LMC.NEWSLETTER
จดหมายข่าวฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 0166203 การเขียนและการรายงานข่าวรายงานข่าว สาขาวิชาภาษาเพื่อการสร้างสรรค์สื่อ
ม.สารคาม เตรียมแผนสร้าง!ตึกสำ�นักคอมฯ-ใหม่ หวังเป็นแลนด์มาร์คใหม่ของมมส เริ่มตุลาคม62!!
วันที่ 21 เดือนพฤจิกายน พ.ศ. 2561 ปีที่ 13 ฉบับที่ 8
ผู้อำ�นวยการสำ�นักคอมพิวเตอร์ ได้ออกมาเปิดเผยว่า มหาวิทยาลัย มหาสารคาม กำ�ลังวางแผนสร้างตึกสำ�นักคอมพิวเตอร์แห่งใหม่ เป็นตึกดิจิทัล เซ็นเตอร์ พร้อมระบบสารสนเทสครบครัน เพื่อเป็นแลนมาร์กแห่งใหม่ และ ศูนย์แสดงผลงานนิสิต ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(มมส) ด้านรองแผน ยันหากจัดการโรงพยาบาลแล้วเสร็จ จะริเริ่มพิจารณาตึกสำ�นักคอมใหม่ทันที โดยภายในปี62 นั้นจะสามารถของบประมาณได้ และคาดการณ์ว่า จะเริ่ม ก่อสร้างภายใน ตุลาคม ปี62 ซึ่งจะใช้พลังงานธรรมชาติมาช่วยมอบพลังงาน อ่านต่อหน้า 2 บริเวณที่วางโครงสร้างสำ�นักคอมพิวเตอร์ใหม่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่มีพื้นที่กว้าง และ วาง โครงการสร้างสำ�นักคอมพิวเตอร์ใหม่ เพื่อให้นิสิต หรืออาจารย์ใช้งาน โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น
หอพักเก่า”ม.ใหม่”หวั่นรายได้ตก นิสิตหนุนบริการหอพักใหม่เพิ่ม!
พ.ย. 61 นี้ เทศกิจฯท่าขอนยาง จับมือขามเรียงเตรียม “ตรวจจับ ปรับ ยึด” ร้านค้ารุกล้ำ�ทางเท้า
ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ ได้
ออกความคิดเห็นว่า ในอนาคตอันใกล้ ธุรกิจหอพักในบริเวณรอบมหาวิทยาลัย มหาสารคาม (มมส) จะเกิดการแข่งขัน และผลักตัวสูงขึ้น พร้อมทั้งเตือนหอพัก เก่า มีโอกาสที่จะซบเซา ด้านเจ้าของ ทางเดินเท้าฝั่งท่าขอนยาง มีป้าย และ ร้านค้าตั้งอยู่บนทางเดินเท้าทำ�ให้ผู้คนเดินทางได้ลำ�บาก หอพักเก่านั้น ทราบเรื่องเตรียมปรับปรุง ห้องพักเพื่อรั้งลูกค้า นิสิตให้ความเห็น เทศกิจท่าขอนยางเตรียมลงพื้นที่ตรวจสอบ พร้อมจัดการระเบียบทางเท้า หอพักใหม่สะอาดและ ปลอดภัย น่าอยู่ ฝั่งท่าขอนยาง โดยตามกฎหมาย พรบ.รักษาความสะอาด ด้านผู้ประกอบการอ้าง หอพักบริเวณรอบ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต.ท่า อาศัยกว่าหอพักเก่า เทศกิจไม่ได้มาตักเตือนโดยตรงแต่บอกผ่านเจ้าของพื้นที่ให้เช่า ผู้เชี่ยวชาญด้านกฏ อ่านต่อหน้า 4 ขอนยาง ที่เปิดให้บริการมานานหลายปี และเสี่ยงซบเซา หมายให้ความเห็นกับเรื่องนี้ว่าโดยการตั้งร้านบนทางเท้านั้น ไม่สามารถทำ�ได้ แต่ สามารถอนุโลมและเสียค่าปรับ หรือ ค่าทำ�เนียมทดแทนได้ อ่านต่อหน้า 3
นิสิตวอนจุดรอรถราง ขอที่นั่งรอแสงสว่าง กองอาคารฯ ชี้สร้างได้แต่ต้องรออนุมัติ
นิสิตมมส วอนมหาวิทยาลัยจัดการเรื่องการรอรถราง ร้องต้องการที่นั่ง รอ และ แสงสว่างบริเวณจุดรอรถราง เนื่องจากมีผู้ใช้บริการจำ�นวนมาก นัก วิชาการด้านสถาปัตย์ฯ และ วิศวะฯ ชี้ จุดจอดรถรางสามารถสร้างได้ ขึ้น อยู่กับพื้นที่ ด้าน ผอ.กองอาคารฯเผยการสร้างไม่ได้สร้างง่ายๆ ต้องขออนุมัติ มหาวิทยาลัยก่อน แต่เห็นใจโดยเฉพาะช่วงหน้าฝน พร้อมรับฟังความเห็นนิสิต เพื่อนำ�มาปรับปรุงและแก้ไขต่อไป อ่านต่อหน้า 2
