หนองหารอ่วม ผลวิจัยชี้คุณภาพน้้าเสื่อม รัฐเร่งวางมติพร่องน้้าลอกหนองแก้ปัญหา ผลวิจัยชี้คุณภาพน้้า ณ จุดต่างๆ บริเวณพื้นที่ชุมชนรอบหนองหารเสื่อมสภาพ หน่วยงานรัฐและองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกันจัดการประชุมหารือเพื่อหาทางแก้ไข ปัญหา จัดตั้ง “โครงการพร่องน้้าหนองหาร” เพื่อก้าจัดวัชพืชใต้น้าที่เป็นสาเหตุท้าให้คุณภาพ น้้าเสื่อมโทรม และคืนค่ามาตรฐานที่เหมาะต่อการใช้อุปโภคและบริโภค โดยขอความร่วมมือ ชาวบ้านงดท้านาปรัง ด้านชาวบ้านไม่เห็นด้วย หวั่นกระทบการอุปโภคบริโภคและการเกษตร ในพื้นที่รอบหนองหาร เมื่อเดือน พ.ย 2562 ที่ผ่านมา นายชัยมงคล ไชยรบ นายก อบจ.สกลนคร พร้อมด้วย นักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อม นักวิชาการด้านการประมง พร้อมปราชญ์ชาวบ้าน ตลอดทั้งองค์กร เอกชน ได้ร่วมกับประชาชนในพื้นที่รอบหนองหาร และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 14 แห่ง ลงความเห็นตรงกันว่าน้้าในหนองหารเริ่มไม่ได้คุณภาพ จึงได้มีการคิดวิธีที่จะปกป้องแหล่งน้้าจืดที่ ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศไทย โดยวางมติในองค์ประชุมว่าจะท้าการบ้าบัดน้้าเน่าเสียที่ จังหวัดสกลนครด้วยการ “พร่องน้้า” ทางผู้สื่อข่าวจึงได้ลงพื้นที่ไปติดตามโครงการดังกล่าว ผศ.ดร. ศมณพร สุทธิบาก หนึ่งในทีมวิจัยน้้าหนองหาร จากคณะวิทยาศาสตร์และ วิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ.สกลนคร เผยว่า จากการวัดระดับคุณภาพน้้าใน หนองหารนั้น ทางส้านักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติให้คุณภาพน้้าหนองหารอยู่ใน ระดับ 3 คือคุณภาพน้้าพอใช้ สามารถน้ามาใช้อุปโภคบริโภคได้ แต่ต้องผ่านกระบวนการกรองน้้า ของประปา การประเมินคุณภาพน้้าจะมีอยู่ 5 ระดับ ได้แก่ ระดับที่หนึ่งคุณภาพน้้าดีมาก ระดับ ที่ 2 คุณภาพน้้าดี ระดับที่ 3 คุณภาพน้้าพอใช้ ระดับที่ 4 คุณภาพน้้าเสื่อมโทรม และระดับที่ 5 คุณภาพน้้าวิกฤต จากผลการวิจัยคุณภาพน้้าหนองหารฤดูแล้ง (เมษายน 2561) พบว่า การวิเคราะห์ คุณภาพน้้าในหนองหารตามมาตารฐานคุณภาพน้้าในแหล่งน้้าผิวดิน โดยการวัดคุณภาพน้้าจะมี
การวัดปริมาณออกซิเจนละลายสูง (DO) ที่ต้องมีค่าระหว่าง 5-8 มิลลิกรัม/ลิตร ค่าบีโอดี (BOD) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัม ปริมาณแอมโมเนียไนโตเจน ไนเตรท ฟอสฟอรัสทั้งหมด แบคทีเรียกลุ่มโคลิ ฟอร์มทั้งหมด และแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม ซึ่งมีการประเมินน้้าในบริเวณ อ.เมืองและ อ. โพนนาแก้ว ที่มีที่ตั้งติดกับหนองหาร 10 สถานี ได้ผลตรวจออกมาว่า คุณภาพน้้าอยู่ในระดับที่ดี และคุณภาพน้้าในล้าห้วยสาขาตามมาตรฐานคุณภาพน้้าในแหล่งน้้าผิวดินอีก 8 สถานี พบว่ามี พื้นที่ที่อยู่ในระดับดี 5 สถานี ระดับพอใช้ 1 สถานี และอยู่ในระดับเสื่อมโทรมอีก 2 สถานี ผศ.ดร.