คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ฉบับปรับปรุง พฤษภาคม 2555

Page 1



สารบัญ คานา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญรู ป บทนา บทที่ 1

บทที่ 2

1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา 1. ความจาเป็ นและวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกันคุณภาพการศึกษา 3. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2565) 4. การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา 5. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 5.1 กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน คุณภาพการศึกษา 5.2 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน 6. การเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและ การประเมินคุณภาพภายนอก กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 1. แนวทางการจัดการกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 2. ขั้นตอนการประเมินคุณภาพการศึกษา 2.1 การเตรี ยมการของสถาบันก่อนการตรวจเยีย่ มของผูป้ ระเมิน 2.2 การดาเนิ นการของสถาบันระหว่างการตรวจเยีย่ มเพื่อประเมิน คุณภาพ 2.3 การดาเนินการของสถาบันภายหลังการประเมินคุณภาพ

38 41 43 45 48 48 51 54

56 63 63 67 67


สารบัญ (ต่ อ) บทที่ 3

บทที่ 4

ตัวบ่ งชี้และเกณฑ์ การประเมินคุณภาพตามองค์ ประกอบคุณภาพ 1. แนวทางการพัฒนาตัวบ่งชี้ เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในระดับอุดมศึกษา 2. คาชี้แจงอื่นๆ ในการนาตัวบ่งชี้ไปใช้ประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน 3. นิยามศัพท์ที่ใช้ในตัวบ่งชี้ 4. องค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การระเมิน องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผน ดาเนินการ องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา องค์ประกอบที่ 4 การวิจยั องค์ประกอบที่ 5 การบริ การวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 6 การทานุ บารุ งศิลปะและวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริ หารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ องค์ประกอบที่ 10 ตัวบ่งชี้ แสดงอัตลักษณ์ของ กลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก 1. การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม 2. คาอธิ บายรายตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ด้านคุณภาพบัณฑิต ด้านงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ ด้านการบริ การวิชาการแก่สังคม ด้านทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม ด้านการบริ หารและการพัฒนาสถาบัน ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน

69 73 74 83 83 86 105 109 117 120 122 131 134 137

143 147 159 172 183 188 192 197


สารบัญ (ต่ อ) ตัวบ่งชี้ อตั ลักษณ์ ตัวบ่งชี้ มาตรการส่ งเสริ ม

บทที่ 5 บทที่ 6

รายการอ้างอิง ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข

3. การรับรองมาตรฐาน ตัวอย่างแนวทางปฏิบัติเพือ่ ให้ เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน ด้ านกระบวนการ การวิเคราะห์ ตัวบ่ งชี้ตามองค์ ประกอบคุณภาพ มาตรฐานการศึกษา ระดับอุดมศึกษา และมุมมองด้ านการบริ หารจัดการ 1. ตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน 2. ตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการอุดมศึกษา 3. ตัวบ่งชี้ตามมุมมองด้านการบริ หารจัดการ 4. ตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แบบรายงานผลการประเมิน การนับจานวนอาจารย์และวิธีการคานวณตามตัวบ่งชี้ของ สกอ. และ สมศ.

199 206 210 216

266 268 272 273 277 280 282 289


สารบัญตาราง ตารางที่ 2.1 4.1 4.2 5.1 5.2 5.3 5.4

วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน ตารางสรุ ปตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับอุดมศึกษา น้ าหนักตัวบ่งชี้ องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน และตัวบ่งชี้ที่ใช้ประเมินคุณภาพ ตามองค์ประกอบ มาตรฐานการอุดมศึกษาและตัวบ่งชี้ที่ใช้ประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน มุ ม มองด้า นบริ ห ารจัด การที่ ส าคัญ และตัว บ่ ง ชี้ ตามมุ ม มองด้า นการ บริ หารจัดการ มาตรฐานสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาและตัว บ่ ง ชี้ ที่ ใ ช้ ป ระเมิ น คุ ณ ภาพตาม มาตรฐาน

58 149 151 267 271 272 276


สารบัญแผนภาพ แผนภาพที่ 1.1 ความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพ 1.2 ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในกับ การ ประเมินคุณภาพภายนอก 4.1 ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพ ภายนอก

47 54 146


บทนำ 1.1 บทนำ ปณิธำน มหาวิทยาลัยแห่งการเรี ยนรู ้ที่มีปัญญา มีความเจริ ญรุ่ งเรื อง แจ่มใส เบิกบาน มีความบริ สุทธิ์ และคุ ณงามความดี ที่ สามารถบู รณาการ ผสานการบริ หารจัดการร่ วมกับเขตพื้ นที่ ในการสร้ า ง บัณฑิตนักปฏิบตั ิที่ถึงพร้อมด้วยคุณธรรม จริ ยธรรม มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ที่จะไปพัฒนาสังคม และประเทศชาติให้มีความเจริ ญรุ่ งเรื องอย่างยัง่ ยืนและดาเนินชีวติ อย่างเป็ นสุ ข พึ่งพาตนเองได้ วิสัยทัศน์ เป็ นผูน้ าทางการจัดการศึกษาด้านวิชาชีพ งานวิจยั และบริ การอย่างมีคุณภาพ มาตรฐานและ นาไปสู่ ก ารปฏิ บตั ิ ได้อย่างเป็ นเลิ ศ บนพื้ นฐานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ส ามารถขับเคลื่ อน ยุทธศาสตร์ ของชาติและของเขตพื้นที่ได้อย่างสมดุ ลยัง่ ยืนทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่ งแวดล้อม ด้วยการบริ หารจัดการที่ทนั สมัย พันธกิจ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

จัดการศึกษาด้านวิชาชีพที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล สร้างงานวิจยั ที่สร้างคุณค่า ให้บริ การและถ่ายทอดองค์ความรู ้แก่ชุมชนและผูป้ ระกอบการในเขตพื้นที่ ทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นาการบริ หารจัดการที่ทนั สมัยมาใช้

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพกาลังคนสู่ มาตรฐานสากลอย่างเป็ นระบบและยัง่ ยืน 2. เพื่อต่อยอดภูมิปัญญาและสู่ สากล 3. เพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 4. เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ สื บ สาน และถ่ า ยทอดภู มิ ปั ญญาทางด้า นศิ ล ปวัฒนธรรมและอนุ รัก ษ์ สิ่ งแวดล้อม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

2

1.2 แผนยุทธศำสตร์ 15 ปี มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ ด้ำนกำรเรี ยนกำรสอน เพื่ อให้ไ ด้บ ณ ั ฑิ ต ที่ มี จิ ตส านึ ก ที่ ดี ใ นสัง คมองค์ความรู้ มี ทกั ษะและความเชี่ ย วชาญทาง วิชาชีพที่ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงสู่ ความเป็ นสากลโดยสร้างเครื อข่ายความร่ วมมือบนพื้นฐานการนา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริ หารจัดการ การเรี ยนการสอน  ยุทธศำสตร์ ด้ำนกำรเรียนกำรสอน 1. สร้ ำงค่ ำนิยมหลัก ยกย่องส่ งเสริมคนทำดี มำตรกำร/แนวทำง 1) สร้างค่านิยมหลักจากปรัชญาและปณิ ธานของมหาวิทยาลัย 2) พัฒนา Landmark และหอเกียรติยศ (Hall of Fame) สาหรับบุคลากร อาจารย์ นักศึกษา ที่ประสบความสาเร็ จและสร้างชื่อเสี ยงแก่มหาวิทยาลัย 3) ส่ งเสริ มกิจกรรมการบาเพ็ญประโยชน์แก่สังคมเพื่อยกระดับทางจิตใจ 4) ส่ งเสริ มให้เกิดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศให้คนคิดดีทาดี 2. จัดกำรเรียนกำรสอนให้ มีควำมเชี่ยวชำญ มำตรกำร/แนวทำง 1) สร้างทักษะการเรี ยนรู ้หลักการเป็ นนักคิดควบคู่ไปกับทักษะการเป็ นนักปฏิบตั ิ 2) พัฒนาสื่ อการสอน โครงการนาร่ อง และมาตรฐานวิชาชีพการเป็ นนักปฏิบตั ิ 3) สร้างองค์ความรู ้ใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่องด้วยแผนงานร่ วมระหว่างเครื อข่ายวิชาการ อาจารย์และสถานประกอบการ 4) พัฒนาระบบการถ่ายทอดงานระหว่างอาจารย์กบั อาจารย์และอาจารย์กบั นักศึกษา 5) จัดทาแผนการลงทุนในเครื่ องจักร อุปกรณ์ ห้องปฏิบตั ิการรองรับการฝึ กให้เป็ นนักปฏิบตั ิ 3. พัฒนำองค์ ควำมรู้ ให้ งำนวิชำกำรก้ ำวทันกำรเปลี่ยนแปลงสู่ ควำมเป็ นสำกล มำตรกำร/แนวทำง 1) นาเอางานวิจยั เชิงปฏิบตั ิมาสร้าง สะสมต่อยอดงานวิชาการและถ่ายทอดองค์ความรู ้ ไปสู่ การเรี ยนการสอน 2) พัฒนาและจัดการองค์ความรู้เชิงสหวิทยาการ 3) พัฒนากรณี ศึกษาจริ งจากเขตพื้นที่เพื่อนามาใช้ในการเรี ยนการสอน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

3

4. พัฒนำสร้ ำงเครือข่ ำยควำมร่ วมมือทำงวิชำกำรทั้งภำยในและภำยนอกมหำวิทยำลัย มำตรกำร/แนวทำง 1) พัฒนาข้อตกลงหรื อข้อผูกพันความร่ วมมือทางวิชาการ (หลักสู ตรการเรี ยนการสอน แลกเปลี่ยนบุคลากร นักศึกษา) 2) ประสานและเชื่อมโยงเครื อข่ายทั้งภายในและภายนอก 3) จัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนวิชาการกระชับความร่ วมมือ 5. พัฒนำองค์ ควำมรู้ ให้ งำนวิชำกำรก้ ำวทันกำรเปลี่ยนแปลงสู่ ควำมเป็ นเลิศ มำตรกำร/แนวทำง 1) สร้างชุมชนการศึกษาบนเว็บเพื่อการเรี ยนรู้ตลอดชีวติ 2) พัฒนาเทคโนโลยีการเรี ยนการสอนด้วยระบบ E-Learning, E-Library, E-Research 3) นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเรี ยนรู้ Virtual Social Network เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ ด้ำนกำรวิจัย เพื่อยกระดับการพัฒนาให้เกิ ดอัจฉริ ยะองค์ความรู ้ ในเชิ งบูรณาการด้านวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีดว้ ยจิตสานึกนักวิจยั ที่ดี เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กบั สังคมชุมชน  ยุทธศำสตร์ ด้ำนกำรวิจัย 1. พัฒนำงำนวิจัยสู่ ระดับอัจฉริยะทีเ่ กิดเชี่ยวชำญใช้ ประโยชน์ และต่ อยอดได้ มำตรกำร/แนวทำง 1) พัฒนาฐานองค์ความรู ้งานวิจยั ใหม่และนาไปต่อยอดอยูเ่ สมอ 2) สร้างกลุ่มงานวิจยั (Cluster) ในเชิงสหวิทยาการให้เกิดความเชี่ยวชาญ 3) ผลักดันส่ งเสริ มผลงานวิจยั ออกสู่ เวทีนานาชาติและการจดสิ ทธิ บตั ร 2. ส่ งเสริมงำนวิจัยและสนับสนุนกำรนำเอำเทคโนโลยีผสมผสำนมำใช้ ในงำนวิจัย มำตรกำร/แนวทำง 1) ส่ งเสริ มงานวิจยั ที่ตรงกับความต้องการของพื้นที่ 2) สนับสนุนให้นกั วิจยั นาเทคโนโลยีผสมผสานมาใช้ในการทาวิจยั 3) ส่ งเสริ มให้มีการนาผลงานวิจยั ไปเผยแพร่ ถ่ายทอดลงสู่ พ้นื ที่


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

4

3. สร้ ำงจิตสำนึกทีด่ ีของนักวิจัย มำตรกำร/แนวทำง 1) สร้างค่านิยมหลักการเป็ นมหาวิทยาลัยเรี ยนรู ้ที่มีปัญญา จากปรัชญาและปณิ ธานของ มหาวิทยาลัย 2) พัฒนา landmark และหอเกียรติยศ (Hall of Fame) ของผูป้ ระสบความสาเร็ จและสร้าง ชื่อเสี ยงงานวิจยั แก่มหาวิทยาลัย 3) ส่ งเสริ มกิจกรรมยกระดับทางจิตใจให้แก่นกั วิจยั เพื่อสร้างงานวิจยั ที่เกิดประโยชน์ต่อสังคม 4) ส่ งเสริ มให้เกิดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศเอื้อให้นกั วิจยั คิดดีทาดี 4. ส่ งเสริมกำรทำวิจัยทีส่ อดคล้องกับศักยภำพกำรพัฒนำของพืน้ ทีแ่ ละสร้ ำงควำมเข้ มแข็ง ให้ กบั ชุ มชน มำตรกำร/แนวทำง 1) ศึกษาวิเคราะห์สภาพและศักยภาพการพัฒนาของพื้นที่ 2) สร้างกลุ่มเครื อข่ายนักวิจยั และเชื่อมโยงเครื อข่ายเป็ นห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) 3) สนับสนุนชุมชนในพื้นที่ได้เข้ามามีส่วนร่ วมในงานวิจยั และนางานวิจยั ไปใช้ได้จริ ง เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ ด้ำนกำรบริกำรวิชำกำร เพื่ อ ให้ ผู ้รั บ บริ การเข้า ถึ ง เครื อข่ า ยความร่ ว มมื อ การให้ บ ริ การที่ มี จิ ต ส านึ ก ที่ ดี ด้ว ย เทคโนโลยีทนั สมัยและนาองค์ความรู ้ไปพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน และสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน  ยุทธศำสตร์ กำรบริกำรวิชำกำร 1. พัฒนำและเชื่อมโยงเครือข่ ำยบริกำรทั้งในประเทศและต่ ำงประเทศ ภำครัฐและเอกชน มำตรกำร/แนวทำง 1) พัฒนาเครื อข่ายความร่ วมมือผลงานวิจยั ภูมิปัญญา คลังความรู้ 2) สร้างเครื่ องมือและสื่ อการเชื่ อมโยงเครื อข่ายงานบริ การทั้งในและต่างประเทศ ภาครัฐและเอกชน 3) ส่ ง เสริ ม กิ จกรรมถ่ า ยทอด บริ ก ารองค์ค วามรู ้ ล งสู่ พ้ื น ที่ โดยให้ผูม้ ี ส่ วนได้ส่ วนเสี ย เข้ามามีส่วนร่ วมในกิจกรรม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

5

2. สร้ ำงช่ องทำงกำรเข้ ำถึงและได้ รับกำรบริกำรอย่ำงมีประสิ ทธิภำพ มำตรกำร/แนวทำง 1) พัฒนาระบบช่องทางการเข้าถึงบริ การให้ครอบคลุมพื้นที่ 2) บริ การจัดการสื่ อและเครื่ องมือที่ทนั สมัยสามารถเชื่อมโยงเป็ นเครื อข่ายให้บริ การ 3) พัฒนาบุคลากรงานบริ การที่มีทกั ษะตรงกับงาน 3. สร้ ำงจิตสำนึกในกำรบริกำรทีด่ ี มำตรกำร/แนวทำง 1) สร้างค่านิยมหลัก การเป็ นมหาวิทยาลัยบริ การพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้มีความ เจริ ญรุ่ งเรื องตามปรัชญาและปณิ ธานของมหาวิทยาลัย 2) สร้างจิตสานึกที่ดีของผูใ้ ห้บริ การในงานบริ การอย่างมีความสุ ข 3) ส่ งเสริ มสนับสนุนกิจกรรมบริ การที่สร้างประโยชน์ให้กบั สังคมและประเทศชาติ 4. พัฒนำและนำเอำเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรติดต่ อสื่ อสำรที่ทนั สมัยมำใช้ ในกำรบริกำร อย่ ำงมีคุณภำพ มำตรกำร/แนวทำง 1) ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศและการติดต่อสื่ อสารที่ทนั สมัย มาใช้ในงานบริ การ 2) พัฒนาผูใ้ ห้บริ การให้มีทกั ษะรองรับเทคโนโลยีการบริ การสมัยใหม่ 3) พัฒนาระบบงานบริ การให้ได้มาตรฐานสากล 5. พัฒนำกลไกกำรมีส่วนร่ วมของคนในพืน้ ทีใ่ ห้ ได้ รับบริกำรเชิ งบูรณำกำรแบบองค์ รวม (Holistic) มำตรกำร/แนวทำง 1) สร้างเครื อข่ายความร่ วมมือของชุมชนในพื้นที่ 2) ให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยเข้ามามีส่วนร่ วมในกระบวนการจัดลาดับความต้องการ งานบริ การและจัดสรรทรัพยากร 3) จัดทาแผนการให้บริ การเชิงบูรณาการแบบองค์รวม (Holistic)


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

6

เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ ด้ำนกำรทำนุบำรุ งศิลปวัฒนธรรมและรักษำสิ่ งแวดล้ อม เพื่อยกระดับและพัฒนาจิตสานึกของคนในสังคม ชุ มชน รักและหวงแหน ศิลปวัฒนธรรม และรักษาสิ่ งแวดล้อม โดยใช้องค์ความรู ้ดา้ นวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี  ยุทธศำสตร์ กำรทำนุบำรุ งศิลปวัฒนธรรมและรักษำสิ่ งแวดล้อม 1. สร้ ำงค่ ำนิยมรักและหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม มำตรกำร/แนวทำง 1) สร้างค่านิยมหลักเพื่อยกระดับทางจิตใจของบุคลากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา จากปรัชญาและปณิ ธานของมหาวิทยาลัยที่ให้มีความแจ่มใส เบิกบาน มีความบริ สุทธิ์ และคุณงามความดี 2) พัฒนาหอศิลปวัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อมให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ 3) ให้ความรู้ถึงความสาคัญและความจาเป็ นในการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมและ สิ่ งแวดล้อม 2. พั ฒ นำเทคโนโลยี ผ สมผสำนมำประยุ ก ต์ สื บค้ น เก็ บ รั ก ษำ บู ร ณะและถ่ ำยทอด กำรทำนุบำรุ งศิลปวัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้ อม มำตรกำร/แนวทำง 1) พัฒนาคิดค้นเทคโนโลยีผสมผสานในการอนุรักษ์ศิลปะ/วัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม 2) นาเอาเทคโนโลยีผสมผสานที่ทนั สมัยมาใช้ประยุกต์ สื บค้น เก็บรักษา บูรณะและ ถ่ายทอดความรู ้ศิลปวัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม 3. พั ฒ นำเครื อ ข่ ำ ยควำมร่ วมมื อ ทั้ ง ภำยในและภำยนอกพื้น ที่ เ พื่ อ นุ รั ก ษ์ สื บ ทอดไปถึ ง อนุชนรุ่ นหลัง มำตรกำร/แนวทำง 1) กระตุน้ คนในพื้นที่ให้เห็นความสาคัญ รักและหวงแหนศิลปวัฒนธรรมและ สิ่ งแวดล้อม 2) พัฒนาและเชื่อมโยงเครื อข่ายความร่ วมมือกลุ่มอนุ รักษ์ศิลปวัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม ทั้งในและต่างประเทศ 3) ถ่ายทอดเทคโนโลยีผสมผสานเพื่ออนุ รักษ์ศิลปวัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

7

เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ ด้ำนกำรบริ หำรจัดกำร การบริ ห ารจัด การสมัย ใหม่ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมุ่ ง ผลส าเร็ จ โดยน าเอาเทคโนโลยี ที่ทนั สมัยมาใช้ภายใต้โครงสร้างองค์กรและบุคลากรที่มีคุณภาพ บนพื้นฐานจิตสานึ กในวัฒนธรรม องค์กรที่มุ่งมัน่ ไปสู่ ความเป็ นเลิศ  ยุทธศำสตร์ กำรบริหำรจัดกำร 1. ปรับปรุ งระบบกำรบริหำรจัดกำรให้ มีธรรมำภิบำลและมีควำมทันสมัยต่ อสภำพ กำรเปลีย่ นแปลง มำตรกำร/แนวทำง 1) อบรมให้ความรู ้เรื่ องธรรมาภิบาลกับการบริ หารจัดการแก่ผบู ้ ริ หาร 2) วิเคราะห์และคัดเลือกรู ปแบบการบริ หารของมหาวิทยาลัยที่เหมาสมต่อภารกิจและเกิด ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย 3) พัฒนาเครื่ องมือและกลไกการบริ หารให้มีการกระจายอานาจ เกิดความคล่องตัว โปร่ งใส 4) ส่ งเสริ มให้บุคลากรมหาวิทยาลัยมีความรู ้ความเข้าใจในการปรับตัวและการมีส่วนร่ วม ในการบริ หารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาลในทุกระดับชั้นของมหาวิทยาลัย 2. ผสมผสำนกำรบริหำรจัดกำรร่ วมกับเขตพืน้ ที่ เป็ นเครือข่ ำยควำมร่ วมมือเพือ่ ให้ เกิด ควำมเข้ มแข็งพึง่ ตนเองและเลีย้ งตัวเองได้ มำตรกำร/แนวทำง 1) วางระบบการบริ หารแบบเครื อข่ายที่สามารถบูรณาการ ผสานการบริ หารจัดการ ร่ วมกับเขตพื้นที่ 2) เชื่อมโยงและบูรณาการเครื อข่ายการบริ หารจัดการ 3) กาหนดแนวทางการบริ หารสิ นทรัพย์และทรัพย์สินทางปัญญาให้พ่ ึงพาตัวเองได้ 4) วางแนวทางการหารายได้จากอัตลักษณ์ของพื้นที่ 3. พัฒนำและนำเอำเทคโนโลยีสำรสนเทศทีท่ ันสมัยมำใช้ ในกำรบริหำรจัดกำรอย่ำงชำญฉลำด มำตรกำร/แนวทำง 1) ศึกษาวิเคราะห์ความต้องการและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับ นามาบริ หารงานมหาวิทยาลัย 2) ลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3) อบรมให้ความรู ้และถ่ายทอดการนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้บริ หารงานมหาวิทยาลัย


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

8

4. ปรับโครงสร้ ำงองค์ กรให้ สอดคล้ องกับภำรกิจและยุทธศำสตร์ มำตรกำร/แนวทำง 1) ศึกษาและเลือกรู ปแบบโครงสร้างที่สอดรับกับภารกิจ ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย 2) อบรมให้ความรู้และความเข้าใจรู ปแบบโครงสร้างองค์กร 3) ปรับเปลี่ยนจากรู ปแบบโครงสร้างเดิมไปสู่ รูปแบบโครงสร้างใหม่ 5. พัฒนำทักษะและเพิม่ ขีดควำมสำมำรถของอำจำรย์ และเจ้ ำหน้ ำทีใ่ ห้ รับกับข้ อท้ำทำย มำตรกำร/แนวทำง 1) วิเคราะห์โครงสร้าง ภารกิจ งาน และบุคลากร (อาจารย์และเจ้าหน้าที่) ของมหาวิทยาลัย 2) วางแผนกาลังคนรองรับภารกิจและข้อท้าทาย 3) พัฒนาข้อกาหนดทักษะความสามารถของอาจารย์และเจ้าหน้าที่ และระบบ ผลตอบแทน 4) พัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้และการบริ หารองค์ความรู ้แก่อาจารย์และเจ้าหน้าที่ 6. พัฒนำองค์ กรอย่ำงต่ อเนื่องให้ ดำรงอยู่ได้ อย่ ำงแจ่ มใส่ เบิกบำน เจริญรุ่ งเรืองและมีควำมสุ ข ในกำรทำงำน มำตรกำร/แนวทำง 1) พัฒนาค่านิยมร่ วมให้สอดคล้องกับภารกิจและวิสัยทัศน์ 2) สร้างวัฒนธรรมการทางานอย่างมีความสุ ข 3) วางแผนและส่ งเสริ มการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่ อง


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

9

1.3 แผนพัฒนำมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำ ระยะเวลำ 5 ปี (พ.ศ. 2552-2556) ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ และมาตรการดาเนินงาน 1. ประเด็นยุทธศำสตร์ ด้ำนกำรเรียนกำรสอน "SMART and FAST เพือ่ สร้ าง... คนเก่ ง คนดี มีศักดิ์ศรี สู่ สังคม"  ยุทธศำสตร์ ที่ 1.1 สร้างและพัฒนาหลักสู ตรเฉพาะทางด้านวิชาชีพที่ผลิตบัณทิตนัก ปฏิบตั ิ ตรงกับความต้องการของประเทศ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีหลักสู ตรที่ทนั สมัย หลากหลาย สอดคล้องกับตลาด และได้รับการรับรองครบทุกหลักสู ตร มำตรกำร 1. สร้างและพัฒนาหลักสู ตรเฉพาะทางด้านวิชาชี พที่ผลิตบัณทิตนัก ปฏิบตั ิ ตรงกับความ ต้องการของประเทศ 2. ส่ ง เสริ ม ให้มี ก ารเที ย บโอนความรู ้ ท กั ษะและประสบการณ์ อาชี พ เพื่ อการศึ ก ษาต่ อ ในระดับต่างๆ 3. สร้างเครื อข่ายความร่ วมมือในการพัฒนาหลักสู ตรทั้งในและต่างประเทศ  ยุทธศำสตร์ ที่ 1.2 สรรหาและพัฒนาบุคลากรสายวิชาการให้เป็ นนักนวัตกรและครู อาชีพ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มี ร ะบบและกลไก ในการสรรหาและพัฒนาบุ ค ลากรให้ เ ป็ นไปตามพัน ธกิ จ และ จรรยาบรรณวิชาชีพ 2. บุคลากรทางการศึกษาได้รับการอบรมด้านวิชาการหรื อวิชาชีพอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 3. มีผดู ้ ารงตาแหน่งทางวิชาการร้อยละ 25 (เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี ) 4. มีสัดส่ วนของคุณวุฒิปริ ญญาเอกร้อยละ 5 ต่ออาจารย์ประจา (เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ต่อปี ) มำตรกำร 1. จัดสรรหรื อพัฒนาบุ คลากรให้มีคุณวุฒิและจานวนอาจารย์ต่อนักศึ ก ษาเป็ นไปตาม เกณฑ์มาตรฐาน 2. ส่ งเสริ มและพัฒนาการทาผลงานทางวิชาการให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

3. 4. 5. 6.

10

สรรหาและพัฒนาบุคลากรให้ตรงตามแผนกรอบอัตรากาลังสอดคล้องยุทธศาสตร์ และพันธกิจ สร้างกระบวนการส่ งเสริ มการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย์ พัฒนาบุคลากรด้านวิชาชีพเฉพาะทางในสาขาเป้ าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ สร้างเครื อข่ายความร่ วมมือในการพัฒนาบุคลากรทั้งในและต่างประเทศ

 ยุทธศำสตร์ ที่ 1.3 สร้างบัณฑิตให้เป็ นนักนวัตกรที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. สร้ า งบั ณ ฑิ ต นั ก ปฏิ บ ัติ ที่ ต รงตามความต้ อ งการของตลาดให้ มี คุ ณ ภาพตาม มาตรฐานสากลโดยมี ท ัก ษะวิ ช าชี พ ควบคู่ คุ ณ ธรรม รวมทั้ง มี ค วามสามารถด้า น ภาษาต่างประเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. สัดส่ วนของนักศึกษาสายวิทยาศาสตร์ ต่อสังคมศาสตร์ ไม่นอ้ ยกว่า 65 : 35 มำตรกำร 1. มี ก ลไกในการพัฒ นานัก ศึ ก ษาตั้ง แต่ ก่ อนเข้า ศึ ก ษา ระหว่า งศึ ก ษาและหลัง ส าเร็ จ การศึกษาอย่างเป็ นระบบ 2. ส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนแบบเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ 3. ผลิตบัณฑิตที่หลากหลายทางวิชาชีพที่เน้นทักษะปฏิบตั ิ  ยุทธศำสตร์ ที่ 1.4 เพิ่มขีดความสามารถของนักศึกษาและศิษย์เก่าด้านสมรรถนะวิชาชีพที่สูงขึ้น เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. บัณฑิตมีงานทาตรงตามสาขาและได้รับเงินเดือนตามเกณฑ์ ก.พ. ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 70 2. มีหลักสู ตรเพิ่มสมรรถนะวิชาชีพหรื อเพิ่มคุณวุฒิของบัณฑิต อย่างน้อย 5 หลักสู ตร 3. มีนักศึ กษาหรื อศิษย์เก่าที่สาเร็ จการศึกษาในรอบ 5 ปี ได้รับประกาศเกี ยรติ คุณ หรื อ ได้รับรางวัลในระดับชาติอย่างน้อยร้อยละ 0.06 มำตรกำร 1. ส่ งเสริ มและสนับสนุนการจัดกิจกรรมโครงการของนักศึกษาให้ครบทุกด้าน 2. จัดกิจกรรมเชิดชูเกียรติให้นกั ศึกษาบุคลากรและศิษย์เก่าที่เป็ นคนดี คนเก่งของสังคม 3. มี ร ะบบการติ ด ตามผลและเพิ่ ม ขี ด ความสามารถของนัก ศึ ก ษาและศิ ษ ย์เ ก่ า ด้า น สมรรถนะวิชาชีพที่เพิ่มความรู ้สร้างทักษะเพิ่มเติมให้สูงขึ้น


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

11

 ยุทธศำสตร์ ที่ 1.5 พัฒนามาตรฐานการจัดการเรี ยนการสอนทุกหลักสู ตร ให้ได้มาตรฐาน เดียวกัน เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มี ก ระบวนการการจัดการศึ ก ษาวิ ช าพื้ นฐานหรื อ วิช าชี พ ให้เป็ นมาตรฐานเดี ย วกัน ภายในมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 5 รายวิชาต่อปี 2. บุ ค ลากรและนัก ศึ ก ษาทุ ก คนได้รั บ ความรู ้ ด้า นประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาและการ บริ หารความเสี่ ยง มำตรกำร 1. จัดหาและยกระดับห้องปฏิบตั ิการให้เป็ นไปตามตามเกณฑ์มาตรฐานสาขาวิชาชีพ 2. พัฒนายกระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษาทุกหลักสู ตรให้ได้มาตรฐานเดียวกัน 3. ส่ งเสริ มการพัฒนาการเรี ยนการสอนโดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. นาระบบบริ หารความเสี่ ยงมาใช้ในการจัดการศึกษาและกระบวนการเรี ยนการสอน 5. ส่ งเสริ มการพัฒนาระบบการบริ หารจัดการและการประกันคุณภาพภายในองค์กร 2. ประเด็นยุทธศำสตร์ ด้ำนงำนวิจัย นวัตกรรม และสิ่ งประดิษฐ์ " มิติมหาวิทยาลัย มุ่งมั่น...ส่ งเสริ มสนับสนุนบุคลากรในองค์ กรทาวิจัยฯ มิติสังคม มุ่งสู่ ... ความเป็ นเลิศการวิจัยเพื่อชุ มชนเพื่อยกระดับคุณภาพชี วิต มิติระดับชาติและนานาชาติ มุ่งก้ าว... เป็ นผู้นาในการนาองค์ ความรู้ สู่ การต่ อยอดด้ านวิชาชี พเพือ่ ชุมชนทัง้ ในและต่ างประเทศ "  ยุทธศำสตร์ ที่ 2.1 สร้างและพัฒนานักวิจยั ในองค์กร เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีอาจารย์ประจาทาวิจยั ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี มำตรกำร 1. สร้างนักวิจยั รุ่ นใหม่และพัฒนานักวิจยั ให้มีความหลากหลายของสาขาวิชา  ยุทธศำสตร์ ที่ 2.2 พัฒนาและต่อยอดองค์ความรู ้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวติ ของสังคม เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีงานวิจยั เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และศักยภาพพื้นที่ ปี ละ 5 เรื่ อง 2. มีงานวิจยั ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี ละ 10 เรื่ อง มำตรกำร 1. พัฒนาและต่อยอดองค์ความรู ้งานวิจยั ในสาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

12

 ยุทธศำสตร์ ที่ 2.3 สร้างระบบและกลไกแรงจูงใจในการเผยแพร่ ผลงานวิจยั และหาแหล่ง ทุนภายนอก เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีผลงานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ ท้ งั ในระดับชาติและนานาชาติ 80 เรื่ องและ เพิ่มขึ้นปี ละ 10 เรื่ อง 2. มีงบประมาณสนับสนุนงานวิจยั จากภายในและภายนอก คนละ 30,000 บาท ต่อปี และ เพิ่มขึ้นคนละ 2,000 บาทต่อปี มำตรกำร 1. ส่ งเสริ มและสนับสนุนงานวิจยั ที่ได้รับทุนวิจยั จากภายในและภายนอกสถาบัน 2. ส่ งเสริ มและสนับสนุนการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน 3. ส่ งเสริ มการประชุมวิชาการและเผยแพร่ งานวิจยั ในระดับชาติและนานาชาติ 4. ส่ งเสริ มการสร้างเครื อข่ายการวิจยั กลุ่มและการวิจยั ร่ วมกันระหว่างนักศึกษา อาจารย์ และบุคคลภายนอก 5. สร้างระบบและกลไกแรงจูงใจงานวิจยั ทั้งอาจารย์และนักศึกษา  ยุทธศำสตร์ ที่ 2.4 สนับสนุนให้มีและนาการวิจยั สู่ การเรี ยนการสอนเพื่อการต่อยอดองค์ความรู ้ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีงานวิจยั ที่นามาใช้ในการบริ การวิชาการสู่ สังคม ชุมชน ปี ละ 5 เรื่ อง 2. มีงานวิจยั ที่นามาใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน ปี ละ 10 เรื่ อง มำตรกำร 1. ส่ งเสริ มให้นาผลงานวิจยั ไปใช้บริ การทางวิชาการแก่สังคม ชุมชน 2. ส่ งเสริ มให้มีการนาองค์ความรู ้จากงานวิจยั มาพัฒนาการเรี ยนการสอนได้  ยุทธศำสตร์ ที่ 2.5 พัฒนาระบบและกลไกการบริ หารจัดการด้านงานวิจยั เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีระเบียบการบริ หารงานวิจยั และสนับสนุนการเผยแพร่ ผลงานวิจยั 2. นักวิจยั ทุกคนได้รับความรู ้ดา้ นประกันคุณภาพการศึกษาและการบริ หารความเสี่ ยง


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

13

มำตรกำร 1. งานวิจยั และสร้างสรรค์ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ 2. สร้างความเข้มแข็งในด้านความสาเร็ จของงานโดยใช้ระบบบริ หารความเสี่ ยง 3. สร้างและพัฒนาระบบบริ หารการจัดการโดยใช้ระบบการประกันคุณภาพ 3. ประเด็นยุทธศำสตร์ ด้ำนกำรบริกำรวิชำกำร "ครูอาจารย์ ...ได้ สอน นักศึกษา...ได้ ฝึก สั งคม ชุมชน...ได้ ประโยชน์ "  ยุทธศำสตร์ ที่ 3.1 ส่ งเสริ มและพัฒนาบุคลากรด้านบริ การวิชาการ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. อาจารย์ประจามีส่วนร่ วมในการบริ การวิชาการ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 25 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ต่อปี มำตรกำร 1. พัฒนาบุคลากรให้มีศกั ยภาพในการบริ การวิชาการ 2. ส่ งเสริ มให้ครู อาจารย์และนักศึกษา มีกิจกรรมบริ การวิชาการแก่สังคม  ยุทธศำสตร์ ที่ 3.2 สร้ า งและพัฒ นางานวิช าการที่ ต อบสนองความต้องการพัฒ นาและ เสริ มสร้างความเข้มแข็งของสังคม เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มี โ ครงการหรื อกิ จ กรรมบริ การวิ ช าการที่ ต อบสนองความต้อ งการพัฒ นาและ เสริ มสร้างความเข้มแข็งของสังคมร้อยละ 30 ของอาจารย์ประจา 2. มีโครงการหรื อกิ จกรรมบริ การวิชาการทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปสร้ าง อาชีพในชุมชน ปี ละ 5 เรื่ อง มำตรกำร 1. พัฒนาฐานความรู ้วชิ าการและให้บริ การตรงตามความต้องการของพื้นที่ 2. ส่ ง เสริ มงานบริ การให้ ก ลุ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ขนาดเล็ ก และขนาดกลางให้ มี ขี ด ความสามารถ ในการแข่งขัน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

14

 ยุทธศำสตร์ ที่ 3.3 สร้างระบบและกลไกแรงจูงใจในการให้บริ การวิชาการ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มี ค่ า ใช้ จ่ า ยและมู ล ค่ า ของมหาวิ ท ยาลัย ในการบริ ก ารวิ ช าการต่ อ อาจารย์ป ระจ า คนละ 10,000 บาท ต่อปี และเพิ่มขึ้นคนละ 1,000 บาทต่อปี 2. มีการจัดตั้งแหล่งบริ การวิชาการสาขาละ 3 แหล่ง มำตรกำร 1. ส่ งเสริ มการสร้างเครื อข่ายความร่ วมมือการบริ การวิชาการร่ วมกับหน่วยงานภายนอก ทั้งภาครัฐและเอกชน 2. สนับสนุนการจัดตั้งแหล่งให้บริ การทางวิชาการและวิชาชีพทุกสาขา 3. สนับสนุนการนาความรู้และประสบการณ์จากการบริ การวิชาการ มาใช้พฒั นาในการ เรี ยนการสอนและการวิจยั 4. ส่ งเสริ มการสร้างการบริ การวิชาการร่ วมกันระหว่างอาจารย์กบั นักศึกษา 5. สร้างระบบและกลไกแรงจูงใจการบริ การวิชาการทั้งอาจารย์และนักศึกษา  ยุทธศำสตร์ ที่ 3.4 จัดการองค์ความรู้จากการบริ การวิชาการ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. นาความรู้จากการบริ การวิชาการมาใช้ในการวิจยั ปี ละ 5 เรื่ อง 2. นาความรู้จากการบริ การวิชาการมาใช้ในการเรี ยนการสอน ปี ละ 5 เรื่ อง มำตรกำร 1. การจัดการองค์ความรู ้ในงานบริ การวิชาการเพื่อนาไปใช้ประโยชน์สู่ชุมชน  ยุทธศำสตร์ ที่ 3.5 พัฒนาระบบและกลไกการบริ หารจัดการด้านงานบริ การวิชาการ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีระเบียบเกี่ยวกับการบริ การวิชาการ 2. ผูใ้ ห้บริ การวิชาการทุกคนได้รับความรู ้ดา้ นประกันคุ ณภาพการศึกษาและการบริ หาร ความเสี่ ยง 3. ผูร้ ับบริ การทุกโครงการมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับดี (ร้อยละ 85) มำตรกำร 1. สร้างความเข้มแข็งในด้านความสาเร็ จของงานโดยใช้ระบบบริ หารความเสี่ ยง 2. สร้างและพัฒนาระบบบริ หารการจัดการโดยใช้ระบบการประกันคุณภาพ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

15

4. ประเด็นยุทธศำสตร์ ด้ำนกำรทำนุบำรุ งศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม "แหล่ งเรี ยนรู้ สื บสาน ศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม"  ยุทธศำสตร์ ที่ 4.1 วิจยั องค์ความรู้ภูมิปัญญาทางด้านเทคโนโลยี ในการทานุบารุ ง ศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์ สิ่ งแวดล้อม เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีการวิจยั องค์ความรู้ ภูมิปัญญาทางด้านเทคโนโลยี ในการทานุ บารุ งศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ปี ละ 1 เรื่ อง มำตรกำร 1. เสริ มสร้างการวิจยั ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ในการนาไปทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม  ยุทธศำสตร์ ที่ 4.2 สร้ างระบบและกลไกแรงจูงใจในการทานุ บ ารุ งศิล ปวัฒนธรรมและ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีการบูรณาการงานด้านทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมและอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อมกับการเรี ยน การสอน การวิจยั และการบริ การวิชาการ อย่างน้อยปี ละ 1 เรื่ อง 2. สร้างมาตรฐานด้านทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและมีผลงานเป็ น ที่ยอมรับในระดับชาติ อย่างน้อยปี ละ 1 เรื่ อง 3. มีการเผยแพร่ และบริ การด้านศิ ลปวัฒนธรรมในระดับชาติ และนานาชาติ อย่างน้อย ปี ละ 1 กิจกรรม มำตรกำร 1. สร้างระบบและกลไกแรงจูงใจให้บุคลากรและนักศึกษามีส่วนร่ วมในการทานุบารุ ง ศิลปวัฒนธรรมและอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม 2. ส่ งเสริ มการสร้างเครื อข่ายความร่ วมมือการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมและอนุ รักษ์ สิ่ งแวดล้อมร่ วมกับหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน 3. ส่ งเสริ มการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมและอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อมร่ วมกับหน่วยงาน ภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

16

 ยุทธศำสตร์ ที่ 4.3 จัดการองค์ความรู้ดา้ นการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์ สิ่ งแวดล้อมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีการจัดการองค์ความรู ้ดา้ นการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อย่างน้อยปี ละ 1 เรื่ อง มำตรกำร 1. จัดการองค์ความรู ้ภูมิปัญญา ในการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมและอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม ด้วยเทคโนโลยี  ยุทธศำสตร์ ที่ 4.4 พัฒนาระบบและกลไกการบริ หารจัดการด้านทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีค่าใช้จ่ายและมูลค่าในการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ต่องบดาเนินการไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 1 2. ผูด้ าเนิ น การด้า นท านุ บ ารุ ง ศิ ล ปวัฒ นธรรมและอนุ รั ก ษ์สิ่ ง แวดล้อม ได้รั บ ความรู ้ ด้านประกันคุณภาพการศึกษาและการบริ หารความเสี่ ยง มำตรกำร 1. สร้างความเข้มแข็งในด้านความสาเร็ จของงานโดยใช้ระบบบริ หารความเสี่ ยง 2. สร้างและพัฒนาระบบบริ หารการจัดการโดยใช้ระบบการประกันคุณภาพ 5. ประเด็นยุทธศำสตร์ ด้ำนอัตลักษณ์ "มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพือ่ ชุมชน"  ยุทธศำสตร์ ที่ 5.1 สร้างและพัฒนานักนวัตกร ตรงตามศูนย์พฒั นาวิชาชีพสู่ ความเป็ นเลิศ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางประจาแต่ละศูนย์ มำตรกำร 1. สรรหาและพัฒนาบุคลากร ให้เป็ นนักนวัตกร


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

17

 ยุทธศำสตร์ ที่ 5.2 สร้างและพัฒนาความเป็ นเลิศตามอัตลักษณ์ของพื้นที่ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. จัดตั้งศูนย์พฒั นาวิชาชีพเพื่อมุ่งสู่ ความเป็ นเลิศ อย่างน้อย 6 ศูนย์ มำตรกำร 1. สร้างและพัฒนาการจัดการศึกษาตามยุทธศาสตร์ การพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา 2. สร้ า งหลัก สู ตรและจัดตั้ง ศู นย์พ ฒ ั นาสู่ ค วามเป็ นเลิ ศ ที่ มี ม าตรฐานสากลและเป็ นที่ ยอมรับในระดับชาติหรื อนานาชาติ  ยุทธศำสตร์ ที่ 5.3 สนับสนุนการสร้างสรรค์งานวิจยั และนาองค์ความรู ้ไปสู่ การ จดทะเบียนทรัพย์สินปัญญา เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีผลงานที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปั ญญา อย่างน้อยปี ละ 2 เรื่ อง มำตรกำร 1. สร้างระบบ กลไก และแรงจูงใจ สู่ การจดทะเบียนและคุม้ ครองทรัพย์สินทางปั ญญา  ยุทธศำสตร์ ที่ 5.4 พัฒนาระบบและกลไกการบริ หารจัดการศูนย์พฒั นาวิชาชีพสู่ ความเป็ นเลิศ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. บุคลากรได้ใช้ประโยชน์จากศูนย์พฒั นาวิชาชีพในการฝึ กอบรม ทาวิจยั บริ การวิชาการ อย่างน้อย ปี ละ 1 ครั้ง 2. นักศึกษาและศิษย์เก่าได้ใช้ประโยชน์จากศูนย์พฒั นาวิชาชี พ ให้เกิดสมรรถนะ ด้านวิชาชีพอย่างน้อยหลักสู ตรละ 1 ครั้ง 3. ให้บริ การศิ ษย์เก่ าและบุ คคลภายนอกได้ใช้ประโยชน์จากศูนย์พฒั นาวิชาชี พ ให้เกิ ด สมรรถนะด้านวิชาชีพ 4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับศูนย์พฒั นาวิชาชี พได้รับความรู ้ดา้ นประกันคุ ณภาพการศึกษา และการบริ หารความเสี่ ยง มำตรกำร 1. การบริ หารจัดการอัตลักษณ์เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning Management) 2. พัฒนาหน่วยงานภายในให้เป็ นองค์กรแห่งการเรี ยนรู ้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

18

3. ส่ งเสริ มการหารายได้ หาแหล่ งทุ น สนับสนุ นการบริ หารจัดการศู นย์พ ฒ ั นาวิ ชาชี พ สู่ ความเป็ นเลิศ 4. เสริ มสร้ า งเครื อข่ า ยความร่ วมมื อ ทางวิ ช าการด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทั้งในและนอกประเทศ 5. การบริ หารห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management)ของเครื อข่ายงานวิจยั 6. นาระบบบริ ห ารความเสี่ ย งมาใช้ใ นการจัด การศึ ก ษาและกระบวนการจัด ตั้ง ศู น ย์ แห่งความเป็ นเลิศ 7. ส่ งเสริ มการพัฒนาระบบการบริ หารจัดการศูนย์พฒั นาวิชาชี พสู่ ความเป็ นเลิศ และการ ประกันคุณภาพภายในองค์กร 6. ประเด็นยุทธศำสตร์ ด้ำนกำรบริหำรจัดกำร "แบบบูรณาการโดยยึดผลประโยชน์ สูงสุ ดขององค์ กร (SPECIALISTS)"  ยุทธศำสตร์ ที่ 6.1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารเทศเพื่อการบริ หารจัดการ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีฐานข้อมูลและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริ หารจัดการ มำตรกำร 1. จัดทาแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงยุทธศาสตร์ 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สนับสนุนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย  ยุทธศำสตร์ ที่ 6.2 สรรหาและพัฒนาศักยภาพของบุ คลากร รวมถึ งธ ารงไว้ซ่ ึ งบุคลากร ที่มีคุณภาพ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีบุคลากรที่มีศกั ยภาพตรงตามพันธกิจและเป้ าหมายของมหาวิทยาลัย 2. บุคลากรมีขวัญกาลังใจ ค่านิยม และวัฒนธรรมองค์กรที่ดี มำตรกำร 1. จัด ท าแผนการบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คลที่ เ ป็ นรู ป ธรรมภายใต้ก ารวิ เ คราะห์ ข้อ มู ล เชิงประจักษ์


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

19

2. สร้ างและพัฒนาระบบและกลไกในการบริ หารทรั พยากรบุ ค คลที่ เป็ นการส่ ง เสริ ม สมรรถนะในการปฏิบตั ิงาน 3. จัดสวัสดิการและเสริ มสร้างสุ ขภาพที่ดีและสร้างบรรยากาศที่ดีให้บุคลากรทางานได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและอยูอ่ ย่างมีความสุ ข 4. ส่ ง เสริ ม สนับ สนุ น บุ ค ลากรที่ มี ศ ัก ยภาพสู ง ให้ มี โ อกาสประสบความส าเร็ จ และ ก้าวหน้าในอาชีพอย่างรวดเร็ วตามสายงาน 5. พัฒนาการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอย่างเป็ นระบบและมีการนา ผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจเสนอต่ อ ผู ้บ ริ ห ารระดับ สู ง และมี แ นวทางในการ ปรับปรุ งพัฒนาเพื่อให้ดีข้ ึน 6. มีระบบและกลไกในการจัดการทรัพยากรและธารงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ  ยุทธศำสตร์ ที่ 6.3 พัฒนาและสร้างภาวะผูน้ าให้กบั ผูบ้ ริ หารทุกระดับ เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. ผูบ้ ริ หารทุ กระดับที่ ได้รับ การแต่ งตั้งต้องได้รับการฝึ กอบรม พัฒนาสมรรถนะและ ภาวะผูน้ า อย่างน้อย 1 ครั้ง มำตรกำร 1. กระบวนการสรรหาผูบ้ ริ หารที่เป็ นระบบ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ 2. ผู ้บ ริ หารด าเนิ น การบริ หารด้ ว ยหลั ก ธรรมาภิ บ าลและใช้ ศ ัก ยภาพผู ้น าที่ มี อ ยู่ โดยคานึงถึงประโยชน์ของสถาบันและผูม้ ีส่วนได้เสี ย 3. กระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริ หารที่ชดั เจน และเป็ นที่ ยอมรับในสถาบัน 4. การจัดทาแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบ้ ริ หารตามผลการประเมิน และ ดาเนินการตามแผนอย่างครบถ้วน  ยุทธศำสตร์ ที่ 6.4 พัฒนาระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษา เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีเครื่ องมือการบริ หารจัดการที่เหมาะสมกับภารกิจ มำตรกำร 1. พัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา 2. ให้ความรู ้และทักษะด้านการประกันคุณภาพการศึกษาแก่บุคลากรทุกระดับ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

20

3. ส่ งเสริ มการสร้างเครื อข่ายการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอกองค์กร  ยุทธศำสตร์ ที่ 6.5 บริ หารจัดการงบประมาณ สิ นทรัพย์และทรัพย์สินทางปัญญาของ มหาวิทยาลัยให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มี ร ายรั บ จากการให้บ ริ ก ารวิช าการและวิช าชี พ ในนามมหาวิท ยาลัย 20,000 บาท ต่ออาจารย์ประจา 2. ค่ า ใช้จ่า ยและมู ล ค่ า ของมหาวิท ยาลัย ในการบริ ก ารวิ ช าการและวิช าชี พ เพื่ อสั ง คม 10,000 บาทต่ออาจารย์ประจา 3. มีการแสดงสิ นทรัพย์ถาวรต่อจานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าทุกสาขา 4. มีการแสดงค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าทุกสาขา 5. มีการแสดงผลร้อยละของเงินเหลือจ่ายสุ ทธิ ต่องบดาเนินการ 6. งบประมาณสาหรับการพัฒนาคณาจารย์ท้ งั ในประเทศและต่างประเทศ 10,000 บาท ต่ออาจารย์ประจา 7. ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ทกั ษะวิชาชี พในประเทศ และต่างประเทศ มากกว่าหรื อเท่ากับ 70 8. ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ ใช้ในระบบห้องสมุ ด คอมพิวเตอร์ ศู นย์สารสนเทศ 5,000 บาท ต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า และเพิม่ ขึ้นปี ละ 500 บาท มำตรกำร 1. จัดทากรอบแผนระยะยาว ระยะปานกลาง แผนปฏิ บตั ิราชการประจาปี ของมหาวิทยาลัย โดยเชื่อมโยงและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของชาติ กระทรวงและกลุ่มจังหวัด 2. พัฒนาระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะห์ ค่าใช้จ่าย การตรวจสอบการเงิ น และงบประมาณอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 3. พัฒนาระบบการใช้ทรัพยากรร่ วมกันทั้งภายในและภายนอกองค์กร 4. พัฒนาระบบและกลไกการบริ หารจัดการสิ นทรัพย์และทรัพย์สินทางปัญญา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

21

 ยุทธศำสตร์ ที่ 6.6 พัฒนาองค์กรและระบบธรรมาภิบาลในการบริ หารจัดการองค์กร เป้ำหมำยยุทธศำสตร์ 1. มีความร่ วมมือกับเครื อข่ายการบริ หารจัดการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย 2. มีระบบการรับฟังความคิดเห็นของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยผ่านช่องทางที่เปิ ดเผยและเป็ นที่ รับรู ้โดยทัว่ ไปอย่างน้อย 3 ช่องทาง มำตรกำร 1. สร้างค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร 2. พัฒนาระบบการประเมินบุคลากรทุกระดับ 3. เสริ มสร้างประสิ ทธิ ภาพการบริ หารจัดการแก่องค์กร 4. สร้างการประกันคุณภาพและการบริ หารความเสี่ ยงภายในองค์กร 5. สร้างและเชื่อมโยงเครื อข่ายความร่ วมมือด้านบริ หารจัดการทั้งภายในและภายนอก 6. ส่ งเสริ มการรับฟังความคิดเห็นของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยผ่านช่องทางที่เปิ ดเผย 7. การวัดระดับความสาเร็ จในการเปิ ดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้ามามีส่วนร่ วมในการ พัฒนาสถาบันอุดมศึกษา 8. พัฒ นาระบบ การบริ หารจัด การภาครั ฐ ที่ ดี เ พื่ อ เป็ นกลไกที่ ส ามารถตรวจสอบ การทางานได้ 9. ส่ งเสริ มการปฏิบตั ิราชการใสสะอาด 10. มุ่งเสริ ม สร้ างสู่ การเป็ นมหาวิท ยาลัยสร้ างเสริ มสุ ขภาพ โดยมี มาตรการในการออก ใบรับรองการเข้าร่ วมโครงการมหาวิทยาลัยสร้างเสริ มสุ ขภาพ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

22

1.4 กำรประกันคุณภำพกำรศึกษำในพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่ งชำติ พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 ได้กาหนดให้การจัดการศึ กษายึดหลักให้มี มาตรฐานและการประกันคุ ณภาพการศึ กษา และได้ใ ห้ค วามหมายในเรื่ องมาตรฐานการศึ ก ษา การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และการประกันคุ ณภาพการศึกษาภายนอก ตลอดจนกาหนด เรื่ องที่ดาเนินการในมาตรา 4 และหมวด 6 ดังนี้ มำตรำ 4 ได้กาหนดความหมายไว้ดงั นี้ “มาตรฐานการศึกษา” หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่พึงประสงค์ และมาตรฐานที่ ตอ้ งการให้เกิ ดขึ้นในสถานศึ กษาทุ กแห่ ง และเพื่อใช้เป็ นหลักในการเที ยบเคี ยง สาหรั บการส่ งเสริ มและกากับดู แล การตรวจสอบ การประเมิ นผลและการประกันคุ ณภาพทาง การศึกษา “การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินผลการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรื อโดย หน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษานั้น “การประกันคุ ณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุ ณภาพการศึกษาหรื อบุคคลหรื อหน่ วยงานภายนอกที่สานักงานดังกล่าวรับรองเพื่อเป็ น การประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา หมวด 6 มำตรฐำนและกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ มาตรา 47 ให้ มี ระบบการประกันคุ ณ ภาพการศึ ก ษาเพื่ อพัฒนาคุ ณภาพ และมาตรฐาน การศึกษา ทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพ ภายนอก ระบบหลัก เกณฑ์ และวิธี ก ารประกันคุ ณ ภาพการศึ ก ษา ให้ เ ป็ นไปตามที่ ก าหนดใน กฎกระทรวง มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หารการศึกษา ที่ตอ้ งดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

23

หน่ วยงานที่ เกี่ ย วข้อง และเปิ ดเผยต่ อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่ ก ารพัฒนาคุ ณภาพและมาตรฐาน การศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก มาตรา 49 ให้มี ส านัก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ นคุ ณภาพการศึ ก ษามี ฐ านะเป็ น องค์การมหาชนทาหน้าที่พฒั นาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทาการประเมินผลการ จัด การศึ ก ษาเพื่ อ ให้มี ก ารตรวจสอบคุ ณ ภาพของสถานศึ ก ษา โดยค านึ ง ถึ ง ความมุ่ ง หมายและ หลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติน้ ี ให้มีการประเมินคุ ณภาพภายนอกของสถานศึ กษาทุ กแห่ งอย่างน้อยหนึ่ งครั้ งในทุ กห้าปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุ ดท้ายและเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน มาตรา 50 ให้สถานศึกษาให้ความร่ วมมือในการจัดเตรี ยมเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่มีขอ้ มูล เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา ตลอดจนให้บุคลากร คณะกรรมการของสถานศึกษา รวมทั้งผูป้ กครองและ ผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสถานศึกษาให้ขอ้ มูลเพิ่มเติมในส่ วนที่พิจารณาเห็นว่าเกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิ ภารกิจของสถานศึกษา ตามคาร้องขอของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา หรื อบุคคล หรื อหน่ วยงานภายนอกที่สานักงานดังกล่าวรับรองที่ทาการประเมินคุ ณภาพภายนอก ของสถานศึกษานั้น มาตรา 51 ในกรณี ที่ ผ ลการประเมิ น ภายนอกของสถานศึ ก ษาใดไม่ ไ ด้ต ามมาตรฐาน ที่ ก าหนดให้ส านัก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ นคุ ณภาพการศึ ก ษาจัดทาข้อเสนอแนะการ ปรับปรุ งแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุ งแก้ไขภายในระยะเวลาที่กาหนด หากมิได้ดาเนินการดังกล่าวให้สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารายงานต่อ คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้นพื้ นฐานหรื อคณะกรรมการ การอุ ดมศึ ก ษาเพื่ อดาเนิ นการให้มี ก าร ปรับปรุ งแก้ไข


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

24

1.5 พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่ งชำติ พ.ศ. 2542 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2545 มำตรำ 4 ในพระราชบัญญัติน้ ี “การศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรี ยนรู ้เพื่อความเจริ ญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ า ยทอดความรู ้ การฝึ ก การอบรม การสื บ สานทางวัฒนธรรมการสร้ างสรรค์จรรโลง ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู ้อนั เกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรี ยนรู ้ และปั จจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ “การศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา “การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษา ในระบบ การศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอัธ ยาศัย เพื่ อให้ส ามารถพัฒ นาคุ ณภาพชี วิต ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ “สถานศึกษา” หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรี ยน ศูนย์การเรี ยน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่ วยงานการศึ กษาหรื อหน่ วยงานอื่ นของรั ฐหรื อของเอกชน ที่ มีอานาจ หน้าที่หรื อมีวตั ถุประสงค์ในการจัดการศึกษา “สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า สถานศึกษาที่จดั การศึกษาขั้นพื้นฐาน “มาตรฐานการศึกษา” หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และมาตรฐานที่ ตอ้ งการให้เกิ ดขึ้ นในสถานศึกษาทุ กแห่ ง และเพื่อให้เป็ นหลักในการเทียบเคี ยง ส าหรั บ การส่ ง เสริ ม และก ากับ ดู แ ล การตรวจสอบ การประเมิ น ผลและการประกัน คุ ณ ภาพ ทางการศึกษา “การประกันคุ ณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมิ นผลและการติ ดตามตรวจสอบ คุ ณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรื อโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษานั้น “การประกันคุ ณภาพการศึ กษาภายนอก” หมายความว่า การประเมินผลและการติ ดตาม ตรวจสอบคุ ณภาพและมาตรฐานการศึ กษาของสถานศึก ษาจากภายนอก โดยส านักงานรับรอง มาตรฐานและประเมิ นคุ ณภาพการศึกษาหรื อบุ คคลหรื อหน่ วยงานภายนอกที่ สานักงานดังกล่ าว รั บ รอง เพื่ อ เป็ นการประกั น คุ ณ ภาพและให้ มี ก ารพัฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษา ของสถานศึกษา “ผูส้ อน” หมายความว่า ครู และคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่างๆ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

25

“ครู ” หมายความว่า บุ ค ลากรวิ ช าชี พ ซึ่ ง ท าหน้า ที่ หลัก ทางด้า นการเรี ย นการสอนและ การส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการต่างๆในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน “คณาจารย์” หมายความว่า บุ ค ลากรซึ่ งท าหน้า ที่ ห ลัก ทางด้า นการสอนและการวิ จ ัย ในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริ ญญาของรัฐและเอกชน “ผูบ้ ริ หารการศึกษา” หมายความว่า บุคลากรวิชาชี พที่รับผิดชอบการบริ หารการศึกษานอก สถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ผูบ้ ริ หารการศึกษา รวมทั้ง ผูส้ นับสนุนการศึกษาซึ่ งเป็ นผูท้ าหน้าที่ให้บริ การ หรื อปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรี ยน การสอน การนิเทศ และการบริ หารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่างๆ “กระทรวง” *หมายความว่า กระทรวงศึกษาธิ การ “รัฐมนตรี ” หมายความว่า รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี มำตรำ 5 ** ให้รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิ การ รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี และ มีอานาจออกกฎกระทรวง ระเบียนและประกาศเพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี กฎกระทรวง ระเบี ยบ และประกาศนั้น เมื่ อได้ป ระกาศในราชกิ จจานุ เบกษาแล้วให้ใ ช้ บังคับได้

-----------------------------------------* บทนิยำม ควำมเดิมถูกยกเลิกโดยมำตรำ 3 แห่ งพระรำชบัญญัตกิ ำรศึกษำแห่ งชำติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และให้ ใช้ ควำมทีพ่ มิ พ์ ไว้ แทน ** มำตรำ 5 ถูกยกเลิกโดยมำตรำ 4 แห่ งพระรำชบัญญัตกิ ำรศึกษำแห่ งชำติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และให้ ใช้ ควำมที่ พิมพ์ ไว้ แทน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

26

กฎกระทรวง ว่ำด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ พ.ศ. ๒๕๕๓ ----------------------------------อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่ งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสอง แห่ ง พระราชบัญ ญัติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ อัน เป็ นกฎหมายที่ มี บทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิ ทธิ และเสรี ภาพของบุคคล ซึ่ งมาตรา ๒๙ ประกอบกับ มาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนู ญแห่ ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้ก ระท าได้โดยอาศัยอานาจตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรี วา่ การการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงไว ดังต่อไปนี้ ขอ ๑ ให้ยกเลิก (๑) กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุ ณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ (๒) กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุ ณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ขอ ๒ ในกฎกระทรวงนี้ “การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่กระทรวงศึ กษาธิ การ ประกาศ ก าหนดส าหรั บ การประกัน คุ ณ ภาพภายใน ซึ่ งกระท าโดยบุ ค ลากรของสถานศึ ก ษานั้น หรื อ โดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษา “การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม และการตรวจสอบคุ ณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่ งกระทาโดยสานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรื อผูป้ ระเมินภายนอก “การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า กระบวนการติดตามตรวจสอบ ความก้าวหน้าของการปฏิ บตั ิตามแผนการพัฒนาคุ ณภาพการศึกษา และจัดทารายงานการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา พร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่ งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา “การพัฒนาคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า กระบวนการพัฒนาการศึกษาเข้าสู่ คุณภาพ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยมีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา การจัดระบบและ โครงสร้าง การวางแผน และการดาเนินงานตามแผน รวมทั้งการสร้างจิตสานึ กให้เห็นว่าการพัฒนา คุณภาพการศึกษาจะต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็ นความรับผิดชอบร่ วมกันของทุกคน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

27

“สานัก งาน” หมายความว่า สานัก งานรั บรองมาตรฐานและประเมิ นคุ ณภาพการศึ กษา (องค์การมหาชน) หมวด ๑ บททัว่ ไป -----------------------------ขอ ๓ ระบบการประกัน คุ ณ ภาพภายในเพื่ อ การพัฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาและพัฒ นา มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย (๑) การประเมินคุณภาพภายใน (๒) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (๓) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขอ ๔ ระบบการประกันคุ ณ ภาพภายนอกเพื่ อ รั บ รองมาตรฐานและมุ่ ง พัฒ นาคุ ณ ภาพ การศึกษาทุกระดับ ตองประกอบด้วย (๑) การประเมินคุณภาพภายนอก (๒) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ขอ ๕ ให้ส ถานศึ ก ษาดาเนิ นการประกันคุ ณภาพภายในอย่า งต่ อเนื่ องเป็ นประจาทุ ก ปี โดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ทั้งนี้ ด้วยการสนับสนุ นจากหน่ วยงาต้นสังกัดและการมีส่วนร่ วมของ ชุมชน ข้อ ๖ ให้สถานศึกษาจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิ ดเผย รายงานนั้นต่อสาธารณชน ข้อ ๗ สถานศึกษาต้องนาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปประกอบการ จัดทาแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

28

ส่ วนที่ ๓ กำรอุดมศึกษำ -------------------------------ข้อ ๓๐ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ งเรี ยกว่า “คณะกรรมการประกันคุ ณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา” ประกอบด้วย (๑) กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิตาม (๓) ซึ่งรัฐมนตรี แต่งตั้ง เป็ นประธานกรรมการ (๒) เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เป็ นรองประธานกรรมการ (๓) กรรมการผูท้ รงคุ ณวุฒิซ่ ึ งรั ฐมนตรี แต่ง ตั้ง โดยคา แนะนา ของคณะกรรมการ การอุดมศึกษา จากผูม้ ีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ ยวชาญ และประสบการณ์ ในด้านการจัด การศึกษาการบริ หารสถานศึกษา หรื อการประเมินการจัดการศึกษา จานวนไม่เกิ นเก้าคนเป็ น กรรมการซึ่ งในจานวนนี้ จะต้องแต่ งตั้งบุ คคลที่ ไม่เป็ นข้าราชการหรื อพนักงานมหาวิทยาลัยที่ มี ตาแหน่งหรื อเงินเดือนประจาจานวนไม่นอ้ ยกว่าห้าคน ให้เลขาธิ การคณะกรรมการการอุดมศึกษาแต่งตั้งข้าราชการของสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาซึ่ งดูแลงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา เป็ นกรรมการและเลขานุการ ข้อ ๓๑ ให้นาความในข้อ ๑๐ ข้อ ๑๑ และข้อ ๑๒ มาใช้บงั คับกับคุณสมบัติ ลักษณะ ต้องห้าม วาระการดารงตาแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการแทน การแต่งตั้งกรรมการเพิ่ม และการพ้น จากตาแหน่งของกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิตามข้อ ๓๐ (๓) โดยอนุโลม ข้อ ๓๒ คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษามีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) วางระเบียบหรื อออกประกาศกาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการประกัน คุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เพื่อส่ งเสริ ม สนับสนุ น และพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา (๒) เสนอแนะแนวทางปรับปรุ งและพัฒนาคุ ณภาพการศึกษาแก่ สถานศึกษาโดยนาผล การประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปปรับปรุ งคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง (๓) แต่งตั้งคณะทางานเพื่อดาเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา (๔) ปฏิบตั ิการอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่รัฐมนตรี หรื อคณะกรรมการการอุดมศึกษามอบหมาย ข้อ ๓๓ ให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยยึด หลักเสรี ภาพทางวิชาการและความมีอิสระในการดาเนินการของสถานศึกษา เพื่อให้มีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผลในการพัฒนาคุ ณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา อย่างต่อเนื่อง และเตรี ยมความพร้อมเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

29

ข้อ ๓๔ หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้พิจารณาจาก (๑) ระบบการประกันคุ ณภาพภายในของคณะวิช าและสถานศึ ก ษาระดับอุ ดมศึ ก ษา โดยคานึงถึงมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิ การประกาศกาหนด (๒) ผลการปฏิบตั ิงานของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบการประกัน คุณภาพภายในที่กาหนดไว้ (๓) ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลการดาเนิ นงานตามระบบการประกันคุ ณภาพภายใน ที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา ข้อ ๓๕ วิธีการประกันคุ ณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุ ดมศึกษา ให้ใช้แนวปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี้ (๑) ให้คณะวิชาและสถานศึ กษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีหน่ วยงานหรื อคณะกรรมการ ที่รับผิดชอบการดาเนิ นการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาขึ้น โดยมีหน้าที่พฒั นา บริ หารและ ติดตามการดาเนินการประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนประสานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้เกิด ความมัน่ ใจว่าการจัดการศึกษาจะเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ (๒) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน เพื่อใช้กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาให้มีประสิ ทธิ ภาพภายใต้กรอบ นโยบายและหลักการที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด (๓) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาดาเนินการตามระบบการประกันคุณภาพ ภายใน โดยถือเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หารการศึกษา (๔) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบและกลไกควบคุมคุณภาพ ขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังต่อไปนี้ (ก) หลักสู ตรการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ (ข) คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์ (ค) สื่ อการศึกษาและเทคนิคการสอน (ง) ห้องสมุดและแหล่งการเรี ยนรู ้อื่น (จ) อุปกรณ์การศึกษา (ฉ) สภาพแวดล้อมในการเรี ยนรู้และบริ การการศึกษา (ช) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรี ยนของนักศึกษา (ซ) องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร ให้แต่ ละคณะวิชาและสถานศึ กษาระดับ อุ ดมศึ กษาจัดให้มีระบบการติ ดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาตามที่เห็นสมควร โดยให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาส่ งเสริ มและ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

30

สนับ สนุ นให้มี การพัฒนาด้า นการประกันคุ ณภาพการศึ กษาในระดับ คณะวิช าของสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง ข้อ ๓๖ ให้หน่ วยงานต้นสังกัดของสถานศึ ก ษาระดับอุ ดมศึ กษาจัดให้มี การติ ดตาม ตรวจสอบคุ ณ ภาพการศึ ก ษานั้ น อย่ า งน้ อ ยหนึ่ งครั้ งในทุ ก สามปี และแจ้ง ผลให้ ส ถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิ ดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน

หมวด ๓ กำรประกันคุณภำพภำยนอก -----------------------------------------ข้อ ๓๗ การประกันคุณภาพภายนอกให้คานึงถึงจุดมุ่งหมายและหลักการ ดังต่อไปนี้ (๑) เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (๒) ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็ นธรรม และโปร่ งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็ น จริ งและมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (๓) สร้างความสมดุลระหว่างเสรี ภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของ ชาติ โดยให้มีเอกภาพเชิ งนโยบาย ซึ่ งสถานศึ กษาสามารถกาหนดเป้ าหมายเฉพาะและพัฒนา คุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษาและผูเ้ รี ยน (๔) ส่ งเสริ ม สนับสนุน และร่ วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา (๕) ส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมในการประเมินคุณภาพ และพัฒนาการจัดการศึกษาของรัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น (๖) ความเป็ นอิสระ เสรี ภาพทางวิชาการ เอกลักษณ์ ปรัชญา ปณิ ธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้ าหมายของสถานศึกษา ข้อ ๓๘ ในการประกันคุ ณภาพภายนอก ให้สานักงานทาการประเมินคุณภาพภายนอก สถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่ อง ดังต่อไปนี้ (๑) มาตรฐานที่วา่ ด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา (๒) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการบริ หารจัดการศึกษา (๓) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

31

(๔) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการประกันคุณภาพภายใน ในกรณี ที่มีความจาเป็ นต้องทาการประเมินคุณภาพภายนอกจากมาตรฐานอื่นเพิ่มเติมจาก มาตรฐานที่กาหนดในวรรคหนึ่ง ให้สานักงานประกาศกาหนดมาตรฐานอื่นได้โดยความเห็นชอบ ของรัฐมนตรี ข้อ ๓๙ วิธีการในการประกันคุณภาพภายนอก ให้เป็ นไปตามระเบียบที่สานักงานกาหนด ข้อ ๔๐ ในกรณี ที่ผลการประเมิ นคุ ณภาพภายนอกแสดงว่า ผลการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาได้ไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน ให้สานักงานแจ้งเป็ นหนังสื อพร้อมแสดงเหตุผลที่ ไม่ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานแก่หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษานั้น และให้สถานศึกษานั้นปรับปรุ งแก้ไข โดยจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพและดาเนินการตามแผน เพื่อขอรับการประเมินใหม่ภายในสองปี นับ แต่วนั ที่ได้รับแจ้งผลการประเมินครั้งแรก ให้สถานศึกษาเสนอแผนพัฒนาคุณภาพต่อสานักงานเพื่อพิจารณาอนุมตั ิภายในสามสิ บวัน นับแต่วนั ที่ได้รับแจ้งผลการประเมินตามวรรคหนึ่ง ข้อ ๔๑ ในกรณี ที่สถานศึกษาไม่ดาเนิ นการปรับปรุ งแก้ไขภายในกาหนดเวลาตามข้อ ๔๐ ให้สานักงานรายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอาชี วศึกษาหรื อ คณะกรรมการการอุดมศึกษา หรื อหน่วยงานต้นสังกัดอื่น แล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณาสั่งการต่อไป

ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ชินวรณ์ บุณยเกียรติ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิ การ

หมำยเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๔๗ แห่ งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่ งประกอบด้วย ระบบการประกันคุ ณภาพภายในและระบบการประกันคุ ณภาพภายนอก เพื่อพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ทั้งนี้ ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาดังกล่าว ให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวงจึงจาเป็ นต้องออกกฎกระทรวงนี้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

32

1. 6 นโยบำยในกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำของมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำล้ำนนำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้พิจารณาเห็ นความสาคัญของการประกัน คุ ณภาพการศึ ก ษา เพื่ อ จะสามารถสร้ า งความเป็ นเลิ ศ ทางวิช าการทั้ง ในด้า นการเรี ย นการสอน การวิจยั การบริ การวิชาการแก่สังคมและการทานุ บารุ งศิลปวัฒนธรรม ให้เป็ นไปตามความพร้อม ความชานาญ และความเชี่ ยวชาญของแต่ละพื้นที่/คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/สานัก/กอง ซึ่ งจะเป็ นการ เสริ มสร้างคุณภาพมาตรฐานชั้นนาในระดับนานาชาติได้ จึงได้ประกาศนโยบายการประกันคุณภาพ การศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้า นนาขึ้ น โดยใช้ม าตรฐานของ สมศ. และ องค์ประกอบคุณภาพของ สกอ. เป็ นระบบและกลไก เพื่อเป็ นแนวทางในการดาเนินการดังนี้ 1. ให้มีการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุ ณภาพการศึกษาเพื่อเป็ นเครื่ องมือในการ รั ก ษามาตรฐานการศึ ก ษาของมหาวิท ยาลัย โดยเน้นหลัก การของการให้พ้ื นที่ /คณะ/วิทยาลัย / สถาบัน/สานัก/กอง พัฒนาระบบและกลไกการควบคุมคุณภาพการศึกษาขึ้นภายในหน่วยงาน และ สร้ า งความพร้ อมที่ จะให้หน่ วยงานภายนอกหรื อมหาวิท ยาลัย เข้า ไปตรวจสอบเพื่ อการรั บ รอง คุณภาพได้ 2. ส่ งเสริ มให้แต่ละพื้นที่/คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/สานัก/กอง จัดตั้งคณะกรรมการประกัน คุณภาพการศึกษาขึ้นภายในหน่วยงาน โดยมีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาที่มหาวิทยาลัย แต่งตั้งขึ้นเป็ นผูด้ ูแล ให้ คาปรึ กษา และประสานงาน เพื่อให้การดาเนิ นกิจกรรมการประกันคุณภาพ การศึกษาของพื้นที่/คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/สานัก/กอง เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 3. ส่ งเสริ มและสนับสนุนให้พ้นื ที่/คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/สานัก/กอง ดาเนินงานด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษาอย่างเป็ นระบบ โดยใช้งบประมาณที่มีตามความจาเป็ น 4. ส่ ง เสริ ม ให้หน่ วยงานหรื อสถาบันต่ า งๆ ภาครั ฐและเอกชน ภายในประเทศได้เข้า มาร่ วมในกิจกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาของแต่ละพื้นที่/คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/สานัก/กอง เพื่อการพัฒนาและรับรองคุณภาพ 5. สนับสนุ นให้พ้ืนที่ /คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/สานัก/กอง เผยแพร่ กิจกรรมการประกัน คุณภาพ การศึกษาที่ได้ดาเนิ นการไปแล้วอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อเป็ นการประชาสัมพันธ์คุณภาพการศึกษาของแต่ละหน่วยงาน 6. ก าหนดแนวทางการปฏิ บ ัติ ใ นการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาขึ้ น เพื่ อ เป็ นแนวทาง เบื้องต้น โดยแต่ละพื้นที่/คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/สานัก/กอง อาจนาไปปรับปรุ งหรื อพัฒนาเพิ่มเติม ให้เหมาะสมกับสภาพของหน่วยงาน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

33

1.7 แนวปฏิบัติในกำรประกันคุณภำพกำรศึ กษำของมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ ำนนำ ล้ำนนำ เพื่อให้การดาเนิ นงานการประกันคุ ณภาพการศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้า นนา เป็ นไปอย่างมี ป ระสิ ท ธิ ภาพและเกิ ดประสิ ทธิ ผล จึ งเห็ นสมควรให้ก าหนดแนวปฏิ บ ตั ิ เบื้องต้นขึ้นเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการดาเนิ นการประกันคุ ณภาพการศึกษาในพื้นที่/คณะ/วิทยาลัย/ สถาบัน/สานัก/กอง ในมหาวิทยาลัยดังนี้ 1. แต่ ง ตั้ง คณะกรรมการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลัย ให้ เ ป็ นผู้ดู แ ล ให้คาปรึ กษา ประสานงาน และตรวจสอบ ตลอดจนกาหนดดัชนี และตัวบ่งชี้ ของคุณภาพการศึกษา เพื่อให้การดาเนินกิจกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่/คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/สานัก/ กอง เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 2. มหาวิทยาลัย เขตพื้นที่/คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/สานัก/กอง ดาเนิ นกิจกรรมการประกัน คุณภาพการศึกษา โดยใช้งบประมาณที่มีตามความจาเป็ น 3. เขตพื้นที่ /คณะ/วิทยาลัย /สถาบัน/สานัก /กอง แต่งตั้ง คณะกรรมการประกันคุ ณภาพ การศึ ก ษาขึ้ นเป็ นการภายใน เพื่ อพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุ ณภาพการศึ กษา กาหนด มาตรฐานขั้นต่ า และขั้นสู ง และเงื่ อนไขเวลาที่ ต้องบรรลุ รวมทั้ง ก าหนดกิ จกรรมการประกัน คุณภาพการศึกษาให้เหมาะสมกับหน่ วยงาน ประชาสัมพันธ์ภายในหน่ วยงานและทาให้เกิดการ ดาเนิ นกิ จกรรมต่างๆ ขึ้น ดาเนิ นการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลคุ ณภาพการศึกษาภายใน หน่วยงาน 4. เขตพื้ น ที่ / คณะ/วิ ท ยาลั ย /สถาบั น /ส านั ก /กอง จั ด ท าระบบข้ อ มู ล ที่ ท ั น สมั ย มี คุ ณ ภาพ และประสิ ทธิ ภ าพ เช่ น ข้ อ มู ล นั ก ศึ ก ษา บุ ค ลากร วัส ดุ อุ ป กรณ์ อาคารสถานที่ โสตทัศนูปกรณ์ ฯลฯ เพื่อนามาใช้ในการพัฒนา การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและประสิ ทธิภาพ 5. เขตพื้นที่ /คณะ/วิทยาลัย มีการศึกษาความต้องการ ตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน หลักสู ตรอย่างเป็ นระบบ เพื่อนาผลมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุ งหลักสู ตรให้มีประสิ ทธิ ภาพ 6. เขตพื้นที่/คณะ/วิทยาลัย กาหนดระบบการวัดและประเมินผลการเรี ยนการสอนอย่าง เป็ นมาตรฐานและดาเนินการวัดและประเมินผลอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 7. เขตพื้นที่/คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/สานัก/กอง มีการประเมินผลประสิ ทธิ ภาพการสอน และผลการปฏิบตั ิงานของบุคลากรอย่างเป็ นระบบและสม่าเสมอ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

34

8. เขตพื้นที่/คณะ/วิทยาลัย /สถาบัน/สานัก /กอง มีการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรใน หน่วยงานทั้งด้านการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทางานตามหน้าที่ เช่น การศึกษาต่อ ฝึ กอบรม ศึกษา ดูงาน และด้านประสบการณ์ทางการวิจยั อย่างทัว่ ถึงและต่อเนื่อง 9. สนับ สนุ น ให้อ าจารย์แ ละบุ ค ลากรผลิ ต ผลงานทางวิช าการและสื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ มี คุ ณภาพอย่างสม่ าเสมอ และให้มีการดาเนิ นการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนและพัฒนางาน วิชาการที่ เกี่ ยวข้องกับคุ ณภาพการศึกษา โดยการสนับสนุ นด้านงบประมาณและให้มีการบริ หาร จัดการให้มีประสิ ทธิภาพ 10. สนับ สนุ นให้มี ระบบห้องสมุ ดและระบบสารสนเทศให้ท นั สมัย อย่า งต่อเนื่ องและ พอเพียงต่อความต้องการ และมีการติดตามผลการใช้และการบริ การอย่างสม่าเสมอ 11. จัด ระบบการติ ด ตาม ตรวจสอบ และประเมิ น ผล การใช้ง านอาคารสถานที่ แ ละ ทรัพยากรการเรี ยนรู ้ต่างๆ อย่างสม่าเสมอ ตลอดจนการใช้งบประมาณอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 12. มีการจัดกิ จกรรมการแลกเปลี่ ยนข้อมูลเกี่ ยวกับการพัฒนาคุ ณภาพการศึ กษาภายใน มหาวิทยาลัยและระหว่างมหาวิทยาลัยทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ 13. เปิ ดโอกาสให้หน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน ได้เข้ามามีส่วนร่ วม ในการเสนอความคิดเห็นและดาเนินกิจกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา 14. มีระบบการเสริ มสร้างขวัญและกาลังใจแก่คณาจารย์และบุคลากรที่รับผิดชอบต่องาน พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างเหมาะสม 15. จัดทารายงานเกี่ ยวกับ คุ ณภาพการศึ กษาของมหาวิทยาลัย เขตพื้นที่ /คณะ/วิทยาลัย / สถาบัน/สานัก/กอง เผยแพร่ แก่ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง 16. ให้ มี ห น่ ว ยงานรองรั บ งานด้ า นการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลัย เขตพื้นที่/คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/สานัก/กอง


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

35

1.8 วัตถุประสงค์ กำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ดาเนิ นงานด้านการประกันคุ ณภาพการศึ กษา โดยมีเป้ าหมาย เพื่อสร้างความเป็ นเลิศทางวิชาการทั้งในด้านการเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ การ วิชาการแก่สังคม และการทานุบารุ ง ศิลปวัฒนธรรม อันจะนาไปสู่ การสร้างความมัน่ ใจแก่สังคมว่า ได้จดั การศึ ก ษาอย่า งมี คุ ณภาพและผลิ ตบัณฑิ ตที่ มี คุ ณภาพ โดยก าหนดวัต ถุ ป ระสงค์ข องการ ดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ดังนี้ 1. พัฒ นาระบบและกลไกการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในมหาวิ ท ยาลัย ให้ มี ประสิ ทธิภาพ 2. ควบคุมปั จจัยที่มีผลต่อคุณภาพการศึกษาให้มีมาตรฐาน 3. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนิ นงานการควบคุมคุณภาพปั จจัยอย่างเป็ น ระบบและต่อเนื่อง 4. ให้ เ ขตพื้ น ที่ / คณะ/วิ ท ยาลัย /สถาบัน /ส านัก /กอง น าผลการประเมิ น มาใช้ใ นการ ปรับปรุ ง พัฒนาหน่วยงาน เพื่อให้บรรลุผลตามเป้ าหมายที่กาหนด 5. พัฒนาระบบการประกันคุ ณภาพการศึ ก ษาให้พร้ อมส าหรั บ การตรวจสอบคุ ณภาพ (quality audit) และการประเมินคุณภาพ (quality assessment) โดยหน่วยงานภายนอก


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

36

1.9 กำรจัดกำรเรียนกำรสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มีการจัดการเรี ยนการสอนทั้งในระดับปริ ญญา โท ปริ ญญาตรี ระดับ ประกาศนี ย บัตรวิชาชี พชั้นสู ง (ปวส.) และระดับประกาศนี ย บัตรวิชาชี พ (ปวช.)โดยแบ่งคณะออกเป็ น 4 คณะ 1 วิทยาลัย และ 1 สถาบัน คือ 1. คณะบริ หารธุ รกิจและศิลปศาสตร์ 2. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร 3. คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4. คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ 5. วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ 6. สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

37

1.8 โครงสร้ ำงกำรบริหำรของมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำ

/

.