จุดรอรถราง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ม.ใหม่ ไม่มีจุดให้นั่งพัก หรือ ร่มเงาให้นิสิต และ ไม่มี ป้ายบอกเวลารถลาง หรือ แผนที่บอกทางของรถลาง ในภาพนิสิตยืนรอรถรางท่ามกลางอากาศร้อน
สำ�นักคอมฯใหม่ ต่อจากหน้า1
ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ฉั ต รเกล้ า เจริญผล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เผยถึงการสร้าง ตึก ส�ำนักคอมพิวเตอร์หลังใหม่ว่า ทาง ส�ำนักคอมฯ ได้มีการหารือกับคณาจารย์ ภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เกี่ยว กั บ การวางแผนการสร้ า งตึ ก ส� ำ นั ก คอมพิวเตอร์หลังใหม่ ซึ่งยังอยู่ในช่วงของ การเก็บรวบรวมข้อมูลและศึกษาเกี่ยวกับ รูปแบบโครงสร้างของตึกต่าง ๆ เพื่อใช้ อ้างอิง ทั้ ง นี้ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก คอมฯ ยั ง ได้ ก ล่ า วถึ ง รู ป แบบตึ ก KNOWLEDGE EXCHANGE FOR INNOVATION CENTER (KX) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี และ อาคาร digital learning ของมหาวิทยาลัยมหิดล ที่มีการ ลงพื้นที่ส�ำรวจ เพื่อน�ำมาวางแผนคล่าวๆ ไว้ก่อน หลังจากนั้นจะท�ำหนังสือยื่นถึง สโมสรนิสติ ทุกคณะ เพือ่ สอบถามถึงความ ต้องการของนิสิต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉัตรเกล้า เจริญผล ได้กล่าวเพิ่มเติมถึงโครงสร้าง ของตึกส�ำนักคอมพิวเตอร์หลังใหม่ว่า รูป แบบตึกเป็นระบบดิจิทัลเซ็นเตอร์ เปิด ให้บริการ 24 ชม. มีทั้งหมด 5-6 ชั้น แบ่ง ได้ดังนี้ ชั้นที่ 1-2 เป็นลานจอดรถ ชั้นที่ 3 เป็นพื้นที่โล่ง เป็นโชว์เคส ฟรีเสปรส มี โซนเอ้าดอร์ให้นิสิต ได้นั่งท�ำกิจกรรม ต่าง ๆ ได้ชั้น 4 แบ่งออกเป็นสามโซน ดังนี้ keep quiet คือ โซนส�ำหรับอ่านหนังสือ โซนกลาง คือ โซนพูดคุย โซนสุดท้าย คือ โซนกิจกรรม นิสิตสามารถใช้พื้นที่ในการ ท�ำกิจกรรมได้อย่างเต็มที่ ชัน้ ที่ 5 เป็นห้อง คอมพิวเตอร์ และมีอินเตอร์เน็ตความเร็ว สูง ซึ่งนิสิตสามารถน�ำอุปกรณ์ส่วนตัว
LMC.NEWSLETTER มาใช้ได้เพราะส�ำนักคอมพิวเตอร์มีราง ปลั๊ ก ไฟ และสายอิ น เตอร์ เ น็ ต ให้ ต ่ อ ได้ พร้อมทัง้ สัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ไว้ให้บริการ ส่วนที่เหลือคือห้องประชุมที่ สามารถถ่ายทอดสดได้ ในอนาคตจะมีการ เรียนกับชาวต่างชาติ และอาจารย์ตา่ งชาติ สอนผ่านออนไลน์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักคอมฯ เผยอีกว่า ทางส� ำ นั ก คอมฯ จะเริ่ ม ด� ำ เนิ น การยื่ น เรือ่ งของบประมาณในการสร้างส�ำนักคอม หลังใหม่ ภายในเดือนมกราคม 62 หาก ผ่านการอนุมัติจะใช้เวลาในการเขียนแบบ ประมาณ 6 เดือน โดยจะเริม่ ก่อสร้างเดือน ตุลาคม ปี 62 ทั้งนี้ตึกส�ำนักคอมพิวเตอร์ หลังใหม่ จ�ำเป็นต้องใช้ไฟฟ้าในจ�ำนวนมาก จึงต้องมีการวางแผนท�ำให้ตกึ ออกมาในรูป แบบประหยัดพลังงาน ซึ่งส�ำนักคอมฯ จะ เลือกใช้พลังงานธรรมชาติเข้ามาช่วย อาจ จะมีการติดโซล่ารูฟ และจะน�ำพลังงาน ลมมาเสริม ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร. พลเดช เชาวรั ต น์ คณะบดี ค ณะสถาปั ต ยกรรม ศาสตร์ฯ ได้กล่าวว่า การจะท�ำให้ตึกใช้ พลังงานน้อยที่สุดท�ำได้หลายวิธี หนึ่งทาง เลือกทีน่ า่ สนใจคือโซลาร์รฟู (Solar Roof) ระบบเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์มาเป็น พลังงานไฟฟ้า “เป็นการลงทุนในระยะยาว พอสมควร ต้นทุนค่อนข้างสูง แต่ตอนนี้ ราคาก็ลงมาเรือ่ ยๆแล้ว นอกจากนัน้ เรายัง ขอสนับสนุนจาก กองทุนอนุรักษ์พลังงาน ได้ด้วย ซึ่งกองทุนนี้เป็นกองทุนที่หน่วย งานรัฐหรือหน่วยงานต่างๆซึ่งกองทุนนี้ เป็นกองทุนที่หน่วยงานรัฐหรือหน่วยงาน ต่างๆ เพื่อลดการใช้พลังงานได้ อันนี้ก็จะ ท�ำให้ต้นทุนของโซล่ารูฟ นั้นลดลง” ด้าน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สหลาภ หอมวุฒิวงศ์ รองคณบดีคณะวิศวกรรม ศาสตร์ กล่าวอีกว่า
การสร้างตึกขนาดใหญ่พิเศษและยิ่งเป็น อาคารคอมพิวเตอร์ที่มีระบบไอที ค่า ใช้จ่ายค่อนข้างสูงกว่าอาคารเรียนปกติ รวมทั้งการออกแบบอาคารให้ประหยัด พลังงานด้วยแล้วจะยิ่งสูงขึ้นไปอีก แต่ หากมองในระยะยาวถือเป็นการลงทุนที่ คุ้มค่า ในเรื่องรูปแบบของตึกที่จะมีการ ออกแบบให้ชั้น 1-2 เป็นลานจอดรถ จุดนี้ จะต้องค�ำนึงถึงความปลอดภัยเป็นอย่าง มาก“มันต้องไปดูฟังชั่นการจอดรถ ขนาด ของรถที่ขึ้นได้ ความราดชัน ต้องมีการ ควบคุมความเร็ว อย่างมอเตอร์ไซค์เวลา ขึน้ ทีส่ งู มันจะศูนย์เสียเสถียรภาพ เลยต้อง ช้าลง ความปลอดภัยถือว่าเป็นข้อก�ำหนด ของการออกแบบลานจอดรถ” ผศ.ดร. สห ลาภ กล่าวปิดท้าย นอกจากนี้ ผศ.ดร. ฉัตรเกล้า ยังเผย อีกว่า บริษทั ทีจ่ ะมารับผิดชอบอาจจะต้อง เปิดประมูล เพราะอยากท�ำให้เป็นการ ค้าเสรี และบริษัทที่จะได้รับการพิจารณา จะต้องมีที่ปรึกษาด้านการควบคุมดูแล ห้อง ดาต้าเซ็นเตอร์ (Data Center) ได้ เพราะฉะนัน้ การออกแบบ ความปลอดภัย อากาศที่ต้องควบคุมให้อยู่ใน 17 องศา การไดร์ความชื้น การเก็บสายไฟ ทั้งหมด ต้องมีความปลอดภัย ด้านรองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล รองอธิการบดีฝ่ายแผนและกิจการ พิ เ ศษ เผยอี กว่ า ในการสร้ างตึ กส� ำ นั ก คอมพิวเตอร์หลังใหม่ตอ้ งใช้งบประมาณสูง จ�ำเป็นต้องรอให้ส่วนอื่นที่มีความส�ำคัญ เสร็จก่อน เช่น การสร้างโรงพยาบาล จึงจะ สามารถวางงบประมาณในส่วนนี้ได้ “ทางมหาวิ ท ยาลั ย ก็ ล งความเห็ น ว่ า ควรจะมี แต่ เ นื่ อ งจากว่ า เรามี ค วาม จ�ำเป็นในการที่ต้องใช้จ่ายงบประมาณใน เรื่องที่ส�ำคัญอีกมาก เช่น การก่อสร้างโรง พยาบาล