ศมณพร ยังระบุอีกว่า ตั้งแต่ท้าการศึกษาคุณภาพน้้าหนองหารจะมีการ เปลี่ยนแปลงขึ้นลงตามฤดูกาล และในช่วงหน้าแล้งบางครั้งจะขยับไปอยู่ในระดับ 4 โดยเฉพาะโซน ที่เป็นชุมชน ซึ่งบางจุดเริ่มที่จะเสื่อมโทรมจึงท้าให้ทางจังหวัดสกลนครอยากจะรักษาคุณภาพน้้า ไม่ให้เกินระดับ 3 นายชัยมงคล ไชยรบ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร ได้ให้ข้อมูลกับผู้สื่อข่าวว่า น้้าในหนองหารไม่ได้คุณภาพจริงตามที่เป็นข่าว ซึ่งในอดีตหนองหารมีระบบระบายน้้าแบบ ธรรมชาติ คือ การปล่อยน้้าให้ไหลลงสู่ลุ่มน้้าก่้า ซึ่งในหน้าแล้งน้้าจะแห้งจนมองเห็นดอนสวรรค์ แต่เมื่อกว่า 40 ปีก่อน มีการสร้างประตูสุรัสวดีขึ้นเพื่อกักเก็บน้้าไว้ใช้เพื่ออุปโภคบริโภค เนื่องจาก น้้าในหนองหารไม่มีการถ่ายเท และหนองหารเป็นแหล่งรองรับน้้าเสียจากชุมชนต่างๆ ที่อยู่บริเวณ โดยรอบ อาทิเช่น เทศบาลเมืองฮางโฮ ท่าแร่ และเชียงเครือ จึงท้าให้เกิดปัญหาน้้าเสียขึ้นในช่วงที่ ปิดประตูสุรัสวดี และจะเปิดระบายน้้าออกเฉพาะช่วงน้้าหลากในฤดูฝน แต่สิ่งปฏิกูลที่ท้าให้น้าเสีย ยังคงอยู่ข้างล่าง และอีกหนึ่งเหตุผลส้าคัญที่ท้าให้น้าเสีย คือ ผักตบชวา สนุ่น สาหร่าย รวมไปถึง น้้าเสียที่ระบายลงไปในหนองหารโดยไม่ได้รับการบ้าบัด ไม่ใช่เพียงแต่ชุมชนเมืองในเขตเทศบาล สกลนคร แต่ยังรวมไปถึงพื้นที่บริเวณโดยรอบหนองหารทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นสารเคมี ผงซักผ้า น้้ายาล้างจานที่ไหลมารวมกันอยู่ในหนองหาร จึงท้าให้เกิดปัญหากับสัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้้า ปัจจุบัน ปลาในหนองหารคนไม่นิยมที่จะน้ามาบริโภค เนื่องจากกินแล้วพบว่าเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดพยาธิ ใบไม้ในตับและเชื้อโรค ทั้งยังมีผลจากการศึกษาบอกไว้ชัดเจนอีกว่าโรคพยาธิใบไม้ในตับ พบมาก เป็นอันดับหนึ่งของโลกที่หนองหาร นายชัยมงคล กล่าวต่อว่า ทางภาครัฐจึงได้ท้าประชาคมกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น รอบหนองหารทั้ง 14 แห่ง ที่มีประชาชนอาศัยอยู่โดยรอบ และมีมติเห็นชอบสอดคล้องกันว่า
วิธีการพร่องน้้าคือแนวทางการแก้ไขปัญหาน้้าเสียที่ดีที่สุด เพราะใช้งบประมาณน้อยและเป็นการ ใช้ธรรมชาติบ้าบัดน้้าเสีย ซึ่งการพร่องน้้าของหนองหารจ้าเป็นต้องใช้วิธีการบ้าบัดแบบธรรมชาติ คือการค่อยๆ ระบายน้้าออกให้น้าลดลง ซึ่งไม่สามารถค้านวณได้แน่ชัดในแต่ละครั้ง หากพร่อง เสร็จแล้วจะมีการสังเกตการเปลี่ยนแปลงในระยะ 2-3 ร้อยเมตรตรงบริเวณที่น้าลดลงว่า เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด เมื่อพบระดับที่อาจท้าให้เกิดปัญหาจะหยุดการพร่องน้้าในทันที ซึ่ง การระบายน้้าไม่สามารถระบายออกได้ในครั้งเดียวจึงต้องท้าการปล่อยน้้าออกเป็นระยะๆ เพื่อ ไม่ให้เกิดปัญหาน้้าขาดแคลนในช่วงฤดูแล้ง ขณะนี้ทาง อบจ. ได้มีการวางแผนในปีถัดไปส้าหรับโครงการพร่องน้้า โดยการวางแผนขุด ร่องน้้าในการพร่องน้้าในครั้งต่อไปเพื่อใช้กักเก็บน้้า