บทที่ 1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา 1. ความจาเป็ นและวัตถุประสงค์ ของการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบตั ิมี 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจยั การให้บริ การทางวิชาการแก่สังคม และการทานุ บารุ งศิลปะและวัฒนธรรม การดาเนินการตาม ภารกิจทั้ง 4 ประการดังกล่าว มีความสาคัญอย่างยิง่ ต่อการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว ปั จ จุ บ ัน มี ปั จ จัย ภายในและภายนอกหลายประการที่ ท าให้ ก ารประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ในระดับอุดมศึกษาเป็ นสิ่ งจาเป็ นที่จะต้องเร่ งดาเนินการ ปั จจัยดังกล่าวคือ 1) คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิ ตภายในประเทศ มีแนวโน้มที่จะมีความ แตกต่างกันมากขึ้น ซึ่ งจะก่อให้เกิดผลเสี ยแก่สังคมโดยรวมของประเทศในระยะยาว 2) ความท้าทายของโลกาภิ วตั น์ต่อการอุ ดมศึ กษา ทั้งในประเด็นการบริ การการศึ กษา ข้ามพรมแดน และการเคลื่อนย้ายนักศึกษาและบัณฑิต อันเป็ นผลจากการรวมตัวของ ประเทศในภูมิภาคอาเซี ยน ซึ่ งทั้งสองประเด็นต้องการการรับประกันของคุ ณภาพ การศึกษา 3) สถาบันอุดมศึกษามีความจาเป็ นที่จะต้องสร้ างความมัน่ ใจแก่สังคมว่าสามารถพัฒนาองค์ ความรู้และผลิตบัณฑิต ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศให้มากขึ้นไม่วา่ จะเป็ น การสร้ างขี ดความสามารถในการแข่ งขันระดับสากล การพัฒนาภาคการผลิ ตจริ ง ทั้งอุตสาหกรรมและบริ การ การพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิต ความเป็ นอยูร่ ะดับท้องถิ่นและ ชุมชน 4) สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ขอ้ มูลสาธารณะ (public information) ที่เป็ นประโยชน์ต่อ ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ทั้งนักศึกษา ผูจ้ า้ งงาน ผูป้ กครอง รัฐบาล และประชาชนทัว่ ไป 5) สังคมต้องการระบบอุดมศึกษาที่เปิ ดโอกาสให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยมีส่วนร่ วม (participation) มีความโปร่ งใส (transparency) และมีความรับผิดชอบซึ่ งตรวจสอบได้ (accountability) ตาม หลักธรรมาภิบาล 6) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่ งจัดให้มีระบบการประกันคุ ณภาพภายใน รวมถึงให้มี


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

39

สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาทาหน้าที่ประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยการประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 7) คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศใช้มาตรฐานการอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 7 สิ งหาคม 2549 เพื่อเป็ นกลไกกากับมาตรฐานระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการ อุดมศึกษา และระดับหน่วยงาน โดยทุกหน่วยงานระดับอุดมศึกษาจะได้ใช้เป็ นกรอบ การดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา 8) กระทรวงศึกษาธิ การได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ องมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551 เพื่อเป็ นกลไกส่ งเสริ มและกากับให้สถาบันอุดมศึกษา จัดการศึกษาให้มีมาตรฐานตามประเภทหรื อกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่ม 9) กระทรวงศึกษาธิ การได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการ อุดมศึกษาได้ประกาศแนวทางการปฏิบตั ิตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่ งชาติ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 เพื่อให้การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาเป็ นไป ตามมาตรฐานการอุ ดมศึกษาและเพื่อการประกันคุ ณภาพของบัณฑิ ตในแต่ละระดับ คุณวุฒิและสาขาวิชา ด้วยความจาเป็ นดังกล่าว สถาบันอุดมศึกษาร่ วมกับต้นสังกัดจึงจาเป็ นต้องพัฒนาระบบและ กลไกการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้ 1) เพื่ อตรวจสอบและประเมิ นการดาเนิ นงานของภาควิชา คณะวิชาหรื อหน่ วยงาน เทียบเท่า และสถาบันอุดมศึกษาในภาพรวม ตามระบบคุณภาพและกลไกที่สถาบัน นั้นๆก าหนดขึ้ น โดยวิเคราะห์ เ ปรี ย บเที ย บผลการดาเนิ นงานตามตัวบ่ ง ชี้ ใ นทุ ก องค์ประกอบคุณภาพว่าเป็ นไปตามเกณฑ์และได้มาตรฐาน 2) เพื่ อให้ภาควิช า คณะวิ ช าหรื อ หน่ วยงานเที ย บเท่ า และสถาบันอุ ด มศึ ก ษาทราบ สถานภาพของตนเองอันจะนาไปสู่ การกาหนดแนวทางในการพัฒนาคุ ณภาพไปสู่ เป้ าหมาย (targets) และเป้ าประสงค์ (goals) ที่ต้ งั ไว้ตามจุดเน้นของตนเองและเป็ น สากล 3) เพื่อให้ภาควิชา คณะวิชาหรื อหน่ วยงานเทียบเท่าและสถาบันอุดมศึกษาทราบจุดแข็ง จุดที่ควรปรับปรุ ง ตลอดจนได้รับข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดาเนินงานเพื่อเสริ ม จุดแข็ง และพัฒนาจุดที่ควรปรับปรุ งของสถาบันอย่างต่อเนื่อง


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

40

4) เพื่ อ ให้ ข ้อ มู ล สาธารณะที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ ผูม้ ี ส่ ว นได้ส่ ว นเสี ย ท าให้ ม ั่น ใจว่า สถาบันอุดมศึกษาสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานตาม ที่กาหนด 5) เพื่อให้หน่ วยงานต้นสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้อง มีขอ้ มูล พื้ น ฐานที่ จ าเป็ นส าหรั บ การส่ ง เสริ ม สนับ สนุ น การจัด การอุ ด มศึ ก ษาในแนวทาง ที่เหมาะสม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

41

2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กับการประกันคุณภาพการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ก าหนดจุ ด มุ่ ง หมายและหลัก การของการจัด การศึ ก ษาที่ มุ่ ง เน้น คุ ณ ภาพและมาตรฐาน โดยกาหนดรายละเอียดไว้ในหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่ งประกอบด้วย “ระบบการประกันคุณภาพภายใน” และ “ระบบการประกันคุณภาพภายนอก” เพื่อใช้เป็ นกลไก ในการผดุงรักษาคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา การประกันคุณภาพภายใน เป็ นการสร้างระบบและกลไกในการพัฒนา ติดตามตรวจสอบ และประเมินการดาเนินงานของสถานศึกษาให้เป็ นไปตามนโยบาย เป้ าหมายและระดับคุณภาพตาม มาตรฐานที่ กาหนดโดยสถานศึ กษาและหรื อหน่ วยงานต้นสังกัด โดยหน่ วยงานต้นสังกัดและ สถานศึ กษากาหนดให้มี ระบบการประกันคุ ณภาพภายในสถานศึ ก ษาและให้ถื อว่า การประกัน คุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หารการศึกษาที่ตอ้ งดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ องมีการ จัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุ ณภาพภายในเสนอต่อสภาสถาบัน หน่ วยงานต้น สังกัด และหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้องเพื่อพิจารณาและเปิ ดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนาไปสู่ การพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายนอก เป็ นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการติดตาม และตรวจสอบคุ ณภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาของสถานศึ ก ษา โดยค านึ ง ถึ ง ความมุ่ ง หมาย หลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ ซึ่งประเมินโดย “สานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรื อเรี ยกชื่ อย่อว่า “สมศ” พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 ได้กาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับ การประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้งในทุกรอบ 5 ปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุ ดท้ายและ เสนอผลการประเมินต่อหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้องและสาธารณชน ซึ่ ง สมศ. ได้ดาเนิ นการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ. 2544-2548) เสร็ จสิ้ นไปแล้ว ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบที่สอง (พ.ศ. 2549-2553) และการเตรี ยมการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สาม (พ.ศ. 2554-2558) ในการประเมินรอบที่สามของ สมศ. เป็ นการประเมิ นทั้งระดับสถาบันและ คณะวิชา แต่หากสถาบันใดจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั หลัก การประเมินจะครอบคลุมการจัดการ นอกสถานที่ต้ งั หลักทั้งหมด นอกจากนั้นการประเมินคุณภาพจะมีความสอดคล้องกับจุดเน้นหรื อ กลุ่มสถาบันที่แต่ละสถาบันเลือกตามประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

42

รู ป แบบและวิธี ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกจะเป็ นไปตามหลัก เกณฑ์ ที่ ก าหนดโดย สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ซึ่ งมีหลักการสาคัญ 5 ประการ ดังต่อไปนี้ 1) เป็ นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่ได้มุ่งเน้น เรื่ องการตัดสิ น การจับผิด หรื อการให้คุณ – ให้โทษ 2) ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็ นธรรม โปร่ งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็ นจริ ง (evidence – based) และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (accountability) 3) มุ่งเน้นในเรื่ องการส่ งเสริ มและประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตรมากกว่าการกากับควบคุม 4) ส่ งเสริ มการมี ส่วนร่ วมในการประเมิ นคุ ณภาพและการพัฒนาการจัดการศึ กษาจาก ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง 5) มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรี ภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของ ชาติตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึ กษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 ให้เอกภาพ เชิ งนโยบาย แต่ยงั คงมี ความหลากหลายในทางปฏิบตั ิ โดยสถาบันสามารถกาหนด เป้ าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถาบันและผูเ้ รี ยน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

43

3. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) ได้กาหนดแนวทางการ พัฒนาและแก้ปัญหาอุดมศึกษาที่ไร้ทิศทาง ซ้ าซ้อน ขาดคุณภาพ และขาดประสิ ทธิภาพโดยใช้กลไก การประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเป็ นกลไกหลักในการดาเนิ นการ กล่าวคือ ให้มีการ สร้างกลไกการประเมิน คุ ณภาพสถาบันอุดมศึ กษาตามพันธกิ จของสถาบันในแต่ละกลุ่ม ซึ่ งมีพ้ืนที่ บริ การและ จุดเน้นระดับการศึกษาที่ต่างกัน รวมทั้งมีพนั ธกิจและบทบาทในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของ ประเทศต่างกันตามความหลากหลาย ทั้งการพัฒนาฐานราก สังคม เศรษฐกิ จรวมถึงการกระจาย อานาจในระดับท้องถิ่น การขับเคลื่อนภาคการผลิตในชนบท ท้องถิ่นและระดับประเทศจนถึงการ แข่งขันในโลกาภิวตั น์ ซึ่ งระบบอุดมศึกษาแต่ละกลุ่มเหล่านี้ จะนาไปสู่ การเปลี่ยนแปลงอุดมศึกษา และส่ งผลกระทบที่เป็ นประโยชน์ต่อประเทศอย่างมีนยั สาคัญ อาทิ สามารถสร้างความเป็ นเลิศได้ ตามพันธกิจของตัวเอง สามารถตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศดีข้ ึน ส่ งผลเชิ งบวกต่อ การผลิต พัฒนาและการทางานของอาจารย์ สามารถปรับจานวนของบัณฑิตในสาขาที่เป็ นความ ต้องการของสังคม ลดการว่างงาน โดยที่สถาบันอุดมศึกษาในกลุ่มเหล่านี้ มีกลไกร่ วมกันในการ ประกันคุณภาพ เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถต่อยอด ถ่ายโอนแลกเปลี่ยนกันได้ระหว่างกลุ่ม และใน ระยะยาวการประเมินคุ ณภาพควรนาไปสู่ ระบบรั บรองวิทยฐานะ(accreditation) ที่นกั ศึกษาและ สาธารณะให้ความเชื่อถือ เป็ นฐานและเงื่อนไขในการจัดสรรงบประมาณของรัฐ และการสนับสนุน จากภาคเอกชน รวมทั้งการโอนย้ายหน่วยกิต จากกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิ การได้มีประกาศ กระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ในปี 2551 กาหนดประเภทหรื อกลุ่ม สถาบันอุดมศึกษาเป็ น 4 กลุ่ม คือ กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับต่ากว่าปริ ญญาตรี จัดฝึ ก อบรมสนองตอบความต้องการของท้องถิ่น เพื่อเตรี ยมกาลังคนที่มีความรู ้เข้าสู่ ภาคการผลิต จริ งในชุมชน สถาบันสนับสนุ นรองรับการเปลี่ยนอาชี พพื้นฐาน เช่น แรงงานที่ออกจากภาคเกษตร เป็ นแหล่ งเรี ยนรู ้ ที่ส่งเสริ มให้ประชาชนได้มีโอกาสเรี ยนรู ้ ตลอดชี วิตอันจะนาไปสู่ ความเข้มแข็ง ของชุมชนและการพัฒนาที่ยงั่ ยืน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

44

กลุ่ม ข สถาบันที่เน้ นระดับปริ ญญาตรี หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับ ปริ ญญาตรี เพื่อให้ได้บณ ั ฑิตที่มีความรู้ความสามารถเป็ นหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการ เปลี่ยนแปลงในระดับภูมิภาค สถาบันมีบทบาทในการสร้ างความเข้มแข็งให้กบั หน่วยงาน ธุ รกิ จ และบุคคลในภูมิภาค เพื่อรองรับการดารงชี พ สถาบันอาจมีการจัดการเรี ยนการสอนในระดับ บัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริ ญญาโทด้วยก็ได้ กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง หมายความถึง สถาบันที่เน้น การผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรื อ เฉพาะกลุ่มสาขาวิชา ทั้งสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ กายภาพ วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ สังคมศาสตร์ หรื อ มนุ ษยศาสตร์ รวมทั้งสาขาวิชาชี พเฉพาะทาง สถาบันอาจเน้นการทาวิทยานิ พนธ์หรื อการวิจยั หรื อเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะในการประกอบอาชี พ ระดับสู ง หรื อเน้นทั้งสองด้าน รวมทั้งสถาบันอาจมี บทบาทในการพัฒนาภาคการผลิ ตจริ งทั้ง อุตสาหกรรมและบริ การ สถาบันในกลุ่มนี้อาจจาแนกได้เป็ น 2 ลักษณะคือ ลักษณะที่ 1 เป็ นสถาบัน ที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา (ค1) และลักษณะที่ 2 เป็ นสถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี (ค2) กลุ่ม ง สถาบันที่เน้ นการวิจัยขั้นสู งและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับ ปริ ญญาเอก หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิ ตบัณฑิตระดับบัณฑิ ตศึกษาโดยเฉพาะระดับ ปริ ญญาเอก และเน้นการทาวิทยานิ พนธ์และการวิจยั รวมถึงการวิจยั หลังปริ ญญาเอก สถาบันเน้น การผลิตบัณฑิตที่เป็ นผูน้ าทางความคิดของประเทศ สถาบันมีศกั ยภาพในการขับเคลื่อนอุดมศึกษา ไทยให้อยูใ่ นแล้วหน้าระดับสากล มุ่งสร้างองค์ความรู ้ทฤษฎีและข้อค้นพบใหม่ทางวิชาการ ดังนั้น การประกันคุณภาพการศึกษาจึงต้องสร้างกลไกการประเมินคุณภาพให้สอดรับกับ การแบ่งกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่มดังกล่าว


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

45

4. การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในหมวด 5 ที่วา่ ด้วยการบริ หารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ได้กาหนดให้ คณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษามี ห น้ า ที่ พิ จ ารณาเสนอมาตรฐานการอุ ด มศึ ก ษาที่ ส อดคล้อ งกับ ความต้อ งการตาม แผนพัฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ และสอดคล้อ งกับ มาตรฐานการศึ ก ษาของชาติ โดยคานึงถึงความเป็ นอิสระและความเป็ นเลิศทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการการ อุดมศึกษาจึงได้จดั ทามาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใช้เป็ นกลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และระดับหน่ วยงาน เพื่อนาไปสู่ การกาหนดนโยบายการพัฒนาการอุดมศึกษา ของสถาบันอุดมศึกษาต่อไป มาตรฐานการอุดมศึกษาที่จดั ทาขึ้นฉบับนี้ ได้ใช้มาตรฐานการศึกษา ของชาติที่เปรี ยบเสมือนร่ มใหญ่เป็ นกรอบในการพัฒนา โดยมีสาระสาคัญที่ครอบคลุมเป้ าหมาย และหลัก การของการจัดการศึ ก ษาระดับอุ ดมศึ ก ษาของไทยและเป็ นมาตรฐานที่ ค านึ งถึ งความ หลากหลายของกลุ่มหรื อประเภทของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อให้ทุกสถาบันสามารถนาไปใช้กาหนด พันธกิจและมาตรฐานของการปฏิบตั ิงานได้ มาตรฐานการอุดมศึกษาที่ปรากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ ลงวันที่ 7 สิ งหาคม 2549 ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานด้านการบริ หาร จัดการการอุดมศึกษา และมาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู ้ และสังคมแห่ งการ เรี ยนรู้ มาตรฐานย่อยทั้ง 3 ด้านนี้ อยู่ในมาตรฐานการศึกษาของชาติที่ประกอบด้วยมาตรฐานย่อย 3 มาตรฐานเช่นกัน คือ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ท้ งั ในฐานะพลเมืองและ พลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้ างสังคมแห่ งการเรี ยนรู้ สังคมแห่งความรู ้แต่ละมาตรฐานย่อยของมาตรฐานการอุดมศึกษาจะมีความสอดคล้องและสัมพันธ์ กับมาตรฐานย่อยของมาตรฐานการศึกษาของชาติ เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา บรรลุตามจุดมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษาของชาติ นอกเหนื อจากมาตรฐานการอุ ดมศึ กษาที่ เป็ นมาตรฐานแม่บทแล้ว คณะกรรมการการ อุดมศึกษาได้จดั ทามาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ พ.ศ. 2551 เพื่อ นาไปสู่ การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตามกลุ่มสถาบันที่มีปรัชญา วัตถุประสงค์ และพันธกิจในการ จัดตั้งที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก 2 ด้าน คือ มาตรฐานด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา และมาตรฐานด้านการดาเนินการตาม ภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และกาหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเป็ น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม ก วิทยาลัย ชุมชน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง และกลุ่ม ง สถาบันที่เน้น


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

46

การวิจยั ขั้นสู งและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริ ญญาเอก นอกจากนั้น ยังได้ จัดทากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2552 เพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐานการ อุ ด มศึ ก ษาและเพื่ อ เป็ นการประกั น คุ ณ ภาพบั ณ ฑิ ต ในแต่ ล ะระดั บ คุ ณ วุ ฒิ แ ละสาขาวิ ช า โดยกาหนดให้คุณภาพของบัณฑิ ตทุกระดับคุ ณวุฒิและสาขาวิชาต้องเป็ นไปตามมาตรฐานผลการ เรี ยนรู ้อย่างน้อย 5 ด้าน คือ ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปั ญญาด้านทักษะ ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คลและความรั บ ผิ ด ชอบ และด้า นทัก ษะการวิ เ คราะห์ เ ชิ ง ตัว เลข การสื่ อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการการอุ ดมศึกษายังได้กาหนดเกณฑ์มาตรฐานอื่นๆ อาทิ เกณฑ์มาตรฐาน หลักสู ตรระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑ์การขอเปิ ดและดาเนินการหลักสู ตรระดับปริ ญญาในระบบ การศึกษาทางไกล หลักเกณฑ์การกาหนดชื่ อปริ ญญา หลักเกณฑ์และแนวปฏิ บตั ิ เกี่ ยวกับการ พิจารณาประเมินคุณภาพการจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั ของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อส่ งเสริ มให้ สถาบันอุ ดมศึ กษาได้พ ฒ ั นาด้า นวิชาการและวิชาชี พ รวมทั้งการพัฒนาคุ ณภาพและยกระดับ มาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้มีความทัดเทียมกันและพัฒนาสู่ สากล ซึ่ งทาให้ สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างยืดหยุน่ คล่องตัว และต่อเนื่ องในทุกระดับการศึกษา ตลอดจนสะท้อนให้เห็นถึงมาตรฐานคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เพื่อให้การจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทมีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กาหนด ทั้งมาตรฐานการศึกษาระดับชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา และสัมพันธ์ กับมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่เกี่ ยวข้องกับการจัดการศึกษาอื่นๆ รวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุ ดมศึ กษาแห่ งชาติ จึ งจาเป็ นต้องมีระบบประกันคุ ณภาพที่ พฒั นาขึ้นตามที่กาหนดไว้ใน กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุ ณภาพการศึ กษา พ.ศ. 2553 ทั้งนี้ ความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษา หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง และการประกันคุณภาพการศึกษา สามารถแสดงในแผนภาพที่ 1.1


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

47

มาตรฐานการศึกษาของชาติ

มาตรฐาน การอุดมศึกษา หลักเกณฑ์กากับ มาตรฐาน รวมถึง มาตรฐานสถาบัน อุดมศึกษาและกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ

มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทย ที่พึงประสงค์ท้ งั ในฐานะ พลเมืองและพลโลก

มาตรฐานที่ 2 แนวทาง การจัดการศึกษา

มาตรฐานที่ 3 แนวทางการสร้าง สังคมแห่งการเรี ยนรู้ สังคมแห่งความรู้

มาตรฐานด้าน คุณภาพบัณฑิต

มาตรฐานด้านการบริ หาร จัดการการอุดมศึกษา

มาตรฐานด้านการสร้าง และพัฒนาสังคม ฐานความรู้และสังคม แห่งการเรี ยนรู้

การประกันคุณภาพภายใน ภายใต้ตวั บ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน ผลผลิตทางการศึกษาที่ได้คุณภาพ

แผนภาพที่ 1.1 ความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

48

5. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ก่ อ นมี ป ระกาศพระราชบัญ ญัติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2542 ทบวงมหาวิ ท ยาลัย ได้ ต ระหนั ก ดี ถึ ง ความส าคั ญ ของการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาและได้ จ ั ด ท าประกาศ ทบวงมหาวิทยาลัย เรื่ อง นโยบายและแนวปฏิบตั ิในการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2539 เพื่ อเป็ นแนวทางในการประกันคุ ณภาพการศึ กษาของสถาบันอุ ดมศึ ก ษา ตามหลักการสาคัญ 3 ประการ คือ การให้เสรี ภาพทางวิชาการ (academic freedom) ความมีอิสระใน การดาเนิ นการของสถาบัน (institutional autonomy) และความพร้ อมของสถาบันที่จะรับการ ตรวจสอบคุณภาพจากภายนอกตามหลักการของความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (accountability) ต่อมาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ระบุ ให้หน่ วยงานต้นสังกัดและสถานศึ กษาจัดให้มีระบบประกันคุ ณภาพภายในสถานศึ กษา ประกอบกั บ พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ หารราชการกระทรวงศึ ก ษาธิ การ พ .ศ. 2546 และกฎกระทรวงแบ่ งส่ วนราชการ ก าหนดให้สานักงานคณะกรรมการการอุ ดมศึ กษา มี หน้า ที่ พิ จ ารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒ นา และมาตรฐานการอุ ด มศึ ก ษาที่ ส อดคล้อ งกับ แผนพัฒ นา เศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ และแผนการศึกษาแห่ งชาติ สนับสนุ นทรัพยากร ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคานึงถึงความเป็ นอิสระและความเป็ นเลิศทาง วิ ช าการของสถานศึ ก ษาระดับ ปริ ญ ญาตามกฎหมายว่ า ด้ว ยการจัด ตั้ง สถานศึ ก ษาแต่ ล ะแห่ ง และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงมีหน้าที่ร่วมกับสถานศึกษาใน การจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 5.1 กฎกระทรวงว่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา หลัง จากที่ พ ระราชบัญญัติก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2542 มี ผลบังคับใช้ ส านัก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ในฐานะหน่วยงานต้นสังกัดที่ทาหน้าที่กากับ ดู แลสถาบันอุ ดมศึ ก ษา ได้เสนอระบบการประกันคุ ณภาพการศึ ก ษาให้ค ณะรั ฐมนตรี พิ จารณา เพื่อให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ แห่ งพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว ซึ่ งคณะรัฐมนตรี ในการประชุ ม เมื่ อวันที่ 21 มี น าคม 2543 ได้มี ม ติ เ ห็ น ชอบกับ ระบบประกันคุ ณภาพการศึ ก ษาของส านัก งาน คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา (ทบวงมหาวิ ท ยาลัย เดิ ม ) ซึ่ งต่ อ มาได้ จ ั ด ท าเป็ นประกาศ ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย เรื่ อง ระบบ หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน ระดับ อุ ด มศึ ก ษา พ.ศ. 2545 เพื่ อ ใช้เป็ นแนวปฏิ บ ตั ิ สาระส าคัญ ของประกาศฉบับ นี้ ร ะบุ ใ ห้ ทบวงมหาวิทยาลัยสนับสนุนและส่ งเสริ มสถาบันอุดมศึกษาจัดทาระบบการประกันคุณภาพ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

49

การศึกษาภายในตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาให้มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล รวมทั้ง ให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา จากภายใน หรื อโดยหน่ วยงานต้นสังกัดที่ มีหน้าที่ กากับดู แลสถาบันการศึกษาเพื่อเตรี ยมความ พร้อมสาหรับการประเมินคุณภาพจากภายนอก รวมถึ งสนับสนุ นให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ประกันคุ ณภาพภายในระดับอุดมศึกษาขึ้นในแต่ละคณะวิชาหรื อสถาบันอุดมศึกษา เพื่อกาหนด นโยบายหลักเกณฑ์ แนวทาง วิธีการตรวจสอบและประเมินระบบกลไกและประเมินผลการ ดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของแต่ละคณะวิชาหรื อสถาบันอุดมศึกษา หลังจากดาเนิ นการตามประกาศฉบับปี พ.ศ. 2545 ไประยะหนึ่ ง สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จดั ทากฎกระทรวงว่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน คุ ณภาพการศึ ก ษาภายในสถานศึ ก ษา ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา พ.ศ. 2546 เพื่ อให้เป็ นไปตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 5 และมาตรา 47 วรรคสอง โดยสาระสาคัญเกี่ยวกับระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในของกฎกระทรวงฉบับนี้ ยงั คงไว้ตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัยฯ พ.ศ. 2545 ซึ่ งสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ถือปฏิบตั ิมาอย่างต่อเนื่ อง ต่อมาในปี 2553 กระทรวงศึกษาธิ การ ได้ออกกฎกระทรวงว่าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 แทน ฉบับ เดิ ม โดยรวมการประกันคุ ณภาพภายในและภายนอกของการศึ ก ษาทุ กระดับไว้ในฉบับ เดี ยวกัน มีคณะกรรมการประกันคุ ณภาพภายในระดับอุดมศึกษาทาหน้าที่หลัก 2 ประการ คือ 1) วางระเบียบหรื อออกประกาศกาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิ บตั ิ เกี่ ยวกับการประกันคุ ณภาพ ภายในระดับ อุ ด มศึ ก ษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม สนับ สนุ น และพัฒ นาการประกัน คุ ณ ภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ 2) เสนอแนะแนวทาง ปรับปรุ งและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษา โดยนาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและ ภายนอกไปปรับปรุ งคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่ อง นอกจากนี้ ยังมีการปรับเปลี่ยนให้ระบบการ ประกันคุณภาพภายในประกอบด้วย การประเมินคุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพ และการ พัฒนาคุณภาพ และกาหนดให้หน่ วยงานต้นสังกัดจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา อย่างน้อยหนึ่ งครั้ งในทุ กสามปี และแจ้งผลให้สถานศึ กษาระดับอุ ดมศึ กษาทราบรวมทั้ง เปิ ดเผย ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน 5.1.1 หลักเกณฑ์ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หลัก เกณฑ์ ก ารประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในที่ ร ะบุ ใ นกฎกระทรวง ให้พิจารณาจากประเด็นต่อไปนี้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

50

1) ระบบการประกัน คุ ณ ภาพภายในของคณะวิ ช าและสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษา โดยคานึ งถึ งมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิ การ ประกาศกาหนด 2) ผลการปฏิ บตั ิ งานของคณะวิชาและสถานศึ ก ษาระดับอุ ดมศึ ก ษา ตามระบบการประกันคุณภาพภายในที่กาหนดไว้ 3) ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลการดาเนิ นงานตามระบบการประกัน คุณภาพภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา 5.1.2 วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน วิธีก ารประกันคุ ณภาพการศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงให้ใ ช้แนว ปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุ ดมศึ กษาจัดให้มีหน่ วยงานหรื อ คณะกรรมการที่รับผิดชอบการดาเนิ นการด้านการประกันคุณภาพขึ้น โดยมีหน้าที่พฒั นา บริ หาร และติดตามการดาเนิ นการประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนประสานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้ เกิดความมัน่ ใจว่าการจัดการศึกษาจะเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 2) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายใน เพื่อใช้กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาให้มีประสิ ทธิ ภาพ ภายใต้กรอบนโยบายและหลักการที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด 3) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาดาเนินการตามระบบการ ประกันคุณภาพภายใน โดยถือเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หารการศึกษา 4) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบและกลไก ควบคุมคุ ณภาพขององค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังนี้ (1) หลักสู ตรการศึกษาใน สาขาวิชาต่างๆ (2) คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์ (3) สื่ อการศึกษาและเทคนิคการสอน (4) ห้องสมุดและแหล่งการเรี ยนรู ้อื่น (5) อุปกรณ์การศึกษา (6) สภาพแวดล้อมในการเรี ยนรู้และ บริ ก ารการศึ ก ษา (7) การวัด ผลการศึ ก ษาและสั ม ฤทธิ ผ ลทางการเรี ย นของนัก ศึ ก ษา (8) องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร ทั้งนี้ ให้แต่ละคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบการ ติ ดตามตรวจสอบคุ ณ ภาพการศึ ก ษาตามที่ เห็ น สมควร โดยให้ส านัก งานคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษาส่ ง เสริ ม และสนับ สนุ น ให้ มี ก ารพัฒ นาด้า นการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาในระดับ คณะวิชาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

51

5.1.3 การรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษา ระบบการประกันคุ ณภาพภายในถื อเป็ นส่ วนหนึ่ งของกระบวนการบริ หาร การศึ ก ษาที่ ค ณะวิชาและสถานศึ ก ษาระดับ อุ ดมศึ ก ษาต้องดาเนิ นการอย่างมี ระบบและต่ อเนื่ อง สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน เสนอต่อ สภาสถาบัน หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาและเปิ ดเผยต่อ สาธารณชน โดยให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ และแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 5.1.4 การติดตามตรวจสอบของต้ นสังกัด ให้หน่ วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุ ณ ภาพการศึ ก ษานั้ น อย่ า งน้ อ ยหนึ่ งครั้ งในทุ ก สามปี และแจ้ง ผลให้ ส ถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิ ดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน 5.2 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 5.2.1 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันอุดมศึกษาอาจพัฒนาระบบประกันคุ ณภาพที่เหมาะสมสอดคล้อง กับระดับการพัฒนาของสถาบัน โดยอาจเป็ นระบบประกันคุณภาพที่ใช้กนั แพร่ หลายในระดับชาติ หรื อนานาชาติ หรื อเป็ นระบบเฉพาะที่สถาบันพัฒนาขึ้นเอง แต่ไม่วา่ จะเป็ นระบบคุณภาพแบบใด จะต้องมีกระบวนการทางานที่ เริ่ มต้นจากการวางแผน การดาเนิ นงานตามแผน การตรวจสอบ ประเมิน และการปรับปรุ งพัฒนา ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนิ นภารกิจของสถาบันบรรลุเป้ าประสงค์และ มี พ ัฒ นาการอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ขณะเดี ย วกั น ก็ เ ป็ นหลัก ประกั น แก่ ส าธารณชนให้ ม ั่น ใจว่ า สถาบันอุดมศึกษาสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ 5.2.2 มาตรฐาน ตัวบ่ งชี ้และเกณฑ์ ประเมินคุณภาพ มาตรฐานเป็ นกรอบสาคัญในการดาเนิ นงานของสถาบันอุดมศึกษา คือ มาตรฐานการอุดมศึกษา อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนั สถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ยังต้องดาเนินการให้ได้ ตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์อื่น ๆ ที่เกี่ ยวข้องอีกมาก เช่ น มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษากรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษามาตรฐานเพื่อ การประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบตั ิราชการตามมิติดา้ นต่างๆ ของสานักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณี มหาวิทยาลัยของรัฐเป็ นต้น ตัว บ่ งชี้ เป็ นข้อก าหนดของการประกันคุ ณภาพภายในที่ พ ฒ ั นาขึ้ นใน องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้านที่มีความครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการอุดมศึกษาและ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

52

พันธกิจสนับสนุน ได้แก่ (1) ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนดาเนินการ (2) การผลิตบัณฑิต (3) กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา (4) การวิจยั (5) การบริ การทางวิชาการแก่สังคม (6) การทานุบารุ ง ศิลปะและวัฒนธรรม (7) การบริ หารและการจัดการ (8) การเงินและงบประมาณ และ (9) ระบบและ กลไกการประกันคุณภาพ ซึ่ งตัวบ่งชี้ ดงั กล่าวสามารถชี้ วดั คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐาน การอุดมศึกษา มาตรฐานและหลักเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบคุณภาพนั้นๆ ได้ท้ งั หมด ดังนั้น ในบทที่ 3 ของคู่มือฉบับนี้ จึงได้พฒั นาตัวบ่งชี้ ที่สถาบันอุดมศึกษาจาเป็ นต้องใช้ประเมิน คุณภาพภายใน ทั้งตัวบ่งชี้ ที่ใช้ประเมิ นปั จจัยนาเข้า กระบวนการ และผลผลิ ตหรื อผลลัพธ์ นอกจากนี้ ตัวบ่งชี้ ที่ใช้ประเมินกระบวนการยังได้นาเสนอตัวอย่างแนวทางปฏิ บตั ิเพื่อให้เป็ นไป ตามมาตรฐานไว้ดว้ ยในบทที่ 4 เพื่อประโยชน์ของสถาบันอุดมศึกษาในการนาตัวบ่งชี้ดงั กล่าวไปใช้ เกณฑ์การประเมินเป็ นมาตรวัดของแต่ละตัวบ่งชี้ ซ่ ึ งพัฒนาจากเกณฑ์และ แนวปฏิ บ ตั ิ ที่ เป็ นมาตรฐานซึ่ ง ก าหนดโดยส านัก งานคณะกรรมการการอุ ดมศึ ก ษา หรื อโดย หน่ วยงานที่เกี่ ยวข้อง อาทิ สมศ. ทั้งนี้ เพื่อให้การประเมินคุณภาพการศึกษามีความสอดคล้อง ไปในแนวทางเดียวกัน 5.2.3 กลไกการประกันคุณภาพ ในด้า นของกลไกการประกันคุ ณ ภาพ ผูท้ ี่ มี ค วามส าคัญ ส่ ง ผลให้ก าร ดาเนินงานประสบความสาเร็ จและนาไปสู่ การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่ อง คือ คณะกรรมการระดับ นโยบายและบริ หารสู งสุ ดของสถาบันที่ จะต้องให้ค วามสาคัญและกาหนดนโยบายการประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาที่ ชัด เจนและเข้ า ใจร่ ว มกัน ทุ ก ระดับ โดยมอบหมายให้ ห น่ ว ยงานหรื อ คณะกรรมการรับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และกระตุน้ ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ อย่างต่อเนื่ อง หน้าที่สาคัญประการหนึ่ งของคณะกรรมการหรื อหน่ วยงานนี้ คือ การจัดระบบ ประกัน คุ ณ ภาพพร้ อ มทั้ง ตัว บ่ ง ชี้ และเกณฑ์ ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพที่ เ หมาะสมส าหรั บ สถาบัน ระบบประกันคุ ณภาพที่ ใช้ตอ้ งสามารถเชื่ อมโยงให้เกิ ดคุ ณภาพของการปฏิ บตั ิ งาน ตั้งแต่ระดับ บุคคล ระดับภาควิชาหรื อสาขาวิชา ระดับคณะวิชาไปจนถึงระดับสถาบัน โดยอาจจาเป็ นต้องจัดทา คู่มือคุ ณภาพในแต่ละระดับเพื่อกากับการดาเนิ นงาน แต่ที่สาคัญคณะกรรมการหรื อหน่ วยงานนี้ ต้องประสานงานและผลักดันให้เกิดระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่มีประสิ ทธิ ภาพซึ่ งสามารถใช้ งานร่ วมกันได้ในทุกระดับ 5.2.4 ระบบฐานข้ อมูลและระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์ และวัดผลดาเนิ นงานเป็ นสิ่ งจาเป็ นในกระบวนการประกัน คุณภาพ การวัดและวิเคราะห์ผลการดาเนิ นงานจะไม่สามารถทาได้อย่างถูกต้องและมีประสิ ทธิ ภาพ หากปราศจากฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศที่เป็ นจริ ง ถูกต้องตรงกันทุกระดับตั้งแต่ระดับบุคคล


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

53

ภาควิชา คณะวิชา และสถาบัน ตลอดจนเป็ นข้อมูลที่ สามารถเรี ยกใช้ได้อย่างรวดเร็ วดังนั้น ระบบสารสนเทศที่ดี มีประสิ ทธิภาพจึงเป็ นปั จจัยสาคัญยิง่ ที่จะส่ งผลต่อความสาเร็ จของการประกัน คุณภาพการศึกษา และส่ งผลต่อคุ ณภาพในทุกขั้นตอนการดาเนิ นงานตั้งแต่การวางแผน การ ปฏิบตั ิงานประจา การตรวจสอบประเมิน ตลอดจนถึงการปรับปรุ งและพัฒนา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

54

6. การเชื่อมโยงระหว่ างการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และการประเมินคุณภาพภายนอก ตามมาตรา 48 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ระบุวา่ “ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หารการศึกษา ที่ตอ้ งดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง” ในขณะที่มาตรา 49 ของพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการ ประเมิ นคุ ณภาพภายนอกไว้ว่า “ให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็ นองค์การมหาชนทาหน้าที่พฒั นาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุ ณภาพภายนอกและทาการ ประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา” จากข้อ มู ล ข้า งต้น จะเห็ น ว่ า การประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในเป็ นส่ ว นหนึ่ งของ กระบวนการบริ หารการศึกษาปกติที่ตอ้ งดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง โดยมีการควบคุมดูแลปั จจัยที่ เกี่ยวข้องกับคุณภาพ มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดาเนิ นงานเพื่อนาไปสู่ การพัฒนา ปรับปรุ งคุณภาพอย่างสม่าเสมอ ด้วยเหตุน้ ี ระบบประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทั้งปั จจัยนาเข้า (input) กระบวนการ (process) และผลผลิตหรื อผลลัพธ์ (output/outcome) ซึ่ งต่างจากการประเมิน คุณภาพภายนอกที่เน้นการประเมินผลการจัดการศึกษา ดังนั้น ความเชื่ อมโยงระหว่างการประกัน คุ ณ ภาพภายในกับ การประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกจึ ง เป็ นสิ่ ง จ าเป็ นโดยได้เ ชื่ อ มโยงให้ เ ห็ น จาก แผนภาพที่ 1.2 การประกันคุณภาพภายใน การ ปฏิบตั ิงาน ของสถาบัน

การประเมิน ตนเองของ สถาบัน

ข้อมูลป้ อนกลับ

การประกันคุณภาพภายนอก รายงานประจาปี

การ ตรวจเยี่ยม

รายงานผล การประเมิน

ติดตามตรวจสอบโดย ต้นสังกัด ทุก 3 ปี ข้อมูลป้ อนกลับ

แผนภาพที่ 1.2 ความสั มพันธ์ ระหว่ างการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน กับการประเมินคุณภาพภายนอก

การ ติดตามผล


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

55

จากแผนภาพที่ 1.2 จะเห็นว่า เมื่อสถาบันอุดมศึกษามีการดาเนิ นการประกันคุณภาพภายใน แล้ว จาเป็ นต้องจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ซึ่ งเป็ นผลจากการ ประกันคุณภาพภายในหรื อเรี ยกว่า รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR) เพื่อนาเสนอสภาสถาบัน หน่ วยงานต้นสังกัด หน่ วยงานที่เกี่ ยวข้องและเปิ ดเผยต่อสาธารณชน เอกสารดังกล่าวจะเป็ นเอกสารเชื่ อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในของสถาบัน การติดตาม ตรวจสอบของต้นสังกัด และการประเมินคุณภาพภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรื อ สมศ. ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจาเป็ นต้องจัดทา รายงานการประเมินตนเองที่มีความลุ่มลึ ก สะท้อนภาพที่แท้จริ งของสถาบันในทุกองค์ประกอบ คุณภาพ


บทที่ 2

กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 1. แนวทางการจัดการกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จุดมุ่ งหมายของการประเมินคุ ณภาพการศึก ษาภายในก็เพื่อตรวจสอบและประเมินการ ดําเนินงานของสถาบันตามระบบและกลไกที่สถาบันนั้นๆ ได้กาํ หนดขึ้น ทั้งนี้ เพื่อให้สถาบันได้ ทราบสถานภาพที่แท้จริ ง อันจะนําไปสู่ การกําหนดแนวทางและพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์และ มาตรฐานที่ต้ งั ไว้อย่างต่อเนื่ อง การประเมินคุณภาพที่มีประสิ ทธิ ภาพนั้น ทั้งคณะผูป้ ระเมินและ สถาบันที่รับการประเมินจําเป็ นต้องกําหนดบทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างเหมาะสม และสอดคล้อง กับกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ทั้งนี้ สถาบันต้องวางแผนจัดกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในให้เสร็ จก่อน สิ้ นปี การศึกษาที่จะเริ่ มวงรอบการประเมิน เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถาบัน ดังนี้ 1) เพื่ อให้ สามารถนําผลการประเมิ นและข้อเสนอแนะไปใช้ปรั บปรุ งและพัฒนาการจัด การศึ กษาได้ท นั ในปี การศึ กษาถัดไป และตั้งงบประมาณได้ท นั ก่ อนเดื อนตุ ลาคม (กรณี ที่ เป็ น สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) 2) เพื่ อให้ส ามารถจัดทํา รายงานประจํา ปี ที่ เป็ นรายงานประเมิ นคุ ณภาพภายในส่ ง ให้ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและเผยแพร่ ต่อสาธารณชนได้ภายใน 120 วันนับจากวันสิ้ น ปี การศึกษาของแต่ละสถาบัน เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเกิดประโยชน์ดงั ที่กล่าวข้างต้น จึงควรมีแนวทางการ จัดกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ดังปรากฏในตารางที่ 2.1 ตารางดังกล่าวสามารถ แยกได้เป็ น 4 ขั้นตอนตามระบบการพัฒนาคุณภาพ PDCA คือ การวางแผน (plan) การดําเนินงาน และเก็บข้อมูล (do) การประเมินคุณภาพ (check) และการเสนอแนวทางปรับปรุ ง (act) โดยมี รายละเอียดดังนี้ P = กิจกรรมข้อที่ 1 เริ่ มกระบวนการวางแผนการประเมินตั้งแต่ตน้ ปี การศึกษา โดยนํา ผลการประเมิ นปี ก่ อนหน้านี้ มาใช้เป็ นข้อมูลในการวางแผนด้วย กรณี ที่มีการ เปลี่ยนแปลงระบบประกันคุณภาพหรื อตัวบ่งชี้ หรื อเกณฑ์การประเมิน จะต้องมี การประกาศให้ทุกหน่วยงานในสถาบันได้รับทราบและถือปฏิบตั ิโดยทัว่ กันก่อน เริ่ มปี การศึกษา เพราะต้องเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมิถุนายน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

D=

C=

A=

57

กิ จกรรมข้อที่ 2 ดําเนิ นงานและเก็บข้อมูลบันทึกผลการดําเนิ นงานตั้งแต่ตน้ ปี การศึกษา คือเดื อนที่ 1–เดือนที่ 12 ของปี การศึกษา (เดื อนมิถุนายน–เดือน พฤษภาคม ปี ถัดไป) กิจกรรมข้อที่ 3–8 ดําเนิ นการประเมินคุ ณภาพในระดับภาควิชา คณะวิชาหรื อ หน่วยงานเทียบเท่า และสถาบัน ระหว่างเดือนมิถุนายน–สิ งหาคม ของปี การศึกษา ถัดไป กิจกรรมข้อที่ 9 วางแผนปรับปรุ งและดําเนินการปรับปรุ งตามผลการประเมินโดย คณะกรรมการบริ หารของสถาบันอุดมศึกษานําข้อเสนอแนะและผลการประเมิน ของคณะกรรมการประเมิ นคุ ณภาพภายในมาวางแผนปรั บปรุ ง การดําเนิ นงาน (รวมทั้งข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย) มาทําแผนปฏิบตั ิการประจําปี และ เสนอตั้ง งบประมาณปี ถัดไปหรื อจัดทําโครงการพัฒนาและเสนอใช้งบประมาณ กลางปี หรื องบประมาณพิเศษก็ได้

สําหรับกิจกรรมข้อที่ 10 ในตารางดังกล่าวเป็ นกิจกรรมที่สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ งต้อง ดําเนินการตามกฎหมาย เพื่อประโยชน์ของสถาบันในการปรับปรุ งคุณภาพ และเพื่อประโยชน์ของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดใช้เป็ นข้อมูลประกอบการตัดสิ นใจ เชิ งนโยบาย เพื่อการส่ งเสริ มสนับสนุ นคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของชาติให้ทดั เทียมกับ นานาอารยะประเทศและมีความเป็ นสากล


ต.ค.-พ.ค.

กิจกรรมดาเนินการ

1. สถาบันวางแผนการประเมิน คุ ณ ภาพป ร ะจ าปี การ ศึ กษ า โดยประกาศตัวบ่งชีก้ ่อนเริ่ มต้ น ปี การศึกษาใหม่ และแจกคู่มื อ การจัดทา SAR (กรณี ที่มีการ เปลี่ ย นแปลงตั ว บ่ ง ชี ้ วิ ธี ก าร ก าหนดการประเมิ น คุ ณ ภาพ ภายในประจาปี )

ต.ค.-พ.ค.

เปรียบเทียบงบประมาณ กับปี การศึกษา

ปี การศึกษา (มิ.ย. – พ.ค.)

ปี งบประมาณ ถัดไป

พ.ค. – มิ.ย.

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (เปิ ดเทอม)

ปี งบประมาณ (ต.ค. - ก.ย.)

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (เปิ ดเทอม)

ตารางที่ 2.1 วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 58


3. ภาควิ ช าหรื อหน่ ว ยงาน เที ย บเท่ า จั ด ท า SAR และ เ ต รี ย ม ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ ภาควิชาหรื อหน่วยงานเทียบเท่า และแต่ ง ตั้ง กรรมการประเมิ น ระดับ ภาควิ ช าหรื อหน่ ว ยงาน เทียบเท่า

2. สถาบันเก็ บข้อ มูลระยะ 12 เ ดื อ น ต า ม ตั ว บ่ ง ชี้ ที่ ไ ด้ ประกาศใช้บนระบบ CHE QA Online (มี ทีมงานให้คาปรึ กษา กับบุคลากร และหรื อหน่ วยงาน และหรื อภาควิ ช าในการเก็ บ ข้ อ มู ล พ ร้ อ ม ทั้ ง พิ จ า ร ณ า ปรั บ ปรุ ง ด าเนิ น การตามความ เหมาะสม)

กิจกรรมดาเนินการ

ต.ค.-พ.ค.

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (เปิ ดเทอม)

ตารางที่ 2.1 วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 59


6. ประเมินระดับคณะวิชาหรื อ หน่วยงานเทียบเท่าบนระบบ CHE QA Online

5. คณะนาผลการประเมินระดับ ภ า ค วิ ช า ห รื อ ห น่ ว ย ง า น เที ยบเท่ ามาจัดท า SAR บน ระบบ CHE QA Online และ เตรี ยมการประเมินระดับคณะ วิ ช าหรื อ หน่ ว ยงานเที ย บเท่ า และแต่ ง ตั้ งคณะกรรมการ ประเมิ น ระดับ คณะวิ ช าหรื อ หน่วยงานเทียบเท่า

4. ประเมินระดับภาควิชาหรื อ หน่วยงานเทียบเท่า

กิจกรรมดาเนินการ

ต.ค.-พ.ค.

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (เปิ ดเทอม)

ตารางที่ 2.1 วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 60


9. ผูบ้ ริ หารของสถาบันอุดมศึกษา น า ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ ข้อ เสนอแนะของคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพภายใน (รวมทั้ง ข้อ เสนอแนะของสภาสถาบัน ) ม า ว า ง แ ผ น ป รั บ ป รุ ง ก า ร ด าเนิ น งาน หรื อ ปรั บ แผนกล ยุ ท ธ์ / แผนปฏิ บั ติ ง านประจ าปี และเสนอขอตั้ งงบประมาณปี ถัดไป หรื อจัดทาโครงการพัฒนา เสนอใช้งบประมาณกลางปี

8. ประเมิ น ระดับ สถาบัน บน ระบบ CHE QA Online และ นาเสนอผลการประเมิ นผ่านสภา สถาบั น เพื่ อ พิ จ ารณาวางแผน พัฒนาสถาบันในปี การศึกษาต่อไป

กิจกรรมดาเนินการ

ต.ค.-พ.ค.

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (เปิ ดเทอม)

ตารางที่ 2.1 วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 61


10. ส่ ง รายงานประจ าปี ที่ เป็ น รายงานการประเมิ น คุ ณ ภาพ ภายใน (ประกอบด้วย SAR และ ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพภายใน ร ะ ดั บ ค ณ ะ ห รื อ ห น่ ว ย ง า น เที ยบเท่ า และระดับ สถาบัน)ให้ ส านั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึ กษาผ่านระบบ CHE QA Online และหน่วยงานต้นสังกัด (ภายใน 120 วัน นับ จากสิ้ น ปี การศึกษา)

กิจกรรมดาเนินการ ต.ค.-พ.ค.

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (เปิ ดเทอม)

ตารางที่ 2.1 วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 62


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

63

2. ขั้นตอนการประเมินคุณภาพการศึกษา 2.1 การเตรียมการของสถาบันก่ อนการตรวจเยีย่ มของผู้ประเมิน 2.1.1 การเตรียมรายงานประจาปี ก. จัดทำรำยงำนประจำปี ที่เป็ นรำยงำนกำรประเมินคุณภำพภำยใน โดยใช้ รู ปแบบกำรจัดทำรำยงำนประจำปี ที่เป็ นรำยงำนกำรประเมินคุณภำพภำยในตำมที่กำหนดในระบบ ฐำนข้อมูลด้ำนกำรประกันคุณภำพ (CHE QA Online) ปั จจุบนั สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำได้พฒั นำระบบฐำนข้อมูล ด้ำนกำรประกันคุณภำพ (CHE QA Online) เป็ นฐำนข้อมูลกลำงเพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบำย และกำรส่ ง เสริ ม สนับสนุ นกำรพัฒนำคุ ณภำพอุ ดมศึ กษำ ตลอดจนอำนวยควำมสะดวกให้ก ับ สถำบันอุดมศึกษำในกำรดำเนิ นงำนประกันคุณภำพกำรศึกษำผ่ำนทำงระบบออนไลน์ ตั้งแต่กำร จัดเก็บข้อมูลพื้นฐำน (common data set) และเอกสำรอ้ำงอิง กำรประเมินตนเอง กำรประเมินของ คณะกรรมกำรประเมินคุณภำพ รวมทั้งกำรจัดทำรำยงำนประจำปี ที่เป็ นรำยงำนกำรประเมินคุณภำพ ภำยในบนระบบฐำนข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์ (e-SAR) รวมทั้งเปิ ดเผยต่อสำธำรณะเพื่อกำรคุม้ ครอง ผูบ้ ริ โภค โดยมี น โยบำยให้ส ถำบันอุ ดมศึ ก ษำทุ ก แห่ ง ในสั ง กัดใช้ฐ ำนข้อมู ล ดัง กล่ ำ วในกำร ดำเนิ นงำนประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยใน และจัดส่ งรำยงำนประจำปี ที่เป็ นรำยงำนกำรประเมิน คุณภำพภำยในผ่ำนทำงระบบออนไลน์และเปิ ดเผยต่อสำธำรณชนตำมกฎหมำย ข. จัดกำรเตรี ยมเอกสำรหรื อหลักฐำนอ้ำงอิงในแต่ละองค์ประกอบคุณภำพ 1) เอกสำรหรื อหลักฐำนอ้ำงอิงในแต่ละตัวบ่งชี้ ตอ้ งเป็ นข้อมูลในช่ วงเวลำ เดียวกับที่นำเสนอในรำยงำนกำรประเมินตนเอง ตลอดจนสำระในเอกสำรต้องตรงกับชื่ อเอกสำรที่ ระบุในรำยงำนกำรประเมินตนเอง 2) กำรนำเสนอเอกสำรในช่วงเวลำตรวจเยี่ยมอำจทำได้ในสองแนวทำง คือ จัดเอกสำรให้อยูใ่ นที่อยูป่ กติตำมหน่วยงำน ในกรณี น้ ี ตอ้ งระบุให้ชดั เจนว่ำจะเรี ยกดูเอกสำรได้จำก ผูใ้ ด หน่วยงำนไหน ชื่อหรื อหมำยเลขเอกสำรอะไร หรื ออำจจัดในแนวทำงที่สอง คือ นำเอกสำรมำ รวมไว้ที่เดียวกันในห้องทำงำนของคณะผูป้ ระเมิน โดยจัดให้เป็ นระบบที่สะดวกต่อกำรเรี ยกใช้ กำร นำเสนอเอกสำรในแนวทำงนี้ เป็ นที่นิยมกว่ำแนวทำงแรก เพรำะสำมำรถเรี ยกหำเอกสำรได้รวดเร็ ว และดูควำมเชื่อมโยงในเอกสำรฉบับต่ำงๆ ได้ในครำวเดียว


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

64

ปั จจุบนั เอกสำรหรื อหลักฐำนอ้ำงอิงที่เกี่ ยวข้องกับตัวบ่งชี้ แต่ละตัวและ องค์ประกอบคุณภำพแต่ละองค์ประกอบสำมำรถบรรจุหรื อจัดเก็บ (Upload) หรื อเชื่อมโยง (link) ไว้บนระบบฐำนข้อมูลด้ำนกำรประกันคุณภำพ (CHE QA Online) ซึ่ งทำให้กำรจัดเก็บเป็ นระบบ และง่ ำยต่อกำรค้นหำของคณะกรรมกำรประเมิ น และไม่ เป็ นภำระเรื่ องกำรจัดเตรี ยมเอกสำร หลักฐำนของสถำบัน 2.1.2 การเตรี ยมบุคลากร ก. กำรเตรี ย มบุ คลำกรในสถำบัน ควรมี ค วำมครอบคลุ ม ประเด็ น ต่ ำ งๆ ดังต่อไปนี้ 1) ท ำควำมเข้ำ ใจเกี่ ย วกับ กำรประเมิ น คุ ณ ภำพในประเด็ น ที่ ส ำคัญ ๆ อำทิ กำรประเมินคุณภำพคืออะไร มีควำมสำคัญต่อกำรพัฒนำอย่ำงไร ขั้นตอนกำรประเมินคุณภำพ เป็ นเช่นไร 2) เน้ น ย้ ำ กับ บุ ค ลำกรในกำรให้ ค วำมร่ วมมื อ กำรตอบค ำถำมหรื อ กำรสัมภำษณ์ โดยยึดหลักว่ำตอบตำมสิ่ งที่ปฏิบตั ิจริ งและผลที่เกิดขึ้นจริ ง 3) เปิ ดโอกำสให้มีกำรอภิปรำย ซักถำม แสดงควำมคิดเห็น เพื่อสร้ำงควำม กระจ่ำงในกำรดำเนินงำนของทุกหน่วยงำนในทุกประเด็น เพื่อควำมเข้ำใจที่ถูกต้องของบุคลำกร 4) เน้นย้ำให้บุคลำกรทุกคนตระหนักว่ำกำรประกันคุณภำพ คือ ภำรกิจประจำ ของทุกคนที่ตอ้ งร่ วมมือกันทำอย่ำงต่อเนื่อง ข. กำรเตรี ยมบุ คลำกรผูป้ ระสำนงำนในระหว่ำงกำรตรวจเยี่ยมจำเป็ นต้องมี บุคลำกร จำนวน 1-3 คน ทำหน้ำที่ประสำนงำนระหว่ำงคณะผูป้ ระเมินกับบุคคลหรื อหน่วยงำนที่ เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ผูป้ ระสำนงำนควรเตรี ยมตัวดังนี้ 1) ทำควำมเข้ำใจทุกกิจกรรมของแผนกำรประเมินอย่ำงละเอียด 2) ทำควำมเข้ำใจอย่ำงดี กบั ภำรกิ จของคณะวิชำและสถำบันเพื่อสำมำรถ ให้ขอ้ มูลต่อผูป้ ระเมิน รวมทั้งต้องรู ้วำ่ จะต้องติดต่อกับใครหรื อหน่วยงำนใด หำกผูป้ ระเมินต้องกำร ข้อมูลเพิ่มเติมที่ตนเองไม่สำมำรถตอบได้ 3) มีรำยชื่อ สถำนที่ หมำยเลขโทรศัพท์ของผูท้ ี่คณะกรรมกำรประเมินจะเชิญ มำให้ขอ้ มูลอย่ำงครบถ้วน 4) ประสำนงำนล่ ว งหน้ำ กับ ผูท้ ี่ จะให้ข ้อมู ล ที่ เป็ นบุ ค ลำกรภำยในและ ภำยนอกสถำบันว่ำจะเชิญมำเวลำใด ห้องใด หรื อพบกับใครตำมตำรำงกำรประเมินที่คณะกรรมกำร ประเมินกำหนด


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

65

5) เมื่อมีปัญหำในกำรอำนวยควำมสะดวกแก่คณะผูป้ ระเมินจะต้องสำมำรถ ประสำนงำนแก้ไขได้ทนั ที 2.1.3 การเตรี ยมสถานทีส่ าหรั บคณะผู้ประเมิน ก. ห้องทำงำนของคณะผูป้ ระเมิน 1) จัดเตรี ยมห้องทำงำนและโต๊ะที่กว้ำงพอสำหรับวำงเอกสำรจำนวนมำก โดยเป็ นห้องที่ปรำศจำกกำรรบกวนขณะทำงำน เพื่อควำมเป็ นส่ วนตัวของคณะกรรมกำร 2) จัด เตรี ย มคอมพิ ว เตอร์ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งเขี ย นในห้ อ งท ำงำนและ อุปกรณ์เสริ มอื่นๆ ให้คณะผูป้ ระเมินพร้อมใช้งำนได้ตำมควำมต้องกำร 3) จัดเตรี ยมโทรศัพท์พร้อมหมำยเลขที่จำเป็ นไว้ในห้องทำงำนหรื อบริ เวณ ใกล้เคียง 4) ห้องทำงำนควรอยูใ่ กล้กบั ที่จดั เตรี ยมอำหำรว่ำง อำหำรกลำงวันตลอดจน บริ กำรสำธำรณูปโภคอื่นๆ 5) ควรประสำนงำนกับคณะผูป้ ระเมิน เพื่อทรำบควำมต้องกำรพิเศษอื่นใด เพิ่มเติม ข. ห้องที่ใช้สัมภำษณ์ผบู้ ริ หำร อำจำรย์ บุคลำกร นักศึกษำ ฯลฯ ควรจัดไว้เป็ น กำรเฉพำะให้เหมำะสมกับกำรใช้งำน 2.1.4 การเตรี ยมการประสานงานกับทีมคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ก. สถำบันอุ ดมศึกษำจัดทำคำสั่งแต่งตั้งและจัดส่ งให้คณะกรรมกำรประเมิ น คุณภำพกำรศึกษำภำยในทรำบ ทั้งนี้ แนวทำงกำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรประเมิน เป็ นดังนี้ 1) คณะกรรมการประเมินระดับภาควิชาหรื อหน่ วยงานเทียบเท่ า - มีกรรมกำรประเมินฯ อย่ำงน้อย 3 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ขนำดของภำควิชำ หรื อหน่วยงำนเทียบเท่ำ - เป็ นผูป้ ระเมิ นจำกภำยนอกภำควิช ำหรื อหน่ วยงำนเที ย บเท่ ำ ที่ ผ่ำ น กำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. อย่ างน้ อย 1 คน ในกรณี ที่ผปู้ ระเมินจำกภำยนอก ภำควิชำหรื อหน่วยงำนเทียบเท่ำเป็ นผูท้ ี่มีควำมรู ้และประสบกำรณ์สูง ซึ่ งสำมำรถให้คำแนะนำที่จะ เป็ นประโยชน์อย่ำงยิ่งต่อภำควิชำหรื อหน่ วยงำนเทียบเท่ำที่รับกำรประเมิน อำจอนุ โลมให้ไม่ตอ้ ง ผ่ำนกำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. ก็ได้ ส่ วนผูป้ ระเมิ นจำกภำยในภำควิชำหรื อ หน่วยงำนเทียบเท่ำต้องผ่ำนกำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. หรื อที่สถำบันจัดฝึ กอบรม ให้โดยใช้หลักสู ตรของ สกอ.


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

66

- ประธำนคณะกรรมกำรประเมินฯ เป็ นผูป้ ระเมินจำกภำยนอกภำควิชำ หรื อหน่ วยงำนเทียบเท่ำ โดยต้องเป็ นผูท้ ี่ผ่ำนกำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. หรื อ ที่สถำบันจัดฝึ กอบรมให้โดยใช้หลักสู ตรของ สกอ. 2) คณะกรรมการประเมินระดับคณะวิชาหรื อหน่ วยงานเทียบเท่ า - มีกรรมกำรประเมินฯ อย่ำงน้อย 3 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ขนำดของคณะวิชำ หรื อหน่วยงำนเทียบเท่ำ - เป็ นผูป้ ระเมิ น จำกภำยนอกสถำบัน ที่ ผ่ำ นกำรฝึ กอบรมหลัก สู ต ร ผูป้ ระเมินของ สกอ. อย่ างน้ อย 1 คน ในกรณี ที่ผปู้ ระเมินจำกภำยนอกสถำบันเป็ นผูท้ ี่มีควำมรู้และ ประสบกำรณ์ สู งซึ่ ง สำมำรถให้ คำแนะนำที่ จะเป็ นประโยชน์ อย่ำ งยิ่ง ต่ อคณะที่รับกำรประเมิ น อำจอนุ โลมให้ไม่ตอ้ งผ่ำนกำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. ก็ได้ ส่ วนผูป้ ระเมินจำก ภำยในสถำบันต้องผ่ำนกำรฝึ กอบรมหลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. หรื อที่สถำบันจัดฝึ กอบรม ให้โดยใช้หลักสู ตรของ สกอ. - ประธำนคณะกรรมกำรประเมินฯ เป็ นผูป้ ระเมินจำกภำยในหรื อนอก สถำบันก็ได้ ในกรณี ที่เป็ นผูป้ ระเมินภำยในสถำบันต้องอยูน่ อกสังกัดคณะที่ประเมิน โดยประธำน ต้องเป็ นผูท้ ี่ข้ ึนบัญชีประธำนคณะกรรมกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยในของ สกอ. 3) คณะกรรมการประเมินระดับสถาบัน - มีกรรมกำรประเมินฯ อย่ำงน้อย 5 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ขนำดของสถำบัน - เป็ นผูป้ ระเมิ นจำกภำยนอกสถำบันที่ ผ่ำ นกำรฝึ กอบรมหลัก สู ตรผู ้ ประเมินของ สกอ. อย่ำงน้อยร้อยละ 50 ส่ วนผูป้ ระเมินจำกภำยในสถำบันต้องผ่ำนกำรฝึ กอบรม หลักสู ตรผูป้ ระเมินของ สกอ. หรื อที่สถำบันจัดฝึ กอบรมให้โดยใช้หลักสู ตรของ สกอ. - ประธำนคณะกรรมกำรประเมินฯ เป็ นผูป้ ระเมินจำกภำยนอกสถำบันที่ ขึ้นบัญชีประธำนคณะกรรมกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยในของ สกอ. ข. สถำบัน อุ ด มศึ ก ษำแจ้ง ให้ ค ณะกรรมกำรประเมิ น คุ ณ ภำพทรำบว่ ำ คณะกรรมกำรประเมินฯ จะต้องทำกำรประเมิ นคุ ณภำพกำรศึ กษำภำยในระดับคณะวิชำหรื อ หน่วยงำนเทียบเท่ำและระดับสถำบัน ผ่ำนทำงระบบ CHE QA Online พร้อมทั้งจัดส่ ง username และ password ให้คณะกรรมกำรประเมินฯ ทุกท่ำนและทุกระดับทรำบเพื่อเข้ำไปศึกษำรำยงำนกำร ประเมินตนเองล่วงหน้ำก่อนวันรับกำรตรวจเยี่ยมอย่ำงน้อย 2 สัปดำห์ โดยในส่ วนของผูท้ ำหน้ำที่ ประธำนคณะกรรมกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยในระดับสถาบัน สถำบันอุดมศึกษำจะต้อง แจ้งให้สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำจัดส่ งรหัสประจำตัว (ID code) ให้ดว้ ย เพื่อให้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

67

ประธำนฯ ทำหน้ำที่ตรวจสอบและยืนยันควำมถูกต้องของข้อมูลพื้นฐำน (common data set) และ ผลกำรประเมินก่อนส่ งรำยงำนกำรประเมินคุณภำพของคณะกรรมกำรประเมินฯ เข้ำสู่ ระบบ นอกจำกนั้น ให้สถำบันแจ้งรำยชื่อผูท้ ำหน้ำที่ประสำนงำนระหว่ำงสถำบัน คณะ วิชำหรื อหน่วยงำนเทียบเท่ำกับคณะกรรมกำรประเมินฯ รวมทั้งเบอร์ โทรศัพท์และ e-mail address สำหรับติดต่อ ค. ประสำนงำนกับประธำนหรื อตัวแทนของคณะกรรมกำรประเมินคุณภำพเพื่อ ร่ วมเตรี ยมแผนกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำภำยใน อำทิ กำรจัดตำรำงเวลำเข้ำตรวจเยี่ยมกำรให้ ข้อมูลที่คณะกรรมกำรประเมินฯ ต้องกำรเพิ่มเติมก่อนกำรตรวจเยีย่ ม กำรนัดหมำยต่ำง ๆ เป็ นต้น 2.2 การดาเนินการของสถาบันระหว่ างการตรวจเยีย่ มเพือ่ ประเมินคุณภาพ 1) เปิ ดโอกำสให้บุคลำกรทุ กคนได้ร่วมรั บฟั งคณะกรรมกำรประเมิ นคุ ณภำพชี้ แจง วัตถุประสงค์และวิธีกำรประเมินในวันแรกของกำรตรวจเยีย่ ม 2) บุคลำกรพึงปฏิบตั ิงำนตำมปกติระหว่ำงกำรตรวจเยี่ยม แต่เตรี ยมพร้อมสำหรับกำร นำเยีย่ มชม หรื อตอบคำถำม หรื อรับกำรสัมภำษณ์จำกคณะกรรมกำรประเมินคุณภำพ 3) จัดให้มีผปู ้ ระสำนงำนทำหน้ำที่ตลอดช่วงกำรตรวจเยี่ยม ทั้งนี้ เพื่อประสำนงำนกับ บุคคลหรื อหน่ วยงำนที่คณะกรรมกำรประเมินฯ ต้องกำรข้อมูลและเพื่อนำกำรเยี่ยมชมหน่วยงำน ภำยใน ตลอดจนอำนวยควำมสะดวกอื่นๆ 4) ในกรณี ที่คณะกรรมกำรประเมินฯ ทำงำนต่อหลังเวลำรำชกำร ควรมีผปู้ ระสำนงำน ส่ วนหนึ่งอยูอ่ ำนวยควำมสะดวก 5) บุคลำกรทุกคนควรได้มีโอกำสรับฟั งกำรให้ขอ้ มูลป้ อนกลับจำกคณะกรรมกำร ประเมินฯเมื่อสิ้ นสุ ดกำรตรวจเยี่ยม ตลอดจนเปิ ดโอกำสให้ซกั ถำมหรื อขอควำมเห็นเพิ่มเติมได้ตำม ควำมเหมำะสม 2.3 การดาเนินการของสถาบันภายหลังการประเมินคุณภาพ 1) ผูบ้ ริ หำรระดับภำควิชำ คณะวิชำหรื อหน่วยงำนเทียบเท่ำ และระดับสถำบันรวมทั้ง ผูเ้ กี่ ยวข้อง นำผลกำรประเมินและข้อเสนอแนะเข้ำสู่ กำรประชุ มหรื อสัมมนำระดับต่ำงๆ เพื่อ วำงแผนพัฒนำหรื อปรั บ ปรุ ง กำรด ำเนิ น ภำรกิ จอย่ำ งเป็ นรู ป ธรรมต่ อไป โดยอำจจัด ท ำเป็ น แผนปฏิ บตั ิกำรในกำรแก้ไขจุดที่ควรปรับปรุ ง และเสริ มจุดแข็ง ซึ่ งประกอบด้วยกิ จกรรมที่ตอ้ ง ดำเนิ นกำร กำหนดเวลำเริ่ มต้นจนถึ งเวลำสิ้ นสุ ดกิ จกรรม งบประมำณสำหรั บแต่ละกิ จกรรม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

68

ตลอดจนผูร้ ับผิดชอบกิจกรรมเหล่ำนั้น ทั้งนี้ เพื่อให้สำมำรถติดตำมตรวจสอบผลกำรพัฒนำได้อย่ำง ต่อเนื่อง 2) พิจำรณำกำรจัดกิจกรรมเสริ มสร้ำงขวัญและกำลังใจ โดยแสดงให้เห็นว่ำสถำบัน ชื่นชมผลสำเร็ จที่เกิดขึ้น และตระหนักว่ำผลสำเร็ จทั้งหมดมำจำกควำมร่ วมมือร่ วมใจของทุกฝ่ ำย 3) ภำควิชำ คณะวิชำหรื อหน่วยงำนเทียบเท่ำ และสถำบันควรให้ขอ้ มูลย้อนกลับแก่ คณะกรรมกำรประเมินคุ ณภำพเพื่อประโยชน์ในกำรพัฒนำผูป้ ระเมิ นคุ ณภำพกำรศึก ษำภำยใน ต่อไป


บทที่ 3 ตัวบ่ งชี้และเกณฑ์ การประเมินคุณภาพตามองค์ ประกอบคุณภาพ 1. แนวทางการพัฒนาตัวบ่ งชี้เพือ่ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา 1.1 หลักการ การพัฒนาตัวบ่งชี้ การประกันคุ ณภาพการศึ กษาภายใน ระดับอุดมศึกษา มีหลักการสาคัญ 6 ประการ คือ 1) ตัวบ่งชี้ พฒั นาขึ้นภายใต้องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้านที่มีความครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการอุดมศึกษาและพันธกิจสนับสนุน ซึ่ งมีความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่กาหนดใน กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 2) ตัวบ่งชี้ ตอบสนองเจตนารมณ์ แห่ งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 25512565) มาตรฐานการศึ กษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุ ดมศึ กษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ และมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสอดคล้อง ไปในทิ ศทางเดี ยวกับตัวบ่งชี้ การประกันคุ ณภาพภายนอกของ สมศ. ภายใต้หลัก การสาคัญ คือ ไม่ให้เป็ นภาระซ้ าซ้อนในการปฏิบตั ิงานแก่สถาบันอุดมศึกษา 3) ตัวบ่งชี้ประเมินปั จจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิตหรื อผลลัพธ์ โดยตัวบ่งชี้ ผลผลิตและ ผลลัพธ์จะมีท้ งั ที่ สกอ. พัฒนาขึ้นและตัวบ่งชี้ ที่ สมศ.ใช้ในการประเมินคุ ณภาพภายนอก ทั้งนี้ เพื่อความเชื่ อมโยงและความเป็ นเอกภาพของระบบประกันคุ ณภาพอุดมศึกษาไทยและเพื่อรองรับ การประเมินภายนอกของ สมศ. 4) ตัวบ่งชี้มีความสมดุลระหว่างมุมมองการบริ หารจัดการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านนักศึกษาและ ผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสี ย ด้านกระบวนการภายใน ด้านการเงิ น และด้านบุคลากรการเรี ยนรู้ และ นวัตกรรม 5) จานวนตัวบ่งชี้ ที่พฒั นาขึ้นเป็ นเพียงจานวนตัวบ่งชี้ ข้ นั ต่า สถาบันอุดมศึกษาสามารถ เพิ่มเติมตัวบ่งชี้และเกณฑ์ได้ตามความเหมาะสมกับระดับการพัฒนาของสถาบัน 6) เ ก ณ ฑ์ ที่ พั ฒ น า ขึ้ น มี ทั้ ง ป ร ะ เ ภ ท เ ก ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น ทั่ ว ไ ป ที่ ใ ช้ ก ั บ ทุ ก ก ลุ่ ม สถาบันอุดมศึกษา และเกณฑ์มาตรฐานเพิม่ เติมเฉพาะกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา ได้แก่ กลุ่ม ข สถาบัน ที่เน้นระดับปริ ญญาตรี กลุ่ม ค 1 สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา กลุ่ม ค 2 สถาบัน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

70

เฉพาะทางที่เน้น ระดับปริ ญญาตรี และกลุ่ม ง สถาบันที่เน้น การวิจยั ขั้นสู งและผลิตบัณฑิตระดับ บัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริ ญญาเอก ตามนิยามที่กาหนดในประกาศกระทรวงศึกษาธิ การเรื่ อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา 1.2 วิธีการพัฒนาตัวบ่ งชี้ 1.2.1 ศึกษากฎหมาย และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 2) กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุ ณภาพการศึ กษา พ.ศ. 2553 3) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 4) มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2547 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 5) มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 6) มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 7) กรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุ ดมศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2552 สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 8) เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 9) มาตรฐานและตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษาของสานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) 1.2.2 วิเคราะห์และประมวลข้อมูลจากเอกสารต่างๆ ที่เกี่ ยวข้องในข้อ 1.2.1 เพื่อนามา พัฒนาตัวบ่งชี้ โดยจาแนกตามปั จจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิตและผลลัพธ์ โดยใช้องค์ประกอบ คุณภาพ 9 ด้านที่ครอบคลุมพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษาเป็ นกรอบในการพัฒนาตัวบ่งชี้ เพื่อให้ สามารถวัดคุณภาพตามมาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ได้ครบทุกมาตรฐาน 1.2.3 กาหนดตัวบ่งชี้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษาที่เป็ นตัวบ่งชี้ ด้านปัจจัยนาเข้า ตัวบ่งชี้ดา้ นกระบวนการ และตัวบ่งชี้ดา้ นผลผลิตและผลลัพธ์ ซึ่งมีความครอบคลุม ทุกองค์ประกอบคุณภาพ ทุกมาตรฐานการอุดมศึกษา และทุกมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา 1.2.4 ตรวจสอบความสมดุลของตัวบ่งชี้ ที่กาหนดตามมุมมองการบริ หารจัดการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านนักศึกษาและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ด้านกระบวนการภายใน ด้านการเงิน และด้านบุคลากร การเรี ยนรู้และนวัตกรรม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

71

1.2.5 กาหนดตัวบ่งชี้เป็ น 2 ประเภท คือ ตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพและตัวบ่งชี้เชิงปริ มาณ ดังนี้ 1) ตัวบ่งชี้ เชิ งคุณภาพจะระบุเกณฑ์มาตรฐานเป็ นข้อๆ กาหนดเกณฑ์การประเมินตัว บ่งชี้เป็ น 5 ระดับ มีคะแนนตั้งแต่ 1 ถึง 5 การประเมินจะนับจานวนข้อและระบุวา่ ผลการดาเนิ นงาน ได้กี่ขอ้ ได้คะแนนเท่าใด กรณี ที่ไม่ดาเนิ นการใดๆ หรื อดาเนินการไม่ครบที่จะได้ 1 คะแนน ให้ถือ ว่าได้ 0 คะแนน 2) ตัวบ่งชี้ เชิ งปริ มาณอยูใ่ นรู ปของร้อยละหรื อค่าเฉลี่ย กาหนดเกณฑ์ การประเมิน เป็ นคะแนนระหว่าง 1 ถึง 5 โดยเป็ นค่าต่อเนื่ อง (มีจุดทศนิยม) สาหรับการแปลงผลการดาเนินงาน ตามตัวบ่งชี้ (ซึ่ งอยูใ่ นรู ปร้อยละหรื อค่าเฉลี่ย) เป็ นคะแนนทาโดยการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ โดยที่ แต่ละตัวบ่งชี้จะกาหนดค่าร้อยละหรื อค่าเฉลี่ยที่คิดเป็ นคะแนน 5 ไว้ ตัวอย่างเช่น ตัวอย่ างที่ 1 กาหนดร้ อยละ 100 เป็ นคะแนน 5 ผลการดาเนิ นงานตาม ตัวบ่งชี้ได้ร้อยละ 75.51 คะแนนที่ได้

=

75.51 100

 5

=

3.78

ตัวอย่ างที่ 2 กาหนดร้อยละ 85 เป็ นคะแนน 5 ผลการดาเนินงานตาม ตัวบ่งชี้ ได้ร้อย ละ 34.62 คะแนนที่ได้

=

34.62 85

 5

=

2.04

ตัวอย่ างที่ 3 กาหนดค่าเฉลี่ยคือ จานวนเงินวิจยั ต่ออาจารย์และนักวิจยั 200,000 บาท เป็ นคะแนน 5 ผลการดาเนินงานได้ 152,500.35 บาทต่อคน คะแนนที่ได้

152,500.35 200,000

=

 5

=

3.81

ตัวอย่างที่ 4 กาหนดร้อยละ 90 เป็ นคะแนน 5 ผลการดาเนินงานตาม ตัวบ่งชี้ได้ร้อยละ 92.08 คะแนนที่ได้

=

92.08 90

 5

=

5


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

72

หลักการคานวณการแปลงค่ าร้ อยละหรือค่ าเฉลี่ยเป็ นคะแนน สรุ ปได้ ดังนี้ 1) ผลการดาเนิ นงานเท่ากับหรื อสู งกว่าค่าร้อยละหรื อค่าเฉลี่ ยที่กาหนดให้เป็ น คะแนน 5 จะได้คะแนน 5 2) ผลการดาเนิ นงานต่า กว่าค่าร้อยละหรื อค่าเฉลี่ ยที่กาหนดให้เป็ นคะแนน 5 คานวณคะแนนที่ได้ดงั นี้

คะแนนที่ได้

=

ค่าร้อยละหรื อค่าเฉลี่ยที่ได้จากการดาเนินการ ค่าร้อยละหรื อค่าเฉลี่ยที่กาหนดให้เป็ นคะแนน เต็ม 5 ของตัวบ่งชี้น้ นั ๆ

 5

ข้ อปฏิบัติเรื่ องจุดทศนิยม การคานวณค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าคะแนนให้ใช้ทศนิ ยม 2 ตาแหน่ง โดยการ ปั ดทศนิยมตาแหน่งที่ 3 ตามหลักการปัดทศนิยม (ตั้งแต่เลข 5 ขึ้นไปปั ดขึ้น) เช่น 72.364 เป็ น 72.36 3.975 เป็ น 3.98 1.2.6 กาหนดเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ เป็ น 5 ระดับ มีคะแนนตั้งแต่ 1 ถึง 5 กรณี ที่ไม่ ดาเนินการใดๆ หรื อดาเนิ นการไม่ครบที่จะได้ 1 คะแนนให้ได้ 0 คะแนน โดยมีความหมายของ คะแนน ดังนี้ คะแนน 0.00 – 1.50 หมายถึง การดาเนินงานต้องปรับปรุ งเร่ งด่วน คะแนน 1.51 – 2.50 หมายถึง การดาเนินงานต้องปรับปรุ ง คะแนน 2.51 – 3.50 หมายถึง การดาเนินงานระดับพอใช้ คะแนน 3.51 – 4.50 หมายถึง การดาเนินงานระดับดี คะแนน 4.51 – 5.00 หมายถึง การดาเนินงานระดับดีมาก


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

73

2. คาชี้แจงอืน่ ๆ ในการนาตัวบ่ งชี้ไปใช้ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 1) การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน แต่ละสถาบันอุดมศึกษาจะต้อง ใช้ตวั บ่งชี้คุณภาพทุกตัวในการประเมินคุณภาพ 2) การประเมิ นคุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในระดับภาควิชา คณะวิชาหรื อหน่ ว ยงาน เที ยบเท่า และหน่ ว ยงานที่ มีก ารเรี ยนการสอนให้ส ถาบันพิจารณาตัว บ่งชี้ ที่จะนาไปใช้ให้ สอดคล้องกับบริ บท โครงสร้าง และระบบการบริ หาร และปรับข้อความในตัวบ่งชี้และเกณฑ์ มาตรฐานให้สอดคล้องกับระดับของหน่วยงานที่รับการประเมิน เช่น ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 การประเมิน สภาสถาบันและผูบ้ ริ หารของสถาบันอาจปรับเป็ นการประเมินกรรมการประจาคณะวิชาและ ผูบ้ ริ หารคณะวิชา เป็ นต้น 3) การประเมินทุกตัวบ่งชี้ เป็ นการประเมินในรอบปี การศึกษา ยกเว้นตัวบ่งชี้ ที่ 1.1 ตัวบ่งชี้ ที่ 4.3 และตัวบ่งชี้ที่ 8.1 สถาบันอาจจะเลือกประเมินตามปี งบประมาณก็ได้ ในกรณี เช่ นนั้นจะต้องระบุให้ชัดเจนและต้องประเมิ นในรอบปี งบประมาณอย่างต่อเนื่ อง โดยใช้ พ.ศ.ของปี งบประมาณที่ตรงกับปี การศึกษาที่ประเมิน สาหรับตัวบ่งชี้ของ สมศ. ให้ใช้รอบปี ตามที่ สมศ. กาหนด 4) อาจารย์ประจา หมายถึง ข้าราชการ พนักงาน และบุคลากรที่มีสัญญาจ้างกับ สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาทั้ง ปี การศึ ก ษา ซึ่ งมี ห น้า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบตามพัน ธกิ จ หลัก ของ สถาบันอุดมศึกษานักวิจยั ประจา หมายถึง ข้าราชการ หรื อพนักงาน หรื อบุคลากรที่มีสัญญาจ้าง กับสถาบันอุดมศึกษาทั้งปี การศึกษา ที่มีตาแหน่งเป็ นเจ้าหน้าที่วิจยั หรื อนักวิจยั การนับจานวน อาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ให้นบั ระยะเวลาการทางาน ดังนี้ 9-12 เดือน คิดเป็ น 1 คน 6 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 9 เดือน คิดเป็ น 0.5 คน น้อยกว่า 6 เดือน ไม่สามารถนามานับได้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

74

3. นิยามศัพท์ ทใี่ ช้ ในตัวบ่ งชี้ กระบวนการเรี ยนรู้ ที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ หมายถึง การจัดการศึ กษาที่ถือว่าผูเ้ รี ยนสาคัญที่สุด เป็ นกระบวนการจัดการศึกษาที่ต้องเน้นให้ผเู้ รี ยนแสวงหาความรู้ และพัฒนาความรู้ได้ดว้ ยตนเอง หรื อรวมทั้งมีการฝึ กและปฏิบตั ิในสภาพจริ งของการทางาน มีการเชื่ อมโยงสิ่ งที่เรี ยนกับสังคมและ การประยุกต์ใช้มีการจัดกิจกรรมและกระบวนการให้ผเู้ รี ยนได้คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินและ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ นอกจากนี้ ต้อ งส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้เ รี ย นสามารถพัฒ นาตามธรรมชาติ แ ละเต็ม ตามศัก ยภาพ โดยสะท้อนจากการที่นกั ศึกษาสามารถเลือกเรี ยนรายวิชา หรื อเลื อกทาโครงงานหรื อชิ้ นงานใน หัวข้อที่สนใจในขอบเขตเนื้อหาของวิชานั้นๆ รู ปแบบการจัดการเรี ยนรู้ในระดับอุดมศึกษาตามแนวทางเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ซึ่ งมุ่ง พัฒนาความรู้ และทักษะทางวิชาชีพ ทักษะชีวติ และทักษะสังคม มีปรากฏในวงการศึกษาไทยหลาย รู ปแบบตัวอย่างเช่น1 1) การเรี ยนรู้จากกรณี ปัญหา (Problem-based Learning : PBL) 2) การเรี ยนรู้เป็ นรายบุคคล (Individual Study) 3) การเรี ยนรู้แบบสรรคนิยม (Constructivism) 4) การเรี ยนรู้แบบแสวงหาความรู้ได้ดว้ ยตนเอง (Self-Study) 5) การเรี ยนรู้จากการทางาน (Work-based Learning) 6) การเรี ยนรู้ที่เน้นการวิจยั เพื่อสร้างองค์ความรู้ (Research–based Learning) 7) การเรี ยนรู้ที่ใช้วธิ ีสร้างผลงานจากการตกผลึกทางปัญญา (Crystal-based Approach) การบูรณาการ (Integration) หมายถึง การผสมกลมกลืนของแผน กระบวนการ สารสนเทศการ จัดสรร ทรัพยากร การปฏิบตั ิการ ผลลัพธ์ และการวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุนเป้ าประสงค์ที่สาคัญของ สถาบัน (organization-wide goal) การบูรณาการที่มีประสิ ทธิ ผล เป็ นมากกว่าความสอดคล้องไปใน แนวทางเดี ยวกัน (alignment) ซึ่ งการดาเนิ นการของแต่ละองค์ประกอบภายในระบบการจัดการ ผลการดาเนินการมีความเชื่อมโยงกันเป็ นหนึ่งเดียวอย่างสมบูรณ์ -------------------------------------------------------

1

ดู เ พิ่ม เติ ม “รายงานการวิจั ย การสั ง เคราะห์ อ งค์ ค วามรู้ เ กี่ย วกับ การจั ด การเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น ตั ว ผู้ เ รี ย นเป็ นส าคัญ ตั้ ง แต่ พ.ศ. 2542-2547”.


