FALLING SLOWLY IN TIBET
หลุ่มหลง อย่าง เชื่องช้า ทว่ายาวนาน
7 year in TIBE
FALLING SLOWLY IN TIBET: หลุ่มหลง อย่างเชื่องช้า ทว่ายาวนาน
สุดารัตน์ อรรถประจง : จัดท�ำ พิมพ์ครั้งที่ 1 : มีนาคม 2563 จ�ำนวน 1,000 เล่ม
ข้อมูลทางบรรณานุกรม
สุดารัตน์ อรรถประจง. กรุงเทพฯ: อินทนิล, 2563. 123 หน้า ที่ปรึกษา: ภาคภูมิ หรรณภา บรรณาธิการบริหาร: สุดารัตน์ อรรถประจง ผู้ช่วยบรรณาธิการบริหาร: สุดารัตน์ อรรถประจง บรรณาธิการ: สุดารัตน์ อรรถประจง ผู้ช่วยบรรณาธิการ: สุดารัตน์ อรรถประจง ศิลปกรรม: สุดารัตน์ อรรถประจง พิสูจน์อักษร: สุดารัตน์ อรรถประจง
ค�ำน�ำ หลายครั้งคนเรามักดูถูกความเชื่อของคนอื่นโดยที่ยังไมา่ทันได้ลงไปสัมผัสแม้แต่ ปลายนิ้วก้อย และหลายครั้งเรามักตั้งค�ำถามกับสิ่งที่คนอื่นเชื้อมั่นและยึดมั่นกับความเชื่อ นั้นๆ ทั้งที่มันถือเป็นเรื่องดี และหากทุกคนเชื่อมั่นและยึดมั่น ไม่ว่าจะกับศาสตร์ หรือแม้ กระทั่งฐานะของตน เช่นเดียวกับองค์ดาไลลามะ ที่แม้จะมีลู่ทางให้หลบหนีจากสงครามไป ได้ แต่เขาเลือกที่จะอยู่ข้างประชาชนชาวธิเบต ที่เชื่อมั่นในตัวท่านเช่นกันหรือแม้กระทั่งชาว ธิเบตที่เชื่อว่าการกลับชาติมาเกิดนั้นมีจริง แม้แต่ใส้เดือนที่เราหลายคนมองข้าม เขายังให้ ความส�ำคัญ โลกเราคงอยู่ได้ง่ายกว่านี้นัก ปลาวาฬคงจะไม่ติดอวล ต้นไม้คงไม่๔ุกลักลอบ ตัดจนมีภูเขาชื่อแปลกๆ อย่างภูเขาหัวโล้น บางที ศาสนาอาจจะไม่ได้เป็นพิษ แต่มนุษย์ที่เข้าไม่ถึงศาสนาอย่างท่องแท้ มนุษย?ี่ศึกษาอะไรครึ่งๆ กลางๆ เพราะขาดความเชื่อในสิ่งนั้น มนุษย์ที่มีฐิทิ ย่อมไม่มี ความเชื่อต่อสิ่งใด แม้กระทั่งความเชื่อในเรื่องรัก
“เนยกับชาวทิเบต”
1
หลังจากรับชมภาพยนตร์ Seven Years In Tibet แล้วเชื่อว่าหลายๆคนต้องมี ค�ำถามในหัวเกิดขึ้นกับหนังเรื่องนี้ แต่ส�ำหรับเราค�ำถามที่เกิดขึ้นคือ เนย ของชาว ทิเบตนั้นมีความส�ำคัญและเกี่ยวข้องกันอย่างไร ท�ำไมชาวทิเบตถึงนิยมใช้เนยในการ ท�ำสิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอาหาร หรือวัฒนธรรม เช่น การแกะสลักพระพุทธรูปด้วย เนย หรือจะเป็นการดื่มชาใส่น�้ำมันเนย นี่คงเป็นวัฒนธรรมการใช้ชีวิตที่มีมาช้านาน แล้วมันส�ำคัญอย่างไรล่ะ? เรามาหาค�ำตอบไปพร้อมกันเถอะ เนยและเนยแข็งแบบทิเบตเป็นอาหารที่รับประทานบ่อยและ โยเกิร์ตอย่างดี จะเป็นหน้าเป็นตาของรายการอาหาร ชาใส่น�้ำมันเนยที่ว่านั้นชาวทิเบตส่วนใหญ่มัก จะดื่มชาเนยที่มาจากจามรีหลายถ้วยมากในแต่ละวัน แล้วท�ำไมชาวทิเบตถึงนิยมดื่ม ชาเนยจามรีมันฟังดูแปลกๆ และไม่คุ้นชินกับบ้านเราถ้าจะให้นึกถึงรสชาติส่วนตัวคง คิดว่าเลี่ยนมากแน่ๆ แต่จากแหล่งที่อยู่อาศัยของชาวทิเบตอยู่ตรงจุดที่เราเรียกว่า หลังคาโลก หรือพิกัดที่สูงที่สุดในโลกนั่นแหล่ะ มีความสูงจากระดับน�้ำทะเลมาก ท�ำให้มีอากาศหนาวเย็นและมีอากาศน้อย ท�ำให้มีโอกาสที่จะได้กินผักและผลไม้น้อย มากๆ ชาวทิเบตเลี้ยงชีพของพวกเขาด้วยการเลี้ยงสัตว์และเกษตรกรรม จะทาน อาหารประเภทแป้งเป็นหลัก จากการสืบค้นข้อมูลน�้ำมันเนยเป็นไขมันที่อยู่ด้านบน 2
ของนมวัวหรือนมแพะที่น�ำมาต้มให้เดือด และปล่อยให้เย็นจนอยู่ในรูปของครีมข้น ส่วนใบชาที่น�ำมาต้มดื่มมักเป็นใบชาพูเอ๋อ ชาใส่น�้ำมันเนยจะมีหลากหลายรสชาติ ชาวธิเบตยังมีธรรมเนียมปฏิบัติ คือต้องดื่มไปเติมไป ไม่ดื่มทีเดียวหมด และถ้วยชา ของแขกจะต้องเต็มอยู่เสมอ หากไม่ต้องการดื่มแล้วก็ไม่ต้องแตะถ้วยชา เมื่ออ�ำลา กันจึงดื่มทีเดียวหมดเวลาดื่มจะมีกลิ่นหอมและมีรสหวาน ท�ำให้ร่างกายอบอุ่นและให้ คุณค่าทางโภชนาการ ดังนั้นการดื่มชาใส่น�้ำมันเนย(Ghee) ของชาวทิเบตจึงมีความ ส�ำคัญเทียบเท่ากับการบริโภคข้าวของพวกเราเลย อีกสิ่งหนึ่งที่ปรากฏอยู่ในภาพยนตร์อย่าง Seven Years In Tibet คือ การ แกะสลักเนย ที่มีการสื่อความหมายว่า ไม่มีอะไรยั่งยืนตลอดไปเหมือนกับเนยที่ ละลาย ณ วัดทิเบตถ่าเอ่อ Ta’erMonastery ในมณฑลชิงไห่ เป็นวัดพุทธนิกายมหายาน ทิเบตที่มีชื่อเสียงอันดับหนึ่งขอมณฑลชิงไห่ภายในวัดมีโบราณวัตถุล�้ำค่าที่ได้รับการ ยกย่องว่าเป็น “3 สุดยอดทางศิลปะ”ได้แก่ การแกะสลักเนย ซิ๋วฮว่า Butter Sculpture โดยใช้กรรมวิธีแบบโบราณเพื่อให้เนยแข็งตัวแล้วใส่สีสรรให้สดใส จิตรกรรมฝาผนัง และตุยซิ่ว หรือภาพปักนูน ซึ่งเป็นศิลปะแบบทิเบตโบราณที่ได้รับการสืบทอดจากรุ่น สู่รุ่น โดยนายลัวจางอังซิว รองผู้อ�ำนวยการคณะกรรมการบริหารวัดถาเอ่อร์ เป็นผู้ สืบทอดฝีมือแกะสลักเนย ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมวิถีชนระดับชาติ เขาเล่าว่า วัด พุทธทิเบตนิกายเกลุกมีประวัติการตั้งเครื่องสักการะบูชาที่แกะสลักด้วยเนยมานาน เกือบ 300 ปีวิธีแกะสลักเนยมีดนตรีประกอบ ซึ่งเป็นดนตรีพุทธทิเบตที่บรรเลงระหว่าง การแสดงวิธีแกะสลักเนยต่างถูกจัดเข้าบัญชีรายชื่อมรดกทางวัฒนธรรมวิถีชนระดับ ชาติ และค�ำถามที่เกิดขึ้นจากการดูหนังเรื่องนี้ก็ได้ค�ำตอบอย่างที่กล่าวมาข้าง ต้นแล้ว สรุปว่าเนยเป็นส่วนส�ำคัญของชาวทิเบตที่ใช้ท�ำประโยชน์ อิ่มท้องและยังน�ำ มาสร้างสรรค์เป็นงานศิลปะที่สุดยอดมากๆได้ เป็นส่วนที่ไม่ควรมองข้ามและต้องพูด ถึงวัฒนธรรมนี้จึงถูกยกให้เข้าไปอยู่ในฉากหนึ่งของภาพยนตร์เรื่อง Seven Years In Ti3
4
มุมกล้องที่น่าทึ่ง
5
ผลงานภาพยนตร์แนวอัตชีวประวัติจากหนังสือของ ไฮน์ริค ฮาร์เรอร์ ที่ น�ำแสดงโดย แบรด พิตต์ จากผู้ก�ำกับรางวัลออสการ์ของ ฌอง-ชาคส์อองโนด์ และ ทีมงานนักปีนเขาชาวออสเตรีย ไฮน์ริคแฮร์เรอร์ ที่หลบหนี การเป็นเชลยสงครามใน ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และผลัดหลงเข้าไปในเมืองลาซาของทิเบต จนได้พบกับองค์ ทะไลลามะองค์ที่สิบสี่ในวัยเด็กและใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นระหว่างปี ค.ศ. 1944 ถึง 1951จนถึง การรุกรานทิเบตโดยกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีนตลอดระยะเวลา 7 ปี ที่เขาใช้ ชีวิตอยู่ในเมืองลาซาในฐานะเพื่อนและครูคนหนึ่งขององค์ทะไลลามะที่ถ่ายทอดเรื่อง ราวของอีกซีกโลกหนึ่งให้กับพระองค์ แต่ในขณะเดียวกันไฮน์ริคก็ได้เรียนรู้จาก พระองค์ถึงความสงบสันติและการส�ำรวจลึกเข้าไปภายในใจของตนเช่นกันจากนักปีน เขาที่มีความมั่นใจในตัวเองสูงและเต็มไปด้วยความทะเยอทะยาน จนยอมทิ้งภรรยา และลูกน้อยที่ก�ำลังจะลืมตาดูโลกมาเพื่อตอบสนองความต้องการของตัวเองที่ฝันการ พิชิตยอดเขาสูงที่สุดในโลกแต่แม้จะพิชิตยอดเขาสูงมากี่ครั้งกี่หน สิ่งที่เขาไม่เคยพิชิต ได้ก็คือความทุกข์และความเปลี่ยวเหงาที่ซ่อนอยู่
6
เรามาพูดถึงฉากในการถ่ายท�ำเห็นว่าภาพรวมทั้งหมดของฉากต่างๆในเรื่อง ไม่ว่าจะบนภูเขาน�้ำแข็ง บริเวณที่ราบก่อนเข้าเมืองต่างๆในเรื่องเส้นทางบนหุบเขา ทั้งหมดเป็นขนาดภาพที่เป็น E.S.L.(Extremelong shot) หรือภาพมุมกว้าง เกือบ 80%ของเรื่องทั้งหมดซื้อแสดงให้เห็นถึงภูมิประเทศที่มีแต่ที่ราบและภูเขาสูงของเขต ปกครองตนเองทิเบตเขตปกครองของจีนที่มีเมืองหลวงชื่อลาชาในปัจจุบัน ที่ได้รับ ฉายาว่าหลังคาโลกนั้นเอง ส่วน 20% ที่เหลือนั้นอาจเป็นมุม Medium Shotหรือมุมปกติ ที่ตัวละครจะคุยกันเป็นส่วนใหญ่ไม่ค่อยเห็นในมุม Close up สักเท่าไหร่ซึ่งฉากแต่ละ ฉากอาจเห็นอาการขอบม่วงของฉากและสิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมถึงตัวประกอบในฉาก อีกด้วย ซึ่งมันก็คือ Chromatic-aberration ก็คือความคลาดสีเป็นอาการที่มาจาก เลนส์กล้อง เนื่องด้วยหนังที่ฉายในปี 1997 ซึ่งการถ่ายท�ำในสมัยที่กล้องดิจิตอลและ เลนส์ยังไม่มีความสามารถในการจัดการกับความคลาดเคลื่อนของสีที่สะท้อนเข้ามา เกิดกับการถ่ายย้อนแสงเป็นส่วนมากเพราะฉากจะเป็นตอนกลางวันเลยมีผลกับเรื่อง มากแต่เรื่องอื่นท�ำได้ดีอย่างมากติดแค่ช่วงแรกที่ตัดฉากหรือเร่งเรื่องเร็วไปหน่อย เรา มาพูดถึงฉากในการถ่ายท�ำเห็นว่าภาพรวมทั้งหมดของฉากต่างๆ ในเรื่องไม่ว่าจะบน ภูเขาน�้ำแข็ง บริเวณที่ราบก่อนเข้าเมืองต่างๆ ในเรื่องเส้นทางบนหุบเขาทั้งหมดเป็น ขนาดภาพที่เป็น E.S.L.(Extremelong shot) หรือภาพมุมกว้าง เกือบ 80%ของเรื่อง 7
ทั้งหมดซื้อแสดงให้เห็นถึงภูมิประเทศที่มีแต่ที่ราบและภูเขาสูงของเขตปกครองตนเอง ทิเบตเขตปกครองของจีนที่มีเมืองหลวงชื่อลาชาในปัจจุบัน ที่ได้รับฉายาว่าหลังคา โลกนั้นเอง ส่วน 20% ที่เหลือนั้นอาจเป็นมุม Medium Shotหรือมุมปกติที่ตัวละครจะคุ ยกันเป็นส่วนใหญ่ไม่ค่อยเห็นในมุม Close up สักเท่าไหร่ซึ่งฉากแต่ละฉากอาจเห็น อาการขอบม่วงของฉากและสิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมถึงตัวประกอบในฉากอีกด้วย ซึ่ง มันก็คือ Chromatic-aberration ก็คือความคลาดสีเป็นอาการที่มาจากเลนส์กล้อง เนื่องด้วยหนังที่ฉายในปี 1997 ซึ่งการถ่ายท�ำในสมัยที่กล้องดิจิตอลและเลนส์ยังไม่มี ความสามารถในการจัดการกับความคลาดเคลื่อนของสีที่สะท้อนเข้ามาเกิดกับการ ถ่ายย้อนแสงเป็นส่วนมากเพราะฉากจะเป็นตอนกลางวันเลยมีผลกับเรื่องมากแต่เรื่อง อื่นท�ำได้ดีอย่างมากติดแค่ช่วงแรกที่ตัดฉากหรือเร่งเรื่องเร็วไปหน่อย