ท�ำให้โรงพยาบาลมีความยั่งยืน หลังจาก นั้นเราก็จะมาพิจารณาเรื่องของอาคาร ส�ำนักคอมพิวเตอร์ใหม่ต่อไป” จากผล ส�ำรวจความคิดเห็นของนิสติ และบุคลากร ในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พบว่า มีทงั้ ผู้ ทีเ่ ห็นด้วย และไม่เห็นด้วย ซึง่ ส่วนใหญ่เห็น ด้วยพร้อมให้เหตุผลว่า อาคารเก่าพื้นที่ ใช้สอยไม่เพียงพอต่อการใช้งานของนิสิต และอยากให้อาคารหลังใหม่เพิ่มโซนอ่าน หนังสือให้มีมากขึ้น รวมทั้งระยะเวลาใน การเข้าใช้บริการ ส่วนบุคคลที่ไม่เห็นด้วย ให้เหตุผลว่า อาคารเก่าก็ยังใช้งานได้ตาม ปกติ แต่อยากให้ไปปรับปรุงอาคารทีเ่ สือ่ ม สภาพแล้วมากกว่า อีกทั้งมหาวิทยาลัยยัง มีอาคารที่ยังก่อสร้างไม่เสร็จ ทั้งนี้ยังมีการพูดถึงประโยชน์ที่จะได้ รับ ว่านิสติ จะได้รบั ประโยชน์เต็มทีห่ รือไม่ หากน�ำพื้นที่ชั้น 1-2 ที่จะท�ำเป็นที่จอดรถ มาท�ำอย่างอื่นที่มีประโยชน์กว่า เช่น ห้อง ส�ำหรับการเรียนรู้ของนิสิตทั้ง 5 ชั้นเลย นิสิตอาจจะได้รับประโยชน์กว่า
รถราง ต่อจากหน้า1 จากการส�ำรวจความคิดเห็นของนิสิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เรื่องจุดจอด รถรางว่า นิสิตมีความต้องการให้จุดจอด รถรางมี ที่ นั่ ง และแสงไฟตามจุ ด จอด ต่างๆภายในมหาวิทยาลัย เนือ่ งจากมีนสิ ติ จ�ำนวนมากเลิกเรียนในเวลาค�่ำบริเวณจุด จอดรถรางมีความสว่างไม่เพียงพอ สร้าง ความหวาดกลัวให้กับนิสิต อีกทั้งจ�ำนวน ผู้ใช้บริการมีจ�ำนวนมากส่งผลให้ที่นั่งไม่ เพียงพอ จึงต้องใช้เวลารอรถคันต่อไป จึงมี ความต้องการทีน่ งั่ รอและแสงไฟเพือ่ ความ สะดวกสบายและความปลอดภัย นางฉันทลักษณ์ สาช�ำนาญ ผู้อ�ำนวย การกองอาคารสถานที่ ได้กล่าวในเบือ้ งต้น
LMC.NEWSLETTER ว่ามหาวิทยาลัยได้ดูพิจารณาจุดจอดรถ ราว่าพื้นที่ไหนควรสร้างแบบใด มีความ เหมาะสมทีจ่ ะสร้างสิง่ ปลูกสร้างหรือไม่ ซึง่ บางจุดจอดมีพนื้ ทีแ่ คบจึงไม่สามารถสร้าง ที่นั่งรอรถได้ และจัดสรรพื้นที่ว่าควรท�ำ อย่างไร ทางมหาวิทยาลัยจะดูความเหมาะ สมต่อไป ว่าสามารถท�ำได้หรือไม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาว รัตน์ คณะบดีคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ กล่าวถึงการสร้าง จุดจอดรถรางว่าสามารถสร้างได้ ทั้งรูป แบบที่เป็นโครงสร้างเหล็ก และจุดจอดรถ อัจฉริยะทีส่ ามารถบอกว่ารถรางอยูจ่ ดุ ไหน บางจุดไม่มที อ่ี าจจะเลือ่ นลงไปอยูด่ า้ นหลัง เป็นศาลาเล็กๆบริเวณริมต้นไม้ไม่ให้ขวาง ทางฟุตปาธ แต่อาจต้องเลือกจุดใหม่ซึ่ง สามารถออกแบบปรับเปลี่ยนได้หมด ซึ่งสามารถออกแบบปรับเปลี่ยนได้หมด ด้าน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สหลาภ หอมวุฒิวงศ์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและ กิจการนิสิตกล่าวเสริมว่า หากไม่มีพื้นที่ สร้างจุดจอดสามารถสร้างเป็นเตนท์ผ้าใบ ไม่จำ� เป็นต้องเป็นขนาดใหญ่หรือดูจดุ จอด ว่าตรงไหนมีนสิ ติ ใช้บริการจ�ำนวนมาก เช่น อาคารเรียนรวมหรืออาคารเรียนศึกษา ทั่วไปให้สามารถบังแดดบังฝนได้ มีไฟมี แสงสว่างพร้อมที่นั่ง รองคณบดีฝ่า ยวิชาการและกิจ การ นิ สิ ต กล่ า วต่ อ ว่ า หากสามารถท� ำ ป้ า ย อั จ ฉริ ย ะที่ บ อกว่ า รถรางจะมาภายในกี่ นาที หรือว่ามีจอแอลอีดีบอกว่ารถรางอยู่ ตรงไหน นิสิตจะหันมาใช้รถรางมากยิ่ง ขึ้น ซึ่งสวัสดิภาพของนิสิตจะดีขึ้นอ้างอิง จากอุ บั ติ เ หตุ เ มื่ อ ปี ที่ แ ล้ ว ซึ่ ง มี นิ สิ ต เสี ย ชีวิตหลายราย ผู้อ�ำนวยการกองอาคาร และสถานที่ได้กล่าวต่อว่า การสร้างสิ่ง ก่อสร้างใช่ว่าสามารถสร้างได้ในทันที จะ ต้ อ งขออนุ มั ติ ง บประมาณ อนุ มั ติ ส ภา มหาวิทยาลัย