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

75

การเผยแพร่ ผลงานวิจั ยในที่ประชุ ม วิช าการระดั บ ชาติ หมายถึ ง การนาเสนอบทความวิจยั ในที่ประชุมวิชาการ และบทความฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่อง จากการประชุม (Proceedings) โดยมีกองบรรณาธิการจัดทารายงานฯ หรื อคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์ หรื อผูท้ รงคุณวุฒิระดับปริ ญญาเอก หรื อผูท้ รงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็ น ที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ จากนอกสถาบันเจ้าภาพอย่างน้อยร้อยละ 25 และมีผปู้ ระเมินบทความ ที่เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขานั้นจากนอกสถาบันของเจ้าของบทความ การเผยแพร่ ผลงานวิจัยในที่ประชุ มวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง การนาเสนอบทความวิจยั ในที่ประชุมวิชาการ และบทความฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่อง จากการประชุม (Proceedings) โดยมีกองบรรณาธิการจัดทารายงานฯ หรื อคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์ หรื อผูท้ รงคุณวุฒิระดับปริ ญญาเอก หรื อผูท้ รงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็ น ที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ จากต่างประเทศอย่างน้อยร้ อยละ 25 และมีผปู้ ระเมินบทความที่เป็ น ผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขานั้นจากต่างประเทศ การให้ บริ การทางวิชาการแก่ สังคม หมายถึง กิ จกรรมหรื อโครงการให้บริ การแก่สังคมภายนอก สถาบันการศึกษา หรื อเป็ นการให้บริ การที่จดั ในสถาบันการศึกษาโดยมีบุคคลภายนอกเข้ามา ใช้บริ การ การให้ อานาจในการตัดสิ นใจ หมายถึง การให้อานาจและความรับผิดชอบในการตัดสิ นใจและ ในการปฏิบตั ิแก่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน ซึ่ งเป็ นผูม้ ีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับงาน เพื่อให้มีประสิ ทธิ ภาพและ ประสิ ทธิผล งานวิจัย หมายถึง กระบวนการที่มีระเบียบแบบแผนในการค้นหาคาตอบของปั ญหา หรื อการเสาะ แสวงหาความรู ้ใหม่ ตลอดจนถึงการประดิษฐ์คิดค้นที่ผา่ นกระบวนการศึกษา ค้นคว้าหรื อทดลอง วิเคราะห์และตีความข้อมูลตลอดจนสรุ ปผลอย่างเป็ นระบบ งานสร้ างสรรค์ หมายถึง ผลงานวิชาการ (ไม่จาเป็ นต้องเป็ นงานวิจยั ) ที่มีการศึกษา ค้นคว้าที่ แสดงออกทางศิลปะหรื อดนตรี อนั เป็ นที่ยอมรับ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

76

จรรยาบรรณนักวิจัย2 หมายถึ ง หลักเกณฑ์ควรประพฤติปฏิ บตั ิของนักวิจยั ทัว่ ไป เพื่อให้การ ดาเนิ นงานวิจยั ตั้งอยู่บ นพื้นฐานของจริ ยธรรมและหลักวิชาการที่ เหมาะสม ตลอดจนประกัน มาตรฐานของการศึกษาค้นคว้าให้เป็ นไปอย่างสมศักดิ์ศรี และเกียรติภูมิของนักวิจยั ดังนี้ 1) นักวิจยั ต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ 2) นักวิจยั ต้องตระหนักถึ งพันธกรณี ในการทาวิจยั ตามข้อ ตกลงที่ทาไว้กบั หน่ วยงานที่ สนับสนุนการวิจยั และต่อหน่วยงานที่ตนสังกัด 3) นักวิจยั ต้องมีพ้นื ฐานความรู ้ในสาขาวิชาการที่ทาวิจยั 4) นักวิจยั ต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่ งที่ศึกษาวิจยั ไม่วา่ จะเป็ นสิ่ งมีชีวติ หรื อไม่มีชีวติ 5) นักวิจยั ต้องเคารพศักดิ์ศรี และสิ ทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็ นตัวอย่างในการวิจยั 6) นักวิจยั ต้องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทาวิจยั 7) นักวิจยั พึงนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ 8) นักวิจยั พึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผูอ้ ื่น 9) นักวิจยั พึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ จรรยาบรรณอาจารย์ และบุ คลากรสายสนั บสนุ น หมายถึ ง ประมวลความประพฤติที่อาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุนพึงปฏิบตั ิเพื่อรักษา ส่ งเสริ มเกียรติคุณ ชื่อเสี ยง และฐานะของอาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุ นตามที่สภามหาวิทยาลัยกาหนด โดยอาจใช้กรอบแนวทางตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่ อง มาตรฐานของจรรยาบรรณที่พึงมีในสถาบันอุดมศึกษา โดยต้องยึดมัน่ ในหลักการ 6 ประการ คือ 1) ยึดมัน่ และยืนหยัดในสิ่ งที่ถูกต้อง 2) ซื่อสัตย์สุจริ ตและรับผิดชอบ 3) ปฏิบตั ิหน้าที่ ด้วยความโปร่ งใสและสามารถตรวจสอบได้ 4) ปฏิบตั ิหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบตั ิอย่างไม่เป็ นธรรม 5) มุ่ง ผลสัม ฤทธิ์ ของงาน 6) ไม่ ใช้อานาจครอบงาผิดท านองคลองธรรมต่ อนักศึ กษาและ ต้องครอบคลุมจรรยาบรรณ10 ประการ คือ 1) จรรยาบรรณต่อตนเอง 2) จรรยาบรรณต่อวิชาชี พ 3) จรรยาบรรณต่อการปฏิบตั ิงาน 4) จรรยาบรรณต่อหน่วยงาน 5) จรรยาบรรณต่อผูบ้ งั คับบัญชา 6) จรรยาบรรณต่อผูใ้ ต้บงั คับบัญชา 7) จรรยาบรรณต่อผูร้ ่ วมงาน 8) จรรยาบรรณต่อนักศึกษาและ ผูร้ ับบริ การ 9) จรรยาบรรณต่อประชาชน และ10) จรรยาบรรณต่อสังคม ---------------------------------2

ดูเพิม่ เติม “จรรยาบรรณนักวิจัย” สภาวิจัยแห่ งชาติ สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีแห่ ง

สิ่งแวดล้อม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

77

นักวิจัยประจา หมายถึง ข้าราชการ หรื อพนักงาน หรื อบุคลากรที่มีสัญญาจ้างกับสถาบันอุดมศึกษา ทั้งปี การศึกษา ที่มีตาแหน่งเป็ นเจ้าหน้าที่วจิ ยั หรื อนักวิจยั นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่ า (Full Time Equivalent Student : FTES) หมายถึ ง นักศึกษาที่ ลงทะเบียนเรี ยนตามเกณฑ์จานวนหน่วยกิตมาตรฐานของการลงทะเบียน ดังนี้ ระบบทวิภาค - สาหรับนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี : ลงทะเบียน 36 หน่วยกิตต่อ ปี การศึกษา (18 หน่วยกิตต่อภาคการศึกษา) - สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทั้งโครงการปกติและโครงการ ภาคพิเศษ : ลงทะเบียน 24 หน่วยกิตต่อปี การศึกษา (12 หน่วยกิต ต่อภาคการศึกษาปกติ) ระบบไตรภาค - สาหรับนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี : ลงทะเบียน 45 หน่วยกิตต่อ ปี การศึกษา (15 หน่วยกิตต่อภาคการศึกษา) - สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา : ลงทะเบียน 30 หน่วยกิตต่อ ปี การศึกษา (10 หน่วยกิตต่อภาคการศึกษา) ขั้นตอนการคานวณค่า FTES มีดงั นี้ 1) คานวณค่าหน่วยกิตนักศึกษา (Student Credit Hours : SCH) ซึ่ งก็คือ ผลรวมของผลคูณ ระหว่างจานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรี ยนกับจานวนหน่ วยกิตแต่ละรายวิชาที่เปิ ดสอนทุกรายวิชา ตลอดปี การศึกษา รวบรวมหลังจากนักศึกษาลงทะเบียนแล้วเสร็ จ (หมดกาหนดเวลาการเพิ่ม-ถอน) โดยมีสูตรการคานวณ ดังนี้ SCH =  nici เมื่อ ni = จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนในวิชาที่ i ci = จานวนหน่วยกิตของวิชาที่ i 2) คานวณค่า FTES โดยใช้สูตรคานวณดังนี้

FTES

=

SCH จานวนหน่วยกิตต่อปี การศึกษา ตามเกณฑ์มาตรฐานการลงทะเบียนในระดับปริ ญญานั้นๆ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

78

นักศึกษาภาคปกติ หมายถึง นักศึกษาที่เรี ยนในช่วงเวลาราชการ หรื อนอกเวลาราชการโดยสถาบัน ได้มีการคานวณเป็ นภาระงานสอนของอาจารย์ และไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนเป็ นการพิเศษ นักศึกษาภาคพิเศษ หมายถึง นักศึกษาที่เรี ยนในช่วงเวลาราชการ หรื อนอกเวลาราชการโดยสถาบัน มิได้นบั ว่าการสอนดังกล่าวเป็ นภาระงานสอนของอาจารย์ และ/หรื อได้มีการจ่ายค่าตอบแทนให้กบั การสอนของอาจารย์เป็ นการพิเศษ แนวปฏิบัติที่ดี หมายถึง วิธีปฏิบตั ิ หรื อขั้นตอนการปฏิบตั ิที่ทาให้องค์การประสบความสาเร็ จหรื อ สู่ ค วามเป็ นเลิ ศ ตามเป้ าหมาย เป็ นที่ ย อมรั บ ในวงวิช าการหรื อวิช าชี พ นั้นๆ มี หลัก ฐานของ ความสาเร็ จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุ ปวิธีปฏิบตั ิ หรื อขั้นตอนการปฏิบตั ิ ตลอดจนความรู้และ ประสบการณ์ บันทึกเป็ นเอกสาร เผยแพร่ ให้หน่ วยงานภายในหรื อภายนอกสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย (Stakeholders) หมายถึง กลุ่มคนต่างๆ ที่ได้รับผลกระทบ หรื ออาจได้รับ ผลกระทบจากการดาเนิ นการและความสาเร็ จของสถาบัน ตัวอย่างของกลุ่ มผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ที่สาคัญ เช่น นักศึกษา ผูป้ กครอง สมาคมผูป้ กครอง ผูป้ ฏิบตั ิงาน คู่ความร่ วมมือทั้งที่เป็ นทางการ และไม่ เ ป็ นทางการ คณะกรรมการก ากับ ดู แ ลสถาบัน ในด้า นต่ า งๆ ศิ ษ ย์เ ก่ า นายจ้า ง สถาบันการศึกษาอื่นๆ องค์การที่ทาหน้าที่กากับดูแลกฎ ระเบียบ องค์การที่ให้เงิ นสนับสนุ น ผูเ้ สี ยภาษี ผูก้ าหนดนโยบาย ผูส้ ่ งมอบ ตลอดจนชุมชนในท้องถิ่นและชุมชนวิชาการหรื อวิชาชีพ แผนกลยุทธ์ หมายถึง แผนระยะยาวของสถาบันโดยทัว่ ไปมักใช้เวลา 5 ปี เป็ นแผนที่กาหนดทิศ ทางการพัฒนาของสถาบัน แผนกลยุทธ์ ประกอบไปด้วยวิสัย ทัศน์ พันธกิ จ เป้ าประสงค์ วัตถุประสงค์ ผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภัยคุกคาม กลยุทธ์ต่างๆ ของสถาบันควร คลอบคลุ ม ทุ ก ภารกิ จ ของสถาบัน มี ก ารก าหนดตัว บ่ ง ชี้ ความส าเร็ จ ของแต่ ล ะกลยุ ท ธ์ แ ละ ค่าเป้ าหมายของตัวบ่งชี้เพื่อวัดระดับความสาเร็ จของการดาเนิ นงานตามกลยุทธ์ โดยสถาบันนาแผน กลยุทธ์มาจัดทาแผนดาเนินงานหรื อแผนปฏิบตั ิการประจาปี


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

79

แผนปฏิบัติการประจาปี หมายถึง แผนระยะสั้นที่มีระยะเวลาในการดาเนิ นงานภายใน 1 ปี เป็ นแผน ที่ถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ลงสู่ ภาคปฏิ บตั ิ เพื่อให้เกิดการดาเนิ นงานจริ งตามกลยุทธ์ ประกอบด้วย โครงการหรื อกิจกรรมต่างๆ ที่จะต้องดาเนิ นการในปี นั้นๆ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายตามแผนกลยุทธ์ ตัวบ่งชี้ ความสาเร็ จของโครงการหรื อกิ จกรรม ค่าเป้ าหมายของตัวบ่งชี้ เหล่านั้นรวมทั้งมีการระบุ ผูร้ ับผิดชอบหลักหรื อหัวหน้าโครงการ งบประมาณในการดาเนินการรายละเอียดและทรัพยากรที่ ต้องใช้ในการดาเนินโครงการที่ชดั เจน

ระบบและกลไก ระบบ หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่มีการกาหนดอย่างชัดเจนว่าต้องทาอะไรบ้างเพื่อให้ได้ผล ออกมาตามที่ตอ้ งการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานจะต้องปรากฏให้ทราบโดยทัว่ กันไม่วา่ จะอยูใ่ นรู ปของ เอกสารหรื อสื่ ออิเล็กทรอนิ กส์หรื อโดยวิธีการอื่นๆ องค์ประกอบของระบบ ประกอบด้วย ปั จจัย นาเข้า กระบวนการ ผลผลิต และข้อมูลป้ อนกลับ ซึ่ งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน กลไก หมายถึง สิ่ งที่ทาให้ระบบมีการขับเคลื่อนหรื อดาเนิ นอยูไ่ ด้ โดยมีการจัดสรรทรัพยากรมีการ จัดองค์การ หน่วยงาน หรื อกลุ่มบุคคลเป็ นผูด้ าเนินงาน ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ทาหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลเข้ามาทาการประมวลผล รวมทั้ง การวิเคราะห์เพื่อจัดทาเป็ นสารสนเทศในรู ปแบบต่างๆ และนาส่ งไปยังผูท้ ี่มีสิทธิ ได้รับสารสนเทศ เพื่อใช้ในการปฏิบตั ิงาน การบริ หาร หรื อการตัดสิ นใจ โดยมีคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ ต่างๆ เป็ นเครื่ องมือสนับสนุ นการทางานของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศในองค์การมีหลาย ประเภทในแต่ละประเภทมีได้หลายระบบ ทั้งนี้ เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์เฉพาะด้านในการ ทางานที่แตกต่างกันออกไป วารสารระดับชาติ หมายถึง วารสารวิชาการ (Journal) ที่ยอมรับโดยสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) ให้เป็ นวารสารระดับชาติ และมี ชื่อปรากฏในบัญชี รายชื่ อที่ เผยแพร่ โดยสานักงานฯ หรื อ วารสารวิชาการ ที่มีชื่อปรากฏอยูใ่ นฐานข้อมูล Thai-Journal Citation Index Centre (TCI)


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

80

วารสารระดับนานาชาติ หมายถึง วารสารวิชาการ (Journal) ที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล เช่ น ฐานข้อมูล Web of Science (Science Citation Index Expand, Social Sciences Citation Index, Art and Humanities Citation Index) หรื อฐานข้อมูล Scopus หรื อ ในฐานข้อมูลสากลอื่นๆ ที่เป็ นที่ ยอมรับในศาสตร์ น้ นั ๆ หรื อวารสารวิชาการที่ยอมรับโดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ให้เป็ นวารสารระดับนานาชาติ และมีชื่อปรากฏ ในบัญชีรายชื่อที่เผยแพร่ โดยสานักงานฯ หน่ วยงานหรือองค์ กรระดับชาติ หมายถึง หน่ วยงานราชการระดับกรมหรื อเทียบเท่าขึ้นไปหรื อ รัฐวิสาหกิจ หรื อองค์การมหาชน หรื อองค์กรกลางระดับชาติท้ งั ภาครัฐและเอกชน หลักธรรมาภิบาล3 หมายถึง การปกครอง การบริ หาร การจัดการ การควบคุม ดูแลกิจการ ต่างๆ ให้เป็ นไปในครรลองธรรม นอกจากนี้ ยังหมายถึงการบริ หารจัดการที่ดี ซึ่ งสามารถนาไปใช้ได้ท้ งั ภาครัฐและเอกชน ธรรมที่ใช้ในการบริ หารงานนี้ มีความหมายอย่างกว้างขวาง กล่าวคือ หาได้มี ความหมายเพียงหลักธรรมทางศาสนาเท่านั้น แต่รวมถึงศีลธรรม คุณธรรม จริ ยธรรม และความถูก ต้อง ชอบธรรมทั้งปวง ซึ่ งวิญญูชนพึงมีและพึงประพฤติปฏิบตั ิ อาทิ ความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์การภายนอก เป็ นต้น หลักธรรมาภิบาลของการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) ที่เหมาะสมจะ นามาปรับใช้ในภาครัฐมี 10 องค์ประกอบ ดังนี้4 1) หลักประสิ ทธิ ผล (Effectiveness) คือ ผลการปฏิบตั ิราชการที่บรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้ าหมายของแผนการปฏิ บตั ิราชการตามที่ ได้รับงบประมาณมาดาเนิ นการรวมถึ งสามารถ เที ย บเคี ย งกับ ส่ ว นราชการหรื อ หน่ ว ยงานที่ มี ภ ารกิ จ คล้า ยคลึ ง กัน และมี ผ ลการปฏิ บ ัติ ง านใน ระดับชั้นนาของประเทศเพื่ อให้เกิ ดประโยชน์สุข ต่อประชาชนโดยการปฏิ บ ตั ิ ราชการจะต้องมี ทิศ ทางยุท ธศาสตร์ และเป้ าประสงค์ที่ ชัดเจนมี ก ระบวนการปฏิ บตั ิ งานและระบบงานที่ เป็ น มาตรฐาน รวมถึงมีการติดตามประเมินผลและพัฒนา ปรับปรุ งอย่างต่อเนื่องและเป็ นระบบ

-----------------------------3

ดูเพิม่ เติม “คูมื่อนโยบายการกากับดูแลองคก์ ารที่ด”ี สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.)

4

ดูเพิม่ เติม “คู่มือการจัดระดับการกากับดูแลองค์การภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี (Good Governance Rating)” สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.)


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

81

2) หลักประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency) คือ การบริ หารราชการตามแนวทางการกากับดูแลที่ดี ที่มีการออกแบบกระบวนการปฏิบตั ิงานโดยใช้เทคนิคและเครื่ องมือการบริ หารจัดการที่เหมาะสม ให้องค์การสามารถใช้ทรัพยากรทั้งด้านต้นทุน แรงงานและระยะเวลาให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อ การพัฒนาขี ดความสามารถในการปฏิ บตั ิ ราชการตามภารกิ จเพื่อตอบสนองความต้องการของ ประชาชนและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกกลุ่ม 3) หลักการตอบสนอง (Responsiveness) คือ การให้บริ การที่สามารถดาเนิ นการได้ ภายในระยะเวลาที่กาหนด และสร้างความเชื่ อมัน่ ความไว้วางใจ รวมถึงตอบสนองความคาดหวัง หรื อความต้องการของประชาชนผูร้ ับบริ การ และผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยที่มีความหลากหลายและมี ความแตกต่าง 4) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) คือ การแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิ หน้ า ที่ แ ละผลงานต่ อ เป้ าหมายที่ ก าหนดไว้ โดยความรั บ ผิ ด ชอบนั้ น ควรอยู่ ใ นระดั บ ที่สนองต่อความคาดหวังของสาธารณะ รวมทั้งการแสดงถึ งความสานึ กในการรั บผิดชอบต่อ ปัญหาสาธารณะ 5) หลักความโปร่ งใส (Transparency) คือ กระบวนการเปิ ดเผยอย่างตรงไปตรงมา ชี้ แจง ได้เมื่อมีขอ้ สงสัยและสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอันไม่ตอ้ งห้ามตามกฎหมายได้อย่างเสรี โดย ประชาชนสามารถรู ้ ทุ ก ขั้น ตอนในการด าเนิ น กิ จ กรรมหรื อ กระบวนการต่ า งๆและสามารถ ตรวจสอบได้ 6) หลักการมีส่วนร่ วม (Participation) คือ กระบวนการที่ขา้ ราชการ ประชาชนและผูม้ ีส่วน ได้ส่วนเสี ยทุกกลุ่มมีโอกาสได้เข้าร่ วมในการรับรู ้ เรี ยนรู้ ทาความเข้าใจร่ วมแสดงทัศนะ ร่ วมเสนอ ปั ญหาหรื อ ประเด็นที่สาคัญที่เกี่ยวข้อง ร่ วมคิดแนวทางร่ วมการแก้ไขปั ญหา ร่ วมในกระบวนการ ตัดสิ นใจ และร่ วมกระบวนการพัฒนาในฐานะหุ น้ ส่ วนการพัฒนา 7) หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) คือ การถ่ายโอนอานาจการตัดสิ นใจ ทรัพยากร และภารกิจจากส่ วนราชการส่ วนกลางให้แก่หน่วยการปกครองอื่นๆ (ราชการบริ หาร ส่ วนท้องถิ่น) และภาคประชาชนดาเนินการแทนโดยมีอิสระตามสมควร รวมถึงการมอบอานาจ และความรับผิดชอบในการตัดสิ นใจและการดาเนินการให้แก่บุคลากร โดยมุ่งเน้นการสร้างความ พึงพอใจในการให้บริ การต่อผูร้ ับบริ การและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย การปรับปรุ งกระบวนการ และ เพิ่มผลิตภาพเพื่อผลการดาเนินงานที่ดีของส่ วนราชการ 8) หลักนิติธรรม (Rule of Law) คือ การใช้อานาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ ในการบริ หารราชการด้วยความเป็ นธรรม ไม่เลือกปฏิบตั ิ และคานึ งถึงสิ ทธิ เสรี ภาพของผูม้ ีส่วนได้ ส่ วนเสี ย


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

82

9) หลักความเสมอภาค (Equity) คือ การได้รับการปฏิบตั ิและได้รับบริ การอย่างเท่าเทียม กันโดยไม่มีการแบ่งแยกด้าน ชายหรื อหญิง ถิ่นกาเนิ ด เชื้ อชาติ ภาษา เพศ อายุความพิการ สภาพ ทางกายหรื อสุ ขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิ จและสังคม ความเชื่ อทางศาสนา การศึกษา การฝึ กอบรม และอื่นๆ 10) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) คือ การหาข้อตกลงทัว่ ไปภายในกลุ่มผูม้ ี ส่ วนได้ส่วนเสี ยที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งเป็ นข้อตกลงที่เกิดจากการใช้กระบวนการเพื่อหาข้อคิดเห็นจากกลุ่ม บุคคลที่ได้รับประโยชน์และเสี ยประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มที่ได้รับผลกระทบโดยตรงซึ่ งต้องไม่มี ข้อคัดค้านที่ยุติไม่ได้ในประเด็นที่สาคัญ โดยฉันทามติไม่จาเป็ นต้องหมายความว่าเป็ นความเห็น พ้องโดยเอกฉันท์ หลักสู ตรสาขาวิชาชี พ หมายถึง รายวิชาและประสบการณ์ท้ งั หมดที่ผเู ้ รี ยนต้องศึกษาเพื่อให้ได้รับ การรับรองจากสภาหรื อองค์กรวิชาชีพที่กาหนดตามกฎหมาย อาจารย์ ประจา หมายถึง ข้าราชการ พนักงาน และบุคลากรที่มีสัญญาจ้างกับสถาบันอุดมศึกษา ทั้งปี การศึกษา ซึ่ งมีหน้าที่ความรับผิดชอบตามพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

83

4. องค์ ประกอบคุณภาพ ตัวบ่ งชี้ และเกณฑ์ การประเมิน องค์ ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ หลักการ สถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งมีปรัชญา ปณิ ธาน และจุดเน้นที่อาจแตกต่างกัน ดังนั้น จึงเป็ น หน้า ที่ ที่ส ถาบันจะกาหนดวิสั ย ทัศน์ แผนกลยุทธ์ และแผนปฏิ บตั ิ การประจาปี ให้ชัดเจนและ สอดคล้องกับปรั ชญา ปณิ ธาน กฎหมาย และจุดเน้นของสถาบัน ที่ สนับสนุ นภารกิ จของ สถาบันอุดมศึกษาตามหลักการอุดมศึกษา มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชี พ (ถ้ามี) ตลอดจนสอดคล้องกับกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) และการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก ในกระบวนการกาหนดวิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์ สภาสถาบันเปิ ดโอกาสให้มีส่วนร่ วม ของสมาชิ ก ทุ ก กลุ่ ม ในสถาบัน และมี ก ารถ่ า ยทอดวิ สั ย ทัศ น์ แ ละแผนกลยุ ท ธ์ ที่ ก าหนดแล้ว ให้รับทราบทัว่ กันทั้งอาจารย์เจ้าหน้าที่ นักศึกษา ตลอดจนผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสี ย เช่ น ผูป้ กครอง ชุมชน ผูใ้ ช้บริ การและสังคมโดยรวม มาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สานักงานเลขาธิ การสภาการศึกษา 2. พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน 3. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2547 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 5. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 6. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 7. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (Thai QualificationFramework for Higher Education) (TQF: HEd.) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 8. หลักการอุดมศึกษา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

84

ตัวบ่ งชี้ จานวน 1 ตัวบ่งชี้ คือ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ตัวบ่ งชี้ที่ 1.1 : กระบวนการพัฒนาแผน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : สถาบันอุ ดมศึ ก ษามี พนั ธกิ จหลัก คือ การเรี ย นการสอน การวิจยั การบริ การทางวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม ในการดาเนิ นพันธกิจหลัก สถาบันอุดมศึกษาจาเป็ นต้องมีการกาหนดทิศทางการพัฒนาและการดาเนิ นงานของสถาบันเพื่อให้ สถาบันดาเนินการสอดคล้องกับอัตลักษณ์หรื อจุดเน้น มีคุณภาพ มีความเป็ นสากล และเจริ ญเติบโต อย่างยัง่ ยืน ดังนั้น สถาบันต้องกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ตลอดจนมีการพัฒนาแผนกลยุทธ์และแผน ดาเนินงานเพื่อเป็ นแนวทางในการดาเนินงานของสถาบัน ในการพัฒนาแผนกลยุทธ์ นอกเหนือจากการพิจารณาอัตลักษณ์หรื อ จุดเน้นของสถาบัน แล้ว จะต้องคานึงถึงหลักการอุดมศึกษา กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาวมาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ ดา้ นต่างๆ ของชาติ รวมถึงทิศทาง การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ และการเปลี่ยนแปลงของกระแส โลก ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนิ นงานของสถาบันเป็ นไปอย่างมีคุณภาพ เป็ นที่ยอมรับ และสามารถ ตอบสนองสังคมในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายของสภาสถาบัน โดยการมีส่วนร่ วม ของบุคลากรในสถาบัน และได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน โดยเป็ นแผนที่ เชื่ อมโยงกับปรัชญาหรื อปณิ ธานและพระราชบัญญัติสถาบัน ตลอดจนสอดคล้องกับ จุดเน้นของกลุ่มสถาบัน กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 25512565) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551-2554) 2. มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ระดับสถาบันไปสู่ ทุกหน่วยงานภายใน 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธ์เป็ นแผนปฏิบตั ิการประจาปี ครบ 4 พันธกิจ คือ ด้าน การเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ การทางวิชาการ และการทานุ บารุ งศิลปะและ วัฒนธรรม 4. มีตวั บ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบตั ิการประจาปี และค่าเป้ าหมายของแต่ละตัวบ่งชี้ เพื่อวัดความสาเร็ จของการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิการประจาปี


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

85

5. มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี ครบ 4 พันธกิจ 6. มีการติดตามผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบตั ิการประจาปี อย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง และรายงานผลต่อผูบ้ ริ หารเพื่อพิจารณา 7. มีการประเมินผลการดาเนิ นงานตามตัวบ่งชี้ ของแผนกลยุทธ์ อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง และรายงานผลต่อผูบ้ ริ หารและสภาสถาบันเพื่อพิจารณา 8. มีการนาผลการพิจารณา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะของสภาสถาบันไปปรับปรุ ง แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิการประจาปี เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรื อ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 หรื อ 7 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 8 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

86

องค์ ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต หลักการ พันธกิจที่สาคัญที่สุดของสถาบันอุดมศึกษา คือ การผลิตบัณฑิต หรื อการจัดกิจกรรมการ เรี ยนการสอนให้ผเู้ รี ยนมีความรู้ในวิชาการและวิชาชี พ มีคุณลักษณะตามหลักสู ตรที่กาหนดการ เรี ยนการสอนในยุคปัจจุบนั ใช้หลักการของการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ดังนั้น พันธกิ จดัง กล่ า วจึ ง เกี่ ย วข้องกับ การบริ หารจัดการหลัก สู ตรและการเรี ย นการสอน เริ่ ม ตั้ง แต่ การกาหนดปั จจัยนาเข้าที่ได้มาตรฐานตามที่กาหนด ประกอบด้วย การมีอาจารย์ที่มีปริ มาณและ คุณภาพตามมาตรฐานหลักสู ตร มีกระบวนการบริ หารจัดการการเรี ยนการสอนที่อาศัยหลักการ ร่ วมมือรวมพลังของทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถาบัน ดังนั้น จึงจาเป็ นต้องมีการวางระบบและกลไกการควบคุมคุณภาพขององค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ได้แก่ (ก) หลักสู ตรการศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ (ข) คณาจารย์และระบบ การพัฒนาอาจารย์ (ค) สื่ อการศึกษาและเทคนิ คการสอน (ง) ห้องสมุดและแหล่งการเรี ยนรู ้ อื่น (จ) อุปกรณ์การศึกษา (ฉ) สภาพแวดล้อมในการเรี ยนรู้และบริ การการศึกษา (ช) การวัดผลการศึกษา และสั ม ฤทธิ ผลทางการเรี ย นของนัก ศึ ก ษา (ซ) องค์ป ระกอบอื่ นตามที่ แ ต่ ล ะสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร ตามที่กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 กาหนด มาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 3. มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2547 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 4. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 5. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 6. ประกาศ ก.พ.อ. เรื่ อง มาตรฐานของจรรยาบรรณที่พึงมีในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

87

7. กรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2552 (Thai Qualification Framework for Higher Education) (TQF: HEd.) สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 8. กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 กระทรวงศึกษาธิการ 9. แนวทางการปฏิ บตั ิตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2552 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 10. เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา 11. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) ตัวบ่ งชี้ จานวน 8 ตัวบ่งชี้ คือ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริ หารหลักสู ตร 2.2 อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก 2.3 อาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู้ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรี ยนการสอน 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรี ยนตามคุณลักษณะของบัณฑิต 2.8 ระดับความสาเร็ จของการเสริ มสร้างคุณธรรมจริ ยธรรมที่จดั ให้กบั นักศึกษา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

88

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.1 : ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสู ตร ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : สถาบัน อุ ด มศึ ก ษามี ห น้า ที่ พ ัฒ นาหลัก สู ต รให้ ส อดคล้อ งกับ ปรั ช ญา ปณิ ธาน วิสัยทัศน์ พันธกิ จและความพร้ อมของสถาบัน ตลอดจนสอดคล้องกับความต้องการ ทางด้านวิชาการและวิชาชีพของสังคม มีการประเมินหลักสู ตรอย่างสม่ าเสมอตามหลักเกณฑ์และ ตัวบ่ ง ชี้ ข องการประกันคุ ณภาพหลัก สู ตร มี ก ารวางระบบและกลไกบริ หารหลัก สู ตรอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพและมีการปรับปรุ งหลักสู ตรให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง เกณฑ์ มาตรฐานทัว่ ไป : 1. มี ระบบและกลไกการเปิ ดหลักสู ตรใหม่ และปรั บปรุ ง หลักสู ตรตามแนวทางปฏิ บ ตั ิ ที่กาหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 2. มีระบบและกลไกการปิ ดหลักสู ตรตามแนวทางปฏิบตั ิที่กาหนดโดยคณะกรรมการการ อุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 3. ทุกหลักสู ตรมีการดาเนินงานให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับ อุ ดมศึ ก ษาแห่ ง ชาติ (การดาเนิ นงานตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หมายถึง ต้องมีการประเมินผลตาม “ตัวบ่งชี้ ผลการดาเนิ นงานตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรื อสาขาวิชา เพื่อการประกัน คุณภาพหลักสู ตรและการเรี ยนการสอน” กรณี ที่หลักสู ตรใดยังไม่มีประกาศมาตรฐาน คุณวุฒิสาขาหรื อสาขาวิชา ให้ประเมินตามตัวบ่งชี้ กลางที่กาหนดในภาคผนวก (ก) ส าหรั บ หลัก สู ตรสาขาวิช าชี พ ต้องได้รับการรั บรองหลัก สู ตรจากสภาหรื อ องค์ก ร วิชาชีพที่เกี่ยวข้องด้วย (หมายเหตุ : สาหรั บหลักสู ตรเก่าหรื อหลักสู ตรปรับปรุ งที่ยงั ไม่ได้ดาเนิ นการตาม กรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุ ดมศึ กษาแห่ งชาติก่อนปี การศึ กษา 2555 ให้ยึดตาม เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 ) 4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มีการดาเนิ นการได้ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จดั การศึกษา และมีการประเมินหลักสู ตรทุกหลักสู ตร อย่างน้อยตามกรอบเวลาที่กาหนดในเกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรฯ กรณี หลักสู ตรที่ ดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ จะต้องควบคุมกากับ ให้การดาเนิ นงานตามตัวบ่งชี้ ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน 5 ข้อแรกและอย่างน้อย ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ที่กาหนดในแต่ละปี ทุกหลักสู ตร


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

89

5. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มีการดาเนิ นการได้ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จดั การศึกษา และมีการพัฒนาหลักสู ตรทุกหลักสู ตรตาม ผลการประเมินในข้อ 4 กรณี หลักสู ตรที่ ดาเนิ นงานตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ จะต้องควบคุมกากับให้การดาเนิ นงานตามตัวบ่งชี้ ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมินครบ ทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสู ตร เกณฑ์ มาตรฐานเพิม่ เติมเฉพาะกลุ่ม : 6. มี ค วามร่ ว มมื อ ในการพัฒ นาและบริ ห ารหลัก สู ตรระหว่า งสถาบัน กับ ภาครั ฐหรื อ ภาคเอกชนที่ เกี่ ยวข้องกับวิชาชี พของหลักสู ตร มากกว่าร้ อยละ 30 ของจานวน หลักสู ตรวิชาชีพทั้งหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ค2) 7. หลักสู ตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจยั ที่เปิ ดสอน (ปริ ญญาโท เฉพาะแผน ก และ ปริ ญญาเอก) มีจานวนมากกว่าร้ อยละ 50 ของจานวนหลักสู ตรทั้งหมดทุกระดับ การศึกษา (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง) 8. หลักสู ตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจยั ที่เปิ ดสอน (ปริ ญญาโท เฉพาะแผน ก และ ปริ ญญาเอก) มีจานวนนักศึกษาที่ศึกษาอยูใ่ นหลักสู ตรมากกว่าร้อยละ 30 ของจานวน นักศึกษาทั้งหมด ทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง) หมายเหตุ : 1. การนับหลักสู ตรปริ ญญาโทแผน ก และปริ ญญาเอก ให้นบั หลักสู ตรที่มีนกั ศึกษา ลงทะเบียนเรี ยนในรอบปี การศึกษาที่ทาการประเมิน สาหรับการนับหลักสู ตรทั้งหมด ให้นบั หลักสู ตรที่ได้รับอนุมตั ิให้เปิ ดสอนทุกระดับปริ ญญา โดยนับรวมหลักสู ตรที่งด รับนักศึกษา แต่ไม่นบั รวมหลักสู ตรที่สภาสถาบันอนุมตั ิให้ปิดดาเนินการแล้ว 2. การนับจานวนนักศึกษาในเกณฑ์มาตรฐานข้อ 8 ให้นับตามจานวนหัวนักศึกษา ในปี การศึกษานั้นๆ และนับทั้งนักศึกษาภาคปกติและภาคพิเศษ ทั้งในที่ต้ งั และนอก ที่ต้ งั 3. คณะกรรมการรับผิดชอบ หมายถึง คณะกรรมการที่รับผิดชอบในการเสนอหลักสู ตร ใหม่ หรื อเสนอปรับปรุ งหลักสู ตร หรื อเสนอปิ ดหลักสู ตร และคณะกรรมการ ที่รับผิดชอบบริ หารหลักสู ตรให้เป็ นไปตามรายละเอียดหลักสู ตรที่สภามหาวิทยาลัย อนุมตั ิ ซึ่ งอาจเป็ นชุดเดียวกันทั้งหมดหรื อต่างชุดก็ได้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

90

เกณฑ์ การประเมิน : 1. เกณฑ์ ทวั่ ไป คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ

คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

2. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 ค2 และ ง คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ หรื อ ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไป

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ ตามเกณฑ์ทวั่ ไป และครบถ้วนตาม เกณฑ์มาตรฐาน เพิ่มเติมเฉพาะ กลุ่ม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

91

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.2 : อาจารย์ ประจาทีม่ ีคุณวุฒิปริญญาเอก ชนิดของตัวบ่ งชี้ : ปัจจัยนาเข้า คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : การศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเป็ นการศึกษาระดับสู งสุ ดที่ตอ้ งการบุคลากร ที่มีความรู ้ความสามารถและความลุ่มลึกทางวิชาการ เพื่อปฏิบตั ิพนั ธกิจสาคัญของสถาบันในการ ผลิตบัณฑิต ศึกษาวิจยั เพื่อการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู ้ ดังนั้น สถาบันจึงควรมีอาจารย์ที่มีระดับคุณวุฒิทางการศึกษาในสัดส่ วนที่เหมาะสมกับพันธกิจหรื อจุดเน้น ของสถาบัน เกณฑ์ การประเมิน : สถาบันสามารถเลือกใช้ เกณฑ์การประเมินจาก 2 แนวทางต่อไปนี้ 1) แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกเป็ นคะแนนระหว่าง 0 – 5 หรือ 2) แปลงค่ า การเพิ่ ม ขึ้ นของค่ า ร้ อ ยละของอาจารย์ ป ระจ าที่ มี คุ ณ วุ ฒิ ป ริ ญญาเอก เปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมาเป็ นคะแนนระหว่าง 0 – 5 1. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 1) ค่าร้ อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกที่กาหนดให้เป็ นคะแนน เต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป หรือ 2) ค่ า การเพิ่ ม ขึ้ นของร้ อ ยละของอาจารย์ ป ระจ าที่ มี คุ ณ วุ ฒิ ป ริ ญญาเอก เปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมา ที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้นไป 2. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 และ ง 1) ค่าร้ อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกที่กาหนดให้เป็ นคะแนน เต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป หรือ 2) ค่ า การเพิ่ ม ขึ้ นของร้ อ ยละของอาจารย์ ป ระจ าที่ มี คุ ณ วุ ฒิ ป ริ ญญาเอก เปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมา ที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 12 ขึ้นไป สู ตรการคานวณ : 1. คานวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาเอก ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก =

จานวนอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด

x 100


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

92

2. แปลงค่าร้อยละที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ =

ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีวฒ ุ ิปริ ญญาเอก ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5

x5

หรือ 1. ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกเปรี ยบเทียบกับปี ที่ ผ่านมา = ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกในปี ที่ประเมิน ลบด้วย ร้อยละของ อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกในปี ก่อนหน้าปี ที่ประเมิน 2. แปลงค่าการเพิ่มขึ้นของร้ อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอกเปรี ยบเทียบ กับปี ที่ผา่ นมา ที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนที่ได้ =

ค่าการเพิม่ ขึ้นของร้อยละอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก เปรี ยบเทียวกับปี ที่ผา่ นมา ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก เปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมาที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5

x5

หมายเหตุ : 1. คุณวุฒิปริ ญญาเอก พิจารณาจากระดับคุณวุฒิที่ได้รับหรื อเทียบเท่าตามหลักเกณฑ์การ พิจารณาคุณวุฒิของกระทรวงศึกษาธิ การ กรณี ที่มีการปรับวุฒิการศึกษาให้มีหลักฐานการสาเร็ จ การศึกษาภายในรอบปี การศึกษานั้น ทั้งนี้ อาจใช้คุณวุฒิอื่นแทนคุณวุฒิปริ ญญาเอกได้สาหรับกรณี ที่บางสาขาวิชาชี พ มีคุณวุฒิอื่นที่เหมาะสมกว่า ทั้งนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ การอุดมศึกษา 2. การนับจานวนอาจารย์ประจา ให้นบั ตามปี การศึกษาและนับทั้งที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลา ศึ กษาต่อ ในกรณี ที่มี อาจารย์บ รรจุ ใหม่ ให้คานวณตามเกณฑ์อาจารย์ป ระจาที่ ระบุ ในคาชี้ แจง เกี่ยวกับการนับจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา 3. คณะสามารถเลื อกประเมิ นตามเกณฑ์การประเมิ นแนวทางใดแนวทางหนึ่ งก็ได้ไ ม่ จาเป็ นต้องเลือกเหมือนกับสถาบัน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

93

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.3 : อาจารย์ประจาทีด่ ารงตาแหน่ งทางวิชาการ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : ปัจจัยนาเข้า คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : สถาบันอุดมศึกษาถือเป็ นขุมปั ญญาของประเทศ และมีความรับผิดชอบที่ จะต้องส่ งเสริ มให้อาจารย์ในสถาบันทาการศึกษาวิจยั เพื่อแสวงหาและพัฒนาองค์ความรู ้ในศาสตร์ สาขาวิชาต่างๆ อย่างต่อเนื่ อง เพื่อนาไปใช้ในการเรี ยนการสอน รวมทั้งการแก้ไขปั ญหาและพัฒนา ประเทศ การดารงตาแหน่งทางวิชาการเป็ นสิ่ งสะท้อนการปฏิบตั ิงานดังกล่าวของอาจารย์ตามพันธ กิจของสถาบัน เกณฑ์ การประเมิน : สถาบันสามารถเลือกใช้ เกณฑ์การประเมินจาก 2 แนวทางต่อไปนี้ 1) แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการเป็ นคะแนนระหว่าง 0 – 5 หรือ 2) แปลงค่ า การเพิ่ ม ขึ้ นของค่ า ร้ อยละของอาจารย์ป ระจาที่ ดารงตาแหน่ ง ทางวิช าการ เปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมาเป็ นคะแนนระหว่าง 0 – 5 1. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 1) ค่ า ร้ อ ยละของอาจารย์ป ระจ าที่ ด ารงต าแหน่ ง ผู้ช่ ว ยศาสตราจารย์ รอง ศาสตราจารย์และศาสตราจารย์รวมกัน ที่ กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป หรือ 2) ค่ า การเพิ่ ม ขึ้ นของร้ อ ยละของอาจารย์ ป ระจ าที่ ด ารงต าแหน่ ง ผู ้ ช่ ว ย ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกัน เปรี ยบเทียบกับปี ที่ ผ่านมา ที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 12 ขึ้นไป 2. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 และ ง 1) ค่ า ร้ อ ยละของอาจารย์ ป ระจ าที่ ด ารงต าแหน่ ง รองศาสตราจารย์ แ ละ ศาสตราจารย์ร่วมกัน ที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป หรือ 2) ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกัน เปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมา ที่กาหนดให้เป็ นคะแนน เต็ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้นไป


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

94

สู ตรการคานวณ : 1. คานวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ =

จานวนอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด

x 100

2. แปลงค่าร้อยละที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ =

ร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5

x5

หรือ 1. ค่าการเพิ่มขึ้นของร้ อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่ งทางวิชาการเปรี ยบเทียบ กับปี ที่ผา่ นมา = ร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการในปี ที่ประเมิน ลบด้วยร้อย ละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการในปี ก่อนหน้าปี ที่ประเมิน 2. แปลงค่ า การเพิ่ ม ขึ้ น ของร้ อ ยละของอาจารย์ป ระจ าที่ ด ารงต าแหน่ ง ทางวิ ช าการ เปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมา ที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนที่ได้ =

ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ เปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมา ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ เปรี ยบเทียบกับปี ที่ผา่ นมาที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5

x5

หมายเหตุ : 1. การนับจานวนอาจารย์ประจา ให้นบั ตามปี การศึกษาและนับทั้งที่ปฏิ บตั ิงานจริ งและ ลาศึกษาต่อ 2. คณะสามารถเลื อ กประเมิ น ตามเกณฑ์ ก ารประเมิ น แนวทางใดแนวทางหนึ่ ง ก็ ไ ด้ ไม่จาเป็ นต้องเลือกเหมือนกับสถาบัน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

95

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.4 : ระบบการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : การจัดการเรี ยนการสอนโดยเน้นผูเ้ รี ย นเป็ นสาคัญ จาเป็ นต้องมีก าร บริ หารและพัฒนาคณาจารย์อย่างเหมาะสมทั้งในด้านเทคนิคการสอน การประเมินผลการเรี ยนรู้ และการใช้สื่อการสอนที่ทนั สมัย รวมทั้งมีการปรับกระบวนการเรี ยนการสอนโดยใช้ผลการเรี ยนรู้ และข้อมูลจากความคิดเห็นของผูเ้ รี ยน นอกจากนั้น ยังจาเป็ นต้องมีบุคลากรสายสนับสนุ นที่มี คุณภาพสอดคล้องกับพันธกิจและเป้ าหมายของสถาบัน เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีแผนการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์ท้ งั ด้านวิชาการ เทคนิ คการสอนและการ วัดผลและมีแผนการบริ หารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ขอ้ มูล เชิงประจักษ์ 2. มีการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็ นไปตามแผนที่ กาหนด 3. มีสวัสดิการเสริ มสร้างสุ ขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกาลังใจให้คณาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุนสามารถทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 4. มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนนาความรู้และทักษะที่ได้ จากการพัฒนามาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนและการวัดผลการเรี ยนรู้ของนักศึกษา ตลอดจนการปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้อง 5. มีการให้ความรู้ดา้ นจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุม ให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบตั ิ 6. มีการประเมินผลความสาเร็ จของแผนการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุน 7. มี ก ารนาผลการประเมิ น ไปปรั บปรุ งแผนหรื อ ปรั บ ปรุ งการบริ หารและการพัฒนา คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

96

หมายเหตุ : หลักฐานสาหรับการประเมินในเกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 3 เช่น ผลการประเมิน หรื อผลการ สารวจความพึงพอใจของคณาจารย์และบุคลากร ด้านสวัสดิการ การเสริ มสร้างสุ ขภาพที่ดี และการ สร้างขวัญและกาลังใจ หรื อหลักฐานเชิงประจักษ์อื่นๆ ที่เชื่อมโยงให้เห็นการทางานได้ดีข้ ึน เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรื อ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 หรื อ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

97

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.5 : ห้ องสมุด อุปกรณ์ การศึกษา และสภาพแวดล้ อมการเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : ปัจจัยนาเข้า คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : นอกเหนื อจากการเรี ยนการสอน สถาบันอุดมศึกษาควรจัดบริ การด้าน กายภาพอย่างครบถ้วน โดยเฉพาะในเรื่ องการบริ การสิ่ งอานวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรี ยน เช่น สื่ อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ห้องสมุ ด และแหล่ งเรี ยนรู ้ อื่นๆ การบริ การด้านงานทะเบียน การ บริ การนักศึกษานานาชาติ เป็ นต้น นอกจากนั้น ยังจาเป็ นต้องมีสภาพแวดล้อมและการบริ การด้าน กายภาพที่ส่งเสริ มคุณภาพชี วิตของนักศึกษา เช่น สิ่ งแวดล้อมในสถาบัน หอพักนักศึกษาห้องเรี ยน สถานที่ออกกาลังกาย บริ การอนามัย การจัดจาหน่ายอาหาร เป็ นต้น เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีการจัดการหรื อจัดบริ การเพื่อให้นกั ศึกษามีเครื่ องคอมพิวเตอร์ ใช้ในอัตราไม่สูงกว่า 8 FTES ต่อเครื่ อง 2. มีบริ การห้องสมุดและแหล่งเรี ยนรู ้อื่นๆ ผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และมีการ ฝึ กอบรมการใช้งานแก่นกั ศึกษาทุกปี การศึกษา 3. มีบริ การด้านกายภาพที่ เหมาะสมต่อการจัดการเรี ยนการสอนและการพัฒนานักศึกษา อย่างน้อยในด้านห้องเรี ยน ห้องปฏิ บตั ิการ อุปกรณ์ การศึกษา และจุ ดเชื่ อมต่อ อินเตอร์เน็ต 4. มีบริ การสิ่ งอานวยความสะดวกที่จาเป็ นอื่นๆ อย่างน้อยในด้านงานทะเบียนนักศึกษา ผ่านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ การบริ การอนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการ หรื อจัดบริ การด้านอาหาร และสนามกีฬา 5. มีระบบสาธารณู ปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริ เวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่ องประปา ไฟฟ้ า ระบบกาจัดของเสี ย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบ และอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภยั ในบริ เวณอาคารต่าง ๆ โดยเป็ นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 6. มีผลการประเมินคุณภาพของบริ การในข้อ 2 – 5 ทุกข้อไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 7. มีการนาผลการประเมินคุณภาพในข้อ 6 มาใช้เป็ นข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริ การ ด้านกายภาพที่สนองความต้องการของผูร้ ับบริ การ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

98

หมายเหตุ : 1. ในเกณฑ์มาตรฐานข้อ 1 ให้นบั รวม notebook และ mobile device ต่างๆ ของ นักศึกษา ที่มีการลงทะเบียนการใช้ wifi กับสถาบันด้วย 2. การคิดจานวน FTES ให้นาจานวน FTES ของแต่ละระดับการศึกษารวมเข้าด้วยกัน โดยไม่ตอ้ งเทียบเป็ น FTES ของระดับปริ ญญาตรี เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ 4 หรื อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

99

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : กระบวนการจัดการเรี ยนการสอนต้องเป็ นไปตามแนวทางที่กาหนดใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ น สาคัญ มีการจัดรู ปแบบการจัดการเรี ยนการสอนที่เหมาะสมและยืดหยุน่ โดยการมีส่วนร่ วมจาก บุคคล สถาบัน หรื อชุมชนภายนอก มีการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ที่คานึ งถึงความแตกต่างเฉพาะตัว ของนักศึกษา ซึ่ งเป็ นเรื่ องที่สาคัญมากต่อความสนใจใฝ่ รู ้และต่อศักยภาพในการแสวงหาความรู ้ของ นักศึกษา เช่น การเปิ ดโอกาสให้นกั ศึกษาได้คน้ คว้าวิจยั โดยอิสระในรู ปโครงการวิจยั ส่ วนบุคคล การจัดให้มีชวั่ โมงเรี ยนในภาคปฏิบตั ิ ในห้องปฏิบตั ิการ รวมทั้งมีการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม อย่างพอเพียง มีการจัดสัมมนา จัดประชุ มเชิงปฏิบตั ิการ จัดทาโครงการมีการเรี ยนการสอนทาง เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (internet) และมีห้องสมุดและระบบสื บค้นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เพียงพอ สาหรับการศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติมได้ดว้ ยตนเอง เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ทุกหลักสู ตร 2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสู ตร มีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี ) ก่อนการเปิ ดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ตามที่ กาหนดในกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 3. ทุกหลักสู ตรมีรายวิชาที่ ส่งเสริ มทักษะการเรี ยนรู้ ดว้ ยตนเอง และการให้ผูเ้ รี ยนได้ เรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิท้ งั ในและนอกห้องเรี ยนหรื อจากการทาวิจยั 4. มีการให้ผมู ้ ีประสบการณ์ ทางวิชาการหรื อวิชาชี พจากหน่ วยงานหรื อชุ มชนภายนอก เข้ามามีส่วนร่ วมในกระบวนการเรี ยนการสอนทุกหลักสู ตร 5. มี ก ารจัด การเรี ย นรู้ ที่ พ ฒ ั นาจากการวิ จ ัย หรื อ จากกระบวนการจัด การความรู้ เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน 6. มีการประเมิ นความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่มีต่อคุ ณภาพการจัดการเรี ยนการสอนและ สิ่ งสนับสนุ นการเรี ยนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความพึง พอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 7. มีก ารพัฒนาหรื อปรั บ ปรุ งการจัดการเรี ย นการสอน กลยุทธ์ การสอน หรื อการ ประเมินผลการเรี ยนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

100

หมายเหตุ : 1. มหาวิทยาลัยหรื อคณะจะต้องประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่มีต่อคุณภาพการเรี ยน การสอนและสิ่ งสนับสนุนการเรี ยนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา ยกเว้น รายวิชาที่ไม่ มีการเรี ยนการสอนในชั้นเรี ยนหรื อในห้องปฏิบตั ิการ เช่ น การฝึ กงาน สหกิจศึกษา การค้นคว้าอิสระ วิชาโครงงาน สารนิพนธ์ และวิทยานิพนธ์ เป็ นต้น 2. งานวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนตามเกณฑ์ ขอ้ 5 หมายถึง งานวิจยั ของผูส้ อนของ สถาบันที่ ได้พฒั นาขึ้ น และนาไปใช้ในการพัฒนาวิธีการสอน กรณี หลักสู ตรที่ ไม่ เป็ นไปตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ (TQF) ต้องมีการจัดทา รายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ก่อนการเปิ ดสอนใน แต่ละภาคการศึกษาด้วย เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

101

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.7

: ระบบและกลไกการพัฒนาสั มฤทธิผลการเรียนตาม คุณลักษณะของบัณฑิต ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : คุณลักษณะของบัณฑิต หมายถึง คุ ณสมบัติที่พึงประสงค์ซ่ ึ งผูส้ าเร็ จ การศึกษาระดับอุดมศึกษาพึงมี ประกอบด้วย 2 ส่ วน คือ คุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบ มาตรฐานคุ ณวุฒิแห่ งชาติของแต่ละหลักสู ตร และคุณลักษณะของบัณฑิตตามความต้องการของ ผูใ้ ช้บณั ฑิต คุณลักษณะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่ งชาติมี 5 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรมจริ ยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้าน ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศส่ วนคุณลักษณะบัณฑิต ตามความต้องการของผูใ้ ช้บณ ั ฑิต อาจมีความแตกต่างกันตามลักษณะอาชี พหรื อบริ บทของผูใ้ ช้ และอาจปรากฏในกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิแห่ งชาติ หรื อที่ มีลกั ษณะเพิ่มเติมจากกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ เช่น การบริ หารจัดการ การเป็ นผูใ้ ฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน การก้าวทันวิทยาการ ความสามารถในการ ประยุกต์ความรู ้ กบั การปฏิบตั ิงานจริ ง สาหรับผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หรื อผูส้ าเร็ จ การศึกษาในหลักสู ตรที่เน้นการวิจยั ควรมีคุณลักษณะเพิ่มเติมด้านความเป็ นนักวิชาการ การเป็ นผูน้ า ทางความคิด โดยเฉพาะความสามารถด้านการคิดเชิงวิพากษ์ และการนาเสนอผลงาน เกณฑ์ มาตรฐานทัว่ ไป : 1. มีการสารวจคุ ณลักษณะของบัณฑิ ตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของผูใ้ ช้บณ ั ฑิ ต อย่างน้อยสาหรับทุกหลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี ทุกรอบระยะเวลาตามแผนกาหนด การศึกษาของหลักสู ตร 2. มีการนาผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรับปรุ งหลักสู ตร การจัดการเรี ยนการสอนการ วัดผลการศึกษาและสัมฤทธิ ผลทางการเรี ยนที่ส่งเสริ มทักษะอาชีพและคุณลักษณะของ บัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามความต้องการของผูใ้ ช้บณั ฑิต 3. มี ก ารส่ ง เสริ มสนับ สนุ น ทรั พ ยากรทั้ง ด้ า นบุ ค ลากร เทคโนโลยี ส ารสนเทศ และงบประมาณที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต 4. มีระบบและกลไกการส่ งเสริ มให้นกั ศึกษาระดับปริ ญญาตรี และบัณฑิ ตศึกษาเข้าร่ วม กิ จกรรมการประชุ ม วิช าการหรื อนาเสนอผลงานทางวิช าการในที่ ประชุ ม ระหว่า ง สถาบัน หรื อที่ประชุมระดับชาติหรื อนานาชาติ 5. มี กิ จ กรรมเสริ มสร้ า งคุ ณ ธรรมจริ ยธรรมให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญญาตรี และ บัณฑิตศึกษาที่จดั โดยสถาบัน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

102

เกณฑ์ มาตรฐานเพิม่ เติมเฉพาะกลุ่ม : 6. มีระบบและกลไกสนับสนุนการประยุกต์ใช้ผลงานจากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา และมีการรับรองการใช้ประโยชน์จริ งจากหน่วยงานภาครัฐ หรื อเอกชน หรื อหน่วยงานวิชาชีพ (เฉพาะกลุ่ม ค 1) 7. มีก ารพัฒนาทัก ษะนัก ศึ กษาในการจัดทาบทความจากวิทยานิ พนธ์และมีก ารนาไป ตีพิมพ์เผยแพร่ ในวารสารระดับนานาชาติ (เฉพาะกลุ่ม ง) เกณฑ์ การประเมิน : 1. เกณฑ์ ทวั่ ไป คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 2. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค 1 และ ง คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

คะแนน 4

มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 หรื อ 5 ข้อ ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไป

คะแนน 5 มีการดาเนินการ ครบ 5 ข้อตาม เกณฑ์ทวั่ ไปและ ครบถ้วนตาม เกณฑ์มาตรฐาน เพิ่มเติมเฉพาะ กลุ่​่ม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

103

ตัวบ่ งชี้ที่ 2.8

: ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้ างคุณธรรมจริยธรรม ทีจ่ ัดให้ กบั นักศึกษา ชนิดของตัวบ่ งชี้ : ผลผลิต คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : คุณธรรมจริ ยธรรมของนักศึกษาเป็ นคุ ณลักษณะที่พึงประสงค์และเป็ น ปั จจัยสาคัญของคุ ณภาพบัณฑิ ตตามเจตนารมณ์ ของพระราชบัญญัติการศึ กษาแห่ งชาติและกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ รวมทั้งความคาดหวังของผูใ้ ช้บณ ั ฑิตและสังคมดังนั้น สถาบัน จึ ง ควรมี ก ารวัด ระดั บ ความส าเร็ จของการส่ งเสริ มคุ ณ ธรรมจริ ยธรรมที่ ส ถาบั น จัดให้กบั นักศึกษา เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มี การกาหนดพฤติ กรรมด้านคุ ณธรรมจริ ย ธรรมสาหรั บ นักศึ กษาที่ ตอ้ งการส่ งเสริ ม ไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร 2. มี ก ารถ่ า ยทอดหรื อ เผยแพร่ พ ฤติ ก รรมด้า นคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมส าหรั บ นัก ศึ ก ษาที่ ต้องการส่ งเสริ มตามข้อ 1 ไปยังผูบ้ ริ หาร คณาจารย์ นักศึกษาและผูเ้ กี่ยวข้องทราบอย่าง ทัว่ ถึงทั้งสถาบัน 3. มีโครงการหรื อกิจกรรมส่ งเสริ มการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริ ยธรรมที่กาหนด ในข้อ 1 โดยระบุตวั บ่งชี้และเป้ าหมายวัดความสาเร็ จ 4. มี ก ารประเมิ นผลโครงการหรื อกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม คุ ณธรรมจริ ย ธรรมของนัก ศึ ก ษา ตามตัวบ่งชี้ และเป้ าหมายที่กาหนดในข้อ 3 โดยมีผลการประเมินบรรลุ เป้ าหมายอย่าง น้อยร้อยละ 90 ของตัวบ่งชี้ 5. มีนกั ศึกษาหรื อกิจกรรมที่เกี่ยวกับนักศึกษาได้รับการยกย่องชมเชย ประกาศเกียรติคุณ ด้านคุณธรรมจริ ยธรรม โดยหน่วยงานหรื อองค์กรระดับชาติ หมายเหตุ : 1. การยกย่องชมเชยประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรม จริ ยธรรม หากดาเนินการในระดับ มหาวิทยาลัย ต้องมีกรรมการภายนอกมหาวิทยาลัยอย่างน้อยร้อยละ 50 และมีผเู ้ ข้าร่ วม การแข่งขันหรื อเข้าร่ วมการคัดเลือกที่มาจากหลากหลายสถาบัน (ตั้งแต่ 3 สถาบันขึ้น ไป)


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

104

2. หน่ วยงานหรื อองค์กรระดับชาติ หมายถึ ง หน่ วยงานนอกสถาบันระดับกรมหรื อ เทียบเท่าขึ้นไป (เช่น ระดับจังหวัด) หรื อรัฐวิสาหกิจ หรื อองค์การมหาชน หรื อบริ ษทั มหาชนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ หรื อองค์กรกลางระดับชาติท้ งั ภาครัฐและ เอกชน (เช่น สภาอุตสาหกรรม สภาหอการค้า สภาวิชาชีพ) เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

105

องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา หลักการ การดาเนิ นงานด้านกิ จการนักศึ กษาเป็ นกิ จกรรมที่ สถาบันอุ ดมศึ กษาสนับสนุ นส่ งเสริ ม เพื่อให้นกั ศึกษาเป็ นบัณฑิตที่มีคุณสมบัติพร้อม นอกเหนือจากการจัดการเรี ยนการสอนที่จดั ขึ้นตาม หลักสู ตร กิจกรรมการพัฒนานักศึกษาแบ่งออกได้เป็ นสองส่ วน คือ (1) การจัดบริ การแก่นกั ศึกษา และศิษย์เก่าซึ่ งสถาบันจัดขึ้นให้สอดคล้องกับความต้องการ และเกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อนักศึกษา และศิ ษย์เก่า และ (2) การจัดกิ จกรรมนักศึกษาที่ ดาเนิ นการโดยองค์กรนักศึกษาซึ่ งได้รับการ สนับสนุ นส่ งเสริ มจากสถาบัน ทั้งนี้ เพื่อให้นกั ศึกษาได้พฒั นาร่ างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ตลอดจนคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ได้แก่ คุณธรรม จริ ยธรรม ความรู้ ทักษะทางปั ญญา ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุ คคลและความรั บผิดชอบ รวมทั้งทักษะการวิเคราะห์ เชิ งตัวเลข การสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 3. มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2547 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 4. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 5. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 6. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (Thai QualificationFramework for Higher Education) (TQF: HEd.) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 7. มาตรฐานกิจการนักศึกษา พ.ศ. 2541 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 8. มาตรฐานการประเมิ นคุ ณภาพภายนอกระดับอุ ดมศึ ก ษารอบสาม พ.ศ. 2553 สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) ตัวบ่ งชี้ จานวน 2 ตัวบ่งชี้ คือ 3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึ กษาและบริ การด้านข้อมูลข่าวสาร 3.2 ระบบและกลไกการส่ งเสริ มกิจกรรมนักศึกษา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

106

ตัวบ่ งชี้ที่ 3.1 : ระบบและกลไกการให้ คาปรึกษาและบริการด้ านข้ อมูลข่ าวสาร ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : สถาบันอุดมศึกษาควรจัดบริ การด้านต่างๆ ให้นกั ศึกษาและศิษย์เก่าอย่าง ครบถ้วน โดยเฉพาะในกิจกรรมต่อไปนี้ (1) การบริ การด้านการแนะแนวและการให้คาปรึ กษา ทั้ง ด้านวิชาการและการใช้ชีวติ (2) การบริ การด้านข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ต่อนักศึกษาและศิษย์ เก่า เช่ น ทุ นกู้ยืมการศึกษา แหล่งทุ นการศึ กษาต่อ การบริ การจัดหางานแหล่ งข้อมูลการฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพ ข้อมูลข่าวสารความเคลื่อนไหวในและนอกสถาบันที่จาเป็ นแก่นกั ศึกษาและ ศิษย์เก่า และ (3) การจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาชี พแก่นกั ศึกษาและศิษย์เก่าใน รู ปแบบต่างๆ เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีการจัดบริ การให้คาปรึ กษาทางวิชาการและแนะแนวการใช้ชีวติ แก่นกั ศึกษา 2. มีการจัดบริ การข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ต่อนักศึกษา 3. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพแก่นกั ศึกษา 4. มีการจัดบริ การข้อมูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ต่อศิษย์เก่า 5. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู ้และประสบการณ์ให้ศิษย์เก่า 6. มีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริ การในข้อ 1 – 3 ทุกข้อไม่ต่ ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 7. มีการนาผลการประเมินคุณภาพของการให้บริ การมาใช้เป็ นข้อมูลในการพัฒนาการ จัดบริ การที่สนองความต้องการของนักศึกษา หมายเหตุ : ในกรณี คณะหรื อสถาบัน ที่ยงั ไม่มีศิษย์เก่าถือว่าผ่านเกณฑ์มาตรฐานข้อ 4 และข้อ 5 โดยอนุโลม เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ 4 หรื อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

107

ตัวบ่ งชี้ที่ 3.2 : ระบบและกลไกการส่ งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : สถาบันอุดมศึกษาต้องส่ งเสริ มให้มีการจัดกิจกรรมนักศึกษาต่างๆ อย่าง เหมาะสมและครบถ้วน กิ จกรรมนักศึกษาหมายถึ งกิ จกรรมเสริ มหลักสู ตรที่ ดาเนิ นการทั้งโดย สถาบันและโดยองค์กรนักศึกษา เป็ นกิ จกรรมที่ผูเ้ ข้าร่ วมจะมีโอกาสได้รับการพัฒนาสติปัญญา สังคม อารมณ์ ร่ างกาย และคุณธรรมจริ ยธรรมสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ 5 ประการ ได้แก่ (1) คุณธรรม จริ ยธรรม (2) ความรู้ (3) ทักษะทางปั ญญา (4) ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (5) ทักษะการวิเคราะห์เชิ งตัวเลข การสื่ อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ที่สภา/องค์กรวิชาชีพ ได้กาหนดเพิ่มเติม ตลอดจนสอดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ช้บณั ฑิต เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. สถาบันจัดทาแผนการจัดกิ จกรรมพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริ มผลการเรี ยนรู ้ ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติทุกด้าน 2. มีกิจกรรมให้ความรู ้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่นกั ศึกษา 3. มีการส่ งเสริ มให้นกั ศึกษานาความรู ้ดา้ นการประกันคุ ณภาพไปใช้ในการจัดกิ จกรรม ที่ดาเนินการโดยนักศึกษาอย่างน้อย 5 ประเภทสาหรับระดับปริ ญญาตรี และอย่างน้อย 2 ประเภทสาหรับระดับบัณฑิตศึกษา จากกิจกรรมต่อไปนี้ - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริ มคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ - กิจกรรมกีฬาหรื อการส่ งเสริ มสุ ขภาพ - กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์หรื อรักษาสิ่ งแวดล้อม - กิจกรรมเสริ มสร้างคุณธรรมและจริ ยธรรม - กิจกรรมส่ งเสริ มศิลปะและวัฒนธรรม 4. มีการสนับสนุ นให้นกั ศึกษาสร้างเครื อข่ายพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและระหว่าง สถาบัน และมีกิจกรรมร่ วมกัน 5. มีการประเมินความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา 6. มี ก ารนาผลการประเมิ นไปปรั บ ปรุ ง แผนหรื อปรั บ ปรุ ง การจัด กิ จกรรมเพื่ อ พัฒนา นักศึกษา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรื อ 4 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 ข้อ

108

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 6 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

109

องค์ ประกอบที่ 4 การวิจัย หลักการ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาแต่ ล ะแห่ ง อาจมี จุ ด เน้ น ในเรื่ องการวิ จ ั ย ที่ แ ตกต่ า งกั น ขึ้ นกั บ สภาพแวดล้อมและความพร้อมของแต่ละสถาบัน อย่างไรก็ตาม ทุกสถาบันอุดมศึกษาจาเป็ นต้องมี พันธกิจนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของพันธกิจสถาบัน ดังนั้น จึงต้องมีระบบและกลไกควบคุมให้ สามารถ ดาเนิ นการในพันธกิ จด้านนี้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและคุ ณภาพตามจุดเน้นเฉพาะของแต่ละสถาบัน เพื่อให้ไ ด้ผ ลงานวิจยั และงานสร้ า งสรรค์ที่เกิ ดประโยชน์ การวิจยั จะประสบความสาเร็ จและ เกิดประโยชน์จาเป็ นต้องมีส่วนประกอบที่สาคัญ 3 ประการ คือ 1) สถาบันต้องมีแผนการวิจยั มี ร ะบบและกลไก ตลอดจนมี ก ารสนับ สนุ น ทรั พ ยากรให้ส ามารถด าเนิ น การได้ต ามแผน 2) คณาจารย์มีส่วนร่ วมในการวิจยั อย่างเข้มแข็ง โดยบูรณาการงานวิจยั กับการจัดการเรี ยนการสอน และพันธกิจด้านอื่นๆ ของสถาบัน และ 3) ผลงานวิจยั มีคุณภาพ มีประโยชน์ สนองยุทธศาสตร์ ของ ชาติและมีการเผยแพร่ อย่างกว้างขวาง มาตรฐานและเอกสารที่เกีย่ วข้ อง 1. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 2. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 3. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) 5. นโยบายและยุทธศาสตร์ การวิจยั ของชาติ (พ.ศ. 2551-2554) สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ 6. แนวทางปฏิบตั ิจรรยาบรรณนักวิจยั พ.ศ. 2541 สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ ตัวบ่ งชี้ จานวน 3 ตัวบ่งชี้ คือ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

110

ตัวบ่ งชี้ที่ 4.1 : ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : สถาบันอุดมศึกษาต้องมีการบริ หารจัดการงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่มี คุณภาพ โดยมีแนวทางการดาเนินงานที่เป็ นระบบและมีก ลไกส่ งเสริ มสนับสนุ นครบถ้วน เพื่อให้ สามารถดาเนิ นการได้ตามแผนที่กาหนดไว้ ทั้งการสนับสนุ นด้านการจัดหาแหล่งทุนวิจยั และการ จัดสรรทุนวิจยั การส่ งเสริ มและพัฒนาสมรรถนะแก่นกั วิจยั และทีมวิจยั การสนับสนุนทรัพยากรที่ จาเป็ น ซึ่งรวมถึงทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรเงิน เครื่ องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เกณฑ์ มาตรฐานทัว่ ไป : 1. มีระบบและกลไกบริ หารงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายตามแผน ด้านการวิจยั ของสถาบัน และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 2. มีการบูรณาการกระบวนการวิจยั หรื องานสร้างสรรค์กบั การจัดการเรี ยนการสอน 3. มีการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์และให้ความรู้ดา้ นจรรยาบรรณ การวิจยั แก่อาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา 4. มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบัน เพื่อเป็ นทุนวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ 5. มี การสนับสนุ นพันธกิ จด้านการวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์ตามอัตลักษณ์ ของสถาบัน อย่างน้อยในประเด็นต่อไปนี้ - ห้องปฏิบตั ิการวิจยั ฯ หรื อหน่วยวิจยั ฯ หรื อศูนย์เครื่ องมือ หรื อศูนย์ให้คาปรึ กษา และสนับสนุนการวิจยั ฯ - ห้องสมุดหรื อแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจยั ฯ - สิ่ งอานวยความสะดวกหรื อการรักษาความปลอดภัยในการวิจยั ฯ เช่ น ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยในห้องปฏิบตั ิการวิจยั - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริ มงานวิจยั ฯ เช่น การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงาน สร้างสรรค์ การจัดให้มีศาสตราจารย์อาคันตุกะหรื อศาสตราจารย์รับเชิญ (visiting professor) 6. มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุ นในข้อ 4 และข้อ 5 อย่างครบถ้วนทุก ประเด็น 7. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุ งการสนับสนุ นพันธกิจด้านการวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์ ของสถาบัน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

111

เกณฑ์ มาตรฐานเพิม่ เติมเฉพาะกลุ่ม : 8. มีระบบและกลไกเพื่อสร้างงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่ น หรื อจากสภาพปั ญหาของสังคม เพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและสังคม และดาเนินการตามระบบที่กาหนด (เฉพาะกลุ่ม ข และ ค 2) เกณฑ์ การประเมิน : 1. เกณฑ์ ทวั่ ไป คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ ข้อ 4 หรื อ 5 ข้อ

2. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 4

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ

คะแนน 5

มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ 4 หรื อ 5 ข้อ 6 หรื อ 7 ข้อ ครบ 7 ข้อ ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไปและ ครบถ้วนตามเกณฑ์ มาตรฐาน เพิ่มเติมเฉพาะกลุ่ม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

112

ตัวบ่ งชี้ที่ 4.2

: ระบบและกลไกการจัดการความรู้ จากงานวิจัยหรือ งานสร้ างสรรค์ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : การบริ หารจั ด การความรู้ จากผลงานวิ จ ั ย หรื องานสร้ า งสรรค์ เพื่อเผยแพร่ ไปยังคณาจารย์ นักศึกษา วงการวิชาการ หน่ วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจน ชุ ม ชนเป้ าหมายที่ จ ะน าผลการวิ จ ัย ไปใช้ป ระโยชน์ เป็ นเรื่ อ งที่ มี ค วามส าคัญ ส าหรั บ ทุ ก สถาบันอุ ดมศึ กษาดังนั้น สถาบันต้องจัดระบบส่ งเสริ มสนับสนุ นให้มีการรวบรวม เผยแพร่ และแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ในทรัพย์สินทางปั ญญาจากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์อย่างเหมาะสมกับ ผูใ้ ช้แต่ละกลุ่ม โดยสิ่ งที่เผยแพร่ ตอ้ งมีคุณภาพเชื่อถือได้และรวดเร็ วทันเหตุการณ์ เกณฑ์ มาตรฐานทัว่ ไป : 1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ ผลงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ในการประชุม วิช าการหรื อการตี พิ ม พ์ใ นวารสารระดับชาติ หรื อนานาชาติ และมี ก ารเผยแพร่ ผลงานวิจ ัย หรื อ งานสร้ า งสรรค์ใ นการประชุ มวิช าการหรื อ การตี พิ ม พ์ใ นวารสาร ระดับชาติหรื อนานาชาติ 2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ เพื่อให้เป็ นองค์ความรู ้ที่คนทัว่ ไปเข้าใจได้ และดาเนินการตาม ระบบที่กาหนด 3. มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ องค์ความรู้จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้จาก ข้อ 2 สู่ สาธารณชนและผูเ้ กี่ยวข้อง 4. มีการนาผลงานงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ไปใช้ให้ เกิ ดประโยชน์ และมีการรับรอง การใช้ประโยชน์จริ งจากหน่วยงานภายนอกหรื อชุมชน 5. มี ร ะบบและกลไกเพื่ อ ช่ ว ยในการคุ ้ม ครองสิ ท ธิ์ ของงานวิ จ ัย หรื อ งานสร้ า งสรรค์ ที่นาไปใช้ประโยชน์ และดาเนินการตามระบบที่กาหนด เกณฑ์ มาตรฐานเพิม่ เติมเฉพาะกลุ่ม : 6. มีระบบและกลไกส่ งเสริ มการจดสิ ทธิ บตั รหรื ออนุสิทธิ บตั ร และมีการยื่นจดสิ ทธิ บตั ร และอนุสิทธิบตั ร (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง)


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

113

เกณฑ์ การประเมิน : 1. เกณฑ์ ทวั่ ไป คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 2. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 และ ง คะแนน 1 คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 หรื อ 5 ข้อ ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไป ตามเกณฑ์ทวั่ ไป

คะแนน 5 มีการดาเนินการ ครบ 5 ข้อ ตามเกณฑ์ทวั่ ไป และครบถ้วนตาม เกณฑ์มาตรฐาน เพิ่มเติมเฉพาะ กลุ่ม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

114

ตัวบ่ งชี้ที่ 4.3

: เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ต่อจานวนอาจารย์ ประจาและนักวิจัยประจา ชนิดของตัวบ่ งชี้ : ปัจจัยนาเข้า คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : ปั จจั ย ส าคั ญ ที่ ส่ งเสริ มสนั บ สนุ นให้ เ กิ ดการผลิ ตงานวิ จ ั ย หรื อ งานสร้ างสรรค์ในสถาบันอุดมศึกษา คือ เงิ นสนับสนุ นงานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์ ดังนั้น สถาบัน อุ ด มศึ ก ษาจึ ง ต้อ งจัด สรรเงิ น จากภายในสถาบัน และที่ ไ ด้รั บ จากภายนอกสถาบัน เพื่อสนับสนุ นการทาวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์อย่างมีประสิ ทธิ ภาพตามสภาพแวดล้อมและจุดเน้น ของสถาบัน นอกจากนั้นเงินทุนวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่สถาบันได้รับจากแหล่งทุนภายนอกยังเป็ นตัว บ่งชี้ ที่สาคัญ ที่แสดงถึงศักยภาพด้านการวิจยั ของสถาบัน โดยเฉพาะสถาบันที่อยูใ่ นกลุ่มที่เน้นการ วิจยั เกณฑ์ การประเมิน : โดยการแปลงจานวนเงินต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาเป็ น คะแนนระหว่าง 0-5 1. เกณฑ์ เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 จาแนกเป็ น 3 กลุ่มสาขาวิชา 1.1 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จานวนเงิ นสนับ สนุ นงานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายในและภายนอก สถาบันที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน 1.2 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ จานวนเงิ นสนับสนุ นงานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายในและภายนอก สถาบันที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน 1.3 กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ จานวนเงิ นสนับ สนุ นงานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายในและภายนอก สถาบันที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน 2. เกณฑ์ ประเมินเฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 และ ง จาแนกเป็ น 3 กลุ่มสาขาวิชา 2.1 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จานวนเงิ นสนับ สนุ นงานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จ ากภายในและภายนอก สถาบันที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 180,000 บาทขึ้นไปต่อคน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

115

2.2 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ จานวนเงิ นสนับ สนุ นงานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายในและภายนอก สถาบันที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 150,000 บาทขึ้นไปต่อคน 2.3 กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ จานวนเงิ นสนับ สนุ นงานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายในและภายนอก สถาบันที่ กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5 = 75,000 บาทขึ้นไปต่อคน สู ตรการคานวณ : 1. คานวณจานวนเงิ นสนับสนุ นงานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อ จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั ฯ =

จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั ฯจากภายในและภายนอก จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา

2. แปลงจานวนเงินที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ =

จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั ฯจากภายในและภายนอก จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั ฯที่กาหนดให้เป็ นคะแนนเต็ม 5

x5

สรุปคะแนนทีไ่ ด้ ในระดับคณะวิชาและระดับสถาบัน 1. คะแนนที่ได้ในระดับคณะวิชา = ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้ของทุกกลุ่มสาขาวิชาในคณะวิชา 2. คะแนนที่ได้ในระดับสถาบัน = ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้ของทุกคณะวิชาในสถาบัน หมายเหตุ : 1. จานวนอาจารย์และนักวิจยั ประจา ให้นบั ตามปี การศึกษา และนับเฉพาะที่ปฏิบตั ิงาน จริ งไม่นบั รวมผูล้ าศึกษาต่อ 2. ให้นับ จ านวนเงิ น ที่ มี ก ารลงนามในสั ญ ญารั บ ทุ น ในปี การศึ ก ษา ปี ปฏิ ทิ น หรื อ ปี งบประมาณนั้นๆ ไม่ใช่จานวนเงินที่เบิกจ่ายจริ ง 3. กรณี ที่มีหลักฐานการแบ่งสัดส่ วนเงินสนับสนุนงานวิจยั ซึ่งอาจเป็ นหลักฐานจากแหล่ง ทุนหรื อหลักฐานจากการตกลงร่ วมกันของสถาบันที่ร่วมโครงการ ให้แบ่งสัดส่ วนเงิน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

116

ตามหลักฐานที่ปรากฏ กรณี ที่ไม่มีหลักฐาน ให้แบ่งเงินตามสัดส่ วนผูร้ ่ วมวิจยั ของแต่ ละสถาบัน 4. การนับจานวนเงินสนับสนุนโครงการวิจยั สามารถนับเงินโครงการวิจยั สถาบันที่ได้ลง นามในสัญญารับทุนโดยอาจารย์หรื อนักวิจยั แต่ ไม่ สามารถนับเงิ นโครงการวิจยั สถาบันที่บุคลากรสายสนับสนุนที่ไม่ใช่นกั วิจยั เป็ นผูด้ าเนินการ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

117

องค์ ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม หลักการ การบริ การทางวิชาการแก่สังคมเป็ นหนึ่ งในภารกิ จหลักของสถาบันอุดมศึกษา สถาบัน พึงให้บริ การทางวิชาการแก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในรู ปแบบต่างๆ ตามความถนัดและ ในด้านที่สถาบันมีความเชี่ยวชาญ การให้บริ การทางวิชาการอาจให้เปล่าโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายหรื อ อาจคิดค่าใช้จ่ายตามความเหมาะสม โดยให้บริ การทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน หน่วยงานอิสระ หน่ วยงานสาธารณะ ชุ มชน และสังคมโดยกว้าง รู ปแบบการให้บริ การทางวิชาการมีความ หลากหลาย เช่น การอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ทรัพยากรของสถาบัน เป็ นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการ ให้คาปรึ กษา ให้การอบรม จัดประชุมหรื อสัมมนาวิชาการ ทางานวิจยั เพื่อตอบคาถามต่างๆ หรื อ เพื่อชี้ แนะสังคม การให้บริ การทางวิชาการนอกจากเป็ นการทาประโยชน์ให้สังคมแล้วสถาบัน ยังได้รับประโยชน์ในด้านต่างๆ คือ เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ของอาจารย์อนั จะนามาสู่ การ พัฒนาหลักสู ตร มีการบูรณาการเพื่อใช้ประโยชน์ทางด้านการจัดการเรี ยนการสอนและการวิจยั พัฒนาตาแหน่ งทางวิชาการของอาจารย์ สร้ างเครื อข่ายกับหน่ วยงานต่างๆ ซึ่ งเป็ นแหล่งงานของ นักศึกษาและเป็ นการสร้างรายได้ของสถาบันจากการให้บริ การทางวิชาการด้วย มาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 2. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 3. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) ตัวบ่ งชี้ จานวน 2 ตัวบ่งชี้ คือ 5.1 ระบบและกลไกการบริ การทางวิชาการแก่สังคม 5.2 กระบวนการบริ การทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

118

ตัวบ่ งชี้ที่ 5.1 : ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : การบริ การทางวิชาการแก่ สังคมเป็ นภารกิ จหลักอย่างหนึ่ งของสถาบัน อุดมศึกษา สถาบันพึงกาหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนการบริ การทางวิชาการอย่างเป็ นระบบ และมี การจัด โครงสร้างสถาบันเพื่อเป็ นกลไกในการขับเคลื่อนระบบดังกล่าว การให้บริ การทางวิชาการ ต้องมีความเชื่อมโยงกับการจัดการเรี ยนการสอนและการวิจยั และสามารถบูรณาการงานบริ การทาง วิชาการแก่สังคมกับการเรี ยนการสอนและการวิจยั อย่างเป็ นรู ปธรรม เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีระบบและกลไกการบริ การทางวิชาการแก่สังคม และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 2. มีการบูรณาการงานบริ การทางวิชาการแก่สังคมกับการเรี ยนการสอน 3. มีการบูรณาการงานบริ การทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจยั 4. มีการประเมินผลความสาเร็ จของการบูรณาการงานบริ การทางวิชาการแก่ สังคมกับ การเรี ยนการสอนและการวิจยั 5. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุ งการบูรณาการงานบริ การทางวิชาการแก่สังคมกับ การเรี ยนการสอนและการวิจยั หมายเหตุ : เกณฑ์ม าตรฐานข้อที่ 4 ต้องมี ก ารประเมิ นความส าเร็ จของการบูรณาการ ตามเกณฑ์ขอ้ 2 และข้อ 3 เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

119

ตัวบ่ งชี้ที่ 5.2 : กระบวนการบริการทางวิชาการให้ เกิดประโยชน์ ต่อสั งคม ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : ความสามารถในการให้บริ การทางวิชาการในลักษณะห่ วงโซ่ คุณภาพที่ สนองความต้องการและเป็ นที่พ่ ึงของชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน หน่วยงานวิชาชีพ สังคมได้อย่าง คุณภาพตามศักยภาพและความพร้อมตามจุดเน้นของสถาบัน พิจารณาได้จาก (1) ประโยชน์หรื อ ผลกระทบของการให้บริ การทางวิชาการ (2) การสร้างความร่ วมมือกับหน่วยงานภายนอกและ (3) ความรู ้ ที่ เกิ ดจากการให้บ ริ ก ารทางวิช าการและการเผยแพร่ ค วามรู ้ น้ ัน ทั้ง ภายในและภายนอก สถาบัน เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีการสารวจความต้องการของชุ มชน หรื อภาครัฐ หรื อภาคเอกชน หรื อหน่ วยงาน วิชาชีพ เพื่อประกอบการกาหนดทิศทางและการจัดทาแผนการบริ การทางวิชาการตาม จุดเน้นของสถาบัน 2. มีความร่ วมมือด้านบริ การทางวิชาการเพื่อการเรี ยนรู้ และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน หรื อภาคเอกชน หรื อภาครัฐ หรื อหน่วยงานวิชาชีพ 3. มีการประเมินประโยชน์หรื อผลกระทบของการให้บริ การทางวิชาการต่อสังคม 4. มีการนาผลการประเมินในข้อ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรื อกิจกรรมการให้บริ การ ทางวิชาการ 5. มีการพัฒนาความรู้ที่ได้จากการให้บริ การทางวิชาการและถ่ายทอดความรู ้ สู่บุคลากร ภายในสถาบันและเผยแพร่ สู่สาธารณชน เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

120

องค์ ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม หลักการ การท านุ บ ารุ งศิ ล ปะแล ะวั ฒ นธรรมถื อเป็ นพั น ธกิ จส าคั ญ ประก ารหนึ่ งของ สถาบันอุดมศึกษา ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจึงต้องมีระบบและกลไกการดาเนิ นงานด้านนี้ ให้ เป็ นไปอย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพและคุ ณภาพ โดยอาจมี จุ ดเน้นเฉพาะที่ แตกต่ า งกันตามปรั ช ญา และธรรมชาติของแต่ละสถาบัน และมีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่นๆ โดยเฉพาะการผลิตบัณฑิต รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมที่ฟ้ื นฟู อนุรักษ์ สื บสาน พัฒนา เผยแพร่ ศิลปะและวัฒนธรรม สร้างสรรค์ ส่ งเสริ มภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็ นรากฐานการพัฒนาองค์ความรู ้ที่ดีข้ ึน มาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี (พ.ศ. 2551-2565) สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา 2. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 3. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) ตัวบ่ งชี้ จานวน 1 ตัวบ่งชี้ คือ 6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

121

ตัวบ่ งชี้ที่ 6.1 : ระบบและกลไกการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : สถาบันอุดมศึกษาต้องมีนโยบาย แผนงาน โครงสร้าง และการบริ หาร จัดการงานทานุ บารุ งศิลปะและวัฒนธรรมทั้งการอนุ รักษ์ ฟื้ นฟู สื บสาน เผยแพร่ วฒั นธรรมภูมิ ปั ญญาท้องถิ่ นตามจุดเน้นของสถาบันอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล มีการบูรณาการการ ทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรมกับการเรี ยนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีระบบและกลไกการท านุ บารุ งศิล ปะและวัฒนธรรม และดาเนิ นการตามระบบ ที่กาหนด 2. มีการบูรณาการงานด้านทานุ บารุ งศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรี ยนการสอน และกิจกรรมนักศึกษา 3. มี ก ารเผยแพร่ กิ จ กรรมหรื อการบริ การด้ า นท านุ บ ารุ งศิ ล ปะและวัฒ นธรรมต่ อ สาธารณชน 4. มีการประเมินผลความสาเร็ จของการบูรณาการงานด้านทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม กับการจัดการเรี ยนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา 5. มี ก ารน าผลการประเมิ น ไปปรั บ ปรุ ง การบู ร ณาการงานด้า นท านุ บ ารุ ง ศิ ลปะและ วัฒนธรรมกับการจัดการเรี ยนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา 6. มี ก ารก าหนดหรื อสร้ า งมาตรฐานคุ ณ ภาพด้า นศิ ล ปะและวัฒนธรรมและมี ผ ลงาน เป็ นที่ยอมรับในระดับชาติ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 หรื อ 6 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

122

องค์ ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ หลักการ สถาบันอุ ดมศึ กษาต้องให้ความสาคัญกับการบริ หารจัดการ โดยมีสภามหาวิทยาลัยทา หน้าที่ในการกากับดูแลการทางานของสถาบันให้มีประสิ ทธิ ภาพ สถาบันอุดมศึกษาจะต้องบริ หาร จัดการด้านต่างๆ ให้มีคุณภาพ เช่ น ทรัพยากรบุคคล ระบบฐานข้อมูล การบริ หารความเสี่ ยง การบริ หารการเปลี่ยนแปลง การบริ หารทรัพยากรทั้งหมด ฯลฯ เพื่อสัมฤทธิ ผลตามเป้ าหมายที่ กาหนดไว้ โดยใช้หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) มาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 2. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 3. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. มาตรฐานการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการตามคารับรองการปฏิบตั ิราชการสานักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) 5. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) 6. เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็ นเลิศ 2552-2553 7. เกณฑ์การบริ หารจัดการภาครัฐ (PMQA) 8. ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่ อง คู่มือและแนวปฏิ บตั ิ ในการพิจารณา ออกใบอนุญาตให้จดั ตั้งสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551 9. ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่ อง มาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2544 ตัวบ่ งชี้ จานวน 4 ตัวบ่งชี้ คือ 7.1 ภาวะผูน้ าของสภาสถาบันและผูบ้ ริ หารทุกระดับของสถาบัน 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่ สถาบันเรี ยนรู ้ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจ 7.4 ระบบบริ หารความเสี่ ยง


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

123

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.1 : ภาวะผู้นาของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : ปั จจัยสนับสนุ นที่สาคัญต่อการเจริ ญก้าวหน้าของสถาบันอุดมศึ กษาคื อ สภาสถาบันและผูบ้ ริ หารทุกระดับของสถาบันนั้น ๆ หากสภาสถาบันและผูบ้ ริ หารมีวิสัยทัศน์เป็ น ผูน้ าที่ดีมีธรรมาภิบาล รับผิดชอบต่อสังคม รักความก้าวหน้าดูแลบุคลากรอย่างดี เปิ ดโอกาสให้ ชุ มชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หาร มีความสามารถในการตัดสิ นใจแก้ปัญหา และกากับดูแล ติดตามผลการดาเนิ นงานของสถาบันไปในทิศทางที่ถูกต้อง จะทาให้สถาบันเจริ ญรุ ดหน้าอย่าง รวดเร็ ว เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. สภาสถาบันปฏิ บตั ิหน้าที่ตามที่ กฎหมายก าหนดครบถ้วนและมี การประเมิ นตนเอง ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้า 2. ผูบ้ ริ หารวิสัยทัศน์กาหนดทิศทางการดาเนิ นงาน และสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากร ทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุทธ์ มีการนาข้อมูลสารสนเทศเป็ นฐาน ในการปฏิบตั ิงานและพัฒนาสถาบัน 3. ผูบ้ ริ หารมีการกากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนิ นงานตามที่มอบหมาย รวมทั้ง สามารถสื่ อสารแผนและผลการดาเนินงานของสถาบันไปยังบุคลากรในสถาบัน 4. ผูบ้ ริ หารสนับสนุ นให้บุคลากรในสถาบันมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการ ให้อานาจ ในการตัดสิ นใจแก่บุคลากรตามความเหมาะสม 5. ผูบ้ ริ หารถ่ายทอดความรู ้ และส่ งเสริ มพัฒนาผูร้ ่ วมงาน เพื่อให้สามารถทางานบรรลุ วัตถุประสงค์ของสถาบันเต็มตามศักยภาพ 6. ผูบ้ ริ หารบริ หารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล โดยคานึงถึงประโยชน์ของสถาบันและผูม้ ีส่วนได้ ส่ วนเสี ย 7. สภาสถาบันประเมินผลการบริ หารงานของสถาบันและผูบ้ ริ หารนาผลการประเมิน ไปปรับปรุ งการบริ หารงานอย่างเป็ นรู ปธรรม หมายเหตุ :

หากจะประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานข้อที่ 6 นั้น ต้องแสดงข้อมูลการ บริ หารงานตามหลักธรรมาภิบาลครบถ้วนทั้ง 10 ประการ ตามนิยามศัพท์ที่ระบุไว้ ซึ่งสอดคล้องเป็ นไปตามเกณฑ์ของ สมศ.


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

124

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ 4 หรื อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

125

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.2 : การพัฒนาสถาบันสู่ สถาบันเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : มาตรฐานการอุดมศึกษาข้อที่ 3 กาหนดให้สถาบันมีการสร้างและพัฒนา สังคมฐานความรู ้ และสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ ซึ่ งต้องมีการจัดการความรู ้ เพื่อมุ่งสู่ สถาบันแห่ งการ เรี ยนรู ้โดยมีการรวบรวมองค์ความรู ้ที่มีอยูใ่ นสถาบันซึ่ งกระจัดกระจายอยูใ่ นตัวบุคคลหรื อเอกสาร มาพัฒนาให้เป็ นระบบ เพื่ อให้ทุ ก คนในสถาบันสามารถเข้า ถึ ง ความรู้ และพัฒนาตนเอง ให้ เ ป็ นผู ้รู้ ร วมทั้ง ปฏิ บ ัติ ง านได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อัน จะส่ ง ผลให้ ส ถาบัน อุ ด มศึ ก ษา มี ค วามสามารถในเชิ ง แข่ ง ขัน สู ง สุ ด กระบวนการในการบริ ห ารจัด การความรู้ ใ นสถาบัน ประกอบด้วยการระบุความรู้ การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บความรู ้ การเข้าถึงข้อมูล และการ แลกเปลี่ ยนความรู ้ท้ งั ภายในและภายนอกสถาบัน การสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรี ยนรู้ ภายในสถาบัน การกาหนดแนววิธีปฏิ บตั ิงาน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่ม ประสิ ทธิภาพการบริ หารจัดการความรู้ในสถาบันให้ดียงิ่ ขึ้น เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีการกาหนดประเด็นความรู ้ และเป้ าหมายของการจัดการความรู ้ที่สอดคล้องกับแผน กลยุทธ์ของสถาบันอย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจยั 2. กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้ าหมายที่จะพัฒนาความรู ้ และทักษะด้านการผลิ ตบัณฑิ ตและ ด้านการวิจยั อย่างชัดเจนตามประเด็นความรู ้ที่กาหนดในข้อ 1 3. มี ก ารแบ่ ง ปั น และแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ จ ากความรู้ ท ัก ษะของผู้มี ป ระสบการณ์ ต รง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบตั ิที่ดีตามประเด็นความรู ้ที่กาหนดในข้อ 1 และ เผยแพร่ ไปสู่ บุคลากรกลุ่มเป้ าหมายที่กาหนด 4. มีการรวบรวมความรู ้ตามประเด็นความรู ้ที่กาหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยูใ่ นตัวบุคคลและ แหล่ ง เรี ยนรู้ อื่นๆ ที่เป็ นแนวปฏิ บ ตั ิ ที่ดีม าพัฒนาและจัดเก็บ อย่างเป็ นระบบโดย เผยแพร่ ออกมาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร (explicit knowledge) 5. มี ก ารนาความรู้ ที่ ไ ด้จากการจัดการความรู้ ใ นปี การศึ ก ษาปั จจุ บนั หรื อ ปี การศึ ก ษา ที่ผา่ นมา ที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร (explicit knowledge) และจากความรู้ ทักษะของ ผูม้ ีประสบการณ์ ตรง (tacit knowledge) ที่เป็ นแนวปฏิ บตั ิที่ ดีมาปรับใช้ในการ ปฏิบตั ิงานจริ ง


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

126

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

127

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.3 : ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารและการตัดสิ นใจ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : สถาบัน ควรมี ก ารพัฒ นาระบบสารสนเทศเพื่ อ การบริ หารและการ ตัดสิ นใจที่สอดรับกับนโยบายและการวางแผนระดับสถาบัน เพื่อให้เป็ นระบบที่สมบูรณ์สามารถ เชื่ อมโยงกับทุกหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เป็ นระบบที่ใช้งานได้ท้ งั เพื่อการ บริ หารการวางแผน และการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารทุกระดับ เพื่อการปฏิบตั ิงานตามภารกิจทุกด้าน ของบุคลากร เพื่อการติดตามตรวจสอบและประเมินการดาเนินงาน ตลอดจนเพื่อการปรับปรุ งและ พัฒนาสถาบัน ทั้งนี้ ระบบดังกล่ าวต้องมี ค วามสะดวกในการใช้งานโดยประเมิ นจากความ พึงพอใจของผูใ้ ช้ เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan) 2. มี ร ะบบสารสนเทศเพื่ อ การบริ หารและการตัด สิ นใจตามพัน ธกิ จ ของสถาบัน โดยอย่างน้อยต้องครอบคลุ มการจัดการเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ หารจัดการ และการเงินและสามารถนาไปใช้ในการดาเนินงานประกันคุณภาพ 3. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศ 4. มี ก ารน าผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจของผู้ใ ช้ ร ะบบสารสนเทศมาปรั บ ปรุ ง ระบบสารสนเทศ 5. มีการส่ งข้อมูลผ่านระบบเครื อข่ายของหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องตามที่กาหนด เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

128

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.4 : ระบบบริหารความเสี่ ยง ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีระบบบริ หารความเสี่ ยง โดยการบริ หารและ ควบคุมปั จจัย กิจกรรม และกระบวนการดาเนินงานที่อาจเป็ นมูลเหตุของความเสี ยหาย (ทั้งในรู ป ของตัวเงิน หรื อไม่ใช่ตวั เงิน เช่น ชื่อเสี ยง และการฟ้ องร้องจากการไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล หรื อความคุม้ ค่า) เพื่อให้ระดับความเสี่ ยง และขนาดของความ เสี ยหายที่จะเกิ ดขึ้นในอนาคตอยูใ่ นระดับที่ยอมรับและควบคุมได้ โดยคานึ งถึงการเรี ยนรู้วิธีการ ป้ องกันจากการคาดการณ์ ปัญหาล่วงหน้าและโอกาสในการเกิ ด เพื่อป้ องกันหรื อบรรเทาความ รุ นแรงของปั ญหา รวมทั้งการมี แผนสารองต่อภาวะฉุ กเฉิ น เพื่อให้มนั่ ใจว่าระบบงานต่าง ๆ มีความพร้อมใช้งาน มี การปรั บปรุ งระบบอย่างต่อเนื่ องและทันต่อการเปลี่ ยนแปลงเพื่อการบรรลุ เป้ าหมายของสถาบันตามยุทธศาสตร์หรื อกลยุทธ์เป็ นสาคัญ เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรื อคณะทางานบริ หารความเสี่ ยง โดยมีผบู้ ริ หารระดับสู ง และตัว แทนที่ รั บ ผิ ด ชอบพัน ธกิ จ หลัก ของสถาบัน ร่ ว มเป็ นคณะกรรมการหรื อ คณะทางาน 2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ ยง และปั จจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ ยงอย่างน้อย 3 ด้าน ตามบริ บทของสถาบัน ตัวอย่างเช่น - ความเสี่ ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่) - ความเสี่ ยงด้านยุทธศาสตร์ หรื อกลยุทธ์ของสถาบัน - ความเสี่ ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ - ความเสี่ ยงด้านการปฏิบตั ิงาน เช่น ความเสี่ ยงของกระบวนการบริ หารหลักสู ตร การบริ หารงานวิจยั ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ - ความเสี่ ยงด้านบุคลากรและความเสี่ ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณ ของอาจารย์และบุคลากร - ความเสี่ ยงจากเหตุการณ์ภายนอก - อื่น ๆ ตามบริ บทของสถาบัน 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ ยงและจัดลาดับความเสี่ ยงที่ได้จาก การวิเคราะห์ในข้อ 2


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

129

4. มีการจัดทาแผนบริ หารความเสี่ ยงที่มีระดับความเสี่ ยงสู ง และดาเนินการตามแผน 5. มีการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานตามแผน และรายงานต่อสภาสถาบันเพื่อ พิจารณาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 6. มีการนาผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากสภาสถาบันไปใช้ในการปรับแผนหรื อ วิเคราะห์ความเสี่ ยงในรอบปี ถัดไป หมายเหตุ : คะแนนการประเมินจะเท่ากับ 0 หากพบว่าเกิดเหตุการณ์ร้ายแรงขึ้นภายในสถาบันในรอบ ปี การประเมิน ที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตและความปลอดภัยของนักศึกษา คณาจารย์ บุคลากร หรื อต่อ ชื่อเสี ยงภาพลักษณ์ หรื อต่อความมัน่ คงทางการเงินของสถาบัน อันเนื่ องมาจากความบกพร่ องของ สถาบันในการควบคุม หรื อจัดการกับความเสี่ ยง หรื อปั จจัยเสี่ ยงที่ไม่มีประสิ ทธิ ภาพเพียงพอโดยมี หลักฐานประกอบที่ชดั เจน ตัวอย่างความเสี่ ยงร้ายแรงที่ให้ผลประเมินเป็ นศูนย์ (0) คะแนน เช่น 1. มีการเสี ยชี วิตและถูกทาร้ ายร่ างกายหรื อจิ ตใจอย่างรุ นแรงของนักศึ กษา คณาจารย์ บุคลากรภายในสถาบัน ทั้งๆ ที่อยูใ่ นวิสัยที่สถาบันสามารถป้ องกันหรื อลดผลกระทบ ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ แต่ไม่พบแผนการจัดการความเสี่ ยงหรื อไม่พบความพยายาม ของสถาบันในการระงับเหตุการณ์ดงั กล่าว 2. สถาบันหรื อหน่วยงานเสื่ อมเสี ยชื่ อเสี ยงหรื อมีภาพลักษณ์ที่ไม่ดี อันเนื่องมาจากปั จจัย ต่างๆ เช่น คณาจารย์ นักวิจยั หรื อบุคลากรขาดจริ ยธรรม จรรยาบรรณการไม่ปฏิบตั ิ ตามมาตรฐานหรื อกฎกระทรวง และเกิ ดเป็ นข่าวปรากฏให้เห็ นตามสื่ อต่าง เช่ น หนังสื อพิมพ์ ข่าว online เป็ นต้น 3. สถาบันหรื อหน่ วยงานขาดสภาพคล่องในด้านการเงิ นจนทาให้ตอ้ งปิ ดหลักสู ตรหรื อ ไม่ ส ามารถปฏิ บ ัติ ต ามเกณฑ์ ม าตรฐานหลัก สู ต รระดับ อุ ด มศึ ก ษาของส านัก งาน คณะกรรมการการอุ ดมศึ ก ษาได้ส่ ง ผลกระทบต่ อนัก ศึ ก ษาปั จ จุ บ นั ที่ เรี ย นอยู่อย่า ง รุ นแรง


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

130

เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 หรื อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ ** หากมีคณะใดคณะหนึ่ งได้คะแนนการประเมินเป็ นศู นย์ (0) แล้ว สถาบันก็จะได้คะแนน การประเมินเป็ นศูนย์ (0) ด้วยเช่นกัน หากเป็ นไปตามเงื่อนไขที่กล่าวไว้ขา้ งต้น การไม่เข้าข่ายที่ทาให้ผลการประเมินได้คะแนนเป็ นศูนย์ (0) ได้แก่ 1. สถาบันมีการวิเคราะห์และจัดทาแผนบริ หารความเสี่ ยงเชิ งป้ องกัน หรื อมีแผนรองรับ เพื่ อ ลดผลกระทบส าหรั บ ความเสี่ ย งที่ ท าให้ เ กิ ดเรื่ อ งร้ า ยแรงดัง กล่ า วไว้ล่ ว งหน้า และดาเนินการตามแผน 2. เป็ นเหตุสุดวิสัย อยู่นอกเหนื อการบริ หารจัดการ (การควบคุ ม หรื อการป้ องกัน ) ของสถาบัน 3. เหตุการณ์ร้ายแรงดังกล่าวมีความรุ นแรงที่ลดน้อยลงมากจากแผนรองรับผลกระทบที่ ได้กาหนดไว้ล่วงหน้า


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

131

องค์ ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ หลักการ การเงินและงบประมาณเป็ นสิ่ งที่สาคัญอย่างหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา ไม่วา่ แหล่งเงินทุน ของสถาบันอุดมศึกษาจะได้มาจากงบประมาณแผ่นดิน (สาหรับสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) หรื อเงิน รายได้ของสถาบัน เช่น ค่าหน่วยกิต ค่าธรรมเนียม ค่าบารุ งการศึกษาต่างๆ ของนักศึกษา รายได้จาก งานวิจยั บริ การทางวิชาการ ค่าเช่าทรัพย์สิน ฯลฯ ผูบ้ ริ หารสถาบันจะต้องมีแผนการใช้เงินที่สะท้อน ความต้องการใช้เงิ นเพื่อการดาเนิ นงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสถาบัน ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทาความเข้าใจกับการวิเคราะห์ทางการเงิน เช่น ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจานวน นักศึกษา ทรั พย์สินถาวรต่อจานวนนักศึ กษา ค่าใช้จ่ายที่สถาบันใช้สาหรั บการผลิ ตบัณฑิ ตต่อ หัว จาแนกตามกลุ่มสาขา รายได้ท้ งั หมดของสถาบันหลังจากหักงบ (ค่าใช้จ่าย)ดาเนิ นการทั้งหมด งบประมาณในการพัฒนาอาจารย์ ความรวดเร็ วในการเบิกจ่าย ร้อยละของงบประมาณที่ประหยัด ได้หลังจากที่ปฏิบตั ิตามภารกิจทุกอย่างครบถ้วน สิ่ งเหล่านี้ จะเป็ นการแสดงศักยภาพเชิ งการบริ หาร จัด การด้า นการเงิ น ของสถาบัน ที่ เ น้น ถึ ง ความโปร่ ง ใส ความถู ก ต้อ งใช้เ ม็ ด เงิ น อย่า งคุ ้ม ค่ า มีประสิ ทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุ ด มาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. แผนพัฒนาด้านการเงินระดับอุดมศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2. แผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสถาบัน 3. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) 5. มาตรฐานแผนการปฏิบตั ิราชการของสานักงบประมาณ 6. รายงานงบประมาณแผ่นดิน (สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) และเงินรายได้ ตัวบ่ งชี้ จานวน 1 ตัวบ่งชี้ คือ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

132

ตัวบ่ งชี้ที่ 8.1 : ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : สถาบันอุ ด มศึ ก ษาจะต้อ งมี ร ะบบในการจัด หาและจัด สรรเงิ นอย่า งมี ประสิ ทธิภาพ จะต้องมีแผนกลยุทธ์ทางด้านการเงินซึ่ งเป็ นแผนจัดหาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนต่างๆ ที่สามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ของสถาบันให้สามารถดาเนินการได้ มีการวิเคราะห์รายได้ ค่าใช้จ่าย ของการดาเนินงาน ทั้งจากงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้อื่นๆ ที่สถาบันได้รับ มีการจัดสรร งบประมาณและการจัดทารายงานทางการเงินอย่างเป็ นระบบครบทุกพันธกิจมีระบบการตรวจสอบ การใช้เงินอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ รายงานทางการเงินต้องแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายในทุกพันธกิ จ โครงการ กิจกรรม เพื่อให้สามารถวิเคราะห์สถานะทางการเงินและความมัน่ คงของสถาบันได้ เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบัน 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้านการเงิน หลักเกณฑ์การจัดสรร และการวางแผนการ ใช้เงินอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ 3. มีงบประมาณประจาปี ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบตั ิการในแต่ละพันธกิจและการพัฒนา สถาบันและบุคลากร 4. มีการจัดทารายงานทางการเงินอย่างเป็ นระบบ และรายงานต่อสภาสถาบันอย่างน้อย ปี ละ 2 ครั้ง 5. มีการนาข้อมูลทางการเงิ นไปใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และวิเคราะห์สถานะทาง การเงินและความมัน่ คงของสถาบันอย่างต่อเนื่อง 6. มีหน่วยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทาหน้าที่ตรวจ ติดตามการใช้เงินให้เป็ นไป ตามระเบียบและกฎเกณฑ์ที่สถาบันกาหนด 7. ผูบ้ ริ หารระดับ สู ง มีก ารติ ดตามผลการใช้เงิ นให้เป็ นไปตามเป้ าหมายและนาข้อมูล จากรายงานทางการเงินไปใช้ในการวางแผนและการตัดสิ นใจ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

133

หมายเหตุ : แผนกลยุทธ์ทางการเงิน เป็ นแผนระยะยาวที่ระบุที่มาและใช้ไปของทรัพยากรทาง การเงินของสถาบันที่สามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ของสถาบันให้สามารถดาเนินการได้ แผนกลยุทธ์ทางการเงินจะสอดรับไปกับแผนกลยุทธ์ของสถาบัน สถาบันควรประเมิน ความต้องการทรัพยากรที่ตอ้ งจัดหาสาหรับการดาเนิ นงานตามกลยุทธ์แต่ละกลยุทธ์ และประเมิ นมู ลค่าของทรั พยากรออกมาเป็ นเงิ นทุ นที่ ตอ้ งการใช้ ซึ่ งจะเป็ นความ ต้องการเงิ นทุนในระยะยาวเท่ากับเวลาที่สถาบันใช้ในการดาเนิ นการให้กลยุทธ์ น้ นั บังเกิดผล จากนั้นจึงจะกาหนดให้เห็นอย่างชัดเจนถึ งที่มาของเงิ นทุนที่ตอ้ งการใช้ว่า สามารถจัดหาได้จากแหล่งเงินทุนใด เช่น รายได้ค่าธรรมเนี ยมการศึกษางบประมาณ แผ่นดิ นหรื อเงิ นอุ ดหนุ นจากรั ฐบาล เงิ นทุ นสะสมของหน่ วยงาน เงินบริ จาคจาก หน่ วยงานภายนอกหรื อศิษย์เก่า หรื อสถาบันจะต้องมีการระดมทุนด้วยวิธีการอื่นๆ เพิ่มเติมระยะเวลาของแผนกลยุทธ์ทางการเงินจะเท่ากับระยะเวลาของแผนกลยุทธ์ของ สถาบัน เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ

คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรื อ 5 ข้อ

คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ

คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

134

องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ หลักการ ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็ นปั จจัยสาคัญที่แสดงถึงศักยภาพ การพัฒนาคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา โดยต้องครอบคลุมทั้งปั จจัยนาเข้า กระบวนการผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่ เกิ ดขึ้น สถาบันอุดมศึกษาจะต้องพัฒนาระบบและกลไกการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในอย่างต่อเนื่ อง และมีกระบวนการจัดการความรู้ เพื่อให้เกิดนวัตกรรมด้าน การประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เป็ นลักษณะเฉพาะของสถาบัน มาตรฐานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา 3. กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 4. มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2547 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 5. มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 6. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 7. กรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2552 (Thai Qualification Framework for Higher Education) (TQF: HEd.) สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 8. เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 9. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสาม พ.ศ. 2553 สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) ตัวบ่ งชี้ จานวน 1 ตัวบ่งชี้ คือ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

135

ตัวบ่ งชี้ที่ 9.1 : ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : การประกันคุ ณภาพการศึ กษาภายในเป็ นภารกิ จของสถาบันอุ ดมศึ กษา ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่ งสถาบันต้องสร้ างระบบและกลไกในการควบคุ ม ตรวจสอบ ประเมินและพัฒนาการ ดาเนิ นงานของสถาบันให้เป็ นไปตามนโยบาย เป้ าประสงค์ และระดับคุณภาพตามมาตรฐานที่ กาหนดโดยสถาบันและหน่วยงานต้นสังกัด ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการวัดผลสาเร็ จของ การประกันคุ ณภาพการศึกษาภายใน รวมทั้งการรายงานผลการประกันคุ ณภาพต่อหน่ วยงานที่ เกี่ ย วข้อง และเปิ ดเผยต่ อ สาธารณชน มี ก ารประเมิ น และปรั บ ปรุ ง อย่า งต่ อ เนื่ อ ง และ มี น วัต กรรมที่ เ ป็ นแบบอย่ า งที่ ดี ก ารประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในถื อ เป็ นส่ ว นหนึ่ งของ กระบวนการบริ หารการศึกษาที่ตอ้ งดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง โดยมีการสร้างจิตสานึ กให้เห็นว่าเป็ น ความรับผิดชอบร่ วมกันของทุกคนในการพัฒนาคุ ณภาพการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเป็ นหลักประกัน แก่สาธารณชนให้มนั่ ใจได้วา่ สถาบันสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ เกณฑ์ มาตรฐาน : 1. มีระบบและกลไกการประกันคุ ณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมและสอดคล้องกับ พันธกิ จและพัฒนาการของสถาบัน ตั้ง แต่ ระดับภาควิช าหรื อหน่ วยงานเที ย บเท่ า และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 2. มีการกาหนดนโยบายและให้ความสาคัญเรื่ องการประกันคุ ณภาพการศึ กษาภายใน โดยคณะกรรมการระดับนโยบายและผูบ้ ริ หารสู งสุ ดของสถาบัน 3. มีการกาหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของสถาบัน 4. มีการดาเนิ นงานด้า นการประกันคุ ณภาพการศึกษาภายในที่ครบถ้วน ประกอบด้วย 1) การควบคุม ติดตามการดาเนิ นงาน และประเมินคุณภาพ 2) การจัดทารายงาน ประจ าปี ที่ เ ป็ นรายงานประเมิ น คุ ณ ภาพเสนอต่ อ สภาสถาบั น และส านั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาตามกาหนดเวลา โดยเป็ นรายงานที่มีขอ้ มูลครบถ้วน ตามที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนดใน CHE QA Online และ 3) การ นาผลการประเมินคุณภาพไปทาแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบัน 5. มีการนาผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุ งการทางาน และส่ งผลให้มี การพัฒนาผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

136

6. มี ร ะบบสารสนเทศที่ ใ ห้ ข ้อ มู ล สนั บ สนุ น การประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน ครบทั้ง 9 องค์ประกอบคุณภาพ 7. มี ส่ วนร่ ว มของผูม้ ี ส่ วนได้ส่ วนเสี ย ในการประกันคุ ณภาพการศึ ก ษา โดยเฉพาะ นักศึกษา ผูใ้ ช้บณั ฑิต และผูใ้ ช้บริ การตามพันธกิจของสถาบัน 8. มีเครื อข่ายการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ดา้ นการประกันคุณภาพการศึกษาระหว่างสถาบันและ มีกิจกรรมร่ วมกัน 9. มีแนวปฏิบตั ิที่ดีหรื องานวิจยั ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่หน่ วยงานพัฒนาขึ้น และเผยแพร่ ให้หน่วยงานอื่นสามารถนาไปใช้ประโยชน์ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 หรื อ 3 ข้อ 4 หรื อ 5 หรื อ 7 หรื อ 8 ข้อ 9 ข้อ 6 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

137

องค์ ประกอบที่ 10 ตัวบ่ งชี้แสดงอัตลักษณ์ ของกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล : ระบบกลไกพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลให้เป็ นบัณฑิตนักปฏิบตั ิ (Hands-on) ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : เป็ นการกาหนดระบบและกลไกในการพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ทั้ง 9 แห่ ง ให้มีคุณสมบัติตามอัตลักษณ์ ของมหาวิทยาลัย ในการเป็ นบัณฑิตนัก ปฏิบตั ิ สามารถพัฒนาศักยภาพด้านทักษะการปฏิบตั ิให้นกั ศึกษามีประสบการณ์ สามารถเรี ยนรู้จากการ ปฏิ บ ตั ิ งานจริ ง รวมทั้งการพัฒนาบุ คลากรที่เป็ นผูส้ อนให้มี ศกั ยภาพสามารถให้ความรู้ ด้านทักษะ วิชาชีพแก่นกั ศึกษาได้ ตัวบ่ งชี้ที่ 10-1

เกณฑ์ มาตรฐานทัว่ ไป (ข้ อ) 1. มีระบบและกลไกในการดาเนินการด้านสหกิจศึกษา 2. มีการพัฒนาอาจารย์ผสู้ อนโดยเพิ่มประสบการณ์ตรงในสถานประกอบการ 3. มี ก ระบวนการจัด การการเรี ยนการสอนโดยใช้ ห ลัก ของ WIL เป็ นแนวทาง ในการพัฒนา 4. มีการติ ดตามประเมินผลการดาเนิ นงานในกิ จกรรมที่ ดาเนิ นการอย่างเป็ นระบบและ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 5. มี ผ ลลัพ ธ์ ที่ เ กิ ด จากการด าเนิ น การจนเป็ นแนวปฏิ บ ัติ ที่ ดี เ ป็ นที่ ย อมรั บ หรื อ ได้รั บ การยกย่อง คานิยาม สถานประกอบการ หมายถึ ง บริ ษทั องค์ก ารทั้งภาครั ฐและเอกชน ตลอดจนหน่ วยงาน ที่องค์กรวิชาชีพยอมรับ เพิ่ ม ประสบการณ์ ต รง หมายถึ ง การฝึ กประสบการณ์ เ สมื อ นพนัก งานของสถาน ประกอบการในระยะเวลาหนึ่งเพื่อให้มีศกั ยภาพสามารถให้ความรู ้ดา้ นทักษะวิชาชีพแก่นกั ศึกษาได้ Work Integrated Learning หมายถึ ง การส่ ง นักศึ กษาไปฝึ กประสบการณ์ ใ นสถาน ประกอบการของแต่ละรายวิชา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

เกณฑ์ การดาเนินงาน คะแนน 1

: คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

138

คะแนน 5

ดาเนินการ 1 ข้อ ดาเนินการ 2 ข้อ ดาเนินการ 3 ข้อ ดาเนินการ 4 ข้อ ดาเนินการ 5 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

ตัวบ่ งชี้ที่ 10-2

139

:

กระบวนการจัดการเรียนการสอน ใช้ ทกั ษะทีม่ ีเทคโนโลยีเป็ นฐาน (Technology Based Education - Training) ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : เป็ นตัวบ่งชี้ที่จะตอบอัตลักษณ์ของกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ที่ให้ความสาคัญกับการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ รวมทั้งนาเทคโนโลยีมาเป็ นฐานในการพัฒนา ทางด้านทักษะต่างๆในการจัดการเรี ยนการสอน เพื่อฝึ กนักศึกษาให้มีความรู ้ ความสามารถในการ ใช้เครื่ องมือ เครื่ องจักร ในสาขาวิชาชีพ เพื่อทาให้บณ ั ฑิตของราชมงคลมีศกั ยภาพ สามารถทางาน ในสถานประกอบการได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เกณฑ์ มาตรฐานทัว่ ไป (ข้ อ) 1. กระบวนการเรี ย นการสอนให้ ค วามส าคัญ กับ Technology Based และฝึ กทัก ษะ ในการทางาน 2. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ เครื่ องมือ อุปกรณ์ ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 3. นัก ศึ ก ษามี ก ารแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ด้า น Technology Based กับ ชุ ม ชน สั ง คมภายใต้ การให้คาแนะนาของอาจารย์ผสู้ อน 4. นักศึกษาใช้หลัก Technology Based ในงานวิจยั โครงงาน กรณี ศึกษา 5. ติ ดตามและประเมิ น ผลกิ จกรรมที่ ไ ด้ดาเนิ นการอย่า งเป็ นระบบและมี ก ารพัฒนาอย่า ง ต่อเนื่อง ทาให้นกั ศึกษามีการพัฒนาการเรี ยนรู้ทกั ษะวิชาชีพ คานิยาม Technology Based หมายถึง การเรี ยนรู้บนฐานเทคโนโลยี (Technology based learning) ซึ่ งครอบคลุมวิธีการเรี ยนรู้หลากหลายรู ปแบบ อาทิ การเรี ยนรู้บนคอมพิวเตอร์ (Computer-based learning) การเรี ยนรู้บนเว็บ (Web-based learning) ห้องเรี ยนเสมือนจริ ง (Virtual classroom) และความร่ วมมือดิจิทลั่ (Digital collaboration) เป็ นต้น ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู ้ผา่ นสื่ ออิเล็กทรอนิ กส์ ทุกประเภท อาทิ อินเทอร์ เน็ต (Internet) อินทราเน็ต (Intranet) เอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) การ ถ่ายทอดผ่านดาวเที ยม (Satellite broadcast) แถบบันทึกเสี ยงและวิดีทศั น์ (Audio/Video tape) โทรทัศน์ที่สามารถโต้ตอบกันได้ (Interactive TV) และซีดีรอม (CD-ROM)


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

140

เกณฑ์ การดาเนินงาน : คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ดาเนินการ 1 ข้อ ดาเนินการ 2 ข้อ ดาเนินการ 3 ข้อ ดาเนินการ 4 ข้อ ดาเนินการ 5 ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

141

ตัวบ่ งชี้ที่ 10-3

: มีระบบและกลไกการสร้ างความเชี่ยวชาญวิชาชีพ (Professional Oriented) ให้ กบั นักศึกษา ชนิดของตัวบ่ งชี้ : กระบวนการ คาอธิบายตัวบ่ งชี้ : เป็ นตัวบ่งชี้ที่ตอ้ งการให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลได้จดั ทาระบบ และกลไกในการพัฒนาความเชี่ ยวชาญด้านวิชาชี พให้นกั ศึกษา เพื่อเป็ นบัณฑิตที่มีความสามารถ ด้านการออกแบบ การวางแผน สามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหาและปฏิบตั ิได้ เป็ นคนดี ของสังคม มี ความฉลาดทางอารมณ์ ทักษะด้า นวิช าชี พ ทักษะในความเป็ นมนุ ษย์ ตลอดจนมีศกั ยภาพความ เชี่ยวชาญด้านวิชาชีพ สร้างงานให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและสังคม เกณฑ์ มาตรฐานทัว่ ไป (ข้ อ) 1. มีระบบและกลไกในการพัฒนาแนวทางการสร้ างความเชี่ ยวชาญในวิชาชี พ มี การนาสู่ การปฏิบตั ิและมีผลลัพธ์ชดั เจน 2. มีแผนพัฒนาความเชี่ยวชาญทางด้านวิชาชีพทั้งในระดับมหาวิทยาลัย และคณะ/สาขาวิชา 3. มีการจัดสรรทรัพยากรในการสร้างความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพตามแผนที่ได้กาหนดไว้ 4. มีการจัดกิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาความเชี่ยวชาญทางด้านวิชาชีพและความเป็ นมนุษย์ 5. มีการกากับ ติดตามและประเมิ นผลการดาเนิ นการอย่างเป็ นระบบและมีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง คานิยาม ความเชี่ ย วชาญด้า นวิช าชี พ คื อ ความรู้ ความสามารถในด้า นวิช าการและวิช าชี พ ด้ว ย การศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่ อง จนสามารถประยุกต์ใช้ความรู ้ เชิ งวิชาการและ เทคโนโลยีต่า งๆ เข้า กับ การปฏิ บตั ิ งาน/หน้าที่ ต่า งๆ ที่ ได้รับ มอบหมายได้อย่างมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผล จนเกิดผลสัมฤทธิ์ ที่ดีต่อมหาวิทยาลัย ความเป็ นคนดี ของสังคมของสังคม คื อ คุ ณค่าทางคุ ณธรรม จริ ยธรรม ศิ ลธรรม ความดี การสื่ อสาร ใช้หลักประชาธิ ปไตยให้ถูกต้อง ตลอดจนการไม่ละเมิดสิ ทธิ เสรี ภาพของบุคคลอื่น เกณฑ์ การดาเนินงาน : คะแนน 1 คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ดาเนินการ 1 ข้อ ดาเนินการ 2 ข้อ ดาเนินการ 3 ข้อ ดาเนินการ 4 ข้อ ดาเนินการ 5 ข้อ


บทที่ 4 กระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก บทนา ตามหมวด ๖ ว่าด้วยมาตรฐานและการประกันคุ ณภาพการศึกษา แห่ งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ กาหนดให้สถานศึกษาทุก แห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อยหนึ่ งครั้งในทุกห้าปี นับตั้งแต่การประเมินครั้ง สุ ดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ซึ่ ง สมศ. ได้ดาเนินการ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๔๘) และประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง (พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๓) เสร็ จสิ้ นไปแล้ว ขณะนี้ อยูร่ ะหว่างการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ซึ่ งยังคงหลักการสาคัญของการประเมินคุณภาพภายนอก ตามที่กาหนด ในกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ หมวด ๓ ที่ได้ระบุวา่ การประกันคุณภาพภายนอกให้คานึงถึงจุดมุ่งหมายและหลักการ ดังต่อไปนี้ ๑. เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๒. ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็ นธรรม และโปร่ งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็ น จริ งและมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ ๓. สร้ างความสมดุลระหว่างเสรี ภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของ ชาติโดยให้มีเอกภาพเชิงนโยบาย ซึ่ งสถานศึกษาสามารถกาหนดเป้ าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพ การศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษาและผูเ้ รี ยน ๔. ส่ งเสริ ม สนับสนุน และร่ วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา ๕. ส่ งเสริ มการมี ส่วนร่ วมในการประเมิ นคุ ณภาพและพัฒนาการจัดการศึ กษาของรั ฐ เอกชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ๖. คานึงถึงความเป็ นอิสระ เสรี ภาพทางวิชาการ เอกลักษณ์ ปรัชญา ปณิ ธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้ าหมายของสถานศึกษา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

143

ทั้งนี้ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ กาหนดให้ สมศ. ทาการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาแต่ละแห่ งตามมาตรฐาน การศึกษาของชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่ องต่างๆ ดังนี้ ๑. มาตรฐานที่วา่ ด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา ๒. มาตรฐานที่วา่ ด้วยการบริ หารจัดการศึกษา ๓. มาตรฐานที่วา่ ด้วยการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ๔. มาตรฐานที่วา่ ด้วยการประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับอุดมศึกษา สมศ. ได้กาหนดตัวบ่งชี้ จานวน ๑๘ ตัวบ่งชี้ซ่ ึ งครอบคลุมทั้ง ๔ มาตรฐานตามที่กฎกระทรวงฯ กาหนด โดยแบ่งเป็ น ๓ กลุ่มตัวบ่งชี้ ได้แก่ กลุ่มตัวบ่งชี้ พ้ืนฐาน จานวน ๑๕ ตัวบ่งชี้ กลุ่มตัวบ่งชี้ อตั ลักษณ์ จานวน ๒ ตัวบ่งชี้ และกลุ่ม ตัวบ่งชี้มาตรการส่ งเสริ ม จานวน ๑ ตัวบ่งชี้

๑. การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม การประเมินคุณภาพภายนอกเป็ นการประเมินผลการจัดการศึกษา เพื่อตรวจสอบคุณภาพ ของสถานศึกษาโดยหน่ วยงานหรื อบุคคลภายนอกสถานศึกษาเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุ ณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาดียงิ่ ขึ้น ซึ่ งต้องเริ่ มต้นจากการที่สถานศึกษามีระบบการประกัน คุณภาพภายใน เพื่อวางแผนพัฒนาปรับปรุ งคุณภาพของตนเอง ดาเนินการปรับปรุ งคุณภาพ มีการ กากับติ ดตามคุ ณภาพ และมี ระบบประเมิ นตนเองก่ อน ต่อจากนั้นจึ งรั บการประเมิ นคุ ณภาพ ภายนอกโดย สมศ. ซึ่ งจะดาเนินการพิจารณาและตรวจสอบจากผลการประเมินคุณภาพภายในของ สถานศึกษา การประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกจึงควรสอดคล้องและ เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน เพราะต่างมุ่งสู่ มาตรฐานหรื อคุณภาพที่คาดหวังให้เกิดขึ้นแก่ผเู ้ รี ยน โดยมี วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอก ดังนี้ ๑.๑ วัตถุประสงค์ ของการประเมิน วัตถุประสงค์ ทวั่ ไป ๑. เพื่อให้ทราบระดับคุณภาพของสถานศึกษาในการดาเนินภารกิจด้านต่าง ๆ ๒. เพื่อกระตุน้ เตือนให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพการศึกษาและประสิ ทธิ ภาพการบริ หาร จัดการอย่างต่อเนื่อง ๓. เพื่อให้ทราบความก้าวหน้าของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

144

๔. เพื่อรายงานระดับคุณภาพและพัฒนาการในด้านคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา ต่อสาธารณชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์ เฉพาะ ๑. เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริ งในการดาเนิ นงานของสถานศึกษาและประเมินคุณภาพ การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา กรอบแนวทางและวิธีการที่ สมศ. กาหนด และสอดคล้องกับ ระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด ๒. เพื่อให้ได้ขอ้ มูลที่ช่วยสะท้อนความแตกต่างของแต่ละสถานศึกษาที่แสดงถึงอัตลักษณ์ รวมทั้งผลสาเร็ จของการดาเนินการตามมาตรการส่ งเสริ มของภาครัฐ ๓. เพื่ อยกระดับมาตรฐานคุ ณภาพการศึ กษาของสถานศึ ก ษาโดยพิจารณาจากผลผลิ ต ผลลัพธ์และผลกระทบมากกว่ากระบวนการ ๔. เพื่อส่ งเสริ มให้สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพและพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน อย่างต่อเนื่อง ๕. เพื่อส่ งเสริ มให้สถานศึกษามี ทิศทางที่ สอดคล้องกันในการประเมินคุ ณภาพภายนอก กับการประเมินคุณภาพภายใน ๖. เพื่ อ สร้ า งความร่ ว มมื อ และมี เ ป้ าหมายร่ ว มกัน ระหว่ า งหน่ ว ยงานต้น สั ง กัด และ หน่วยงานเกี่ยวข้อง รวมทั้งผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย เป็ นการเชื่อมโยงการดาเนินงานสู่ การพัฒนาคุณภาพ ร่ วมกัน ๗. เพื่ อ รายงานผลการประเมิ น คุ ณ ภาพและเผยแพร่ ผ ลการประเมิ น คุ ณ ภาพและ ประสิ ทธิ ภาพการบริ หารจัดการของสถานศึ กษาอย่างเป็ นรู ปธรรมต่อหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้องและ สาธารณชน ผลทีค่ าดว่าจะได้ รับ ๑. การบริ หารจัดการรวมถึ งการใช้ทรัพยากรของสถานศึกษาเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ผล โดยทาให้การผลิตบัณฑิตทุกระดับ การสร้างผลงานวิจยั และการให้บริ การวิชาการ เกิดประโยชน์ สู งสุ ด และตรงกับความต้องการของสังคมและประเทศ ๒. สถานศึกษา หน่วยงานบริ หารการศึกษา และรัฐบาล มีขอ้ มูลที่ถูกต้องและเป็ นระบบใน การกาหนดนโยบาย วางแผน และบริ หารจัดการการศึกษาเพื่อการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ๓. สถานศึกษามีการพัฒนาคุ ณภาพอย่างต่อเนื่ องเข้าสู่ ระดับมาตรฐานสากล และมีความ เป็ นเลิศทางวิชาการ ตามอัตลักษณ์ของสถาบันอุดมศึกษา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

145

๑.๒ วัตถุประสงค์ ของคู่มือการประเมิน คู่ มื อ การประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกรอบสามระดั บ อุ ด มศึ ก ษาจัด ท าขึ้ นเพื่ อ ใช้ เ ป็ น เอกสารอ้างอิงในการปฏิบตั ิงานของสถานศึกษา โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้ ๑. เพื่อเป็ นแนวทางในการกาหนดตัวบ่งชี้ ในการปฏิบตั ิงานของสถานศึกษา ให้ครอบคลุม การประเมินทุกด้านตามพันธกิจ ๒. เพื่ อเป็ นแนวทางในการจัดเก็บ ข้อมู ลสาหรั บ การประเมิ นตามตัวบ่งชี้ ให้เป็ นระบบ ครบถ้วนและสื บค้นได้ง่าย สาหรับเตรี ยมการประเมินคุณภาพ ๓. เพื่ อเป็ นแนวทางในการประเมิ น ตนเองของสถานศึ ก ษาก่ อ นที่ จ ะรั บ การประเมิ น คุณภาพภายนอก โดยรู ปแบบการเขียนรายงานการประเมินตนเองเป็ นไปตามที่หน่วยงานต้นสังกัด กาหนด ๑.๓ ความสั มพันธ์ ระหว่ างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก ตามมาตรา ๔๘ ของพระราชบัญ ญัติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไ ขเพิ่ ม เติ ม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ระบุ ว่า “...ให้หน่ วยงานต้นสัง กัดและสถานศึ ก ษาจัดให้มี ระบบการ ประกัน คุ ณ ภาพภายในสถานศึ ก ษาและให้ถื อว่า การประกัน คุ ณ ภาพภายในเป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของ กระบวนการบริ หารการศึ ก ษาที่ ต้ อ ง ด าเนิ นการอย่ า งต่ อ เนื่ อง” ในขณะที่ ม าตรา ๔๙ ของพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการประเมินคุณภาพภายนอกไว้วา่ “ให้มีสานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็ นองค์การมหาชนทาหน้าที่พฒั นาเกณฑ์ วิธีการ ประเมินคุณภาพภายนอก และทาการประเมินผลการจัดการศึ กษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพ ของสถานศึกษา” จากข้อ มู ล ข้า งต้น จะเห็ น ว่ า การประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในเป็ นส่ ว นหนึ่ งของ กระบวนการบริ หารการศึ กษาปกติ ที่ต้องดาเนิ นการอย่า งต่อเนื่ อง โดยมี การควบคุ ม ดู แลปั จจัย ที่ เกี่ ย วข้องกับ คุ ณภาพ มี ก ารตรวจสอบ ติ ดตามปละประเมิ นผลการดาเนิ นงานเพื่อนาไปสู่ ก าร พัฒนาปรับปรุ งคุณภาพอย่างสม่าเสมอ ด้วยเหตุน้ ี ระบบประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทั้งปั จจัย นาเข้า กระบวนการ และผลผลิ ตหรื อผลลัพธ์ ซึ่ งต่างจากการประเมินคุ ณภาพภายนอกที่เน้นการ ประเมิ นผลการจัด การศึ ก ษา ดัง นั้นความเชื่ อ มโยงระหว่า งการประกัน คุ ณ ภาพภายในกับ การ ประเมินคุณภาพภายนอกจึงเป็ นสิ่ งจาเป็ น โดยได้เชื่อมโยงให้เห็นจากแผนภาพที่ ๓ ดังนี้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

146

แผนภาพที่ ๔.๑ ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก จากแผนภาพที่ ๔.๑ จะเห็นว่าเมื่อสถานศึกษามีการดาเนิ นการประกันคุณภาพภายในแล้ว จาเป็ นต้องจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพภายใน ซึ่ งเป็ นผลจากการประกัน คุณภาพภายในหรื อเรี ยกว่ารายงานการประเมินตนเอง (SAR) เพื่อนาเสนอสภาสถาบัน หน่วยงาน ต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ดเผยต่อสาธารณชน เอกสารดังกล่าวจะเป็ นเอกสารเชื่ อมโยง ระหว่างการประกันคุ ณภาพภายในของสถานศึกษาการติดตามตรวจสอบโดยหน่ วยงานต้นสังกัด และการประเมินคุณภาพภายนอกโดย สมศ. ดังนั้นสถานศึกษาจาเป็ นต้องจัดทารายงานการประเมิน ตนเองที่มีความลุ่มลึกสะท้อนภาพแท้จริ งของสถานศึกษาในทุกองค์ประกอบคุณภาพ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

147

๒. คาอธิบายรายตัวบ่ งชี้การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม สมศ. มี แ นวคิ ด และหลัก การในการประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกตามเจตนารมณ์ ข อง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ โดยมุ่งเน้นคุ ณภาพของผูเ้ รี ยนเป็ นหลัก เพื่อให้ความมัน่ ใจว่า ผูเ้ รี ยนจะได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพใกล้เคียงกันไม่วา่ อยูใ่ นท้องถิ่นใดก็ตามโดยมีระบบการประกัน คุ ณ ภาพเป็ นเครื่ องมื อ ในการส่ ง เสริ ม และสนับ สนุ น ให้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง คุ ณภาพการศึ ก ษาอย่า ง ต่อเนื่องและยัง่ ยืน ๒.๑ แนวคิดและทิศทาง ๑) ประเมินอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา ๒) ประเมินจากผลการจัดการศึกษาเป็ นหลัก ตามมาตรา ๔๙ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติโดยให้น้ าหนักร้อยละ ๗๕ ๓) ประเมินในเชิงกระบวนการ โดยให้น้ าหนักร้อยละ ๒๕ เพื่อให้ความสาคัญกับสภา สถาบัน ผูบ้ ริ หารสถาบัน คณาจารย์ และเครื่ องมืออุปกรณ์ คุณภาพและความพร้อมของผูเ้ รี ยน การ จัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ การบริ หารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล และการ ประกันคุณภาพภายใน ๔) ประเมินโดยวิธีการและข้อมูลทั้งเชิ งปริ มาณและเชิ งคุณภาพโดยพิชญพิจารณ์ (Peer Review) ๕) ประเมินโดยการยืนยันรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้ เพื่อกระตุน้ ให้การ ประกันคุณภาพภายในมีความเข้มแข็งยิง่ ขึ้น ๖) ลดจานวนมาตรฐานและจานวนตัวบ่งชี้โดยถ่ายโอนมาตรฐานและตัวบ่งชี้ เกี่ยวกับปั จจัย นาเข้าและกระบวนการให้อยูใ่ นระบบการประกันคุณภาพภายใน ๒.๒ หลักการพัฒนาตัวบ่ งชี้ ๑) กาหนดตัวบ่งชี้ ที่มุ่งการประเมินผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบ มากกว่าปั จจัยนาเข้า และกระบวนการ ๒) คานึงถึงลักษณะและประเภทของสถานศึกษา ๓) เน้นตัวบ่งชี้ท้ งั คุณภาพและปริ มาณ ทั้งเชิงบวกและลบ ๔) ตระหนักถึงความสาคัญของปัจจัย ข้อจากัด ตลอดจนวัฒนธรรม และความเป็ นไทย


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

148

๕) ให้มีตวั บ่งชี้ พ้ืนฐานเท่าที่จาเป็ น แต่ยงั คงอานาจจาแนก โดยเพิ่มตัวบ่งชี้ อตั ลักษณ์และ ตัวบ่งชี้มาตรการส่ งเสริ ม ๖) คานึ งถึ งความเชื่ อมโยงระหว่างการประกันคุ ณภาพภายในและการประเมิ นคุ ณภาพ ภายนอก ๒.๓ หลักเกณฑ์ การกาหนดตัวบ่ งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับอุดมศึกษา ได้กาหนดตัวบ่งชี้ เป็ น ๓ กลุ่มคือ กลุ่ มตัวบ่ง ชี้ พ้ืนฐาน กลุ่ ม ตัวบ่ งชี้ อตั ลักษณ์ และกลุ่ มตัวบ่งชี้ มาตรการส่ งเสริ มให้สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๓๘ ซึ่ งกาหนดให้ สมศ. ทาการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาแต่ละแห่ งตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติและครอบคลุมหลักเกณฑ์ในเรื่ องต่อไปนี้ คือ ๑) มาตรฐานที่วา่ ด้วยผลการจัดการศึกษาใน แต่ละระดับและประเภทการศึกษา ๒) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการบริ หารจัดการศึกษา ๓) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ และ ๔) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการประกันคุณภาพ ภายใน ดังจะเห็นความสอดคล้องตามตารางที่ ๑


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

149

ตารางที่ ๔.๑ ความสอดคล้องระหว่างตัวบ่ งชี้และมาตรฐานตามกฎกระทรวงฯ ประเภท

ตัวบ่ งชี้ พืน้ ฐาน

ด้านคุณภาพบัณฑิต ๑. บัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้งานทาหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี ๒. คุณภาพของบัณฑิตปริ ญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ๓. ผลงานของผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ๔. ผลงานของผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ด้านงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ๕. งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ๖. งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ๗. ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๘. ผลการนาความรู้และประสบการณ์จากการให้บริ การวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรี ยน การสอนและการวิจยั ๙. ผลการเรี ยนรู้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรื อองค์กรภายนอก ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๑๐. การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ๑๑. การพัฒนาสุนทรี ยภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ด้านการบริหารและการพัฒนาสถาบัน ๑๒. การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน ๑๓. การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของผูบ้ ริ หารสถาบัน ๑๔. การพัฒนาคณาจารย์ ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๑๕. ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด

ตัวบ่ งชี้ อัตลักษณ์

ตัวบ่ งชี้ มาตรการส่ งเสริม

๑๖. ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถาบัน ๑๖.๑ ผลการบริ หารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ ๑๖.๒ ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ ๑๗. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน ๑๘. ผลการชี้นา ป้ องกันหรื อแก้ปัญหาของสังคมในด้านต่างๆ ๑๘.๑ ผลการชี้นา ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในประเด็นที่ ๑ ภายในสถาบัน ๑๘.๒ ผลการชี้นา ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในประเด็นที่ ๒ ภายนอกสถาบัน

มาตรฐาน ตามกฎกระทรวง ผลการจัด การศึกษา และ การจัดการ เรี ยนการสอน ที่เน้นผูเ้ รี ยน เป็ นสาคัญ

การบริ หาร จัดการศึกษา

การประกัน คุณภาพภายใน

ผลการจัดการศึกษา และการจัดการเรี ยน การสอนที่เน้น ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

150

กลุ่มตัวบ่ งชี้ พนื้ ฐาน หมายถึง กลุ่มตัวบ่งชี้ ที่ประเมินภายใต้ภารกิจของสถานศึกษา โดย กาหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินบนพื้นฐานที่ทุกสถานศึกษาต้องมีและปฏิบตั ิได้ ซึ่ งสามารถชี้ ผลลัพธ์และผลกระทบได้ดี และมีความเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน กลุ่มตัวบ่ งชี้ อัตลักษณ์ หมายถึง กลุ่ มตัวบ่งชี้ ที่ประเมิ นผลผลิ ตตามปรัชญา ปณิ ธาน/ วิสัยทัศน์พนั ธกิจ และวัตถุ ประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา รวมถึงความสาเร็ จตามจุดเน้นและ จุดเด่ นที่ ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ ของแต่ละสถานศึ กษา โดยได้รับความเห็ นชอบจากสภา สถาบัน กลุ่มตัวบ่ งชี้ มาตรการส่ งเสริ ม หมายถึ ง กลุ่ มตัวบ่งชี้ ที่ประเมิ นผลการดาเนิ นงานของ สถานศึกษาโดยสถานศึกษาเป็ นผูก้ าหนดแนวทางพัฒนาเพื่อร่ วมกันชี้แนะ ป้ องกันและแก้ไขปั ญหา สังคมตามนโยบายของรัฐ ซึ่ งสามารถปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาและปั ญหาสังคมที่เปลี่ยนไป โดยมี เป้ าหมายที่ แสดงถึ ง ความเป็ นผูช้ ้ ี นาสั งคม อาทิ การรั ก ชาติ การบ ารุ งศาสนาและเทิดทูน พระมหากษัตริ ย ์ การส่ งเสริ มและสื บสานโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ การน้อมนาปรัชญา ของเศรษฐกิ จพอเพียงมาปฏิบตั ิเป็ นแบบอย่าง การสร้างสังคมสันติสุขและความปรองดอง การ ส่ งเสริ มความร่ วมมือในกรอบประชาคมอาเซี ยน การส่ งเสริ มด้านสิ่ งแวดล้อม พลังงาน เศรษฐกิจ สุ ขภาพ ค่านิ ยม จิตสาธารณะ และความประหยัด รวมทั้งการแก้ปัญหาสังคม อาทิความขัดแย้ง อุบตั ิภยั และสิ่ งเสพติด เป็ นต้น ๒.๔ การกาหนดค่ านา้ หนักตัวบ่ งชี้ การกาหนดค่าน้ าหนักตัวบ่งชี้ ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับอุดมศึกษา มี ดังนี้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

151

ตารางที่ ๔.๒ นา้ หนักตัวบ่ งชี้ กลุ่ม ตัวบ่ งชี้

ตัวบ่ งชี้

ด้านคุณภาพบัณฑิต ๑. บัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้งานทาหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี ๒. คุณภาพของบัณฑิตปริ ญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ๓. ผลงานของผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ๔. ผลงานของผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ด้านงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ๕. งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ๖. งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ๗. ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม กลุ่มตัวบ่ งชี้ ๘. ผลการนาความรู้และประสบการณ์จากการให้บริ การวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน พืน้ ฐาน และการวิจยั ๙. ผลการเรี ยนรู้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรื อองค์กรภายนอก ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๑๐. การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ๑๑. การพัฒนาสุนทรี ยภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ด้านการบริหารและการพัฒนาสถาบัน ๑๒. การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน ๑๓. การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของผูบ้ ริ หารสถาบัน ๑๔. การพัฒนาคณาจารย์ ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๑๕. ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด รวมนา้ หนัก ๑๖. ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถาบัน ๑๖.๑ ผลการบริ หารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ กลุ่มตัวบ่ งชี้ ๑๖.๒ ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ อัตลักษณ์ ๑๗. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน กลุ่มตัวบ่ งชี้ มาตรการ ส่ งเสริม

นา้ หนัก คะแนน ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๗๕ ๕ ๕ ๕

๑๘. ผลการชี้นา ป้ องกันหรื อแก้ปัญหาของสังคมในด้านต่างๆ ๑๘.๑ ผลการชี้นา ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในประเด็นที่ ๑ ภายในสถาบัน

๑๘.๒ ผลการชี้นา ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในประเด็นที่ ๒ ภายนอกสถาบัน รวมนา้ หนัก

๕ ๑๐

รวมนา้ หนักทั้ง ๑๘ ตัวบ่ งชี้

๑๐๐


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

152

๒.๕ ข้ อมูลการดาเนินงานของสถานศึกษาทีใ่ ช้ ประกอบการพิจารณา ๑) การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ใช้ผลการดาเนิ นงานย้อนหลังก่อนการประเมิน ตามลักษณะของตัวบ่งชี้ คือ (๑.๑) ตัวบ่งชี้ เชิ งปริ มาณ ใช้ผลการดาเนินงาน ๓ ปี ก่อนปี ที่ประเมิน เช่น หากสถาบัน ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกปี พ.ศ. ๒๕๕๔ รายงานการประเมินตนเองต้องรายงานข้อมูล ของปี การศึกษาหรื อปี ปฏิทิน พ.ศ. ๒๕๕๑, ๒๕๕๒ และ ๒๕๕๓ กรณี ไม่มีขอ้ มูลย้อนหลังครบ ๓ ปี ให้ใช้ขอ้ มูลล่าสุ ดที่มี (๑.๒) ตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ ใช้ผลการดาเนินงาน ๑ ปี ก่อนปี ที่ประเมิน ๒) ข้อมูลผลการดาเนิ นงานส่ วนใหญ่ใช้ตามปี การศึกษา ยกเว้นบางตัวบ่งชี้ มีการจัดเก็บ ข้อมูลตามปี ปฏิทินให้ใช้ขอ้ มูลตามปี ปฏิทิน ๒.๖ นิยามศัพท์ อาจารย์ หมายถึง อาจารย์ประจาที่เป็ นข้าราชการ หรื อพนักงานของมหาวิทยาลัย รวมทั้ง อาจารย์ที่มีสัญญาจ้างกับสถาบันอุดมศึกษา นักวิจัย หมายถึง นักวิจยั ประจาที่เป็ นข้าราชการ หรื อพนักงานของมหาวิทยาลัย รวมทั้ง บุคลากรที่มีตาแหน่งและหน้าที่ความรับผิดชอบเทียบเท่าเจ้าหน้าที่วจิ ยั หรื อนักวิจยั และมีสัญญาจ้าง กับสถาบันอุดมศึกษา งานวิจัย หมายถึง ผลงานทางวิชาการที่ได้มีการศึกษาค้นคว้าตามกระบวนการระเบียบวิธี วิจยั ที่เหมาะสมกับสาขาวิชาเพื่อให้เกิดเป็ นองค์ความรู ้ใหม่ หรื อเป็ นการต่อยอดองค์ความรู ้เดิม งานสร้ า งสรรค์ หมายถึ ง ผลงานศิ ลปะและสิ่ ง ประดิ ษฐ์ประเภทต่า งๆที่ มีค วามเป็ น นวัตกรรม โดยมีการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็ นระบบที่เหมาะสมตามประเภทของงานศิลปะซึ่ งมีแนว ทางการทดลองหรื อการพัฒนาจากแนวคิดสร้างสรรค์เดิมเพื่อเป็ นต้นแบบหรื อความสามารถในการ บุกเบิกศาสตร์ อนั ก่อให้เกิ ดคุณค่าทางสุ นทรี ยแ์ ละคุณประโยชน์ที่เป็ นที่ยอมรับในวงวิชาชี พ ตาม การจัดกลุ่มศิลปะของอาเซี ยน งานสร้างสรรค์ทางศิลปะ ได้แก่ (๑) ทัศนศิลป์ (Visual Arts) ประกอบด้วย ผลงานด้านจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย ภาพยนตร์ สื่อประสม สถาปั ตยกรรมและงานออกแบบประเภทอื่นๆ (๒) ศิ ลปะการแสดง (Performing Arts) ประกอบด้วยดุริยางคศิลป์ นาฏยศิลป์ รวมถึ งการแสดงรู ปแบบต่างๆ และ (๓) วรรณศิลป์ (Literature) ซึ่ งประกอบด้วยบทประพันธ์และกวีนิพนธ์รูปแบบต่างๆ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

153

การประเมินงานสร้ างสรรค์ ๑) ประเมินในมิติการเผยแพร่ มิใช่ประเมินคุณภาพตัวผลงาน การเผยแพร่ งานสร้างสรรค์ ต้องผ่านการรับรองหรื อกลัน่ กรองจากคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ นักวิชาการ หรื อนักวิชาชีพใน สาขาวิชาซึ่ งเป็ นที่ยอมรับในวงวิชาการหรื อวิชาชี พ โดยมีระดับเกณฑ์การประเมินตามที่ สมศ. กาหนด ๒) ระดับเกณฑ์การประเมินการเผยแพร่ ใช้เกณฑ์การประเมินมาตรฐานเดี ยวกันทุ ก สาขาวิชา ถึงแม้ผลงานสร้างสรรค์จะมีลกั ษณะเฉพาะที่แตกต่างกันตามสาขาวิชา เช่น ขนาดผลงาน งบประมาณ เวลาการทางานจานวนผูร้ ่ วมงาน วิธีการจัดการเผยแพร่ หรื อประโยชน์ที่ได้รับ ๓) การประเมินในมิติการเผยแพร่ เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ผสู้ ร้างผลงานสร้างสรรค์ ได้รับ การประเมินผลงานมากขึ้น และเป็ นการส่ งเสริ มให้อาจารย์มีกาลังใจสร้างสรรค์ผลงาน ทั้งยังเป็ น การให้ความสาคัญกับการเผยแพร่ ผลงานสร้างสรรค์ เหมือนกับเป็ นการเผยแพร่ งานวิชาการทางการ สร้างสรรค์ให้กว้างขึ้น การเผยแพร่ หมายถึง การเผยแพร่ งานสร้างสรรค์ในลักษณะสิ่ งตีพิมพ์ การจัดนิทรรศการ (Exhibition)การจัดการแสดง (Performance) หรื อการจัดประกวด ซึ่ งเป็ นการนาเสนอผลงานศิลปะ แขนงต่างๆ อาทิ งานศิลปะดนตรี การแสดง และงานออกแบบที่เป็ นผลงานวิชาการสู่ สาธารณะ โดยมีการจัดการนาเสนอการเผยแพร่ ในระดับชาติหรื อนานาชาติ อย่างเป็ นระบบและเป็ นวิธีการที่ ยอมรั บในวงวิช าชี พ โดยมีก ระบวนการพิ จารณาคัดเลื อกคุ ณภาพผลงาน ก่ อนการเผยแพร่ ประกอบด้วย ศิลปิ นแห่งชาติ ผูท้ รงคุณวุฒิ และนักวิชาการที่เป็ นที่ยอมรับในวงวิชาการ แหล่ งเผยแพร่ หมายถึง สถานที่สาหรับการเผยแพร่ ที่ยอมรับในวงวิชาการ โดยการจัด แสดงนิทรรศการหรื อจัดการแสดง ซึ่ งเป็ นผลงานสร้างสรรค์สู่สาธารณะ ประกอบด้วยหลักเกณฑ์ ในการพิจารณาคัดเลือกคุณภาพงานสร้างสรรค์ ดังต่อไปนี้ ๑) ต้องเป็ นแหล่ งเผยแพร่ ระดับสถานศึ กษา อาทิ หอศิลป์ หอประชุ ม และลาน ศิลปวัฒนธรรมโดยการจัดงานแสดงเป็ นที่ยอมรับในวงการวิชาชีพและผูท้ รงคุณวุฒิ เป็ นต้น ๒) หอศิลป์ ขององค์กรหรื อสมาคม จะต้องเป็ นสถานที่จดั แสดงงานศิลปะ งานสร้างสรรค์ โดยเฉพาะและมีคณะกรรมการบริ หารจัดการหอศิลป์ หรื อมีคณะกรรมการรับผิดชอบ ดูแลการจัด นิทรรศการทางวิชาการ ๓) แหล่งเผยแพร่ ระดับนานาชาติ ต้องได้รับการยอมรับในวงการศิลปะ ในระดับนานาชาติ หรื อเป็ นโครงการความร่ วมมือทางศิลปะงานสร้างสรรค์ ระหว่างประเทศ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

154

๔) คณะกรรมการพิจารณาการกลัน่ กรองงานสร้ างสรรค์ ไม่ต่ ากว่า ๓ คน โดยมี องค์ประกอบที่สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมิน ประกอบด้วย ศิลปิ นแห่ งชาติ ผูท้ รงคุณวุฒิ และ หรื อนักวิชาการที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น ทั้งนี้ตอ้ งมีกรรมการจากภายนอกสถาบันร่ วมพิจารณาด้วย (ผูท้ รงคุณวุฒิให้หมายความรวมถึงศิลปิ นแห่งชาติดว้ ย และผลงานเหล่านั้นจะต้องผ่านกระบวนการ ทางวิชาการ และการรับรองจากผูท้ รงคุณวุฒิหรื อสมาคม/สภาวิชาการวิชาชีพในสาขาที่เกี่ยวข้อง) ๕) ศิลปะ งานสร้างสรรค์ งานออกแบบ ที่ไม่ตอ้ งการแสดงในหอศิลป์ จะต้องมีหลักฐานที่ แสดงกิจกรรมการดาเนินงานอย่างเป็ นระบบ และมีคุณภาพของงานที่แสดง พร้อมเอกสารโครงงาน แผนงาน และการประเมินผลโดยผลงานที่จดั แสดงต้องได้รับการรับรองจากผูท้ รงคุ ณวุฒิทาง วิชาการในสาขาวิชาไม่ต่ากว่า ๓ คน ทั้งนี้ตอ้ งมีกรรมการจากภายนอกสถาบันร่ วมพิจารณาด้วย ศิลปะ คือ งานสร้ างสรรค์ที่ส่งเสริ มสร้ างสุ นทรี ย ์ ความงาม และความสุ ข แก่ผคู ้ น สภาพแวดล้อม และสังคมเพื่อพัฒนาการยกระดับความมีรสนิยม ความสุ นทรี ย ์ เข้าใจคุ ณค่าและ ความสาคัญของศิลปะ ตลอดจนเป็ นแนวทางในการพัฒนาส่ งเสริ มการอยูร่ ่ วมกันอย่างมีความสุ ข วัฒนธรรม หมายถึง ความเจริ ญงอกงามของมวลมนุ ษย์ที่มีพฒั นาการอย่างต่อเนื่ อง เช่ น เรื่ องความคิด ความรู ้สึก ความเชื่ อ ก่อให้เกิ ดวัฒนธรรม โดยสามารถเห็ นได้จากพฤติกรรมในวิถี ชี วิ ต และสั ง คม รวมทั้ง ผลที่ เ กิ ด จากกิ จ กรรมหรื อผลผลิ ต กิ จ กรรมของมนุ ษ ย์ว ัฒ นธรรมมี ลักษณะเฉพาะและมีลกั ษณะสากล เปลี่ยนแปลงตามสมัยนิยม วัฒนธรรม ปั จจุบนั ที่ดีควรมีความ สอดคล้องกับความเป็ นสากล แต่มีรากฐานของวัฒนธรรมตนเองที่มีคุณค่า สาหรับวัฒนธรรมใน สถาบันอุดมศึกษา หมายถึง วัฒนธรรมที่แสดงความเป็ นอุดมศึกษาที่ถือเป็ นแบบอย่างที่ดีต่อสังคม มีความเจริ ญงอกงามทางปั ญญา ความรู้ ความคิด ทัศนคติ และจิตใจ การมีน้ าใจเสี ยสละและการมี ส่ วนร่ วมกับสังคม สามารถเป็ ผูน้ าที่ดีและเป็ นที่พ่ ึงของสังคม มีวฒั นธรรมในวิถีชีวิต มหาวิทยาลัยที่ น่าศรัทธาเป็ นที่ยอมรับมีบทบาทต่อการป้ องกันวัฒนธรรมที่ดีงามของไทยและพัฒนาแนวทางการ ดารงชีวติ ท่ามกลางกระแสวัฒนธรรมสากลได้เหมาะสมอย่างฉลาดรู ้ การพัฒนาสุ นทรียภาพ หมายถึง การปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงอย่างมีแผนที่เป็ นระบบเกี่ยวกับ ความงามทางศิลปะและวัฒนธรรม ที่มีผลกระทบต่อบุคคล สถาบัน สภาพแวดล้อม และสังคมใน แนวทางที่ดีข้ ึน โดยมีเป้ าหมายที่ชดั เจน และเป็ นที่ยอมรับร่ วมกันได้ ผลการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง หรื อสร้างสิ่ งใหม่ตอ้ งไม่เป็ นการทาลายคุณค่าทางสุ นทรี ยข์ องศิลปะและวัฒนธรรมเดิม การพัฒนา เชิงวัฒนธรรมสามารถสร้างวัฒนธรรมใหม่ที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และมีนวัตกรรมใหม่ ทั้งทางเทคโนโลยี ระบบสังคม และความนิยม เพื่อให้อยูร่ ่ วมกันได้อย่างเข้าใจ มีความเจริ ญก้าวหน้าอย่างสันติสุข


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

155

สุ นทรียะทางศิลปะและวัฒนธรรม หมายถึง คุณค่าทางความงามของศิลปะและวัฒนธรรม ที่ส่งผลต่อการรับรู ้และความรู ้สึก สามารถจรรโลงจิตใจให้มีความสุ ข มีรสนิยม ก่อให้เกิดวิถีชีวิต มนุ ษย์ที่งดงาม สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมที่เข้าใจและผูกพัน ตลอดจนการรับรู ้ ถึงคุ ณค่าที่เป็ น รู ปธรรมและนามธรรมของศิ ลปะและวัฒนธรรมเชิ งประวัติศาสตร์ เพื่ อการดารงรั กษ์สืบต่ อไป สะอาด หมายถึง ไม่รก มีระเบียบ รักษาง่าย ใช้สะดวก สุ ขลักษณะ หมายถึง สะอาด ปลอดภัย ไร้มลภาวะ สุ ขใจ สบายกาย เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม สวยงาม หมายถึง มีการจัดแต่งอาคาร สภาพแวดล้อมอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับพื้นที่ แวดล้อมไม่สิ้นเปลือง และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ๒.๗ วิธีการนับ การนั บ จ านวนบทความจากผลงานวิจั ยหรื อผลงานสร้ า งสรรค์ ที่ตีพิม พ์ ห รื อ เผยแพร่ บทความจากผลงานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์ที่สามารถนามานับได้มีเฉพาะ Article หรื อ Conference Paper หรื อ Review เท่านั้น ส่ วนบทความจากผลงานวิจยั ที่ตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่ องจากการ ประชุมวิชาการนั้นสามารถนามานับได้เฉพาะที่เป็ นบทความฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) เท่านั้น การนับบทความจากผลงานวิจยั ที่ ตีพิมพ์หรื อผลงานสร้ างสรรค์ที่ เผยแพร่ ใ ห้นับ ตามปี ปฏิทิน หรื อปี การศึกษา อย่างใดอย่างหนึ่งตามระบบที่มหาวิทยาลัยจัดเก็บข้อมูล ในกรณี ที่บทความ จากผลงานวิจยั ที่ตีพิมพ์หรื อผลงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ เป็ นผลงานเดิมแต่นาไปตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ มากกว่า ๑ ครั้ง ให้นบั ได้เพียง ๑ ผลงาน ทั้งนี้ จะนับเมื่อบทความจากผลงานวิจยั หรื อผลงาน สร้างสรรค์ได้ตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ไปแล้ว การนับจานวนผลงานวิจัยหรื อผลงานสร้ างสรรค์ ที่นาไปใช้ ประโยชน์ ให้นบั จากวันที่นา ผลงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์มาใช้และเกิดผลชัดเจนโดยที่ผลงานวิจยั จะดาเนิ นการในช่วงเวลาใด ก็ได้ ช่วงเวลาที่ใช้จะเป็ นตามปี ปฏิทินหรื อปี งบประมาณ หรื อปี การศึกษา อย่างใดอย่างหนึ่ งตาม ระบบที่มหาวิทยาลัยจัดเก็บข้อมูล ในกรณี ที่งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์มีการนาไปใช้ประโยชน์ มากกว่า ๑ ครั้ง ให้นบั การใช้ประโยชน์ได้เพียงครั้งเดียว ยกเว้นในกรณี ที่มีการ ใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกันชัดเจนตามมิติของการใช้ประโยชน์ที่ไม่ซ้ ากัน การนับจานวนผลงานทางวิชาการทีไ่ ด้ รับการรั บรองคุณภาพ จะนับผลงานวิชาการที่ได้รับ การตี พิมพ์เผยแพร่ ในรู ปแบบของบทความวิชาการในวารสารวิชาการทั้งในระดับชาติ และ/หรื อ นานาชาติ หนังสื อหรื อตาราทางวิชาการ ซึ่ งมีระบบการพิจารณาต้นฉบับจากคณะกรรมการ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

