุคลากรตามความเหมาะสม 4. ผูบ้ ริ หารถ่ายทอดความรู ้ และส่ งเสริ มพัฒนาผูร้ ่ วมงาน เพื่อให้สามารถทางานบรรลุ วัตถุประสงค์ของหน่วยงานเต็มตามศักยภาพ 5. ผูบ้ ริ หารบริ หารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล โดยคานึ งถึงประโยชน์ของหน่วยงานและ ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
45
ตัวบ่ งชี้ที่ 3.2 ระบบการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ชนิดตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : คุ ณภาพของการศึ กษาจะเกิ ดขึ้ นได้หากหน่ วยงานามี บุค ลากรที่ มีคุณภาพสอดคล้องกับ พันธกิ จและเป้ าหมายของหน่ วยงาน องค์ก รควรมี ก ารพัฒนาบุ ค ลากรตามสาขาวิช าชี พ และหา วิธีการที่จะธารงรักษาบุคลากรที่มีประสิ ทธิ ภาพให้อยูก่ บั องค์กรตลอดไป เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีแผนการบริ หารและการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุ นที่ มีการวิเคราะห์ข้อมูล เชิ ง ประจักษ์ 2. มีการบริ หารและการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็ นไปตามแผนที่กาหนด 3. มี ก ารสร้ า งขวัญ และก าลัง ใจให้ บุ ค ลากรสายสนับ สนุ น สามารถท างานได้อ ย่า งมี ประสิ ทธิภาพ 4. มีระบบการติดตามให้บุคลากรสายสนับสนุนนาความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนา มาใช้ในการปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้อง 5. มี ก ารประเมิ น ผลความส าเร็ จ ของแผนการบริ หารและการพัฒ นาบุ ค ลากรสาย สนับสนุน 6. มีการนาผลการประเมินไปปรั บปรุ งแผนหรื อปรับปรุ งการบริ หารและพัฒนาบุคลากร สายสนับสนุน เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 และ 4 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 ข้อ
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 6 ข้อ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
46
ตัวบ่ งชี้ที่ 3.3 การพัฒนาหน่ วยงานสู่ สถาบันเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : มาตรฐานการอุดมศึกษาข้อที่ 3 กาหนดให้สถาบันอุดมศึกษา มีการสร้างและพัฒนาสังคม ฐานความรู ้และสังคมแห่งการเรี ยนรู ้ ซึ่ งต้องมีการจัดการความรู ้เพื่อมุ่งสู่ สถาบันแห่ งการเรี ยนรู้โดย มีการรวบรวมองค์ความรู ้ที่มีอยูใ่ นสถาบันซึ่ งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรื อเอกสารมาพัฒนา ให้เป็ นระบบเพื่ อให้ทุกคนในสถาบันสามารถเข้าถึ งความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็ นผูร้ ู้ รวมทั้ง ปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ อันจะส่ งผลให้สถาบันอุดมศึกษามีความสามารถในเชิงแข่งขัน สู งสุ ด กระบวนการในการบริ หารจัดการความรู ้ในหน่วยงานและสถาบัน ประกอบด้วยการระบุ ความรู้ การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บความรู ้ การเข้าถึงข้อมูล และการแลกเปลี่ยนความรู ้ท้ งั ภายในและภายนอกหน่วยงาน การสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรี ยนรู้ภายในหน่วยงาน การ กาหนดแนววิธีปฏิบตั ิงาน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการบริ หาร จัดการความรู้ในหน่วยงานให้ดียงิ่ ขึ้น เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีการกาหนดประเด็นความรู ้ และเป้ าหมายของการจัดการความรู ้ที่สอดคล้องกับแผน กลยุทธ์และภารกิจของหน่วยงาน 2. กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้ าหมายที่จะพัฒนาความรู ้ และทักษะด้านการผลิ ตบัณฑิ ตและ ด้านการวิจยั อย่างชัดเจนตามประเด็นความรู ้ที่กาหนดในข้อ 1 3. มีการแบ่งปั นและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้จากความรู ้ ทักษะของผูม้ ีประสบการณ์ตรง (Tacit Knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิ บตั ิที่ดีตามประเด็นความรู้ ที่กาหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ ไปสู่ บุคลากรกลุ่มเป้ าหมายที่กาหนด 4. มีการรวบรวมความรู ้ ตามประเด็นความรู ้ ที่กาหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและ แหล่งเรี ยนรู ้อื่นๆ ที่เป็ นแนวปฏิบตั ิที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็ นระบบโดยเผยแพร่ ออกมาเป็ น ลายลักษณ์อกั ษร (Explicit Knowledge) 5. มีการนาความรู ้ที่ได้จากการจัดการความรู ้ในปี การศึกษาปั จจุบนั หรื อปี การศึกษาที่ผา่ น มา ที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร (Explicit Knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผูม้ ีประสบการณ์ตรง (Tacit Knowledge) ที่เป็ นแนวปฏิบตั ิที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบตั ิงานจริ ง
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ
47
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ
ตัวบ่ งชี้ที่ 3.4 ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารและการตัดสิ นใจ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : ทุกหน่วยงานสถาบันควรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจที่ สอดรับกับนโยบายและการวางแผน เพื่อให้เป็ นระบบที่สมบูรณ์สามารถเชื่ อมโยงกับทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เป็ นระบบที่ใช้งานได้ ทั้งเพื่อการบริ หารการวางแผน และการ ตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หาร ทุกระดับ เพื่อการปฏิบตั ิงานตามภารกิจทุกด้านของบุคลากร เพื่อการติดตาม ตรวจสอบและประเมินการดาเนินงาน ตลอดจนเพื่อการปรับปรุ งและพัฒนาหน่วยงาน ทั้งนี้ ระบบ ดังกล่าวต้องมีความสะดวกในการใช้งานโดยประเมินจากความพึงพอใจของผูใ้ ช้ เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan) ของหน่วยงาน 2. มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจตามพันธกิ จของของหน่ วยงาน โดยอย่างน้อยต้องครอบคลุ มการบริ หารจัดการ การเงินและสามารถนาไปใช้ในการดาเนิ นงาน ประกันคุณภาพ 3. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศ 4. มีการนาผลการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศมาปรับปรุ งระบบ สารสนเทศ 5. มีการส่ งข้อมูลผ่านระบบเครื อข่ายของหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องตามที่กาหนด เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
48
ตัวบ่ งชี้ที่ 3.5 ระบบบริหารความเสี่ ยง ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : เพื่อให้ทุก หน่ วยงานของมหาวิท ยาลัย มีระบบบริ หารความเสี่ ย ง โดยการบริ หารและ ควบคุมปั จจัย กิจกรรม และกระบวนการดาเนินงานที่อาจเป็ นมูลเหตุของความเสี ยหาย (ทั้งในรู ป ของตัวเงินหรื อไม่ใช่ตวั เงิน เช่น ชื่อเสี ยง และการฟ้ องร้องจากการไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล หรื อความคุม้ ค่า) เพื่อให้ระดับความเสี่ ยง และขนาดของความ เสี ยหายที่จะเกิ ดขึ้นในอนาคต อยูใ่ นระดับที่ยอมรับและควบคุมได้ โดยคานึงถึงการเรี ยนรู้วิธีการ ป้ องกันจากการคาดการณ์ ปัญหาล่วงหน้าและโอกาสในการเกิ ด เพื่อป้ องกันหรื อบรรเทาความ รุ นแรงของปัญหา รวมทั้งการมีแผนสารองต่อภาวะฉุ กเฉิ น เพื่อให้มนั่ ใจว่าระบบงานต่าง ๆ มีความ พร้อมใช้งาน มีการปรับปรุ งระบบอย่างต่อเนื่ องและทันต่อการเปลี่ยนแปลงเพื่อการบรรลุเป้ าหมาย ของสถาบันตามยุทธศาสตร์หรื อกลยุทธ์เป็ นสาคัญ เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรื อคณะทางานบริ หารความเสี่ ยงประจาหน่วยงาน 2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ ยง และปั จจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ ยงอย่างน้อย 3 ด้าน ตามบริ บทของหน่วยงาน ตัวอย่างเช่น ความเสี่ ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่) ความเสี่ ยงด้านยุทธศาสตร์ หรื อกลยุทธ์ของหน่วยงาน ความเสี่ ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ความเสี่ ยงด้านการปฏิบตั ิงาน เช่น ความเสี่ ยงของกระบวนการบริ หาร ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ ความเสี่ ยงด้านบุคลากรและความเสี่ ยงด้านธรรมาภิบาลโดยเฉพาะจรรยาบรรณ ของอาจารย์และบุคลากร ความเสี่ ยงจากเหตุการณ์ภายนอก อื่น ๆ ตามบริ บทของหน่วยงาน 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ ยงและจัดลาดับความเสี่ ยงที่ได้จาก การวิเคราะห์ในข้อ 2 4. มีการจัดทาแผนบริ หารความเสี่ ยงที่มีระดับความเสี่ ยงสู ง และดาเนินการตามแผน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