ในการท�ำเป็นสิ่งก่อสร้างเหล่านี้แต่ในบาง จุดซึ่งเป็นหน้าคณะต่างๆอาจพบปัญหา บดบั ง ทั ศ นี ย ภาพ ซึ่ ง ในอนาคตอาจจะ สามารถสร้างได้ในบางจุด ไม่ใช่ทกุ จุด ต้อง เรียนทางผูบ้ ริหารต่อไป ซึง่ ระหว่างนีย้ งั คง ต้องปล่อยให้เป็นแบบเดิมไปก่อน เรื่องที มืด อยากให้มแี สงไฟจะลองพิจารณาแก้ไข ปัญหา ผู้อ�ำนวยการกองอาคารและสถานที่ ได้กล่าวถึง การรอรถรางในฤดูฝนว่ามี ความเห็นใจ เกิดความล�ำบากในการยืน รอ แต่ในความเป็นจริงไม่ได้รอนาน ไม่เกิน ห้านาทีรถก็จะมาตามเวลาที่ก�ำหนด ซึ่ง อาจจะมีปัญหาในเรื่องกันฝน แต่หากเป็น แสงแดดไม่น่าจะมีปัญหา จะน�ำเสนอผู้บริหารต่อไป ทางกองอาคาร และสถานที่มีวิธีการพิจารณาว่าจะสร้าง หรือไม่ ตามที่กล่าวไปเบื้องต้น รองคณบดี ฝ่ ายวิ ชาการและกิ จการ นิสิตกล่าวถึงวัสดุและการสร้างจุดจอด รถรางว่ า ขึ้ น อยู ่ กั บ รู ป ลั ก ษณ์ แ ละการ ใช้งานในจุดประสงค์เจริญหูเจริญตา มี ประสิ ท ธิ ภ าพ สอดคล้ อ งกั น จุ ด จอด สามารถท�ำเป็นทางยาวขนานไปกับถนนได้ เมื่อรถรางมาแล้วจึงต่อแถวขึ้นอย่างเป็น ระเบียบ ตรงไหนมีคนเยอะหากมีจอแอล อีดี เป็นศูนย์ขอ้ มูลสือ่ สารด้วยจะเป็นการดี นางฉันทลักษณ์กล่าวปิดท้าย ส่วน ของป้ายรอรถ MG เป็นฝ่ายเสนอท�ำให้ฟรี หากหมดสัญญาแล้วต้องการจะต่อสัญญา อาจจะสามารถสร้างอย่างที่นิสิตต้องการ ได้ และ ไม่ได้นิ่งนอนใจ รับฟังปัญหาของนิสิตอยู่ ตลอด หากนิสิตมาใช้งานเป็นประจ�ำก็ยิ่ง เป็นการดี นายสมรักษ์ กล้าดี ผู้ขับรถราง กล่าว เสริมว่า หากมีการสร้างก็จะเป็นการดีต่อ นิสิต ทั้งยังเพิ่มความสะดวกสบายและ ความปลอดภัย
LMC.NEWSLETTER
ทางเท้า ต่อจากหน้า1 จ่าเอกประเทียบ อรรคฮาตศรี หัวหน้า ฝ่าย ปกครองเทศบาลต�ำบลท่าขอนยาง ได้ กล่าวถึง เรื่องการจัดระเบียบทางเท้าฝั่ง ท่าขอนยางว่า ในเดือนพฤศจิกายน 2561 เทศกิจเตรียมตัวลงพื้นที่ตรวจสอบและ จัดระเบียบทางเท้าบริเวณฝั่งท่าขอนยาง ตั้งแต่ป้อมต�ำรวจท่าขอนยางถึงวงเวียน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ซึ่งทางนายก เทศมนตรีต�ำบลท่าขอนยางได้มอบหมาย งานให้เทศกิจในการป้องกันและบรรเทา รักษาภัยได้ตรวจสอบร้านค้าที่ล�้ำทางเท้า ออกมา หัวหน้าฝ่ายปกครอง อธิบายว่า ตารางออกตรวจคือ วันจันทร์ พุธ และศุกร์ ช่วงเช้าเป็นเวลา 09:00 น. และช่วงเย็น เวลา 16:00 น. โดยจะแจ้งผู้ประกอบการ ร้านค้า ให้ขยับป้ายโฆษณาที่รุกล�้ำเข้าไป ในพืน้ ทีเ่ พือ่ ทีจ่ ะให้ทางผูใ้ ช้รถใช้ถนนได้ใช้ ฟุตบาททางเท้าหรือถนนให้สะดวกและมี ความปลอดภัย หัวหน้าฝ่ายปกครอง กล่าวว่า ครั้ง แรกจะแจ้งเตือนทางวาจา ซึ่งร้านค้าใน บริเวณฝั่งท่าขอนยางมีอยู่ประมาณ 300 กว่าร้านรอบที่หนึ่งและ สองจะแจ้งเตือน ทางวาจาก่อน