156

ผูท้ รงคุณวุฒิก่อนการตีพิมพ์ และผลงานจะต้องเกินร้อยละ ๕๐ ของชิ้นงาน ในกรณี ที่มีการตีพิมพ์ มากกว่า ๑ ครั้ง ให้นบั การตีพิมพ์เพียงครั้งเดียวต่องานวิชาการ ๑ ชิ้น การนับจานวนอาจารย์และนักวิจัย ให้นบั อาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทั้งที่ปฏิบตั ิงาน จริ งและลาศึกษาต่อในแต่ละปี การศึกษา โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ - กรณี มีระยะเวลาทางาน ๙ เดือนขึ้นไป ให้นบั เป็ น ๑ คน - กรณี มีระยะเวลาทางาน ๖ - ๙ เดือน ให้นบั เป็ น ๐.๕ คน - กรณี มีระยะเวลาทางานน้อยกว่า ๖ เดือน ไม่สามารถนามานับได้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

157

๒.๘ การคานวณผลการดาเนินงาน ๓ ปี ๒.๘.๑ ระดับคณะ นาผลการดาเนินงานของคณะเป็ นรายปี มาใช้ในการคานวณ โดยใช้สูตรการคานวณ ดังนี้

ตัวตั้งของปี ที่ ๑ + ตัวตั้งของปี ที่ ๒ + ตัวตั้งของปี ที่ ๓ ตัวหารของปี ที่ ๑ + ตัวหารของปี ที่ ๒ + ตัวหารของปี ที่ ๓ ๒.๘.๒ ระดับสถาบัน นาผลการดาเนิ นงานของทุกคณะเป็ นรายปี มาใช้ในการคานวณ โดยใช้สูตรการคานวณ ดังนี้ ตัวตั้งของปี ที่ ๑ (ผลรวมทุกคณะ) + ตัวตั้งของปี ที่ ๒ (ผลรวมทุกคณะ) + ตัวตั้งของปี ที่ ๓ (ผลรวมทุกคณะ) ตัวหารของปี ที่ ๑ (ผลรวมทุกคณะ) + ตัวหารของปี ที่ ๒ (ผลรวมทุกคณะ) + ตัวหารของปี ที่ ๓ (ผลรวมทุกคณะ) การคานวณค่ าคะแนน การใช้สูตรการคานวณค่า คะแนน ให้คานวณตามผลการดาเนิ นงานจริ ง โดยใช้ผลการ ดาเนิ นงานที่ ก าหนดเป็ น ๕ คะแนน ตามเกณฑ์ก ารให้ค ะแนน เป็ นตัวเที ย บในการค านวณค่ า คะแนน ดังนี้ ผลการดาเนิ นงานตามตัวบ่งชี้ ผลการดาเนิ นงานที่กาหนดเป็ น ๕ คะแนน

 ๕


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

158

๒.๙ รายละเอียดตัวบ่ งชี้และเกณฑ์ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ๒.๙.๑) กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน กลุ่มตัวบ่ งชี้ พนื้ ฐาน หมายถึง กลุ่มตัวบ่งชี้ ที่ประเมินภายใต้ภารกิจของสถานศึกษา โดย กาหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินบนพื้นฐานที่ทุกสถานศึกษาต้องมีและปฏิบตั ิได้ ซึ่ งสามารถชี้ ผลลัพธ์และผลกระทบได้ดี และมีความเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน ประกอบด้วย ๖ ด้าน ๑๕ ตัวบ่งชี้ ดังนี้ ๑) ด้านคุณภาพบัณฑิต ๒) ด้านงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ ๓) ด้านการบริ การวิชาการแก่สังคม ๔) ด้านการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม ๕) ด้านการบริ หารและการพัฒนาสถาบัน ๖) ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน

ประกอบด้วย ประกอบด้วย ประกอบด้วย ประกอบด้วย ประกอบด้วย ประกอบด้วย

๔ ๓ ๒ ๒ ๓ ๑

ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

159

ด้ านคุณภาพบัณฑิต ด้ านคุณภาพบัณฑิต หมายถึง การที่สถาบันอุดมศึกษาดาเนินการรับนักศึกษาที่มีคุณสมบัติ และจานวนตรงตามแผนการรับนักศึ กษา สอดคล้องกับเป้ าหมายการผลิ ตบัณฑิ ตอย่างมี คุณภาพ และสถาบัน ผลิ ต บัณ ฑิ ต ได้ต ามมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดับ อุ ด มศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ทั้ง ด้า นคุ ณ ธรรม จริ ยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปั ญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุ คคลและความ รั บ ผิด ชอบ ด้า นทัก ษะการวิเ คราะห์ เ ชิ ง ตัว เลข การสื่ อ สารและการใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศ และทักษะทางวิชาชี พ รวมทั้งได้ตามคุณลักษณะที่เป็ นจุดเน้นของสถาบัน กล่าวคือ เป็ นผูใ้ ช้ภาษา ได้ดี ถูกต้อง ประพฤติดี มีกริ ยามารยาทดี มีรสนิ ยมดี คิดตรึ กตรองได้ถ่องแท้ เจริ ญงอกงามเพราะ ความใฝ่ รู้ และสามารถแปลความคิ ดเป็ นการกระทาได้สาเร็ จ เป็ นผูเ้ รื องปั ญญา มีความสามารถ ในการเรี ยนรู ้ มีทกั ษะและภูมิปัญญาในฐานะนักวิชาการและนักวิชาชี พขั้นสู ง มีทกั ษะในการวิจยั และมี จิ ต ส านึ ก และภู มิ ธ รรมในฐานะพลเมื อ งดี ข องสั ง คมไทยและสั ง คมโลกตามมาตรฐาน การอุดมศึกษาของชาติ ด้ านคุณภาพบัณฑิต ประกอบด้ วย ๔ ตัวบ่ งชี้ คือ ตัวบ่ งชี้ที่ ๑ ๒ ๓ ๔

นา้ หนัก (คะแนน) บัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้งานทาหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี ๕ คุ ณภาพของบัณฑิ ตปริ ญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิ ๕ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลงานของผูส้ าเร็ จการศึ กษาระดับปริ ญญาโทที่ได้รับการตี พิมพ์หรื อ ๕ เผยแพร่ ผลงานของผูส้ าเร็ จการศึ กษาระดับปริ ญญาเอกที่ ได้รับการตีพิ มพ์หรื อ ๕ เผยแพร่ ชื่อตัวบ่ งชี้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

160

ตัวบ่ งชี้ที่ ๑ บัณฑิตปริญญาตรีทไี่ ด้ งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี คาอธิบาย บัณฑิ ตปริ ญญาตรี ที่สาเร็ จการศึกษาในหลักสู ตรภาคปกติ ภาคพิเศษ และภาคนอกเวลา ในสาขานั้นๆ ที่ได้งานทา หรื อมีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจา ภายในระยะเวลา ๑ ปี นับจาก วันที่สาเร็ จการศึกษา เมื่อเทียบกับบัณฑิตที่สาเร็ จการศึกษาในปี การศึกษานั้น การนับการมีงานทา สามารถนับกรณี การทางานสุ จริ ตทุกประเภทที่สามารถสร้างรายได้ เข้ามาประจาเพื่อเลี้ยงชีพตนเองได้ โดยการนับจานวนผูม้ ีงานทาของผูส้ าเร็ จการศึกษาที่ลงทะเบียน เรี ยนในภาคพิเศษหรื อภาคนอกเวลา ให้นบั เฉพาะผูท้ ี่เปลี่ยนงานใหม่หลังสาเร็ จการศึกษาเท่านั้น วิธีการคานวณ จานวนบัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้งานทาหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี จานวนบัณฑิตที่ตอบแบบสารวจทั้งหมด

x ๑๐๐

หมายเหตุ ไม่นบั รวมบัณฑิตที่มีงานทาก่อนเข้าศึกษาหรื อมีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจา อยูแ่ ล้วผูท้ ี่ศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา ผูอ้ ุปสมบท และผูท้ ี่เกณฑ์ทหาร เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้บญั ญัติไตรยางศ์เทียบ กาหนดร้อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๕ คะแนน ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ข้อมูลจากการสารวจต้องมีความเป็ นตัวแทนของผู้สาเร็ จการศึกษาทั้งในเชิ งปริ มาณ อย่าง น้อยร้อยละ ๗๐ และในเชิ งคุณลักษณะ ครอบคลุมทุก คณะ กรณี บณ ั ฑิ ตที่ตอบแบบสารวจไม่ถึง ร้อยละ ๗๐ ของบัณฑิ ตที่ สาเร็ จการศึกษา ให้มีการติดตามซ้ า โดยผลการสารวจต้องสามารถระบุ ข้อมูล ดังต่อไปนี้ ๑. จานวนผูต้ อบแบบสารวจ ๒. จานวนผูส้ าเร็ จการศึกษาทั้งภาคปกติและภาคพิเศษ (ภาคนอกเวลาราชการ) ๓. จานวนผูส้ าเร็ จการศึกษาที่ได้งานทา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

๔. จานวนผูส้ าเร็ จการศึกษาประกอบอาชีพอิสระ ๕. จานวนบัณฑิตที่มีงานทาก่อนเข้าศึกษา ๖. จานวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ ๗. เงินเดือนหรื อรายได้ต่อเดือน ของผูส้ าเร็ จการศึกษาที่ได้งานทาหรื อประกอบอาชีพอิสระ

161


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

162

ตัวบ่ งชี้ที่ ๒ คุณภาพของบัณฑิตปริ ญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ คาอธิบาย คุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ (TQF: HEd. หรื อ Thai Qualifications Framework for Higher Education) หมายถึง คุณลักษณะของบัณฑิตระดับ ปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท และปริ ญ ญาเอก ตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิ ร ะดับ อุ ดมศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ที่ สกอ.ระบุ โดยเป็ นคุ ณลักษณะบัณฑิ ตที่ พึ งประสงค์ตามที่ สถาบันก าหนด ครอบคลุ ม อย่า งน้อ ย ๕ ด้าน คือ ๑) ด้านคุณธรรมจริ ยธรรม ๒) ด้านความรู้ ๓) ด้านทักษะทางปั ญญา ๔) ด้านทักษะ ความสั ม พันธ์ ระหว่างบุ คคลและความรั บ ผิ ดชอบ และ ๕) ด้านทัก ษะการวิเคราะห์ เชิ ง ตัว เลข การสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้ง TQF ตามสาขาวิชาชีพที่ประกาศใช้ ตลอดจน สอดคล้องกับ คุ ณลัก ษณะของบัณฑิ ตที่ พึ ง ประสงค์ที่ ส ภาหรื อ องค์ ก รวิ ช าชี พ ก าหนดเพิ่ ม เติ ม หรื อสอดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ช้บณั ฑิต กรณี ที่ เป็ นวิ ชาชี พที่ มี การเพิ่ มเติ มคุ ณลักษณะของบัณฑิ ตที่ เพิ่ มเติ มจากกรอบมาตรฐาน ทั้ง ๕ ด้าน ต้องทาการประเมินครบทุกด้าน วิธีการคานวณ ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการประเมินบัณฑิต จานวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม ๕) ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ข้อมูลจากการสารวจต้องมีความเป็ นตัวแทนของผูส้ าเร็ จการศึกษาทั้งในเชิ งปริ มาณและใน เชิงคุณภาพครอบคลุมทุกคณะ อย่างน้อยร้อยละ ๒๐ ของจานวนผ้สาเร็ จการศึกษาในแต่ละระดับ การศึกษา โดยมีขอ้ มูล ประกอบการพิจารณา ดังต่อไปนี้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

163

๑. ข้อ มู ล ที่ แ สดงถึ ง คุ ณ ภาพบัณ ฑิ ต ในด้า นต่ า งๆ ตามกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติที่สถาบันอุดมศึกษาเป็ นผูด้ าเนินการรวบรวมข้อมูลเองโดยใช้แนวทางจาก ตัวอย่างแบบสอบถามที่เผยแพร่ โดย สมศ. ๒. ผูต้ อบแบบสอบถาม คือ ผูใ้ ช้บณั ฑิต หรื อสถานศึกษาที่รับบัณฑิตเข้าศึกษาต่อ ๓. ข้อมู ลผลการดาเนิ นงานด้านการผลิ ตบัณฑิ ตจากระบบฐานข้อมูลด้า นการประกัน คุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา (CHE QA Online System) โดยสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) ๔. ต้องแสดงแบบเก็บข้อมูลให้ครบทั้ง ๕ ด้าน และแสดงวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลให้ ชัดเจน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

ตัวบ่งชี้ ที่ ๓

164

ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์ หรือเผยแพร่

คาอธิบาย ผลงานของผูส้ าเร็ จการศึ กษาระดับปริ ญญาโทที่ ได้รับการตี พิมพ์หรื อเผยแพร่ เป็ นปั จจัย สาคัญของคุ ณภาพของผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโทที่แสดงถึ งความเป็ นผูน้ าทางความคิด ความสามารถด้านการคิดเชิงวิพากษ์การนาเสนอผลงาน มีทกั ษะในการวิจยั ทักษะและภูมิปัญญาใน ฐานะนักวิชาการและนักวิชาชีพขั้นสู ง ผลงานผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโท หมายถึง บทความที่เป็ นผลจากวิทยานิพนธ์ หรื อ บทความจากสารนิพนธ์ หรื อบทความจากศิลปนิพนธ์ การเผยแพร่ สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ ง หมายถึ งการเผยแพร่ ในลักษณะของ รายงานสื บ เนื่ องจากการประชุ มวิช าการ วารสารวิ ชาการ หรื อสิ่ งพิ ม พ์ท างวิช าการในระดับ มหาวิทยาลัย หรื อระดับคณะ และต้องเป็ นผลงานที่ผ่านการกลัน่ กรอง (peer review) โดยมี บุคคลภายนอกสถาบันร่ วมเป็ นกรรมการพิจารณาด้วย งานวิจยั ที่เผยแพร่ ในที่ประชุ มวิชาการระดับชาติ หมายถึง การนาเสนอบทความวิจยั ในที่ ประชุมวิชาการและบทความฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่องจากการ ประชุมวิชาการ (Proceedings) ระดับชาติ ที่มีกองบรรณาธิ การจัดทารายงาน หรื อคณะกรรมการ จัดประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์ หรื อผูท้ รงคุณวุฒิระดับปริ ญญาเอก หรื อผูท้ รงคุณวุฒิที่มี ผลงานเป็ นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ นอกสถาบันเจ้าภาพอย่างน้อยร้อยละ ๒๕ งานวิจยั ที่เผยแพร่ ในที่ประชุ มวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง การนาเสนอบทความวิจยั ในที่ประชุมวิชาการและบทความฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่อง จากการประชุ มวิชาการ (Proceedings) ระดับนานาชาติ ที่มีกองบรรณาธิ การจัดทารายงาน หรื อ คณะกรรมการจัดประชุ มประกอบด้วยศาสตราจารย์ หรื อผูท้ รงคุณวุฒิระดับปริ ญญาเอก หรื อ ผูท้ รงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็ นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ จากต่างประเทศอย่างน้อยร้อยละ ๒๕ การส่ งบทความเพื่อพิจารณาคัดเลื อกให้นาเสนอในการประชุ มวิชาการต้องส่ งเป็ นฉบับ สมบูรณ์ (Full Paper) และเมื่อได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ตอ้ งตีพิมพ์เป็ นฉบับ สมบูรณ์ซ่ ึ งสามารถอยูใ่ นรู ปแบบเอกสารหรื อสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ได้ งานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ หมายถึง บทความจากผลงานวิจยั ที่ ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยูใ่ นฐานข้อมูล Thai-Journal Citation Index Centre (TCI) หรื อวารสารวิชาการระดับชาติตามประกาศของ สมศ.


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

165

งานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึ ง บทความจาก ผลงานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ได้แก่ ฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank : www.scimagojr.com) หรื อ ฐานข้อมูล ISI Web of Science (Science Citation Index Expand, Social Sciences Citation Index, Art and Humanities Citation Index) หรื อฐานข้อมูล Scopus หรื อวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ตามประกาศของ สมศ. วิธีการคานวณ ผลรวมถ่วงน้ าหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ของผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโท

X ๑๐๐

จานวนผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโททั้งหมด

หมายเหตุ นับตามปี ที่ได้รับการตีพิมพ์เท่านั้น เกณฑ์ การประเมิน กาหนดระดับคุณภาพบทความวิจยั ที่ตีพิมพ์ ดังนี้ ค่ านา้ หนัก ๐.๒๕ ๐.๕๐ ๐.๗๕ ๑.๐๐

ระดับคุณภาพงานวิจัย มีการเผยแพร่ สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง มีการตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ (proceedings) มีการตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (proceedings) หรื อ มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

166

กาหนดระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ ดังนี้ ค่ านา้ หนัก ๐.๑๒๕ ๐.๒๕ ๐.๕๐ ๐.๗๕ ๑.๐๐

ระดับคุณภาพงานสร้ างสรรค์ * งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับสถาบันหรื อจังหวัด งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับชาติ งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับความร่ วมมือระหว่างประเทศ งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับภูมิภาคอาเซี ยน งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับนานาชาติ

* องค์ประกอบของคณะกรรมการไม่นอ้ ยกว่า ๓ คน และต้องมีบุคคลภายนอกสถานศึกษา ร่ วมพิจารณาด้วย อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ (Association of South East Asian Nations) มี ๑๐ ประเทศ ได้แก่ บรู ไน กัมพูชา อินโดนีเซี ย สปป.ลาว มาเลเซี ย พม่า ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ ไทย และเวียดนาม การเผยแพร่ ในระดับความร่ วมมือระหว่ างประเทศ เป็ นโครงการร่ วมมือระหว่างประเทศ ไทยกับประเทศอื่น การเผยแพร่ ในระดับภูมิภาคอาเซี ยน เป็ นการเผยแพร่ เฉพาะในกลุ่มอาเซี ยน ๑๐ ประเทศ (อย่างน้อย ๕ ประเทศ หมายถึงนับรวมประเทศไทยด้วย) และการให้คะแนนตามแหล่งเผยแพร่ ไม่ จาเป็ นต้องไปแสดงในต่างประเทศ การเผยแพร่ ในระดับนานาชาติ เป็ นการเผยแพร่ ที่เปิ ดกว้างสาหรับทุกประเทศ (อย่างน้อย ๕ ประเทศที่ไม่ได้อยูใ่ นกลุ่มอาเซี ยน) เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้บญั ญัติไตรยางศ์เทียบ กาหนดร้อยละ ๒๕ เท่ากับ ๕ คะแนน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

167

ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ๑. จานวนและรายชื่ อบทความที่เป็ นผลจากวิทยานิ พนธ์ หรื อสารนิ พนธ์ที่ตีพิมพ์ใน ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ของผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์ในระดับชาติหรื อ นานาชาติรายปี ตามปี การศึกษาหรื อปี ปฏิ ทินที่ตรงกับปี การศึกษา พร้อมชื่ อเจ้าของบทความ ชื่ อ วิทยานิพนธ์หรื อสารนิพนธ์ ปี ที่ตีพิมพ์ ชื่ อวารสารหรื อรายงานสื บเนื่องจากการประชุมวิชาการที่ ตีพิมพ์ ค่าน้ าหนักของบทความวิจยั แต่ละชิ้น ๒. จานวนและรายชื่ อผลงานสร้ างสรรค์จากศิ ลปนิ พ นธ์ ของผูส้ าเร็ จการศึก ษาระดับ ปริ ญญาโทที่ ได้รับการเผยแพร่ ในระดับชาติ หรื อระดับนานาชาติ พร้อมชื่ อเจ้าของผลงาน ปี ที่ เผยแพร่ ชื่ อหน่วยงานหรื อองค์กร พร้ อมทั้งจังหวัด ประเทศที่เผยแพร่ รู ปแบบของการเผยแพร่ พร้อมหลักฐาน และค่าน้ าหนักของการเผยแพร่ ผลงานแต่ละชิ้น ๓. จานวนผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโททั้งหมด


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

168

ตัวบ่ งชี้ที่ ๔ ผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทีไ่ ด้ รับการตีพมิ พ์ หรือเผยแพร่ คาอธิบาย ผลงานของผูส้ าเร็ จการศึ กษาระดับปริ ญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ เป็ นปั จจัย สาคัญของคุ ณภาพของผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาเอกที่แสดงถึ งความเป็ นผูน้ าทางความคิด ความสามารถด้านการคิดเชิงวิพากษ์ การนาเสนอผลงาน มีทกั ษะในการวิจยั ทักษะและภูมิปัญญา ในฐานะนักวิชาการและนักวิชาชีพขั้นสู ง งานวิจยั ที่เผยแพร่ ในที่ประชุ มวิชาการระดับชาติ หมายถึง การนาเสนอบทความวิจยั ในที่ ประชุมวิชาการและบทความฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่องจากการ ประชุมวิชาการ (Proceedings) ระดับชาติ ที่มีกองบรรณาธิ การจัดทารายงาน หรื อคณะกรรมการ จัด ประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์ หรื อผูท้ รงคุณวุฒิระดับปริ ญญาเอก หรื อผูท้ รงคุณวุฒิที่มีผลงาน เป็ นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ นอกสถาบันเจ้าภาพอย่างน้อย ร้อยละ ๒๕ งานวิจยั ที่เผยแพร่ ในที่ประชุ มวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง การนาเสนอบทความวิจยั ในที่ประชุมวิชาการและบทความฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่อง จากการประชุ มวิชาการ (Proceedings) ระดับนานาชาติ ที่มีกองบรรณาธิ การจัดทารายงาน หรื อ คณะกรรมการจัดประชุ มประกอบด้วยศาสตราจารย์ หรื อผูท้ รงคุณวุฒิระดับปริ ญญาเอก หรื อ ผูท้ รงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็ นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ จากต่างประเทศอย่างน้อยร้อยละ ๒๕ การส่ งบทความเพื่อพิจารณาคัดเลื อกให้นาเสนอในการประชุ มวิชาการต้องส่ งเป็ นฉบับ สมบูรณ์ (Full Paper)และเมื่อได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ตอ้ งตีพิมพ์เป็ นฉบับ สมบูรณ์ซ่ ึงสามารถอยูใ่ นรู ปแบบเอกสาร หรื อสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ได้ งานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ หมายถึง บทความจากผลงานวิจยั ที่ ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยูใ่ นฐานข้อมูล Thai-Journal Citation Index Centre (TCI) หรื อ วารสารวิชาการระดับชาติตามประกาศของ สมศ. งานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึ ง บทความจาก ผลงานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ได้แก่ ฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) หรื อ ฐานข้อมูล ISI Web of Science (Science Citation Index Expand, Social Sciences Citation Index, Art and Humanities Citation Index) หรื อฐานข้อมูล Scopus หรื อวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ตามประกาศของ สมศ.


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

169

วิธีการคานวณ ผลรวมถ่วงน้ าหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ของผูส้ าเร็ จ การศึกษาระดับปริ ญญาเอก

X ๑๐๐

จานวนผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาเอกทั้งหมด

เกณฑ์ การประเมิน กาหนดระดับคุณภาพบทความวิจยั ที่ตีพิมพ์ ดังนี้ ค่ านา้ หนัก ๐.๒๕ ๐.๕๐ ๐.๗๕

๑.๐๐

ระดับคุณภาพงานวิจัย มีก ารตี พิม พ์ใ นรายงานสื บเนื่ องจากการประชุ มวิชาการระดับชาติ /ระดับ นานาชาติหรื อมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI มีการตี พิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ ที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของ สมศ. มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัด อันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดย วารสารนั้นถูกจัดอยูใ่ นควอไทล์ที่ ๓ หรื อ ๔ (Q3 หรื อ Q4) ในปี ล่าสุ ด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรื อมี การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยูใ่ นประกาศของ สมศ. มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัด อันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดย วารสารนั้นถูกจัดอยูใ่ นควอไทล์ที่ ๑ หรื อ ๒ (Q1 หรื อ Q2) ในปี ล่าสุ ด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรื อมี การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI หรื อ Scopus


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

170

กาหนดระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ ดังนี้ ค่ านา้ หนัก ๐.๑๒๕ ๐.๒๕ ๐.๕๐ ๐.๗๕ ๑.๐๐

ระดับคุณภาพงานสร้ างสรรค์ * งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับสถาบันหรื อจังหวัด งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับชาติ งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับความร่ วมมือระหว่างประเทศ งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับภูมิภาคอาเซี ยน งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับนานาชาติ

* องค์ประกอบของคณะกรรมการไม่นอ้ ยกว่า ๓ คน และต้องมีบุคคลภายนอกสถานศึกษา ร่ วมพิจารณาด้วย อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ (Association of South East Asian Nations) มี ๑๐ ประเทศ ได้แก่ บรู ไน กัมพูชา อินโดนีเซี ย สปป.ลาว มาเลเซี ย พม่า ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ ไทย และเวียดนาม การเผยแพร่ ในระดับความร่ วมมือระหว่ างประเทศ เป็ นโครงการร่ วมมือระหว่างประเทศ ไทยกับประเทศอื่น การเผยแพร่ ในระดับภูมิภาคอาเซี ยน เป็ นการเผยแพร่ เฉพาะในกลุ่มอาเซี ยน ๑๐ ประเทศ (อย่างน้อย ๕ ประเทศ หมายถึงนับรวมประเทศไทยด้วย) และการให้คะแนนตามแหล่งเผยแพร่ ไม่ จาเป็ นต้องไปแสดงในต่างประเทศ การเผยแพร่ ในระดับนานาชาติ เป็ นการเผยแพร่ ที่เปิ ดกว้างสาหรับทุกประเทศ (อย่างน้อย ๕ ประเทศที่ไม่ได้อยูใ่ นกลุ่มอาเซี ยน) เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้บญั ญัติไตรยางศ์เทียบ กาหนดร้อยละ ๕๐ เท่ากับ ๕ คะแนน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

171

ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ๑. จานวนและรายชื่อบทความวิจยั จากวิทยานิพนธ์ของผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาเอก ที่ได้รับการตีพิมพ์ระดับชาติหรื อนานาชาติ รายปี ตามปี การศึกษาหรื อปี ปฏิทิน ที่ตรงกับปี การศึกษา พร้ อมชื่ อเข้าของบทความ ชื่ อวิท ยานิ พนธ์ ปี ที่ ตีพิ มพ์ ชื่ อวารสารหรื อรายงานสื บเนื่ องจากการ ประชุมวิชาการที่ตีพิมพ์ ค่าน้ าหนักของบทความวิจยั แต่ละชิ้น ๒. จานวนผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาเอกทั้งหมด


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

172

ด้ านงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ด้ านงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ หมายถึ ง การที่ส ถานศึก ษาระดับอุดมศึก ษามี การ ดาเนิ นงานตามพันธกิ จด้านการวิจยั และงานสร้ างสรรค์อย่างมีคุณภาพและมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งมี จุดเน้นเฉพาะโดยมีการดาเนินการตามนโยบาย แผนงาน งบประมาณ มีการบริ หารและการจัดการ เพื่อส่ งเสริ มและสนับสนุ นคณาจารย์ นักวิจยั และบุคลากรให้มีสมรรถนะในการทาวิจยั และงาน สร้างสรรค์ ส่ งเสริ มและสร้ างเครื อข่ายการทาวิจยั กับหน่ วยงานภายนอกสถานศึกษา เพื่อให้ได้ ผลงานวิจยั ผลงานประดิษฐ์และงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพ เป็ นนวัตกรรมที่นาไปสู่ การสร้างและ พัฒนาบัณฑิตที่เรื องปั ญญา มีคุณธรรมและความเชี่ ยวชาญสู งการสร้ างและพัฒนาองค์ความรู ้ใหม่ เป็ นการเปิ ดโลกทัศน์ใหม่และขยายพรมแดนของความรู ้และทรัพย์สินทางปั ญญาที่สามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในงานได้จริ ง ทั้งการใช้ประโยชน์เชิ งวิชาการ การใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะการใช้ ประโยชน์เชิงนโยบาย และการใช้ประโยชน์เชิงพาณิ ชย์ เป็ นต้น ถ้า สถานศึ ก ษาระดับ อุ ด มศึ ก ษาต้อ งสร้ างความเข้ม ข้น เชิ ง วิช าการ สร้ างผลงานที่ มี คุณภาพสู ง และสร้ างการยอมรับในแวดวงวิชาการ ควรเป็ นงานวิจยั เชิ งวิชาการ สามารถนา ผลงานวิจยั ไปตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติได้ หากเป็ นงานวิจยั และพัฒนาก็ตอ้ งเป็ น งานวิจยั ที่สามารถนาผลไปใช้ประโยชน์ได้ตามความต้องการของผูใ้ ช้จริ ง รวมทั้งนักวิจยั สามารถ เรี ยนรู ้สิ่งใหม่ๆ เกี่ยวกับการใช้ความรู ้ในการพัฒนา เป็ นการเรี ยนรู ้ที่สั่งสมและถ่ายทอดไปสู่ ผอู ้ ื่น ได้ ประเด็นสาคัญก็คือไม่วา่ งานวิจยั พื้นฐานหรื องานวิจยั ประยุกต์ก็ตอ้ งเป็ นงานวิจยั แท้ คือการมีผล เป็ นการเรี ยนรู้ สั่งสมองค์ความรู ้ และถ่ายทอดองค์ความรู ้น้ นั ๆ ได้ ผลงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ เป็ นปั จจัยสาคัญของการพัฒนาคุ ณภาพ ประสิ ทธิ ภาพและขีดความสามารถของคนไทยสนอง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศ รวมทั้งการพัฒนาประเทศสู่ สังคมแห่ งการเรี ยนรู ้และสังคมแห่ งภูมิ ปั ญญาอันก่อให้เกิ ดวัฒนะรรมการเรี ยนรู ้ และใฝ่ รู้ ตลอดชี วิตและวัฒนธรรมการใช้ความรู้ในการ กาหนดทิศทางยุทธศาสตร์ และการพัฒนา ตลอดจนการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

173

ด้ านงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ ประกอบด้ วย ๓ ตัวบ่ งชี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่

ชื่อตัวบ่งชี้

๕ ๖ ๗

งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ

น้ าหนัก (คะแนน) ๕ ๕ ๕


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

174

ตัวบ่ งชี้ที่ ๕ หรืองานสร้ างสรรค์ ทไี่ ด้ รับการตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ คาอธิบาย การวิจยั เป็ นพันธกิจหนึ่งที่สาคัญของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา การดาเนินการตามพันธ กิจอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสบความสาเร็ จนั้น สามารถพิจารณาได้จากผลงานวิจยั และงาน สร้างสรรค์ที่มีคุณภาพและมีการเผยแพร่ อย่างกว้างขวางจากการเปรี ยบเทียบจานวนบทความวิจยั ที่ ตีพิมพ์และจานวนผลงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ ในระดับชาติหรื อระดับนานาชาติกบั จานวนอาจารย์ ประจาและนักวิจยั ประจา งานวิจยั ที่เผยแพร่ ในที่ประชุ มวิชาการระดับชาติ หมายถึง การนาเสนอบทความวิจยั ในที่ ประชุมวิชาการและบทความฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่องจากการ ประชุมวิชาการ (Proceedings) ระดับชาติ ที่มีกองบรรณาธิ การจัดทารายงาน หรื อคณะกรรมการ จัด ประชุม ประกอบด้วยศาสตราจารย์ หรื อผูท้ รงคุณวุฒิระดับปริ ญญาเอก หรื อผูท้ รงคุณวุฒิที่มีผลงาน เป็ นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ นอกสถาบันเจ้าภาพอย่างน้อยร้อยละ ๒๕ งานวิจยั ที่เผยแพร่ ในที่ประชุ มวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง การนาเสนอบทความวิจยั ในที่ประชุมวิชาการและบทความฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสื บเนื่อง จากการประชุ มวิชาการ (Proceedings) ระดับนานาชาติ ที่มีกองบรรณาธิ การจัดทารายงาน หรื อ คณะกรรมการจัดประชุ มประกอบด้วยศาสตราจารย์ หรื อผูท้ รงคุณวุฒิระดับปริ ญญาเอก หรื อ ผูท้ รงคุณวุฒิที่มีผลงานเป็ นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ จากต่างประเทศอย่างน้อยร้อยละ ๒๕ การส่ งบทความเพื่อพิจารณาคัดเลื อกให้นาเสนอในการประชุ มวิชาการต้องส่ งเป็ นฉบับ สมบูรณ์ (Full Paper) และเมื่อได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ตอ้ งตีพิมพ์เป็ นฉบับ สมบูรณ์ซ่ ึ งสามารถอยูใ่ นรู ปแบบเอกสารหรื อสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ได้ งานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ หมายถึง บทความจากผลงานวิจยั ที่ ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่มีชื่อปรากฏอยูใ่ นฐานข้อมูล Thai-Journal Citation Index Centre (TCI) หรื อวารสารวิชาการระดับชาติตามประกาศของ สมศ. งานวิจยั ที่ได้รั บการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึ ง บทความจาก ผลงานวิจยั ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Journal) ที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ได้แก่ ฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) หรื อ ฐานข้อมูล ISI Web of Science (Science Citation Index Expand, Social Sciences Citation Index, Art and Humanities Citation Index) หรื อฐานข้อมูล Scopus หรื อวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ตามประกาศของ สมศ.


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

175

เกณฑ์ การประเมิน กาหนดระดับคุณภาพบทความวิจยั ที่ตีพิมพ์ ดังนี้ ค่ านา้ หนัก ๐.๒๕ ๐.๕๐ ๐.๗๕

๑.๐๐

ระดับคุณภาพงานวิจัย มี ก ารตี พิ ม พ์ใ นรายงานสื บ เนื่ อ งจากการประชุ ม วิช าการระดับ ชาติ /ระดับ นานาชาติหรื อมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI มี ก ารตี พิ ม พ์ใ นวารสารวิช าการระดับ ชาติ ที่ มี ชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของ สมศ. มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัด อันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดย วารสารนั้นถูกจัดอยูใ่ นควอไทล์ที่ ๓ หรื อ ๔ (Q3 หรื อ Q4) ในปี ล่าสุ ด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรื อมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ที่มีชื่อปรากฏอยูใ่ นประกาศของ สมศ. มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลการจัด อันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดย วารสารนั้นถูกจัดอยูใ่ นควอไทล์ที่ ๑ หรื อ ๒ (Q1 หรื อ Q2) ในปี ล่าสุ ด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรื อมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI หรื อ Scopus


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

176

กาหนดระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ ดังนี้ ค่ านา้ หนัก ๐.๑๒๕ ๐.๒๕ ๐.๕๐ ๐.๗๕ ๑.๐๐

ระดับคุณภาพงานสร้ างสรรค์ * งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับสถาบันหรื อจังหวัด งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับชาติ งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับความร่ วมมือระหว่างประเทศ งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับภูมิภาคอาเซี ยน งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ ในระดับนานาชาติ

* องค์ประกอบของคณะกรรมการไม่นอ้ ยกว่า ๓ คน และต้องมีบุคคลภายนอกสถานศึกษา ร่ วมพิจารณาด้วย อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ (Association of South East Asian Nations) มี ๑๐ ประเทศ ได้แก่ บรู ไน กัมพูชา อินโดนีเซี ย สปป.ลาว มาเลเซี ย พม่า ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ ไทย และเวียดนาม การเผยแพร่ ในระดับความร่ วมมือระหว่ างประเทศ เป็ นโครงการร่ วมมือระหว่างประเทศ ไทยกับประเทศอื่น การเผยแพร่ ในระดับภูมิภาคอาเซี ยน เป็ นการเผยแพร่ เฉพาะในกลุ่มอาเซี ยน ๑๐ ประเทศ (อย่างน้อย ๕ ประเทศ หมายถึงนับรวมประเทศไทยด้วย) และการให้คะแนนตามแหล่งเผยแพร่ ไม่ จาเป็ นต้องไปแสดงในต่างประเทศ การเผยแพร่ ในระดับนานาชาติ เป็ นการเผยแพร่ ที่เปิ ดกว้างสาหรับทุกประเทศ (อย่างน้อย ๕ ประเทศที่ไม่ได้อยูใ่ นกลุ่มอาเซี ยน)


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

177

วิธีการคานวณ ผลรวมถ่วงน้ าหนักของงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทั้งหมด

x ๑๐๐

เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้บญั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้อยละเท่ากับ ๕ คะแนน จาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา ดังนี้ กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

๕ คะแนน ๒๐ ๒๐ ๑๐

การคิดคะแนนระดับคณะ ให้นาคะแนนที่คิดได้ของแต่ละกลุ่มสาขาวิชามาหาค่าเฉลี่ย และ การคิดคะแนนระดับสถาบัน ให้นาคะแนนที่คิดได้ในแต่ละคณะมาหาค่าเฉลี่ย ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ๑. จานวนและรายชื่ อบทความวิจยั ระดับชาติและนานาชาติท้ งั หมด ของอาจารย์ประจา และนัก วิจยั ประจา ทั้ง ที่ ป ฏิ บ ตั ิ ง านจริ ง และลาศึ ก ษาต่ อตามปี การศึ ก ษาหรื อ ปี ปฏิ ทิ นที่ ต รงกับ ปี การศึกษาพร้อมชื่ อเจ้าของบทความ ปี ที่ตีพิมพ์ ชื่ อวารสารหรื อรายงานสื บเนื่ องจากการประชุ ม และค่าน้ าหนักของแต่ละบทความวิจยั ๒. จานวนและรายชื่ อผลงานสร้ า งสรรค์ที่ เผยแพร่ ใ นระดับ ชาติ หรื อระดับ นานาชาติ ทั้งหมดของอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจา ทั้งที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ พร้อมชื่ อเจ้าของ ผลงาน ปี ที่เผยแพร่ ชื่ อสถานที่ จังหวัด หรื อประเทศที่เผยแพร่ และระบุรูปแบบของการเผยแพร่ พร้อมหลักฐานและค่าน้ าหนักของแต่ละผลงานสร้างสรรค์ ๓. หลักฐานแสดงความเป็ นเจ้าของโครงการวิจยั


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

178

ตัวบ่ งชี้ที่ ๖ งานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ทนี่ าไปใช้ ประโยชน์ คาอธิบาย การวิจยั เป็ นพันธกิจหนึ่ งที่สาคัญของสถาบันอุดมศึกษา การดาเนินการตามพันธกิจอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพและประสบความสาเร็ จนั้น สามารถพิจารณาได้จากผลงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ ที่ มีคุณภาพและมีประโยชน์สุ่การนาไปใช้จากการเปรี ยบเทียบจานวนงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ของอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาที่นาไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาตามวัตถุประสงค์ที่ระบุ ไว้ในโครงการวิจยั และรายงานการวิจยั โดยได้รับ การรั บรองการใช้ป ระโยชน์ จากหน่ วยงานที่ เกี่ ย วข้อ งกับ จ านวนอาจารย์ป ระจ าและนัก วิ จ ัย ประจ างานวิ จยั หรื องานสร้ า งสรรค์ที่ นาไปใช้ ประโยชน์ หมายถึง งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้นาไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ ในโครงการ โครงการวิจยั และรายงานการวิจยั อย่างถูกต้อง สามารถนาไปสู่ การแก้ปัญหาได้อย่าง เป็ นรู ปธรรม มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในการประยุกต์ใช้กบั กลุ่มเป้ าหมายโดยมีหลักฐานปรากฏ ชัดเจนถึงการนาไปใช้จนก่อให้เกิดประโยชน์ได้จริ งอย่างชัดเจน ตามวัตถุประสงค์และ/หรื อ ได้การ รับรองการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์หรื อการรับรอง/การ ตรวจรับงานโดยหน่วยงานภายนอกสถานศึกษา ประเภทของการใช้ประโยชน์จากงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ ที่ ส ามารถนาไปสู่ การ แก้ปัญหาได้อย่างเป็ นรู ปธรรม มีดงั นี้ ๑. การใช้ประโยชน์ในเชิ งสาธารณะ เช่ น ผลงานวิจยั ที่นาไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์แก่ สาธารณชนในเรื่ องต่างๆ ที่ทาให้คุณภาพชี วิตและเศรษฐกิ จของประชาชนดี ข้ ึน ได้แก่ การใช้ ประโยชน์ดา้ นสาธารณสุ ขด้านการบริ หารจัดการสาหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ด้านการส่ งเสริ มประชาธิ ปไตยภาคประชาชน ด้านศิลปะและวัฒนธรรม ด้านวิถีชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นต้น ๒. การใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบาย เช่น ใช้ประโยชน์จากผลงานวิจยั เชิงนโยบายในการ นาไปประกอบเป็ นข้อมูลการประกาศใช้กฎหมาย หรื อกาหนดมาตรการ กฎเกณฑ์ต่างๆ โดยองค์กร หรื อหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเป็ นต้น ๓. การใช้ประโยชน์ในเชิ งพาณิ ชย์ เช่ น งานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์ที่นาไปสู่ การพัฒนา สิ่ งประดิษฐ์หรื อผลิตภัณฑ์ซ่ ึ งก่อให้เกิดรายได้ หรื อนาไปสู่ การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิต เป็ นต้น ๔. การใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานสร้างสรรค์ ซึ่ งเป็ นการสร้างคุณค่าทางจิตใจ ยกระดับ จิตใจ ก่อให้เกิ ดสุ นทรี ยภาพ สร้างความสุ ข เช่น งานศิลปะที่นาไปใช้ในโรงพยาบาล ซึ่ งได้มี การศึกษาและการประเมินไว้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

179

หน่ ว ยงานที่เกี่ยวข้ องในการรั บ รองการนางานวิจั ยหรื องานสร้ า งสรรค์ ไปใช้ ประโยชน์ หมายถึงหน่วยงานหรื อองค์กร หรื อชุมชนภายนอกสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีการนางานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาไปใช้ก่อให้เกิดประโยชน์ โดยมีหลักฐานเชิ ง ประจักษ์หรื อการรับรอง/การตรวจรับงานโดยหน่วยงานภายนอกสถานศึกษา การนับจานวนผลงานวิจัยหรื อผลงานสร้ างสรรค์ ที่นาไปใช้ ประโยชน์ ให้นบั จากวันที่นา ผลงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์มาใช้และเกิดผลชัดเจนโดยที่ผลงานวิจยั จะดาเนิ นการในช่วงเวลาใด ก็ได้ ช่วงเวลาที่ใช้จะเป็ นตามปี ปฏิทิน หรื อปี งบประมาณ หรื อปี การศึกษา อย่างใดอย่างหนึ่ งตาม ระบบที่มหาวิทยาลัยจัดเก็บข้อมูล ในกรณี ที่งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์มีการนาไปใช้ประโยชน์ มากกว่า ๑ ครั้ง ให้นบั การใช้ประโยชน์ได้เพียงครั้งเดี ยว ยกเว้นในกรณี ที่มีการใช้ประโยชน์ที่ แตกต่างกันชัดเจนตามมิติของการใช้ประโยชน์ที่ไม่ซ้ ากัน วิธีการคานวณ ผลรวมของจานวนงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทั้งหมด

x ๑๐๐

เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้บญั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้อยละ ๒๐ เท่ากับ ๕ คะแนน ทุกกลุ่มสาขาวิชา ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ๑. จานวนและรายชื่ องานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์ที่นาไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์ของอาจารย์ ประจาและนักวิจยั ประจา โดยนับรวมผลงานที่นาไปใช้ประโยชน์ของอาจารย์และนักวิจยั ประจาทั้ง ที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ พร้อมชื่อเจ้าของผลงาน ปี ที่งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ดาเนินการ เสร็ จ ปี ที่นาไปใช้ประโยชน์ ชื่ อหน่วยงานที่นาไปใช้ประโยชน์ โดยมีหลักฐานการรับรองการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานหรื อ องค์กรที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ให้แสดงข้อมูลที่ระบุรายละเอียดการใช้ประโยชน์ที่ชดั เจนด้วย ตามแนวทาง ดังต่อไปนี้ - การใช้ประโยชน์ในเชิ งสาธารณะ เช่ น ผลงานวิจยั ที่ นาไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์แก่ สาธารณชนในเรื่ องต่างๆ ที่ทาให้คุณภาพชี วิตและเศรษฐกิ จของประชาชนดี ข้ ึน ได้แก่ การใช้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

180

ประโยชน์ ด้า นสาธารณสุ ข ด้า นการบริ หารจัด การส าหรั บ วิส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่อ ม (SME) ด้านการส่ งเสริ มประชาธิ ปไตยภาคประชาชน ด้านศิลปะและวัฒนธรรม ด้านวิถีชีวิตตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นต้น - การใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบาย เช่ น ใช้ประโยชน์จากผลงานวิจยั เชิ งนโยบายในการ นาไปประกอบเป็ นข้อมูลการประกาศใช้กฎหมาย หรื อกาหนดมาตรการ กฎเกณฑ์ต่างๆ โดยองค์กร หรื อหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเป็ นต้น - การใช้ประโยชน์ในเชิ งพาณิ ชย์ เช่น งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ นาไปสู่ การพัฒนา สิ่ งประดิษฐ์หรื อผลิตภัณฑ์ซ่ ึ งก่อให้เกิดรายได้หรื อนาไปสู่ การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิต เป็ นต้น - การใช้ประโยชน์ทางอ้อมของงานสร้างสรรค์ ซึ่ งเป็ นการสร้างคุณค่าทางจิตใจ ยกระดับ จิตใจก่อให้เกิ ดสุ นทรี ยภาพ สร้างความสุ ข เช่ น งานศิลปะที่นาไปใช้ในโรงพยาบาล ซึ่ งได้มี การศึกษาและการประเมินไว้ ๒. จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทั้งหมดในแต่ละปี การศึ กษา โดยนับรวม อาจารย์และนักวิจยั ประจาที่ลาศึกษาต่อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

181

ตัวบ่ งชี้ที่ ๗ ผลงานวิชาการทีไ่ ด้ รับการรับรองคุณภาพ คาอธิบาย ผลงานวิชาการที่มีคุณภาพ สะท้อนถึงสมรรถนะในการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจยั การปฏิ บตั ิจริ งและได้นาไปใช้ในการแก้ปัญหา หรื อพัฒนางานในหน้าที่ จนเกิ ดผลดี ต่อการ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และเป็ นประโยชน์ต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ ผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ หมายถึง บทความวิชาการ ตารา หรื อหนังสื อ ที่ผา่ น กระบวนการกลัน่ กรองและได้รับการรับรองคุณภาพแล้ว ตามเกณฑ์ของ กพอ. เรื่ องหลักเกณฑ์การ ขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการหรื อเทียบเท่า ผลงานทางวิชาการที่เป็ นบทความวิชาการ (Academic Paper) ตารา (Textbook) หรื อ หนังสื อ (Book) ต้องเป็ นผลงานที่ผา่ นกระบวนการกลัน่ กรองผลงานก่อนตีพิมพ์ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ - บทความวิชาการ หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่เรี ยบเรี ยงอย่างเป็ นระบบ มีขอ้ ความรู้ที่ สะท้อนมุมมอง แนวคิดเชิงทฤษฎีที่ได้จากประสบการณ์ การสังเคราะห์เอกสาร หรื อ การวิจยั โดย จัดทาในรู ปของบทความเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ ในวารสารวิชาการที่มีคุณภาพซึ่ งมีผตู ้ รวจอ่าน - ตารา หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่เรี ยบเรี ยงอย่างเป็ นระบบ อาจเขียนเพื่อตอบสนอง เนื้ อหาทั้งหมดของรายวิชาหรื อเป็ นส่ วนหนึ่ งของวิชาหรื อหลักสู ตรก็ได้ โดยมีการวิเคราะห์และ สั ง เคราะห์ ค วามรู้ ที่ เ กี่ ย วข้อ ง และสะท้อ นให้ เ ห็ น ความสามารถในการถ่ า ยทอดวิ ช าใน ระดับอุดมศึกษา - หนังสื อ หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่เขียนขึ้นเพื่อเผยแพร่ ความรู ้ไปสู่ วงการวิชาการ หรื อผูอ้ ่านทัว่ ไป โดยไม่จาเป็ นต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดของหลักสู ตรหรื อต้องนามาประกอบการ เรี ยนการสอนในวิชาใดวิชาหนึ่ ง ทั้งนี้ จะต้องเป็ นเอกสารที่เรี ยบเรี ยงขึ้นอย่างมีเอกภาพ มีรากฐาน ทางวิชาการที่มนั่ คงและให้ทศั นะของผูเ้ ขียนที่สร้างเสริ มปั ญญา ความคิด และสร้างความแข็งแกร่ ง ทางวิชาการให้แก่สาขาวิชานั้นๆ หรื อสาขาวิชาที่เกี่ยวเนื่อง การนับจานวนผลงานทางวิชาการทีไ่ ด้ รับการรั บรองคุณภาพ จะนับผลงานวิชาการที่ได้รับ การตี พิมพ์เผยแพร่ ในรู ปแบบของบทความวิชาการในวารสารวิชาการทั้งในระดับชาติ และ/หรื อ นานาชาติ หนังสื อหรื อตาราทางวิชาการ ซึ่ งมีระบบการพิจารณาต้นฉบับจากคณะกรรมการ ผูท้ รงคุณวุฒิก่อนการตีพิมพ์ และผลงานจะต้องเกินร้อยละ ๕๐ ของชิ้นงาน ในกรณี ที่มีการตีพิมพ์ มากกว่า ๑ ครั้ง ให้นบั การตีพิมพ์เพียงครั้งเดียวต่องานวิชาการ ๑ ชิ้น


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

182

เกณฑ์ การประเมิน กาหนดระดับคุณภาพผลงานวิชาการ ดังนี้ ค่ านา้ หนัก ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ ๐.๒๕ บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ ๐.๕๐ บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ๐.๗๕ ตาราหรื อหนังสื อที่มีการตรวจอ่านโดยผูท้ รงคุณวุฒิที่สถานศึกษากาหนด ๑.๐๐ ตาราหรื อหนังสื อที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตาม เกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการแล้ว หรื อตาราหรื อหนังสื อที่มีคุณภาพสู งมี ผูท้ รงคุณวุฒิตรวจอ่านตามเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการ วิธีการคานวณ ผลรวมถ่วงน้ าหนักของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทั้งหมด

x ๑๐๐

เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้บญั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้อยละ ๑๐ เท่ากับ ๕ คะแนน ทุกกลุ่มสาขาวิชา ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ๑. จานวนและรายชื่ อผลงานวิชาการ (บทความวิชาการ ต ารา หนังสื อ ) ที่ มี คุณภาพของ อาจารย์ประจา โดยนับรวมผลงานของอาจารย์ท้ งั ที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ พร้อมชื่ อเจ้าของ ผลงานปี ที่ผลงานแล้วเสร็ จ ปี ที่ได้รับการรับรองคุ ณภาพจากหน่ วยงานที่เชื่ อถื อได้ ชื่ อหน่ วยงาน ที่รับรอง และมีหลักฐานการรับรองคุ ณภาพจากหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้อง ค่าน้ าหนักของผลงานวิชาการ แต่ละชิ้น ๒. จานวนอาจารย์ประจ าและนักวิจยั ทั้งหมดในแต่ละปี การศึ กษาโดยนับรวมอาจารย์และ นักวิจยั ประจาที่ลาศึกษาต่อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

183

ด้ านการบริการวิชาการแก่ สังคม ด้ านการบริการวิชาการแก่ สังคม หมายถึง การที่สถานศึกษาระดับอุดมศึกษามีการให้บริ การ วิชาการที่ครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมายที่เฉพาะเจาะจงทั้งในประเทศและต่างประเทศซึ่ งอาจให้บริ การ โดยการใช้ทรัพยากรของสถาบันหรื อใช้ทรัพยากรร่ วมกันทั้งในระดับสถาบันและระดับบุคคลใน หลายลัก ษณะ อาทิ การให้ค าปรึ ก ษา การศึ ก ษา วิจ ัย ค้นคว้า เพื่ อแสวงหาค าตอบให้ก ับ สั ง คม การฝึ กอบรมหลักสู ตรระยะสั้นต่างๆ การจัดให้มีการศึกษาต่อเนื่ อง บริ การศิษย์เก่าและประชาชน ทัว่ ไป การให้บริ การทางวิชาการนี้สามารถจัดในรู ปแบบการให้บริ การแบบให้เปล่าด้วยสานึ กความ รับผิดชอบของความเป็ นสถาบันอุดมศึกษาในฐานะเป็ นที่พ่ ึงของสังคม หรื อเป็ นการให้บริ การเชิ ง พาณิ ชย์ที่ให้ผลตอบแทนเป็ นรายได้ หรื อเป็ นข้อมูลย้อนกลับมาพัฒนาและปรับปรุ งเพื่อให้เกิดองค์ ความรู ้ ใ หม่ การให้บ ริ ก ารทางวิช าการโดยการถ่ า ยทอดเทคโนโลยีและองค์ค วามรู ้ ใ หม่ ที่ เป็ น ประโยชน์ เป็ นที่ พ่ ึ ง และแหล่ ง อ้ า งอิ ง ทางวิ ช าการ เสนอแนะทางที่ เ หมาะสม สอดคล้ อ ง อันก่อให้เกิด ความมัน่ คง ความเข้มแข็ง และการพัฒนาที่ยงั่ ยืนของชุ มชน สังคม ประเทศชาติและ นานาชาติ ตลอดจนการส่ งเสริ มการมี บทบาททางวิชาการ และวิชาชี พในการตอบสนอง ชี้ นา และเตือนสติสังคมของสถาบันอุดมศึกษาโดยคานึงถึงความรับผิดชอบต่อสาธารณะ ด้ านการบริการวิชาการแก่สังคม ประกอบด้ วย ๒ ตัวบ่ งชี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่

ชื่อตัวบ่งชี้

การนาความรู้และประสบการณ์จากการให้บริ การวิชาการมาใช้ในการ พัฒนาการเรี ยนการสอนหรื อการวิจยั การเรี ยนรู้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรื อองค์กรภายนอก

น้ าหนัก (คะแนน) ๕ ๕


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

184

ตัวบ่ งชี้ที่ ๘ การนาความรู้ และประสบการณ์ จากการให้ บริ การวิชาการมาใช้ ในการ พัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย คาอธิบาย การให้บริ การวิชาการ หมายถึง การที่สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่ งอยูใ่ นฐานะที่เป็ นที่พ่ ึง ของชุมชนหรื อสังคม เป็ นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการ หรื อทาหน้าที่ใดๆ ที่มีผลต่อการพัฒนาชุ มชนใน ด้านวิชาการหรื อการพัฒนาความรู้ ตลอดจนความเข้มแข็งประเทศชาติและนานาชาติ การบริ การ วิช าการเป็ นการบริ ก ารที่ มี ค่ า ตอบแทนและบริ ก ารวิชาการให้เปล่ า โดยมี ก ารนาความรู้ และ ประสบการณ์มาใช้พฒั นาหรื อบูรณาการเข้ากับการเรี ยนการสอนและการวิจยั อาทิ บทความ ตารา หนังสื อ รายวิชาหรื อหลักสู ตร เป็ นต้น การนาความรู้และประสบการณ์จากการให้บริ การวิชาการมาพัฒนามี ๒ ประเภท คือ ๑. การพัฒนาการเรี ยนการสอน ๒. การพัฒนาการวิจยั ในการประเมินตัวบ่ งชี้นีต้ ้ องมีโครงการทั้งสองประเภท ทั้งนีใ้ นแต่ ละโครงการไม่ เป็ นต้ องมี ทั้งสองประเภท และผลการใช้ ในการพัฒนาการเรี ยนการสอนและการวิจัยต้ องเสร็ จสิ้ นในปี ที่ ประเมิน วิธีการคานวณ จานวนโครงการ/กิจกรรมบริ การวิชาการ ที่นามาใช้ในการพัฒนา การเรี ยนการสอนและการวิจยั จานวนโครงการ/กิจกรรมบริ การวิชาการตามแผนที่สภาสถาบันอนุมตั ิ เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้บญั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้อยละ ๓๐ เท่ากับ ๕ คะแนน

๑๐๐


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

185

ข้ อมูลประกอการพิจารณา ๑. หลักฐาน เอกสาร ข้อมูลที่แสดงว่าอาจารย์ประจาได้รวบรวม จัดระบบ และมีการ ประมวลความรู้และประสบการณ์จากการให้บริ การวิชาการมาใช้ประโยชน์ในการเรี ยนการสอน และการวิจยั โดยอาจไปต่อยอดพัฒนาเป็ นหนังสื อ ตารา หรื องานวิจยั ขยายผลนาไปสู่ การปรับปรุ ง รายวิชาหรื อนาไปสู่ การเปิ ดรายวิชาใหม่ ๒. โครงการบริ ก ารวิช าการที่ นับ ในตัวตั้งจะต้องมี ผ ลการบู รณาการเสร็ จสิ้ นในปี ที่ ป ระเมิ น และโครงการวิช าการที่ เ ป็ นตัว หารเป็ นโครงการบริ ก ารวิช าการที่ ด าเนิ น การในปี ที่ประเมิน โครงการหนึ่ งๆ จะบูรณาการเฉพาะกับการเรี ยนการสอน หรื อเฉพาะกับงานวิจยั หรื อ จะบูรณาการกับทั้งการเรี ยนการสอนและการวิจยั ก็ได้ ๓. การบริ การวิชาการ เป็ นการให้บริ การแก่ บุคคลหรื อหน่ วยงานภายนอกสถาบัน ทั้งการประเมินในระดับคณะและระดับสถาบัน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

186

ตัวบ่ งชี้ที่ ๙ การเรียนรู้ และเสริมสร้ างความเข้ มแข็งของชุ มชนหรือองค์ กรภายนอก คาอธิบาย โครงการที่มีผลต่ อการพัฒนาและเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งของชุ มชน หมายถึง โครงการที่ สถาบันจัดขึ้ นเพื่ อพัฒนาชุ มชนหรื อองค์ก รภายนอกและเมื่ อดาเนิ นการแล้วมี ผ ลก่ อให้เกิ ดการ เปลี่ ยนแปลงไปในทางที่ดีข้ ึ นแก่ ชุมชนหรื อองค์กรภายนอกในด้านต่างๆ หรื อ ทาให้ชุมชนหรื อ องค์กรภายนอกสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามศักยภาพของตน ประเด็นการพิจารณา ๑. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีส่วนร่ วมของชุมชนหรื อองค์กร ๒. บรรลุเป้ าหมายตามแผนไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐ ๓. ชุมชนหรื อองค์กรมีผนู ้ าหรื อสมาชิกที่มีการเรี ยนรู ้และดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ๔. ชุ ม ชนหรื อองค์ ก รสร้ า งกลไกที่ มี ก ารพัฒ นาตนเองอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและยั่ง ยื น โดยคงอัตลักษณ์และวัฒนธรรมของชุมชนหรื อองค์กร ๕. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม หรื อชุมชน/องค์กรมีความเข้มแข็ง เกณฑ์ การให้ คะแนน ๑ ปฏิบตั ิได้ ๑ ข้อ

๒ ปฏิบตั ิได้ ๒ ข้อ

๓ ปฏิบตั ิได้ ๓ ข้อ

๔ ปฏิบตั ิได้ ๔ ข้อ

๕ ปฏิบตั ิได้ ๕ ข้อ

ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ๑. แผนและกิ จกรรมหรื อโครงการที่ ส่ง เสริ ม ความเข้ม แข็งของชุ มชนหรื อองค์ก ร ๒. รายงาน เอกสารผลการปฏิ บตั ิ ตามกิ จกรรมหรื อโครงการ ๓. ข้อ มูล ที ่แ สดงถึ ง ผลการด าเนิ น งานตามกิ จ กรรมหรื อ โครงการโดยผู น้ าหรื อ สมาชิ ก ของชุ ม ชนหรื อ องค์ก รได้เ รี ย นรู ้ แ ละดาเนิ น กิ จ กรรมอย่า งต่อ เนื ่ อ งและพัฒ นาตาม อัตลักษณ์ และวัฒนธรรมของชุ มชนหรื อองค์กร ๔. ข้อมูลที่ แสดงถึ งผลการดาเนิ นงานตามกิ จกรรมหรื อโครงการของชุ ม ชนหรื อ องค์ก รที่ส ร้ า งประโยชน์ ความเข้ม แข็ง และคุ ณค่า ต่ อสั งคม ชุ มชน หรื อองค์ก ร ๕. “ต่อเนื่ อง” หมายถึ ง มี การดาเนิ นงานตั้งแต่ ๒ ปี ขึ้ นไป ๖. “ยัง่ ยืน” หมาถึ ง มี การดาเนิ นงานตั้งแต่ ๕ ปี ขึ้ นไป ๗. “เข้มแข็ง” หมายถึ ง สามารถพึ่งพาตนเองได้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

187

หมายเหตุ สาหรับสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ได้รับการประเมินปี ๒๕๕๕ เป็ นต้นไป สามารถใช้โครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ปรากฎอยูใ่ นแผนระยะยาวโดยได้รับการอนุมตั ิจากสภาสถาบัน ว่าเป็ นโครงการ/กิจกรรมที่ต่อเนื่ องในอนาคตและจะยัง่ ยืน เข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดย สมศ. จะพิจารณาให้คะแนนล่วงหน้า


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

188

ด้ านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ด้ านการทานุ บารุ งศิ ลปะและวัฒนธรรม หมายถึ ง สถานศึ กษามี การดาเนิ นการท านุ บารุ ง ศิ ล ปะและวัฒ นธรรมของชาติ โดยเห็ น ถึ ง ความส าคัญ และคุ ณ ค่ า เรื่ อ งศิ ล ปะและวัฒ นธรรม ที่จาต้องปลูกฝั ง ส่ งเสริ มและพัฒนาสิ่ งที่ดีงาม ความสุ นทรี ย ์ และวัฒนธรรมที่พึงประสงค์ อยู่ใน สภาพแวดล้อมที่ ส วยงามอย่า งมี รสนิ ย ม ให้เกิ ดในจิ ตส านึ ก และวิถี ชี วิต มี ค วามเชื่ อมัน่ ในการ ดารงชี วิตอย่างมีคุณค่า สามารถรองรับกับการเปลี่ นแปลงของสังคม ทั้งในเรื่ องความเชื่ อ ค่านิ ยม และวัฒนธรรมใหม่ๆ สถาบันจึ งมี นโยบายและดาเนิ นงานทั้งในระดับบุคคล และระดับสถาบัน โดยมี ร ะบบและกลไกเป็ นหน่ ว ยส่ ง เสริ ม สนับ สนุ น ในลัก ษณะโครงการและส่ ว นหนึ่ ง ของ การจัดการเรี ยนการสอน เพื่อให้วิถีชีวิตและบรรยากาศในมหาวิทยาลัยน่าอยู่ มีชีวิตที่มีคุณค่าอย่าง มีรสนิยม และสามารถอยูใ่ นสังคมด้วยความเข้าใจ มีน้ าใจ อย่างมีความสุ ข ด้ านการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม ประกอบด้ วย ๒ ตัวบ่ งชี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ๑๑

ชื่อตัวบ่งชี้ การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม การพัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม

น้ าหนัก (คะแนน) ๕ ๕


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

189

ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๐ การส่ งเสริมและสนับสนุนด้ านศิลปะและวัฒนธรรม คาอธิบาย ศิลปะและวัฒนธรรม เป็ นตัวบ่งชี้ถึงคุณภาพ วิถีชีวติ และจิตใจที่ดีงามของบุคคลและสังคม เป็ นพัน ธกิ จ หลัก ประการหนึ่ ง ที่ ส ถาบัน พึ ง ตระหนัก ที่ จ ะต้อ งให้ ค วามส าคัญ ในการส่ ง เสริ ม สนับสนุ น เพื่อให้สังคมในสถาบันอยูร่ ่ วมกันอย่างมีความสุ ข อย่างมีคุณค่า สามารถเป็ นแบบอย่าง ที่ น่ า ศรั ท ธา และเป็ นที่ ย อมรั บ ของสั ง คม การส่ ง เสริ มสนั บ สนุ น จ าต้ อ งด าเนิ น การอย่ า ง มี ป ระสิ ท ธิ ภาพที่ จ ริ ง ใจได้ต่ อ เนื่ อ งที่ ม ั่น คงและยัง่ ยื น โดยก าหนดวัต ถุ ป ระสงค์แ ละเป้ าหมาย ที่ชดั และสามารถประเมินผลได้ ประเด็นการพิจารณา ๑. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ๒. บรรลุเป้ าหมายตามแผนไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐ ๓. มีการดาเนินงานสม่าเสมออย่างต่อเนื่อง ๔. เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชน ๕. ได้รับการยกย่องระดับชาติและ/หรื อนานาชาติ เกณฑ์ การให้ คะแนน ๑ ปฏิบตั ิได้ ๑ ข้อ

๒ ปฏิบตั ิได้ ๒ ข้อ

๓ ปฏิบตั ิได้ ๓ ข้อ

๔ ปฏิบตั ิได้ ๔ ข้อ

๕ ปฏิบตั ิได้ ๕ ข้อ

ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ๑. นโยบาย แผน ระบบและกลไกในการส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ๒. โครงการหรื อ กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม และสนับ สนุ นด้า นศิ ล ปะและวัฒ นธรรม พร้ อ ม รายละเอียดของโครงการหรื อกิจกรรม รวมทั้งตัวบ่งชี้และเป้ าหมายความสาเร็ จ ๓. รายงานสรุ ปผลหรื อประเมินโครงการหรื อกิจกรรม (ประโยชน์และคุณค่าต่อชุมชน) ๔. หลักฐานที่อธิ บายรายละเอียดและแสดงกระบวนการได้มาซึ่ งข้อมูลของการสรุ ปผล สาเร็ จ เช่น ขั้นตอนและช่วงระยะเวลาการเก็บข้อมูล การสุ่ มตัวอย่าง แบบสารวจหรื อแบบสอบถาม หรื อแบบประเมิน วิธีวเิ คราะห์ผล เป็ นต้น ๕. รายงาน รางวัลที่ ได้รับการประกาศเกี ยรติ คุณ ยกย่อง ระดับชาติและนานาชาติ จาก สถาบันหรื อหน่วยงานที่เป็ นที่ยอมรับ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

190

ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๑ การพัฒนาสุ นทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม คาอธิบาย ศิลปะและวัฒนธรรม เกี่ยวข้องกับความสุ นทรี ยแ์ ละรสนิ ยม เกิดรู ปแบบวิถีชีวิตและสังคม โดยมีลกั ษณะที่เป็ นพลวัต มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จาเป็ นต้องรู ้ทนั อย่างมีปัญญา โดยมีแผน ในการพัฒนา ให้ความรู้ และประสบการณ์ ด้านสุ นทรี ยภาพในบริ บทของศิลปะและวัฒนธรรม สามารถเลือกรับรักษาและสร้างให้ตนเองและสังคมอยูร่ ่ วมกันอย่างรู ้คุณค่าความงาม อย่างมีสุนทรี ย ์ ที่มีรสนิยม ประเด็นการพิจารณา ๑ การมีส่วนร่ วมของบุคลากรในสถาบันที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี ๒. สิ่ งแวดล้อมด้านความปลอดภัยของอาคารสถานที่ สะอาดถูกสุ ขลักษณะ และตกแต่ง อย่างมีความสุ นทรี ย ์ ๓. ปรับแต่งและรักษาภูมิทศั น์ให้สวยงาม สอดคล้องกับธรรมชาติ และเป็ นมิตรกับ สิ่ งแวดล้อม ๔. การจัดให้มีพ้นื ที่และกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่เอื้อและส่ งเสริ มให้นกั ศึกษาและบุคลากร มีส่วนร่ วมอย่างสม่าเสมอ ๕. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษาที่เกี่ยวกับประเด็น ๑ - ๔ ไม่ต่ากว่า ๓.๕๑ จากคะแนนเต็ม ๕ เกณฑ์ การให้ คะแนน ๑

ปฏิบตั ิได้ ๑ ข้อ

ปฏิบตั ิได้ ๒ ข้อ

ปฏิบตั ิได้ ๓ ข้อ

ปฏิบตั ิได้ ๔ ข้อ

ปฏิบตั ิได้ ๕ ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

191

ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ๑. หลักฐานที่แสดงรายละเอียดของโครงการหรื อกิจกรรมที่พฒั นาสุ นทรี ยภาพด้านศิลปะ และวัฒนธรรมที่สถานศึกษาดาเนินการตลอดปี ในแต่ละปี การศึกษา ๒. โครงการหรื อกิ จกรรมที่ แสดงรายละเอียดที่กาหนดวัตถุ ประสงค์และเป้ าหมายของ ความสาเร็ จอย่างเป็ นรู ปธรรม รายงานผลการประเมินการมีส่วนร่ วม ๓. เอกสารหลักฐานหรื อผลการประเมินด้านสภาพแวดล้อม ความปลอดภัย ความสะอาด สุ ขอนามัยและความสวยงาม ๔. รายงานสรุ ปผลการประเมินการจัดให้มีพ้ืนที่และกิ จกรรมทางวัฒนธรรมที่ เอื้ อและ ส่ งเสริ มให้นกั ศึกษาและบุคลากรมีส่วนร่ วมอย่างสม่าเสมอ ๕. รายงานผลการประเมินความพึง พอใจของบุคลากรและนักศึกษาที่เกี่ ยวกับประเด็น ๑-๔ หมายเหตุ ๑. สะอาด หมายถึง ไม่รก มีระเบียบ รักษาง่าย ใช้สะดวก ๒. สุ ขลักษณะ หมายถึง สะอาด ปลอดภัย ไร้มลภาวะ สุ ขกาย สบายใจ เป็ นมิตร ต่อสิ่ งแวดล้อม ๓. สวยงาม หมายถึง มีการจัดแต่งอาคาร สภาพแวดล้อมอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับพื้นที่ แวดล้อม ไม่สิ้นเปลือง และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

192

ด้ านการบริหารและการพัฒนาสถาบัน ด้ านการบริหารและการพัฒนาสถาบัน หมายถึง การที่สถานศึกษาระดับอุดมศึกษามีระบบ การบริ หารและการจัดการที่ดี มีประสิ ทธิ ภาพในการถ่ายทอดวิสัยทัศน์ และค่านิ ยมไปสู่ การปฏิบตั ิ อย่างมีเอกภาพ เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์และพันธกิจที่กาหนดไว้ โดยมีสภาสถาบันทาหน้าที่กากับ ดูแลนโยบาย การดาเนิ นงานตามแผน การบริ หารบุคคล การบริ หารงบประมาณและทรัพ ย์สิ น การบริ ห ารสวัส ดิ ก ารที่ จ ัด ให้ นัก ศึ ก ษา และบุ ค ลากรทุ ก คน รวมทั้ง ก ากับ ติ ด ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนิ นงานให้เป็ นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายที่กาหนด มีการ เผยแพร่ ผลการดาเนิ นงานของสภาสถาบัน และการบริ หารและการจัดการของผูบ้ ริ หารทุกระดับสู่ ประชาคมภายในสถาบั น และภายนอกสถาบั น ตามหลั ก ธรรม าภิ บ าลที่ ป ระกอบด้ ว ย หลัก ประสิ ท ธิ ผ ล (Effectiveness) หลัก ประสิ ท ธิ ภ าพ (Efficiency) หลัก การตอบสนอง (Responsiveness) หลัก ภาระรับผิดชอบ (Accountability) หลักความโปร่ ง ใส (Transparency) หลักการมีส่วนร่ วม (Participation) หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) หลักนิติธรรม (Rule of Law) หลักความเสมอภาค (Equity) และหลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) ด้ านการบริหารและการพัฒนาสถาบัน ประกอบด้ วย ๓ ตัวบ่ งชี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ๑๓ ๑๔

ชื่อตัวบ่งชี้ การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของผูบ้ ริ หารสถาบัน การพัฒนาคณาจารย์

น้ าหนัก (คะแนน) ๕ ๕ ๕


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

193

ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๒ การปฏิบัติตามบทบาทหน้ าที่ของสภาสถาบัน คาอธิบาย สภาสถาบันอุดมศึกษาถือเป็ นองค์กรหลักของสถาบันอุดมศึกษาที่ตอ้ งมีบทบาทสาคัญใน การกาหนดนโยบาย กรอบทิ ศทางการดาเนิ นงานตามอัตลักษณ์ ของสถาบันอุ ดมศึ กษา กาหนด ระบบกลไกและกระบวนการที่ เป็ นรู ปธรรมในการบริ หารจัดการเพื่อให้เกิ ดการกากับ ดู แลและ ขั บ เคลื่ อ นสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา รวมทั้ งการควบคุ ม และตรวจสอบการด าเนิ นงานของ สถาบันอุดมศึกษาให้เกิดประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผล และการพัฒนาสถาบันอย่างยัง่ ยืน การประเมินผลความสาเร็ จในการปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบันจะมุ่งเน้นการ ประเมิ น คุ ณ ภาพในการก าหนดทิ ศ ทางก ากั บ ดู แ ลและขั บ เคลื่ อ นการด าเนิ นงานของ สถาบันอุ ดมศึก ษาตามหน้า ที่และบทบาทของสภาสถาบัน การบริ หารและการจัดการตามหลัก ธรรมาภิบาล และการดาเนินงานตามมติการประชุมสภาสถาบันอุดมศึกษา เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้ ค่ า คะแนนผลการประเมิ น ผลการด าเนิ น งานของสภาสถาบัน (คะแนนเต็ ม ๕) ที่ครอบคลุม ๕ ประเด็น ดังต่อไปนี้ ๑. สภาสถาบันทาพันธกิ จครอบถ้วนตามภาระหน้าที่ที่กาหนดในพระราชบัญญัติของ สถานศึกษา ๒. สภาสถาบันกาหนดยุทธศาสตร์ ทิศทาง กากับนโยบาย ข้อบังคับ ระเบียบ ๓. สภาสถาบันทาตามกฎระเบียบข้อบังคับของต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๔. สภาสถาบันกากับ ติดตาม การดาเนินงานของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ๕. สภาสถาบันดานเนงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาลครบทั้ง 10 ประเด็น ข้ อมูลประกอบการพิจารณา เอกสารหรื อหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการประเมินตามประเด็นที่กาหนดในเกณฑ์การ ให้คะแนน หมายเหตุ เป็ นการประเมินในระดับสถาบันคณะไม่ตอ้ งประเมิน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

194

ตัวบ่ งชี้ ๑๓ การปฏิบัติตามบทบาทหน้ าทีข่ องผู้บริหารสถาบัน คาอธิบาย การประเมินผลตามหน้าที่และบทบาทของผูบ้ ริ หารในการบริ หารและการจัดการให้บรรลุผล สาเร็ จตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสถาบันอุดมศึกษา จะมุ่งเน้นการประเมิน คุณภาพของการบริ หารงานตามนโยบายของสภาสถาบันอุดมศึกษา ประสิ ทธิ ผลของแผนปฏิ บตั ิการ ประจาปี ความสามารถในการบริ หารและการจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของผูบ้ ริ หาร เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้ค่าคะแนนการประเมินผูบ้ ริ หารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตั้ง (คะแนนเต็ม ๕) ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ๑. เอกสารหรื อหลักฐานที่แสดงรายละเอียดการกาหนดหรื อทบทวนนโยบายการกากับดูแล สถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งทบทวนกรอบทิศทางการดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาตามหน้าที่และ บทบาทของผูบ้ ริ หารสถาบันอุดมศึกษา ๒. เอกสารหรื อ หลัก ฐานที่ แสดงรายละเอี ย ดการดาเนิ นการตามระบบการก ากับ ดู แ ล สถาบันอุดมศึกษา โดยมีเอกสารหรื อหลักฐานหรื อรายงานหรื อบันทึกการประชุมที่ แสดงให้เห็นว่า ผูบ้ ริ หารสถาบันได้กาหนดให้มีกระบวนการที่เป็ นรู ปธรรมในการจัดการเพื่อให้เกิดการควบคุมและ ตรวจสอบการดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ๓. เอกสารหรื อหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าผูบ้ ริ หารสถาบันมีการติดตามผลการดาเนิ นงาน สาคัญ เช่ น ระบบในด้านนโยบายและแผน ด้านการบริ หารงานบุคล ด้านการเงินและงบประมาณ โดยเฉพาะการดาเนินงานตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาที่เป็ นมติสภาสถาบัน ๔. เอกสารหรื อหลักฐานที่ แสดงให้เห็ นถึ งนโยบายของสถาบันที่กาหนดให้มีระบบการ ประเมินผูบ้ ริ หารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตั้งและมีการดาเนินงานตามระบบนั้น ๕. รายงานการสังเคราะห์มติหรื อนโยบาย รวมทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสิ นใจของ ผูบ้ ริ หารสถาบันอุดมศึกษา หมายเหตุ

๑. ระดับสถาบัน ผูบ้ ริ หาร หมายถึง อธิการบดี ๒. ระดับคณะ ผูบ้ ริ หาร หมายถึง คณบดี หรื อผูบ้ ริ หารของหน่วยงานที่เทียบเท่า คณะที่มีการจัดการเรี ยนการสอน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

195

ตัวบ่ งชี้ ๑๔ การพัฒนาคณาจารย์ คาอธิบาย คุณภาพของคณาอาจารย์เป็ นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพของผูเ้ รี ยน รวมทั้งพิจารณาจาก ความสาเร็ จของสถาบันในการส่ งเสริ ม สนับสนุ นการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ เพื่อให้อาจารย์ติดตาม ความก้า วหน้าทางวิชาการอย่างต่ อเนื่ อง อันจะท าให้สถาบันสามารถแข่ง ขันได้ใ นระดับ สากล คุณภาพอาจารย์พิจารณาจากคุณวุฒิและตาแหน่งทางวิชาการ เกณฑ์ การพิจารณา กาหนดค่าน้ าหนักระดับคุณภาพอาจารย์ ดังนี้ วุฒิการศึกษา ตาแหน่ งทางวิชาการ

อาจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

๐ ๑ ๓ ๖

๒ ๓ ๕ ๘

๕ ๖ ๘ ๑๐

วิธีการคานวณ ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ คานวณดังนี้ ผลรวมถ่วงน้ าหนักของอาจารย์ประจา จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้บญั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดให้ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์เป็ น ๖ เท่ากับ ๕ คะแนน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

196

ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ๑. จานวนและรายชื่ ออาจารย์ประจาทั้งหมดในแต่ละปี การศึกษา ๒. นับอาจารย์ที่ปฏิบตั ิงานจริ ง และที่ลาศึกษาต่อ โดยมีฐานข้อมูลที่ระบุรายละเอียดแสดง วุฒิการศึกษา และตาแหน่งทางวิชาการ หมายเหตุ การคิดคะแนนกรณี สาขาวิชาการ/วิชาชีพ - คุณวุฒิคณาจารย์กรณี สาขาวิชาการ/วิชาชีพ ให้รับรองการเทียบเท่าตามเกณฑ์ ของ สกอ. และกรณี สายวิชาชีพให้เทียบปริ ญญาสู งสุ ดตามเกณฑ์ ก.พ.