องค์ประกอบของเสียงในเรื่องที่ยังไม่โดนใส่ใจสักเท่าไหร่ในบางฉากแต่อาจ เพราะเมื่อ 20 กว่าปีก่อนยังไม่มีเทคโนโลยีที่มากมายขนาดนี้ในเสียง Dialog หรือเสียง สนทนาในเรื่องอาจได้ยินไม่ค่อยชัดสักเท่าไหร่ท�ำให้งงในบางฉากว่าต้องการจะสื่อ หรือท�ำอะไรต่อ ส่วนเสียง SoundEffect ในเรื่องท�ำได้ปานกลางเพราะเป็นหนังที่ไม่ เน้นในเรื่องนี้สักเท่าไหร่แต่เสียง Ambience หรือเสียงบรรยากาศในเรื่องท�ำได้ค่อนข้าง ดีในฉากที่เดินทางข้ามภูเขาไปยังเมืองต่างๆ และเสียงสุดท้ายคือเพลงประกอบใน เรื่องที่แสดงอารมณ์ดีที่สุดเป็นดนตรีจากการบรรเลงวงเครื่องสายคลาสสิคที่ให้ อารมณ์ความยิ่งใหญ่และเศร้าหมองควบคู่กันไป 8
9
หนังสงครามเชิสร้างสรรค์
10
ในวันนี้เราจะมาพูดถึงหนังเรื่องหนึ่งที่มีเนื้อหาน่าสนใจมากนั่นก็คือ 7 Years in Tibet โดยหนังเรื่องนี่จะพูดถึงนักปีนเขาคนหนึ่งที่เป็นตัวเอก ได้ไปใช้ชีวิตอยู่ใน ทิเบตท่ากลางสมรภูมิสงครามช่วงล่าอาณานิคม โดยตัวหนังเรื่องนี้จะแตกต่างจาก หนังสงครามที่เราเคยดูมาหลายเรื่องเพราะส่วนมาก หนังสงครามนั้นจะเน้นขายเนื้อ เรื่องที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเมือง การทหาร และฉากบู๊สุดมัน หรือแม้จะเป็นฉากเลือด สาดจากการโดนสังหารอย่างทารุณ แต่ในหนังเรื่องนี้นั้นเราจะได้เห็นหนังที่ด�ำเนินไป โดยมีสงครามเป็นตัวด�ำเนินเรื่องว่าเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นมาบ้าง การล่าอาณานิคมในหนังเรื่องนี้นั้นก่อให้เกิดสงครามของประเทศแต่ละ ประเทศ ซึ่งแน่นอนก็เกิดกับประเทศเล็กๆ อย่างทิเบตด้วย ซึ่งตัวหนังแสดงออกมาได้ ดีว่าสงครามนอกจากการต่อสู้ด้วยอาวุธของทหาร เรายังได้เห็นการต่อสู้ด้วยสมอง ของคนที่เป็นผู้น�ำกับการตัดสินใจเพื่อที่จะรักษาความปลอดภัยของประชาชนและ ชีวิตของตันเองเอาไว้ถึงแม้จะต้องสูญเสียบางอย่างไป และเป็นการน�ำเสนอหนัง สงครามในมุมมองใหม่ๆที่ควรได้รับ และเมื่อเราได้ชมภาพยนต์เราจะได้เห็นอีกด้านหนึ่งของคนในประเทศที่รัก สงบท่ามกลางสงครามว่าพอถึงเวลาพวกเขาจะต้องสู้ถึงแม้ว่าจะสู้ไม่ได้ 11
เพราะโดยนิสัยของชาวทิเบตส่วนมากนั้นรักสงบ แต่สงครามนั้นก็ยังโหดร้ายเมื่อพวก ประเทศยักษ์ใหญ่ยังต้องการล่าอาณานิคมอย่างต่อเนื่องเพื่อเก็บเกี่ยวทรัพยากร ภายในประเทศ และสร้างความยิ่งใหญ่ให้แก่ประเทศของตนเอง ถ้าจะให้พูดโดยรวม ในการน�ำเสนอของภาพยนตร์เรื่องนี้ นับว่าถ่ายทอด ความโหดร้ายของสงครามได้ดี ซึ่งเราจะเห็นได้ว่า เหตุผลในการล่าอาณานิคมนั้นมี หลากหลายแล้วแต่มุมมอง ส่วนในฉากที่พระเอกนั้นไม่พอใจที่จิกมีไม่สู้ต่อ แต่กลับ ยอมแพ้เพื่อรักษาชีวิตประชาชนเอาไว้ ซึ่งก็เป็นความคิดของบุคคลหนึ่งที่ยังไม่มี ความรู้ทางการเมืองมากพอ แต่กลับกันที่จิกมีนั้นตัดสินใจยอมแพ้เพราะว่าไม่อยาก เสียคนไปโดยเปล่าประโยชน์ จากการท�ำสงครามที่ไม่สามารถเอาชนะได้และยัง เป็นการสะท้อนอุปนิสัยของชาวทิเบตว่ายังเป็นคนรักสงบแม้อยู่ในช่วงสู้รบสงคราม นับว่าหนังเรื่องนี้เก็บรายละเอียดและข้อมูลของการท�ำสงครามได้ดีไม่ว่าจะเป็นฉาก แต่ละฉากเหตุผลในการสู้รบแม้จะไม่ได้น�ำเสนอในสิ่งที่หนังสงครามควรจะเป็น
12
13
นักแสดงที่เข้าถึงอารมณ์
14
เรื่องราวของชายคนหนึ่งในยุคสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ผู้ได้ไปเกี่ยวข้องกับ เรื่องของสงครามและท�ำตามค�ำสั่งที่ได้รับนั่นคือการปีนเขาหิมาลัยเพื่อศักดิ์ศรีของ นาซี (เยอรมัน) แต่กลับต้องพบกับจุดสิ้นหวังมากมายเมื่อภารกิจไม่ส�ำเร็จพร้อมอีกทั้ง ถูกจับไปเป็นเชลยที่ค่ายกักกัน แต่การเดินทางของชายหนุ่มก็ยังไม่จบเพียงเท่านั้นเมื่อ เขาหนีออกมาจากค่ายกักกันได้และมุ่งหน้าไปยังจุดหมายที่เขาคิดไว้ ‘ทิเบต’ เนื้อเรื่องในช่วงก่อน 40 นาทีหลังนั้นจะเป็นการปูทางว่าตัวเอกนั้นเดินทาง อย่างไร ใช้ชีวิตอย่างไร ความยากล�ำบากก่อนจะไปถึงทิเบต รวมถึงการปฏิบัติตัวเพื่อ ให้ชาวทิเบตยอมรับในตัวเขากับเพื่อนอีกคนหนึ่ง ถ้าคนที่ไม่ชอบเนื้อเรื่องที่ยื้อยาวก็ จะรู้สึกน่าเบื่อไม่น้อยก่อนจะถึงช่วงฉากไคลแม็กซ์ แต่เมื่อมาถึงฉากไคลแม็กซ์ต้องขอบอกตรงนี้เลยว่า ไม่เสียดายเวลาที่รอ คอยเลย ฉากที่ชาวจีนบุกเข้ามาเพื่อหวังยึดทิเบตนั้นท�ำออกมาได้กินอารมณ์เสียเอา มากๆ ภายใต้อารมณ์ของนักแสดง เสียงของซาวน์ รวมถึงบรรยากาศการรบที่ท�ำ ออกมาท�ำให้ตัวผู้ดูรู้สึกอินไปกับเนื้อหาที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น ถึงแม้ว่าเราจะมีความรู้ด้าน สงครามมาแล้วแต่หนังก็สามารถท�ำให้เราอินกับฉากนี้ได้อยู่หมัดสุดๆ ไม่ใช่เพียงเนื้อหาที่หนังพยายามจะสื่อจะออกมาเข้มข้นแล้ว การแสดงของ 15