49
5. มีการติดตาม และประเมินผลการดาเนิ นงานตามแผน และรายงานต่อสานักงาน ตรวจสอบภายในเพื่อพิจารณาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 6. มีการนาผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากสานักงานตรวจสอบภายในไปใช้ในการ ปรับแผนหรื อวิเคราะห์ความเสี่ ยงในรอบปี ถัดไป ตัวอย่ างความเสี่ ยงร้ ายแรงทีใ่ ห้ ผลประเมินเป็ นศู นย์ (0) คะแนน เช่ น 1. มี ก ารเสี ย ชี วิ ต และถู ก ท าร้ า ยร่ า งกายหรื อจิ ต ใจอย่ า งรุ น แรงของบุ ค ลากรภายใน หน่วยงาน ทั้งๆ ที่อยูใ่ นวิสัยที่สามารถป้ องกันหรื อลดผลกระทบในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ แต่ไม่พบ แผนการจัดการความเสี่ ยงหรื อไม่พบความพยายามของหน่วยงานในการระงับเหตุการณ์ดงั กล่าว 2. หน่วยงานเสื่ อมเสี ยชื่ อเสี ยงหรื อมีภาพลักษณ์ ที่ไม่ดี อันเนื่ องมาจากปั จจัยต่างๆ เช่ น บุคลากรขาดจริ ยธรรม จรรยาบรรณการไม่ปฏิบตั ิตามมาตรฐานหรื อกฎกระทรวง และเกิดเป็ นข่าว ปรากฏให้เห็นตามสื่ อต่าง เช่น หนังสื อพิมพ์ ข่าว online เป็ นต้น เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรื อ 4 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 ข้อ
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 6 ข้อ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
50
องค์ ประกอบที่ 4 การเงินและงบประมาณ หลักการ การเงินและงบประมาณเป็ นสิ่ งที่สาคัญอย่างหนึ่ งของมหาวิทยาลัย ไม่วา่ แหล่งเงินทุนจะ ได้มาจากงบประมาณแผ่นดิน (สาหรับสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) หรื อเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย เช่น ค่าหน่วยกิต ค่าธรรมเนียม ค่าบารุ งการศึกษาต่างๆ ของนักศึกษา รายได้จากงานวิจยั บริ การทาง วิชาการ ค่าเช่าทรัพย์สิน ผูบ้ ริ หารหน่วยงานในมหาวิทยาลัย จะต้องมีแผนการใช้เงินที่สะท้อนความ ต้องการใช้เงินเพื่อการดาเนิ นงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของหน่ วยงาน ได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทาความเข้าใจกับการวิเคราะห์ทางการเงิ น เช่ น งบประมาณในการพัฒนา บุคลากร ความรวดเร็ วในการเบิกจ่าย ร้อยละของงบประมาณที่ประหยัดได้หลังจากที่ปฏิบตั ิตาม ภารกิจทุกอย่างครบถ้วน สิ่ งเหล่านี้ จะเป็ นการแสดงศักยภาพเชิ งการบริ หารจัดการด้านการเงินของ หน่ วยงานที่เน้นถึ งความโปร่ งใส ความถูกต้องใช้เม็ดเงิ นอย่างคุ ม้ ค่า มีประสิ ทธิ ภาพ และเกิ ด ประโยชน์สูงสุ ด มาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. แผนพัฒนาด้านการเงินระดับอุดมศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2. แผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสถาบัน 3. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) 5. มาตรฐานแผนการปฏิบตั ิราชการของสานักงบประมาณ 6. รายงานงบประมาณแผ่นดิน (สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) และเงินรายได้ ตัวบ่ งชี้ จานวน 1 ตัวบ่งชี้ คือ 4.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
51
ตัวบ่ งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : หน่ ว ยงานในมหาวิ ท ยาลั ย จะต้ อ งมี ร ะบบในการจัด หาและจ ดั สรรเงิ น อย่า งมี ประสิ ทธิ ภาพ จะต้องมี แผนกลยุท ธ์ ท างด้า นการเงิ นซึ่ ง เป็ นแผนจัดหาเงิ นทุ นจากแหล่ ง เงิ นทุ น ต่า งๆ ที่ส ามารถผลัก ดันแผนกลยุทธ์ของหน่ วยงานให้ส ามารถดาเนิ นการได้ มีก ารวิเคราะห์ รายได้ ค่า ใช้จ่า ยของการดาเนิ น งาน ทั้ง จากงบประมาณแผ่น ดิ น และเงิ น รายได้อื่น ๆ ที่ หน่ วยงานได้รับ มี ก ารจัด สรรงบประมาณและการจัดทารายงานทางการเงิ นอย่า งเป็ นระบบ ครบทุ กพันธกิ จมี ระบบการตรวจสอบการใช้เงิ นอย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ รายงานทางการเงิ นต้อง แสดงรายละเอี ยดการใช้จ่ายในทุ กพันธกิ จ โครงการ กิ จกรรม เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ส ถานะ ทางการเงิ นได้ เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้านการเงิน หลักเกณฑ์การจัดสรร และการวางแผนการ ใช้เงินอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ 3. มีงบประมาณประจาปี ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบตั ิการในแต่ละพันธกิจและการพัฒนา หน่วยงานและบุคลากร 4. มีการจัดทารายงานทางการเงิ นอย่างเป็ นระบบ และรายงานต่อกองนโยบายและแผน อย่างน้อย ปี ละ 1 ครั้ง 5. มีการนาข้อมูลทางการเงิ นไปใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และวิเคราะห์สถานะทาง การเงินและความมัน่ คงของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง 6. มีหน่วยงานตรวจสอบภายใน ทาหน้าที่ตรวจ ติดตามการใช้เงินให้เป็ นไปตามระเบียบ และกฎเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด 7. ผูบ้ ริ หารมีการติดตามผลการใช้เงินให้เป็ นไปตามเป้ าหมาย และนาข้อมูล จากรายงาน ทางการเงินไปใช้ในการวางแผนและการตัดสิ นใจ หมายเหตุ : แผนกลยุทธ์ทางการเงิน เป็ นแผนระยะยาวที่ระบุที่มาและใช้ไปของทรัพยากรทาง การเงิ นของหน่ วยงานที่สามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ของหน่ วยงานให้สามารถ ด าเนิ น การได้ แผนกลยุ ท ธ์ ท างการเงิ น จะสอดรั บ ไปกับ แผนกลยุ ท ธ์ ข อง
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
52
มหาวิทยาลัย หน่ วยงานควรประเมินความต้องการทรัพยากรที่ตอ้ งจัดหาสาหรับ การดาเนิ นงานตามกลยุทธ์แต่ละกลยุทธ์และประเมินมูลค่าของทรัพยากรออกมา เป็ นเงินทุนที่ตอ้ งการใช้ ซึ่ งจะเป็ นความต้องการเงินทุนในระยะยาวเท่ากับเวลาที่ สถาบันใช้ในการดาเนิ นการให้กลยุทธ์น้ นั บังเกิดผล จากนั้นจึงจะกาหนดให้เห็ น อย่างชัดเจนถึงที่มาของเงินทุนที่ตอ้ งการใช้วา่ สามารถจัดหาได้จากแหล่งเงินทุนใด เช่น งบประมาณแผ่นดินหรื อเงินอุดหนุ นจากรัฐบาล เงินทุนสะสมของหน่วยงาน เงินบริ จาคจากหน่วยงานภายนอกหรื อศิษย์เก่า หรื อหน่ วยงานจะต้องมีการระดม ทุนด้วยวิธีการอื่นๆ อีกเพิ่มเติมระยะเวลาของแผนกลยุทธ์ทางการเงิ นจะเท่ากับ ระยะเวลาของแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
53