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

197

ด้ านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ด้ านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน หมายถึง สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจะต้องแสดง ความมีมาตรฐานและคุณภาพด้วยการเป็ นประชาคมแห่ งการสร้างความรู ้ และองค์การแห่ งการเรี ยนรู ้ที่มี ขีดความสามารถในการค้นคว้าวิจยั สร้ างความรู ้ใหม่ท้ งั เพื่อพัฒนาสังคมและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่ อง อุดมศึ กษาไทยยังต้องแสดงความเป็ นอุ ดมศึ กษามหาชนที่ มีคุณภาพ นอกจากนี้ อุดมศึ กษาไทยต้องมี ความเป็ นเลิศที่ใช้การได้ในสังคมแห่ งการตรวจสอบอย่างเข้มข้น เพื่อการพัฒนามาตรฐานและคุณภาพ อย่างต่อเนื่ องซึ่ งจะนาอุดมศึกษาไทยไปสู่ อุดมศึกษาสากล ดังนั้นการประกันคุ ณภาพอุดมศึกษาจึงเป็ น การประกันคุณภาพเพื่อความรู ้ สู่ความเป็ นเลิ ศ และการประกันคุณภาพเพื่อผูเ้ รี ยน หัวใจของระบบการ ประกันคุ ณภาพที่ ดี คื อ การใช้ ระบบและกระบวนการประกันคุ ณภาพในการสร้ างประชาคมที่ มี วัฒนธรรมในการเรี ยนรู ้ และตรวจสอบการทางานของตนเองเพื่อผูอ้ ื่ นอยู่เสมอ ซึ่ งจะนาไปสู่ การเป็ น องค์การแห่ งการเรี ยนรู ้ที่เป็ นพลวัต เปลี่ ยนแปลงได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เผยแพร่ ข่าวสารทัว่ ทั้งสถาบัน พร้อมกับการมีการกาหนดมาตรฐานการทางานทุกด้านแบบมืออาชี พที่สามารถตรวจสอบการทางานได้ ทุกขั้นตอน มีกลไกรับฟังผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทั้งภายในและภายนอกสถาบัน เพื่อนาข้อคิดความเห็นจาก ทุ ก ฝ่ ายที่ มี ส่ วนร่ วมมาใช้ ใ นการก ากับแนวทางการประกันคุ ณภาพของสถาบัน อย่ างไรก็ ตาม สถาบันอุดมศึกษาพึงมีอิสระและเสรี ภาพทางวิชาการในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพที่เหมาะสม ของตนเอง และในขณะเดี ยวกันก็พึงให้อิสระแก่หน่วยงานภายในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพตาม เงื่อนไขเฉพาะของแต่ละหน่วยงานด้วย ระบบประกันคุ ณภาพภายในโดยทัว่ ไป ประกอบด้วย ระบบแรกคือ ระบบการพัฒนาคุ ณภาพ ซึ่ งประกอบด้วยการกาหนดมาตรฐาน กระบวนการวางแผน และออกแบบระบบงานเพื่อคุณภาพและ การจัดการกระบวนการและการควบคุมคุณภาพ ระบบที่สองคือ ระบบการตรวจสอบคุณภาพเพื่อเร่ งรัด ให้ การด าเนิ นงานบรรลุ เป้ าหมายตามมาตรฐานคุ ณภาพที่ ก าหนด และระบบที่ สาม คื อ ระบบการ ประเมินภายในและกระบวนการปรับปรุ งคุณภาพ การประกันคุณภาพภายในเป็ นหน้าที่ของสถาบันใน การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โดยให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยและชุ มชนเข้ามามีส่วนร่ วมและการ สนับสนุ นจากต้นสั งกัด ทั้งนี้ การประกันคุ ณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่ งของกระบวนการบริ หาร การศึกษา เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาคุ ณภาพและมาตรฐานการศึกษาอย่างต่อเนื่ องและสามารถรองรับการ ประเมินคุณภาพภายนอกได้


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

198

ด้ านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้ วย ๑ ตัวบ่ งชี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๕

ชื่อตัวบ่งชี้ ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด

น้ าหนัก (คะแนน) ๕

ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๕ ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้ นสั งกัด คาอธิบาย ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุ ณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ระบุไว้วา่ “...“ให้ หน่ วยงานต้ นสั งกัดของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้ มีการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึ กษานั้น อย่างน้อยหนึ่ งครั้ งในทุกสามปี และแจ้ งผลให้ สถานศึ กษาระดับอุดมศึ กษา ทราบ รวมทั้งเปิ ดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่ อสาธารณชน...” ทั้งนี้ สถานศึกษา จะด าเนิ นการประกันคุ ณภาพการศึ กษาภายในที่ ครอบคลุ มตัวบ่ งชี้ ที่ ส านั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาหรื อต้นสังกัดกาหนด โดยจะเป็ นตัวบ่งชี้ ที่เน้นด้านปั จจัยนาเข้าและกระบวนการ ซึ่ งผลการ ประเมินการประกันคุ ณภาพภายในโดยต้นสังกัดนี้ จะเป็ นคะแนนที่ สามารถสะท้อนประสิ ทธิ ภาพและ ประสิ ทธิ ผลของคุณภาพการดาเนินงานด้านต่างๆ ของสถาบันอุดมศึกษาได้ ดังนั้น ในการประเมินตัวบ่งชี้ นี้ จะใช้ค่าเฉลี่ยคะแนนประเมินการประกันคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด โดยไม่ตอ้ งทาการประเมินใหม่ เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้ค่าคะแนนผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยต้นสังกัด ข้ อมูลประกอบการพิจารณา คะแนนประเมินระบบประกันคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัด หมายเหตุ กรณี ของการประเมินระดับคณะ หากประเมินการประกันคุณภาพภายในของคณะไม่ ครบทุกตัวที่กาหนดในระดับสถาบัน ให้ใช้คะแนนจากการประเมินในระดับสถาบันของตัวบ่งชี้ น้ นั มาใช้แทน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

199

ตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ กลุ่มตัวบ่ งชี้ อัตลักษณ์ หมายถึง กลุ่ มตัวบ่งชี้ ที่ประเมิ นผลผลิ ตตามปรัชญา ปณิ ธาน/ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา รวมถึงความสาเร็ จตามจุดเน้นและ จุดเด่ นที่ ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ ของแต่ละสถานศึ กษา โดยได้รับความเห็ นชอบจากสภา สถาบัน ตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์ ประกอบด้ วย ๒ ตัวบ่ งชี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่

ชื่อตัวบ่งชี้

น้ าหนัก (คะแนน)

๑๖

ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของสถาบัน ๑๖.๑ ผลการบริ หารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ ๑๖.๒ ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของ สถาบัน

๕ ๕ ๕

๑๗


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

200

ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๖ ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ ของสถาบัน คาอธิบาย อัตลักษณ์ หมายถึง บุคลิก ลักษณะที่เกิ ดขึ้นกับผูเ้ รี ยนตามปรัชญา ปณิ ธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่ได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ตัวบ่ งบีท้ ี่ ๑๖.๑ ผลการบริหารสถาบันให้ เกิดอัตลักษณ์ ประเด็นการพิจารณา ๑ มีการกาหนดกลยุทธ์และแผนการปฏิ บตั ิงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของสถานศึกษา โดยได้รับการเห็นชอบจากสภาสถาบัน ๒. มีการสร้ างระบบการมีส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยนและบุคลากรในการปฏิ บตั ิตามกลยุทธ์ ที่ กาหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ๓. ผลการประเมิ นของผูเ้ รี ย นและบุ คลากรเกี่ ย วกับ การปฏิ บตั ิ ง านของสถานศึ กษาที่ สอดคล้องกับอัตลักษณ์ ไม่ต่ากว่า ๓.๕๑ จากคะแนนเต็ม ๕ ๔. ผลการดาเนินงานก่อให้เกิดผลกระทบที่เป็ นประโยชน์และ/หรื อสร้างคุณค่าต่อสังคม ๕. ผูเ้ รี ยน/บุคลากร/คณะ/สถาบัน ได้รับการยกย่องหรื อยอมรับในระดับชาติและ/หรื อ นานาชาติในประเด็นที่เกี่ยวกับอัตลักษณ์ เกณฑ์ การให้ คะแนน ๑ ปฎิบตั ิได้ ๑ ข้อ

๒ ปฎิบตั ิได้ ๒ ข้อ

๓ ปฎิบตั ิได้ ๓ ข้อ

๔ ปฎิบตั ิได้ ๔ ข้อ

๕ ปฎิบตั ิได้ ๕ ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

201

ข้ อมูลประกอบการพิจารณา หลักฐานเชิ งประจักษ์ในการได้รับการยกย่องหรื อยอมรับ การได้รับรางวัลในประเด็นที่ เกี่ยวกับอัตลักษณ์ เช่น โล่รางวัล ใบประกาศเกียรติคุณ เกียรติบตั ร หนังสื อเชิดชูเกียรติ เป็ นต้น หมายเหตุ ๑. คณะและสถาบัน มีอตั ลักษณ์เดียวกัน โดยความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ๒. คณะจะดาเนินการแยกหรื อดาเนินการร่ วมกับสถาบันก็ได้ ๓. กรณี ที่คณะดาเนิ นการร่ วมกับสถาบันจะต้องรายงานไว้ใน SAR ของคณะ และแสดง หลักฐานการดาเนินงานด้วย โดยใช้ผลการประเมินของสถาบัน การคิดคะแนน ๑. กรณี ที่คณะดาเนิ นการร่ วมกับสถาบันและมีส่วนร่ วมในการดาเนิ นการ ผลการประเมิน จะพิจารณาข้อมูลในระดับสถาบัน โดยคณะที่มีส่วนร่ วมให้ใช้คะแนนเดียวกับสถาบัน ๒. กรณี ที่คณะดาเนินการแยกกับสถาบัน ผลการประเมินจะพิจารณาในระดับคณะ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

202

ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๖.๒ ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ วิธีคานวณ ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการประเมินบัณฑิตที่มีคุณลักษณ์ตามอัตลักษณ์ จานวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม ๕) ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ข้อมูลจากการสารวจต้องมีความเป็ นตัวแทนของผูส้ าเร็ จการศึกษาทั้งในเชิ งปริ มาณและใน เชิงคุณภาพครอบคลุมทุกคณะ อย่างน้อยร้อยละ ๒๐ ของจานวนผูส้ าเร็ จการศึกษาในแต่ละระดับ โดยมีขอ้ มูลประกอบการพิจารณาดังต่อไปนี้ ๑. ปรัชญา ปณิ ธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิ จและวัตถุ ประสงค์ของสถานศึ กษา รวมทั้ง แผนกลยุทธ์ และแผนการปฏิบตั ิงานประจาปี ของสถานศึกษาที่ได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ๒. แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในด้านต่างๆ ที่ได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ๓. รายงานผลการปฏิบตั ิงานประจาปี ที่ได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ซึ่ งแสดงให้ เห็นถึงผลการดาเนิ นงานและผลสาเร็ จของการดาเนิ นงานที่สอดคล้องกับปรัชญา วิสัยทัศน์ และ พันธกิจของสถาบัน ๔. ผูต้ อบแบบสอบถาม คือ ผูใ้ ช้บณั ฑิต หรื อสถานศึกษาที่รับบัณฑิตเข้าศึกษาต่อ หมายเหตุ “๑ สถาบัน ๑ อัตลักษณ์” โดยความเห็นชอบจากสภาสถาบัน โดย ๑. คณะและสถาบัน มีอตั ลักษณ์เดียวกัน โดยความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ๒. คณะจะดาเนินการแยกหรื อดาเนินการร่ วมกับสถาบันก็ได้ ๓. กรณี ที่คณะดาเนิ นการร่ วมกับสถาบันจะต้องรายงานไว้ใน SAR ของคณะและแสดง หลักฐานการดาเนินงานด้วย โดยใช้ผลการประเมินของสถาบัน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

203

การคิดคะแนน ๑. กรณี ที่คณะดาเนิ นการร่ วมกับสถาบันและมีส่วนร่ วมในการดาเนิ นการ ผลการประเมิน จะพิจารณาข้อมูลในระดับสถาบัน โดยคณะที่มีส่วนร่ วมให้ใช้คะแนนเดียวกับสถาบัน ๒. กรณี ที่คณะดาเนินการแยกกับสถาบัน ผลการประเมินจะพิจารณาในระดับคณะ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

204

ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๗ ผลการพัฒนาตามจุดเน้ นและจุดเด่ นทีส่ ่ งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ของสถาบัน คาอธิบาย เอกลักษณ์ หมายถึ ง ความสาเร็ จตามจุ ดเน้นและจุ ดเด่นที่สะท้อนให้เห็ นเป็ นลักษณะ โดดเด่นเป็ นหนึ่งของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณา ๑. มีการกาหนดกลยุทธ์การปฏิบตั ิงานที่สอดคล้องกับจุดเน้น จุดเด่น หรื อความเชี่ยวชาญ เฉพาะของสถานศึกษา โดยได้รับการเห็นชอบจากสภาสถาบัน ๒. มีการสร้ างระบบการมีส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยนและบุคลากรในการปฏิ บตั ิตามกลยุทธ์ ที่ กาหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ๓. ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรที่เกี่ ยวกับการดาเนิ นการตามจุดเน้น และ จุดเด่น หรื อความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถานศึกษา ไม่ต่ากว่า ๓.๕๑ จากคะแนนเต็ม ๕ ๔. ผลการดาเนินงานบรรลุตามจุดเน้น จุดเด่น หรื อความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถานศึกษา และเกิดผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม ๕. ผูเ้ รี ยน/บุคลากร/คณะ/สถานศึกษา มีเอกลักษณ์ตามจุดเน้น จุดเด่น หรื อความเชี่ยวชาญ เฉพาะที่กาหนด และได้รับการยอมรับในระดับชาติและ/หรื อนานาชาติ เกณฑ์ การให้ คะแนน ๑ ปฏิบตั ิได้ ๑ ข้อ

๒ ปฏิบตั ิได้ ๒ ข้อ

๓ ปฏิบตั ิได้ ๓ ข้อ

๔ ปฏิบตั ิได้ ๔ ข้อ

๕ ปฏิบตั ิได้ ๕ ข้อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

205

ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ๑. เอกสารหลักฐานที่แสดงให้เห็ นถึ งการกาหนดเอกลักษณ์ จุดเน้น หรื อจุดเด่ นของ สถานศึกษา ๒. แผนกลยุทธ์ แผนการปฏิบตั ิงานประจาปี รวมทั้งแผนพัฒนาคุณภาพที่สอดคล้องกับ เอกลักษณ์จุดเน้น หรื อจุดเด่นของสถานศึกษาที่ได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ๓. รายงานผลการปฏิบตั ิงานประจาปี ที่ได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ซึ่ งแสดงให้ เห็นถึงผลการดาเนินงานและผลสาเร็ จของการดาเนินงานตามเอกลักษณ์ จุดเน้น หรื อจุดเด่นของ สถานศึกษาที่กาหนด หรื อผลการดาเนิ นงานและผลสาเร็ จของการดาเนิ นงานที่เกิดขึ้นจนถื อเป็ น เอกลักษณ์ จุดเน้นหรื อจุดเด่นของสถานศึกษาที่ได้รับการยอมรับ ๔. หลักฐานเชิงประจักษ์ในการได้รับการยกย่องหรื อยอมรับ การได้รับรางวัลในประเด็นที่ เกี่ยวกับเอกลักษณ์ เช่น โล่รางวัล ใบประกาศเกียรติคุณ เกียรติบตั ร หนังสื อเชิดชูเกียรติ เป็ นต้น หมายเหตุ ๑. เอกลักษณ์ของคณะอาจเหมือน หรื อแตกต่าง หรื อส่ งผลกับเอกลักษณ์ของสถาบันก็ได้ ทั้งนี้ตอ้ งผ่านความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ๒. คณะจะดาเนินการแยกหรื อดาเนินการร่ วมกับสถาบันก็ได้ ๓. กรณี ที่คณะดาเนิ นการร่ วมกับสถาบันจะต้องรายงานไว้ใน SAR ของคณะ และแสดง หลักฐานการดาเนินงานด้วย โดยใช้ผลการประเมินของสถาบัน การคิดคะแนน ๑. กรณี ที่ค ณะกาหนดเอกลักษณ์ เหมื อนกับ สถาบันและมี ส่วนร่ วมในการดาเนิ นการ ผลการประเมินจะพิจารณาข้อมูลในระดับสถาบัน โดยคณะที่ มีส่วนร่ วมให้ใช้คะแนนเดี ยวกับ สถาบัน ๒. กรณี ที่คณะกาหนดเอกลักษณ์ ไม่เหมือนกับสถาบัน ผลการประเมินจะพิจารณาใน ระดับคณะ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

206

ตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม ตัวบ่ งชี้ มาตรการส่ งเสริ ม หมายถึง ตัวบ่งชี้ ที่ประเมิ นผลการดาเนิ นงานของสถานศึกษา โดยสถานศึกษาเป็ นผูก้ าหนดแนวทางพัฒนาเพื่อร่ วมกันชี้ แนะป้ องกันและแก้ไขปั ญหาสังคมตาม นโยบายของรัฐซึ่ งสามารถปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาและปญหาสังคมที่เปลี่ยนไป โดยมีเป้ าหมาย ที่แสดงถึ งความเป็ นผูช้ ้ ี นาสังคมและแก้ปัญหาสังคมของสถาบันอุดมศึกษาในการชี้ นาเรื่ องต่างๆ อาทิ การส่ ง เสริ ม และสื บ สานโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ โครงการรั ก ชาติ การบารุ ง ศาสนาและเทิดทูนพระมหากษัตริ ย ์ สุ ขภาพ ค่านิ ยมและจิตสาธารณะ ความคิดสร้างสรรค์ ผูด้ อ้ ย โอกสาและผูส้ ู งอายุ นโยบายรัฐบาล เศรษฐกิจ การพร้อมรับการเป็ นสมาชิ กสังคมอาเซี ยน พลังงาน สิ่ งแวดล้อม อุบตั ิภยั สิ่ งเสพติด ความฟุ่ มเฟื อย การแก้ปัญหาความขัดแย้ง สร้ างสังคมสันติสุขและ ความปรองดอง ตลอดจนน้อ มน าหลัก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งให้เ ป็ นสถาบัน พอเพี ย ง แบบอย่าง ฯลฯ ตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม ประกอบด้ วย ๑ ตัวบ่ งชี้ คือ ตัวบ่ งชี้ที่ ชื่อตัวบ่ งชี้ ๑๘

ผลการชี้นา ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในด้านต่างๆ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๘.๑ ผลการชี้นา ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมใน ประเด็นที่ ๑ ภายในสถาบัน ตัวบ่งชี้ที่ ๑๘.๒ ผลการชี้นา ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมใน ประเด็นที่ ๒ ภายนอกสถาบัน

นา้ หนัก (คะแนน) ๕ ๕


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

207

ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๘ ผลการชี้นา ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสั งคมในด้ านต่ างๆ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๘.๑ ผลการชี้นา ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในประเด็นที่ ๑ ภายในสถาบัน ตัวบ่งชี้ที่ ๑๘.๒ ผลการชี้นา ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในประเด็นที่ ๒ ภายนอกสถาบัน คาอธิบาย สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเลือกดาเนินการ ๒ ประเด็น จากประเด็นชี้ นาหรื อแก้ปัญหา สังคมในด้านต่างๆ อาทิ การส่ งเสริ มและสื บสานโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ ความรักชาติ บารุ งศาสนาและเทิดทูนพระมหากษัตริ ย ์ สุ ขภาพ ค่านิ ยม จิตสาธารณะ ความคิดสร้างสรรค์ ผูด้ อ้ ยโอกาสและผูส้ ู งอายุ นโยบายรัฐบาลเศรษฐกิจ การพร้อมรับการเป็ นสมาชิ กสังคมอาเซี ยน พลังงาน สิ่ งแวดล้อม อุบตั ิภยั สิ่ งเสพติด ความฟุ่ มเฟื อย การแก้ปัญหาความขัดแย้ง สร้างสังคมสันติ สุ ขและความปรองดอง ตลอดจนการน้อมนาปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพียงให้เป็ นสถานศึ กษา พอเพียงแบบอย่างเป็ นต้น ทั้งนี้ ประเด็นที่ช้ ี นาหรื อแก้ปัญหาสังคม ที่สถานศึกษาเลือกดาเนิ นการ โดยได้รับความ เห็นชอบจากสภาสถาบัน ประเด็นการพิจารณา ๑๘.๑ ๑. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ๒. บรรลุเป้ าหมายตามแผนประจาปี ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐ ๓. มีประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อคนในสถาบัน ๔. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสถาบัน ๕. ได้รับการยกย่องระดับชาติและ/หรื อนานาชาติ ประเด็นการพิจารณา ๑๘.๒ ๑. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ๒. บรรลุเป้ าหมายตามแผนประจาปี ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๘๐ ๓. มีประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อคนในชุมชน ๔. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชนหรื อสังคม ๕. ได้รับการยกย่องระดับชาติและ/หรื อนานาชาติ เกณฑ์ การให้ คะแนน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

๑ ปฏิบตั ิได้ -

๒ ปฏิบตั ิได้ ๑ ข้อ

๓ ปฏิบตั ิได้ ๒ ข้อ

๔ ปฏิบตั ิได้ ๓ ข้อ

208

๕ ปฏิบตั ิได้ ๔ - ๕ ข้อ

ข้ อมูลประกอบการพิจารณา ๑. โครงการหรื อกิจกรรมที่สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาได้ดาเนิ นงานที่มีประโยชน์และ สร้ า งคุ ณค่ า ต่ อสถานศึ ก ษา มี บ ทบาทในการชี้ นาหรื อแก้ปั ญหาสั ง คมในด้า นต่ า งๆ ที่ ระบุ วัตถุประสงค์ และกลุ่มเป้ าหมาย รวมทั้งความสาเร็ จของโครงการ ๒. หลัก ฐานที่ แสดงการเห็ นชอบโครงการ/กิ จ กรรมจากสภาสถาบัน ที่ ส ถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษาได้ดาเนินงานโดยมีบทบาทในการชี้นาหรื อแก้ปัญหาสังคมในด้านต่างๆ ๓. รายงานสรุ ปผลโครงการทุกโครงการ ๔. หลักฐาน เอกสาร ข้อมูลที่แสดงถึงการเกิดผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อ สังคมจากการดาเนินงานของโครงการ ๕. หลักฐาน เอกสาร ข้อมูลที่แสดงถึงการได้รับการยกย่องระดับชาติหรื อระดับนานาชาติ หมายเหตุ ๑. มาตรการส่ งเสริ มของคณะอาจเหมือน หรื อแตกต่าง หรื อส่ งผลกับมาตรการส่ งเสริ ม ของสถาบันก็ได้ท้ งั นี้ตอ้ งผ่านความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ๒. คณะจะดาเนินการแยกหรื อดาเนินการร่ วมกับสถาบันก็ได้ ๓. กรณี ที่คณะดาเนิ นการร่ วมกับสถาบันจะต้องรายงานไว้ใน SAR ของคณะ และแสดง หลักฐานการดาเนินงานด้วย โดยใช้ผลการประเมินของสถาบัน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

209

การคิดคะแนน ๑. กรณี ที่คณะมีการดาเนินงานในประเด็นเดียวกับสถาบันและมีส่วนร่ วมในการดาเนิ นการ ผลการประเมินจะพิจารณาข้อมูลในระดับสถาบัน โดยคณะที่ มีส่วนร่ วมให้ใช้คะแนนเดี ยวกับ สถาบัน ๒. กรณี ที่คณะมีการดาเนินงานในประเด็นที่ต่างจากสถาบัน ผลการประเมินจะพิจารณาใน ระดับคณะ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

210

๓. การรับรองมาตรฐาน ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับอุดมศึกษา ได้มีการกาหนดการพิจารณาให้ การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณา ดังนี้ ๓.๑ การรับรองมาตรฐานระดับอุดมศึกษา การรับรองมาตรฐานของสถานศึกษารอบสาม ระดับอุดมศึกษา จะพิจารณาข้อมูลจากการ ประเมินตัวบ่งชี้ที่เชื่อมโยงไปสู่ การรับรองมาตรฐานของสถานศึกษา ดังนี้ ๓.๑.๑ การประเมินระดับตัวบ่ งชี้ ตัวบ่งชี้ แต่ละตัวจะมีคะแนนต่ าสุ ดคือ ๐ และสู งสุ ดคือ ๕ ใช้ผลประเมินของคะแนน กรรมการมาพิจารณารายตัวบ่งชี้ ๓.๑.๒ การประเมินกลุ่มตัวบ่ งชี้ สมศ. กาหนดเกณฑ์ไว้ ๒ ข้อ คือ ๑) คะแนนเฉลี่ยของตัวบ่งชี้ที่ ๑ – ๑๑ มีค่าตั้งแต่ ๓.๕๑ ขึ้นไป และ ๒) คะแนนเฉลี่ยของตัวบ่งชี้ทุกตัวรวมกันมีค่าตั้งแต่ ๓.๕๑ ขึ้นไป โดยใช้ทศนิ ยม ๒ ตาแหน่ ง หากทศนิ ยมตาแหน่ งที่สามมีค่าตั้งแต่ ๐.๐๐๕ ให้ปัดขึ้น มิฉะนั้นให้ปัดทิ้ง ๓.๑.๓ ความหมายของระดับคุณภาพ ค่าคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวบ่งชี้หรื อในภาพรวม สามารถแปลความหมายของระดับคุณภาพ ดังนี้ ช่ วงคะแนน ๔.๕๑ – ๕.๐๐ ๓.๕๑ – ๔.๕๐ ๒.๕๑ – ๓.๕๐ ๑.๕๑ – ๒.๕๐ ๐.๐๐ – ๑.๕๐

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุ ง ต้องปรับปรุ งเร่ งด่วน


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

211

๓.๒ การรับรองมาตรฐานระดับคณะ/เทียบเท่า ใช้เกณฑ์ ๒ ข้อ ใน ๓.๑.๒ และแปลความหมายตามข้อ ๓.๑.๓ ๓.๓ การรับรองมาตรฐานระดับสถาบัน สถาบันจะได้การรับรองเมื่อ ๑) ผลประเมินระดับสถาบันได้คะแนนเฉลี่ยเป็ นไปตามเกณฑ์ ๒ ข้อ ในข้อ ๓.๑.๒ และ ๒) คะแนนผลการประเมินระดับคณะหรื อหน่วยงานเทียบเท่าเป็ นไปตามเงื่อนไขดังนี้ (๒.๑) สถาบันที่มีจานวน ๑ - ๓ คณะ ทุกคณะต้องเป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน (๒.๒) สถาบันที่มีจานวน ๔ - ๙ คณะ มีคณะที่มีผลการประเมินคุณภาพในระดับพอใช้ได้ เพียง ๑ คณะเท่านั้น (๒.๓) สถาบันที่มีคณะ หรื อหน่วยงานเทียบเท่าจานวนตั้งแต่ ๑๐ คณะขึ้นไป มีคณะเป็ นไป ตามเกณฑ์มาตรฐานตั้งแต่ร้อยละ ๙๐ ของจานวนคณะทั้งหมด หมายเหตุ หากสถาบันได้รับการรับรองมาตรฐาน แต่มีคณะที่ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานตาม เกณฑ์ขา้ งต้นให้เป็ นการรับรองมาตรฐานสถาบันแบบมีเงื่อนไข ๓.๔ การรับรองการจัดการศึกษานอกสถานทีต่ ้งั การรับรองการจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั มีแนวทางดาเนินการ ดังนี้ ๑) ดาเนินการประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั ตามที่สถาบันแจ้งและปรากฏรายชื่อ ในฐานข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เท่านั้น ทั้งนี้ สมศ. จะประเมินการ จัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั จาก ๑๘ ตัวบ่งชี้ที่ สมศ. กาหนด ๒) ถ้าผลการประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั ไม่ผา่ นเกณฑ์ของ สกอ. สมศ. จะไม่ รับรองในระดับสถาบัน หากสถาบันการศึกษาพัฒนาจนผ่านเกณฑ์ของ สกอ. แล้ว สมศ. จึงจะทา การประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั ๓) หากการจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ งั เป็ นส่ วนหนึ่ งของคณะจะประเมินรวมกับคณะ หากมิใช่จะนับเป็ นหน่วยงานเทียบเท่าคณะ ๔) ถ้า พบหลัก ฐานภายหลัง ว่า สถาบันการศึ ก ษามี ก ารจัด การศึ ก ษานอกสถานที่ ต้ งั นอกเหนือจากที่สถาบันแจ้ง สกอ. นั้น สานักงานจะประกาศไม่รับรองทั้งสถาบัน กรณี สานักงานให้ การรับรองไปแล้วจะดาเนินการถอนการรับรอง


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

212

๓.๕ การประเมินตามโครงการ “๑ ช่ วย ๙” เพื่อขับเคลื่ อนให้สถานศึ กษาสามารถพัฒนาและเพิ่มพูนศักยภาพตนเองอย่างต่อเนื่ องสู่ ความเป็ นเลิศจึงมีแนวทางการประเมินสถานศึกษาตามโครงการ “๑ ช่ วย ๙” เพื่อสร้างความร่ วมมือ ช่วยเหลือซึ่ งกันและกันก่อให้เกิดความเข้มแข็งในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยมีเงื่อนไขดังนี้ หลักการ “๑ ช่ วย ๙” (๑ สถานศึกษา ช่ วย ๙ สถานศึกษา) สถานศึกษาที่สมัครเป็ นแกนนาในการให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลเพื่อพัฒนาให้สถานศึกษาที่ อยู่ในเครื อข่ายการพัฒนาอีก ๙ แห่ ง มีค่าเฉลี่ ยผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ดีข้ ึนกว่าการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง (พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๓) เงื่อนไข ๑) เป็ นการเข้าร่ วมโครงการโดยสมัครใจของสถานศึกษา และสถานศกึ ษาเป็ นผูเ้ สนอขอ เข้าร่ วมโครงการเอง ๒) เป็ นสถานศึกษาที่จดั การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ด้านการอาชีวศึกษา และระดับขั้น พื้นฐานสถานศึกษาสามารถสมัครเข้าร่ วมโครงการได้เพียงกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ ง คือสถานศึกษาแกนนา หรื อสถานศึกษาเครื อข่ายการพัฒนา ๓) สถานศึกษาแกนนาจะต้องลงนามความร่ วมมือกับ สมศ. ในการพัฒนาสถานศึกษา เครื อข่ายการพัฒนาอย่างน้อย ๙ แห่ ง และสถานศึกษาเครื อข่ายการพัฒนาจะต้องลงนามความ ร่ วมมือกับสถานศึกษาแกนนา คุณสมบัติของสถานศึกษาที่สมัครเข้ าร่ วมโครงการ ๑) สถานศึกษาแกนนาหรื อเรี ยกโดยย่อว่า สถานศึกษาที่เป็ น “๑” สถานศึกษาที่สมัครเข้า ร่ วมโครงการในกลุ่มนี้จะต้องมีคุณสมบัติดงั นี้ (๑.๑) ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพจาก สมศ. และมีผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง (พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๓) ในภาพรวมระดับดีมากเท่านั้น หรื อ เป็ นสถานศึกษาที่ได้รับการ ประเมินภายนอกรอบสามในปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ มีผลการประเมินในภาพรวมระดับดีมาก และได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพจากสมศ. (๑.๒) ในกรณี เป็ นสถานศึกษาที่จ ดั การศึกษาหลายระดับ เช่ น สถานศึกษาเดี ยวกันจัด การศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะต้องมีผลการประเมินดีมากและได้การรับรองทุก ระดับการศึกษา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

213

๒) สถานศึกษาเครื อข่ายการพัฒนา หรื อเรี ยกโดยย่อว่า สถานศึกษาที่เป็ น “๙” เป็ น สถานศึกษาที่มีผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ต่ากว่าระดับดีมาก กล่าวคือ กรณี ที่เป็ นสถานศึกษาที่จดั การศึกษาขั้นพื้นฐาน จะต้องมีผลการประเมินในระดับดี พอใช้ หรื อ ปรับปรุ งสถานศึกษาที่จดั การศึกษาระดับอุดมศึกษา หรื อด้านการอาชี วศึกษา จะต้องมีผลการ ประเมินในระดับดี พอใช้ ควรปรับปรุ ง หรื อต้องปรับปรุ ง หลักเกณฑ์ สา คัญ ๑) สถานศึกษาแกนนาในโครงการ “๑ ช่วย ๙” จะได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ สามตามมาตรฐานตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การพิจารณาตามกรอบการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ๒) สถานศึกษาเครื อข่ายการพัฒนา จะได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตาม กรอบการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามเช่นเดียวกับสถานศึกษาอื่นๆ ๓) สถานศึกษาเครื อข่ายการพัฒนาของสถานศึกษาในโครงการ “๑ ช่ วย ๙” นั้น อาจเป็ น สถานศึกษาทีจ่ ัดการศึกษาในระดับเดียวกัน หรือต่ างระดับกันก็ได้ เช่น สถานศึกษาในโครงการ “๑ ช่วย ๙” มีสถานศึกษาเครื อข่ายการพัฒนาเป็ นศูนย์พฒั นาเด็ก จานวน ๒ แห่ ง และเป็ นสถานศึกษาที่ จัดการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน ๗ แห่ ง หรื อสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอาจมี สถานศึกษาในเครื อข่ายการพัฒนาที่เป็ นสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา หรื อขั้นพื้นฐานก็ได้ เป็ นต้น โดยจะตั้งอยู่ในพืน้ ทีเ่ ดียวกันหรือต่ างพืน้ ทีก่ นั ก็ได้ อาจนาสถานศึกษาที่มีเจ้าของเดียวกันกับสถานศึกษาแกนนาให้เป็ นสถานศึกษาเครื อข่าย การพัฒนาก็ได้กรณี น้ ีสถานศึกษาแกนนาแต่ละแห่ งจะมีสถานศึกษาเครื อข่ายการพัฒนาเช่นนี้ ได้ไม่ เกิน ๒ แห่ง


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

214

ขั้นตอนของโครงการ ๑) สถานศึ กษาที่ มีความประสงค์จะเป็ นสถานศึ กษาแกนนาในการพัฒนาหรื อเรี ยกว่า สถานศึกษาที่เป็ น “๑” ต้องแสดงความจานงต่อ สมศ. โดยตรง และจัดทาข้อเสนอโครงการให้ สมศ. ทราบล่วงหน้าก่อนเริ่ มดาเนิ นการอย่างน้อย ๖ เดือน หรื อ ๑ ภาคการศึกษา พร้อมด้วยข้อมูลและ แผนการดาเนิ นงานที่เกี่ยวข้อง เช่น แจ้งรายชื่ อสถานศึกษาที่อยูใ่ นเครื อข่ายการพัฒนา จานวน ๙ แห่ ง พร้อมแผนการพัฒนาสถานศึกษา สถานศึกษาที่เป็ น “๙” และระยะเวลาที่ใช้เพื่อการพัฒนา เป็ นต้น เพื่อให้ สมศ. ได้จดั กลุ่มสถานศึกษาและเตรี ยมการประเมิน “๑ ช่วย ๙” ๒) คณะกรรมการบริ หาร สมศ. พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยผ่านการพิจารณาจาก คณะกรรมการวิชาการหลักที่เกี่ ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพพ.) คณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาด้านการ อาชี วศึกษา (กพศ.) คณะกรรมการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา (กพอ.) ๓) สมศ. แจ้งผลการพิจารณาแก่สถานศึกษาที่สมัครเข้าร่ วมโครงการ ๔) สถานศึกษาดาเนินการตามแผนงานและรายละเอียดโครงการตามที่ได้รับความเห็นชอบ จาก สมศ. ๕) สมศ. ดาเนินการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามและการประเมินตามโครงการ “๑ ช่วย ๙” ๖) ประกาศผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามและการผลประเมินตามโครงการ “๑ ช่วย ๙” ๗) สถานศึกษาที่ผา่ นการประเมินตามโครงการ “๑ ช่วย ๙” จะได้รับประติมากรรมคุณภาพ เพื่อแสดง ณ สถานศึกษา ทั้งนี้ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานและศักยภาพของสถานศึกษาเครื อข่าย การพัฒนาของสถานศึกษาที่ขอรับการประเมินตามโครงการ “๑ ช่วย ๙” จะต้ องแสดงให้ เห็นชั ดเจน ว่าเป็ นสิ่ งที่ได้ดาเนิ นการร่ วมกันจริ งการพัฒนาที่เกิ ดขึ้นมีความสัมพันธ์หรื อเป็ นไปตามแผนการ พัฒนาที่ ส ถานศึ ก ษาที่ ข อรั บ การประเมิ นเป็ นผูร้ ิ เริ่ ม ร่ วมดาเนิ นการ และก ากับ ติ ดตามตลอด ระยะเวลาที่กาหนด จนเกิดผลต่ อการพัฒนาผู้เรี ยน พัฒนาครู ผู้บริ หารและพัฒนาสถานศึ กษา โดยรวมจนเกิดผลสา เร็จอย่ างแท้ จริง และสถานศึกษาทั้ง ๙ แห่ ง มีความเข้มแข็งเพียงพอที่จะ พัฒนาตนเองสู่ ความเป็ นเลิศต่อไปได้แม้จะไม่มีสถานศึกษาหลักเป็ นผูด้ ูแล


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

215

๓.๖ เงื่อนไขและกรอบระยะเวลาในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ๑) การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) กาหนดเสร็ จสิ้ นภายใน วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ สาหรับสถานศึกษาที่ตอ้ งได้รับการประเมินใหม่ตามข้อ ๔๐ ของ กฏกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพ พ.ศ. ๒๕๕๓ ต้องดาเนินการให้ แล้วเสร็ จภายในวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เท่านั้น หากมิได้ดาเนิ นการดังกล่าวให้สานักงาน รายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา หรื อคณะกรรมการ การอุดมศึกษา หรื อหน่วยงานต้นสังกัดแล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณาสั่งการต่อไป ๒) กรณี สถานศึกษาไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน และ/หรื อรับรองแบบมีเงื่อนไข ให้ สถานศึกษาปรับปรุ งแก้ไขโดยจัดทาแผนพัฒนาคุ ณภาพส่ งให้ตน้ สังกัด (พร้อมสาเนาแจ้งมายัง สมศ.) เพื่อพิจารณาอนุ มตั ิภายในสามสิ บวันนับตั้งแต่วนั ที่ได้รับแจ้งผลการประเมิน โดยกาหนด ระยะเวลาให้ต้นสังกัดสามารถทักท้วงแผนพัฒนานั้นภายในสามสิ บวัน หากไม่มี การทักท้วง สถานศึกษาสามารถขอรับการประเมินซ้ าได้ภายในสองปี นับตั้งแต่วนั ที่สถานศึกษาส่ งแผนพัฒนา ไปยังต้นสังกัดและ สมศ. หากสถานศึกษามิได้ดาเนิ นการดังกล่าว สานักงานจะไม่ทาการประเมิน ซ้ าสาหรับสถานศึกษานั้น และจะรายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา หรื อคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรื อหน่ วยงานต้นสังกัด แล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณา ดาเนินการตามความเหมาะสมต่อไป ๓) กรณี สถานศึกษาไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานและ/หรื อรับรองแบบมีเงื่อนไข และ ได้รับพิจารณาประเมิน ซ้ า จะดาเนินการใน ๒ แนวทาง ดังนี้ (๓.๑) กรณี สถานศึกษาที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานในตัวบ่งชี้ หรื อประเด็นการพิจารณาเชิ ง ปริ มาณให้สถานศึ กษาจัดส่ งเอกสาร หลักฐานที่ผ่านการรั บรองโดยหน่ วยงานต้นสังกัด มายัง สานักงาน เพื่อพิจารณาปรับผลการประเมิน โดยสานักงานจะไม่ลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลก็ได้ (๓.๒) กรณี สถานศึกษาที่ไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน ในตัวบ่งชี้ หรื อประเด็นการพิจารณาเชิ ง คุณภาพสานักงานจะลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล เพื่อตรวจสอบก่อนการพิจารณาปรับผลการประเมิน ทั้งนี้ การปรับเปลี่ยนผลการประเมินจะต้องเป็ นไปตามขั้นตอน ระเบียบ ข้อบังคับ หรื อประกาศที่ สานักงานหรื อคณะกรรมการบริ หาร สมศ. กาหนด


บทที่ 5 ตัวอย่างแนวทางปฏิบัติ เพือ่ ให้ เป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานด้ านกระบวนการ ตัวบ่ งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน 1. มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ ที่สอดคล้ องกับนโยบายของสภาสถาบัน โดยการมีส่วนร่ วมของ บุคลากรในสถาบัน และได้ รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน โดยเป็ นแผนที่เชื่อมโยงกับปรัชญาหรือ ปณิธานและพระราชบัญญัติสถาบัน ตลอดจนสอดคล้ องกับจุ ดเน้ นของกลุ่มสถาบั น กรอบแผน อุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551-2554) 1.1 มีการกาหนดปรัชญาหรื อปณิ ธานของสถาบัน หากสถาบันได้กาหนดปรัชญาหรื อ ปณิ ธานอยู่แล้ว ตั้งแต่เริ่ มต้น สถาบันควรทบทวนว่า ปรั ชญาหรื อปณิ ธานยังมีความเหมาะสมกับ สภาพการณ์ในปั จจุบนั ของสถาบันหรื อไม่ หากเหมาะสมต้องดาเนิ นการให้แน่ ใจว่าสมาชิกในสถาบัน และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบโดยทัว่ กัน 1.2 หากต้องมีการปรับแก้ปรัชญาหรื อปณิธานของสถาบันตามสภาพการณ์ที่เปลี่ยนไป ควรเป็ นการกาหนดปรั ชญาหรื อปณิ ธานร่ วมกันทั้งผูบ้ ริ หาร อาจารย์และเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็ นที่ยอมรับ ของทุ กฝ่ าย อันจะนาไปสู่ ความร่ วมมื อร่ วมใจกันปฏิ บัติง านให้ บรรลุ ผลตามปรั ชญาหรื อปณิ ธาน ที่ได้กาหนด ร่ วมกัน และได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบัน 1.3 มีการพัฒนาแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับปรัชญาหรื อปณิ ธานและนโยบายของ สภาสถาบัน พระราชบัญญัติสถาบัน จุดเน้นของสถาบัน และแผนอุดมศึกษาระยะยาว รวมทั้งหลักการ และมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยทาตารางวิเคราะห์ให้ชดั เจนว่าปรัชญาหรื อปณิ ธานและนโยบาย ของสภาสถาบันและกลยุทธ์ สอดคล้องกันในประเด็นใด อย่า งไร หากมีประเด็นที่ ไม่ สอดคล้อง ควรพิจารณาปรับแก้ให้สอดคล้อง 1.4 มี ก ารจัด ตั้ง คณะกรรมการจัด ท าแผนกลยุ ท ธ์ (strategy) เพื่ อ น าสถาบัน ไปสู่ ความสาเร็ จที่พึงประสงค์ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ (vision) พันธกิจ (mission) เป้ าประสงค์ (goal) และวัตถุประสงค์ (objective) คณะกรรมการควรวิเคราะห์จุดแข็ง (strength) จุ ดอ่อน (weakness) โอกาส (opportunity) และภัยคุกคาม (threat) เพื่อนาไปสู่ การกาหนดกลยุทธ์ที่ชดั เจน และครอบคลุม


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

217

ทุกภารกิจของสถาบัน อันได้แก่ การเรี ยนการสอน การวิจัย การบริ การทาง วิชาการแก่สังคม และการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม วิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์ที่สถาบันกาหนดควรผ่านการประชา พิจารณ์ร่วมกันจากทั้งผูบ้ ริ หาร อาจารย์และเจ้าหน้าที่ เพื่อให้เกิดการยอมรับของทุกฝ่ าย อันจะนาไปสู่ ความร่ วมมือร่ วมใจกันปฏิ บตั ิงานให้บรรลุผลตามความมุ่งหวังของสถาบัน และได้รับความเห็นชอบ จากสภาสถาบัน 2. มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ ระดับสถาบันไปสู่ ทุกหน่ วยงานภายใน 2.1 มีการชี้ แจงทาความเข้าใจกับผูบ้ ริ หารหน่ วยงานย่อยภายในถึงวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ และเป้ าหมายของกลยุทธ์ และมีการกาหนดหน่ วยงานภายในรั บผิดชอบดาเนิ นงานตามแผนกลยุทธ์ อย่างเป็ นทางการ 2.2 มี การกาหนดเป้ าหมายในการดาเนิ นงานตามแผนกลยุทธ์ของแต่ละหน่ วยงาน ภายในและมีการมอบหมายอย่างเป็ นทางการ 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธ์ เป็ นแผนปฏิบัติการประจาปี ครบ 4 พันธกิจ คือ ด้ านการ เรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม 3.1 มีการจัดทาแผนที่กลยุทธ์ (Strategic map) เพื่อช่ วยในการแปลงแผนกลยุทธ์ ไปสู่ แผนปฏิบตั กิ ารตามกระบวนการของ Balance scorecard 3.2 มี ก ารจัด ท ารายงานผลการวิ เ คราะห์ ค วามสอดคล้อ งระหว่ า งแผนกลยุ ท ธ์ กับแผนปฏิบตั ิการประจาปี ทั้ง 4 พันธกิจ คือ ด้านการเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ การทางวิชาการ และการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม 4. มีตัวบ่ งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี และค่ าเป้าหมายของแต่ ละตัวบ่ งชี้ เพื่อวัด ความสาเร็จของการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการประจาปี 4.1 มีการจัดทาตัวบ่งชี้ (KPI) พร้อมทั้งเป้ าหมาย (target) ของแต่ละตัวบ่งชี้ที่จะใช้วดั ความสาเร็ จของการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบตั ิการประจาปี ทั้งนี้ ควรจัดทาพร้อมกับ การจัดทาแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบตั ิการประจาปี 4.2 มี กระบวนการส่ งเสริ มให้ผบู ้ ริ หาร อาจารย์และเจ้าหน้าที่ผูท้ ี่ เกี่ยวข้องในการ ดาเนิ นการตามตัวบ่ ง ชี้ เ ข้า มี ส่วนร่ วมในการจัดทาตัวบ่ ง ชี้ และค่ าเป้ าหมาย เพื่ อให้ เ กิ ดการยอมรั บ ของทุ กฝ่ าย อันจะนาไปสู่ ความร่ วมมื อร่ วมใจกันปฏิ บัติงานให้บรรลุผลตามเป้ าหมายที่ ได้กาหนด ร่ วมกัน


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

218

5. มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ครบ 4 พันธกิจ สถาบันควรจัดทาปฏิทินการดาเนิ นงานตามแผนปฏิบตั ิงานทั้ง 4 พันธกิจ เพื่อใช้เป็ น แนวทางการด าเนิ น งานและสร้ า งความเชื่ อ มั่น ว่ า ได้มี ก ารด าเนิ น งานตามแผนปฏิ บ ัติ ง านในเวลา ที่เหมาะสม 6. มีการติดตามผลการดาเนินงานตามตัวบ่ งชี้ของแผนปฏิบัติการประจาปี อย่ างน้ อยปี ละ 2 ครั้ง และรายงานผลต่ อผู้บริหารเพือ่ พิจารณา มี การพัฒนาระบบการติ ดตามการดาเนิ นงานตามแผนปฏิ บตั ิ การว่า เป็ นไปตามแผนหรื อไม่ และควรมีการรายงานผลการดาเนินตามตัวบ่งชี้เทียบกับค่าเป้ าหมายเสนอต่อผูบ้ ริ หารในช่วงเวลาหนึ่ งๆ เช่น 3 เดือน หรื อ 6 เดือน หากไม่เป็ นไปตามแผนควรจะมีการวิเคราะห์ถึงสาเหตุและนาเสนอแนว ทางการแก้ไขปรับปรุ ง 7. มีการประเมิ นผลการดาเนินงานตามตัวบ่ งชี้ ของแผนกลยุท ธ์ อย่ างน้ อยปี ละ 1 ครั้ ง และรายงานผลต่ อผู้บริหารและสภาสถาบันเพือ่ พิจารณา มีการประเมินผลการดาเนิ นงานตามแผนกลยุทธ์โดยการเปรี ยบเที ยบผลของตัวบ่งชี้ การดาเนิ นงานตามแผนกลยุทธ์กบั ค่าเป้ าหมาย และนาผลการประเมินที่ได้บรรจุเข้าวาระเพื่อพิจารณา ในที่ประชุมผูบ้ ริ หารสถาบันและที่ประชุมสภาสถาบันเป็ น ประจาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 8. มีการนาผลการพิจารณา ข้ อคิดเห็น และข้ อเสนอแนะของสภาสถาบั นไปปรั บ ปรุ ง แผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 8.1 มีการมอบหมายผูร้ ั บผิดชอบในการดาเนิ นงานตามข้อเสนอแนะที่ได้รับมาและ มีการจัดทาแผนการปรับปรุ งตามข้อเสนอแนะ 8.2 มี การนาแผนกลยุทธ์และแผนปฏิ บัติการประจาปี ที่ ได้รับการปรั บปรุ งเสนอ สภาสถาบัน ตัวบ่ งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสู ตร

1. มีระบบและกลไกการเปิ ดหลั กสู ต รใหม่ และปรั บปรุ งหลักสู ต รตามแนวทางปฏิ บัติ ที่กาหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 1.1 มี การกาหนดวิธีการหรื อขั้นตอนในการดาเนิ นการเพื่ อเปิ ดหลักสู ตรใหม่ และ ปรั บปรุ งหลักสู ตรและกาหนดหน่ วยงานหรื อคณะกรรมการที่รับผิดชอบพิจารณาหลักสู ตรใหม่และ


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

219

หลักสู ตรปรับปรุ ง คณะกรรมการพิจารณาหลักสู ตรควรประกอบด้วย ผูท้ รงคุณวุฒิภายนอก ที่มีความ เชี่ยวชาญและประสบการณ์ในสาขาวิชานั้นๆ 1.2 การเปิ ดหลักสู ตรใหม่ ควรมี การศึ กษาความต้องการบัณฑิ ตในสาขาวิชานั้นๆ ในตลาดงานว่ามีมากน้อยเพียงใด การผลิตบัณฑิตสาขาวิชานั้นๆ สอดคล้องกับนโยบายและแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติหรื อไม่ สถาบันมีความพร้อมในการจัดการเรี ยนการสอนในสาขาวิชานั้นๆ หรื อไม่ นอกจากศึกษาความต้องการหรื อความจาเป็ นแล้ว ควรมีการวิเคราะห์ ทรั พยากรของการ ดาเนินการของหลักสู ตรใหม่และคานวณจุดคุม้ ทุนประกอบการขออนุ มตั ิจากสภามหาวิทยาลัย 1.3 การปรั บปรุ งหลักสู ตรควรศึกษาความก้าวหน้าทางวิชาการของสาขาวิชานั้นๆ ความคิด เห็ น จากบัณฑิ ตและผูป้ ระกอบการที่ รับ บัณ ฑิ ต เข้า ทางานเพื่ อ ให้ ท ราบจุ ดที่ ควรปรั บ ปรุ ง หลักสูตร 1.4 มี การเสนอหลักสู ตรใหม่ หรื อหลักสู ตรที่ ปรั บปรุ งผ่ านการพิ จารณาตามระบบ ที่สถาบันกาหนด เช่น คณะกรรมการบริ หารคณะวิชา สภาวิชาการ เป็ นต้น และนาเสนอสภามหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ 1.5 มี การเสนอหลักสู ตรใหม่ หรื อหลักสู ตรปรั บปรุ งตามแบบฟอร์ มที่ คณะกรรมการ การอุ ดมศึ กษากาหนด และนาเสนอต่ อสานักงานคณะกรรมการการอุ ดมศึกษาภายใน 30 วันนับจาก วันที่สภาสถาบันอนุมตั ิ 2. มี ร ะบบและกลไกการปิ ดหลัก สู ต รตามแนวทางปฏิ บั ติ ที่ ก าหนดโดยคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 2.1 มีการกาหนดหลักเกณฑ์ ขั้นตอนการดาเนิ นงานและการอนุ มตั ิการปิ ดหลักสู ตร โดยพิจารณาหลักสู ตรที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการบัณฑิ ตในตลาดงาน หลักสู ตรที่มีผสู้ มัครเรี ยน น้อย หรื อหลักสู ตรที่องค์ความรู ้ลา้ สมัยไม่เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ เป็ นต้น 2.2 เมื่อหลักสู ตรใดเข้าเกณฑ์ของการปิ ดหลักสู ตร ให้เสนอเรื่ องผ่านการอนุ มตั ิของ คณะกรรมการต่างๆ ตามที่สถาบันกาหนด เช่น คณะกรรมการบริ หารคณะวิชา สภาวิชาการ เป็ นต้น และเสนอสภาสถาบันเพื่อพิจารณาอนุ มตั ิ รวมทั้งแจ้งสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาภายใน 30 วันนับจากวันที่สภาสถาบันอนุมตั ิ


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

220

3. ทุ กหลักสู ตรมี การดาเนิ นงานให้ เป็ นไปตามเกณฑ์ ม าตรฐานหลักสู ตรระดับอุ ดมศึ กษา และกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับ อุดมศึ กษาแห่ งชาติ (การดาเนิ นงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุ ฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ หมายถึง ต้ องมีการประเมินผลตาม “ตัวบ่ งชี้ผลการดาเนินงานตามประกาศ มาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา เพื่อการประกันคุณภาพหลักสู ตรและการเรียนการสอน” กรณีที่ หลักสู ตรใดยังไม่ มีประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรื อสาขาวิชา ให้ ประเมินตามตัวบ่ งชี้กลางที่กาหนด ในภาคผนวก ก) สาหรั บหลักสู ตรสาขาวิชาชี พต้ องได้ รับการรั บรองหลักสู ตรจากสภาหรื อองค์ กร วิชาชีพที่เกีย่ วข้ องด้วย 3.1 หลักสู ตรทุ ก หลัก สู ต รที่ เ ปิ ดสอนต้อ งเป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสู ต ร และยังต้องดาเนินการให้เป็ นไปตามเกณฑ์ฯ ตลอดระยะเวลาที่มีการจัดการเรี ยนการสอน 3.2 มีการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ และมีการ ประกันคุ ณภาพหลักสู ตรและการจัดการเรี ยนการสอนอย่างต่อเนื่ อง โดยกาหนดตัวบ่ งชี้และเกณฑ์ การประเมินที่สะท้อนการดาเนินการตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรื อสาขาวิชา (กรณี ที่หลักสู ตร ใดยังไม่มีประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรื อสาขาวิชาควรประเมินตามตัวบ่งชี้ กลาง) ทั้งในประเด็น การบริ หารหลักสู ตรการบริ หารทรัพยากรการเรี ยนการสอน การบริ หารคณาจารย์ การบริ หารบุคลากร สนับ สนุ นการเรี ยนการสอน การสนับสนุ นและการให้คาแนะนานักศึ กษา ความต้องการของ ตลาดแรงงาน หรื อความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณ ั ฑิต มีการควบคุม ติดตาม และประเมินคุณภาพตาม ตัวบ่งชี้ที่กาหนด และรายงานผลการดาเนิ นการต่อผูเ้ กี่ยวข้องและสาธารณชน 3.3 สาหรับหลักสู ตรสาขาวิชาชีพ ผูบ้ ริ หารหลักสู ตรควรทาการศึกษาอย่างละเอียด และรอบคอบเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และรายละเอียดของการรับรองหลักสู ตร ทั้งนี้ คณะกรรมการพัฒนา หลักสู ตรควรมีผทู ้ รงคุณวุฒิจากสภาหรื อองค์กรวิชาชีพอย่างน้อย 1 คนในกระบวนการพัฒนาหลักสู ตร และดาเนินการให้หลักสู ตรได้รับการรับรองจากสภาหรื อองค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้องก่อนการรับนักศึกษา และจัดการเรี ยนการสอน และดาเนินการขอรับรองตามกาหนดเวลาอย่างต่อเนื่ อง 4. มีคณะกรรมการรั บผิดชอบควบคุมกากับให้ มีการดาเนินการได้ ครบถ้ วนทั้งข้ อ 1 ข้ อ 2 และข้ อ 3 ข้ างต้ นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการประเมินหลักสู ตรทุกหลักสู ตรอย่ างน้ อยตามกรอบ เวลาที่กาหนดในเกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตรฯ กรณีหลักสู ตรที่ดาเนิ นงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึ กษาแห่ งชาติ จะต้ องควบคุมกากับให้ การดาเนินงานตามตัวบ่ งชี้ ในข้ อ 3 ผ่ านเกณฑ์ การประเมิน 5 ข้ อแรกและอย่ างน้ อยร้ อยละ 80 ของตัวบ่ งชี้ที่กาหนดในแต่ละปี ทุกหลักสู ตร


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

221

4.1 สร้ างกลไกกากับดูแลให้ทุกหลักสู ตรดาเนิ นงานให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสู ตร มาตรฐานวิช าชี พ และกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิร ะดับ อุ ดมศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ตลอดเวลา ที่จดั การศึกษา โดยจัดในรู ปของคณะกรรมการ ทั้งนี้ อาจเป็ นชุดเดียวกับคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตร ของภาควิชา หรื อคณะวิชาที่มีอยู่ หรื อแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบโดยเฉพาะ 4.2 จัดให้มีการประเมินผลการดาเนิ นงานทุกหลักสู ตรตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์ที่กาหนด อย่างน้อยทุกปี การศึกษา เพื่อวัดคุณภาพของการดาเนิ นการหลักสู ตรว่าเป็ นไปตามมาตรฐานหลักสู ตร และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติเพียงใด 4.3 มีการกาหนดระบบการรายงานผลการดาเนิ นงานตามตัวบ่งชี้ที่กาหนดของแต่ละ หลักสู ตร โดยอาจจัดทาเป็ นแบบฟอร์ มให้ผรู ้ ับผิดชอบกรอกข้อมูลตัวบ่ งชี้ วิเคราะห์ผลการประเมิน และแนวทางการปรับปรุ งหรื อพัฒนาเสนอต่อคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง 5. มีคณะกรรมการรั บผิดชอบควบคุมกากับให้ มีการดาเนินการได้ ครบถ้ วนทั้งข้ อ 1 ข้ อ 2 และข้ อ 3 ข้ างต้ นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการพัฒนาหลักสู ตรทุกหลักสู ตรตามผลการประเมิน ในข้อ 4 กรณีหลักสู ตรที่ดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ จะต้ องควบคุม กากับให้ การดาเนินงานตามตัวบ่ งชี้ในข้ อ 3 ผ่านเกณฑ์ การประเมินครบ ทุกตัวบ่ งชี้และทุกหลักสู ตร คณะกรรมการรับ ผิดชอบหลักสู ตรทุ กหลักสู ตร ดาเนิ นการปรับปรุ งหรื อพัฒนา หลักสูตรตามผลการประเมินที่ได้จากข้อ 4 จนทาให้ผลการดาเนิ นงานเป็ นไปตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ผ่านเกณฑ์การประเมินครบทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสู ตร 6. มีความร่ วมมือในการพัฒนาและบริหารหลักสู ตรระหว่ างสถาบันกับภาครัฐหรือภาคเอกชน ที่เกีย่ วข้ องกับวิชาชี พของหลักสู ตรมากกว่ าร้ อยละ 30 ของจานวนหลักสู ตรวิชาชี พทั้งหมดทุกระดับ การศึกษา (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ค 2) คณะกรรมการพิจารณาหลักสู ตรในเกณฑ์ ข้อ 1 และคณะกรรมการ บริหารคณะวิชาหรือภาควิชา ควรมีองค์ ประกอบของผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มาจากหน่ วยงานภาครั ฐ หรือภาค เอกชนที่ เกี่ ยวข้องกับวิชาชี พของหลักสู ตร เพื่ อให้ได้ความคิดเห็ นเกี่ยวกับความรู ้ ความสามารถและทักษะที่ จาเป็ นในการปฏิ บัติงานจริ งที่ จะเป็ นประโยชน์ ต่อการพัฒนาและบริ หาร หลักสู ตรตลอดจนกระบวนการเรี ยนการสอนให้ผูเ้ รี ยนสามารถออกไปปฏิ บตั ิ งานได้จริ งเมื่อสาเร็ จ การศึกษา


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

222

7. หลักสู ตรระดับบัณฑิตศึ กษาที่เน้ นการวิจัยที่เปิ ดสอน (ปริ ญญาโท เฉพาะแผน ก และ ปริญญาเอก) มีจานวนมากกว่ าร้ อยละ 50 ของจานวนหลักสู ตรทั้งหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุ่ม ค 1 และ ง) สถาบันที่ อยู่ในกลุ่มเฉพาะทางที่ เน้นระดับบัณฑิ ตศึ กษาและกลุ่มเน้นการวิจยั ขั้นสู ง และผลิ ต บัณ ฑิ ตระดับ บัณ ฑิ ต ศึ ก ษา โดยเฉพาะระดับ ปริ ญ ญาเอกควรเน้ น การเปิ ดสอนระดับ บัณฑิตศึกษามากกว่าระดับปริ ญญาตรี ไม่น้อยกว่าครึ่ งหนึ่ ง โดยหลักสู ตรระดับปริ ญญาโทควรเน้นการ เรี ยนแผน ก เพื่อให้สอดคล้องกับจุ ดเน้นของสถาบัน โดยอาจพิจารณาจัดสรรทุ นการศึกษาระดับ ปริ ญญาโทแผน ก เพื่อจูงใจนักศึกษา 8. หลักสู ตรระดับบัณฑิตศึ กษาที่เน้ นการวิจัยที่เปิ ดสอน (ปริ ญญาโท เฉพาะแผน ก และ ปริญญาเอก) มีจานวนนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในหลักสู ตรมากกว่ าร้ อยละ 30 ของจานวนนักศึกษาทั้งหมด ทุกระดับการศึกษา (เฉพาะกลุ่ม ค 1 และ ง) สถาบันที่ อยู่ในกลุ่มเฉพาะทางที่ เน้นระดับบัณฑิ ตศึ กษาและกลุ่มเน้นการวิจยั ขั้นสู ง และผลิตบัณฑิ ตระดับ บัณฑิ ตศึก ษา โดยเฉพาะระดับ ปริ ญญาเอกไม่ เ พี ยงแต่ เ ปิ ดหลักสู ตรระดับ บัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจยั ให้มากกว่าหลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี เท่านั้น แต่ตอ้ งดาเนิ นการให้มีจานวน นักศึกษาในหลักสู ตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจยั มากพอ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีทกั ษะการวิจยั อันจะ เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ตัวบ่ งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสนับสนุน 1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ ท้ังด้ านวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผล และมีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงประจักษ์ ข้อมูลที่ควรพิจารณาประกอบการวางแผนการบริ หารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ควรครอบคลุมข้อมูลที่สาคัญ ดังต่อไปนี้ 1.1 ข้อมูลอัตรากาลังของอาจารย์และบุคลากรในปั จจุบนั รวมทั้งที่ตอ้ งการในอนาคต อย่างน้อย 5 ปี ข้างหน้า เพื่อใช้ในการวางแผนความต้องการด้านบุคลากรของสถาบัน กาหนดอัตรากาลัง ที่ตอ้ งการเพื่อการปฏิบตั ิงานตามแผนยุทธศาสตร์ และการพัฒนางานประจา กาหนดแผนการจ้างงาน และวิธีการสรรหาบุ คลากรที่ มีความรู้ ความสามารถ มี ท ัศนคติ ที่ดีให้เข้ามาสู่ กระบวนการคัดสรร อาจมีการสรรหาทั้งจากภายนอกและภายในสถาบัน


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

223

1.2 ข้อมูลจากการสารวจความต้องการในการอบรม (training needs) ของบุคลากร ทั้งสายอาจารย์และสายสนับสนุ น เพื่ อให้ได้รับการฝึ กอบรมตามเกณฑ์ที่สถาบันการศึ กษากาหนด และสามารถนาความรู้ที่ได้รับ มาพัฒนางานของตนให้มีประสิ ทธิ ภาพเพิ่มขึ้น ซึ่ งหัวหน้าหน่ วยงาน สามารถประเมินความต้องการนี้ ได้ ข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถ (competencies)ที่ จาเป็ นต่ อการ ปฏิบตั ิงาน ในระดับต่างๆ เพื่อใช้ในการปฐมนิ เทศ และฝึ กอบรมให้ผปู้ ฏิบตั ิงานมีความเข้าใจในวิธีการ ทางาน เกิดกระบวนการเรี ยนรู ้ เกี่ยวกับแนวคิด กฎเกณฑ์ มีทศั นคติและทักษะที่ดี เพื่อเพิ่มผลการ ปฏิบตั ิงานของผูป้ ฏิบตั ิงาน รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับการสอนงานการหมุนเวียนให้ไปทางานในด้านอื่นๆ การเข้าศึกษาในโครงการที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น 1.3 ข้อมูลป้ อนกลับของผลการปฏิบตั ิงานและผลการพัฒนาตามเส้นทางความก้าวหน้า ของสายงาน ในรอบปี ที่ผ่านมา เพื่อใช้ในการมอบหมายงานหรื อมีขอ้ ตกลงในการทางานและใช้เพื่อ การปรั บปรุ งแก้ไข ชมเชย ให้รางวัล ตลอดจนปรั บปรุ งค่าตอบแทนและสวัสดิ การที่ เหมาะสมและ เป็ นธรรม รวมทั้งการสรรหาคนเก่ง คนดีเข้ามาปฏิบตั ิงานในสถาบัน 1.4 ข้อมูลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนด้านทรัพยากรมนุ ษย์ว่ามีประเด็นใดบ้างที่ควร มี การวางแผน เพื่ อการปรั บ ปรุ ง แก้ไ ขแผนพัฒนาทรั พ ยากรให้ ส อดคล้อ งกับ ความต้อ งการและ ความคาดหวังของผูป้ ฏิบตั ิงาน และของสถาบัน 2. มี การบริ ห ารและการพัฒนาคณาจารย์ และบุ คลากรสายสนั บ สนุ นให้ เป็ นไปตามแผน ที่กาหนด 2.1 มีการสรรหา คัดเลือกบุคลากรอย่างเป็ นระบบ โปร่ งใสและกาหนดแนวปฏิบตั ิ ไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อให้ได้อาจารย์ หรื อบุคลากรได้ทราบ ภายใต้เวลาที่กาหนด และเป็ นไปตาม กรอบอัตรากาลังที่สถาบันวางแผนไว้ 2.2 มีการวิเคราะห์ งาน (job analysis) โดยกาหนดให้มีคาอธิ บายลักษณะงาน (job description) การระบุ คุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ ง (job specification) รวมทั้งความสามารถ (competencies) ที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิงาน เพื่อใช้ในการปฐมนิ เทศ และการฝึ กอบรมวิธีการทางานและ ทักษะที่จาเป็ นให้ผปู้ ฏิบตั ิงานเข้าใจในงาน 2.3 มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน (job evaluation) ที่มีรูปแบบชัดเจน มีการกาหนด เส้นทางเดินของตาแหน่ งงาน (career path) ของบุคลากรทุกกลุ่ม วิเคราะห์ปริ มาณการเข้า – ออกของ บุคลากรแต่ละกลุ่มและพิจารณาหาแนวทางการปรับปรุ งแก้ไขและติดตามผล


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

224

2.4 มีการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็ นไปตามแผนและเส้นทาง เดินของตาแหน่ งงานที่ กาหนด รวมทั้งติดตามตรวจสอบเป็ นรายบุคคล เพื่ อการส่ งเสริ มสนับสนุ น อย่างต่อเนื่อง 3. มีสวัสดิการเสริ มสร้ างสุ ขภาพที่ดี และสร้ างขวัญและกาลังใจให้ คณาจารย์ และบุ คลากร สายสนับสนุนสามารถทางานได้อย่ างมีประสิทธิภาพ 3.1 สร้ างบรรยากาศของสถานที่ทางานให้น่าอยู่ ตั้งแต่สภาพแวดล้อม บรรยากาศ การทางาน การจัดสวัสดิการ การเอาใจใส่ ดูแลบุ คลากรทุ กคนอย่างเสมอภาคทัดเทียมกันการสร้าง บรรยากาศของความสุ ขในการทางาน 3.2 มี ระบบส่ งเสริ มสนับ สนุ นการเสนอขอรั บรางวัลของคณาจารย์และบุ คลากร สายสนับสนุ น เช่ น มี การติ ดตามข้อมูลแหล่งให้รางวัลต่ างๆ เพื่ อประชาสัมพันธ์ให้คณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุ นทราบโดยเร็ ว มีการกระตุ น้ และช่ วยเหลือผูท้ ี่มีศกั ยภาพเพื่อขอรับรางวัล ในด้านต่างๆ เช่ น ช่วยจัดทาเอกสารการขอรับรางวัล ประสานงานในกระบวนการขอรับรางวัลหรื อ งานธุรการอื่นๆ 3.3 มีการยกย่องให้เกียรติผไู ้ ด้รับรางวัลโดยวิธีการต่างๆ เช่น ประชาสัมพันธ์ ผลงาน ที่ได้รับรางวัลทั้งภายในและภายนอกสถาบัน จัดบรรยากาศพิ เศษเพื่อเป็ นเกี ยรติ พิจารณาความดี ความชอบเป็ นกรณีพิเศษ 3.4 มีระบบพี่เลี้ยง โดยจัดให้ผทู ้ ี่มีประสบการณ์เคยได้รับรางวัลให้คาแนะนาช่วยเหลือ และสนับสนุนอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุ นรุ่ นใหม่ในการขอรับรางวัลต่างๆ 3.5 มี กิ จกรรมที่ ก่ อให้ เ กิ ด การพัฒ นาร่ ว มกัน เปิ ดโอกาสให้ผูใ้ ต้บัง คับ บัญ ชา ได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็ นและร่ วมมื อในการทางานมีช่องทางการสื่ อสารหลายช่ องทางระหว่าง ผูบ้ งั คับบัญชา และผูใ้ ต้บงั คับบัญชา รวมทั้งระหว่างผูใ้ ต้บงั คับบัญชาด้วยกัน เพื่อทาให้เกิดความรู้สึกที่ดี และพัฒนางานร่ วมกัน 3.6 มีนโยบายดูแลสุ ขภาพของบุคลากร ทั้งในเชิ งป้ องกันและส่ งเสริ ม มีสวัสดิการ ตรวจเช็คสุ ขภาพ ส่ งเสริ มการออกกาลังกายในรู ปแบบต่างๆ เช่น สนับสนุ นด้านสถานที่ออกกาลังกาย สนับสนุนผูเ้ ชี่ยวชาญในการแนะนาด้านการดูแลสุ ขภาพ 4. มีระบบการติดตามให้ คณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุนนาความรู้ และทักษะที่ได้ จากการ พัฒนามาใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้ ของนักศึ กษาตลอดจนการปฏิบัติงาน ที่เกีย่ วข้อง


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

225

ทุกหลักสู ตรการฝึ กอบรม หรื อทุกโครงการที่ มีวตั ถุประสงค์ในการเพิ่มความรู ้ และ ทักษะการปฏิบตั ิงาน ควรกาหนดแนวทาง หรื อวิธีการติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ์ของการอบรมหรื อ การพัฒนา เพื่อให้เกิดความมัน่ ใจว่าบุคลากรสามารถนาความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ใน การปฏิบตั ิงาน หรื อปรั บปรุ งตนเอง โดยอาจใช้กลไกการติดตามผลการนาความรู้ และทักษะไปใช้ ภายหลังการอบรมหรื อพัฒนา 6-9 เดือน หรื อใช้กลไกการจัดการความรู้เป็ นเครื่ องมือในการติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ์ของการอบรม หรื อการพัฒนา เป็ นต้น 5. มีการให้ ความรู้ ด้านจรรยาบรรณอาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุ น และดูแลควบคุ ม ให้ คณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ 5.1 สถาบันจัดให้มีการให้ความรู้ดา้ นจรรยาบรรณและกิจกรรมส่ งเสริ มการปลูกฝั ง จรรยาบรรณแก่คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุ นอย่างสม่าเสมอ 5.2 ผูร้ ับผิดชอบในการให้ความรู้ดา้ นจรรยาบรรณ ควรมีการติดตามผลการปรับปรุ ง และพัฒนาตนเองของคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนอย่างต่อเนื่ อง 6. มีการประเมินผลความสาเร็ จของแผนการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์ และบุ คลากร สนับสนุน สถาบันจัดให้มีการประเมินผลความสาเร็ จของการปฏิ บตั ิงานตามกิจกรรมที่กาหนด ไว้ในแผน รวมทั้งผลสัมฤทธิ์ของแผนการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุ น ตามตัวชี้ วดั ผลการดาเนิ นงาน (KPI) หรื อเป้ าหมายของแผนการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุ น โดยที่ ตวั ชี้ วดั ผลการดาเนิ นงานและค่าเป้ าหมายนั้นควรมีความเชื่ อมโยงกับ กลยุทธ์ของสถาบัน และนาผลการประเมินไปปรับปรุ งแผนหรื อปรับปรุ งการบริ หารและการพัฒนา คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนในรอบปี ถัดไป 7. มีการนาผลการประเมินไปปรั บปรุ งแผนหรื อปรั บปรุ งการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน 7.1 นาผลการประเมินความสาเร็ จของแผนการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุนไปปรับปรุ งแผนการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 7.2 ดาเนินการตามแผนปรับปรุ งการบริ หารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุนตามระยะเวลาที่กาหนด


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

226

7.3 มี การส ารวจความต้องการ และความพึ งพอใจของคณาจารย์และบุ คลากร สายสนับ สนุ น ที่ เ ข้า ร่ ว มกิ จ กรรมต่ า งๆ ที่ มี ว ัต ถุ ป ระสงค์เ พื่ อ การพัฒ นาคณาจารย์แ ละบุ คลากร สายสนับสนุน เพื่อเป็ นข้อมูลประกอบการจัดทาแผนการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุ น ในระยะต่อไป ตัวบ่ งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน 1. มี ระบบและกลไกการประกันคุ ณภาพการจัดการเรี ยนการสอนที่ เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ ทุกหลักสู ตร 1.1 มี ก ารพัฒ นาระบบและกลไกการจั ด การเรี ยนการสอนที่ มี ค วามยื ด หยุ่ น และหลากหลาย สามารถตอบสนองความต้องการและความถนัดของผูเ้ รี ยน ยอมรั บความสามารถ ที่แตกต่างและวิธีการเรี ยนรู ้ที่หลากหลายของผูเ้ รี ยน เน้นให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการออกแบบวิธีการ เรี ยนการสอนที่เน้นการคิดวิเคราะห์ การมีทกั ษะในการเรี ยนรู ้และแสวงหาความรู ้รวมทั้งการสร้างหรื อ พัฒนาความรู ้ใหม่ๆ ด้วยตนเอง โดยผูส้ อนมีบทบาทในการกระตุน้ ให้ผเู้ รี ยนเกิดการคิดวิเคราะห์และ ลงมือปฏิบตั ิจริ ง ชี้ แนะแหล่งข้อมูลความรู้ จดั การเรี ยนการสอนและอานวยความสะดวกในการเรี ยนรู้ เพื่อให้ผเู้ รี ยนเกิดความสัมฤทธิผลในการเรี ยนรู้ทุกรายวิชา 1.2 มีการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญทุกรายวิชา อาทิ จัดให้มีชวั่ โมง ปฏิบตั ิการ อภิปรายกลุ่ม สัมมนา ทากรณีศึกษาหรื อโครงงานหรื อวิจยั เรี ยนรู้นอกสถานที่รวมทั้งฝึ กงาน และฝึ กประสบการณ์ 1.3 มี การกาหนดตัว บ่ ง ชี้ ค วามส าเร็ จ ของการจัดการเรี ยนการสอนที่ เ น้น ผูเ้ รี ย น เป็ นสาคัญในแต่ละรายวิชา และมีการติดตามตรวจสอบ ประเมินผลความสาเร็ จเพื่อนามาปรับปรุ งการ เรี ยนการสอนให้มีประสิ ทธิภาพ 2. ทุกรายวิชามีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ ามี) ก่ อนการเปิ ด สอนในแต่ละภาคการศึกษา ตามที่กาหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ 2.1 อาจารย์จดั ทารายละเอียดของรายวิชาที่จะเปิ ดสอนในแต่ละภาคการศึกษาแต่ละ รายวิชาระบุรายละเอียดในหัวข้อต่อไปนี้ เป็ นอย่างน้อย


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

227

- จุดมุ่งหมายของรายวิชาเป็ นการระบุผลการเรี ยนรู ้เมื่อผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรายวิชา เสร็ จ สิ้ น แล้ว โดยเน้น พฤติ ก รรมที่ เ ป็ นผลจากการเรี ย นรู้ ซ่ ึ งอิ ง มาตรฐานผลการเรี ย นรู้ ต ามกรอบ มาตรฐานมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ - ลักษณะและการดาเนินการ เป็ นการระบุคาอธิบายรายวิชา จานวนชัว่ โมง การสอน และการให้คาปรึ กษา - การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ ของผูเ้ รี ยน เป็ นการอธิ บายความรู้ หรื อทักษะ ที่รายวิชามุ่งหวังที่จะพัฒนาผูเ้ รี ยน วิธีการสอน และการประเมินผลการเรี ยนรู ้ในด้านต่างๆ ที่กาหนดใน กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ - แผนการสอนและการประเมินผล ในแต่ละคาบเรี ยนมีการระบุหัวข้อหรื อ เนื้ อหาที่จะสอน กิจกรรมการเรี ยนการสอน สื่ อการสอนที่ใช้และวิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ของ หัวข้อหรื อเนื้ อหานั้นๆ - ทรัพยากรประกอบการเรี ยนการสอน ระบุเอกสาร หนังสื อ ตาราที่ทนั สมัย ที่ใช้ประกอบการเรี ยนการสอน รวมทั้งแหล่งเรี ยนรู ้ นอกห้องเรี ยนที่ช่วยเสริ มประสบการณ์จริ งหรื อ ประสบการณ์เชิงปฏิบตั ิแก่ผเู ้ รี ยน - การประเมินและปรั บปรุ งการดาเนิ นการของรายวิชา มี การประเมิ น กระบวนการเรี ยนการสอนโดยใช้ขอ้ มูลจากแหล่งหลากหลาย เช่น ความเห็นของผูเ้ รี ยน ความเห็นของ ทีมผูส้ อน ผลการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน และจากการสังเกตการณ์ เป็ นต้น 2.2 อาจารย์ผสู้ อนแจกรายละเอียดของรายวิชาและแผนการสอนให้ผเู้ รี ยนในคาบแรก ที่พบผูเ้ รี ยน 2.3 การประเมินผลการเรี ยนรู ้ของรายวิชาให้มีการประเมินทั้งในระหว่างภาคการศึกษา (formative evaluation) และเมื่อสิ้ นสุ ดภาคการศึกษา (summative evaluation) 3. ทุกหลักสู ตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรี ยนรู้ ด้วยตนเอง และการให้ ผ้ ูเรี ยนได้ เรี ยนรู้ จาก การปฏิบัตทิ ้ังในและนอกห้ องเรียนหรือจากการทาวิจยั 3.1 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสู ตรกาหนดให้ทุกหลักสู ตรต้องมีรายวิชาที่ส่งเสริ ม ให้ผเู้ รี ยนเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง และเรี ยนรู ้ จากการปฏิบตั ิจริ งทั้งในและนอกชั้นเรี ยน อาทิ จัดให้มีชวั่ โมง ปฏิบตั ิการ อภิปรายกลุ่มสัมมนา ทากรณี ศึกษาหรื อโครงงานหรื อวิจยั เรี ยนรู้นอกสถานที่รวมทั้งฝึ กงาน และฝึ กประสบการณ์


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

228

3.2 จัดให้มีระบบการรายงานพัฒนาการของผูเ้ รี ยนที่สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถ ในการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง และการปฏิบตั ิจริ งของผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคลหลังจบหลักสู ตร 4. มีการให้ ผ้ ูมีประสบการณ์ ทางวิชาการหรื อวิชาชี พจากหน่ วยงานหรื อชุ มชนภายนอกเข้ ามา มีส่วนร่ วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสู ตร ทุกหลักสู ตรควรมีการออกแบบให้ผเู้ รี ยนได้มีโอกาสเรี ยนรู้จากบุคคล หน่ วยงานหรื อ ชุมชนภายนอกในด้านวิชาการหรื อวิชาชี พ เพื่อให้ผเู้ รี ยนได้ทราบถึงการนาความรู้ทางทฤษฎีไปใช้ ในทางปฏิบตั ิและมีความรู้ทางวิชาการที่ทนั สมัย การดาเนิ นการนี้ อาจทาโดยเชิ ญบุคลากรภายนอกมา เป็ นอาจารย์พิเศษสอนทั้งรายวิชาหรื อบรรยายในบางคาบเวลา นานักศึกษาฟังการบรรยายและเยีย่ มชม หน่ วยงานหรื อสถานที่ภายนอกสถาบัน ให้นักศึกษาฝึ กงานหรื อปฏิบตั ิงานในวิชาสหกิจศึกษาในสถาน ประกอบการ เป็ นต้น 5. มีการจัดการเรี ยนรู้ ที่พัฒนาจากการวิจัย หรื อจากกระบวนการจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาการ เรียนการสอน 5.1 อาจารย์ค วรพัฒ นากระบวนการเรี ย นการสอนและวิ ธี ก ารสอนในรายวิ ช า ที่ รั บ ผิดชอบอย่า งต่ อเนื่ อ งในการพัฒ นากระบวนการเรี ยนการสอนและวิ ธีก ารสอนควรวิ เ คราะห์ การสอนที่ผ่านมา โดยการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนว่าวิธีการสอนและกระบวนการเรี ยนการสอนรวมทั้งการ ประเมินผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนเหมาะสมหรื อไม่ ควรปรับปรุ งด้านใด อย่างไร 5.2 ควรจัดเวที ก ารสั มมนา หรื อการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ เ กี่ ย วกับ การวิ จัย และ ประสบการณ์การจัดการเรี ยนการสอนระหว่างอาจารย์เพื่อการปรั บปรุ งและพัฒนาการเรี ยนการสอน เป็ นประจาอย่างต่อเนื่อง 6. มี ก ารประเมิ นความพึ งพอใจของผู้เ รี ยนที่ มี ต่ อคุ ณ ภาพการจั ดการเรี ย นการสอนและ สิ่ งสนับสนุนการเรี ยนรู้ ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความพึงพอใจแต่ ละรายวิชา ต้ องไม่ ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 เมื่อสิ้ นภาคการศึกษา สถาบันจัดให้มีการประเมินความคิดเห็นของผูเ้ รี ยนต่อคุณภาพ การจัด การเรี ย นการสอนของอาจารย์ใ นทุ ก รายวิ ชาและมีก ารประเมิ น คุ ณภาพความเพี ย งพอและ ความเหมาะสมของอุปกรณ์และสื่ อสนับสนุ นการเรี ยนรู้ เช่ น อุปกรณ์ที่ใช้ในห้องเรี ยนคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ในห้องปฏิ บตั ิการ หนังสื อ ตารา และสิ่ งพิมพ์ในห้องสมุด เป็ นต้น นาผลการประเมิน ความคิ ด เห็ นดัง กล่ า วข้า งต้น ไปปรั บ ปรุ ง กระบวนการเรี ย นการสอนและสิ่ ง สนับ สนุ น การเรี ย นรู ้


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

229

โดยมีการระบุในรายละเอียดของรายวิชาในภาคการศึกษาถัดไปด้วย มีการนาการประเมินความคิดเห็น ของผูเ้ รี ยนมาปรับปรุ งและพัฒนาการเรี ยนการสอนอย่างไร 7. มีการพัฒนาหรื อปรั บปรุ งการจัดการเรี ยนการสอน กลยุทธ์ การสอนหรื อการประเมินผล การเรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา สถาบันหรื อคณะวิชาควรมีการตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบหลักสู ตร ทาหน้าที่ต่อไปนี้ - พิจารณารายละเอียดของรายวิชาตามข้อ 2 เพื่อตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ - ติดตาม วิเคราะห์ผลการดาเนิ นงานแต่ละรายวิชาและภาพรวมของทุกหลักสู ตร ทุกภาค การศึกษา โดยเฉพาะจากผลการประเมินของผูเ้ รี ยน และวางแผนปรับปรุ งในส่ วนที่เกี่ยวข้องหรื อเสนอ การปรับปรุ งต่อคณะกรรมการระดับที่สูงขึ้น - ดูแลให้การดาเนิ นการหลักสู ตรได้รับการประเมินโดยผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย เช่ น ผูเ้ รี ยน ปั จจุบนั และผูท้ ี่กาลังจะสาเร็ จการศึกษาหรื อศิษย์เก่า และกรรมการอิสระ ตามหลักเกณฑ์และกรอบ เวลาที่กาหนดทุกปี การศึกษา - ระบุถึงความจาเป็ นต่อการปรับปรุ ง หรื อปิ ด หรื อเปิ ดรายวิชาหรื อหลักสู ตร ตามหลักฐาน จากผลการประเมินของผูเ้ รี ยน/ของผูท้ ี่กาลังจะสาเร็ จการศึกษา/ของผูป้ ระเมินอิสระและของผูใ้ ช้บณ ั ฑิต อย่างต่อเนื่อง ตัวบ่ งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต 1. มี ก ารส ารวจคุ ณลั กษณะของบั ณ ฑิ ตที่ พึง ประสงค์ ต ามความต้ องการของผู้ใ ช้ บั ณฑิ ต อย่ า งน้ อ ยส าหรั บ ทุ ก หลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาตรี ทุ ก รอบระยะเวลาตามแผนก าหนดการศึ ก ษา ของหลักสู ตร 1.1 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสู ตรต้องสารวจหรื อวิเคราะห์ความต้องการของ ผูใ้ ช้บณ ั ฑิ ตเกี่ยวกับคุณลักษณะของบัณฑิ ตเป็ นระยะๆ อย่างน้อยทุก 5 ปี เพื่อนาข้อมูลมาใช้ในการ ปรับปรุ งหลักสู ตรหรื อจัดการเรี ยนการสอนเพื่อให้ได้บณ ั ฑิตที่สนองความต้องการของผูใ้ ช้บณ ั ฑิตให้ มากที่ สุด โดยนาข้อมูลจากการสารวจมาบูรณาการร่ วมกับกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุดมศึ กษา แห่ งชาติ