รอบทีส่ ามจะท�ำเป็นบันทึก จากนายกไปให้น�ำป้ายโฆษณาต่างๆ เข้า มาหรือไม่ก็ปรับปรุงแก้ไขป้ายที่ยื่นออก ไปรุกล�ำ้ ทางเท้า ถ้าไม่มกี ารแก้ไขปรับปรุง มีก�ำหนดให้ภายในเจ็ดวัน หากไม่ด�ำเนิน การก็จะมีการรือ้ ถอนสิง่ ปลูกสร้าง รือ้ ป้าย ที่โฆษณาแล้วก็น�ำมาท�ำเป็นบันทึกตรวจ ยึด ท่าขอนยางถึงวงเวียนมหาวิทยาลัย มหาสารคาม ซึ่ ง ทางนายกเทศมนตรี ต�ำบลท่าขอนยางได้มอบหมายงานให้เทศ กิจในการป้องกันและบรรเทารักษาภัยได้ ตรวจสอบร้านค้าที่ล�้ำทางเท้าออกมา
หั ว หน้ า ฝ่ า ยปกครอง อธิ บ ายว่ า ตารางออกตรวจคือ วันจันทร์ พุธ และ ศุกร์ ช่วงเช้าเป็นเวลา 09:00 น. และช่วง เย็นเวลา 16:00 น. โดยจะแจ้งผู้ประกอบ การร้านค้า ให้ขยับป้ายโฆษณาที่รุกล�้ำ เข้าไปในพื้นที่เพื่อที่จะให้ทางผู้ใช้รถใช้ ถนนได้ ใช้ ฟุ ต บาททางเท้ า หรื อ ถนนให้ สะดวกและมีความปลอดภัย หัวหน้าฝ่ายปกครอง กล่าวว่า ครั้ง แรกจะแจ้งเตือนทางวาจา ซึ่งร้านค้าใน บริเวณฝั่งท่าขอนยางมีอยู่ประมาณ 300 กว่ า ร้ า นรอบที่ ห นึ่ ง และ สองจะแจ้ ง เตื อ นทางวาจาก่ อ น รอบที่ ส ามจะท� ำ เป็นบันทึกจากนายกไปให้น�ำป้ายโฆษณา ต่างๆ เข้ามาหรือไม่ก็ปรับปรุงแก้ไขป้ายที่ ยื่นออกไปรุกล�้ำทางเท้า ถ้าไม่มีการแก้ไข ปรับปรุง มีก�ำหนดให้ภายในเจ็ดวัน หาก ไม่ ด� ำ เนิ น การก็ จ ะมี ก ารรื้ อ ถอนสิ่ ง ปลู ก สร้าง รื้อป้ายที่โฆษณาแล้วก็น�ำมาท�ำเป็น บันทึกตรวจยึด จ่ า เอกประเที ย บ อธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว่า ได้ด�ำเนินการตามพรบ.รักษาความ สะอาด มาตรา 10 คือ ห้า มไม่ใ ห้ ผู้ ใด ปรุงอาหารหรือจ�ำหน่า ยสินค้า บนถนน หรื อ ในที่ ส าธารณะประโยชน์ อย่ า งที่ สอง ใช้รถยนต์หรือรถเลื่อนจ�ำหน่ายให้ แก่ประชาชนในที่สาธารณะ รถเข็น รถ ปิคอัพขายกาแฟที่จอดที่ถนนก็ผิดพรบ. ความสะอาด มาตรา 20 และการติ ด ตั้งป้าย มาตรา 10 การติดป้ายโฆษณา ขนาดใหญ่ เ กิ น ในที่ ส าธารณะโดยไม่ ไ ด้ รับอนุญาตตรงนี้ก็มีโทษปรับ การติดตั้ง ต้องขออนุญาตจากเจ้าพนักงานก็คือเทศ บาลพรบ.ที่เราบังคับใช้แล้วก็จะมีพรบ. สาธารณะสุข พวกเศษอาหารต่างๆ ร้าน อาหารที่ต้องท�ำให้สุขลักษณะ สาธารณะ สุ ข มาด� ำ เนิ น การในการร่ ว มออกตรวจ สอบเรื่องความสะอาดต่างๆ จ่าเอกประเทียบยังกล่าวอีกว่า
เคยพบร้านค้าท�ำผิดกฏหมายเยอะมาก พวกป้ายโฆษณา หากไม่ขออนุญาตจาก ทางเทศบาลท่าขอนยาง จะมีการสั่งให้ ไปยึดมาแล้วท�ำบันทึกตรวจยึด ถ้าไม่มา รับภายใน 15 วัน จะท�ำการจ�ำหน่ายออก ทางฝ่ายเทศบาลขามเรียงก็จะจัดระเบียบ คงจะได้ประสานงานร่วมกัน ด้านนายปกครอง ไชยธานี หัวหน้า ฝ่ายการโยธา เทศบาลต�ำบลท่าขอนยาง ได้กล่าวว่า มีกฏระเบียบการใช้ทางเท้า ที่ชัดเจน ถ้าประชาชนต้องการร้องเรียน เรื่องการรุกล�้ำฟุตบาท สามารถร้องเรียน ผ่านโซเชียล เพจเทศบาลต�ำบลท่าขอนยาง ถ้าเป็นไปได้อยากให้ท�ำหนังสือระบุเรื่อง แจ้งทางนายกเทศมนตรีต�ำบลท่าขอนยาง ได้เลย จากการสอบถามนิสิตและพ่อค้าแม่ ที่ซื้อของในบริเวณทางเท้าฝั่งท่าขอนยาง