องค์ ประกอบที่ 5 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ หลักการ ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็ นปั จจัยสาคัญที่แสดงถึงศักยภาพ การพัฒนาคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา โดยต้องครอบคลุมทั้งปั จจัยนาเข้า กระบวนการผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่ เกิ ดขึ้ น สถาบันอุ ดมศึ กษาจะต้องพัฒนาระบบและกลไกการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในอย่างต่อเนื่อง และมีกระบวนการจัดการความรู้ เพื่อให้เกิดนวัตกรรมด้าน การประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เป็ นลักษณะเฉพาะของสถาบัน มาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 3. กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 4. มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2547 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 5. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 6. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 7. กรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2552 (Thai Qualification Framework for Higher Education) (TQF: HEd.) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 8. เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 9. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) ตัวบ่ งชี้ จานวน 1 ตัวบ่งชี้ คือ 5.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
54
ตัวบ่ งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : การประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็ นภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาตามที่กาหนดไว้ใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่ งสถาบันต้อง สร้างระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ ประเมินและพัฒนาการดาเนินงานของสถาบันให้ เป็ นไปตามนโยบาย เป้ าประสงค์ และระดับคุ ณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดโดยสถาบันและ หน่ วยงานต้นสังกัด ตลอดจนหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้อง มี การวัดผลสาเร็ จของการประกันคุ ณภาพ การศึกษาภายใน รวมทั้งการรายงานผลการประกันคุณภาพต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ดเผยต่อ สาธารณชน มี ก ารประเมิ นและปรั บ ปรุ งอย่า งต่อเนื่ อง และมี นวัตกรรมที่ เป็ นแบบอย่า งที่ ดี การประกันคุ ณภาพการศึ ก ษาภายในถื อเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของกระบวนการบริ หารการศึ กษาที่ ต้อง ดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง โดยมีการสร้างจิตสานึ กให้เห็นว่าเป็ นความรับผิดชอบร่ วมกันของทุกคน ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเป็ นหลักประกันแก่สาธารณชนให้มนั่ ใจได้วา่ สถาบัน สามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจและ พัฒนาการของหน่วยงาน 2. มีการดาเนิ นงานด้านการประกันคุ ณภาพภายในที่ครบถ้วน ประกอบด้วย 1) การ ควบคุม ติดตามการดาเนินงาน และประเมินคุณภาพ 2) การจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงาน ประเมินคุณภาพเสนอต่อสานักงานประกันคุณภาพการศึกษา 3. มีการนาผลการประกันคุณภาพภายในมาปรับปรุ งการทางาน และส่ งผลให้มีการพัฒนา ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้ 4. มีระบบสารสนเทศที่ให้ขอ้ มูลสนับสนุนการประกันคุณภาพภายใน 5. มีส่วนร่ วมของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในการประกันคุณภาพภายใน โดยเฉพาะผูใ้ ช้บริ การ ตามพันธกิจของหน่วยงาน 6. มีเครื อข่ายการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ดา้ นการประกันคุณภาพภายในระหว่างหน่วยงานและ มีกิจกรรมร่ วมกัน 7. มีแนวปฏิบตั ิที่ดีหรื องานวิจยั ด้านการประกันคุณภาพภายในที่หน่วยงานพัฒนาขึ้นและ เผยแพร่ ให้หน่วยงานอื่นสามารถนาไปใช้ประโยชน์
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ
55
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 6 ข้อ หรื อ 7 ข้อ
บทที่ 4 ตัวอย่ างแนวทางปฏิบตั ิ เพือ่ ให้ เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานด้ านกระบวนการ
ตัวบ่ งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน 1. มีการจั ดทาแผนกลยุ ทธ์ ที่สอดคล้ องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยการมีส่วนร่ วมของ บุคลากรในหน่ วยงาน และได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย 1.1 มีการกาหนดปรัชญาหรื อปณิ ธานของหน่วยงาน หากหน่วยงานได้กาหนดปรัชญาหรื อ ปณิ ธานอยูแ่ ล้ว ตั้งแต่เริ่ มต้น หน่วยงานควรทบทวนว่า ปรัชญาหรื อปณิ ธานยังมีความเหมาะสมกับ สภาพการณ์ ในปั จจุบนั ของสถาบันหรื อไม่ หากเหมาะสมต้องดาเนิ นการให้แน่ ใจว่าสมาชิ กใน หน่วยงานและผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบโดยทัว่ กัน 1.2 หากต้องมีการปรับแก้ปรัชญาหรื อปณิ ธานของหน่วยงานตามสภาพการณ์ที่เปลี่ยนไป ควรเป็ นการกาหนดปรัชญาหรื อปณิ ธานร่ วมกันทั้งผูบ้ ริ หาร และเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็ นที่ยอมรับของทุก ฝ่ าย อันจะนาไปสู่ ความร่ วมมื อร่ วมใจกันปฏิ บตั ิ งานให้บรรลุ ผลตามปรัชญาหรื อปณิ ธานที่ได้ กาหนด ร่ วมกัน และได้รับความเห็นชอบจากมติที่ประชุมของหน่วยงาน 1.3 มี ก ารพัฒ นาแผนกลยุ ท ธ์ ใ ห้ ส อดคล้อ งกับ ปรั ช ญาหรื อ ปณิ ธ านและนโยบายของ มหาวิทยาลัย พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย จุดเน้นของมหาวิทยาลัย และแผนอุดมศึกษาระยะยาว รวมทั้งหลักการและมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ ยวข้อง โดยทาตารางวิเคราะห์ให้ชดั เจนว่าปรัชญาหรื อ ปณิ ธ านและนโยบายของมหาวิท ยาลัย และกลยุทธ์ ข องหน่ วยงานสอดคล้องกันในประเด็ นใด อย่างไร หากมีประเด็นที่ไม่สอดคล้องควรพิจารณาปรับแก้ให้สอดคล้อง 1.4 มี ก ารจัด ตั้ง คณะกรรมการจัด ท าแผนกลยุ ท ธ์ (Strategy) เพื่ อ น าหน่ ว ยงานไป สู่ ความสาเร็ จที่พึงประสงค์ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้ าประสงค์ (Goal) และวัตถุประสงค์ (Objective) คณะกรรมการควรวิเคราะห์จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และภัยคุกคาม (Threat) เพื่อนาไปสู่ การกาหนดกลยุทธ์ที่ชดั เจน และ ครอบคลุ มทุ กภารกิ จของหน่ วยงาน วิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์ ที่ หน่ วยงานกาหนดควรผ่านการ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
57
พิจารณาร่ วมกันจากทั้งผูบ้ ริ หาร และเจ้าหน้าที่ เพื่อให้เกิ ดการยอมรับของทุกฝ่ าย อันจะนาไปสู่ ความร่ วมมือร่ วมใจกันปฏิบตั ิงานให้บรรลุผลตามความมุ่งหวังของมหาวิทยาลัย 2. มีการถ่ ายทอดแผนกลยุทธ์ ระดับหน่ วยงานไปสู่ ผ้ ปู ฏิบัติงาน 2.1 มี การชี้ แจงท าความเข้าใจกับผู้บริ หารและบุ คลากรภายในหน่ วยงาน ถึ งวิ สั ยทัศ น์ กลยุทธ์ และเป้ าหมายของกลยุทธ์ และมีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบดาเนิ นงานตามแผนกลยุทธ์อย่างเป็ น ทางการ 2.2 มีการกาหนดเป้ าหมายในการดาเนิ นงานตามแผนกลยุทธ์ของหน่วยงานภายในและมี การมอบหมายอย่างเป็ นทางการ 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธ์ เป็ นแผนปฏิบัติการประจาปี ตามพันธกิจของหน่ วยงาน 3.1 มีก ารจัดท าแผนที่ ก ลยุทธ์ (Strategic map) เพื่ อช่ วยในการแปลงแผนกลยุท ธ์ ไปสู่ แผนปฏิบตั ิการตามกระบวนการของ Balance scorecard 3.2 มีการจัดทารายงานผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างแผนกลยุทธ์กบั แผนปฏิบตั ิ การประจาปี ของหน่วยงาน 4. มีตัวบ่ งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปี และค่ าเป้าหมายของแต่ ละตัวบ่ งชี้เพื่อวัด ความสาเร็จของการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการประจาปี 4.1 มีการจัดทาตัวบ่งชี้ (KPI) พร้ อมทั้งเป้ าหมาย (target) ของแต่ละตัวบ่งชี้ ที่จะใช้วดั ความสาเร็ จของการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบตั ิการประจาปี ทั้งนี้ ควรจัดทาพร้อม กับการจัดทาแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบตั ิการประจาปี 4.2 มีกระบวนการส่ งเสริ มให้ผบู้ ริ หาร และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานในการดาเนินการตาม ตัวบ่งชี้ เข้ามีส่วนร่ วมในการจัดทาตัวบ่งชี้ และค่าเป้ าหมาย เพื่อให้เกิดการยอมรับของทุกคน อันจะ นาไปสู่ ความร่ วมมือร่ วมใจกันปฏิบตั ิงานให้บรรลุผลตามเป้ าหมายที่ได้กาหนดร่ วมกัน 5. มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปี ครบตามพันธกิจ หน่ วยงานควรจัดท าปฏิ ทินการดาเนิ นงานตามแผนปฏิ บตั ิงาน เพื่ อใช้เป็ นแนวทางการ ดาเนินงานและสร้างความเชื่อมัน่ ว่าได้มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั ิงานในเวลาที่เหมาะสม