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

230

1.2 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสู ตรต้องมีการทบทวน ปรับปรุ งคุณลักษณะของ บัณฑิตที่จาเป็ น และเหมาะสมกับสาขาวิชา ระดับการศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของ ผูใ้ ช้บณ ั ฑิต โดยคานึ งถึงความทันสมัยของหลักสู ตรที่ตอ้ งสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงระดับท้องถิ่น ระดับชาติ หรื อระดับนานาชาติดว้ ย มีการกาหนดเป็ นเป้ าหมายการผลิตบัณฑิตระหว่างผูส้ อนร่ วมกัน และเผยแพร่ ให้ผทู ้ ี่รับผิดชอบในการผลิตบัณฑิตทุกคนรับรู ้และร่ วมกันพัฒนานักศึกษา 2. มีการนาผลจากข้ อ 1 มาใช้ ในการปรับปรุ งหลักสู ตร การจัดการเรี ยนการสอนการวัดผล การศึ กษาและสั มฤทธิผลทางการเรี ยนที่ส่งเสริ มทักษะอาชี พและคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามความต้ องการของผู้ใช้ บัณฑิต 2.1 คณะกรรมการรั บ ผิ ด ชอบหลัก สู ต รมี ก ารวิ เ คราะห์ ติ ด ตามประเมิ น ผล การใช้หลักสู ตร และนาข้อมูลจากผลการสารวจความต้องการของผูใ้ ช้บณ ั ฑิตมาใช้ในการปรั บปรุ ง หลักสู ตร โดยเฉพาะประเด็ นการกาหนดโครงสร้ างหลักสู ตร การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน สื่ อการศึกษา และการประเมินผล 2.2 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสู ตรมีการวางระบบการประกันคุณภาพการจัดการ เรี ยนการสอนระดับหลักสู ตร โดยอาจมีการเชื่ อมโยงรายวิชากับ คุ ณลักษณะของบัณฑิ ตที่ กาหนด เพื่อให้ผสู้ อนแต่ละวิชาได้รับรู้และถือเป็ นภาระหน้าที่ ที่ตอ้ งพัฒนาผูเ้ รี ยนในทักษะที่จาเป็ นของรายวิชา นั้นๆ อาจมี การออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนในลักษณะของการบูรณาการระหว่างรายวิชา และระหว่ า งการเรี ย นรู ้ ใ นห้ อ งเรี ย นเรี ย นกับ นอกห้อ งเรี ย นให้ผูเ้ รี ย นได้เ รี ย นรู้ ท้ ัง ภาคทฤษฎี แ ละ ภาคปฏิบตั ิ เพื่อให้มีทกั ษะการปฏิบตั ิงานในโลกแห่ งการทางานจริ งได้ 2.3 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสู ตรมีการวางระบบการกากับติดตามการออกแบบ กิจกรรมการเรี ยนการสอนของอาจารย์ที่จะช่วยส่ งเสริ มเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองของนักศึกษา มีการประชุม วิพากษ์การจัดการเรี ยนการสอน สื่ อการศึกษา และวิธีการประเมินผล เพื่อให้ผสู้ อนได้ขอ้ มูลในการ ปรับปรุ งตนเองจากเพื่อนร่ วมงาน 2.4 มีการวางระบบการประเมินผลที่สะท้อนทักษะความสามารถด้านการเรี ยนร้องของ ผูเ้ รี ยน เน้นการประเมินตามสภาพจริ ง (authentic assessment) โดยเฉพาะความสามารถในการเรี ยนรู้ ขั้น สู ง ใช้วิ ธี ก ารวัด และประเมิ น ผลที่ ห ลากหลาย สะท้อ นความสามารถในการปฏิ บัติ ง าน (performance) ของผูเ้ รี ยน โดยเฉพาะทักษะการเรี ยนรู้ที่ใช้วิจยั เป็ นฐาน


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

231

2.5 ควรจัดให้มีการประชุมหารื อระหว่างคณะกรรมการรั บผิดชอบหลักสู ตรในการ แลกเปลี่ยนกิจกรรมการเรี ยนการสอน และการแก้ปัญหาร่ วมกันสาหรั บผูเ้ รี ยนที่จาเป็ นต้องได้รับการ พัฒนาเป็ นพิเศษ 3. มีการส่ งเสริ มสนับสนุนทรั พยากรทั้งด้ านบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณ ที่เอือ้ ต่ อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต 3.1 คณะกรรมการรั บผิดชอบหลักสู ต รควรมี การวางแผนการจัดหางบประมาณ หรื อทรั พยากรที่ สนับสนุ นการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนที่ ส่งเสริ มคุณลักษณะของบัณฑิ ตอย่า ง เพียงพอ 3.2 หน่ วยงานระดับคณะวิชา ภาควิชาสนับสนุ น ส่ งเสริ มการใช้สื่อเทคโนโลยี ทางการศึกษาเพื่อให้ผเู้ รี ยนรู้จกั แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง อาจมีการจัดทาเว็บไซต์เพื่อให้นกั ศึกษาและ อาจารย์มีการสร้างสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ ในรู ปของการสร้างชุมชนนักปฏิบตั ิ (community of practice) เพื่อให้การเรี ยนรู ้เกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา 4. มีระบบและกลไกการส่ งเสริมให้ นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้ าร่ วมกิจกรรม การประชุ มวิชาการหรือนาเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุ มระหว่ างสถาบันหรื อที่ประชุ มระดับชาติ หรือนานาชาติ 4.1 มี การเผยแพร่ ประชาสั มพันธ์โปรแกรมการประชุ มวิชาการที่ เกิ ดขึ้นในที่ ต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศให้นกั ศึกษารับรู ้ 4.2 มีการจัดหางบประมาณให้นกั ศึกษามีโอกาสเข้าร่ วมกิจกรรมทางวิชาการทั้งภายใน สถาบันหรื อนอกสถาบัน 4.3 หากเป็ นไปได้ อาจมีการกาหนดเป็ นเงื่ อนไขให้นักศึกษาต้องมี โอกาสเข้าร่ วม ประชุมวิชาการระดับชาติทุกปี หรื อระดับนานาชาติอย่างน้อย 1 ครั้งในระหว่างการศึกษา 4.4 ในระดับชั้นเรี ยนผูส้ อนมีการฝึ กทักษะการนาเสนอผลงานทางวิชาการ สนับสนุน ให้นักศึกษาส่ งผลงานวิชาการให้ที่ประชุมวิชาการต่างๆ พิจารณา เรี ยนรู ้เทคนิ คการส่ งผลงานวิชาการ ให้ได้รับการคัดเลือกไปเผยแพร่ 5. มีกิจกรรมเสริ มสร้ างคุณธรรมจริ ยธรรมให้ แก่ นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี และบัณฑิตศึกษา ที่จัดโดยสถาบัน 5.1 มีการจัดหางบประมาณสนับสนุ นการจัดกิจกรรมที่ส่ง เสริ มคุณธรรมจริ ยธรรม ให้แก่นกั ศึกษา และจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่ อง ทั้งกิจกรรมภายใต้หลักสู ตรและกิจกรรมเสริ มหลักสู ตร


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

232

5.2 มีการกาหนดเงื่อนไขให้นกั ศึกษาต้องเข้าร่ วมกิจกรรมส่ งเสริ มคุณธรรมจริ ยธรรม ของสถาบัน โดยมีการประเมินผลที่เป็ นรู ปธรรม ซึ่ งผลการประเมินควรเป็ นปั จจัยสาคัญต่อผลการเรี ยน หรื อต่อการสาเร็ จการศึกษาของนักศึกษา 6. มีระบบและกลไกสนั บสนุ นการประยุ กต์ ใช้ ผลงานจากวิทยานิ พนธ์ ของนั กศึ กษาระดับ บัณฑิตศึกษา และมีการรับรองการใช้ ประโยชน์ จริงจากหน่ วยงานภาครัฐ หรือเอกชนหรื อหน่ วยงาน วิชาชีพ (เฉพาะกลุ่ม ค1) 6.1 มีการเชิ ญหน่ วยงาน สถาบัน องค์กรภาครัฐ และเอกชน ผูใ้ ช้บณ ั ฑิต หรื อ นักวิ ชาการมาให้ความรู้ ห รื อ ให้ขอ้ มู ล เกี่ ยวกับ ประเด็ นวิ จัยที่ ต้อ งการให้นัก ศึ ก ษาจัดท าเป็ นหั วข้อ วิทยานิพนธ์ประมาณภาคเรี ยนละ 1 ครั้ง เพื่อให้นกั ศึกษาได้จดั ทาข้อเสนอโครงการวิจยั ที่สนองความ ต้องการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6.2 ประชาสัมพันธ์แหล่งทุ นวิจยั จากหน่ วยงานต่างๆ ให้นักศึกษาทราบ และมีการ พัฒนาทักษะการจัดทาข้อเสนอโครงการวิจยั ที่มีประสิ ทธิภาพ สอดคล้องกับช่วงเวลาของการสมัครทุน 6.3 สนับสนุ นให้นักศึกษาเสนอข้อเสนอโครงการวิทยานิ พนธ์ไปยังหน่ วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอทุนสนับสนุนการวิจยั 6.4 ในการสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ อาจมี การแต่ ง ตั้ง กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิภายนอก ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นวิจยั ของนักศึกษามาร่ วมเป็ นกรรมการสอบ เพื่อให้รับรู้ผลงานวิจยั และนาผลไป ใช้ประโยชน์ 6.5 มีการเผยแพร่ ผลงานวิทยานิ พนธ์ของนักศึกษาในรู ปแบบต่างๆ หรื อจัดทาเป็ นข่าว เพื่อเผยแพร่ ตามสื่ อวิทยุ โทรทัศน์ หนังสื อพิมพ์ และอาจจัดทาบทคัดย่องานวิจยั เป็ นหมวดหมู่เผยแพร่ ไปยังสถาบันหรื อองค์การที่ เกี่ยวข้อง หรื อนาออกเผยแพร่ ในช่วงโอกาสที่ กาลังเกิ ดเหตุ การณ์ หรื อ สถานการณ์ที่เป็ นปั ญหา และสามารถใช้คาตอบจากผลการวิจัยที่ นักศึ กษาผลิ ตไปช่ วยชี้ แนะแนว ทางการแก้ไขปั ญหาได้ 6.6 มีการจัดทาระบบฐานข้อมูลงานวิทยานิ พนธ์ที่มีบุคคลหรื อหน่ วยงานนาไปใช้ ประโยชน์ โดยอาจใช้วิธีการสื บค้นการอ้างอิง หรื อการสารวจด้วยแบบสอบถามจากหน่ วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 7. มีการพัฒนาทักษะนักศึกษาในการจัดทาบทความจากวิทยานิพนธ์ และมีการนาไปตีพิมพ์ เผยแพร่ ในวารสารระดับนานาชาติ (เฉพาะกลุ่ม ง)


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

233

7.1 ผูส้ อนอาจมอบหมายให้นักศึ กษาอ่านบทความวิจัยที่ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มีการวิพากษ์บทความ การสังเคราะห์ความรู ้จากบทความวิจยั ในรายวิชาต่างๆ 7.2 จัดหลักสู ตรรายวิชาหรื อกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรเกี่ ยวกับการจัดทาบทความวิจัย เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ ในวารสารวิชาการให้นกั ศึกษาได้พฒั นาทักษะการจัดทาบทความ 7.3 อาจมีการตั้งคลินิกให้ความช่วยเหลือในการทาบทความวิจยั รวมทั้งการแปลเป็ น ภาษาต่างประเทศ 7.4 สนับสนุนให้นกั ศึกษาจัดทาบทความวิจยั จากผลการวิจยั บางส่ วน ที่สามารถตีพิมพ์ เผยแพร่ ได้ ส่ งไปยังวารสารต่างๆ ในระหว่างการทาวิทยานิพนธ์ 7.5 นาบทความวิจยั ของนักศึกษาที่ ได้รับการคัดเลือกหรื อไม่ได้รับการคัดเลือกให้ ตีพิมพ์เผยแพร่ มาเรี ยนรู ้ร่วมกันในชั้นเรี ยน และมีการวิพากษ์เพื่อการเรี ยนรู ้ร่วมกัน

ตัวบ่ งชี้ที่ 3.1 ระบบและกลไกการให้ คาปรึกษาและบริการด้ านข้ อมูลข่ าวสาร 1. มีการจัดบริการให้ คาปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใช้ ชีวติ แก่นักศึกษา 1.1 สถาบันจัดทาฐานข้อมูลนักศึกษา ประกอบด้วยข้อมูลด้านสุ ขภาพทั้งทางกายและ ทางจิต ข้อมูลด้านการเรี ยน ข้อมูลครอบครัว และบุคคลที่สถาบันสามารถติดต่อเมื่อนักศึกษามีปัญหา 1.2 หน่ วยงานระดับภาควิชา มีระบบการตั้งอาจารย์ที่ปรึ กษาวิชาการที่เหมาะสม คานึ งถึงสั ดส่ วนอาจารย์ต่อนักศึ กษา ที่ ทาให้อาจารย์สามารถดู แลนักศึ กษาได้ทั่วถึ ง มีระบบการ ช่ วยเหลือนักศึ กษาในความดูแลใกล้ชิด เน้นการพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุ คคล มีการประชุ มระหว่าง อาจารย์ท้ งั ที่ เป็ นทางการหรื อไม่เป็ นทางการ เพื่อส่ งต่อข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษาที่มีปัญหาด้านการเรี ยน ในกลุ่ ม ผูส้ อนหรื อ ผูร้ ั บ ชอบหลัก สู ต รเน้น การให้ บ ริ ก ารความช่ ว ยเหลื อ นัก ศึ ก ษาในรู ป แบบของ การป้ องกันปั ญหามากกว่าการแก้ปัญหา 1.3 หน่ วยงานระดับคณะหรื อระดับสถาบัน เช่น ฝ่ ายกิจการนักศึกษามีหน่ วยให้บริ การ หรื อให้คาปรึ กษาสาหรับนักศึกษาที่มี ปัญหาชี วิต โดยมีเจ้าหน้าที่คอยรั บเรื่ องร้องทุกข์ของนักศึกษา ที่ขอใช้บริ การตลอดเวลา อาจมีการจัดบริ การสายด่วน (hotline) สาหรับให้คาปรึ กษาหรื อให้ความ ช่ วยเหลือนักศึ กษาที่ มีปัญหาวิกฤติและต้องการความช่ วยเหลื อด่ วน และมีระบบการดูแลนักศึกษา ในกรณีที่อาจารย์ที่ปรึ กษาส่ งนักศึกษามารับบริ การ


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

234

1.4 มี ระบบการส่ ง ต่ อการดู แลสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิ ตของนักศึ กษา ไปยัง โรงพยาบาลหรื อหน่ วยให้บริ การเฉพาะทางในกรณี ที่นักศึกษามีปัญหาที่รุนแรงเกินความสามารถของ สถาบันที่จะดูแลได้ 1.5 ผู ้เ กี่ ย วข้อ งกับ นั ก ศึ ก ษาทุ ก ระดับ มี ร ะบบการติ ด ตามผลการช่ ว ยเหลื อ หรื อ ให้คาแนะนาแก่นกั ศึกษา จนสามารถแก้ไขปั ญหาของนักศึกษาได้สาเร็ จ 1.6 มี การจัด ประชุ มพัฒนาอาจารย์ห รื อ บุ คลากรที่ รั บ ผิด ชอบการดูแ ลนัก ศึก ษา เป็ นระยะๆ เพื่อสร้างความเข้าใจร่ วมกัน และสร้างเครื อข่ายการให้ความช่วยเหลือร่ วมกัน 1.7 มีการจัดประชุมเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันกับครอบครัวของนักศึกษา เพื่อร่ วมมือกันแก้ไขปั ญหาของนักศึกษา 1.8 มี ช่ อ งทางให้ นัก ศึ ก ษาหรื อ ผูเ้ กี่ ย วข้อ งได้ใ ห้ ขอ้ เสนอแนะเพื่ อ การปรั บ ปรุ ง การให้บริ การ 2. มีการจัดบริการข้ อมูลข่ าวสารที่เป็ นประโยชน์ ต่อนักศึกษา 2.1 สถาบันจัดทาฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์ บอร์ ด เว็บไซต์ สาหรับประกาศข้อมูล ข่าวสารที่เป็ นประโยชน์กบั นักศึกษา เช่ น ข้อมูลทุนการศึกษา ทุนวิจยั การรับสมัครงาน ข่าวสาร วิชาการที่ทนั สมัยและที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่นกั ศึกษาจาเป็ นต้องรู ้ 2.2 มี ช่ อ งทางให้ นั ก ศึ ก ษาหรื อ ผูเ้ กี่ ย วข้อ ได้ใ ห้ ข อ้ เสนอแนะเพื่ อ การปรั บ ปรุ ง การให้บริ การ 2.3 มีระบบการติดตามประเมินผลการให้บริ การข้อมูลข่าวสาร 3. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพแก่นักศึกษา 3.1 มีการประสานงานกับหน่ วยงานต่างๆ ทั้งในและนอกสถาบัน เพื่อเป็ นแหล่งดูงาน แหล่งฝึ กประสบการณ์ของนักศึกษา และมีการติดตามประเมินคุณภาพของความเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ของ แหล่ ง ฝึ กประสบการณ์ วิ ช าชี พ เพื่ อ น ามาให้ เ ป็ นข้อ มู ล ในการวางแผนจั ด การเตรี ยมแหล่ ง ฝึ ก ประสบการณ์ทางวิชาชีพที่เหมาะสมต่อไป 3.2 มีการจัดกิจกรรมวิชาการ หรื อกิจกรรมทางสังคม โดยให้นักศึกษาเป็ นผูร้ ับผิดชอบ หลักในการดาเนินงานเพื่อฝึ กทักษะประสบการณ์การทางานร่ วมกัน 3.3 มี ช่ อ งทางให้ นั ก ศึ ก ษาหรื อ ผูเ้ กี่ ย วข้อ งได้ใ ห้ ข อ้ เสนอแนะเพื่ อ การปรั บ ปรุ ง การพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพ 3.4 มีระบบการติดตามประเมินผลการฝึ กประสบการณ์วิชาการและวิชาชีพชีพ


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

235

4. มีการจัดบริการข้ อมูลข่ าวสารที่เป็ นประโยชน์ ต่อศิษย์ เก่า 4.1 สถาบันมีฐานข้อมูลศิษย์เก่า และมีการจัดทาฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์ เว็บไซต์ จดหมายข่าว ฯลฯ สาหรั บเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์กบั ศิษย์เก่า เช่ น ข้อมูลกิจกรรมการ ประชุมวิชาการ การสัมมนาความรู ้ ใหม่ ๆ ข้อมูลแหล่งทุ นการศึกษาต่อ ทุนวิจยั การรั บสมัครงาน ข่าวสารวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา 4.2 มีการส่ งข่าวให้ศิษย์เก่ารั บรู ้ เกี่ ยวกับกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาความรู้และ ประสบการณ์เป็ นระยะๆ 4.3 เปิ ดโอกาสให้ศิษย์เก่าได้มีส่วนร่ วมในการปรับปรุ งพัฒนาหลักสู ตร การมีส่วนร่ วม ในการจัดการเรี ยนการสอน การทาวิจยั แบบร่ วมมือในลักษณะของสหวิทยาการ การเป็ นกรรมการสอบ วิ ท ยานิ พ นธ์ กิ จ กรรมดัง กล่ า วนอกจากจะให้ ศิ ษ ย์เ ก่ า ได้มี ส่ ว นร่ ว มในการพัฒ นาความรู ้ แ ละ ประสบการณ์ที่ดีแก่นกั ศึกษาปั จจุบนั และสร้างเครื อข่ายความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาปั จจุบนั กับศิษย์ เก่าแล้วยังทาให้ศิษย์เก่าและอาจารย์ได้เรี ยนรู ้วทิ ยาการใหม่ๆ ในฐานะผูใ้ ห้และผูร้ ับ 4.4 มีช่องทางให้ศิษย์เก่าได้ให้ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรับปรุ งการให้บริ การ 5. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ และประสบการณ์ ให้ ศิษย์ เก่า 5.1 มี การจัดกิ จกรรมทางวิชาการและวิชาชี พเพื่อพัฒนาความรู ้ และประสบการณ์ สาหรับศิษย์เก่าเป็ นระยะๆ โดยมีการส่ งข่าวให้ศิษย์เก่ารับรู ้ 5.2 มี ช่องทางให้ศิษ ย์เ ก่ า ได้ให้ขอ้ เสนอแนะเพื่ อการปรั บปรุ ง กิ จกรรมเพื่ อพัฒนา ความรู้และประสบการณ์วิชาการและวิชาชีพ 6. มีผลการประเมินคุณภาพของการให้ บริการในข้ อ 1 – 3 ทุกข้ อไม่ ตา่ กว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 6.1 หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องในสถาบันระดับภาควิชา ฝ่ าย คณะ หรื อสถาบัน มีระบบ การติดตามประเมินผลการให้บริ การทุ กด้านแก่นักศึกษาและศิษย์เก่า มีการมอบหมายผูร้ ับผิดชอบใน การประเมินและระยะเวลาในการประเมิน 6.2 มีการประเมินคุณภาพของการให้บริ การทุกด้าน และนาเสนอผลการประเมิน แก่ผรู ้ ับผิดชอบ และผูบ้ ริ หารระดับคณะ สถาบัน 6.3 คะแนนเฉลี่ ยของผลการประเมิ นความพึงพอใจของนักศึ กษาควรอยู่ในระดับ 3.51 ขึ้นไปจากคะแนนเต็ม 5 จึ งจะถือว่ามีการบริ การที่อยูใ่ นระดับดี หากผลการประเมินคุณภาพ ของการให้บริ การด้านใดที่ยงั ไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน (ต่ากว่า 3.51 คะแนน) ให้ทาการวิเคราะห์


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

236

สาเหตุ ปั ญหาอุปสรรค เพื่อหาแนวทางการปรับปรุ งการให้บริ การ ทั้งนี้ ควรเปิ ดโอกาสให้นักศึกษา หรื อศิษย์เก่า มีส่วนร่ วมในการเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปั ญหา หรื อการปรับปรุ งการให้บริ การด้วย 7. มี การนาผลการประเมิ นคุ ณภาพของการให้ บ ริ ก ารมาใช้ เป็ นข้ อมู ลในการพัฒ นาการ จัดบริการที่สนองความต้ องการของนักศึกษา 7.1 น าผลการประเมิ นคุ ณภาพการให้ บริ การเสนอให้ผูเ้ กี่ ยวข้องทราบทุ กระดับ และมีการจัดทาแผนพัฒนาปรับปรุ งการให้บริ การ โดยเฉพาะการบริ การในด้านที่ยงั ไม่บรรลุเป้ าหมาย ที่กาหนด 7.2 มีการปรับปรุ งพัฒนาการให้บริ การแก่นกั ศึกษาและศิษย์เก่า และประเมินคุณภาพ ของการให้บริ การทุกด้านตามแผนที่กาหนด 7.3 มีการสารวจข้อมูลจากนักศึกษา และศิษย์เก่าเพื่อศึกษาความพึงพอใจในบริ การ ที่สถาบันจัดให้ทุกด้านอย่างน้อยปี ละครั้ง เพื่อเป็ นข้อมูลประกอบการจัดทาแผนการพัฒนาระบบการ ให้บริ การในระยะต่อไป ตัวบ่ งชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการส่ งเสริมกิจกรรมนักศึกษา 1. สถาบั นจั ด ท าแผนการจัด กิจกรรมพัฒ นานั กศึ กษาที่ ส่ งเสริ ม ผลการเรี ยนรู้ ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติทุกด้ าน 1.1 หน่ วยงานระดับคณะหรื อสถาบันมีการกาหนดแผนการส่ งเสริ มการจัดกิจกรรม ของนักศึกษา ที่ชัดเจน นอกเหนื อจากการพัฒนานักศึ กษาผ่านการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอน ตามรายวิชาในหลักสู ตร ทั้งนี้ กิจกรรมการพัฒนานักศึกษาจะมีท้ งั ที่จดั โดยสถาบัน หรื อจัดโดยองค์กร นักศึกษา เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะตามที่สถาบันกาหนด และสอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิในแต่ละระดับการศึกษา 1.2 มี ก ารก าหนดตัว บ่ ง ชี้ ค วามส าเร็ จ ของการจัด กิ จ กรรมการพัฒ นานั ก ศึ ก ษา ประกอบด้วย ตัวบ่ งชี้ หลักตามกรอบมาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุ ดมศึ กษาแห่ งชาติ และตัวบ่ งชี้เฉพาะ (ถ้ามี) ที่นอกเหนือจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ เพื่อใช้ในการติดตามประเมินผล การเรี ยนรู ้ของนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาจากการทากิจกรรม


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

237

2. มีกจิ กรรมให้ ความรู้ และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา สถาบั น มี ก ารพั ฒ นาความรู ้ ค วามเข้า ใจแก่ นั ก ศึ ก ษาด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพ และกาหนดเงื่ อนไขให้นักศึกษาระบุตวั บ่งชี้ ความสาเร็ จของการดาเนิ นงาน วิธีการประเมินคุณภาพ ในโครงการหรื อกิจกรรมที่นกั ศึกษาเสนอเพื่อขอรับการสนับสนุ นจากสถาบัน 3. มีการส่ งเสริ มให้ นักศึ กษานาความรู้ ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ ในการจัดกิจกรรม ที่ดาเนินการโดยนักศึ กษาอย่ างน้ อย 5 ประเภทสาหรับระดับปริญญาตรี และอย่ างน้ อย 2 ประเภท สาหรับระดับบัณฑิตศึกษา จากกิจกรรมต่ อไปนี้ - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ - กิจกรรมกีฬาหรือการส่ งเสริมสุ ขภาพ - กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ หรือรักษาสิ่ งแวดล้อม - กิจกรรมเสริมสร้ างคุณธรรมและจริยธรรม - กิจกรรมส่ งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม 3.1 สาหรับการจัดการศึกษาระดับปริ ญญาตรี สถาบันควรส่ งเสริ มให้นกั ศึกษาจัดทา แผนการจัดกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาที่ดาเนิ นการโดยนักศึกษาอย่างน้อย 5 ประเภท ได้แก่กิจกรรม วิชาการที่ ส่งเสริ มคุณลักษณะบัณฑิ ตที่ พึงประสงค์ กิ จกรรมกี ฬาหรื อการส่ งเสริ มสุ ขภาพกิจกรรม บาเพ็ญประโยชน์หรื อรักษาสิ่ งแวดล้อม กิจกรรมเสริ มสร้ างคุณธรรมและจริ ยธรรม และกิจกรรม ส่ งเสริ มศิลปะและวัฒนธรรม 3.2 สาหรับการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สถาบันต้องส่ งเสริ มการจัดทาแผนการ จัดกิ จกรรมที่ ดาเนิ นการโดยนักศึ กษาระดับปริ ญญาโทหรื อเอกอย่างน้อย 2 ประเภทจากประเภท กิจกรรมต่อไปนี้ ได้แก่ กิจกรรมวิชาการ กิ จกรรมกีฬาหรื อการส่ งเสริ มสุ ขภาพ กิจกรรมบาเพ็ญ ประโยชน์หรื อรักษาสิ่ งแวดล้อม กิจกรรมเสริ มสร้างคุณธรรมและจริ ยธรรม กิจกรรมส่ งเสริ มศิลปะและ วัฒนธรรม โดยควรมีกิจกรรมวิชาการรวมอยูด่ ว้ ย 3.3 การจัดกิจกรรมของนักศึกษาทั้งในระดับปริ ญญาตรี หรื อบัณฑิตศึกษาทุกกิจกรรม ต้องจัดทาข้อเสนอโครงการให้ผรู้ ั บผิดชอบอนุ มตั ิ (อาจารย์ที่ปรึ กษา หรื อฝ่ ายกิจการนักศึกษาของ สถาบัน) โดยมีคาอธิบายเกี่ยวกับระบบประกันคุณภาพที่ใช้ในการจัดกิจกรรม ประกอบด้วยสาระสาคัญ ได้แก่ วัตถุ ป ระสงค์ของกิ จกรรม ตัวบ่ งชี้ ความส าเร็ จของกิ จกรรมที่จัด ลักษณะของกิจกรรม


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

238

กลุ่มเป้ าหมาย และวิธีการประเมินความสาเร็ จ และมีการติดตามประเมินผลการดาเนิ นงานของกิจกรรม ก่อนหน้านี้ มาใช้ประกอบการจัดทาโครงการหรื อกิจกรรมใหม่ 3.4 ผูร้ ับผิดชอบควรให้ขอ้ มูลป้ อนกลับแก่นกั ศึกษาในการปรับปรุ งพัฒนาการจัดทา ข้อเสนอโครงการที่ถูกต้องเหมาะสม โดยเฉพาะในส่ วนของการประกันคุณภาพการปฏิบตั ิงาน 4. มีการสนับสนุนให้ นักศึกษาสร้ างเครื อข่ ายพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและระหว่ างสถาบัน และมีกจิ กรรมร่ วมกัน 4.1 สถาบันให้นักศึ กษาเสนอแผนการจัดกิจกรรมการสร้ างเครื อข่ายพัฒนาคุณภาพ ภายในสถาบัน และให้การสนับสนุ นการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทางานในรู ปแบบ ต่างๆ เช่น กิจกรรมการจัดการความรู ้ (KM: knowledge management) การให้นกั ศึกษานาเสนอผลการ ดาเนินงาน (ผลการประเมิน) ในที่ประชุม เพื่อให้นกั ศึกษากลุ่มอื่นรับรู ้ร่วมกัน มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ เกี่ยวกับวิธีการวางแผนการทางาน การพัฒนาตัวบ่งชี้ความสาเร็ จการประเมินความสาเร็ จ 4.2 ในระดับสถาบัน อาจารย์ที่รับผิดชอบฝ่ ายกิจการนักศึกษา ควรมีการประชุ มกับ สถาบันภายนอก เพื่ อส่ งเสริ มการทากิ จกรรมร่ วมกันของนักศึกษาระหว่า งสถาบัน และส่ งเสริ ม การสร้างเครื อข่ายการพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาระหว่างสถาบัน ทั้งนี้ สถาบันควรให้ทุนสนับสนุ น การจัดกิจกรรมระหว่างสถาบันด้วย 4.3 ในแต่ละปี สถาบันอาจหมุนเวียนเป็ นเจ้าภาพ ให้นักศึกษาระหว่างสถาบันมีการจัด เวที หรื อการประชุ มสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ที่ได้จากการทากิจกรรม หรื อนาเสนอผล การจัดกิจกรรมของแต่ละสถาบัน รวมทั้งการแลกเปลี่ ยนประสบการณ์ ในการใช้ระบบการประกัน คุณภาพในการจัดกิจกรรมของนักศึกษา 4.4 อาจมีการร่ วมมือกันเพื่อสร้ างช่ องทางการเผยแพร่ กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ระหว่างสถาบัน มีการรวมตัวกันเป็ นเครื อข่ายสถาบัน เพื่อเป็ นสื่ อกลางการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการจัดกิ จกรรมนักศึ กษา โดยผูร้ ั บผิดชอบอาจเป็ นการทางานร่ วมกันของอาจารย์และนักศึกษา ระหว่างสถาบัน 5. มีการประเมินความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา 5.1 สถาบัน (ฝ่ ายกิ จการนักศึ กษา) มี ระบบติดตามประเมิ นผลการจัดกิ จกรรม การพัฒนานักศึกษาตามตัวบ่งชี้ที่กาหนด 5.2 สถาบันกาหนดให้นักศึ กษาจัดทารายงานผลการจัดกิ จกรรม และนารายงานผล การจัดกิจกรรมมาสังเคราะห์ เพื่อให้เห็นภาพรวมของกิจกรรมและผลที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาในแต่ละรอบปี


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

239

5.3 สถาบันมีการติดตามประเมินความรู้ความเข้าใจ และการประยุกต์ใช้ระบบประกัน คุณภาพในการจัดกิจกรรมของนักศึกษา จากรายงานผลการจัดกิจกรรมของนักศึกษา 5.4 สถาบันมีการวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนของนักศึกษา เพื่อจัดทาแผนการจัดกิจกรรม นักศึกษาในปี ต่อไป 6. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา 6.1 สถาบัน มี การน าผลการประเมิ น ความส าเร็ จ ของการจัด กิ จ กรรมการพัฒ นา นักศึ กษาและผลการวิเคราะห์ จุดแข็งจุ ดอ่ อนไปใช้ในการวางแผนการพัฒนานักศึ กษาอย่างต่ อเนื่ อง โดยเฉพาะการวิเคราะห์คุณลักษณะของนักศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ ในด้านที่ยงั ไม่บรรลุผลเท่าที่ควร 6.2 สถาบันนาเสนอผลให้ผเู ้ กี่ยวข้องทุกระดับรั บรู ้ และมีการระดมความคิดในการ พัฒนานักศึกษาให้มีลกั ษณะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติผา่ นกิจกรรมนักศึกษา ตัวบ่ งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรืองานสร้ างสรรค์ 1. มีระบบและกลไกบริ หารงานวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายตามแผน ด้านการวิจัยของสถาบัน และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 1.1 สถาบันหรื อคณะวิชาควรวางแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ์ ตลอดจนกาหนด หน่ วยงาน บุคคลหรื อกลุ่มบุคคลที่รับผิดชอบ และมีงบประมาณสนับสนุ นการบริ หารงานวิจยั และ งานสร้างสรรค์อย่างเพียงพอ ในการบริ หารควรมีการวางแผน ตรวจสอบติดตาม ประเมินและปรับปรุ ง อย่างสม่าเสมอเพื่อบรรลุตามเป้ าหมายของแผนการวิจยั ของสถาบัน 1.2 การบริ หารงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ให้บรรลุผลสาเร็ จควรจัดสรรงบประมาณ เพื่อการบริ หารงานวิจยั เช่น งบประมาณสนับสนุ นการปฏิบตั ิงานของกลุ่มวิจยั หรื อศูนย์วิจยั เพื่อให้ สามารถดาเนิ นการวิ จัยหรื อ ผลิ ตงานสร้ า งสรรค์ได้อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพนอกเหนื อจากการจัดสรร ทุนวิจยั นอกจากนั้นอาจจัดสรรงบประมาณสนับสนุนงานวิจยั ของนักศึกษา หรื องบประมาณสนับสนุ น นักวิจยั หลังปริ ญญาเอกให้ปฏิบตั ิงานในกลุ่มหรื อศูนย์วิจยั เป็ นต้น 2. มีการบูรณาการกระบวนการวิจยั หรืองานสร้ างสรรค์ กบั การจัดการเรียนการสอน มี การบู รณาการกระบวนการวิจัยหรื องานสร้ า งสรรค์กบั กระบวนการจัดการเรี ยน การสอน เช่น


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

240

1) การกาหนดให้นกั ศึกษาบัณฑิตศึกษาเป็ นส่ วนหนึ่ งในทีมวิจยั ของอาจารย์ 2) การกาหนดให้นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ทาโครงการวิจัย หรื องานสร้ างสรรค์ ซึ่ งเกี่ยวข้องกับงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ของอาจารย์ 3) การกาหนดให้ นักศึ กษาทุ กระดับ เข้า ฟั ง การบรรยายหรื อสั มมนาเกี่ ยวกับ ผล ความก้า วหน้าในงานวิจัยของอาจารย์ หรื อของศาสตราจารย์อาคันตุ กะหรื อศาสตราจารย์รับเชิ ญ (visiting professor) หรื อเข้าร่ วมการจัดแสดงงานสร้างสรรค์ของอาจารย์ 4) การจัดให้มีการประชุมเสนอผลงานวิจยั หรื อแสดงงานสร้างสรรค์ของนักศึกษา หรื อส่ งเสริ มนักศึกษาเข้าร่ วมประชุมการเสนอผลงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ระดับชาติและนานาชาติ 5) การส่ งเสริ มให้อาจารย์นาผลลัพธ์ที่เกิดจากการวิจยั ไปเป็ นส่ วนหนึ่ งของเนื้ อหาใน การจัดการเรี ยนการสอน เป็ นต้น 3. มีการพัฒนาศั กยภาพด้ านการวิจัยหรื องานสร้ า งสรรค์ และให้ ความรู้ ด้านจรรยาบรรณ การวิจัยแก่อาจารย์ ประจาและนักวิจัย 3.1 จัดระบบการรั บเข้าและกากับดูแลอาจารย์และนักวิจยั เช่ น วิเคราะห์ กาลังคน วางแผน และรับเข้าบุคคล (ทั้งอาจารย์ นักวิจยั และนักศึกษาบัณฑิตศึกษา) ทั้งจากในประเทศและ ต่ า งประเทศที่ มี คุณสมบัติเ หมาะสมกับ จุ ดเน้น ด้า นการวิ จัย และงานสร้ า งสรรค์ของสถาบันท าการ กาหนดกฎเกณฑ์ แนวทางกากับ และส่ งเสริ มให้อาจารย์ทางานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์และตีพิมพ์ ผลงานในวารสารหรื อจัดแสดงผลงาน ที่ ได้รับ การยอมรั บ ระดับ ชาติ และนานาชาติ โดยกาหนด เป็ นภาระงานที่ชดั เจนที่ตอ้ งปฏิบตั ิ 3.2 พัฒ นาสมรรถนะนักวิ จัยผ่า นกระบวนการที่ เ หมาะสมกับ ประสบการณ์ ของ แต่ละกลุ่ม บุคคล กรณี นกั วิจยั รุ่ นใหม่อาจเริ่ มจากการฝึ กอบรม การทางานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์โดย ได้รับการแนะนาหรื อการร่ วมที มวิจัยกับ นักวิจัยอาวุโส การเข้าร่ วมประชุ มวิชาการ การช่ วยให้ คาปรึ กษาวิทยานิ พนธ์ระดับบัณฑิ ตศึกษา กรณี นักวิจยั ทัว่ ไป การส่ งเสริ มให้มีโอกาสไปทางานใน ห้องปฏิบตั ิการวิจยั หรื อร่ วมทีมวิจยั กับนักวิจยั ชั้นนานอกสถาบันทั้งในและต่างประเทศ เป็ นแนวทาง หนึ่ งที่ทาให้ได้รับความรู ้และประสบการณ์ที่มีคุณค่าอย่างไรก็ตาม การพัฒนาสมรรถนะอาจารย์และ นักวิ จัยที่ มีป ระสิ ท ธิ ภาพที่ สุ ด คื อการส่ ง เสริ มการท างานวิ จัยเป็ นที มที่ ป ระกอบด้ว ยนัก วิจัยอาวุ โ ส นักวิจยั ระดับกลาง นักวิจยั หรื อนักศึกษาหลังปริ ญญาเอก และนักศึกษาบัณฑิ ตศึกษา ผูช้ ่วยวิจยั ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถทางานวิจยั อย่างลุ่มลึกและต่อเนื่อง


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

241

3.3 ให้ความรู ้ดา้ นจรรยาบรรณของนักวิจยั และจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องแก่อาจารย์และ นักวิจยั ตลอดจนจัดระบบควบคุมให้นกั วิจยั ปฏิบตั ิตามโดยเคร่ งครัด 3.4 สร้างแรงจูงใจให้นกั วิจยั เช่น การยกย่อง การให้ผลตอบแทน หรื อการให้รางวัล สาหรับนักวิจยั ที่มีผลงานดีเด่น การจัดบรรยากาศและการบริ การต่างๆในสถาบันให้เหมาะสมและจูงใจ แก่การค้นคว้าวิจยั และผลิตงานสร้างสรรค์ เป็ นต้น 4. มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบันเพื่อเป็ นทุนวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ในกรณี ของนักวิจยั รุ่ นใหม่ การแสวงหาทุนวิจัยจากภายนอกอาจทาได้ยาก ดังนั้น สถาบัน จึ ง ควรจัด สรรงบประมาณเพื่ อ เป็ นทุ น วิ จัย หรื อ ผลิ ต งานสร้ า งสรรค์เ พื่ อ ให้ นัก วิ จัย เหล่ า นี้ มีโอกาสสร้างผลงาน ที่สามารถนาไปใช้ประกอบการเสนอโครงการขอทุนวิจยั จากแหล่งทุนภายนอก สถาบันในโอกาสต่อไปสาหรับการเสนอขอทุนวิจยั จากแหล่งทุนภายนอกนั้น สถาบันอาจจัดให้มีระบบ สนับสนุ น เช่ น การจัดให้มีขอ้ มูล รายละเอียด และเงื่ อนไขของแหล่งทุ นวิจยั ต่างๆ ทั้งแหล่งทุน ภายในประเทศและต่างประเทศ ที่อาจารย์และนักวิจยั สามารถเข้าดูได้อย่างสะดวกรวดเร็ วนอกจากนั้น อาจจัดให้มีคณะผูเ้ ชี่ยวชาญเป็ น พี่เลี้ยงตรวจสอบข้อ เสนอโครงการวิจยั ของอาจารย์และนักวิจยั ที่เสนอ ขอทุนไปยังแหล่งทุนต่างๆ และช่วยเหลือปรับปรุ งโครงการเหล่านั้นให้เหมาะสม เพื่อมีโอกาสได้รับ ทุนวิจยั มากยิง่ ขึ้น 5. มีการสนับสนุนพันธกิจด้ านการวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ตามอัตลักษณ์ ของสถาบัน สถาบันควรจัดหาทรั พยากรและหรื อจัดหาแหล่งสนับสนุ นทรั พยากรอย่างเพียงพอ ทั้งงบประมาณสนับสนุ นการวิจยั ห้องปฏิบตั ิการวิจยั แหล่งค้นคว้าทางวิชาการ และระบบสารสนเทศ เพื่อการวิจยั ตลอดจนกิจกรรมอื่นๆ ที่ส่งเสริ มการวิจยั ดังนี้ 5.1 งบประมาณสนับสนุนการวิจยั ควรประกอบด้วย 1) งบประมาณสนับสนุ นการบริ หารงานวิจยั ของกลุ่มวิจยั หรื อห้องปฏิบตั ิการ วิจยั หรื อศูนย์วิจยั เพื่อให้สามารถผลิตผลงานระดับสากล หรื อผลงานตามความต้องการของประเทศ หรื อของท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องนอกเหนือจากเงินทุนวิจยั 2) งบประมาณสนั บ สนุ น การเผยแพร่ ผ ลงานวิ จัย หรื อ งานสร้ า งสรรค์ ในรู ป แบบต่ างๆ 3) งบประมาณสนับสนุ นการวิจัยและงานสร้างสรรค์ของนักศึกษาบัณฑิ ตศึกษา และของนักวิจยั หลังปริ ญญาเอก 4) งบประมาณสนับสนุ นศาสตราจารย์อาคันตุกะหรื อศาสตราจารย์รับเชิญ (visiting professor) เป็ นต้น


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

242

5.2 ห้องปฏิบตั ิการวิจยั ที่เหมาะสมกับงานวิจยั แต่ละประเภทที่เป็ นจุดเน้นของสถาบัน ระบบรักษาสุ ขภาพและความปลอดภัยในห้องปฏิบตั ิการที่ได้มาตรฐาน ศูนย์เครื่ องมือระดับสู งที่จาเป็ น ที่หลายหน่ วยวิจยั หรื อกลุ่มวิจยั หรื อศูนย์วิจยั สามารถใช้ร่วมกันได้ หรื อหากไม่มีศูนย์เครื่ องมือ ระดับสู งดังกล่าว ก็ตอ้ งจัดระบบผ่านเครื อข่ายทั้งในและต่างประเทศให้สามารถเข้าใช้ของหน่ วยงานอื่น ได้ เพื่อไม่ให้เป็ นอุปสรรคต่อการวิจยั ของนักวิจยั 5.3 แหล่งค้นคว้าทางวิชาการ ซึ่ งนอกจากหนังสื อและวารสารทั้งในรู ปของเอกสาร (hard copy) และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ที่เพียงพอแล้ว ยังหมายรวมถึงการสนับสนุนการจัดประชุมวิ ชาการ การสนับสนุ นศาสตราจารย์อาคันตุกะหรื อศาสตราจารย์รับเชิญ (visiting professor) การสนับสนุ น การไปร่ ว มท างานวิ จัย หรื องานสร้ า งสรรค์กับ หน่ ว ยงานอื่ น ที่ มี ชื่ อ เสี ย งทั้ง ในและต่ า งประเทศ ที่ ส อดคล้องกับ งานวิ จัย ของอาจารย์ โดยเฉพาะในช่ วงลาเพื่ อเพิ่ มพูนประสบการณ์ ท างวิ ชาการ (sabbatical leave) ของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยวิจยั 5.4 ระบบสารสนเทศเพื่อการวิจยั ที่ครอบคลุมข้อมูลข่าวสารอย่างน้อย 5 ด้านต่อไปนี้ 1) ข้อมูลด้านแหล่งทุนวิจยั และงานสร้างสรรค์ท้ งั ภายในและภายนอกสถาบัน 2) ข้อมูลด้านการวิจยั และงานสร้างสรรค์ของสถาบัน ทั้งปั จจุบนั และผลงานที่ผา่ นมา 3) ข้อมูลด้านแหล่ งเผยแพร่ ผลงานวิจยั และงานสร้ างสรรค์ท้ งั วารสารและการ ประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสร้ างสรรค์ต่างๆ ตลอดจนข้อมูลการสนับสนุ นของสถาบันในการ เผยแพร่ ผลงาน 4) ข้อมูลด้านระบบและกลไกของสถาบันในการส่ งเสริ มการนาผลงานวิจยั และ งานสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์ รวมถึงการส่ งเสริ มด้านการจดสิ ทธิ บตั ร อนุสิทธิบตั ร และการซื้ อขาย ทรัพย์สินทางปั ญญา 5) ข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบ หลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิอื่นๆ ของสถาบันที่เกี่ยวข้อง กับการวิจยั และงานสร้างสรรค์ 6. มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในข้ อ 4 และข้ อ 5 อย่ างครบถ้ วนทุกประเด็น สถาบันจัดให้มีร ะบบประเมินผลส าเร็ จของการสนับ สนุ นทุ กด้านอย่า งสม่ า เสมอ โดยการมีส่วนร่ วมของอาจารย์และนักวิจยั เช่ น “การประเมินผลสาเร็ จของการให้ทุนวิจยั ” ทั้งใน ประเด็น งานวิจยั เสร็ จทันตามกาหนดเวลา คุณภาพของผลงานวิจยั เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ผูร้ ับทุน สามารถแสวงหาทุ นวิจยั จากแหล่งทุ นภายนอกได้ในโอกาสต่อมา หรื อ “การประเมินแหล่งค้นคว้า สนับสนุนงานวิจยั ” ในประเด็นความเหมาะสมและเพียงพอเทียบกับงานวิจยั ของอาจารย์ และนักวิจยั


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

243

ในปั จจุบนั หรื อ “การประเมินระบบสารสนเทศ” ในประเด็นความเหมาะสมกับความต้องการใช้ของ อาจารย์และนักวิจยั เป็ นต้น 7. มีการนาผลการประเมินไปปรั บปรุ งการสนับสนุนพันธกิจด้ านการวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ของสถาบัน สถาบันนาผลการประเมินไปจัดทาแผนการปรับปรุ ง โดยกาหนดกิจกรรมที่ตอ้ งทาเพื่อ การปรับปรุ ง กาหนดบุคคลหรื อหน่ วยงานรั บผิดชอบในการปรับปรุ ง กาหนดงบประมาณที่ตอ้ งใช้ หากจาเป็ น กาหนดระยะเวลาที่การปรับปรุ งต้องแล้วเสร็ จ จากนั้นจึงดาเนิ นการปรับปรุ งการสนับสนุ น พันธกิจด้านการวิจยั ตามที่กาหนด 8. มี ระบบและกลไกเพื่อสร้ า งงานวิจัยหรื องานสร้ า งสรรค์ บ นพื้นฐานภู มิ ปัญญาท้ องถิ่น หรือจากสภาพปัญหาของสั งคม เพื่อตอบสนองความต้ องการของท้ องถิน่ และสังคมและดาเนินการตาม ระบบที่กาหนด (เฉพาะกลุ่ม ข และ ค 2) สถาบันหรื อคณะวิชาวางแนวทางและขั้นตอน ตลอดจนกาหนดผูร้ ั บผิดชอบในการ สร้ า งความร่ วมมื อ กับ องค์ก รภายนอกโดยวิ ธี ก ารต่ า งๆ เช่ น การจั ด หาข้อ มู ล สารสนเทศของ กลุ่มเป้ าหมาย การสนทนากับกลุ่มเป้ าหมายที่สาคัญ (focus group) การติดต่อสร้างสัมพันธ์กบั องค์กร ภายนอก การใช้ขอ้ มูลป้ อนกลับ (feed back) จากความร่ วมมือที่มีอยูเ่ ดิมวัตถุประสงค์ของความร่ วมมือ ดังกล่าวควรมีท้ งั การร่ วมทางานวิจยั และงานสร้ างสรรค์บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรื อเพื่อตอบ โจทย์ของหน่ วยงานหรื อชุมชนภายนอก รวมถึงการร่ วมใช้ทรัพยากรทั้งสถานที่ บุคคล อุปกรณ์ หรื อ ทรัพยากรอื่นๆ ตัวบ่ งชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้ จากงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ 1. มี ระบบและกลไกสนับ สนุ นการเผยแพร่ ผลงานวิจัยหรื องานสร้ า งสรรค์ ใ นการประชุ ม วิชาการหรื อ การตีพิม พ์ ใ นวารสารระดั บ ชาติห รื อนานาชาติ และมี การเผยแพร่ ผลงานวิจัย หรื อ งานสร้ างสรรค์ ในการประชุ มวิชาการหรือการตีพมิ พ์ ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ วางแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ์ ตลอดจนกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการสนับสนุ น การตี พิมพ์หรื อการเผยแพร่ ผลงานวิจัยหรื องานสร้ า งสรรค์ในวารสารหรื อในที่ ประชุ มวิชาการที่ มี peer review ในประเด็นต่อไปนี้ เช่น


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

244

1) การจัดให้มีพี่เลี้ยงแก่นักวิจยั รุ่ นใหม่เพื่อช่วยเขียนรายงานการวิจยั สาหรั บนาเสนอ ในที่ประชุมวิชาการหรื อตีพิมพ์ในวารสาร 2) การสนับสนุนการตรวจสอบภาษาอังกฤษของบทความวิจยั ของอาจารย์และนักวิจยั ที่จะนาเสนอในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ 3) การสนับ สนุ น งบประมาณเพื่ อเข้า ร่ ว มประชุ มเสนอผลงานวิ จัยหรื อ เผยแพร่ งานสร้างสรรค์ 4) การจ่ายค่าตอบแทนสาหรับผลงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อ เผยแพร่ 5) การจ่ ายค่าตีพิมพ์กรณี วารสารเรี ยกเก็บเงิ น เป็ นต้น ทั้งนี้ การสนับสนุ นดังกล่าว อาจแตกต่างกันตามสถานภาพและจุดเน้นของแต่ละสถาบัน 2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรรวิเคราะห์ และสั งเคราะห์ ความรู้ จากงานวิจัยหรืองาน สร้ างสรรค์ เพื่อให้ เป็ นองค์ความรู้ ที่คนทั่วไปเข้ าใจได้ และดาเนินการตามระบบที่กาหนด วางแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ์ ตลอดจนกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการ รวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ ความรู ้จากผลงานวิจยั หรื องานสร้ างสรรค์ให้เหมาะสมกับกลุ่มบุ คคล เป้ าหมายโดยยังคงความเชื่อถือได้ในเชิงวิชาการและรวดเร็ วทันต่อเหตุการณ์ เช่น กาหนดผูร้ ับผิดชอบ ติดตามผลงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ของอาจารย์และนักวิจยั คัดสรรค์ผลงานที่น่าจะเป็ นที่สนใจของ บุคคลทัว่ ไป จัดให้มีการสัมภาษณ์อาจารย์เจ้าของผลงาน วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ มูลให้เป็ นความรู้ ที่น่าสนใจซึ่ งสาธารณชนสามารถเข้าใจได้ จัดหมวดหมู่ความรู ้ที่ได้ให้เหมาะสมต่อการเผยแพร่ 3. มีการประชาสั มพันธ์ และเผยแพรองค์ความรู้ จากงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ที่ได้จากข้ อ 2 สู่ สาธารณชนและผู้เกีย่ วข้ อง นาองค์ความรู ้น้ ี ได้จากการวิเคราะห์สังเคราะห์ผลงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ในข้อ 2 เผยแพร่ สู่ สาธารณชนผ่านสื่ อต่างๆ อย่างเป็ นระบบในเชิงรุ ก โดยเริ่ มจากการวางแผนประชาสัมพันธ์ ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้ าหมาย ดาเนินการประชาสัมพันธ์ตามแผนตลอดจนการติดตามข้อมูลป้ อนกลับ นอกจากนั้นการประชาสัมพันธ์อาจรวมถึ งการสร้ างเครื อข่ายเผยแพร่ ผลงานวิจัยและงานสร้ างสรรค์ โดยเชื่อมโยงกับศิษย์เก่า ชุมชน และองค์กรภายนอกทั้งรัฐและเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มเป้ าหมายที่คาดว่า จะสามารถสนับสนุนงานวิจยั หรื อร่ วมวิจยั หรื อนาผลงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

245

4. มีการนาผลงานงานวิจัยหรืองานสร้ างสรรค์ ไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ และมีการรับรองการใช้ ประโยชน์ จริงจากหน่ วยงานภายนอกหรือชุ มชน สนับสนุนการนาผลงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์ เช่น 1) กาหนดขั้นตอน วิธีการ และผูร้ ับผิดชอบเพื่อเป็ น สื่ อกลางสานสัมพันธ์ ในการถ่ า ยทอดเทคโนโลยีร ะหว่ า งอาจารย์ และนัก วิ จัยกับ องค์ก รภายนอกที่ มี ศกั ยภาพในการ นาผลการวิจยั และงานสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์ 2) ผูร้ ับผิดชอบแสวงหางานวิจยั จากภาครัฐและเอกชนทั้งภาคอุตสาหกรรม และบริ การ ที่ตอ้ งการรับบริ การวิจยั ในเรื่ องเฉพาะใดๆ จากสถาบัน (consultancy) และประสานงาน ต่อไปยังผูว้ จิ ยั 3) ผูร้ ับผิดชอบริ เริ่ ม ประสานงาน หรื อส่ งเสริ มการนาผลงานที่เกิดจากการ วิจยั หรื องานสร้างสรรค์ไปสู่ งานเชิงพาณิ ชย์ในลักษณะนิติบุคคล (start – up company) เป็ นต้น 5. มีระบบและกลไกเพื่อช่ วยในการคุ้มครองสิ ทธิของงานวิจัยหรื องานสร้ างสรรค์ ที่นาไปใช้ ประโยชน์ และดาเนินการตามระบบที่กาหนด สถาบันหรื อคณะวิชาวางแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ์ ตลอดจนกาหนด ผูร้ ับผิดชอบในการสนับสนุ นการเจรจาต่อรอง ทาข้อตกลง หรื อสนับสนุ นด้านระเบียบ หรื อกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง แก่อาจารย์ นักวิจยั และสถาบัน ในการเจรจาเชิงธุ รกิจ หรื อการซื้ อขายผลงานวิจยั หรื อ งานสร้างสรรค์ ตลอดจนสนับสนุ นในการเจรจาเข้าไปร่ วมเป็ นพันธมิตรทางธุ รกิจใดๆ ที่เกิดจากผล ของงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์นอกจากนั้น ควรมีการกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการรักษาสิ ทธิ ประโยชน์ของอาจารย์ นักวิจยั และของสถาบันในผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการซื้ อขาย หรื อทาธุ รกิจ ที่เป็ นผลจากงานวิจยั โดยเป็ นหลักเกณฑ์ที่โปร่ งใส เป็ นที่ยอมรับของทุกฝ่ าย 6. มีระบบและกลไกส่ งเสริ มการจดสิ ทธิบัตรหรื ออนุ สิทธิ บัตร และมีการยื่นจดสิ ทธิบัตร และอนุสิทธิบัตร (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง) วางแนวทางและขั้น ตอนตลอดจนก าหนดผู ้รั บ ผิ ด ชอบในการสนั บ สนุ น ความรู ้ และอานวยความสะดวกในการจดสิ ทธิบตั รและอนุสิทธิบตั รแก่อาจารย์ และนักวิจยั ในประเด็นต่างๆ เช่น 1) การให้ความรู้และคาปรึ กษาด้านทรัพย์สินทางปั ญญา ซึ่ งอาจดาเนิ นการ โดยการฝึ กอบรม หรื อสัมมนา หรื อจัดคลินิกให้คาปรึ กษา 2) ช่วยร่ างคาขอและยืน่ ขอจดสิ ทธิบตั รหรื ออนุ สิทธิ บตั รต่อกรมทรัพย์สินทาง ปั ญญาหรื อสานักงานเทียบเท่าในต่างประเทศ


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

246

3) ประสานงานการอนุ ญาตให้ใช้สิทธิในสิ ทธิบตั ร อนุ สิทธิบตั ร เพื่อใช้ ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เป็ นต้น ตัวบ่ งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม 1. มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม และดาเนินการตามระบบที่กาหนด มีการวางแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ์ของการให้การบริ การวิชาการด้านต่างๆ ที่สัมพันธ์กบั พันธกิจของสถาบัน มีนโยบายส่ งเสริ ม สนับสนุนและจูงใจให้อาจารย์ บุคลากรทุกระดับ มีความพร้ อมทั้งในด้านความรู้ ความเชี่ ยวชาญ เวลาและจิ ต แห่ งการบริ การ (service mind) ในการ ให้บริ การวิชาการแก่หน่ วยงาน ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน รวมถึงจัดหางบประมาณสนับสนุนและ จัดทาระเบียบของการให้บริ การ กาหนดภาระงานของอาจารย์และบุคลากรให้ชดั เจน โดยมีระบบการ เที ยบเคียงและทดแทนระหว่างภาระงานด้านต่า งๆ ซึ่ งจะเป็ นการสร้ างแรงจูงใจให้บุคลากรสนใจ การให้บริ การแก่ชุมชน สังคมตามความถนัดและจุดเน้นของสถาบันในการให้บริ การทางวิชาการนี้ ควร มีการวางแผน ตรวจสอบ ติดตาม ประเมิ นเพื่อนาไปสู่ การปรั บปรุ งคุณภาพของการให้บริ การ อย่างสม่าเสมอเสมอ เพื่อบรรลุตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ 2. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่ สังคมกับการเรียนการสอน มี การบู ร ณาการงานบริ การทางวิช าการกับ กระบวนการจัดการเรี ยนการสอนและ การปฏิบตั ิงานประจาด้านอื่นๆของอาจารย์และบุคลากร เช่น การกาหนดให้นกั ศึกษานาความรู ้ไปจัดทา เป็ นโครงการหรื อกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อชุมชน 3. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่ สังคมกับการวิจยั มีการบูรณาการงานบริ การทางวิชาการกับการวิจยั อย่างเป็ นระบบ เช่น 1) มีการนาผลการวิจยั ไปสู่ การใช้ประโยชน์จริ งที่ที่ตอบสนองความต้องการ ของทุกภาคส่ วนในทุกระดับและ 2) นาความรู้ ประสบการณ์ จากการให้บริ การกลับมาพัฒนาต่อยอดไปสู่ การ พัฒนาองค์ความรู ้ใหม่ผา่ นกระบวนการวิจยั เป็ นต้น


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

247

4. มีการประเมินผลความสาเร็ จของการบูรณาการงานบริ การทางวิชาการแก่ สังคมกับการเรี ยน การสอนและการวิจัย จัดให้มีระบบติดตาม ประเมินผลความสาเร็ จของการบูรณาการงานบริ การวิชาการแก่ สังคมกับการเรี ยนการสอนและการวิจยั โดยให้มีส่วนร่ วมของผูใ้ ห้บริ การ ผูร้ ับบริ การ และนักศึกษา ซึ่ ง เป็ นทั้ง ผูใ้ ห้ บ ริ การและผูร้ ั บ บริ การ ทั้ง ในระดับ แผนการดาเนิ นงาน เป้ าหมายของสถาบัน ความร่ วมมือร่ วมใจของบุคลากร คุณภาพของบุคลากร คุณภาพของการให้บริ การที่สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้จริ ง และเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่สถาบันกาหนดไว้ 5. มีการนาผลการประเมิ นไปปรั บ ปรุ งการบู รณาการงานบริ การทางวิชาการแก่ สังคมกับ การเรียนการสอนและการวิจัย สถาบันนาผลการประเมินไปพัฒนาแผน พัฒนากระบวนการ และผลสัมฤทธิ์ ที่ได้ อย่างสม่าเสมอและเป็ นรู ปธรรม ตัวบ่ งชี้ที่ 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้ เกิดประโยชน์ ต่อสังคม 1. มีการสารวจความต้ องการของชุ มชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่ วยงานวิชาชีพ เพื่อประกอบการกาหนดทิศทางและการจัดทาแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเน้ นของสถาบัน มีการสารวจความต้องการของชุมชน หรื อภาครัฐ หรื อภาคเอกชน หรื อหน่ วยงาน วิชาชีพ เพื่อประกอบการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ ทิศทางและการจัดทาแผนการบริ การทางวิชาการ ตามจุดเน้นและความเชี่ยวชาญของสถาบัน 2. มีความร่ วมมือด้านบริการทางวิชาการเพื่อการเรี ยนรู้ และเสริมสร้ างความเข้ มแข็งของชุ มชน หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือหน่ วยงานวิชาชีพ สถาบันมีการเชิญหรื อเปิ ดโอกาสให้ผมู ้ ีส่วนร่ วมจากชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน หรื อ หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพที่จะให้บริ การ มาร่ วมมือรวมพลัง (Collaboration) ในลักษณะของการ สร้างเครื อข่าย (Networking) ระหว่างบุคคลหรื อหน่ วยงานในรู ปแบบต่างๆ เช่น ความร่ วมมือกับสถาน ประกอบการในการนาผลการวิจัยไปเป็ นส่ วนหนึ่ งของการปรั บปรุ งปั ญหาที่เกิดขึ้นหรื อไปใช้พฒั นา บุคลากรของสถานประกอบการหรื อ ส่ วนการผลิต มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ให้คาปรึ กษาแนะนาและ จัดให้มีช่องทางในการสื่ อสาร ทาความเข้าใจร่ วมกันของภาคอุ ตสาหกรรมหรื อริ เริ่ มโครงการหรื อ กิจกรรมใหม่ๆ ในชุมชน


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

248

3. มีการประเมินประโยชน์ หรือผลกระทบของการให้ บริการทางวิชาการต่ อสังคม มี ก ารประเมิ น ประโยชน์ ห รื อ ผลกระทบของการให้ บ ริ ก ารทางวิ ช าการต่ อ สั ง คม ว่าสอดคล้องกับความต้องการของผูร้ ั บบริ การทั้งทางตรงและทางอ้อม มี การประเมิ นผลที่ เกิดกับ นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรผูใ้ ห้บริ การ ทั้งในด้านการนาความรู ้ ความเชี่ยวชาญไปใช้ประโยชน์ การสื่ อสาร การชี้แจงแนะนาให้ผรู ้ ับบริ การและประชาชน 4. มีการนาผลการประเมินในข้ อ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรื อกิจกรรมการให้ บริ การ ทางวิชาการ มีการนาผลการประเมิ นการให้บริ การทางวิชาการไปพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของ การให้บริ การ ระบบและกลไกการให้บริ การ ซึ่ งประกอบด้วยรู ปแบบการให้บริ การ ขอบเขตการ ให้บริ การ ค่าใช้จ่าย ระยะเวลาในการให้บริ การ สัญญาการบริ การ ซึ่ งรวมทั้งการควบคุมและการกากับ คุณภาพของการให้บ ริ การ โดยจัดให้มีระบบการให้ขอ้ มูลที่ ชัดเจน มี ความเป็ นธรรมโปร่ ง ใส และสามารถตรวจสอบได้ 5. มีการพัฒนาความรู้ ที่ได้ จากการให้ บริการทางวิชาการและถ่ ายทอดความรู้ ส่ ู บุคลากรภายใน สถาบันและเผยแพร่ ส่ ู สาธารณชน สถาบัน มี การพัฒนาความรู้ ที่ ไ ด้จ ากการให้บริ ก ารทางวิชาการ ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด กระบวนการในการถ่า ยทอดความรู ้ สู่ บุคลากรภายในสถาบัน ซึ่ งรวมทั้งผูเ้ รี ยนด้วย จัดให้มีการ แลกเปลี่ยนความคิดและเผยแพร่ ประสบการณ์ ในการให้บริ การผ่านทางสื่ อการเรี ยนรู ้ ต่างๆ รวมทั้ง จัดทาฐานข้อมูลการบริ การวิชาการเผยแพร่ สู่ สาธารณะ ตัวบ่ งชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม 1. มีระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม และดาเนินการตามระบบที่กาหนด สถาบันอุ ดมศึ กษามี การกาหนดระบบและกลไกทางด้า นการท านุ บ ารุ งศิ ลปะและ วัฒนธรรม มีระบบส่ งเสริ มให้บุคลากรนากิจกรรมด้านการทานุ บารุ งศิลปะและวัฒนธรรมสู่ การปฏิบตั ิ และมีผลลัพธ์ชดั เจนตามแนวทางที่กาหนดไว้ เช่น มีการกาหนดนโยบายด้านการทานุ บารุ งศิลปะและ วัฒนธรรม การกาหนดผูร้ ั บผิดชอบ มีการจัดทาแผนงบประมาณโครงการมีการกาหนดตัวชี้วดั ด้าน


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

249

ศิลปะและวัฒนธรรม มีการนางานศิลปะและวัฒนธรรมสู่ การปฏิบตั ิที่เป็ นรู ปธรรม โดยทุ กคนมีส่วน ร่ วม มีการติดตามผลการดาเนินงานอย่างเป็ นระบบและมีการนาสู่ การพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง 2. มีการบูรณาการงานด้ านทานุบารุ งศิ ลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรี ยนการสอนและ กิจกรรมนักศึกษา สถาบันสนับสนุ นให้มีการนาการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรมไปบูรณาการร่ วมกับ การเรี ยนการสอน และกิจกรรมนักศึกษา คือมีการจัดการเรี ยนการสอนที่นาการทานุ บารุ งศิลปะและ วัฒนธรรมไปผสมผสานเป็ นส่ วนหนึ่ งของกิจกรรมการเรี ยนการสอน หรื อบูรณาการการทานุ บารุ ง ศิลปะและวัฒนธรรมเข้ากับกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรทั้งที่จดั โดยสถาบันและที่จดั โดยองค์การนักศึกษา 3. มีการเผยแพร่ กจิ กรรมหรือการบริการด้ านทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรมต่ อสาธารณชน 3.1 สถาบันมีสถานที่ เพื่อการเผยแพร่ และบริ การด้า นศิ ลปะและวัฒนธรรม เช่ น มีหอศิลป์ หอประวัติ พิพิธภัณฑ์ หรื อเวทีการแสดง มีการบริ หารจัดการโดยมีผมู้ ีความรู้ความเชี่ยวชาญ ด้านศิลปะและวัฒนธรรม มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่ องสม่าเสมอ มีการจัดสรรงบประมาณด้านศิลปะ และวัฒนธรรม 3.2 สถาบันจัดทาวารสารศิลปะและวัฒนธรรมในระดับต่างๆ เช่ น วารสารระดับ หน่ วยงาน ระดับชาติ โดยมีความต่อเนื่ องในการดาเนินงาน 3.3 สถาบันมีการบริ การวิชาการด้า นศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีความร่ วมมือกับ หน่ วยงานหรื อองค์กรอื่น มีการสร้างเครื อข่าย มีการกาหนดตัวบ่งชี้ และมีการดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง เป็ นระบบอย่างชัดเจน 4. มีการประเมิ นผลความสาเร็ จของการบู รณาการงานด้ านทานุบารุ งศิ ลปะและวัฒนธรรม กับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา มีการติดตามผลการบูรณาการงานด้านทานุ บารุ งศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการ เรี ยนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา มีการกาหนดตัวบ่งชี้ และติดตามผลการดาเนินงานอย่างเป็ นระบบ 5. มีการนาผลการประเมินไปปรั บปรุ งการบูรณาการงานด้ านทานุบารุ งศิ ลปะและวัฒนธรรม กับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา 5.1 มีการนาผลการประเมินไปพัฒนากระบวนการ บูรณาการด้านทานุบารุ งศิลปะและ วัฒนธรรมกับการจัดการเรี ยนการสอน โดยใช้หลักการของ PDCA 5.2 มีแผนปรับปรุ งและพัฒนาการบูรณาการด้านทานุ บารุ งศิลปะและวัฒนธรรมนาสู่ การปฏิบตั ิและปรับปรุ งอย่างต่อเนื่อง


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

250

5.3 มี ผลสัมฤทธิ์ ที่ เกิดขึ้นจากการดาเนิ นการตามแผนปรั บปรุ งและพัฒนาอย่างเป็ น รู ปธรรม 6. มี การกาหนดหรื อสร้ า งมาตรฐานคุ ณภาพด้ า นศิ ลปะและวัฒนธรรมและมี ผลงานเป็ น ที่ยอมรับในระดับชาติ 6.1 สถาบันมีการกาหนด/การสร้างมาตรฐานด้านศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีการใช้ ผูเ้ ชี่ยวชาญและมีการเผยแพร่ สู่ สาธารณะ 6.2 สถาบันได้รับการยอมรับจากสังคม เช่น มีศิลปิ นแห่ งชาติ มีบุคลากรได้รับเชิญเป็ น วิทยากรหรื อเป็ นที่ประจักษ์ หรื อผูท้ รงคุณวุฒิในระดับองค์กรระดับชุมชน ระดับชาติ และระดับ นานาชาติ 6.3 สถาบันมีจานวนผลงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ด้านศิลปะและวัฒนธรรมโดยมี การเผยแพร่ ท้ งั ในระดับชาติ ระดับภูมิภาค หรื อระดับนานาชาติ หรื อมีผลงานได้รับรางวัล ได้รับการ อ้างอิง เป็ นที่ยอมรับ ตัวบ่ งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน 1. สภาสถาบันปฏิบัติหน้ าที่ตามที่กฎหมายกาหนดครบถ้ วนและมีการประเมินตนเองตาม หลักเกณฑ์ ที่กาหนดล่วงหน้ า 1.1 กรรมการสภาสถาบัน ทุ กคนควรได้รับ การชี้ แจงและท าความเข้า ใจเกี่ ยวกับ กฎหมาย ข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถาบัน โดยเฉพาะพระราชบัญญัติสถาบัน ข้อบังคับต่างๆ อาทิ ข้อบัง คับ ที่ ว่าด้วยการบริ หารงานบุ คคลและผูบ้ ริ หาร รวมทั้งทิ ศทางการพัฒนาคุ ณภาพการศึ กษา ของประเทศ กรอบทิศทางการพัฒนาสถาบัน และอัตลักษณ์ของสถาบัน เพื่อให้ทราบถึงบทบาทหน้าที่ ที่มีต่อสถาบันก่อนจะปฏิบตั ิหน้าที่ 1.2 กรรมการสภาสถาบันกากับดูแลสถาบันไปสู่ ทิศทางที่ กาหนดร่ วมกันระหว่าง ผูบ้ ริ หารสถาบันและสภาสถาบัน และมีความสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาคุ ณภาพการศึกษาของ ประเทศ รวมทั้งทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก 1.3 มีการเปิ ดเผยประวัติกรรมการสภาสถาบัน รายงานการประเมินตนเอง และรายงาน ต่อสาธารณชน


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

251

2. ผู้บริ หารมีวิสัยทัศน์ กาหนดทิศทางการดาเนินงาน และสามารถถ่ ายทอดไปยังบุ คลากร ทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุทธ์ มีการนาข้ อมูลสารสนเทศเป็ นฐานในการปฏิบัติงาน และพัฒนาสถาบัน 2.1 ผูบ้ ริ หารและสภาสถาบัน มีส่วนร่ วมกันในการกาหนดนโยบายและจัดทาวิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนกลยุทธ์ และนาสู่ การปฏิบตั ิที่เป็ นระบบชัดเจน โดยมีการกาหนดตัวบ่งชี้คุณภาพ (KPI) ของงานที่ปฏิบตั ิ ที่ควรมีการพิจารณาจาก 1) มิติการพัฒนาองค์กร เช่นการส่ งเสริ มให้อาจารย์ บุคลากรมีโอกาสศึกษา เรี ยนรู้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการเรี ยนรู้ 2) มิติการพัฒนา หรื อการปรับปรุ งกระบวนหลักของสถาบันเช่น การพัฒนา หลักสูตร การปรับปรุ งกระบวนการเรี ยนรู้ของนักศึกษา ทิศทางการส่ งเสริ มการวิจยั การบริ การวิชาการ และสังคม การทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม 3) มิติผรู ้ ับบริ การหรื อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย เช่น ความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณ ั ฑิต โดยคานึ งถึงความคุม้ ค่าของการใช้จ่ายเงิน งบประมาณ และให้สอดคล้องกับเป้ าประสงค์ตามประเด็น ยุทธศาสตร์ หรื อวัตถุประสงค์เชิ งกลยุทธ์ของสถาบัน อย่างเหมาะสมโดยพิจารณาจากความคุม้ ค่า ของการจัดเก็บข้อมูล และการรายงานข้อมูล กับประโยชน์ที่จะได้รับ 2.2 ผูบ้ ริ หารสร้างระบบและกลไกการถ่ายทอดนโยบาย วิสัยทัศน์ และแผนกลยุทธ์ ให้หน่วยงานและบุคลากรทุกระดับทราบและมีความเข้าใจร่ วมกัน 2.3 ควรจัดทาระบบฐานข้อมูลของสถาบันให้ทนั สมัย นามาใช้ในการติดตามผลการ บริ หารสารสนเทศ การรายงานผลการดาเนิ นงานตามตัวบ่งชี้คุณภาพ (KPI) ที่กาหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ อย่างน้อยปี ละ2 ครั้ง และนาข้อมูลที่ได้มาใช้เพื่อการตัดสิ นใจปรับแผนกลยุทธ์ได้อย่างทันการ 3. ผู้บริ หารมีการกากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามที่มอบหมายรวมทั้งสามารถ สื่ อสารแผนและผลการดาเนินงานของสถาบันไปยังบุคลากรในสถาบัน 3.1 ผูบ้ ริ หารมีการกากับ ติดตามผลการนานโยบายและแผนกลยุทธ์ไปสู่ การปฏิบตั ิ ในการประชุมผูบ้ ริ หารอย่างน้อย ปี ละ 1-2 ครั้ง เพื่อทบทวนเป้ าหมาย หรื อปรับแผนการดาเนิ นงาน ให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ยิ่งขึ้น พร้ อมทั้งสร้ างกลไกภายในเพื่อสื่ อสารแผนการดาเนิ นงานไปยัง บุคลากรกลุ่มเป้ าหมายทุกระดับที่เกี่ยวข้อง


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

252

3.2 ผูบ้ ริ หารมี การประเมิ นผลการดาเนิ นงานที่ สาคัญตามภารกิจของสถาบันอย่าง ครบถ้วน รวมทั้งการติดตามผลสัมฤทธิ์ อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง เพื่อทบทวนเป้ าหมาย หรื อปรับแผนการ ดาเนิ นงานในรอบปี ถัดไป พร้อมแจ้งผลการดาเนิ นงานไปยังบุคลากรทุกระดับผ่านการสื่ อสารภายใน โดยใช้สื่อต่างๆ ที่ตรงกับกลุ่มเป้ าหมาย 4. ผู้ บ ริ ห ารรสนั บ สนุ น ให้ บุ ค ลากรในสถาบั นมี ส่วนร่ วมในการบริ ห ารจัด การให้ อานาจ ในการตัดสิ นใจแก่บุคลากรตามความเหมาะสม 4.1 ผูบ้ ริ หารควรมีระบบการสื่ อสาร 2 ทาง เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจาก บุคลากรผูป้ ฏิบตั ิงาน อันจะทาให้ได้ขอ้ มูลเพื่อการปรับปรุ งระบบการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่อง 4.2 ผูบ้ ริ หารดาเนินการปรับลดขั้นตอนกระบวนการบริ หารจัดการโดยการมอบอานาจ ในการตัดสิ นใจแก่ผบู ้ ริ หารหรื อผูป้ ฏิ บตั ิ ระดับถัดไป เพื่ อเพิ่มความคล่องตัว พร้ อมกับมี การกากับ และตรวจสอบเพื่อให้เกิดความมัน่ ใจว่าระบบการทางานมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิผลคุม้ ค่า และมีความ เสี่ ยงอยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ 4.3 ผูบ้ ริ หารมีการส่ งเสริ มสนับสนุ นกิจกรรม เพื่อเป็ นการสร้างขวัญและกาลังใจต่อ บุคลากรเป็ นประจาอย่างต่ อเนื่ อง เช่ น การจัดโครงการรางวัลคุณภาพและเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการ ให้บริ การ โครงการพัฒนาองค์การให้คล่องตัว (lean organization) เป็ นต้น 5. ผู้ บ ริ ห ารถ่ า ยทอดความรู้ แ ละส่ ง เสริ ม พั ฒ นาผู้ ร่ ว มงานเพื่ อ ให้ ส ามารถท างานบรรลุ วัตถุประสงค์ ของสถาบันเต็มตามศักยภาพ 5.1 ผูบ้ ริ หารมี การถ่ า ยทอดความรู ้ แก่ ผูร้ ่ วมงานโดยเน้น การเพิ่ มทักษะในการ ปฏิบตั ิงานให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่ องหรื อเพิ่มศักยภาพในการทางานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ เช่ น การสอน งานที่หน้างาน (on – the – job training) จัดทาคูม่ ือการปฏิบตั ิงาน เป็ นต้น 5.2 ผูบ้ ริ หารในระดับต่างๆ ควรนาหลักการจัดการความรู้มาใช้ เพื่อการแลกเปลี่ยน ความรู้ และถ่ายทอดประสบการณ์ร่วมกันระหว่างผูป้ ฏิบตั ิงาน อาทิ การประชุมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ การสร้างเครื อข่ายชุมชนนักปฏิบตั ิ (community of practices) เป็ นต้น 6. ผู้บริหารบริหารงานด้ วยหลักธรรมาภิบาล โดยคานึงถึงประโยชน์ ของสถาบันและผู้มีส่วนได้ ส่ วนเสีย 6.1 ผูบ้ ริ หารควรยึดหลักธรรมาภิบาลเป็ น เครื่ องมือในการบริ หารการดาเนินงานของ สถาบันให้ไปสู่ ทิศทางที่กาหนดร่ วมกันระหว่างผูบ้ ริ หารสถาบัน และสภาสถาบัน โดยให้สอดคล้อง ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

253

6.2 ผู้บ ริ ห ารมี ก ารด าเนิ น งานภายใต้ห ลัก ธรรมาภิ บ าลโดยเฉพาะในประเด็ น การปกป้ องผลประโยชน์ของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในเรื่ องคุณภาพทางวิชาการและเปิ ดโอกาสให้มีส่วน ร่ วมจากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องในการดาเนินงาน 6.3 ผูบ้ ริ หารมีการเปิ ดเผยประวัติ มีรายงานประเมินตนเอง จัดทารายงานสรุ ปผลการ ทางานและรายงานการเงินของสถาบันเสนอต่อสภาสถาบันเป็ นประจาทุกปี 6.4 ผูบ้ ริ หารมีการติดตาม ผลการควบคุ มภายใน การบริ หารความเสี่ ยง และการตรวจสอบภายในของสถาบันการศึกษา และรายงานการเงินของสถาบันเสนอต่อสภาสถาบันเป็ นประจาทุกปี 7. สภาสถาบั น ประเมิ น ผลการบริ ห ารงานของสถาบั น และผู้ บ ริ ห ารน าผลการประเมิ น ไปปรับปรุ งการบริหารงานอย่ างเป็ นรู ปธรรม 7.1 สภาสถาบันประเมินผลการบริ หารงานของสถาบันและผูบ้ ริ หารตามที่ระบุไว้ใน กฎหมายหรื อพระราชบัญญัติของสถาบัน และข้อบังคับมหาวิทยาลัยที่ ว่าด้วยการบริ หารงานบุ คคล ผูบ้ ริ หาร และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน หรื อตามข้อตกลงที่ทาร่ วมกันระหว่างสภาสถาบัน และผูบ้ ริ หาร 7.2 สภาสถาบันควรยึดหลักการประเมินผลการบริ หารงานแบบกัลยาณมิตร กล่าวคือ ใช้หลักการที่ มุ่ง เน้นการให้ขอ้ เสนอแนะเชิ งสร้ างสรรค์นาผลการประเมินไปใช้ใ นการพัฒนาหรื อ ปรับปรุ งหรื อปรับปรุ งสถาบันให้เจริ ญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่ อง 7.3 ผูบ้ ริ หารมีการนาผลการประเมินจากสภาสถาบันไปใช้ปรับปรุ งการบริ หารงาน อาทิ จัดทาแผนการบริ หารงาน และรายงานผลการดาเนิ นงานต่อสภาสถาบันในโอกาสที่เหมาะสม ตัวบ่ งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่ สถาบันเรียนรู้ 1. มีการกาหนดประเด็นความรู้ และเป้าหมายของการจัดการความรู้ ที่สอดคล้ องกับแผนกลยุทธ์ ของสถาบันอย่ างน้ อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้ านการวิจัย 1.1 สถาบันควรศึ กษาเป้ าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ หรื อวัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ของสถาบัน ว่ามีประเด็นใดที่มุ่งเน้นเป็ นสาคัญ หรื อมุ่งสู่ อตั ลักษณ์ใดที่ตอ้ งการ เพื่อนามาใช้ ในการกาหนด แผนยุทธศาสตร์ หรื อแผนปฏิบตั ิการในการจัดการความรู ้ ให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ ของสถาบัน โดยอย่างน้อยต้องครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจยั


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

254

1.2 บุคคลที่เกี่ยวข้องในการกาหนดประเด็นความรู ้​้อาจประกอบด้วย รองอธิการบดี ผูช้ ่วยอธิ การบดี คณบดี รองคณบดี ผูช้ ่วยคณบดี ผูอ้ านวยการ หัวหน้างาน ที่กากับดูแลด้านยุทธศาสตร์ หรื อกลยุท ธ์ที่เ กี่ยวข้องกับการผลิ ตบัณฑิ ต ด้านวิจัย รวมทั้งด้า นอื่ นๆ ที่ เป็ นไปตามอัตลักษณ์ ของสถาบัน 1.3 สถาบันควรมีเ ป้ าหมายในการจัดการความรู้ โดยเน้นเรื่ องการพัฒนาทักษะ ความสามารถของบุคลากรภายในเป็ นหลัก โดยอย่างน้อยต้องครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิ ต และด้า นการวิจัย รวมทั้ง ประเด็นการจัดการความรู ้ ที่ สถาบันมุ่ง เน้นตามอัตลักษณ์ เช่ น เทคนิ ค การปรับปรุ งหลักสู ตรและวิธีการเรี ยนรู้ที่เน้นผลลัพธ์การเรี ยนรู้ (learning outcome) เทคนิ คการเพิ่ม ผลงานวิจยั ภายในสถาบัน เป็ นต้น 2. กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้ และทักษะด้ านการผลิตบัณฑิตและด้ านการ วิจยั อย่ างชัดเจนตามประเด็นความรู้ ที่กาหนดในข้ อ 1 2.1 กลุ่มเป้ าหมายที่จะได้รับการพัฒนาความรู ้และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้าน การวิจยั อย่างน้อยควรเป็ นบุคลากรที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการผลิตบัณฑิตและการวิจยั เช่น คณาจารย์ หรื อนักวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นความรู ้ดงั กล่าว รวมทั้งด้านอื่นๆ ที่สถาบันมุ่งเน้น 2.2 สถาบันควรกาหนดนโยบายให้มีการสารวจผลการปฏิบัติงานที่เป็ นจุ ดเด่ นของ อาจารย์หรื อนักศึกษาในแต่ละคณะ หรื อสาขาวิชา โดยเฉพาะด้านการจัดการเรี ยนการสอนและการวิจยั ที่สะท้อนอัตลักษณ์ของสาขาวิชานั้นๆ เพื่ อนามากาหนดเป็ นประเด็นสาหรับใช้ในกระบวนการจัด การความรู ้ให้ได้องค์ความรู ้ที่เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3. มี ก ารแบ่ ง ปั น และแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ จ ากความรู้ ทั ก ษะของผู้ มี ป ระสบการณ์ ต รง (tacit knowledge) เพื่อค้ นหาแนวปฏิบัติที่ดตี ามประเด็นความรู้ ที่กาหนดในข้ อ 1 และเผยแพร่ ไปสู่ บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่กาหนด 3.1 สถาบันควรเชิญบุคลากรภายใน หรื อภายนอกที่มีผลงานดีเด่นทางด้านวิชาการและ ผลงานทางด้านวิจยั รวมทั้งผลงานด้านอื่นๆ ที่สถาบันมุ่ งเน้น มาถ่ายทอดความรู ้ เคล็ดลับหรื อ นวัตกรรม อย่างสม่าเสมอผ่านเวทีต่างๆ เช่น การจัดประชุมสัมมนา เพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกับ เจ้าของความรู้ เคล็ดลับ หรื อนวัตกรรมดังกล่าว