นักแสดงก็ท�ำให้เรารับรู้ได้ถึงสถานการณ์ที่ตึงเครียด ความสิ้นหวังที่แสดงผ่านสีหน้า ของตัวเอกและตัวละครอื่นๆ ท�ำให้รู้สึกว่าใจของเราเหมือนโดนอะไรบีบแน่นอยู่ตลอด ในช่วงเวลานั้น สิ่งที่ส�ำคัญอีกอย่างคือซาวน์ระหว่างที่เกิดสงครามเป็นซาวน์ที่ดึงดูดให้ ผู้ดูรู้สึกไปตามจังหวะของซาวน์ ยิ่งรู้สึกอินไปกับจังหวะที่ท�ำให้หัวใจของเราต้องเต้น ตึกตักลุ้นไปกับเหตุการณ์ จากที่ผู้เขียนอยากจะเขียนบอกเล่าที่สุดคือฉากสงครามที่แสดงให้เห็นถึง ความโหดร้ายในการล่าอาณานิคมของประเทศจีน การให้ชาวทิเบตฆ่ากันเองแล้ว ค่อยฆ่าชาวทิเบตที่เหลือ หรือการสังหารหมู่ที่ถึงแม้จะไม่มีเลือดสาดกระเซ็นมากนัก แต่ก็ท�ำให้เรารับรู้ได้ทันทีว่านี่คือความไม่ปราณีของการล่าอาณานิคมในสมัยนั้น ทั้ง การดูถูกเผ่าพันธุ์ชาติก�ำเนิด การเหยียบย�่ำศาสนาที่ผู้แพ้นับถือ แสดงถึงแรงกดดันที่ ท�ำให้เรารู้สึกปวดใจตามแต่ก็ไม่สามารถร้องไห้ออกมาได้ น่าเสียดายที่หลายๆ ฉากที่ก�ำลังจะกินอารมณ์คนดูนั้นบางฉากก็ตัดจบ แบบงงๆ ก็มีบ้างอาจจะเพราะไม่ต้องการให้หนังยื้อยาวจนเกินไปก็เป็นได้ รวมถึงช่วง หลังนี้ตัวเอกบทบาทเกี่ยวกับการเข้าสงครามก็เป็นการตัดจบแบบงงๆเช่นกัน(ไม่ได้รู้ ว่าตัวเอกท�ำอะไรบ้างในระหว่างการรบ) อย่างไรก็ตามในความรู้สึกของผู้เขียนที่เป็นผู้ชื่นชอบหนังดาร์คแล้ว และ มองในฐานะคนที่ดูหนังแนวดาร์คมาหลายปี ต้องบอกเลยว่า seven years in tibet เป็น หนังแนวสารคดีชีวิตที่แฝงความดาร์คไว้ข้างในเป็นรสชาติขมๆจางๆภายใต้รสชาติ ชีวิตของชายคนหนึ่ง ด้วยความที่หนังเรื่องนี้ถูกรับประกันอยู่แล้วว่า เป็นหนังที่ท�ำออกมาจาก เรื่องจริงจากอัตชีวประวัติของ ไฮน์ริค ฮาร์เรอร์ ด้วยความที่เป็นเรื่องจริง ความรู้สึก ที่ถูกถ่ายทอดออกมาได้อย่างยอดเยี่ยมท�ำให้เราค่อยๆอินไปกับหนังอย่างช้าๆ แม้ว่า ช่วงแรกๆของหนังนั้นในฐานะคนที่เคยดูอะไรดาร์คๆหนักๆกดจิตตั้งแต่เริ่มเรื่องจึง ท�ำให้รู้สึกว่าหนังเรื่องนี้น่าเบื่อกว่าที่คิดไว้ในช่วงแรก (แต่ก็อย่างที่ว่าช่วงหลังก็นั่งลุ้น 16
อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับคุณผู้อ่านทุกท่าน หนังเรื่องนี้เป็นหนังชีวประวัติของ ชายคนหนึ่งผู้ฝ่าฝันและได้รู้จักกับทะไลลามะองค์ที่สิบสี่ในวัยเยาว์ มิตรภาพของคน ต่างแผ่นดินที่ช่วยขับเคลื่อนรสชาติหนังให้เบาจากสงครามลง ด้วยความเป็น ชีวประวัติคนดูหนังแนวดาร์คคงจะไม่สนใจมากนักแต่ถ้าอดทนรอจนไปถึฉากสงคราม ได้พวกคุณที่เป็นคนชอบดูแนวดาร์คเหมือนกับผู้เขียนต้องติดตาตรึงใจเช่นกันแน่นอน
17
18
หักมุม
19
หากจะให้พูดถึงเรื่องราวจากหนังเรื่องหนึ่งที่ไม่โด่งไม่ดังและไม่ได้เข้าชิง รางวั ล มากมายแต่ ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ ชมนั้ น กลั บ มี ค วามจ� ำ ให้ กั บ เนื้ อ เรื่ อ งที่ แ สน ประหลาดนี้ด้วยการเล่าเรื่องที่ หลากมุมมอง และ ช่วงการเดินเนื้อเรื่องที่ต่อเนื่อง แต่ สะดุดวรรคมันท�ำให้เป็นสเน่ห์อย่างหนึ่งของหนังเรื่องนี้ และเตรียมพบกับการ รีวิว 7ปี โลกไม่ลืมครับว่าด้วยการเดินเรื่องของหนังหนังเรื่องนี้เดินเรื่อง เป็น 3 ช่วงใหญ่ๆ ช่วง ต้น ช่วงกลาง และ ช่วงท้ายโดยแต่ละช่วงของหนังเรื่องนี้จะแบ่งสัดส่วนเวลา และ เนื้อหา ที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนเรียกได้ว่า เหมือนดูหนัง 3 เรื่อง ในเรื่องเดียวกันเลย ทีเดียว ช่วงที่หนึ่ง คือ การเปิดหัวเรื่องโดยที่ตัวเอก ต้องไปปีนเขาแบบไม่เต็มใจเท่า ไหร่และในระหว่างที่ปีนเขานั้น กลับเจอปัญหา รัฐบาลอังกฤษได้ประกาศสงครามกับ เยอรมันท�ำให้กลุ่มปีนเขาของเขาจะต้องตกเป็น เชลย แบบไม่เต็มใจไปในที่สุด.. และ ในช่วงต้นนี้ เนื้อเรื่องคือการด�ำเนินไปอย่างรวดเร็ว ด้วยการบอกเล่าวิธีการแหกคุก อย่างแยบยลจากวิธีการปลอมตัว เป็นคนงานและแอบย่องเดินออกมาอย่างง่ายดาย ช่วงที่สอง คือ ช่วงที่ด�ำเนินเนื้อเรื่องยาวในระดับหนึ่ง และ อาจจะยาวที่สุด ของหนังช่วงกลางนี้เหมือน หนังเอาชีวิตรอด จากชายหนุ่ม ที่แหกคุกออกมา 20