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
58
6. มีการติดตามผลการดาเนินงานตามตัวบ่ งชี้ของแผนปฏิบัติการประจาปี อย่ างน้ อยปี ละ 1 ครั้ง และรายงานผลต่ อผู้บริหารเพือ่ พิจารณา มีการพัฒนาระบบการติดตามการดาเนิ นงานตามแผนปฏิบตั ิการว่าเป็ นไปตามแผนหรื อไม่ และควรมี ก ารรายงานผลการด าเนิ น ตามตั ว บ่ ง ชี้ เที ย บกั บ ค่ า เป้ าหมายเสนอต่ อ ผู ้บ ริ หาร ในช่วงเวลาหนึ่งๆ เช่น 3 เดือน หรื อ 6 เดือน หากไม่เป็ นไปตามแผนควรจะมีการวิเคราะห์ถึงสาเหตุ และนาเสนอแนวทางการแก้ไขปรับปรุ ง 7. มีการประเมินผลการดาเนินงานตามตัวบ่ งชี้ของแผนกลยุทธ์ อย่ างน้ อยปี ละ 1 ครั้ ง และรายงาน ผลต่ อผู้บริหารเพือ่ พิจารณา มีการประเมิ นผลการดาเนิ นงานตามแผนกลยุทธ์โดยการเปรี ยบเที ยบผลของตัวบ่งชี้ การ ดาเนิ นงานตามแผนกลยุทธ์กบั ค่าเป้ าหมาย และนาผลการประเมินที่ได้บรรจุเข้าวาระเพื่อพิจารณา ในที่ประชุมของหน่วยงานเป็ นประจาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 8. มีการนาผลการพิจารณา ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของผู้บริ หารไปปรั บปรุ งแผนกลยุทธ์ และ แผนปฏิบัติการประจาปี 8.1 มีการมอบหมายผูร้ ับผิดชอบในการดาเนินงานตามข้อเสนอแนะที่ได้รับมา และมีการ จัดทาแผนการปรับปรุ งตามข้อเสนอแนะ 8.2 มีการนาแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิการประจาปี ที่ได้รับการปรับปรุ งเสนอสภาสถาบัน
ตัวบ่ งชี้ที่ 3.1 ภาวะผู้นาของผู้บริหารทุกระดับของหน่ วยงาน 1. ผู้ บ ริ ห ารมี วิ สั ย ทั ศ น์ ก าหนดทิ ศ ทางการด าเนิ น งานและสามารถถ่ า ยทอดไปยั ง บุ ค ลากร ทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุทธ์ มีการนาข้ อมูลสารสนเทศเป็ นฐานในการ ปฏิบัติงานเพือ่ ให้ เกิดการพัฒนาอย่างต่ อเนื่อง 1.1 บุ ค ลากรภายในหน่ ว ยงานทุ ก คนควรได้รั บ การชี้ แจงและท าความเข้า ใจเกี่ ย วกับ กฎหมาย ข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน โดยเฉพาะพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ข้อบังคับ ต่างๆ อาทิ ข้อบังคับที่วา่ ด้วยการบริ หารงานบุคคล รวมทั้งทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ ประเทศ กรอบทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย และอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย เพื่อให้ทราบถึง บทบาทหน้าที่ที่มีต่อมหาวิทยาลัยก่อนจะปฏิบตั ิหน้าที่
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
59
2. ผู้บริ หารมีการกากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามที่มอบหมาย รวมทั้งสามารถ สื่ อสารแผนและผลการดาเนินงานของหน่ วยงานไปยังบุคลากรในหน่ วยงาน 2.1 บุคลากรในหน่วยงานทุกคนมีส่วนร่ วมกันในการกาหนดนโยบายและจัดทาวิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนกลยุทธ์ และนาสู่ การปฏิบตั ิที่เป็ นระบบชัดเจน โดยมีการกาหนดตัวบ่งชี้ คุณภาพ (KPI) ของงานที่ปฏิบตั ิ ที่ควรมีการพิจารณาจาก 1) มิติการพัฒนาองค์กร เช่นการส่ งเสริ มให้ บุคลากรมีโอกาสศึกษา เรี ยนรู้ พัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการเรี ยนรู้ 2) มิติผรู ้ ับบริ การหรื อผูม้ ีส่วนได้ ส่ วนเสี ยเช่ น ความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริ การ โดย คานึ งถึงความคุม้ ค่าของการใช้จ่ายเงิน งบประมาณ และให้สอดคล้องกับเป้ าประสงค์ตามประเด็น ยุทธศาสตร์ หรื อวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ของสถาบัน อย่างเหมาะสมโดยพิจารณาจากความคุม้ ค่า ของการจัดเก็บข้อมูล และการรายงานข้อมูล กับประโยชน์ที่จะได้รับ 2.2 ผูบ้ ริ หารสร้ างระบบและกลไกการถ่ ายทอดนโยบาย วิสัยทัศน์ และแผนกลยุทธ์ ให้หน่วยงานและบุคลากรทุกระดับทราบและมีความเข้าใจร่ วมกัน 2.3 ควรจัดทาระบบฐานข้อมูลของหน่ วยงานให้ทนั สมัย นามาใช้ในการติดตามผลการ บริ หารสารสนเทศ การรายงานผลการดาเนิ นงานตามตัวบ่งชี้ คุณภาพ (KPI) ที่กาหนดไว้ในแผนกล ยุทธ์อย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง และนาข้อมูลที่ได้มาใช้เพื่อการตัดสิ นใจปรับแผนกลยุทธ์ได้อย่างทันการ 3. ผู้บริ หารสนับสนุนให้ บุคลากรในหน่ วยงานมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการ ให้ อานาจในการ ตัดสิ นใจแก่ บุคลากรตามความเหมาะสม 3.1 ผูบ้ ริ หารของหน่ วยงานมี การกากับ ติดตามผลการนานโยบายและแผนกลยุทธ์ไป สู่ การปฏิ บตั ิ ทบทวนเป้ าหมาย หรื อปรับแผนการดาเนิ นงานให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ยิ่งขึ้น พร้อมทั้งสร้างกลไกภายในเพื่อสื่ อสารแผนการดาเนิ นงานไปยังบุคลากรกลุ่มเป้ าหมายทุกระดับที่ เกี่ยวข้อง 3.2 ผูบ้ ริ ห ารมี ก ารประเมิ น ผลการด าเนิ น งานที่ ส าคัญ ตามภารกิ จของหน่ ว ยงานอย่า ง ครบถ้วน รวมทั้งการติดตามผลสัมฤทธิ์ อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง เพื่อทบทวนเป้ าหมาย หรื อปรับ แผนการดาเนิ นงานในรอบปี ถัดไป พร้อมแจ้งผลการดาเนิ นงานไปยังบุคลากรทุกระดับผ่านการ สื่ อสารภายใน โดยใช้สื่อต่างๆ ที่ตรงกับกลุ่มเป้ าหมาย
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
60
4. ผู้บริหารถ่ ายทอดความรู้ และส่ งเสริมพัฒนาผู้ร่วมงานเพือ่ ให้ สามารถทางานบรรลุวัตถุประสงค์ ของหน่ วยงานเต็มตามศักยภาพ 4.1 ผูบ้ ริ หารควรมีระบบการสื่ อสาร 2 ทาง เพื่อรับฟั งข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจาก บุคลากรผูป้ ฏิบตั ิงาน อันจะทาให้ได้ขอ้ มูลเพื่อการปรับปรุ งระบบการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่อง 4.2 ผูบ้ ริ หารดาเนิ นการปรับลดขั้นตอนกระบวนการบริ หารจัดการโดยการมอบอานาจใน การตัดสิ นใจแก่ผบู ้ ริ หารหรื อผูป้ ฏิบตั ิระดับถัดไป เพื่อเพิ่มความคล่องตัว พร้อมกับมีการกากับ และ ตรวจสอบเพื่อให้เกิดความมัน่ ใจว่าระบบการทางานมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผลคุม้ ค่า และมีความ เสี่ ยงอยูร่ ะดับในที่ยอมรับได้ 4.3 ผูบ้ ริ หารมี การส่ ง เสริ มสนับสนุ นกิ จกรรม เพื่อเป็ นการสร้ า งขวัญและกาลังใจต่ อ บุคลากรเป็ นประจาอย่างต่อเนื่ อง เช่ น การจัดโครงการรางวัลคุ ณภาพและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการ ให้บริ การ โครงการพัฒนาองค์การให้คล่องตัว (Lean Organization) เป็ นต้น 5. ผู้บริหารบริหารงานด้ วยหลักธรรมาภิบาล โดยคานึงถึงประโยชน์ ของหน่ วยงานและผู้มีส่วนได้ ส่ วนเสี ย 5.1 ผูบ้ ริ หารมีการถ่ายทอดความรู ้แก่ผรู ้ ่ วมงานโดยเน้น การเพิ่มทักษะในการปฏิบตั ิงานให้ สู งขึ้นอย่างต่อเนื่ องหรื อเพิ่มศักยภาพในการทางานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ เช่น การสอนงานที่หน้า งาน (On the job training) จัดทาคู่มือการปฏิบตั ิงาน เป็ นต้น 5.2 ผูบ้ ริ หาร ควรนาหลักการจัดการความรู้มาใช้ เพื่อการแลกเปลี่ยนความรู้ และถ่ายทอด ประสบการณ์ร่วมกันระหว่างผูป้ ฏิบตั ิงาน อาทิ การประชุ มแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ การสร้างเครื อข่าย ชุมชนนักปฏิบตั ิ (Community of Practices) เป็ นต้น