พบว่ามีบางส่วนได้รับผลกระทบจากการ ทีร่ า้ นค้าตัง้ รุกล�ำ้ เกินออกมาทางเท้าท�ำให้ เดินไม่สะดวกต้องเดินหลบโต๊ะหรือเก้าอีท้ ี่ ตัง้ อยูแ่ ละได้รบั ผลกระทบจากรถทีม่ าจอด ซื้อของ บางส่วนไม่ได้รับผลกระทบเลย โดย ให้เหตุผลว่ายังสามารถเดินบนทางเท้าได้ ปกติ จากการสอบถามผูป้ ระกอบการร้าน ค้าที่ตั้งอยู่ในบริเวณทางเท้า ฝั่งถนนท่า ขอนยาง ผู้ประกอบการรายหนึ่ง ได้กล่าว ว่า ตนเองเปิดร้านมาได้หนึ่งปีแล้ว ที่ผ่าน มายังไม่เคยเห็นเทศกิจลงตรวจสอบพื้นที่ และเคยสอบถามลูกค้าที่มาซื้อของในร้าน ของตนเกี่ยวกับการได้รับผลกระทบจาก การตั้งร้านบนทางเท้า ได้ความว่ายังไม่ ค่อยมีใครได้รับผลกระทบตรงนี้ และร้าน ค้าอืน่ ๆบอกว่าเคยเห็นเทศกิจลงตรวจบ้าง แต่ไม่ได้มาตักเตือนกับตนเองโดยตรง จะ เป็นการตักเตือนผ่านทางเจ้าของพืน้ ทีท่ ใี่ ห้ เช่า
บางร้านเสียภาษีป้ายชื่อร้านที่ติดอยู่บน ร้านค้าแล้วเป็นรายปี 200 บาท ต่อปี ส่วนป้ายธงญี่ปุ่นที่ตั้งอยู่บนทางเท้านั้น สามารถตัง้ ได้แต่หา้ มติดตัง้ ถาวรและกล่าว เพิ่มเติมว่าถนนทางเท้าหน้าร้านไม่ค่อยมี ผู้คนเดินผ่าน ผู้ประกอบการรายหนึ่งให้ข้อมูลว่า เทศกิจลงตรวจสอบพื้นที่ล่าสุด 4-5 เดือน ทีแ่ ล้ว โดยมีกฎว่าห้ามตัง้ ป้ายโฆษณาหรือ โต๊ะเก้าอี้เกินเสาไฟ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล อาจารย์ประจ�ำคณะนิตศิ าสตร์ สังกัดวิชากฎหมายมหาชน กล่าวว่า การตัง้ ร้านค้าบนทางเท้านัน้ จริงๆแล้วไม่สามารถ ตั้งได้ แต่เป็นการอนุโลม มีการเสียค่า ธรรมเนียมป้ายโฆษณาหรือป้ายร้านค้า ต่างๆ โดยอยู่ในความดูแลของเจ้าหน้าที่ ท้องถิ่น ซึ่งประเด็นที่ต้องคิดกันต่อไปคือ จะท�ำอย่างไรให้มีความสะอาดมากที่สุด
หอพัก ต่อจากหน้า1
ดร.อุทิศ พงศ์จิรวัฒนา ได้กล่าวว่า ใน ปัจจุบนั ผูท้ จี่ ะประกอบธุรกิจหอพักนัน้ จะ มีอยู่ 2 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ ผู้ใช้เงินลงทุน เอง โดยไม่กู้ยืม กับ ผู้ที่กู้ยืมเงินเพื่อมา ลงทุน ทัง้ นี้ ผูท้ ปี่ ระกอบกิจการหอพักทีไ่ ม่ กู้ยืมจะได้ผลตอบแทนที่พอเพียง และ สูง กว่าการฝากเงินธนาคาร ด้วยเหตุผลที่ว่า การฝากเงินธนาคารนัน้ ดอกเบีย้ น้อยมาก ในปัจจุบนั อีกกรณีหนึง่ คือ ผูท้ กี่ ยู้ มื เงินเพือ่ มาลงทุน กรณีนจี้ ะล�ำบาก เนือ่ งด้วย ธุรกิจ หอพักเป็นอะไรที่ไม่แน่นอน และ
LMC.NEWSLETTER
หากวันใดวันหนึง่ ไม่มลี กู ค้าเข้ามาพักตาม จ�ำนวนที่ต้องการจะท�ำให้ได้ผลตอบแทน นั้นน้อยลงไปกว่าเดิมมาก เพราะต้องจ่าย ดอกเบี้ยธนาคารอีกทั้ง ต้องจ่ายค่าบ�ำรุง ทีพ่ กั ไปด้วย จึงส่งผลให้ ได้ผลตอบแทนที่ ไม่คมุ้ ค่าตามทีค่ าดหวังไว้ และ เสีย่ งขาดทุน สูง ดร.อุทศิ พงศ์จริ วัฒนา กล่าวต่อว่า ผูท้ ี่ ต้องการจะประกอบธุรกิจหอพักต้องค�ำนึง ถึงงบประมาณเป็นหลัก และทีต่ งั้ จะต้อง พร้อม เช่นอยู่ใกล้ร้านอาหารหรือร้ าน สะดวกซื้อและอีกสิ่งที่ช่วยในการตัดสิน ใจของผู้เช่า คือ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ต้องครบครัน ยกตัวอย่างเช่น อินเตอร์เน็ต ความเร็วสูง มีทจี่ อดรถ มีฟติ เนส หรือแม้แต่ สระว่ายน�้ำ ก็มีส่วนช่วยในการเรียกลูกค้า เข้ามาพัก และใช้งานตามบริการต่าง ๆ ที่ หอพักมีไว้ให้ ดร.