และต้องเดินเร่ร่อนทั้งถูกขับไล่จากชาวบ้าน ทั้งต้องสู้กับโรคภัยและความหิวกระหาย แทบจินตนาการไม่ออกเลยใช่ไหมล่ะครับ ? ผมยกตัวอย่างจากหนังดัง อย่างเรื่อง 127 Hours แค่ชื่อเรื่องยกมา หลายๆ คนก็คงจะ อ๋อ กันอย่างแน่นอนครับผมว่าช่วง นี้อารมณ์คล้ายๆ กันครับ เพียงแต่ ยังโชคดีที่ มีเพื่อนที่ปีนเขากลับมาหาด้วยครับ จึงออกเดินทางไปยัง ทิเบต และลงเอยที่ปักหลัก ตั้งฐานในประเทศทิเบต และเริ่มมี ความสัมพันธ์ที่น่าสนใจเกิดขึ้น ไม่ว่าจะแต่งงานกินอยู่ โดยไม่สนใจค�ำพยากรณ์ หรือ ความสัมพันธ์ของคนธรรมดา กับ ดาไลลามะ เป็นอีก point หนึ่งของหนังที่ท�ำให้เกิด ความ รู้สึกลุ้นและเพลินไปกับหนังเรื่องนี้อย่างมากเลยครับ ช่วงที่สาม คือ ช่วงที่เกิดสงคราม ระหว่างชาวทิเบต และเป็นเหตุการณ์ สะเทือนขวัญไปทั่วโลก เรื่องนี้ถือเป็นเหตุการณ์ที่ ถูกจารึกว่ามีความโหดร้ายอย่าง มาก และ นักประวัติศาสตร์หรือ นักสิทธิมนุษยชน มักจะน�ำเรื่องนี้ไปเป็นตัวอย่างใน การบรรยายบ่อบครั้งเช่นกันครับช่วงนี้เป็น ช่วงที่ไม่ยาวมาก และไม่สั้นมากนัก แต่ กลับ ท�ำให้คนที่รู้จักเหตุการณ์นี้และได้มาชมหนัง7ปีโลกไม่ลืมนี้นั้น รู้สึกถึงความโหด ร้ายและสะเทือนใจ อย่างมากแน่นอนครับ ว่าด้วยประเด็นที่น่าจับมาพูดในเรื่อง ประเด็นในเรื่องนี้มีเยอะมากๆ ครับ อย่างผมก็จับได้ไม่ต�่ำกว่า 10-15 ประเด็น แต่มีประเด็นหนึ่งที่ผม ให้ความสนใจเป็น พิเศษครับ นั่นคือ “เชลยสงคราม” เหตุผลหลักๆ ที่ผมว่าประเด็นนี้น่าสนใจคือ น้อย เรื่อง น้อยความ น้อยสาร ที่จะกล่าวถึงเรื่องนี้ครับ อาจจะเพราะ สิทธิ์มนุษยชน หรือ เรื่องของความเห็นใจเพื่อนมนุษย์ด้วยกันกลับกันครับ ผมดันชอบที่ตัวหนังเล่า ประเด็นนี้ออกมา จากบุคคลที่อยู่ต่างประเทศไม่ได้รู้เรื่องรู้ราวอะไร พอรู้สึกตัว ก็ กลายเป็น เชลยไป เสียอย่างนั้น แหม๋..เป็นผมก็คงท�ำตัวไม่ถูกเช่นกันครับ.. แต่ ทั้งหมดนี้ หากจะให้ยกตัวอย่างจริงๆ ก็มีอยู่มากมายครับ จากหนังเรื่องนี้ท�ำให้ผม นึกถึงเรื่อง เชลยชาวญี่ปุ่น ที่โดน เกณฑ์ไปรบที่สงครามเวียดนาม จากชาวอเมริกา และ หนีตายกัน ไปหลบในภูเขา 21
สร้างหลุมหลบภัยและอยู่ในนั้นมานานกว่า 20ปี(ตรงนี้จ�ำปีไม่ได้) จนสงครามมันจบ ไป แต่ก็ยังใช้ชีวิตอยู่ในนั้น จนกระทั่งวันหนึ่งมีชาวนาไปพบเข้า และ พวกเขาถึงได้ทราบว่า สงคราม มันจบไปนานแล้ว..เป็นเรื่องแปลก อีกเรื่องเลยก็ว่าได้ครับ เหมือนกับหนังเรื่องนี้ แหละครับ ที่แปลกในการน�ำเสนอและแปลกในการเล่าเรื่อง รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่ แปลกๆ สรุป เรื่องนี้มันแปลกแต่สนุก
22
23
สร้างอารมณ์ร่วม
24
การเดินทางที่น�ำมาสู่ความเปลี่ยนแปลงตลอดไปของชีวิต ความพลิกผันบน ความไม่แน่นอนของชีวิต กับการเดินทางที่ไม่มีวันสิ้นสุด การหลบหนีเพื่อให้รอดพ้น จากการจับกุม หนัง Seven Years In Tibet หรือในชื่อไทย 7 ปี โลกไม่มีวันลืม ที่เป็นหนัง เกี่ยวกับการเดินทางของนักปีนเขาออสเตรียคนหนึ่งในช่วงยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน ขณะนั้นออสเตรียตกอยู่ใต้การปกครองของนาซี เยอรมัน ทางเยอรมันได้ส่งตัวแทน เพื่อไปพิชิตยอดเขานังกาปาร์บัต บนเทือกเขาหิมาลัย เป็นการปีนขึ้นไปเพื่อปักธงล่า อาณานิคม ซึ่งเขาได้เข้าร่วมกับอีกหนึ่งคนเพื่อเป็นตัวแทนปีนเขาครั้งนั้น และนี่เป็น จุดเริ่มต้นของเรื่องราวชีวิตของ ไฮร์ริค แฮร์เรอร์ รับบทโดย แบรดพิตต์ และปีเตอร์ ออฟชไนเตอร์ รับบทโดย เดวิด ทีวลิส จนท�ำให้เขาทั้งสองต้องไปอาศัยอยู่ที่ประเทศ ทิเบต เนื้อเรื่องดูแล้วเกิดความประทับใจทันทีหลังจากที่เรื่องจบลง มันท�ำให้เรา เห็นถึงอุปสรรคต่างๆ ที่ตัวละครต้องเผชิญ การเล่าเรื่องไม่ได้มีอะไรมาก แต่บางช่วง ของหนังมันสร้างอิมแพคให้กับคนดู สร้างมิติให้เห็นถึงเรื่องราวที่ก�ำลังเกิดขึ้นและบาง ฉากที่ดูมันดูสมจริงว่าเหตุการณ์แบบนี้มันก็เกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้ง การด�ำเนินเรื่องดูแล้ว เพลินถึงหนึ่งจะสองชั่วโมงนิด ๆ แต่ด้วยบทและตัวนักแสดงมันดูดให้เราดูจนจบ 25