ตัวบ่ งชี้ที่ 3.3 การพัฒนาหน่ วยงานสู่ สถาบันเรียนรู้ 1. มี ก ารก าหนดประเด็ น ความรู้ และเป้ าหมายของการจั ด การความรู้ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ แผน กลยุทธ์ และภารกิจของหน่ วยงาน 1.1 หน่ ว ยงานควรศึ ก ษาเป้ าประสงค์ต ามประเด็ น ยุท ธศาสตร์ หรื อ วัต ถุ ป ระสงค์เ ชิ ง กลยุทธ์ของหน่ วยงาน ว่ามีประเด็นใดที่มุ่งเน้นเป็ นสาคัญ หรื อมุ่งสู่ อตั ลักษณ์ใดที่ตอ้ งการ เพื่อ นามาใช้ในการกาหนด แผนยุทธศาสตร์ หรื อแผนปฏิบตั ิการในการจัดการความรู้ให้สอดคล้องกับ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
61
แผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย โดยอย่างน้อยต้องครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการ วิจยั 1.2 หน่ วยงานควรมีเป้ าหมายในการจัดการความรู้ โดยเน้นเรื่ องการพัฒนาทักษะความ สามารถของบุคลากรภายในเป็ นหลัก รวมทั้งประเด็นการจัดการความรู ้ 2. กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายทีจ่ ะพัฒนาความรู้ และทักษะตามประเด็นความรู้ ทกี่ าหนดในข้ อ 1 2.1 กลุ่มเป้ าหมายที่จะได้รับการพัฒนาความรู ้และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการ วิจยั อย่างน้อยควรเป็ นบุคลากรที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการผลิตบัณฑิตและการวิจยั เช่น คณาจารย์ หรื อนักวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นความรู ้ดงั กล่าว รวมทั้งด้านอื่นๆ ที่สถาบันมุ่งเน้น 2.2 หน่วยงานควรกาหนดนโยบายให้มีการสารวจผลการปฏิบตั ิงานที่เป็ นจุดเด่น เพื่อนามา กาหนดเป็ นประเด็นสาหรับใช้ในกระบวนการจัดการความรู ้ ให้ได้องค์ความรู ้ ที่เป็ นประโยชน์ต่อ การพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน 3. มี ก ารแบ่ งปั นและแลกเปลี่ ยนเรี ย นรู้ จ ากความรู้ ทั ก ษะของผู้ มี ประสบการณ์ ต รง (Tacit Knowledge) เพื่อค้ นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ ที่กาหนดในข้ อ 1 และเผยแพร่ ไปสู่ บุคลากรกลุ่มเป้าหมายทีก่ าหนด 3.1 หน่วยงานควรส่ งเสริ มให้มีบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรี ยนรู ้ภายในหน่วยงานเช่ น การส่ งเสริ มให้มีชุมชนนักปฏิบตั ิและเครื อข่ายด้านการจัดการความรู ้ ทั้งระหว่างหน่วยงานภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยเพื่อให้เกิดวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ องโดยการจัดสรร ทรัพยากรอย่างเหมาะสม ทั้งด้านงบประมาณ เวลา สถานที่ 4. มีการรวบรวมความรู้ ตามประเด็นความรู้ ที่ก าหนดในข้ อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัว บุ คคลและแหล่ ง เรี ยนรู้ อื่นๆ ที่เป็ นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจั ดเก็บอย่ างเป็ นระบบโดยเผยแพร่ ออกมาเป็ น ลายลักษณ์อกั ษร (Explicit Knowledge) 4.1 มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการวิเคราะห์สังเคราะห์ ความรู้ ท้ งั ที่มีอยูใ่ นตัวบุคคลและ แหล่งเรี ยนรู ้อื่น ๆ ที่เป็ นแนวปฏิบตั ิที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็ นระบบ เป็ นหมวดหมู่เพื่อให้ บุคลากรกลุ่มเป้ า หมายที่ตอ้ งการเพิ่มพูนความรู ้ความสามารถเข้าถึงแนวปฏิบตั ิที่ดีได้ง่าย 4.2 ควรมี การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการบริ หาร จัดการ และเผยแพร่ ความรู ้ในองค์กร ให้เกิดความประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุ ด
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
62
4.3 ควรมีการจัดพิมพ์วารสาร หรื อสื่ อสิ่ งพิมพ์เพื่อการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ และยกย่องให้ เกียรติแก่ผเู ้ ป็ นเจ้าของความรู ้ เคล็ดลับ หรื อนวัตกรรมดังกล่าว 5. มีก ารนาความรู้ ที่ได้ จ ากการจั ด การความรู้ ใ นปี การศึ ก ษาปั จ จุ บั นหรื อ ปี การศึ ก ษาที่ผ่า นมา ที่เป็ นลายลักษณ์ อักษร (Explicit Knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ ตรง (Tacit Knowledge) ทีเ่ ป็ นแนวปฏิบัติทดี่ ีมาปรับใช้ ในการปฏิบัติงานจริง 5.1 ควรวิเคราะห์ความรู ้จากแนวปฏิบตั ิที่ดีจากแหล่งต่างๆ เช่ น นวัตกรรมที่ได้จากการ จัดการความรู ้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สถาบันและสังคม นามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริ บทของ หน่วยงานที่เป็ นกลุ่มเป้ าหมาย 5.2 ควรขยายผลการปรับ ใช้ไปยังหน่ วยงานต่างๆ และติดตามวัดผลตามประเด็น ความรู้ และเป้ าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ 5.3 มีกลไกการนาผลการประเมินคุณภาพจากภายในและภายนอกด้านการจัดการความรู้มา ปรับปรุ งและพัฒนาระบบและกลไกการจัดการความรู้ของหน่วยงาน 5.4 ควรสรุ ปผลสัมฤทธิ์ ที่เกิดขึ้นตามเป้ าประสงค์ที่กาหนดไว้ในประเด็นยุทธศาสตร์ หรื อ กลยุทธ์ของหน่วยงาน
ตัวบ่ งชี้ที่ 3.4 ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารและการตัดสิ นใจ 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan) ของหน่ วยงาน 1.1 หน่ ว ยงานควรมี ก ารจัดท าแผนระบบสารสนเทศที่ ส อดคล้องกับ แผนกลยุ ท ธ์ ข อง สถาบัน 1.2 ระบบสารสนเทศที่นาเสนอในแผนระบบสารสนเทศควรประกอบด้วย รายละเอียด ดังต่อไปนี้เป็ นอย่างน้อย วัตถุประสงค์ ความสามารถในการทางานของระบบแต่ละระบบ ความสอดคล้องของแต่ละระบบที่มีต่อแต่ละกลยุทธ์ของสถาบัน ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งระบบสารสนเทศที่ น าเสนอใหม่ ก ับ ระบบสารสนเทศ ที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั ทรัพยากรสารสนเทศที่ตอ้ งการใช้ในแต่ละระบบ ทั้ง Hardware Software (System Software และ Application Software) Database People Ware และ Facilities อื่น ๆ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
63
งบประมาณที่ตอ้ งการใช้ในแต่ละระบบ การประเมินความคุม้ ค่าของระบบสารสนเทศ การจัดลาดับความสาคัญของระบบสารสนเทศ
2. มี ร ะบบสารสนเทศเพื่ อ การบริ หารและการตั ด สิ นใจตามพั น ธกิ จ ของ ของหน่ วยงาน โดยอย่ างน้ อยต้ องครอบคลุมการบริ หารจัดการ การเงินและสามารถนาไปใช้ ในการดาเนินงานประกัน คุณภาพ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจเป็ นระบบสารสนเทศที่นาข้อมูลจาก ระบบสารสนเทศในการดาเนินงานตามปกติ มาสร้างเป็ นสารสนเทศให้ผบู้ ริ หารใช้ในการบริ หาร และการตัดสิ นใจในเรื่ องที่เป็ นพันธกิจของหน่วยงานได้อย่างครบถ้วน 3. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ระบบสารสนเทศ 3.1 ควรจัดทาแบบประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบ รวมทั้งกาหนดระยะเวลาในการ เก็บแบบประเมินให้สอดคล้องกับลักษณะการเข้าใช้ระบบ เช่น มีการประเมินความพึงพอใจทุกครั้ง ที่มีการใช้ระบบหรื อทุกเดือน ทุกภาคการศึกษา ทุกปี การศึกษา เป็ นต้น 3.2 ควรดาเนินการประเมินความพึงใจของผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศเป็ นประจาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 4. มีการนาผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ระบบสารสนเทศมาปรับปรุ งระบบสารสนเทศ 4.1 กาหนดผูร้ ับผิดชอบในการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้จากการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ ระบบสารสนเทศ 4.2 นาผลการประเมินความพึงพอใจมาใช้ในการจัดทาแผนปรับปรุ งระบบสารสนเทศ 4.3 แผนปรับปรุ งระบบสารสนเทศควรผ่านการพิจารณาจากผูบ้ ริ หารแล้ว 4.4 ดาเนินการตามแผนปรับปรุ งระบบสารสนเทศตามระยะเวลาที่กาหนด 5. มีการส่ งข้ อมูลผ่ านระบบเครือข่ ายของหน่ วยงานภายนอกทีเ่ กีย่ วข้ องตามทีก่ าหนด มี ก ารส่ ง ข้อมู ล ผ่า นระบบเครื อ ข่ า ยของส านัก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาตามที่ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด ได้แก่ ระบบฐานข้อมูล ด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา ระดับอุดมศึกษา (CHE QA online) ระบบฐานข้อมูลรายบุคคลด้านนักศึกษา บุคลากร และหลักสู ตรในสถาบันอุดมศึกษา เป็ นต้น