ซึ่งจุดนี้ไม่สามารถท้าให้ส้าเร็จได้ในครั้งเดียว จึงต้องท้าอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยท้าให้คุณภาพน้้าดีขึ้น แต่อาจไม่ดีขึ้นไปทั้งหมดทีเดียว หาก ปล่อยน้้าหนองหารให้แห้งจะก่อให้เกิดความเดือดร้อน จึงต้องมีการประชุมวางแผนให้เป็นระบบ คือ 1. ประปาแบ่งเป็น 2 ภาคส่วน คือ ประปาส่วนภูมิภาคและประปาชุมชน 2. เรื่องการปลูกพืช ในฤดูแล้ง คือข้าวนาปรังเป็นหลัก อาจจะมีมะเขือเทศ และข้าวโพดพ่วงด้วย ซึ่งประชาชนบางกลุ่ม ยอมเสียสละที่จะไม่ท้านาปรังเพื่อให้ทางรัฐบาลท้าการบ้าบัดน้้าในหนองหารให้สะอาดขึ้น ชาวบ้านในพื้นที่ต้าบลหนองบัวแดง ระบุว่า ทางภาครัฐได้มีการลงมาพูดคุยกับชาวบ้าน เกี่ยวกับโครงการพร่องน้้าหนองหารเพื่อบ้าบัดน้้าเน่าเสีย พร้อมทั้งแจ้งกับทางชาวบ้านว่าจะมีการ ปล่อยน้้าออกจากหนองหาร จึงขอความร่วมมือกับชาวบ้านให้งดท้านาปรัง ซึ่งชาวบ้านบางส่วนไม่ เห็นด้วยกับโครงการนี้ เพราะกลัวกระทบกับการอุปโภคบริโภคและการเกษตรในพื้นที่รอบหนอง หาร เนื่องจากน้้าในหนองหารคือแหล่งอุปโภคบริโภคหลักของชาวบ้าน นอกจากนี้ ชาวบ้านยังกล่าวเพิ่มเติมว่า ในอดีตก้านันท้าเรื่องของบประมาณกับกรม อนามัยเพื่อมาจัดตั้งเครื่องสูบน้้า ควบคู่กับการใช้คลอรีนและสารส้มบ้าบัดน้้าผ่านเครื่องกรอง เพื่อ ผลิตน้้าสะอาดแจกจ่ายกันใช้ภายในชุมชน พร้อมกับมีคณะกรรมการคอยดูแลและช่วยกันบริหาร ภายในชุมชน แต่ในระยะหลังมีการโอนคืนให้กับเทศบาลเป็นผู้ดูแล ในช่วงแรกน้้ายังสามารถใช้ อุปโภคบริโภคได้ปกติ แต่ในระยะหลังไม่สามารถใช้บริโภคได้เนื่องจากมีตะกอนตกค้าง ชาวบ้านจึง ซื้อน้้าถังราคา 10-12 บาท มาดื่มกินตลอดช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา
ด้านชาวประมง บ้านท่าวัดใต้ ต.เหล่าปอแดง อ.เมือง จ.สกลนคร กล่าวว่า น้้าหนองหาร เน่าเสียจริงแต่เป็นเพียงบางจุด เนื่องจากมีน้าทิ้ง น้้าเน่าเสีย ที่มีที่มาจากทั้งในตัวเมืองหรือใน ชุมชนรอบหนองหารไหลลงมาสะสมในหนองหารเป็นระยะเวลาหลายปีท้าให้เกิดน้้าเน่าเสีย จาก เดิมที่สามารถหาปลาได้จ้านวนมากถึงวันละ 70-80 กก. ปัจจุบันหาได้น้อยลง เหลือเพียงวันละ สิบกว่ากิโลกรัม พอให้ประทังชีวิต ซึ่งไม่คุ้มกับการลงทุน ทั้งยังต้องออกไปหาไกลถึงดอนสวรรค์จึง จะได้ปลา ชาวประมงบางคนเป็นแผลก็ไม่สามารถลงน้้าหาปลาได้เพราะในน้้ามีเชื้อโรคที่เป็น อันตรายสะสมอยู่ จึงต้องยอมเสียรายได้ในส่วนนี้ไป นอกจากนี้ นายชัยมงคล ยังกล่าวเพิ่มเติมว่า ผักตบชวาที่ท้าให้น้าเสียนั้นทางภาครัฐมีแผน ที่จะน้าขึ้นมาท้าปุ๋ยคอก และแจกจ่ายให้กับประชาชนหลังจากมีการพร่องน้้าไปแล้วในระยะหนึ่ง ซึ่งทางภาครัฐไม่สามารถใช้เรือโป๊ะเพียงอย่างเดียวในการก้าจัดผักตบชวา และวัชพืชในหนองหาร ที่มีพื้นที่กว่า 74,000 ไร่ได้ทั้งหมด พร้อมทั้งขอความร่วมมือจากประชาชนในพื้นที่และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องรวม 14 องค์กรส่วนท้องถิ่นให้ช่วยกันก้าจัดผักตบชวาในหนองหาร เพื่อลดปัญหาน้้าเน่า เสียที่เกิดขึ้น และการพร่องน้้าไม่ใช่การระบายน้้าทิ้งแต่เป็นการน้าน้้าไปใช้ในการเกษตรให้คนที่อยู่ ท้ายน้้า คือลุ่มน้้าก่้าได้ใช้ประโยชน์ เมื่อพร่องน้้าแล้วจะกระจายข่าวบอกประชาชนให้เตรียมพื้น ที่ดินในการเพาะปลูกหลังจากเสร็จฤดูเก็บเกี่ยวข้าว