เป็นการเล่าเรื่องที่เรียบ ๆ แต่โดยรวมคือดี น่าติดตามดูจนจบ ตอนเริ่ม เรื่องมันเหมือนเป็นการเปิดโลกใบใหม่ขึ้นมา แต่พอถึงตอนจบเรื่องเหมือนปิดสวิตช์ ปมที่ค้างเอาไว้ จนรู้สึกว่ามันหมดปมที่หนังได้เล่าเอาไว้เกี่ยวกับตัวเอกของเรื่อง จากที่ดูหลัก ๆ ที่จะเห็นได้ชัดจากเรื่องนี้เลย คือ เรื่องของศาสนาและการเมืองทีมัน มีความขัดแย้งกันจากทางสองฝั่งประเทศมหาอ�ำนาจที่เกิดขึ้นในช่วงของสงครามโลก และมีการจะเข้ายึดครองและรวบรวมแผ่นดินของทางฝั่งจีน มันเป็นความขัดแย้งเรื่อง ของศาสนา วัฒนธรรมซะเป็นส่วนใหญ่ เพราะมันมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด ของทางสองฝั่งประเทศ จนท�ำให้เป็นปัญหาระดับชาติ ร่วมถึงส่งผลถึงตัวละครหลัก ของเรื่องที่ต้องท�ำการหลบหนีหาที่พักพิง นอกจากเรื่องของศาสนาและการเมือง วัฒนธรรม ยังมีเรื่องของความรักและ มิตรภาพจากตัวละครที่สร้างขึ้นมา แต่ในความรักและมิตรภาพนั้นมันมีความขัดแย้ง เช่นกัน มันจะมีจุดพลิกของตัวละครอยู่ช่วงนึง คือตอนที่ตัวละครของตัวได้ร่วมเดิน ทางด้วยกัน และมีจุดเปลี่ยนความรู้สึกไม่ชอบขี้หน้ากันของตัวละครสองตัวนี้เป็นตอน ที่เขาทั้งสองถูกคนทิเบตจับและจะน�ำตัวไปส่งที่อินเดีย แวะที่ตลาดแห่งหนึ่งปีเตอร์ได้ ขายนาฬิกาทิ้ง และไฮร์ริคก็เช่นกัน แต่ไฮร์ริคมีเก็บไว้อีกถึงสามเรือนด้วยกันท�ำให้ปี เตอร์โกรธเขามาก และขอจบการเดินทางร่วม แต่ไฮร์ริคก็ตามไปขอโทษ ขอืคนดี ท�ำให้เขาทั้งสองกลับมาดีกัน มันเป็นมุมที่มองแล้วก็น่ารัก ประทับใจที่ตัวไฮร์ริคย่อม อ่อนข้อลงจากเดิมเยอะมาก พวกเขาก็ร่วมกันเดินทางสู่ทิเบตประเทศที่จะท�ำให้เขา ไปพบกับเด็กที่พิเศษคนนึง คือ องค์ทะไลลามะ รุ่นที่ 4 ตัวละครเอกของเรื่องไฮร์ริค ที่รับบทโดย แบรด พิตต์ เขาเป็นคนที่มีความ ทะนงตัวสูง ยึดมั่นในตัวเองมาก และดูเป็นคนฉลาด แต่ในบางมุมความก้าวร้าวของ เขามันก็ส่งผลที่ไม่ดีให้กับตัวของเขาเอง เป็นตัวละครที่พัฒนาขึ้น ๆ เราได้เห็น พัฒนาการจากตัวละครของเขาได้อย่างชัดเจนมาก จากตรงต้นเรื่องสู่ท้ายเรื่องมัน ท�ำให้ความคิดของเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ขึ้น ดูสงบลงจากตอนต้นเรื่องเป็นอย่างมาก 26
และความสัมพันธ์ของเขากับครอบครัวที่มันติดลบ ตอนแรกเขาไม่อยากมีลูกกับแฟน เขาเลย แต่พอเริ่มยิ่งห่าง ก็เฝ้าแต่คิดถึงห่วงหาลูก จนสุดท้ายเขาก็ได้กลับไปและท�ำ หน้าที่ของพ่อ ตัวละครเด่นอีกตัวของเรื่องปีเตอร์ ออฟชไนเตอร์ รับบทโดย เดวิด ทีวลิส เป็นตัวละครที่ช่วยเกื้อหนุนตัวพระเอกและยังเป็นมิตรภาพที่ดีให้กัน เป็นคนที่มีบุคลิก ดูสุขุมกว่าไฮร์ริคอยู่มาก เป็นตัวละครที่เราไม่ได้เห็นถึงพัฒนาการมาก เพราะดูเป็น ตัวละครที่เสมอต้นเสมอปลายมาตั้งแต่แรกเริ่มของเรื่อง และอีกหนึ่งตัวละครส�ำคัญของเรื่อง ถ้าไม่มีเรื่องนี้ก็จะไม่ได้ด�ำเนินต่อ คือ องค์ทะไลลามะ ที่สี่ตอนเด็ก ที่เป็นคนแสวงหาความรู้และเป็นใบเบิกทางให้ทั้งสองตัว ละครหลักได้เข้าสู่แผ่นดินตอนเหนือเมืองหลวงของทิเบต เป็นตัวละคนที่มีความอยาก รู้อยากเห็นโลกกว้างในทุกสิ่งเท่าที่จะเห็นได้ เป็นคนที่ท�ำให้ไฮร์ริค มีนิสัยเปลี่ยนไป ส่งผลให้ตัวละคนไฮร์ริคดูสงบนิ่งขึ้น สุขุม และเติบโตอย่างมาก มันเป็นเรื่องของทางแนวคิดที่เล่าเรื่องอัตชีวประวัติเรื่องนี้ออกมา มันท�ำให้ เราเห็นมุมมองของหนังที่มันสื่อถึงพัฒนาการของตัวละคร ความเหลื่อมล�้ำของยุค ชีวิต การอยู่อาศัย วัฒนธรรม การเมือง ศาสนาที่มันเข้ามาเกี่ยวพันกับเรื่องที่มันเกิด ขึ้นทั้งหมด ถ้าตัวไฮร์ริคไม่เข้าร่วมการเดินทางกับกลุ่มนักปีนเขา ช่วงของนาซีเพื่อไป ปักธงบนยอดเขา เขาคงไม่ต้องเจอกับการที่ท�ำให้ตัวเองต้องโดนจับเป็นเชลย ไม่ต้อง หนีพวกกลุ่มคนที่พยายามจะส่งตัวเขากลับ จนเขาเดินทางมาถึงทิเบตที่เป็นเป้าหมาย หลักของตัวเอง ท�ำให้ได้เห็นการเดินทาง การด�ำเนินเรื่องที่มันต่อเนื่องกันของหนัง การ เปลี่ยนโลเคชั่น การเปลี่ยนมุมของกล้อง มันออกมาเป็นองค์ประกอบที่น่าสนใจน่า ติดตาม ฉากต่าง ๆ ที่ดูสวยงามบนพื้นที่โล่งที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ เสียงซาวน์ ประกอบ แสง สี ภาพ อารมณ์มันส่งท�ำให้ดูได้อย่างเพลิดเพลิน และสบายตามาก 27