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
64
ตัวบ่ งชี้ที่ 3.5 ระบบบริหารความเสี่ ยง 1. มีการแต่ งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทางานบริหารความเสี่ ยงประจาหน่ วยงาน 1.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรื อคณะทางาน ประกอบด้วยผูบ้ ริ หารและบุคลากรทุกคน ในหน่วยงาน 2. มีการวิเคราะห์ และระบุความเสี่ ยง และปัจจัยที่ก่อให้ เกิดความเสี่ ยงอย่ างน้ อย 3 ด้ านตามบริบท ของหน่ วยงาน ตัวอย่างเช่น ความเสี่ ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร สถานที่) ความเสี่ ยงด้านยุทธศาสตร์ หรื อกลยุทธ์ของหน่วยงาน ความเสี่ ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ความเสี่ ยงด้านการปฏิบตั ิงาน เช่น ความเสี่ ยงของกระบวนการบริ หาร ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ ความเสี่ ยงด้านบุคลากรและความเสี่ ยงด้านธรรมาภิบาลโดยเฉพาะจรรยาบรรณของ อาจารย์และบุคลากร ความเสี่ ยงจากเหตุการณ์ภายนอก อื่น ๆ ตามบริ บทของหน่วยงาน 2.1 วิเคราะห์ และระบุ ความเสี่ ยงพร้ อมปั จจัยที่ ก่อให้เกิ ดความเสี่ ยงที่ ส่งผลกระทบหรื อ สร้างความเสี ยหาย หรื อความล้มเหลวหรื อลดโอกาสที่จะบรรลุเป้ าหมายในการบริ หาร 2.2 ประเด็นความเสี่ ย งที่นามาพิจารณาควรมองถึ งเหตุการณ์ ในอนาคตที่มีโอกาสเกิ ดขึ้น และส่ งผลกระทบต่อหน่ วยงานด้านชื่อเสี ยง คุณภาพการศึกษา รวมถึงความสู ญเสี ยทางด้านชีวิต บุคลากร และทรัพย์สินของหน่วยงานเป็ นสาคัญ 2.3 ปั จจัยเสี่ ยงหรื อปั จจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ ยงอาจใช้กรอบแนวคิดในเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับ คน อาคารสถานที่ อุปกรณ์วธิ ีการปฏิบตั ิงาน สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก เป็ นต้น 2.4 จัดลาดับความสาคัญของปัจจัยเสี่ ยง โดยพิจารณาจากมิติของโอกาสและผลกระทบจาก ความเสี่ ยง
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
65
3. มี ก ารประเมิ น โอกาสและผลกระทบของความเสี่ ย งและจั ด ล าดั บ ความเสี่ ย งที่ไ ด้ จ ากการ วิเคราะห์ ในข้ อ 2 3.1 ระดับความเสี่ ยงอาจกาหนดเป็ นเชิ งปริ มาณ หรื อเชิงคุณภาพที่สะท้อนถึงความเสี่ ยง ระดับสู ง กลาง ต่า ได้ 3.2 ควรมีการกาหนดเกณฑ์การประเมินความเสี่ ยงทั้งในด้านของโอกาสและผลกระทบ 3.3 การประเมินโอกาสในการเกิ ดความเสี่ ยง ให้ประเมินจากความถี่ ที่เคยเกิ ดเหตุการณ์ เสี่ ยงในอดีต หรื อความน่ าจะเป็ นที่จะเกิ ดเหตุการณ์ ในอนาคต โดยคาดการณ์จากข้อมูลในอดีต รวมถึงสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมปั จจัยเสี่ ยงในปั จจุบนั 3.4 การประเมินผลกระทบของความเสี่ ยง ให้ประเมินจากความรุ นแรง ถ้ามีเหตุการณ์เสี่ ยง ดังกล่าวเกิดขึ้น โดยจะมีความรุ นแรงมาก ถ้ากระทบต่อความเชื่ อมัน่ ต่อคุณภาพทางการศึกษาของ สถาบัน ฐานะการเงิน ขวัญกาลังใจและความปลอดภัยของบุคลากร เป็ นต้น 4. มีการจัดทาแผนบริหารความเสี่ ยงทีม่ ีระดับความเสี่ ยงสู ง และดาเนินการตามแผน 4.1 จัดทาแผนบริ หารความเสี่ ยงเพื่อการบรรลุ เป้ าหมาย โดยต้องกาหนดมาตรการหรื อ แผนปฏิบตั ิการที่จะสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กบั บุคลากรในหน่วยงาน และดาเนิ นการแก้ไขลด หรื อป้ องกันความเสี่ ยงที่จะเกิดขึ้นอย่างเป็ นรู ปธรรม 4.2 สร้างมาตรการควบคุมความเสี่ ยงโดยใช้เทคนิค 4 T คือ Take การยอมรับความเสี่ ยง Treat การลดหรื อควบคุมความเสี่ ยง Transfer การโอนหรื อกระจายความเสี่ ยง และTerminate การ หยุดหรื อหลีกเลี่ยงความเสี่ ยง เพื่อลดมูลเหตุของแต่ละโอกาสที่จะเกิดความเสี ยหาย (ทั้งในรู ปแบบ ของตัวเงิ นและไม่ใช่ตวั เงิ น เช่น ชื่อเสี ยง การฟ้ องร้องจากการไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผลหรื อความคุม้ ค่า คุณค่า) 5. มีการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานตามแผน และรายงานต่ อสานักงานตรวจสอบ ภายในเพือ่ พิจารณาอย่างน้ อยปี ละ 1 ครั้ง 5.1 มีการรายงานความก้าวหน้าหรื อผลการดาเนินงานตามแผนต่อมหาวิทยาลัย 5.2 มีการรายงานสรุ ปผลการดาเนิ นงานและประเมินผลความสาเร็ จของการดาเนิ นงาน ปั ญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข พร้อมข้อเสนอแนะในการปรับปรุ งแผนการดาเนินงานต่อ มหาวิทยาลัย
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
66
6. มีการนาผลการประเมิน และข้ อเสนอแนะจากสานักงานตรวจสอบภายในไปใช้ ในการปรับแผน หรือวิเคราะห์ ความเสี่ ยงในรอบปี ถัดไป แผนบริ หารความเสี่ ยงในรอบปี ถัดไปควรพิจารณาระดับ ความเสี่ ยงที่ เหลื ออยู่หลัง การ จัดการ ความเสี่ ยงและข้อเสนอแนะจากสานักงานตรวจสอบภายในรวมทั้งความเสี่ ยงใหม่จาก นโยบาย หรื อสภาพแวดล้อมทางการศึ ก ษาที่ เปลี่ ย นแปลงไปทั้ง ภายในหน่ วยงานและระดับ มหาวิทยาลัย
ตัวบ่ งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ 1. มีแผนกลยุทธ์ ทางการเงินทีส่ อดคล้ องกับแผนกลยุทธ์ ของมหาวิทยาลัย 1.1 แผนกลยุทธ์ทางการเงินเป็ นแผนที่แสดงให้เห็นถึงแหล่งที่มาและแหล่งใช้ไปของเงินที่ ต้องใช้ในการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ 1.2 หน่ ว ยงานควรก าหนดผูร้ ั บ ผิด ชอบดาเนิ น การวิเ คราะห์ ท รั พ ยากรที่ ต้องใช้ใ นการ ดาเนิ นงานตามแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน และทาการประเมินมูลค่าของทรัพยากรที่ตอ้ งใช้ซ่ ึ งจะ เป็ นงบประมาณในการดาเนินการตามแผน และ กาหนดแหล่งที่มาของงบประมาณดังกล่าวซึ่ ง อาจจะเป็ นงบประมาณแผ่นดิน เงินรายได้ เงินบริ จาค หรื อจะต้องจัดให้มีการระดมทุนจากแหล่งทุน ต่าง ก่อนที่จะนาข้อมูลเหล่านั้นมาจัดทางบประมาณประจาปี ตามแหล่งงบประมาณนั้นๆ 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้ านการเงิน หลักเกณฑ์ การจัดสรร และการวางแผนการใช้ เงิน อย่างมีประสิ ทธิภาพ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ 2.1 มีแนวทางการจัดหาแหล่งเงินทุนที่เหมาะสมกับลักษณะของค่าใช้จ่ายหรื อเงินทุนและ เพียงพอ สาหรับการบริ หารภารกิจของหน่วยงานในทุกด้านให้เป็ นไปตามเป้ าหมาย 2.2 มี แนวทางในการจัดสรรทรั พยากรตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่ วงหน้าและได้รับการ ยอมรับโดยทัว่ ไปของประชาคม ในกรณี ที่มีหลักเกณฑ์ในการจัดสรรทรัพยากรอยูแ่ ล้วควรได้มีการ ทบทวนความเหมาะสมของหลักเกณฑ์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในปั จจุบนั 2.3 มีแผนการจัดหาทรัพยากรทางการเงิ นอย่างเพียงพอ สาหรั บการบริ หารภารกิ จของ หน่วยงานในทุกด้านให้เป็ นไปตามเป้ าหมาย และมีแผนใช้เงินอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อจะทาให้ รายได้รายจ่ายเป็ นไปอย่างเหมาะสม
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
67