อุทิศ พงศ์จิรวัฒนา ยังคาดการณ์ อีกว่า ราคาหอพัก จะไม่เพิม่ จากทีเ่ ป็นอยู่ แต่มันจะมีรายที่หายไปกับรายที่เกิดขึ้น ใหม่ เพราะพืน้ ทีร่ อบๆยังสร้างได้อกี หลาย ตึกปัญหาทีพ่ บตอนนีค้ อื โอเวอร์ซพั พลาย หมายถึงจ�ำนวนหอพักมากกว่าจ�ำนวนผู้ เข้าพักและอีก 5-10 ปีจะเข้าสูเ่ อจจิง้ โซไซ ตี้ หรือสังคมผู้สูงอายุ หากหอพักยังเกิด ใหม่เรื่อย ๆ ก็จะยิ่งท�ำให้ การแข่งขัน ใน หอพักใหม่สงู ขึน้ และเกิดการแย่งลูกค้ากัน มากกว่าเดิม ผู ้ ป ระกอบกิ จ การหอพั ก รายใหม่ บริเวณท่าขอนยาง ให้ความเห็นว่า หอพัก ใหม่รอบ มมส สะอาดและใหม่กว่า ซึง่ เป็น ส่วนส�ำคัญในการเรียกลูกค้า
ถึงแม้ว่าราคาจะสูงกว่าหอพักเก่าๆตอบ โจทย์ของผู้เข้าพักมากกว่า หอพักเก่า ที่ ตอบโจทย์ได้นอ้ ยกว่า จึงต้อง พยายามบ�ำรุง รักษา ห้องพัก และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกไว้ เพือ่ รักษาผูเ้ ช่า ผูป้ ระกอบกิจการหอพักรายเก่า บริเวณ ท่าขอนยาง ให้เหตุผลว่า หอพักตนเอง อยูม่ า นานกว่า 5-6 ปี รายได้ ในปีหลังๆลดลงจาก เดิม แต่ยังมีผู้เช่ารายเก่า จึงท�ำให้มีรายได้ ประจ�ำต่อเดือนไม่ลดลงไปมาก และพยายาม บ�ำรุงรักษาห้องพักเพื่อรักษาลูกค้า ทั้งราย ใหม่และรายเก่าไว้ หอพักที่สร้างขึ้นมาใหม่ รายได้สงู กว่าหอพักตน และมีสงิ่ อ�ำนวยความ สะดวกมากกว่า เช่น อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ฟิตเนส หรือ ห้องพักทีก่ ว้างกว่า รายได้จงึ ไม่ แน่นอน ขึน้ กับลูกค้าว่าจะหันไปเลือกหอพัก ไหน เพราะหอพักบริเวณรอบ มมส มีจำ� นวน มากกว่าตัวผูเ้ ช่า ผูพ้ กั อาศัยหอพักใหม่บริเวณท่าขอนยาง ให้ความเห็นว่าหอพักตนเองก่อสร้างแล้วย้าย เข้ามาอาศัย และ อยูก่ บั เพือ่ น หนึง่ คน โดย ราคาหอพัก 4200 บาท/เดือน หากรวมค่าน�ำ้ และค่าไฟ จะจ่ายต่อเดือนประมาณ 5000 บาท ในด้านของราคาค่าใช้จ่ายไม่สูงเกินไป กับคุณภาพหอพัก ทีม่ สี งิ่ อ�ำนวยความสะดวก ให้ครบครัน ระบบรักษาความปลอดภัย และ ใกล้ร้านสะดวกซื้อ ทั้งการเดินทางที่สะดวก จึงเลือกหอพักแห่งนี้ ผู้พักอาศัยหอพักเก่า ท่าขอนยาง ให้ ความเห็ น ว่ า เลื อ กหอพั ก เก่ า เพราะราคา ถูกกว่าหอพักใหม่ แต่มีระบบรักษาความ ปลอดภัย และใกล้กับมหาลัยฯ เดินทาง สะดวก หอพัก มีการบ�ำรุงรักษาประจ�ำทุกปี และสามารถแจ้งทางหอพักให้มาซ่อมบ�ำรุง ได้ตลอดเวลา
LMC.NEWSLETTER จดหมายข่าวฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาการเขียนข่าวเบื้องต้น รหัสวิชา 0166217 อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.ภาคภูมิ หรรนภา จัดท�ำโดย นางสาว สุดารัตน์ อรรถประจง 60010120505 ตึกส�ำนักคอมฯใหม่ นางสาว สินนภา ดีเลิศพัฒนา 60010114028 รถราง นางสาว พัทธนันท์ หงษ์วานิช 59010114067 ทางเท้า นาย ธันวา ปนสระน้อย 60010114014 หอพัก