หนังเรื่องนี้เป็นอีกเรื่องที่เป็นเหมือนกับครูสอนเรา การด�ำเนินชีวิต จากสอง ชั่วโมงที่ดูมันท�ำให้เราเห็นพัฒนาการของเขาอยู่ตลอดเวลา เราก็ได้จากเรื่องมาว่า ชีวิตมันต้องลองเรียนรู้ และท�ำมัน ต้องเปิดใจและมองให้เห็นข้อบกพร่องของตัวให้ได้ อย่างถ่องแท้ และเมื่อหนังจบลงมันก็เป็นการคลายปมทุกอย่างท�ำให้เราได้เห็นว่าตัว ละครตัวนี้มันก็มีด้านที่ดีของมันนะไม่ใช่เห็นแต่ด้านที่ก้าวร้าว ถือว่าคุ้มที่จะลองดูกับ หนังเรื่องนี้ เพราะมันท�ำให้เราได้เห็นในหลายมุมมอง
28
29
มิตรภาพไม่เสื่อมคลาย
30
วันนี้มีโอกาสได้ดูหนังเรื่อง Seven year in Tibet (7 ปี โลกไม่มีวันลืม) เป็น เรื่องราวความจริงของหนุ่มนักปีนเขาชาวออสเตเรีย ชื่อไฮน์ริด แฮร์เรอร์ ในเรื่องรับ บทโดย แบรต พิตต์ หนังตัดสินใจทิ้งภรรยา และลูกที่ยังไม่ลืมตาดูโลกไปปีนเขาเพื่อ เป็นเกียรติและศักดิ์ศรีให้แก่ประเทศ แล้วเขาถูกจับไปเป็นเชลยในช่วงสงครามโลก เขาพยายามหลบหนีอยู่หลายครั้งจนสามารถหนีออกมาได้ส�ำเร็จ การดั้นด้นหนีตาย ท�ำให้เขาเดินทางมาถึงเมืองซาลาของทิเบต พร้อมกับปีเตอร์ ออฟซไนเตอร์ (หัวหน้า นักปีนเขา) จนได้พบกับองค์ทะไลลามะในวัยเด็ก เขาอาศัยอยู่ที่นี่เป็นเวลานาน และ ด้วยองค์ทะไลลามะที่อยู่ในช่วงวัยเด็กท�ำให้อยากรู้อยากเห็นว่าโลกข้างนอกเป็นยังไง จนมีรับรับสั่งให้แฮร์เรอร์เข้าพบเพื่อไขข้อสงสัยในสิ่งที่ไม่รู้ จนทั้งสองกลายมาเป็น เพื่อนและแฮร์เรอร์ก็กลายเป็นครูสอนดาราศาสตร์และอีกหลายอย่างให้แก่องค์ทะ ไลลามะ นานจนถึงช่วงที่โดนรุกรานจากจีน ขณะที่การอยู่ที่นี่ท�ำให้แฮร์เรอร์ได้เรียนรู้ อะไรหลายๆ อย่าง ทั้งจากผู้คน วัฒนธรรมหรือแม้กระทั่งองค์ทะไลลามะเอง จน ท�ำให้ชายหนุ่มที่มีความทะเยอทะยานพบกับความสุขที่แท้จริง 31
แต่ประเด็นที่จะหยิบมาคุยกันในมุมมองส่วนตัว คือมิตรภาพระหว่างไฮน์ ริด แฮร์เรอร์ ปีเตอร์ ออฟซไนเตอร์ และองค์ทะไลลามะ จากต้นเรื่องดูเหมือนว่าปี เตอร์กับแฮร์เรอร์จะไม่ลงรอยกันเท่าไหร่ แต่หลังจากการหลบหนีท�ำให้ทั้ง2 มาเจอ กันอีกครั้ง ส่วนตัวมองว่าตัวตนของแฮร์เรอร์ที่มีความเจ้าเล่ห์อยู่ในตัว ท�ำให้ปีเตอร์ ไม่ค่อยชอบใจ แต่การด�ำเนินเรื่องของพวกเขาทั้งสองคือจุดเด่นที่ท�ำให้เรื่องเป็นไป อย่างสนุก อย่างปีเตอร์ที่เรามองว่าเขาค่อนข้างมีเหตุผลที่จะท�ำอะไรหลายๆ อย่าง และเขาที่ตามความเจ้าเล่ห์ของแฮร์เรอร์ไม่ค่อยทัน ท�ำให้เขามีการปรับตัวอยู่ไม่น้อย อย่างตอนพบรักกับสาวช่างตัดเสื้อที่เขาต้องแข่งกับแอร์เรอร์เพื่อจีบเธอ ท�ำให้นึกถึง หนังไทยในสมัยก่อนที่มักจะเห็นบ่อยๆ กับฉากแข่งกับเพื่อนจีบสาว ส่วนตัวชอบคา แร็กเตอร์ของปีเตอร์มาก เพราะเขาจะมีมุมนุ่มๆ ในโหมดของผู้ชายใจดีและมีมุมตล กนิดๆ อยู่ในตัว ส�ำหรับนักปีนเขาเหรียญทองโอลิมปิกอย่างไฮน์ริด แฮร์เรอร์กับปีเตอร์นั้น การเดินทางร่วมกันท�ำให้พวกเขาได้ปรึกษาเรื่องราวต่างๆ ด้วยกันมากขึ้น โดยเฉพาะ เมื่ออยู่ในทิเบตพวกเขายิ่งสนิทกันมากขึ้น ซึ่งมีเรื่องของผู้คนและวัฒนธรรมที่หล่อ หลอมเขาให้กลายมาเป็นเพื่อนกันในที่สุด อย่างฉากของทั้งสองที่ชอบที่สุดคือ ฉากที่ แฮร์เรอร์จะเดินทางกลับบ้าน(ออสเตเรีย) ปีเตอร์ได้รินชาใส่ชามเอาไว้ และบอกแฮร์ เรอร์กลับมาเพื่อกินมันอีกครั้ง ฉากนี้ท�ำให้รู้สึกว่ามันมีความหมายมากๆ การสื่อ ความหมายทางสีหน้ารอยยิ้ม และสายตาของทั้งสองมันชัดเจนมากในความรู้สึกของ เรา และมีอีกหลายฉากที่พวกเขาแสดงออกมาได้ดีมากๆ เมื่อเข้าฉากร่วมกัน ตอนแรกงงกับฉากที่ตัดสลับไปมาระหว่างองค์ทะไลลามะกับแฮร์เรอร์ว่ามี ส่วนเกี่ยวข้องกันยังไง จนกระทั่งเขาได้เดินทางมาถึงเมืองซาลา จนท�ำให้เผลอคิดว่า คงมีอะไรดลใจให้พวกเขาที่อยู่คนละเชื้อชาติ วัฒนธรรมได้มาแลกเปลี่ยนและเติม เต็มในสิ่งที่อีกคนขาด มิตรภาพระหว่างองค์ทะไลลามะที่สี่สิบในวัยเด็กกับแฮร์เรอร์ 32
ในฐานะเพื่อนที่คอยรับฟังและให้ค�ำปรึกษา และอาจารย์คนสนิทท�ำให้องค์ทะไลลามะ ได้เรียนรู้ในสิ่งที่ไม่เคยได้ยินได้เห็น บุคลิกขององค์ทะไลลามะจะนิ่งสงบเมื่อมีเหตุให้ ต้องตัดสินใจ ส่วนตัวมองว่าความเงียบสงบนี่แหละที่เป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้แฮร์เรอร์คน ใจร้อย ค่อยๆ เปลี่ยนไปในทิศทางที่ดีขึ้น ค�ำพูดและค�ำสอนหลายๆ อย่างได้ทะลาย ก�ำแพงที่ปิดบังตัวตนของเขาให้พังลง จนท�ำให้แฮร์เรอร์พบทางสว่างให้ตัวเอง โดย เฉพาะฉากจบอีกเช่นกัน คือภาพขององค์ทะไลลามะกับแฮร์เรอร์ที่เอาหน้าผากแนบ ชิดกัน มันคือการบอกลาที่งดงามและเป็นบทสรุปที่ดีที่สุดและสวยงามที่สุดแล้วใน เรื่องนี้ ด้วยอายุที่ห่าง วัฒนธรรมที่แตกต่างท�ำให้เกิดมิตรภาพที่สวยงามมากๆ ตัว แสดงหลักแสดงได้อย่างถึงอารมณ์ นักแสดงหลักเข้าฉากด้วยกันมันท�ำให้คอยลุ้นว่า ฉากต่อไปจะเป็นยังไง เรามองว่าบทพิสูจน์ของมิตรภาพในเรื่องนี้คงเป็นเวลาและ ความต่างของวัฒนธรรม เพราะระยะ7 ปี ในทิเบต ที่ได้มีการถ่ายทอดออกมา มีสอง สิ่งนี้ที่ท�ำให้เรื่องราวของปีเตอร์ กับแฮร์เรอร์ และ แฮร์เรอร์ กับ องค์ทะไลลามะกลาย มาเป็นเพื่อน และสร้างมิตรภาพที่สวยงามและยิ่งใหญ่ได้อย่างแน่นแฟ้น