3. มีงบประมาณประจาปี ทีส่ อดคล้องกับแผนปฏิบัติการในแต่ ละพันธกิจและการพัฒนาหน่ วยงาน และบุคลากร แต่ละหน่วยงานอาจจะมีวธิ ี การและหลักการในการทางบประมาณประจาปี ที่แตกต่างกันได้ แต่อย่างไรก็ตามหลังจากได้มีการจัดทางบประมาณประจาปี เสร็ จแล้วก่อนที่ที่จะนางบประมาณ ประจาปี เสนอกองนโยบายและแผน ควรได้มีการวิเคราะห์การใช้ไปของเงินตามงบประมาณในด้าน ต่าง ๆ ดังนี้ - งบประมาณประจาปี สอดคล้องกับแผนปฏิบตั ิการประจาปี ที่กาหนดไว้ในแต่ละปี มาก น้อยเพียงใด - เมื่อวิเคราะห์ตามพันธกิ จของหน่ วยงานแล้ว งบประมาณประจาปี ในแต่ละพันธกิจมี ความเพียงพอมากน้อยเพียงใด - เมื่อวิเคราะห์ตามแผนการพัฒนาหน่วยงานแล้ว งบประมาณประจาปี สาหรับการพัฒนา บุคลากรมีความเหมาะสมตามนโยบายมากน้อยเพียงใด 4. มีการจัดทารายงานทางการเงินอย่ างเป็ นระบบ และรายงานต่ อกองนโยบายและแผนอย่ างน้ อย ปี ละ 1 ครั้ง มีการจัดทารายงานทางการเงินที่อย่างน้อยประกอบไปด้วยงบรายรับ ค่าใช้จ่ายและงบดุล อย่างเป็ นระบบ อย่างน้อยทุก 6 เดือน ปี ละ 2 ครั้ง เพื่อจะได้รู้ถึงสถานะของเงินรายได้ 5. มีการนาข้ อมูลทางการเงินไปใช้ ในการวิเคราะห์ ค่าใช้ จ่าย และวิเคราะห์ สถานะทางการเงินและ ความมั่นคงของหน่ วยงานอย่างต่ อเนื่อง 5.1 จัดทารายงานการใช้เงินงบประมาณตามแผนการดาเนินงานเสนอผูบ้ ริ หารเป็ นรายงาน ที่แจ้งให้ผบู ้ ริ หารได้ทราบว่า ได้ใช้เงินตามแผนหรื อไม่และได้ใช้เงินกับกิจกรรมใดมีผลลัพธ์จาก การทางานอย่างไรบ้าง มีงบประมาณเหลือจ่ายในแต่ละแผนเท่าไร 5.2 มีการวิเคราะห์เพื่อพยากรณ์รายรับและรายจ่ายในอนาคต 6. มีหน่ วยงานตรวจสอบภายใน ทาหน้ าที่ตรวจ ติดตามการใช้ เงินให้ เป็ นไปตามระเบียบและ กฎเกณฑ์ ทสี่ ถาบันกาหนด 6.1 สถาบันการศึกษาที่ไม่ได้มีสานักงานตรวจเงินแผ่นดินเป็ นผูต้ รวจสอบภายนอกอยูแ่ ล้ว ควรจัดให้มีผตู้ รวจสอบภายนอกเข้าตรวจสอบเป็ น ประจาทุกปี สาหรับสถาบันการศึกษาของรัฐที่มี
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
68
สานักงานตรวจเงิ นแผ่นดิ นเป็ นผูต้ รวจสอบภายนอกอยู่แล้วนั้นหากสานักงานตรวจเงิ นแผ่นดิ น ไม่ได้เข้าตรวจสอบเป็ นประจาทุกปี ควรจัดให้มีผตู ้ รวจสอบภายนอกเข้าตรวจสอบเป็ นประจาทุกปี 6.2 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit committee) หรื อรวมทั้งผูต้ รวจสอบ ภายในอย่างเป็ นทางการ 7. ผู้บริ หารมีการติดตามผลการใช้ เงินให้ เป็ นไปตามเป้าหมาย และนาข้ อมูล จากรายงานทาง การเงินไปใช้ ในการวางแผนและการตัดสิ นใจ 7.1 ผูบ้ ริ หารสามารถใช้ระบบสารสนเทศเพื่ อการบริ หารและการตัดสิ นใจช่ วยในการ ติดตามการใช้เงิน จัดทารายงานต่างๆ ที่เป็ นสิ่ งจาเป็ นที่ผูบ้ ริ หารจะต้องทราบ และนาข้อมูลมา วิเคราะห์สถานะทางการเงินของหน่วยงาน 7.2 มีการนารายงานทางการเงินเสนอสภาสถาบันตามแผนที่กาหนด
ตัวบ่ งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 1. มี ร ะบบและกลไกการประกั น คุ ณ ภาพภายในที่ เ หมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ พั น ธกิ จ และ พัฒนาการของหน่ วยงาน 1.1 หน่ วยงานควรพัฒนาระบบประกันคุ ณภาพ ที่ เหมาะสมกับ ระดับ การพัฒนาของ หน่วยงาน โดยอาจเป็ นระบบประกันคุณภาพที่ใช้กนั แพร่ หลายทั้งในระดับชาติหรื อนานาชาติ หรื อ เป็ นระบบเฉพาะที่หน่วยงานพัฒนาขึ้นเอง 1.2 ระบบประกั น คุ ณ ภาพที่ น ามาใช้ ต้ อ งเป็ นส่ ว นหนึ่ งของกระบวนการบริ หารที่ ดาเนินการเป็ นประจา โดยเริ่ มจากการวางแผน การดาเนินการตามแผน การตรวจสอบ ประเมิน และการปรับปรุ งพัฒนาเพื่อให้การดาเนินภารกิจบรรลุเป้ าประสงค์และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. มีการดาเนินงานด้ านการประกันคุณภาพภายในที่ครบถ้ วน ประกอบด้ วย 1) การควบคุ ม ติดตามการดาเนินงาน และประเมินคุณภาพ 2) การจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงาน ประเมินคุณภาพเสนอต่ อสานักงานประกันคุณภาพการศึกษา 2.1 บุ คลากรทุ กคนในหน่ วยงานร่ วมกันจัดระบบการประกันคุ ณภาพพร้ อมทั้ง กาหนด มาตรฐาน ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพที่เหมาะสม
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
69
2.2 มีกลไกเชื่อมโยงการปฏิบตั ิงานตั้งแต่ระดับบุคคล ถึงระดับสถาบัน เพื่อให้ได้คุณภาพ ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด 2.3 มี คู่ มือการปฏิ บ ตั ิ งานของหน่ วยงานเพื่ อก ากับ การดาเนิ นงานให้สู่ ก ารปฏิ บ ตั ิ ที่เป็ น รู ปธรรม 2.4 มีกลไกการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและกระตุน้ ให้เกิ ดการพัฒนาคุ ณภาพอย่าง ต่อเนื่อง 2.5 มีการดาเนิ นการตามระบบการประกันคุ ณภาพการศึ กษาภายในที่ สมบูรณ์ ครบถ้วน โดยมีการกาหนดการควบคุมคุณภาพ การติดตามการดาเนินงาน และการประเมินคุณภาพ 2.6 มีการนาวงจร PDCA เข้ามาใช้ในการดาเนินงานด้านระบบคุณภาพและการปรับปรุ ง ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 2.7 มีก ารจัดท ารายงานประจาปี ที่ เป็ นรายงานประเมิ นคุ ณภาพที่ มี ข้อมูล ครบถ้วนตาม ระบบและกลไกของมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งเสนอมาตรการและแผนเร่ งรัดการพัฒนาคุณภาพตามผล การประเมิ นในแต่ละปี โดยส่ งรายงานให้ตน้ สั งกัด หน่ วยงานที่ เกี่ ย วข้อง และเปิ ดเผยต่ อ สาธารณชน 3. มีการนาผลการประกันคุณภาพภายในมาปรั บปรุ งการทางานและส่ งผลให้ มีการพัฒนาผลการ ดาเนินงานตามตัวบ่ งชี้ของแผนกลยุทธ์ ทุกตัวบ่ งชี้ หน่วยงานควรมีการนาผลจากการประเมินคุณภาพ มาตรการ และแผนพัฒนาคุณภาพในแต่ ละปี ไปวิเคราะห์และดาเนิ นการหรื อประสานงานกับกองนโยบายและแผน เพื่อพิจารณาปรับปรุ ง การดาเนินงานในส่ วนที่รับผิดชอบโดยตรงหรื อร่ วมรับผิดชอบ โดยมีเป้ าหมายให้ผลการดาเนินงาน ตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ของหน่วยงานมีการพัฒนาขึ้นจากปี ก่อนหน้าทุกตัวบ่งชี้ 4. มีระบบสารสนเทศทีใ่ ห้ ข้อมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพภายใน หน่วยงานควรมีระบบสารสนเทศที่สามารถนาเสนอข้อมูลประกอบการดาเนิ นการประกัน คุณภาพการศึกษาที่ถูกต้อง เป็ นปั จจุบนั ครบทั้ง 5 องค์ประกอบคุณภาพ และสามารถใช้ร่วมกันได้ ทั้งระดับบุคคล ภาควิชา คณะวิชา และสถาบัน รวมถึงเป็ นระบบที่สามารถเชื่ อมต่อกับหน่วยงาน ภายนอกที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพ เช่น สกอ. สมศ. กพร. เป็ นต้น
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
70
5. มีส่วนร่ วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ยในการประกันคุณภาพภายใน โดยเฉพาะผู้ใช้ บริการตามพันธ กิจของหน่ วยงาน หน่วยงานควรส่ งเสริ มให้นกั ศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรของมหาวิทยาลัยเข้ามามีส่วน ร่ วมในกระบวนการประกันคุณภาพ และเปิ ดโอกาสให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย โดยเฉพาะผูใ้ ช้บณ ั ฑิต และผูร้ ับบริ การตามพันธกิจของสถาบัน เช่น ผูร้ ับบริ การด้านการวิจยั หรื อชุมชนผูร้ ับบริ การทาง วิชาการของสถาบัน ได้เข้ามีมาส่ วนร่ วมในการประกันคุณภาพ อาทิ ในรู ปแบบของการร่ วมเป็ น กรรมการ การร่ วมกาหนดตัวบ่งชี้และเป้ าหมาย การให้ขอ้ มูลป้ อนกลับ หรื อการให้ความร่ วมมือกับ สถาบันในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ด้านการประกันคุณภาพ เป็ นต้น 6. มี เ ครื อ ข่ า ยการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพภายในระหว่ า งหน่ ว ยงานและ มีกจิ กรรมร่ วมกัน 6.1 มี ก ารสร้ างเครื อข่ ายการประกันคุ ณภาพระหว่างหน่ วยงานทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย 6.2 มีการทางานด้านการประกันคุณภาพร่ วมกันในเครื อข่าย มีผลการปฏิบตั ิงานที่ชดั เจน และมีพฒั นาการด้านต่างๆที่เกิดขึ้น จากการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ภายในเครื อข่าย 6.3 มีการติดตาม ประเมินผลการสร้างเครื อข่าย เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาการทางานร่ วมกัน อย่างต่อเนื่ อง 7. มีแนวปฏิบัติทดี่ ีหรืองานวิจัยด้ านการประกันคุณภาพภายในทีห่ น่ วยงานพัฒนาขึน้ และเผยแพร่ ให้ หน่ วยงานอืน่ สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ 7.1 มีกระบวนการคัดสรรแนวปฏิบตั ิที่ดี ในแต่ละกิจกรรมที่เกิดขึ้นในการปฏิบตั ิงานด้าน การประกันคุณภาพการศึกษา 7.2 มี ก ารเผยแพร่ แ นวทางการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาที่ เ ป็ นวิ ธี ป ฏิ บ ัติ ที่ ดี ใ ห้ ก ั บ สาธารณชน และให้หน่วยงานอื่นไปใช้ประโยชน์ 7.3 มีการวิจยั หน่วยงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา และนาผลไปพัฒนางานด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษา
บทที่ 5 การดาเนินการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) การดาเนิ นการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของหน่ วยงานสายสนับสนุ นนั้น ทางมหาวิทยาลัยให้ดาเนินการจัดทารายงานตามวงรอบของปี การศึกษา (1 มิ.ย.- 31 พ.ค.) เช่นเดียวกับ หน่วยงานจัดการการเรี ยนการสอน เมื่อหน่ วยงานได้ดาเนิ นการตามแผนที่ วางไว้สาหรั บการประกันคุ ณภาพภายใน ภายใต้ กรอบมาตรฐานที่กาหนดแล้วทาการประเมินตนเองครบถ้วนตามมาตรฐานในรอบ 1 ปี หน่วยงาน จะต้องจัดทารายงานการประเมินตนเองในรู ปเอกสารที่แสดงขั้นตอนรายละเอียดต่างๆ เพื่อเสนอต่อ หน่ ว ยงานต้น สั ง กัด และเสนอให้ ส าธารณชนได้ท ราบผลการด าเนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ งตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
หลักการจัดทารายงาน 1. รู ป แบบการจัด ท ารายงาน ให้ ห น่ ว ยงานจัด ท ารายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) ตามวงรอบของปี การศึ ก ษา โดยให้ ห น่ ว ยงานสายสนั บ สนุ น ด าเนิ น การจัด ท ารายงานใน องค์ประกอบตามคู่มือการประกันคุณภายภายในของหน่วยงานสายสนับสนุน 2. เนื้ อหาในรายงาน ควรเสนอแบบกระชับ ใช้ภาษาอ่านเข้าใจง่าย นาเสนอข้อมูลทั้งใน เชิงปริ มาณและคุณภาพ อาจมีการนาเสนอในรู ปแผนภูมิ กราฟ ตาราง ตามความเหมาะสม 3. เน้นการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลา 1 ปี 4. การนาเสนอข้อมูลอ้างอิ ง ควรเป็ นข้อมูลที่ มีความสาคัญและจาเป็ นต่อการพิจารณา รายละเอียดในรายงาน โดยเน้นหลักฐาน เอกสารที่ใช้จริ ง 5. รายงานควรมีรายละเอียดตามความเหมาะสมของหน่วยงาน
การเตรียมการเพือ่ จัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) มีดังนี้ 1. ศึ ก ษาคู่ มื อการประกันคุ ณภาพการศึ ก ษาภายในหน่ วยงานสนับ สนุ น มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เพื่อทาความเข้าใจความหมายและแนวทางปฏิบตั ิที่ดีของแต่ละตัวบ่งชี้ 2. กาหนดแนวทางการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายแต่ละตัวบ่งชี้
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
72
3. วางแผนการจัดเก็บข้อมูล โดยกาหนดผูร้ ับผิดชอบให้ชดั เจนและจัดระบบข้อมูลเป็ น หมวดหมู่ ต ามตัว บ่ ง ชี้ /องค์ ป ระกอบโดยก าหนดรู ป แบบรหั ส เอกสารเพื่ อ ง่ า ยต่ อ การอ้า งอิ ง 4. ถ่ายถอดตัวบ่งชี้สู่ระดับบุคคล (ให้ความรู ้ ความเข้าใจแก่บุคลากรทุกคนในหน่วยงาน)
รายงานการประเมินตนเองของหน่ วยงานทีจ่ ัดทาขึน้ มีองค์ ประกอบ ดังนี้ ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลเบือ้ งต้ นของหน่ วยงาน ประกอบด้ วย 1.1 ประวัติความเป็ นมาและสภาพปั จจุบนั /ที่ต้ งั หน่วยงานที่อยูแ่ ละเบอร์ โทรศัพท์ ที่ติดต่อได้สะดวก 1.2 ปรัชญา ปณิ ธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจของหน่วยงาน 1.3 โครงสร้างองค์กรและโครงสร้างการบริ หารจัดการ/แผนภูมิการแบ่งส่ วนราชการ 1.4 รายชื่อผูบ้ ริ หารของหน่วยงาน 1.5 จานวนบุคลากร 1.6 ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับงบประมาณและอาคารสถานที่ 1.7 เอกลักษณ์หรื อค่านิยม 1.8 สรุ ปผลการดาเนินงานปรับปรุ ง พัฒนา ตามผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายในปี ที่ผา่ นมา 1.9 จุดแข็ง (ภาพรวม) 1.10 จุดที่ควรพัฒนา (ภาพรวม) ส่ วนที่ 2 ผลการดาเนินงาน การเขียนรายงานผลการดาเนิ นงาน และผลการประเมินตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ การ ประกันคุณภาพภายใน มีดงั นี้ 1) วิธีดาเนินงาน กล่าวถึ งร่ องรอยหลักฐานของความตระหนัก (Awareness) เกี่ ยวกับมาตรฐานการ ประกันคุ ณภาพภายในตามปรั ชญาและพันธกิ จของมหาวิทยาลัย ในภาพรวม อธิ บายเกี่ ย วกับ โครงการหรื อกิ จกรรมที่หน่ วยงานได้ดาเนิ นงาน ซึ่ งแสดงถึงความพยายาม (Attempt) ในการ ดาเนิ นงานให้บรรลุ วตั ถุ ประสงค์ในแต่ละตัวบ่งชี้ ของการประกันคุ ณภาพภายใน รวมถึ งเขียน หมายเลขเอกสารอ้างอิงประกอบผลการดาเนินงานไว้ดว้ ย
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
73
2) ผลการดาเนินงาน อธิ บายผลที่ได้จากการดาเนินงาน ซึ่ งแสดงถึงผลสัมฤทธิ์ (Achievement) ของความ พยายามในการดาเนินโครงการหรื อกิจกรรมตามตัวบ่งชี้น้ นั 3) ผลการประเมินตามตัวบ่ งชี้ พิจารณาจากร่ องรอยหลักฐานเกี่ยวกับความตระหนัก ความพยายาม และผลสัมฤทธิ์ แล้วสรุ ปผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ น้ นั ว่าประสบผลสาเร็ จในระดับใดโดยประเมินแต่ละตัวบ่งชี้ ตามตามคู่มือการประกันคุณภาพภายในของหน่วยงานสนับสนุน ผลการดาเนิ นงานรายตัวบ่งชี้ ควรประกอบด้วยข้อมูลการดาเนิ นงานของหน่ วยงาน ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด การประเมินตนเองเทียบกับเกณฑ์ เป้ าหมาย และผลการดาเนินงานปี ที่ผา่ นมา และสรุ ปผลการบรรลุหรื อไม่บรรลุเป้ าหมายในแต่ละตัวบ่งชี้ รวมถึงพิจารณาถึงจุดแข็ง / แนวทางเสริ ม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางในการปรับปรุ งพัฒนาของแต่ละตัวบ่งชี้ ส่ วนที่ 3 สรุ ปผลการประเมินตนเอง ของหน่ วยงาน กรอกผลคะแนนจากการประเมินตนเอง ลงในตารางตามแบบฟอร์ มการจัดทารายงานการ ประเมินตนเองของหน่ วยงานสนับสนุ นซึ่ งจัดทาโดยสานักงานประกันคุ ณภาพการศึกษา โดยมี ลักษณะดังนี้ ตารางที่ 5.1 สรุ ปผลคะแนน ของหน่ วยงาน องค์ ประกอบคุณภาพ องค์ ประกอบที่ 1 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 องค์ ประกอบที่ 2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 องค์ ประกอบที่ 3 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 ตัวบ่งชี้ที่ 3.5
เป้ าหมาย
ผลการดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ์ สกอ.)
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หน่ วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
องค์ ประกอบคุณภาพ องค์ ประกอบที่ 4 ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 องค์ ประกอบที่ 5 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 คะแนนรวมทั้งหมด คะแนนเฉลีย่
เป้ าหมาย
ผลการดาเนินงาน
-
-
คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ์ สกอ.)
การสรุ ปผลคะแนนให้นาผลรวมของคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้หารด้วยจานวนตัวบ่งชี้แล้ว เทียบเกณฑ์ ดังนี้ ต่อไปนี้ ≤ 1.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุ งเร่ งด่วน 1.51 - 2.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุ ง 2.51 - 3.50 การดาเนินงานระดับพอใช้ 3.51 - 4.50 การดาเนินงานระดับดี 4.51 - 5.00 การดาเนินงานระดับดีมาก ตัวอย่าง เช่ น หน่วยงาน มีผลรวมคะแนนทุกตัวบ่งชี้ เท่ากับ 40 คะแนนเฉลี่ย
40 11 = 3.64 การดาเนินงานอยูใ่ นระดับดี =
************************************
74