ตามความคืบหน้า1042.40 ลบ. พัฒนาเมืองสารคาม ความคืบหน้าโครงการพัฒนาพื้นที่ชุมชน จ. มหาสารคาม ล่าสุดทางเทศบาลเมือง มหาสารคามได้เสนอขอรับการสนับสนุนโครงการจ้านวน 27 โครงการ โดยใช้งบประมาณ ทั้งสิ้นในวาระแรก คือเวลา 4 ปี จ้านวนเงิน 1042.40 ล้านบาท ซึ่งจัดสรรงบประมาณ แบ่งเป็น 4 พื้นที่ ประกอบด้วย เทศบาลเมืองมหาสารคาม, เทศบาลต้าบลโคกพระ, เทศบาล ต้าบลบรบือ และเทศบาลต้าบลพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคามได้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมโยธาธิการและผังเมือง 27 โครงการ จ้านวน 1,042.40 ล้านบาทในวาระแรก (4 ปี) ซึ่งมีพื้นที่ของบประมาณจ้านวน 4 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองมหาสารคาม จ้านวน 10 โครงการ ใช้งบประมาณ 661.11 ล้านบาท เทศบาลต้าบลโคกพระ จ้านวน 3 โครงการ ใช้งบประมาณ 70.17 ล้านบาท เทศบาลต้าบลบรบือ จ้านวน 11 โครงการ ใช้งบประมาณ 154.55 ล้านบาท และเทศบาลต้าบลพยัคฆภูมิพิสัย จ้านวน 3 โครงการ ใช้งบประมาณ 156.57 ล้านบาท นายสายยันต์ ภิรมย์กิจ ปลัดเทศบาลเมืองมหาสารคาม เผยว่า ความคืบหน้าโครงการ พัฒนาพื้นที่ชุมชนจังหวัดมหาสารคาม ณ ตอนนี้ มี 2 โครงการที่ได้มีการศึกษาออกแบบและอยู่ ในช่วงเจรจาขอใช้พื้นที่ ซึ่งมีแบบแปลน แผนงาน คือโครงการก่อสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 บริเวณหัวมุมตรงข้ามหอนาฬิกา และโครงการ ก่อสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 บริเวณหน้าอาคาร MK Park (ศาลากลางเก่า) และงบประมาณสนับสนุนการก่อสร้าง 70,863,012 ล้านบาท เพื่อใช้ในการด้าเนินโครงการ นอกจากนี้ยังมีโครงการที่ ด้าเนินการไปแล้ว กว่า 70% โดย 20 โครงการหลักเป็นโครงการ ซ่อมถนนคอนกรีตและปรับปรุงสะพานเจริญราช เด็จ3 บริเวณโรงพยาบาลสุทธาเวช และมีโครงการที่คาดว่าจะแล้วเสร็จทั้งหมดในปี 2563 ได้แก่ โครงการสวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติพระนางเจ้าสิริกติ ิ์ โครงการถนนเฉลิมพระเกียรติ และ โครงการสวนเฉลิมพระเกียรติหนองข่า จากวารสารเทศบาลเมืองมหาสารคาม ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 เดือนธันวาคม 2561 ถึงเดือน มกราคม 2562 ระบุว่า รัฐบาลได้เล็งเห็นความส้าคัญของการพัฒนาพื้นที่ชุมชนจังหวัดมหาสาร