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

255

3.2 สถาบันควรส่ งเสริ มให้มีบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรี ยนรู ้ภายในสถาบัน เช่ น การส่ งเสริ มให้มีชุมชนนักปฏิ บตั ิและเครื อข่ายด้านการจัดการความรู ้ ทั้งระหว่างหน่ วยงานภายใน สถาบันและภายนอกสถาบัน เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ องโดยการจัดสรร ทรัพยากรอย่างเหมาะสม ทั้งด้านงบประมาณ เวลา สถานที่ 4. มีการรวบรวมความรู้ ตามประเด็นความรู้ ที่กาหนดในข้ อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุ คคลและ แหล่ งเรี ยนรู้ อนื่ ๆ ที่เป็ นแนวปฏิบัติที่ดมี าพัฒนาและจัดเก็บอย่ างเป็ นระบบโดยเผยแพร่ ออกมาเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษร (explicit knowledge) 4.1 มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการวิเคราะห์สังเคราะห์ ความรู้ท้ งั ที่มีอยูใ่ นตัวบุคคล และแหล่งเรี ยนรู ้อื่นๆ ที่เป็ นแนวปฏิบตั ิที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็ นระบบ เป็ นหมวดหมู่เพื่อให้ บุคลากรกลุ่มเป้ าหมายที่ตอ้ งการเพิ่มพูนความรู ้ความสามารถเข้าถึงแนวปฏิบตั ิที่ดีได้ง่าย 4.2 ควรมีการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการบริ หาร จัดการ และเผยแพร่ ความรู ้ในองค์กร ให้เกิดความประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุ ด 4.3 ควรมีการจัดพิมพ์วารสาร หรื อสื่ อสิ่ งพิมพ์เพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ และยกย่อง ให้เกียรติแก่ผเู ้ ป็ นเจ้าของความรู ้ เคล็ดลับ หรื อนวัตกรรมดังกล่าว 5. มีการนาความรู้ ที่ได้ จากการจัดการความรู้ ในปี การศึกษาปัจจุบันหรื อปี การศึกษาที่ผ่านมา ที่เป็ นลายลักษณ์ อักษร (explicit knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ ตรง (tacit knowledge) ที่เป็ นแนวปฏิบัตทิ ี่ดมี าปรับใช้ ในการปฏิบัติงานจริง 5.1 ผูร้ ับผิดชอบควรวิเคราะห์ความรู ้จากแนวปฏิบตั ิที่ดีจากแหล่งต่างๆ เช่น นวัตกรรม ที่ ได้จากการจัดการความรู ้ ไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์แก่สถาบันและสั งคม นามาปรั บใช้ให้เหมาะสม กับบริ บทของหน่ วยงานที่เป็ นกลุ่มเป้ าหมาย 5.2 ผูร้ ั บผิดชอบควรขยายผลการปรั บ ใช้ไปยังหน่ วยงานต่ า งๆ และติดตามวัดผล ตามประเด็นความรู ้และเป้ าหมายของการจัดการความรู ้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ดา้ นการผลิตบัณฑิต และด้านการวิจยั 5.3 มีกลไกการนาผลการประเมินคุณ ภาพจากภายในและภายนอกด้านการจัดการ ความรู้มาปรับปรุ งและพัฒนาระบบและกลไกการจัดการความรู้ของสถาบัน 5.4 ผูร้ ับผิดชอบควรสรุ ปผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นตามเป้ าประสงค์ที่กาหนดไว้ในประเด็น ยุทธศาสตร์ หรื อกลยุทธ์ของสถาบัน


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

256

ตัวบ่ งชี้ที่ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (information system plan) 1.1 สถาบันควรตั้งคณะกรรมการจัดท าแผนระบบสารสนเทศที่ ป ระกอบไปด้วย ผูบ้ ริ หารด้านระบบสารสนเทศของสถาบันและกลุ่มผูบ้ ริ หารที่เป็ นผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศ 1.2 แผนระบบสารสนเทศควรสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบัน 1.3 ระบบสารสนเทศที่ น าเสนอในแผนระบบสารสนเทศควรประกอบด้ว ย รายละเอียดดังต่อไปนี้ เป็ นอย่างน้อย - วัตถุประสงค์ ความสามารถในการทางานของระบบแต่ละระบบ - ความสอดคล้องของแต่ละระบบที่มีต่อแต่ละกลยุทธ์ของสถาบัน - ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสารสนเทศที่นาเสนอใหม่ กบั ระบบสารสนเทศ ที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั - ทรัพยากรสารสนเทศที่ตอ้ งการใช้ในแต่ละระบบ ทั้ง hardware software (system software และ application software) database peopleware และ facilities อื่นๆ - งบประมาณที่ตอ้ งการใช้ในแต่ละระบบ - การประเมินความคุม้ ค่าของระบบสารสนเทศ - การจัดลาดับความสาคัญของระบบสารสนเทศ 2. มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสิ นใจตามพันธกิจของสถาบัน โดยอย่ างน้ อย ต้ องครอบคลุมการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริหารจัดการและการเงิน และสามารถนาไปใช้ ในการดาเนินงานประกันคุณภาพ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจเป็ นระบบสารสนเทศที่นาข้อมูล จากระบบสารสนเทศในการดาเนิ นงานตามปกติ เช่ น ระบบบัญชี ระบบลงทะเบียนนักศึกษาระบบ ทะเบียนประวัติ เป็ นต้น มาสร้างเป็ นสารสนเทศให้ผบู้ ริ หารใช้ในการบริ หารและการตัดสิ นใจในเรื่ อง ที่เป็ นพันธกิจของสถาบันได้อย่างครบถ้วน ทั้งด้านการจัดการเรี ยนการสอนการวิจยั การเงิน การบริ หาร จัดการด้านอื่นๆ รวมทั้งเป็ นข้อมูลเพื่อใช้ในการดาเนิ นงานประกันคุณภาพการศึกษาด้วย


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

257

3. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ระบบสารสนเทศ 3.1 ผูร้ ับผิดชอบควรจัดทาแบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ รวมทั้งกาหนด ระยะเวลาในการเก็บแบบประเมินให้สอดคล้องกับลักษณะการเข้าใช้ระบบ เช่ น มี การประเมิ น ความพึงพอใจทุกครั้งที่มีการใช้ระบบหรื อทุกเดือน ทุกภาคการศึกษา ทุกปี การศึกษา เป็ นต้น 3.2 ผูร้ ับผิดชอบด้านระบบสารสนเทศของสถาบันควรดาเนิ นการประเมินความพึงใจ ของผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศเป็ นประจาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 4. มี ก ารน าผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจของผู้ ใ ช้ ระบบสารสนเทศมาปรั บ ปรุ ง ระบบสารสนเทศ 4.1 กาหนดผูร้ ับผิดชอบในการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้จากการประเมินความพึงพอใจของ ผูใ้ ช้ระบบสารสนเทศ 4.2 นาผลการประเมินความพึงพอใจมาใช้ในการจัดทาแผนปรับปรุ งระบบสารสนเทศ 4.3 แผนปรับปรุ งระบบสารสนเทศควรผ่านการพิจารณาจากผูบ้ ริ หารแล้ว 4.4 ดาเนินการตามแผนปรับปรุ งระบบสารสนเทศตามระยะเวลาที่กาหนด 5. มีการส่ งข้ อมูลผ่านระบบเครือข่ ายของหน่ วยงานภายนอกที่เกีย่ วข้ องตามที่กาหนด มีการส่ งข้อมูลผ่านระบบเครื อข่ายของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามที่ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึ กษากาหนด ได้แก่ ระบบฐานข้อมูลด้า นการประกันคุ ณภาพ การศึกษา ระดับอุดมศึกษา (CHE QA online) ระบบฐานข้อมูลรายบุคคลด้านนักศึกษา บุคลากรและ หลักสูตรในสถาบันอุดมศึกษา เป็ นต้น ตัวบ่ งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง 1. มีการแต่ งตั้งคณะกรรมการหรื อคณะทางานบริ หารความเสี่ ยง โดยมีผ้ ูบริ หารระดับสู ง และตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสถาบันร่ วมเป็ นคณะกรรมการหรือคณะทางาน 1.1 มี การแต่งตั้งคณะกรรมการหรื อคณะทางาน ประกอบด้วยผูบ้ ริ หารระดับสู ง และตัวแทนที่รับผิดชอบในแต่ละพันธกิจหลักของสถาบัน 1.2 มีการระบุรายละเอียดการทางานของคณะกรรมการหรื อคณะทางาน เช่น นโยบาย หรื อแนวทางในการดาเนิ นงาน หน้าที่ ความรั บผิดชอบ กาหนดระยะเวลาให้มีการประชุ มของ คณะกรรมการหรื อคณะทางานฯ อย่างสม่าเสมอ


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

258

2. มีการวิเคราะห์ และระบุ ความเสี่ ยง และปั จจัยที่ก่อให้ เกิดความเสี่ ยงอย่ างน้ อย 3 ด้ าน ตามบริบทของสถาบัน ปั จจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ ยงในประเด็นต่างๆ เช่น - ความเสี่ ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่) - ความเสี่ ยงด้านยุทธศาสตร์ หรื อกลยุทธ์ของสถาบัน - ความเสี่ ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ - ความเสี่ ยงด้านการปฏิบตั ิงาน เช่น ความเสี่ ยงของกระบวนการบริ หารหลักสู ตร การบริ หารงานวิจยั ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ - ความเสี่ ยงด้านบุคลากรและความเสี่ ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณ ของอาจารย์และบุคลากร - ความเสี่ ยงจากเหตุการณ์ภายนอก - ความเสี่ ยงด้านอื่นๆ ตามบริ บทของสถาบัน 2.1 วิเคราะห์และระบุความเสี่ ยงพร้อมปั จจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ ยงที่ส่งผลกระทบหรื อ สร้างความเสี ยหาย หรื อความล้มเหลวหรื อลดโอกาสที่จะบรรลุเป้ าหมายในการบริ หารการศึกษา 2.2 ประเด็นความเสี่ ยงที่นามาพิจารณาควรมองถึงเหตุการณ์ในอนาคตที่มีโอกาส เกิดขึ้นและส่ งผลกระทบต่อสถาบันด้านชื่ อเสี ยง คุณภาพการศึกษา รวมถึงความสู ญเสี ยทางด้านชีวิต บุคลากร และทรัพย์สินของสถาบันเป็ นสาคัญ 2.3 ปั จจัยเสี่ ยงหรื อปั จจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ ยงอาจใช้กรอบแนวคิดในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง กับคน อาคารสถานที่ อุปกรณ์วธิ ีการปฏิบตั ิงาน สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก เป็ นต้น 2.4 จัดลาดับความสาคัญของปัจจัยเสี่ ยง โดยพิจารณาจากมิติของโอกาสและผลกระทบ จากความเสี่ ยง 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลาดับความเสี่ ยงที่ได้ จาก การวิเคราะห์ ในข้อ 2 3.1 ระดับความเสี่ ยงอาจกาหนดเป็ นเชิงปริ มาณ หรื อเชิงคุณภาพที่ สะท้อนถึงความ เสี่ ยงระดับสูง กลาง ต่า ได้ 3.2 ควรมี ก ารก าหนดเกณฑ์ ก ารประเมิ นความเสี่ ย งทั้ง ในด้า นของโอกาสและ ผลกระทบ


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

259

3.3 การประเมินโอกาสในการเกิดความเสี่ ยง ให้ประเมินจากความถี่ที่เคยเกิดเหตุการณ์ เสี่ ยงในอดีต หรื อความน่ าจะเป็ นที่จะเกิดเหตุการณ์ในอนาคต โดยคาดการณ์จากข้อมูลในอดีต รวมถึง สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมปั จจัยเสี่ ยงในปั จจุบนั 3.4 การประเมินผลกระทบของความเสี่ ยง ให้ประเมินจากความรุ นแรง ถ้ามีเหตุการณ์ เสี่ ยงดังกล่าวเกิดขึ้น โดยจะมีความรุ นแรงมาก ถ้ากระทบต่อความเชื่ อมัน่ ต่อคุ ณภาพทางการศึกษา ของสถาบัน ฐานะการเงิน ขวัญกาลังใจและความปลอดภัยของบุคลากร เป็ นต้น 4. มีการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ ยงสู ง และดาเนินการตามแผน 4.1 จัดทาแผนบริ หารความเสี่ ยงเพื่อการบรรลุเป้ าหมาย โดยต้องกาหนดมาตรการหรื อ แผนปฏิ บตั ิการที่ จะสร้ างความรู้ ความเข้า ใจให้กบั บุ คลากรในสถาบัน และดาเนิ นการแก้ไขลด หรื อป้ องกันความเสี่ ยงที่จะเกิดขึ้นอย่างเป็ นรู ปธรรม 4.2 สร้างมาตรการควบคุมความเสี่ ยงโดยใช้เทคนิค 4 T คือ Take การยอมรับความ เสี่ ยง Treat การลดหรื อควบคุมความเสี่ ยง Transfer การโอนหรื อกระจายความเสี่ ยง และ Terminate การหยุดหรื อหลีกเลี่ยงความเสี่ ยง เพื่อลดมูลเหตุของแต่ละโอกาสที่สถาบันจะเกิดความเสี ยหาย (ทั้งใน รู ปแบบของตัวเงินและไม่ใช่ตวั เงิน เช่น ชื่อเสี ยง การฟ้ องร้องจากการไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อ บังคับ ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผลหรื อความคุม้ ค่า คุณค่า) 5. มีการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานตามแผน และรายงานต่ อสภาสถาบันเพื่อ พิจารณาอย่ างน้ อยปี ละ 1 ครั้ง 5.1 มีการรายงานความก้าวหน้าหรื อผลการดาเนินงานตามแผนต่อสภาสถาบัน 5.2 มีการรายงานสรุ ปผลการดาเนินงานและประเมินผลความสาเร็ จของการดาเนิ นงาน ปั ญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข พร้อมข้อเสนอแนะในการปรั บปรุ งแผนการดาเนิ นงานต่อสภา สถาบัน 6. มี การน าผลการประเมิ น และข้ อเสนอแนะจากสภาสถาบั นไปใช้ ใ นการปรั บ แผน หรือวิเคราะห์ ความเสี่ยงในรอบปี ถัดไป แผนบริ หารความเสี่ ยงในรอบปี ถัดไปควรพิจารณาระดับความเสี่ ยงที่เหลืออยูห่ ลังการ จัด การ ความเสี่ ย งและข้อ เสนอแนะจากสภาสถาบัน รวมทั้ง ความเสี่ ย งใหม่ จ ากนโยบาย หรื อสภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งภายในสถาบัน และจากหน่วยงานกากับ


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

260

ตัวบ่ งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ 1. มีแผนกลยุทธ์ ทางการเงินที่สอดคล้ องกับแผนกลยุทธ์ ของสถาบัน 1.1 แผนกลยุทธ์ทางการเงินเป็ นแผนที่แสดงให้เห็นถึงแหล่งที่มาและแหล่งใช้ไปของ เงินที่ตอ้ งใช้ในการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ 1.2 สถาบันควรตั้งคณะกรรมการทาหน้าที่ดาเนิ นการวิเคราะห์ทรัพยากรที่ตอ้ งใช้ใน การดาเนิ นงานตามแผนกลยุทธ์ของสถาบัน และทาการประเมินมูลค่าของทรัพยากรที่ตอ้ งใช้ซ่ ึ งจะเป็ น งบประมาณในการดาเนินการตามแผน และ กาหนดแหล่งที่มาของงบประมาณดังกล่าวซึ่ งอาจจะเป็ น งบประมาณแผ่นดิน เงินรายได้สถาบัน เงินบริ จาค หรื อสถาบันจะต้องจัดให้มีการระดมทุนจากแหล่ง ทุนต่าง ก่อนที่จะนาข้อมูลเหล่านั้นมาจัดทางบประมาณประจาปี ตามแหล่งงบประมาณนั้นๆ 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้านการเงิน หลักเกณฑ์ การจัดสรร และการวางแผนการใช้ เงิน อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ 2.1 มีแนวทางการจัดหาแหล่งเงินทุนที่เหมาะสมกับลักษณะของค่าใช้จ่ายหรื อเงินทุน และเพียงพอ สาหรับการบริ หารภารกิจของสถาบันในทุกด้านให้เป็ นไปตามเป้ าหมาย 2.2 มีแนวทางในการจัดสรรทรัพยากรตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้าและได้รับการ ยอมรั บโดยทัว่ ไปของประชาคม ในกรณี ที่มีหลักเกณฑ์ในการจัดสรรทรั พยากรอยู่แล้วควรได้มีการ ทบทวนความเหมาะสมของหลักเกณฑ์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในปั จจุบนั 2.3 มีแผนการจัดหาทรัพยากรทางการเงินอย่างเพียงพอ สาหรับการบริ หารภารกิจของ สถาบันในทุกด้านให้เป็ นไปตามเป้ าหมาย และมีแผนใช้เงิ นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อจะทาให้รายได้ รายจ่าย เป็ นไปอย่างเหมาะสม 3. มีงบประมาณประจาปี ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการในแต่ ละพันธกิจและการพัฒนาสถาบัน และบุคลากร สถาบัน การศึ ก ษาแต่ ล ะแห่ ง อาจจะมี วิ ธี ก ารและหลัก การในการท างบประมาณ ประจาปี ที่แตกต่างกันได้ แต่อย่างไรก็ตามหลังจากได้มีการจัดทางบประมาณประจาปี เสร็ จแล้วก่อนที่ จะน างบประมาณประจาปี เสนอสภาสถาบันควรได้มีการวิเคราะห์การใช้ไปของเงินตามงบประมาณ ในด้านต่างๆดังนี้ - งบประมาณประจาปี สอดคล้องกับแผนปฏิบตั ิการประจาปี ที่กาหนดไว้ในแต่ละปี มากน้อยเพียงใด


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

261

- เมื่อวิเคราะห์ตามพันธกิจของสถาบันแล้ว งบประมาณประจาปี ในแต่ละพันธกิจ มีความเพียงพอมากน้อยเพียงใด - เมื่อวิเคราะห์ตามแผนการพัฒนาสถาบันแล้ว งบประมาณประจาปี สาหรับการ พัฒนาบุคลากรมีความเหมาะสมตามนโยบายมากน้อยเพียงใด 4. มีการจัดท ารายงานทางการเงินอย่ างเป็ นระบบ และรายงานต่ อสภาสถาบันอย่ างน้ อย ปี ละ 2 ครั้ง มีการจัดทารายงานทางการเงินที่อย่างน้อยประกอบไปด้วยงบรายรั บ ค่าใช้จ่ายและ งบดุ ลอย่างเป็ นระบบ อย่างน้อยทุก 6 เดือน ปี ละ 2 ครั้ง เพื่อจะได้รู้ถึงสถานะของเงินรายได้ หัก ค่าใช้จ่ายแล้วสถานศึ กษามีงบประมาณเหลือเพียงพอ ที่ จะใช้ในกิจกรรมของสถาบันในช่ วงถัดไป มีการนารายงานทางการเงินเสนอผูบ้ ริ หารของสถาบัน และสภาสถาบัน 5. มีการนาข้ อมูลทางการเงินไปใช้ ในการวิเคราะห์ ค่าใช้ จ่าย และวิเคราะห์ สถานะทางการเงิน และความมั่นคงของสถาบันอย่ างต่ อเนื่อง 5.1 จัดท ารายงานการใช้เ งิ น งบประมาณตามแผนการดาเนิ นงานเสนอผูบ้ ริ หาร เป็ นรายงานที่ แจ้ง ให้ผูบ้ ริ หารได้ทราบว่า ได้ใช้เ งิ นตามแผนหรื อไม่ และได้ใช้เ งิ นกับ กิ จกรรมใด มีผลลัพธ์จากการทางานอย่างไรบ้าง มีงบประมาณเหลือจ่ายในแต่ละแผนเท่าไร 5.2 มีการจัดทาค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักศึกษา 5.3 มีการจัดทารายงานการลงทุนของสถาบัน 5.4 มีการวิเคราะห์เพื่อพยากรณ์รายรับและรายจ่ายในอนาคต 6. มีหน่ วยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทาหน้ าที่ตรวจ ติดตามการใช้ เงินให้ เป็ นไป ตามระเบียบและกฎเกณฑ์ ที่สถาบันกาหนด 6.1 สถาบันการศึกษาที่ไม่ได้มีสานักงานตรวจเงิ นแผ่นดิ นเป็ นผูต้ รวจสอบภายนอก อยูแ่ ล้ว ควรจัดให้มีผตู้ รวจสอบภายนอกเข้าตรวจสอบเป็ น ประจาทุกปี สาหรับสถาบันการศึกษาของรัฐ ที่ มีสานักงานตรวจเงิ นแผ่นดิ นเป็ นผูต้ รวจสอบภายนอกอยู่แล้ว นั้นหากสานักงานตรวจเงิ นแผ่นดิ น ไม่ได้เข้าตรวจสอบเป็ นประจาทุกปี ควรจัดให้มีผตู ้ รวจสอบภายนอกเข้าตรวจสอบเป็ นประจาทุกปี 6.2 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit committee) หรื อรวมทั้งผูต้ รวจสอบ ภายในอย่างเป็ นทางการ


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

262

7. ผู้บริหารระดับสู งมีการติดตามผลการใช้ เงินให้ เป็ นไปตามเป้าหมายและนาข้ อมูลจากรายงาน ทางการเงินไปใช้ ในการวางแผนและการตัดสินใจ 7.1 ผูบ้ ริ หารสามารถใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจช่วยในการ ติดตามการใช้เงิน จัดทารายงานต่างๆ ที่เป็ นสิ่ งจาเป็ นที่ผบู ้ ริ หารจะต้องทราบ และนาข้อมูลมาวิเคราะห์ สถานะทางการเงินของหน่วยงาน 7.2 มีการนารายงานทางการเงินเสนอสภาสถาบันตามแผนที่กาหนด ตัวบ่ งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสม และสอดคล้องกับพันธกิจ และพัฒนาการของสถาบัน ตั้งแต่ ระดับภาควิชา หรื อหน่ วยงานเทียบเท่ า และดาเนินการตามระบบ ที่กาหนด 1.1 สถาบันอุ ดมศึ กษาควรพัฒนาระบบประกัน คุณภาพ ที่ เ หมาะสมกับ ระดับ การพัฒนาของสถาบัน โดยอาจเป็ นระบบประกันคุ ณภาพที่ ใช้กนั แพร่ หลายทั้งในระดับ ชาติ หรื อ นานาชาติ หรื อเป็ นระบบเฉพาะที่สถาบันพัฒนาขึ้นเอง 1.2 ระบบประกันคุ ณภาพที่ น ามาใช้ตอ้ งเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของกระบวนการบริ หาร การศึกษาที่ดาเนิ นการเป็ นประจา โดยเริ่ มจากการวางแผน การดาเนิ นการตามแผน การตรวจสอบ ประเมิ นและการปรั บปรุ งพัฒนาเพื่อให้การดาเนิ นภารกิ จบรรลุเ ป้ าประสงค์และมีการพัฒนาอย่า ง ต่อเนื่อง 1.3 มีการกาหนดผูร้ ับผิดชอบและประสานงานด้านการประกันคุณภาพเพื่อผลักดัน ให้มีการประกันคุณภาพเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ตั้งแต่ระดับสถาบัน คณะวิชา ภาควิชา/สาขาวิชาจนถึง ระดับผูป้ ฏิบตั ิแต่ละบุคคล 2. มี ก ารก าหนดนโยบายและให้ ค วามส าคั ญ เรื่ อ งการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน โดยคณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บริหารสู งสุ ดของสถาบัน 2.1 คณะกรรมการระดับนโยบายและผูบ้ ริ หารสู งสุ ดของสถาบัน ต้องให้ความสาคัญ และกาหนดนโยบายการประกันคุ ณภาพการศึ กษาที่ ชดั เจน โดยเกิดจากการมีส่วนร่ วมจากทุ กภาคี ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

263

2.2 มีหน่ วยงานหรื อคณะกรรมการรับผิดชอบการจัดระบบการประกันคุณภาพพร้อม ทั้งกาหนดมาตรฐาน ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพที่เหมาะสม 2.3 มีกลไกเชื่อมโยงการปฏิบตั ิงานตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับภาควิชาหรื อสาขาวิชา ระดับคณะวิชา ถึงระดับสถาบัน เพื่อให้ได้คุณภาพตามที่สถาบันหรื อคณะวิชากาหนด 2.4 มี คู่มือคุ ณภาพในแต่ ละระดับ เพื่ อกากับ การดาเนิ นงานให้สู่ การปฏิ บ ัติที่ เ ป็ น รู ปธรรม 2.5 มีกลไกการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและกระตุ น้ ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง 3. มีการกาหนดตัวบ่ งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของสถาบัน 3.1 สถาบันอาจกาหนดมาตรฐานและกาหนดตัวบ่งชี้ที่ใช้เป็ นกรอบในการดาเนิ นงาน ของสถาบันเพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของตนเอง แต่ท้ งั นี้ ตอ้ งไม่ขดั กับมาตรฐานการอุดมศึกษาตลอดจน มาตรฐาน และกฎเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.2 ตัวบ่ งชี้ที่เพิ่มเติมขึ้นตามอัตลักษณ์ของสถาบันควรชี้วดั คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ครบถ้วนทั้งปั จจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิตหรื อผลลัพธ์ 3.3 เกณฑ์หรื อแนวปฏิบตั ิที่ดีที่ใช้กากับแต่ละตัวบ่งชี้ ต้องสามารถวัดระดับคุณภาพ ตามเป้ าหมายของตัวบ่งชี้น้ นั ๆ และเป็ นเกณฑ์ที่นาไปสู่ การปรับปรุ งพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 4. มี การดาเนิ นงานด้ า นการประกันคุ ณภาพการศึ กษาภายในที่ ครบถ้ วน ประกอบด้ วย 1) การควบคุม ติดตามการดาเนินงาน และประเมินคุณภาพ 2) การจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงาน ประเมินคุณภาพเสนอต่ อสภาสถาบันและสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามกาหนดเวลา โดย เป็ นรายงานที่มีข้อมู ลครบถ้ วนตามที่สานั กงานคณะกรรมการการอุดมศึ กษากาหนดใน CHE QA Online และ 3) การนาผลการประเมินคุณภาพไปทาแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบัน 4.1 มีการดาเนินการตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่สมบูรณ์ครบถ้วน โดยมีการกาหนดการควบคุมคุณภาพ การติดตามการดาเนินงาน และการประเมินคุณภาพ 4.2 มีการนาวงจร PDCA เข้ามาใช้ในการดาเนิ นงานด้านระบบคุณภาพ และ การปรับปรุ งระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

264

4.3 มีการจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพที่มีขอ้ มูลครบถ้วนตามที่ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนดใน CHE QA Online เสนอสภาสถาบันพิจารณา พร้อม ทั้งเสนอมาตรการและแผนเร่ งรั ดการพัฒนาคุณภาพตามผลการประเมินในแต่ ละปี โดยส่ งรายงาน ให้ตน้ สังกัด หน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ดเผยต่อสาธารณชน 5. มีการนาผลการประกันคุณภาพการศึ กษาภายในมาปรั บปรุ งการทางาน และส่ งผลให้ มี การพัฒนาผลการดาเนินงานตามตัวบ่ งชี้ของแผนกลยุทธ์ ทุกตัวบ่ งชี้ สถาบันหรื อคณะวิชาควรมอบหมายให้ผรู ้ ับผิดชอบตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์นาผลจาก การประเมินคุณภาพ มาตรการ และแผนพัฒนาคุณภาพในแต่ละปี ไปวิเคราะห์และดาเนิ นการหรื อ ประสานงานกับคณะกรรมการ/หน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้องเพื่อพิจารณาปรั บปรุ งการดาเนิ นงานในส่ วนที่ รับผิดชอบโดยตรงหรื อร่ วมรับผิดชอบ โดยมีเป้ าหมายให้ผลการดาเนิ นงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ ของสถาบัน มีการพัฒนาขึ้นจากปี ก่อนหน้าทุกตัวบ่งชี้ 6. มี ระบบสารสนเทศที่ ใ ห้ ข้ อมู ลสนั บ สนุ นการประกันคุ ณ ภาพการศึ กษาภายในครบทั้ ง 9 องค์ประกอบคุณภาพ สถาบันควรจัดให้มีระบบสารสนเทศที่สามารถนาเสนอข้อมูลประกอบการดาเนินการ ประกันคุณภาพการศึกษาที่ถูกต้อง เป็ นปั จจุบนั ครบทั้ง 9 องค์ประกอบคุณภาพ และสามารถใช้ร่วมกัน ได้ท้ งั ระดับบุคคล ภาควิชา คณะวิชา และสถาบัน รวมถึงเป็ นระบบที่สามารถเชื่อมต่อกับหน่ วยงาน ภายนอกที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพ เช่น สกอ. สมศ. กพร. เป็ นต้น 7. มีส่วนร่ วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ยในการประกันคุณภาพการศึ กษา โดยเฉพาะนักศึกษา ผู้ใช้ บัณฑิต และผู้ใช้ บริการตามพันธกิจของสถาบัน สถาบันควรส่ งเสริ มให้นกั ศึกษา คณาจารย์ และบุคลากรของสถาบันเข้ามามีส่วนร่ วม ในกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา และเปิ ดโอกาสให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย โดยเฉพาะผูใ้ ช้บณ ั ฑิต และผูร้ ับบริ การตามพันธกิจของสถาบัน เช่ น ผูร้ ับบริ การด้านการวิจยั หรื อชุมชนผูร้ ับบริ การทาง วิชาการของสถาบัน ได้เข้ามีมาส่ วนร่ วมในการประกันคุณภาพ อาทิ ในรู ป แบบของการร่ วมเป็ น กรรมการ การร่ วมกาหนดตัวบ่งชี้และเป้ าหมาย การให้ขอ้ มูลป้ อนกลับ หรื อการให้ความร่ วมมือกับ สถาบันในการดาเนิ นกิจกรรมต่างๆ ด้านการประกันคุณภาพ เป็ นต้น


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

265

8. มีเครื อข่ ายการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ด้านการประกันคุ ณภาพการศึ กษาระหว่ า งสถาบั นและ มีกจิ กรรมร่ วมกัน 8.1 มีการสร้ างเครื อข่ายการประกันคุณภาพระหว่างสถาบัน ทั้งในส่ วนของระดับ สถาบันหรื อคณะวิชา และในส่ วนที่เกี่ยวกับกิจกรรมนักศึกษา และอื่นๆ 8.2 มีการทางานด้านการประกันคุณภาพร่ วมกันในเครื อข่าย มีผลการปฏิ บตั ิงาน ที่ชดั เจน และมีพฒั นาการด้านต่างๆที่เกิดขึ้น จากการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ภายในเครื อข่าย 8.3 มีการติดตาม ประเมินผลการสร้ างเครื อข่าย เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาการทางาน ร่ วมกันอย่างต่อเนื่อง 9. มี แนวปฏิบั ติที่ ดีหรื องานวิจัยด้ า นการประกันคุณภาพการศึ กษาที่ห น่ วยงานพัฒนาขึ้น และเผยแพร่ ให้ หน่ วยงานอืน่ สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ 9.1 มีกระบวนการคัดสรรแนวปฏิบตั ิที่ดี ในแต่ละกิจกรรมที่เกิดขึ้นในการปฏิบตั ิงาน ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 9.2 มีการเผยแพร่ แนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา ที่เป็ นวิธีปฏิ บตั ิที่ดีให้กบั สาธารณชน และให้หน่วยงานอื่นไปใช้ประโยชน์ 9.3 มีการวิจยั สถาบันด้านการประกันคุณภาพการศึกษา และนาผลไปพัฒนางานด้าน การประกันคุณภาพการศึกษา


บทที่ 6 การวิเคราะห์ ตวั บ่ งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ มาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษา และมุมมองด้ านการบริหารจัดการ 1. ตัวบ่ งชี้เพือ่ การประเมินคุณภาพตามองค์ ประกอบคุณภาพ 9 ด้ าน สถาบันอุ ดมศึกษามีพนั ธกิ จหลักที่ สาคัญ 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจยั การให้บริ การทางวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม และมีพนั ธกิจอย่างน้อย อีก 5 ประการที่จะสนับสนุ นให้การขับเคลื่ อนพันธกิ จหลักบรรลุ เป้ าหมายได้ คือ 1) ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนการดาเนินการ 2) กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 3) การบริ หารและ การจัดการ 4) การเงินและงบประมาณ และ 5) ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ซึ่ งพันธกิจหลัก และพันธกิ จสนับสนุ นจะต้องทางานเชื่ อมโยงบูรณาการทุ กเรื่ องเข้าด้วยกันอย่างเป็ นระบบและ ต่อเนื่ อง จึงจะส่ งเสริ มให้การจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษามีคุณภาพได้การประกันคุ ณภาพ การศึกษาภายในจึงพัฒนาขึ้นโดยคานึงถึงองค์ประกอบคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา 9 ด้าน ที่ครอบคลุมทั้งพันธกิจหลักและพันธกิจสนับสนุ น ได้แก่ 1) ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และ แผนการดาเนินการ 2) การผลิตบัณฑิต 3) กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 4) การวิจยั 5) การบริ การ ทางวิชาการแก่สังคม 6) การทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม7) การบริ หารและการจัดการ 8) การเงิน และงบประมาณ และ 9) ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ดังนั้น ในการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา จึงได้ กาหนดตัวบ่งชี้ ภายใต้องค์ประกอบคุ ณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา 9 ด้าน ดังมีรายละเอียด ปรากฏในบทที่ 3 เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็ นแนวทางในการกากับดู แล ตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพภายในของสถาบันแต่ละแห่ง ซึ่งสามารถสรุ ปได้ตามตารางที่ 5.1


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

267

ตารางที่ 5.1 องค์ ประกอบคุณภาพ 9 ด้ านและตัวบ่ งชี้ทใี่ ช้ ประเมินคุณภาพตามองค์ ประกอบ จานวนตัวบ่ งชี้ องค์ ประกอบคุณภาพ 1. 1. ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดาเนินงาน 2. การผลิตบัณฑิต

3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 4. การวิจยั

ปัจจัยนาเข้ า -

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2,2.3 และ 2.5 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3

ผลผลิต หรือผลลัพธ์ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 16.1, 16.2 และ17 ตัวบ่งชี้ที่ ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 2.1,2.4 , 2.6 และตัวบ่งชี้ และ 2.7 สมศ. ที่ 1,2,3,4 และ 14 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 และ 3.2 ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ และ 4.2 5,6 และ 7 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ และ 5.2 8, 9 และ 18.1, 18.2 กระบวนการ

รวม 1+3

8+5

2 3+3

5. การบริ การทางวิชาการแกสังคม

-

2+4

6. การทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม

-

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 10 และ 11

1+2

7. การบริ หารและการจัดการ

-

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 12 และ 13

4+2

8. การเงินและงบประมาณ

-

ตัวบ่งชี้ที่ 7.1, 7.2, 7.3 และ 7.4 ตัวบ่งชี้ที่ 8.1

-

1

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

-

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 15

1+1

รวม

4

18

1+20

23+20


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

268

2. ตัวบ่ งชี้เพือ่ การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 34 กาหนดให้คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่พิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษา ที่ สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสัง คมแห่ งชาติ และสอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาของชาติ ดังนั้น จึงได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อง มาตรฐานการ อุดมศึกษา ลงวันที่ 7 สิ งหาคม พ.ศ. 2549 ซึ่ งถื อได้ว่าเป็ นมาตรฐานการอุดมศึกษาฉบับแรก ของประเทศไทย มาตรฐานฉบับนี้ ประกอบด้วยมาตรฐานย่อย 3 ด้าน ได้แก่ มาตรฐานด้านคุณภาพ บัณฑิต มาตรฐานด้านการบริ หารจัดการการอุดมศึกษา และมาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนา สังคมฐานความรู ้และสังคมแห่งการเรี ยนรู ้ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. มาตรฐานด้ านคุณภาพบัณฑิต บัณฑิ ตระดับอุดมศึกษาเป็ นผูม้ ีความรู้ มีคุณธรรมจริ ยธรรม มีความสามารถ ในการเรี ยนรู้ และพัฒนาตนเอง สามารถประยุกต์ใช้ความรู ้ เพื่อการดารงชี วิตในสังคมได้อย่าง มีความสุ ขทั้งทางร่ างกายและจิตใจ มีความสานึกและความรับผิดชอบในฐานะพลเมืองและพลโลก มาตรฐานนี้มีตวั บ่งชี้หลัก ได้แก่ 1) บัณฑิตมีความรู้ ความเชี่ ยวชาญในศาสตร์ ของตน สามารถเรี ยนรู้ สร้างและประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง สามารถปฏิบตั ิงานและสร้างงานเพื่อพัฒนาสังคม ให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล 2) บัณฑิตมีจิตสานึก ดารงชี วิต และปฏิบตั ิหน้าที่ตามความรับผิดชอบ โดยยึดหลักคุณธรรมจริ ยธรรม 3) บัณฑิ ตมีสุขภาพดีท้ งั ด้านร่ างกายและจิตใจ มีการดูแลเอาใจใส่ รักษา สุ ขภาพของตนเองอย่างถูกต้องเหมาะสม 2. มาตรฐานด้ านการบริหารจัดการการอุดมศึกษา มี ก ารบริ หารจัด การอุ ด มศึ ก ษาตามหลัก ธรรมาภิ บ าลและพั น ธกิ จ ของการ อุดมศึกษาอย่างมีดุลยภาพ ก. มาตรฐานด้ านธรรมาภิบาลของการบริ หารการอุดมศึกษา มีการบริ หารจัดการ การอุดมศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล โดยคานึงถึงความหลากหลาย และความเป็ นอิสระทางวิชาการ มาตรฐานนี้มีตวั บ่งชี้หลัก ได้แก่


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

269

1) มีการบริ หารจัดการบุคลากรที่มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล มีความยืดหยุน่ สอดคล้องกับความต้องการที่หลากหลายของประเภทสถาบันและสังคม เพื่อเพิ่มศักยภาพในการ ปฏิบตั ิงานอย่างมีอิสระทางวิชาการ 2) มี ก ารบริ หารจัดการทรัพ ยากรและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล คล่องตัว โปร่ งใส และตรวจสอบได้มีการจัดการศึกษาผ่านระบบ และวิธีการต่างๆ อย่างเหมาะสมและคุม้ ค่าคุม้ ทุน 3) มี ระบบการประกัน คุ ณภาพเพื่ อนาไปสู่ ก ารพัฒนาคุ ณภาพและมาตรฐาน การอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง ข. มาตรฐานด้ านพันธกิจของการบริ หารการอุดมศึกษา การดาเนิ นงานตามพันธกิจของ การอุดมศึกษาทั้ง 4 ด้านอย่างมีดุลยภาพ โดยมีการประสานความร่ วมมือรวมพลังจากทุกภาคส่ วน ของชุมชนและสังคมในการจัดการความรู้ มาตรฐานนี้มีตวั บ่งชี้หลัก ได้แก่ 1) มีหลักสู ตรและการเรี ยนการสอนที่ทนั สมัย ยืดหยุน่ สอดคล้องกับความต้องการ ที่หลากหลายของประเภทสถาบันและสังคม โดยให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนแบบ เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ เน้นการเรี ยนรู้และการสร้างงานด้วยตนเองตามสภาพจริ ง ให้การวิจยั เป็ นฐาน มีการประเมิน และให้ผลการประเมินเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนและการบริ หารจัดการหลักสู ตร ตลอดจน มีการบริ หารกิจการนิสิตนักศึกษาที่เหมาะสมสอดคล้องกับหลักสู ตรและการเรี ยนการสอน 2) มีการวิจยั เพื่อสร้างและประยุกต์ใช้องค์ความรู ้ใหม่ที่เป็ นการขยายพรมแดนความรู้และ ทรัพย์สินทางปั ญญาที่เชื่ อมโยงกับสภาพเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และสิ่ งแวดล้อมตามศักยภาพ ของประเภทสถาบัน มี ก ารสร้ า งเครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ ระหว่ า งสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาทั้ง ในและ ต่ า งประเทศ เพื่ อ พัฒ นาความสามารถในการแข่ ง ขัน ได้ใ นระดับ นานาชาติ ข องสั ง คมและ ประเทศชาติ 3) มีการให้บริ การวิชาการที่ทนั สมัย เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของสังคมตาม ระดับความเชี่ยวชาญของประเภทสถาบัน มีการประสานความร่ วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับ ภาคธุ รกิ จอุ ตสาหกรรมทั้ง ในและต่ า งประเทศ เพื่ อเสริ ม สร้ า งความเข้ม แข็ง และความยัง่ ยื น ของสังคม และประเทศชาติ 4) มีการอนุรักษ์ฟ้ื นฟู สื บสาน พัฒนา เผยแพร่ วฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเสริ มสร้าง ความรู้ ความเข้า ใจและความภาคภู มิ ใ จในความเป็ นไทย มี ก ารปรั บ ใช้ ศิ ล ปะ วัฒ นธรรม ต่างประเทศอย่างเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

270

3. มาตรฐานด้ านการสร้ างและพัฒนาสั งคมฐานความรู้ และสั งคมแห่ งการเรียนรู้ การแสวงหา การสร้ าง และการจัดการความรู้ ตามแนวทาง/หลักการ อันนาไป สู่ สังคมฐานความรู้ และสังคมแห่งการเรี ยนรู ้ มาตรฐานนี้มีตวั บ่งชี้หลัก ได้แก่ 1) มีการแสวงหา การสร้าง และการใช้ประโยชน์ความรู้ ทั้งส่ วนที่เป็ นภูมิปัญญา ท้องถิ่นและเทศ เพื่อเสริ มสร้างสังคมฐานความรู้ 2) มีการบริ หารจัดการความรู ้ อย่างเป็ นระบบโดยใช้หลักการวิจยั แบบบูร ณาการ หลักการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ หลักการสร้ างเครื อข่ายและหลักการประสานความร่ วมมื อรวมพลัง อันนาไปสู่ สังคมแห่งการเรี ยนรู ้ ดังนั้น ในการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา จึงสามารถกระจายตัวบ่งชี้ ตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน ลงในมาตรฐานการอุดมศึกษาแต่ละ ด้าน เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็ นแนวทางในการกากับดูแล ตรวจสอบและประเมินคุณภาพ ภายในของสถาบันแต่ละแห่ง ดังปรากฏในตารางที่ 5.2


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

271

ตารางที่ 5.2 มาตรฐานการอุดมศึกษาและตัวบ่ งชี้ที่ใช้ ประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน มาตรฐาน

1. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต

ตัวบ่ งชี้ ตัวบ่ งชี้ ด้ านปัจจัยนาเข้ า ด้ านกระบวนการ

ตัวบ่ งชี้ ด้ านผลผลิต หรือผลลัพธ์ ตัวบ่งชี้ ที่ 2.8 และตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 1,2,3 และ 4

รวม

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 12 และ 13

7+2

-

-

1+4

ก. มาตรฐานด้านธรรมาภิบาล ของการบริ หารการ อุดมศึกษา

-

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1, 2.4, 7.1, 7.3, 7.4, 8.1 และ 9.1

ข. มาตรฐานด้านพันธกิจของ การบริ หารการอุดมศึกษา

ตัวบ่งชี้ ที่ 2.2, 2.3, 2.5 และ 4.3

ตัวบ่งชี้ ที่ 2.1, 2.6,2.7, 3.1, 3.2, 4.1,5.1, 5.2, และ 6.1

3. มาตรฐานด้านการสร้ า งและ พัฒ นาสั ง คมฐานความรู และ สังคมแห่งการเรี ยนรู ้

-

ตัวบ่งชี้ ที่ 4.2 และ 7.2

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 5,6 และ 7

2+3

รวม

4

18

1+20

23+20

2. มาตรฐานด้านการบริ หารจัดการ อุดมศึกษา

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 13+11 8,9,10,11, 14, 15, 16.1, 16.2,17 และ 18.1, 18.2


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

272

3. ตัวบ่ งชี้ตามมุมมองด้ านการบริหารจัดการ เพื่ อ ให้ ก ารประกัน คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในสามารถติ ด ตาม ตรวจสอบ และประเมินการดาเนินงานอย่างครอบคลุมและมีสมดุลระหว่างมุมมองการบริ หารจัดการด้านต่างๆ ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านนักศึกษาและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ด้านกระบวนการภายใน ด้านการเงิน และด้าน บุคลากร การเรี ยนรู้รวมถึง นวัตกรรม จึงสามารถกระจายตัวบ่งชี้ ตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน ลงในมุมมองด้านต่างๆ ที่กล่าวข้างต้น ดังปรากฏในตารางที่ 5.3 ตารางที่ 5.3 มุมมองด้ านบริหารจัดการทีส่ าคัญและตัวบ่ งชี้ตามมุมมองด้ านการบริหารจัดการ มุมมองด้ านบริหารจัดการ

ตัวบ่ งชี้ ด้ านปัจจัยนาเข้ า

ตัวบ่ งชี้ ด้ านกระบวนการ

-

ตัวบ่งชี้ที่ 2.6, 2.7, 3.1, 3.2, 5.1, และ 5.2

2. ด้านกระบวนการภายใน

ตัวบ่งชี้ที่ 2.5

ตัวบ่งชี้ ที่ 1.1, 2.1,2.4, 4.1, 6.1, 7.1,7.3, 7.4 และ 9.1

3. ด้านการเงิน 4. ด้านบุคลากรการเรี ยนรู และนวัตกรรม

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 และ 2.3

ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ตัวบ่งชี้ ที่ 4.2 และ 7.2

4

18

1. ด้านนักศึกษาและ ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย

รวม

ตัวบ่ งชี้ ด้ านผลผลิต หรือผลลัพธ์ ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 และ ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 1,2,3,4,8,9 และ 18.1, 18.2 ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 10,11,12,13,15, 16 .1, 16.2 และ17

ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 5,6,7 และ 14 1+20

รวม

7+8

10+8

2 4+4 23+20


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

273

4. ตัวบ่ งชี้เพือ่ การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาได้จ ัด ท ามาตรฐานสถาบัน อุ ด มศึ ก ษา ตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิ การ ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551 เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตาม กลุ่มสถาบันที่มีปรัชญา วัตถุประสงค์ และพันธกิจในการจัดตั้งที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผล มาตรฐานฉบับนี้ ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก 2 ด้าน คือ มาตรฐานด้านศักยภาพ และความพร้ อ มในการจัด การศึ ก ษา และมาตรฐานด้ า นการด าเนิ น การตามภารกิ จ ของ สถาบันอุดมศึกษา และกาหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเป็ น 4 กลุ่ม ดังรายละเอียดที่ระบุไปแล้ว ในบทที่ 1 ได้แก่ กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี กลุ่ม ค สถาบัน เฉพาะทาง และกลุ่ม ง สถาบันที่เน้นการวิจยั ขั้นสู งและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะ ระดับปริ ญญาเอก มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก 2 ด้าน และมาตรฐานย่อยอีก มาตรฐานละ 4 ด้าน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) มาตรฐานด้ านศักยภาพและความพร้ อมในการจัดการศึกษา ประกอบด้วยมาตรฐานย่อย ด้านต่าง ๆ 4 ด้าน 1.1) ด้ านกายภาพ สถาบันอุดมศึกษามีอาคารที่ประกอบด้วยลักษณะสาคัญของอาคารเรี ยนที่ดี มีห้องครบทุกประเภท พื้นที่ ใช้สอยที่ ใช้ในการเรี ย นการสอนและการจัดกิ จกรรมทุ ก ประเภท มีจานวนเพียงพอ และเหมาะสมกับจานวนอาจารย์ประจา จานวนนักศึ กษาในแต่ละหลักสู ตร และจานวนนักศึกษาตามแผนการรับนักศึกษา ตามเกณฑ์พ้ืนที่ใช้สอยอาคารโดยประมาณ รวมทั้ง ต้อ งจัด ให้มี ห้อ งสมุ ด ตามเกณฑ์ม าตรฐาน มี ค รุ ภ ัณ ฑ์ป ระจ าอาคาร ครุ ภ ัณ ฑ์ก ารศึ ก ษา และคอมพิวเตอร์ จานวนเพียงพอต่อการจัดการศึกษา ทั้งนี้ อาคารและบริ เวณอาคารจะต้องมีความ มัน่ คง ปลอดภัย ถูกสุ ขลักษณะหรื อความจาเป็ นอย่างอื่น ๆ ตามที่กฎหมายกาหนด 1.2) ด้ านวิชาการ สถาบันอุดมศึกษามีศกั ยภาพและความพร้อมในการปฏิบตั ิภารกิจด้านวิชาการ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ ของสถาบันอุดมศึกษาและแผนการผลิตบัณฑิตที่ตอบสนองความ ต้องการของประเทศและผูใ้ ช้บณ ั ฑิตโดยรวม มีหลักประกันว่าผูเ้ รี ยนจะได้รับการบริ การการศึกษา ที่ดี สามารถแสวงหาความรู ้ ได้อย่างมี คุณภาพ สถาบันต้องมีการบริ หารวิชาการที่มี คุณภาพ ประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผลทั้งในด้านการวางแผนรับนักศึกษาและการผลิตบัณฑิตการจัดกิจกรรม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

274

การเรี ยนการสอน การประเมินผล การเรี ยนรู้ การประกันคุณภาพการเรี ยนการสอน และการพัฒนา ปรับปรุ งการบริ หารวิชาการ 1.3) ด้ านการเงิน สถาบันอุดมศึกษามีความพร้อมด้านการเงินทั้งงบการเงินรวมและงบที่จาแนก ตามกองทุน มีแผนการเงินที่มนั่ คง เป็ นหลักประกันได้วา่ สถาบันจะสามารถจัดการศึกษาได้ตาม พันธกิ จและเป้ าหมายที่กาหนดไว้ รวมทั้งสอดคล้องกับแผนการพัฒนาในอนาคต เพื่อให้เกิ ด ประโยชน์สูงสุ ดแก่ผเู ้ รี ยนและผูใ้ ช้บริ การอุดมศึกษา สถาบันมีการจัดทารายงานการเงินที่ แสดงถึง การได้มาของรายได้ รายรับ การจัดสรร การใช้จ่ายที่มีประสิ ทธิ ภาพ และทัว่ ถึงเป็ นธรรมอย่าง ชัดเจน รวมทั้งการนารายได้ไปลงทุนภายใต้การประเมินและวิเคราะห์ ความเสี่ ยง มีระบบการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานควบคู่ไปกับการใช้เงินทุกประเภท และมีระบบการ ติดตามตรวจสอบผลประโยชน์ทบั ซ้อนของบุคลากรทุกระดับ 1.4) ด้ านการบริหารจัดการ สถาบันอุดมศึกษามีระบบการบริ หารจัดการที่มีประสิ ทธิ ภาพในการถ่ายทอด วิสัยทัศน์ ค่านิยม ไปสู่ การปฏิบตั ิที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์และ พันธกิจที่กาหนดไว้ โดยมีสภาสถาบันทาหน้าที่กากับ นโยบาย การดาเนินการตามแผนการบริ หาร บุคคล การบริ หารงบประมาณและทรัพย์สิน การบริ หารสวัสดิการที่จดั ให้กบั นักศึกษาและบุคลากร ทุกระดับ รวมทั้งกากับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการดาเนินงานให้เป็ นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายที่กาหนดไว้ มีการเผยแพร่ ผลการกากับการดาเนิ นงานของสภาสถาบันและ การบริ หารจัดการของผูบ้ ริ หารทุกระดับสู่ ประชาคมภายในสถาบันและภายนอกสถาบัน ภายใต้ หลักธรรมาภิบาลที่ประกอบด้วย หลักความโปร่ งใส หลักความรับผิดชอบ หลักการตรวจสอบได้ หลักการมีส่วนร่ วม และหลักความคุม้ ค่า 2) มาตรฐานด้ า นการด าเนิ นการตามภารกิจ ของสถาบั นอุ ด มศึ ก ษา ประกอบด้ ว ย มาตรฐานย่อยด้ านต่ าง ๆ 4 ด้ าน 2.1) ด้ านการผลิตบัณฑิต สถาบันอุดมศึกษาดาเนิ นการรับนักศึกษาเข้าเรี ยนที่มีคุณสมบัติและจานวน ตรงตามแผนการรับนักศึกษาและสอดคล้องกับเป้ าหมายการผลิ ตบัณฑิ ตอย่างมีคุณภาพ สถาบัน ผลิ ตบัณฑิ ตได้ตามคุ ณลัก ษณะ จุดเน้นของสถาบัน ตรงตามเป้ าหมายที่ กาหนด และจัดให้ มีขอ้ สนเทศที่ชดั เจน เผยแพร่ ต่อสาธารณะในเรื่ องหลักสู ตร การจัดการเรี ยนการสอน คณาจารย์ ที่ส่งเสริ มการจัดกิ จกรรม การพัฒนาการเรี ยนรู ้ ท้ งั ในและนอกหลักสู ตร และตอบสนองความ ต้องการของนักศึกษา


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

275

2.2) ด้ านการวิจัย สถาบั น อุ ด มศึ ก ษามี ก ารด าเนิ น พัน ธกิ จ ด้ า นการวิ จ ั ย อย่ า งมี คุ ณ ภาพ ประสิ ทธิ ภาพและภายใต้จุดเน้นเฉพาะ โดยมีการดาเนินการตามนโยบาย แผน งบประมาณ มีการ บริ หารจัดการเพื่อส่ งเสริ มและสนับสนุ นคณาจารย์ นักวิจยั บุคลากรให้มีสมรรถนะในการทาวิจยั ส่ งเสริ มและสร้ างเครื อข่ายการทาวิจยั กับหน่วยงานภายนอกสถาบันเพื่อให้ได้ผลงานวิจยั ผลงาน ประดิษฐ์ และงานริ เริ่ มสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพ มีประโยชน์ สนองยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศ สามารถตอบสนองความต้องการของสังคมได้ในวงกว้างและก่อให้เกิดประโยชน์แก่สาธารณชน 2.3) ด้ านการให้ บริการทางวิชาการแก่สังคม สถาบันอุ ดมศึ ก ษามี ก ารให้บ ริ ก ารทางวิช าการที่ ค รอบคลุ ม กลุ่ ม เป้ าหมาย ทั้งในวงกว้างและกลุ่มเป้ าหมายที่เฉพาะเจาะจงทั้งในและต่างประเทศ ซึ่ งอาจให้บริ การโดยการ ใช้ทรัพยากรร่ วมกันทั้งในระดับสถาบันและระดับบุคคลได้ในหลายลักษณะ อาทิ การให้คาปรึ กษา การศึกษาวิจยั การค้นคว้าเพื่อแสวงหาคาตอบให้กบั สังคม การให้บริ การฝึ กอบรมหลักสู ตรระยะ สั้นต่าง ๆ การจัดให้มีการศึกษาต่อเนื่ องบริ การแก่ประชาชนทัว่ ไป การให้บริ การทางวิชาการนี้ สามารถจัดในรู ป แบบของการให้ บ ริ ก ารแบบให้เ ปล่ า หรื อเป็ นการให้ บ ริ ก ารเชิ ง พาณิ ช ย์ที่ ใ ห้ ผลตอบแทนเป็ นรายได้หรื อเป็ นข้อมูลย้อนกลับมาพัฒนาและปรับปรุ งเพื่อให้เกิดองค์ความรู ้ใหม่ 2.4) ด้ านการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม สถาบันอุดมศึกษามีการดาเนินการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรมของชาติท้ งั ในระดับหน่วยงานและระดับสถาบัน มีระบบและกลไกในการส่ งเสริ มและสนับสนุ นให้ศิลปะและ วัฒนธรรมเป็ นส่ วนหนึ่ งของการจัดการเรี ย นการสอนโดยตรงหรื อโดยอ้อม เพื่ อให้ผูเ้ รี ยนและ บุ ค ลากรของสถาบัน ได้รับ การปลู ก ฝั งให้มี ความรู้ ตระหนัก ถึ งคุ ณ ค่ า เกิ ดความซาบซึ้ งและ มีสุนทรี ยะต่อศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ สามารถนาไปใช้เป็ นเครื่ องจรรโลงความดีงามในการ ดารงชีวิตและประกอบอาชีพ มีวิถีชีวิตที่ปรารถนาและเรี ยนรู้ วิธีการจัดการวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ที่ไม่พึงปรารถนาได้ สถาบันมีการควบคุมการดาเนิ นงานด้านนี้ อย่างมีคุณภาพและประสิ ทธิ ภาพ ตามเป้ าหมายของแผนยุท ธศาสตร์ ก ารดาเนิ นงานด้านการท านุ บ ารุ งศิ ล ปะและวัฒนธรรมของ สถาบัน ดัง นั้น ในการประกันคุ ณภาพการศึ ก ษาเพื่ อพัฒนาคุ ณภาพและมาตรฐานการศึ ก ษา จึงสามารถกระจายตัวบ่งชี้ ตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน ลงในมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาย่อย แต่ละด้าน เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็ นแนวทางในการกากับดูแล ตรวจสอบและประเมิน คุณภาพภายในของสถาบันแต่ละแห่ง ดังปรากฏในตารางที่ 5.4


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

276

ตารางที่ 5.4 มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาและตัวบ่ งชี้ที่ใช้ ประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา

ตัวบ่ งชี้ ด้ านปัจจัยนาเข้ า

ตัวบ่ งชี้ ด้ านกระบวนการ

ตัวบ่ งชี้ ด้ านผลผลิต หรือผลลัพธ์

รวม

ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 และ 2.3 -

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1, 2.4, 2.6 ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1, 7.1, 7.2, 7.3, 7.4 และ 9.1

ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 14

1 5+1

ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่12, 13,15,16.1, 16.2 และ 17

1 6+6

-

ตัวบ่งชี้ที่ 2.7, 3.1 และ 3.2

ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 และ ตัวบ่งชี้สมศ. ที่ 1,2,3 และ 4

4+4

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 และ 4.2

ตัวบ่งชี้สมศ.ที่ 5, 6 และ 7

3+3

(3) ด้านการให้บริ การ ทางวิชาการแกสังคม

-

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 และ 5.2

ตัวบ่งชี้สมศ. ที่ 8, 9 และ 18.1, 18.2

2+4

(4) ด้านการทานุบารุ งศิลปะ และวัฒนธรรม

-

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1

ตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 10 และ 11

1+2

รวม

4

18

1+20

23+20

1. มาตรฐานด้านศักยภาพ และความพรอมในการจัด การศึกษา (1) ด้านกายภาพ (2) ด้านวิชาการ (3) ด้านการเงิน (4) ด้านการบริ หารจัดการ

2. มาตรฐานด้านการดาเนินการ ตามภารกิจของ สถาบันอุดมศึกษา (1) ด้านการผลิตบัณฑิต

(2) ด้านการวิจยั


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

277

รายการอ้างอิง ภาษาไทย กระทรวงศึกษาธิการ. 2551. กฎกระทรวงว่าด้วยการขอให้รับรองและการรับรองวิทยฐานะของ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551. กระทรวงศึกษาธิการ. 2553. กฎกระทรวงว่าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2553. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนที่ 23 ก วันที่ 2 เมษายน 2553. หน้า 22-35 กระทรวงศึกษาธิการ. 2552. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ อุดมศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2552. กระทรวงศึกษาธิการ. 2549. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549. กระทรวงศึกษาธิการ. 2551. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2551. กองบริ การการศึกษา, สานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. 2543. มาตรฐานกิจการนักศึกษา. เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญวงศ์ศกั ดิ์และคณะ. 2548. รายงานการวิจัย การสั งเคราะห์ องค์ ความรู้ เกีย่ วกับ การจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นตัวผู้เรียนเป็ นสาคัญ ตั้งแต่ พ.ศ. 2542-2547” รายงานการวิจยั เสนอ ต่อสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. กรุ งเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย. ชาญณรงค์ พรรุ่ งโรจน์และคณะ. 2548. ดัชนีบ่งชี้และเกณฑ์ ประเมินคุณภาพด้ าน การทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม : รายงานการวิจยั เสนอต่อสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์สแควร์ ปริ๊ นซ์ 93 จากัด. ไพฑูรย์ สิ นลารัตน์. 2549. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย. รายงาน การวิจยั เสนอต่อสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. วิจิตร ศรี สอ้าน. 2518. หลักการอุดมศึกษา. กรุ งเทพฯ : วัฒนาพานิช. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สานักนายกรัฐมนตรี . 2542. พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. 2550. กรอบแผนอุดมศึกษา ระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551 – 2565). กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. 2552. คู่มือการจัดระดับการกากับดูแลองค์ การ ภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้ านเมืองทีด่ ี (Good Governance Rating). กรุ งเทพฯ : บริ ษทั พรี เมียร์ โปร จากัด. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. 2552. คู่มือนโยบายการกากับดูแลองค์ การทีด่ ี. สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. 2541. แนวทางปฏิบัติจรรยาบรรณนักวิจัย. สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. 2552. นโยบายและยุทธศาสตร์ การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2554). สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). 2549. คู่มือ การประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั จุดทอง จากัด. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. 2548. มาตรฐานการศึกษาของชาติ. กรุ งเทพฯ : ห้างหุ น้ ส่ วนจากัด สหายบล็อกและการพิมพ์. สานักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา, สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2549. มาตรฐานการอุดมศึกษาและเกณฑ์ มาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้ อง. กรุ งเทพฯ : ห้างหุ น้ ส่ วน จากัด ภาพพิมพ์.

ภาษาอังกฤษ Mackinnon,K.R. S.H.Walker & D.Davis. 2000 . Benchmarking Manual for Australia Universities, Higher Education Division, Department of Education. Training and Youth Affairs.

278


ภาคผนวก


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

280

ภาคผนวก ก ตัวบ่ งชี้ผลการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (1) (2) (3) (4)

(5) (6) (7) (8)

ตัวบ่ งชี้ผลการดาเนินงาน อาจารย์ประจาหลักสู ตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่ วมในการประชุมเพื่อวางแผนติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสู ตร มี ร ายละเอี ย ดของหลัก สู ตร ตามแบบ มคอ.2 ที่ ส อดคลองกับ กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรื อ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ามี) มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณภาคสนาม (ถามี) ตามแบบ มคอ. 3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิ ดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดาเนินการของประสบการณ ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้ นสุ ดภาคการศึกษาที่เปิ ด สอนให้ครบทุกรายวิชา จัดทารายงานผลการดาเนิ นการของหลักสู ตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังป การศึกษา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรี ยนรู ที่กาหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิ ดสอนในแต่ละปี การศึกษา มีก ารพัฒนา/ปรับ ปรุ ง การจัดการเรี ยนการสอน กลยุทธการสอน หรื อการประเมิ นผล การเรี ยนรู จากผลการประเมินการดาเนินการที่รายงานใน มคอ.7 ปที่แลว อาจารย์ใหม (ถ้ามี) ทุกคนไดรับการปฐมนิเทศหรื อคาแนะนาด้านการจัดการเรี ยนการสอน

(9) อาจารย์ประจาทุกคนทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรื อวิชาชี พ อย่างน้อยปี ละ หนึ่งครั้ง (10) จานวนบุคลากรสนับสนุ นการเรี ยนการสอน (ถ้ามี ) ไดรับการพัฒนาวิชาการ และ/หรื อ วิชาชีพ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี (11) ระดับ ความพึ ง พอใจของนัก ศึ ก ษาปี สุ ด ท้า ย/บัณ ฑิ ต ใหม่ ที่ มี ต่ อ คุ ณ ภาพหลัก สู ต รเฉลี่ ย ไม่นอ้ ยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 (12) ระดับความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณ ั ฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่นอ้ ยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

281

หมายเหตุ 1. สถาบันอุดมศึกษาอาจกาหนดตัวบ่งชี้ เพิ่มเติมให้สอดคล้องกับพันธกิจและวัตถุประสงค์ ของสถาบันฯ หรื อกาหนดเป้ าหมายการดาเนิ นงานที่สูงขึ้น เพื่อการยกระดับมาตรฐาน ของตนเอง โดยก าหนดไว้ใ นรายละเอี ย ดของหลัก สู ตร ทั้ง นี้ หลัก สู ตรของ สถาบันอุดมศึกษาทุกระดับคุณวุฒิตอ้ งมีผลการดาเนินการที่บรรลุตามเป้ าหมายตัวบ่งชี้ ทั้ง หมดออยู่ใ นเกณฑ์ ดี จึ ง จะได้รั บ การเผยแพร่ ห ลัก สู ต รที่ ไ ด้ม าตรฐานตามกรอบ มาตรฐานคุ ณวุฒิระดับอุ ดมศึ ก ษาแห่ งชาติ โดยเกณฑ์ก ารประเมิ นผ่า นคื อ มีการ ดาเนินงานตามข้อ 1-5 และอย่างน้อยร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ ผลการดาเนิ นงานที่ระบุไว้ ในแต่ละปี 2. กรณี มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราชและมหาวิทยาลัยรามคาแหงซึ่ งมีระบบการสอบ ซ่อมอนุโลมให้ปรับตัวบ่งชี้ในข้อ 4 และข้อ 5 เป็ นดังนี้ ข้ อ 4 จัดทารายงานผลการดาเนินการของชุดวิชา/รายวิชา และรายงานผลการดาเนินการ ของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และมคอ.6 ภายใน60 วัน หลังสอบซ่อมให้ครบทุกชุดวิชา/รายวิชาที่เปิ ดสอน ข้ อ 5 จัดทารายงานผลการดาเนิ นการของหลักสู ตรตามแบบ มคอ.7 หลังสิ้ นสุ ดปี การศึกษา ภายใน 90 วันหลังสอบซ่อม


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

282

ภาคผนวก ข แบบรายงานผลการประเมิน ตาราง ส 1 ผลการการประเมินรายตัวบ่งชี้ตามองค์ ประกอบคุณภาพ ประเภทสถาบัน   

ตัวบ่ งชี้คุณภาพ

กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง  ค 1 สถาบันที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา  ค 2 สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี กลุ่ม ง สถาบันที่เน้นการวิจยั ขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริ ญญาเอก

เป้าหมาย

ผลการดาเนินงาน1 ตัวตั้ง ตัวหาร

ผลลัพธ์

คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ์ สกอ.)

(%หรือสัดส่ วน)

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 16.1 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 16.2 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 17 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 --------------------------------------1

ให้ ระบุเป็ นตัวเลขที่สอดคล้ องกับเกณฑ์ ที่ใช้ ประเมินสาหรับตัวบ่ งชี้น้ นั ๆ เช่ น ระบุเป็ นค่ าร้ อยละ หรือ ระบุเป็ นสั ดส่ วน หรือระบุ เป็ นคะแนน หรือระบุเป็ นจานวน หรือระบุเป็ นข้ อ


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

283

ตาราง ส 1 ผลการการประเมินรายตัวบ่งชี้ตามองค์ ประกอบคุณภาพ (ต่ อ) ตัวบ่ งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน1 คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ์ สกอ.) ตัวตั้ง ผลลัพธ์ ตัวหาร

(%หรือสัดส่ วน)

ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 1 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 2 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 3 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 4 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 14 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 5 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 6 --------------------------------------1

ให้ ระบุเป็ นตัวเลขที่สอดคล้ องกับเกณฑ์ ที่ใช้ ประเมินสาหรับตัวบ่ งชี้น้ นั ๆ เช่ น ระบุเป็ นค่ าร้ อยละ หรือ ระบุเป็ นสั ดส่ วน หรือระบุ เป็ นคะแนน หรือระบุเป็ นจานวน หรือระบุเป็ นข้ อ


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

284

ตาราง ส 1 ผลการการประเมินรายตัวบ่งชี้ตามองค์ ประกอบคุณภาพ (ต่ อ) ตัวบ่ งชี้คุณภาพ

เป้ าหมาย

ผลการดาเนินงาน1 ตัวตั้ง ตัวหาร

ผลลัพธ์ (%หรือ สั ดส่ วน)

คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ์ สกอ.)

ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 7 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 8 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 9 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 18.1 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 18.2 ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 10 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 11 ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 12 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 13 ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 15

นาคะแนนที่ได้ จาก 23 ตัวบ่ งชี้ของ สกอ. มาเฉลีย่ และบันทึกไว

--------------------------------------1

ให้ ระบุเป็ นตัวเลขที่สอดคล้ องกับเกณฑ์ ที่ใช้ ประเมินสาหรับตัวบ่ งชี้น้ นั ๆ เช่ น ระบุเป็ นค่ าร้ อยละ หรือ ระบุเป็ นสั ดส่ วน หรือระบุ เป็ นคะแนน หรือระบุเป็ นจานวน หรือระบุเป็ นข้ อ


ผลการประเมิน

เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ ของทุกองค์ประกอบ

องค์ประกอบที่ 9

องค์ประกอบที่ 8

องค์ประกอบที่ 7

องค์ประกอบที่ 6

องค์ประกอบที่ 5

องค์ประกอบที่ 4

องค์ประกอบที่ 3

องค์ประกอบที่ 2

องค์ประกอบที่ 1

องค์ ประกอบ

ประเภทสถาบัน

I

P

O

คะแนนการประเมินเฉลีย่

 ค 2 สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี

รวม

ผลการประเมิน 0.00-1.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุ งเร่ งด่วน 1.51-2.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุ ง 2.51-3.50 การดาเนินงานระดับพอใช้ 3.51-4.50 การดาเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดาเนินงานระดับดีมาก

 กลุ่ม ง สถาบันที่เน้นการวิจยั ขั้นสู งและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา

 กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง

 ค 1 สถาบันที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริ ญญาเอก

 กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี

 กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน

ตาราง ส 2. ผลการประเมินตนเองตามองค์ ประกอบคุณภาพ

ไม่นาตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 15 มาคานวณ

หมายเหตุ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 285


ผลการประเมิน

เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ ของทุกมาตรฐาน

มาตรฐานที่ 3

มาตรฐานที่ 2 ข

มาตรฐานที่ 2 ก

มาตรฐานที่ 2

มาตรฐานที่ 1

มาตรฐานอุดมศึกษา

ประเภทสถาบัน

I

P

O

คะแนนการประเมินเฉลีย่

 ค 2 สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี

รวม

0.00-1.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุ งเร่ งด่วน 1.51-2.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุ ง 2.51-3.50 การดาเนินงานระดับพอใช้ 3.51-4.50 การดาเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดาเนินงานระดับดีมาก

ผลการประเมิน

โดยเฉพาะระดับปริ ญญาเอก

ไม่นาตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 15 มาคานวณ

หมายเหตุ

 กลุ่ม ง สถาบันที่เน้นการวิจยั ขั้นสู งและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา

 กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง  ค 1 สถาบันที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา

 กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี

 กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน

ตาราง ส 3. ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการอุดมศึกษา คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 286


ผลการประเมิน

เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมุมมอง

ด้านบุคลากรการเรี ยนรู ้และนวัตกรรม

ด้านการเงิน

ด้านกระบวนการภายใน

ด้านนักศึกษาและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย

องค์ ประกอบ I

P

O

คะแนนการประเมินเฉลีย่

 ค 2 สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี

รวม

0.00-1.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุ งเร่ งด่วน 1.51-2.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุ ง 2.51-3.50 การดาเนินงานระดับพอใช้ 3.51-4.50 การดาเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดาเนินงานระดับดีมาก

ผลการประเมิน

ไม่นาตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 15 มาคานวณ

หมายเหตุ

 กลุ่ม ง สถาบันที่เน้นการวิจยั ขั้นสู งและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา

 กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี

 ค 1 สถาบันที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริ ญญาเอก

 กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง

ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน

ตาราง ส 4. ผลการประเมินตนเองตามมุมมองด้ านการบริหารจัดการ

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 287


คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

288

ตาราง ส. 5 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ประเภทสถาบัน

 กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง  กลุ่ม ง สถาบันที่เน้นการวิจยั ขั้นสู งและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา  ค 1 สถาบันที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริ ญญาเอก  ค 2 สถาบันที่เน้นระดับปริ ญญาตรี คะแนนการประเมินเฉลีย่

มาตรฐานอุดมศึกษา

I

P

O

รวม

ผลประเมิน 0.00-1.50 การดาเนินงานต้องปรับปรุ งเร่ งด่วน 1.51-2.50 การดาเนิ นงานต้องปรับปรุ ง 2.51-3.50 การดาเนิ นงานระดับพอใช้ 3.51-4.50 การดาเนิ นงานระดับดี 4.51-5.00 การดาเนิ นงานระดับดีมาก

หมายเหตุ

1. มาตรฐานด้านศักยภาพและ ความพร้อมในการจัดการศึกษา (1) ด้านกายภาพ (2) ด้านวิชาการ (3) ด้านการเงิน (4) ด้านการบริ หารจัดการ เฉลีย่ รวมทุกตัวบ่ งชี้ของมาตรฐานที่ 1 2. มาตรฐานด้านการดาเนินการ ตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา (1) ด้านการผลิตบัณฑิต (2) ด้านการวิจยั (3) ด้านการให้บริ การทางวิชาการ แก่สงั คม (4) ด้านการทานุบารุ งศิลปะและ วัฒนธรรม เฉลีย่ รวมทุกตัวบ่ งชี้ของมาตรฐานที่ 2 เฉลีย่ รวมทุกตัวบ่ งชี้ของทุกมาตรฐาน ผลการประเมิน

ไม่ นาตัวบ่ งชี้ สมศ. ที่ 15 มาคานวณ


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

289

การนับจานวนอาจารย์ และวิธีการคานวณตามตัวบ่ งชี้ของ สกอ. และ สมศ. ตัวบ่ งชี้

การนับจานวนอาจารย์ ประจา

ตัวบ่ งชี้ สกอ. ที่ 2.2 อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก ตัวบ่ งชี้ สกอ. ที่ 2.3 อาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ตัวบ่ งชี้ สกอ. ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ต่อจานวนอาจารย์ประจา ตัวบ่ งชี้ สมศ. ที่ 5 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการ ตีพิมพ์หรื อเผยแพร่ ตัวบ่ งชี้ สมศ. ที่ 6 งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ ประโยชน์ ตัวบ่ งชี้ สมศ. ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ตัวบ่ งชี้ สมศ.ที่ 14 การพัฒนาคณาจารย์

นับรวมทั้งที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ นับรวมทั้งที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ นับเฉพาะที่ปฏิบตั ิงานจริ ง นับรวมทั้งที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ นับรวมทั้งที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ นับรวมทั้งที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ นับรวมทั้งที่ปฏิบตั ิงานจริ งและลาศึกษาต่อ

การนับ จานวนอาจารย์ประจา ให้นบั ตามระยะเวลาการทางานในรอบปี การศึกษา ทางาน 9 ถึง 12 เดือน คิดเป็ น 1 คน ทางาน 6 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 9 เดือน คิดเป็ น 0.5 คน ทางานน้อยกว่า 6 เดือน ไม่สามารถนามานับได้


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

290

ระยะเวลาเก็บข้ อมูล ตัวบ่ งชี้ สกอ. ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ตัวบ่งชี้ที่ 9.1

ตัวบ่ งชี้ที่ กระบวนการพัฒนาแผน ระบบและกลไกการพัฒนาและบริ หารหลักสูตร อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก อาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู ้ ระบบและกลไกการจัดการเรี ยนการสอน ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรี ยนตามคุณลักษณะของ บัณฑิต ระดับความสาเร็ จของการเสริ มสร้างคุณธรรมจริ ยธรรมที่จดั ให้กบั นักศึกษา ระบบและกลไกการให้คาปรึ กษาและบริ การด้านข้อมูลข่าวสาร ระบบและกลไกการส่งเสริ มกิจกรรมนักศึกษา ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ระบบและกลไกการจัดการความรู ้จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ เงินสนับสนุนงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจา และนักวิจยั

ระบบและกลไกการบริ การทางวิชาการแก่สงั คม กระบวนการบริ การทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ระบบและกลไกการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม ภาวะผูน้ าของสภาสถาบันและผูบ้ ริ หารทุกระดับของสถาบัน การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรี ยนรู ้ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจ ระบบบริ หารความเสี่ ยง ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

รอบปี การเก็บข้ อมูล ปี งบประมาณ ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา เงิน : ปี งบประมาณ จานวนอาจารย์ : ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี งบประมาณ ปี การศึกษา


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

291

ตัวบ่ งชี้ สมศ. ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 1 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 2 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 3

ตัวบ่ งชี้ บัณฑิตปริ ญญาตรี ที่ได้งานทาหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี คุณภาพของบัณฑิตปริ ญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ ผลงานของผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อ เผยแพร่

ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 4

ผลงานของผูส้ าเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อ เผยแพร่

ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 5

งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่

ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 6 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 7 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 8

งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ผลการนาความรู้และประสบการณ์จากการให้บริ การวิชาการมาใช้ใน การพัฒนาการเรี ยนการสอนและการวิจยั ผลการเรี ยนรู้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรื อองค์กรภายนอก การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม การพัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของผูบ้ ริ หารสถาบัน การพัฒนาคณาจารย์ ผลการบริ หารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็ นเอกลักษณ์ ของสถาบัน ผลการชี้นา ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในประเด็นที่ ๑ ภายใน สถาบัน ผลการชี้นา ป้ องกัน หรื อแก้ปัญหาของสังคมในประเด็นที่ ๒ ภายนอกสถาบัน

ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 9 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 10 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 11 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 12 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 13 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 15 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 16.1 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 16.2 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 17 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 18.1 ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 18.2

รอบปี การเก็บข้ อมูล ปี การศึกษา ปี การศึกษา ผลงานตีพมิ พ์ : ปี ปฏิทิน จานวนนักศึกษา : ปี การศึกษา ผลงานตีพมิ พ์ : ปี ปฏิทิน จานวนนักศึกษา : ปี การศึกษา ผลงานตีพมิ พ์ : ปี ปฏิทิน จานวนอาจารย์ : ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

292

การคานวณ ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ ตามตัวบ่งชี้ สมศ. ที่ 14 การพัฒนาคณาจารย์ ต้องพิจารณาค่าน้ าหนักระดับ คุณภาพอาจารย์ดงั นี้ วุฒิการศึกษา ตาแหน่ งทางวิชาการ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก อาจารย์ 0 2 5 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ 1 3 6 รองศาสตราจารย์ 3 5 8 ศาสตราจารย์ 6 8 10 วิธีคานวณ ค่ าดัชนีคุณภาพอาจารย์

=

ผลรวมถ่ วงนา้ หนักของอาจารย์ ประจา จานวนอาจารย์ ประจาทั้งหมด

เกณฑ์ การให้ คะแนน ใช้บญั ญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์เป็ น 6 เท่ากับ 5 คะแนน ตัวอย่ างการคานวณ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง มี 3 คณะ และมีจานวนอาจารย์ซ่ ึงสามารถแจกแจงได้ดงั นี้ ตาแหน่ งทางวิชาการและวุฒิการศึกษา อาจารย์ไม่มีตาแหน่งวิชาการ วุฒิปริ ญญาตรี อาจารย์ไม่มีตาแหน่งวิชาการ วุฒิปริ ญญาโท อาจารย์ไม่มีตาแหน่งวิชาการ วุฒิปริ ญญาเอก ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ วุฒิปริ ญญาตรี ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ วุฒิปริ ญญาโท ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ วุฒิปริ ญญาเอก รองศาสตราจารย์ วุฒิปริ ญญาตรี รองศาสตราจารย์ วุฒิปริ ญญาโท รองศาสตราจารย์ วุฒิปริ ญญาเอก ศาสตราจารย์ วุฒิปริ ญญาตรี ศาสตราจารย์ วุฒิปริ ญญาโท ศาสตราจารย์ วุฒิปริ ญญาเอก รวม

คณะ A 1 14 2 5 13 3 1 3 1 1 0 0 44

คณะ B 2 20 13 2 25 12 0 22 11 0 1 0 108

คณะ C 7 26 4 3 62 1 1 2 0 0 0 1 107

รวมทุกคณะ 10 60 19 10 100 16 2 27 12 1 1 1 259


คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ผลรวมถ่ วงนา้ หนักคณะ A = (0x1)+(2x14)+(5x2)+(1x5)+(3x13)+(6x3)+(3x1)+(5x3)+(8x1)+(6x1)+(8x0)+(10x0) = 132 ดัชนีคุณภาพอาจารย์คณะ A = 132 ÷ 44 = 3.00 คะแนนของคณะ A = 3.00 x 5 ÷ 6 = 2.50 คะแนน ผลรวมถ่ วงนา้ หนักคณะ B = (0x2)+(2x20)+(5x13)+(1x2)+(3x25)+(6x12)+(3x0)+(5x22)+(8x11)+(6x0)+(8x1)+(10x0) = 460 ดัชนีคุณภาพอาจารย์คณะ B = 460 ÷ 108 = 4.26 คะแนนของคณะ B = 4.26 x 5 ÷ 6 = 3.55 คะแนน ผลรวมถ่ วงนา้ หนักคณะ C = (0x7)+(2x26)+(5x4)+(1x3)+(3x62)+(6x1)+(3x1)+(5x2)+(8x0)+(6x0)+(8x0)+(10x1) = 290 ดัชนีคุณภาพอาจารย์คณะ C = 290 ÷ 107 = 2.71 คะแนนของคณะ C = 2.71 x 5 ÷ 6 = 2.26 คะแนน ผลรวมถ่ วงนา้ หนักของมหาวิทยาลัย = (0x10)+(2x60)+(5x19)+(1x10)+(3x100)+(6x16)+(3x2)+(5x27)+(8x12)+(6x1)+(8x1)+(10x1) = 892 ดัชนีคุณภาพอาจารย์ของมหาวิทยาลัย = 892 ÷ 259 = 3.44 คะแนนของมหาวิทยาลัย = 3.44 x 5 ÷ 6 = 2.87 คะแนน

293


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.