คาม จึงได้มอบหมายให้กรมโยธาธิการและผังเมืองกระทรวงมหาดไทยว่าจ้าง บริษัทไฟนอล ดีไซน์ คอนซัลแตนท์ ให้ท้าการศึกษาเพื่อพัฒนาพื้นที่ชุมชนจังหวัดมหาสารคาม เพื่อศึกษาความ เหมาะสมและออกแบบรายละเอียดด้านโครงสร้างพืน้ ฐานสาธารณูปโภคให้เป็นไปตามระบบ โครงสร้างพื้นฐาน โดยหวังให้เกิดการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของชุมชนให้เป็นตาม มาตรฐาน มีความเป็นระเบียบสวยงาม ปลอดภัย และเป็นเมืองที่น่าอยู่ ตลอดจนเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวที่มีคุณภาพและสภาพแวดล้อมที่ยั่งยืน ด้านนายคณภััทร บุญศรี ผู้อ้านวยการส่วนควบคุมการก่อสร้างอาคารและผังเมือง เผยว่า กรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นผู้จัดจ้าง บริษัทไฟนอล ดีไซน์ คอนซัลแตนท์ ให้เข้ามาส้ารวจพื้นที่ ทัว่ จังหวัดมหาสารคามและรับผิดชอบในด้านการออกแบบ โดยมีพื้นที่ด้าเนินการ ได้แก่ เทศบาล เมืองมหาสารคาม โคกพระ บรบือ และพยัคฆภูมิพสิ ยั ซึ่งทั้ง 4 พื้นที่นี้ตนมองว่าเป็นจุดที่มีอาคาร บ้านเรือนและประชาชนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น นอกจากนี้ นายสายยันต์ กล่าวต่ออีกว่า โครงการก่อสร้างปรับปรุงผิวจราจร ทางเท้าและ ภูมิทัศน์ 6 สาย เป็นโครงการที่มีแบบแผนชัดเจนแล้ว แต่เนื่องจากงบประมาณที่อนุมัติแต่ละ โครงการไม่ได้อนุมัติพร้อมกันทั้งหมดทีเดียว จึงจ้าเป็นต้องด้าเนินโครงการตามงบประมาณที่ได้รับ ไม่สามารถท้าตามแผนงานหลักที่วางไว้ได้ อีกทั้งเทศบาลเมืองมหาสารคามจะได้รับการสนับสนุนงบประมาณเร่งด่วนจากกรมโยธาธิ การและผังเมืองในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จ้านวน 1 โครงการ คือโครงการปรับปรุงผิวจราจร ทางเท้าและภูมิทัศน์ ถนนนครสวรรค์ งบประมาณทั้งสิ้น 134.64 ล้านบาท เพื่อการพัฒนาผิว จราจรในเขตเทศบาลให้ได้มาตรฐานตามหลักวิศวกรรมและสะดวกต่อการสัญจรของประชาชน พร้อมทั้งปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบของถนนให้สวยงาม มีการปลูกต้นไม้ประจ้าถิ่นเพื่อสร้างความ ร่มรื่น ในทั้งหมด 3 เส้นทาง ได้แก่ 1. ถนนนครสวรรค์ ระยะทาง 7.69 กม. งบประมาณ 134,640,000 บาท 2. ถนนผดุงวิถี ระยะทาง 3.59 กม. งบประมาณ 58,104,321 บาท 3. ถนน มหาสารคาม - วาปีปทุม ระยะทาง 1.30 กม. งบประมาณ 21,047,070 บาท นอกจากนี้ยังมี โครงการก่อสร้างซุ้มประตูเมืองอีก 4 แห่ง ได้แก่ ซุ้มประตูเมืองแยกวังยาว, แยกบ้านหม้อ, แยก แก่งเลิงจาน และแยกพลศึกษา โดยใช้งบประมาณสนับสนุนการก่อสร้าง จ้านวน 103,840,000 บาท
ซึ่งงบประมาณทั้ง 27 โครงการแบ่งออกเป็น 4 พื้นที่ชุมชน คือพื้นที่เทศบาลเมือง มหาสารคาม, เทศบาลต้าบลบรบือ, เทศบาลต้าบลโคกพระ และเทศบาลต้าบลพยัคฆภูมพิ ิสัย ได้แก่ 1) โครงการก่อสร้างปรับปรุงผิวจราจร ทางเท้า ภูมิทัศน์ ถนนนครสวรรค์ งบประมาณ 139 ล้านบาท 2) โครงการก่อสร้างปรับปรุงผิวจราจร ทางเท้า ภูมิทัศน์ ถนนผดุงวิถี งบประมาณ 50.47 ล้าน บาท 3) โครงการก่อสร้างปรับปรุงผิวจราจร ทางเท้า ภูมิทัศน์ ถนนมหาสารคาม-วาปีปทุม งบประมาณ 24.05 ล้านบาท 4) โครงการก่อสร้างซุ้มประตูเมือง งบประมาณ 101.78 ล้านบาท 5) โครงการก่อสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 4 งบประมาณ 104 ล้านบาท 6) โครงการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ งบประมาณ 125 ล้านบาท 7) โครงการปรับปรุงสวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ งบประมาณ 25.50 ล้านบาท 8) โครงการปรับปรุงสวนสาธารณะหนองข่า งบประมาณ 54.83 ล้านบาท 9) โครงการปรับปรุงสวนสาธารณะเลิงน้้าจั่น งบประมาณ 18.23 ล้านบาท 10) โครงการปรับปรุงสวนสุขภาพสมถวิล งบประมาณ 18.23 ล้านบาท 11) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนสุขาภิบาล 1 งบประมาณ 16.04 ล้านบาท 12) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนสุขาภิบาล 2 งบประมาณ 4.51 ล้านบาท 13) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนสุขาภิบาล 5 งบประมาณ 3.13 ล้านบาท 14) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนสุขาภิบาล 6 งบประมาณ 1.46 ล้านบาท 15) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนสุขาภิบาล 10 งบประมาณ 7.37 ล้านบาท 16) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนสุขาภิบาล 11 งบประมาณ 23.06
ล้านบาท 17) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนสุขาภิบาล 17 งบประมาณ 8.37 ล้านบาท 18) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนสุขาภิบาล 30 งบประมาณ 5.40 ล้านบาท 19) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนทล.219 (บรบือ-นาเชือก) งบประมาณ 11.48 ล้านบาท 20) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนทล.23 (แจ้งสนิท) งบประมาณ 30.73 ล้านบาท 21) โครงการสวนสาธารณะเทศบาลต้าบลบรบือ งบประมาณ 43.01 ล้านบาท 22) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนทล.2188 งบประมาณ 16.54 ล้าน บาท 23) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ล้ารางคอนกรีต งบประมาณ 10.50 ล้านบาท 24) โครงการปรับปรุงสวนสาธารณะหนองบัว งบประมาณ 43.13 ล้านบาท 25) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนนุตจรัส งบประมาณ 26.33 ล้าน บาท 26) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้้าและป้องกันน้้าท่วม ถนนราษฎร์สามัคคี งบประมาณ 23.76 ล้านบาท 27) โครงการปรับปรุงสวนสาธารณะสวนพุทธธรรม งบประมาณ 106.48 ล้านบาท ผู้สื่อข่าวได้ลงพื้นที่สอบถามชาวบ้านบริเวณพื้นที่ในโครงการปรับปรุงสวนสุขภาพเฉลิม พระเกียรติ ที่ใช้งบประมาณ 25.50 ล้านบาท อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาลเมือง หนึ่งใน โครงการพัฒนาพื้นที่ชุมชนจังหวัดมหาสารคาม พบว่าชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่ทราบรายละเอียด เกี่ยวกับเรื่องโครงการ เห็นมีเพียงป้ายประกาศที่ทางหน่วยงานรัฐมาติดประกาศไว้เท่านั้น ไม่ได้มี การประชาคมหรือประกาศให้ชาวบ้านทราบโดยตรง ชาวบ้านที่อยู่บริเวณสวนสาธารณะเฉลิมพระ เกียรติยังระบุอีกว่า ไม่เห็นความเปลี่ยนแปลงอะไรเท่าที่ควร อีกทั้งท้าให้บริเวณรอบนอกรถสัญจร ล้าบากส่งผลกระทบต่อการค้าขาย