33
34
การค้นพบความสุขและสมดุลของ ชีวิต “ ไฮน์ริค แฮร์เรอร์ “
35
ความเชื่อมั่นและความมั่นใจในตนเอง เป็นสิ่งที่ใครหลายๆคนต้องการและ อยากมี เพราะไม่ว่าจะท�ำอะไรหากเรามีความมั่นใจเราก็พร้อมพุ่งชนกับทุกปัญหา ซึ่งในภาพยนตร์อัตชีวประวัติของ ไฮน์ริค แฮร์เรอร์ เรื่อง “ 7 Year in Tibet 7 ปีโลก ไม่ลืม “ ก็ท�ำให้เราเห็นว่าตัวเขานั้นที่เป็นนักปีนเขาที่พิชิตยอดเขามานักต่อนัก มี ความมั่นใจในตนเองและมีความทะเยอทะยานสูง ที่ยอมทิ้งแม้กระทั่งภรรยาและลูก เพื่อมาปีนเขา แต่เขากับท�ำมันไม่ส�ำเร็จเพราะมีเรื่องกวนใจท�ำให้จิตใจของเขาไม่นิ่ง ซึ่งสิ่งนั้นก็คือลูกและภรรยาของเขา ด้วยเหตุนั้นจึงท�ำให้การปีนเขาของเขาไม่ส�ำเร็จ ประจวบเหมาะกับสภาพ อากาศไม่ค่อยดีจึงเป็นเหตุให้เขาและทีมปีนเขาคนอื่นๆต้องยกเลิกการปีนเขาและ กลับลงมายังด้านล่างและโดนจับตัวไปยังค่ายกักกัน ในช่วงการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ตัวเขาได้พยายามหนีออกจากค่ายกักกันอยู่หลายครั้งแต่ก็โดนจับตัวกลับมาทุก ครั้ง และแน่นอนว่าการหลบหนีเป็นแผนที่เชลยอีกหลายๆคนคิด เชลยคนอื่นๆชวน เขามาร่วมมือกันหลบหนี แต่ด้วยนิสัยของเขาเขาก็รีบเอ่ยปากปฎิเสธโดยทันที แต่ใน ภายหลังเขาก็หนีออกมาได้ด้วยการลดทิฐิและยอมร่วมมือหลบหนีกับเชลยคนอื่นๆ
36
หลังจากการหลบหนี ไฮน์ริค ได้ขอแยกทางกับเชลยคนอื่นๆ และระหว่าง ทางเขาก็ได้พบกับหนึ่งในเชลยและเพื่อนร่วมปีนเขา “ ปีเตอร์ ออฟชไนเดอร์ “ ทั้งสอง ได้ออกเดินทางร่วมกันและ ไฮน์ริคก็เกิดแตกหักกับปีเตอร์ เพราะเขาหลอกให้ปีเตอร์ น�ำนาฬิกาที่เป็นของส�ำคัญแลกกับอาหาร โดยที่ตนมีนาฬิกาและแหวนที่เก็บซ่อนเอา ไว้ ทั้งสองทะเลาะกันอย่างรุนแรงแต่ไฮน์ริคก็ยังไม่ยอมรับว่าตนเองท�ำผิดและไม่ยอม เอ่ยค�ำขอโทษต่อปีเตอร์ ปีเตอร์จึงตัดสินใจที่จะแยกทางกับไฮน์ริคและเดินจากไป เห ลือแค่ไฮน์ริคที่ต้องอยู่คนเดียว และนั่นก็ท�ำให้เขาได้คิดทบทวนกับตนเองและพบว่า สิ่งที่ตนเองท�ำมันผิด เมื่อเขาคิดได้เขาจึงรับวิ่งไปหาปีเตอร์พร้อมกัยเอ่ยค�ำพูดและถึง แม้เขาจะไม่ได้เอ่ยค�ำว่า “ขอโทษ” ออกมาแต่สิ่งที่เขาท�ำก็ท�ำให้ปีเตอร์เข้าใจได้ว่าเขา รู้ตัวแล้วว่าเขาผิด ด้วยการตัดสินใจวิ่งไปหาปีเตอร์ของไฮน์ริคก็ท�ำให้เขาได้เพื่อน ร่วมทางของเขากลับมาอีกครั้ง ทั้งสองเดินทางมาจนถึงทิเบตและได้รับความช่วยจากชาวทิเบตพร้อมกับให้ ที่พักอาศัยแก่พวกเขา ในระหว่างนั้นทั้งสองก็ได้ตกหลุมรักหญิงสาวคนหนึ่งเข้า ทั้ง สองแย่งกันท�ำแต้มในการจีบเธอ ฝ่ายไฮน์ริคนั้นด้วยเป็นคนที่มีความทะเยอทะยาน และมีความมั่นใจในตนเองสูงเขาได้ท�ำการคุยโอ้อวดตังเองถึงขั้นสุด แต่แล้วการจีบ เธอก็ต้องถูกยุติลงเพราะคนที่ได้ใจของหญิงสาวไปครอบครองคือ ปีเตอร์ ออฟชไนเด อร์ โดยทางฝ่ายปีเตอร์ ไม่ได้มีการคุยโอ้อวดตนเองเลย และนั้นก็ท�ำให้เขาได้รับรู้ ว่าการมีความมั่นใจและคุยโอ้อวดตนไม่ได้ท�ำให้เขาดีหรือถูกมองว่าเหนือกว่าผู้อื่นแต่ อย่างใด ต่อมาไฮน์ริคก็ได้ถูก” องค์ทะไล ลามะ “ เรียกให้ไปเข้าพบ ไฮน์ริคได้เข้า พบองค์ทะไล ลามะอยู่บ่อยครั้งในฐานะเพื่อนและครูคนหนึ่งขององค์ทะไล ลามะ ใน การถ่ายทอดเรื่องราวของอีกซีกโลกหนึ่งให้กับพระองค์ได้รับรู้ แต่ในขณะเดียวกันตัว ของไฮน์ริคเองก็ได้เรียนรู้จากพระองค์ถึงความสงบ สันติ และการมองเพื่อส�ำรวจลึก เข้าไปภายในจิตใจของเขาเช่นกัน ถึงแม้ว่าเขาจะต้องพบกับการพลิกผันของชีวิตและ ใช้เวลายาวนานในการเรียนรู้ 37
ก็ท�ำให้เขาที่เป็นถึงนักกีฬาปีนเขาที่มีความมั่นใจในตนเองสูงและเต็มไปด้วยความ ทะเยอทะยานจนยอมทิ้งภรรยาและลูกมาเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเอง เพื่อความฝันที่อยากจะพิชิตยอดเขาที่สูงที่สุดในโลกได้เข้าใจว่าแม้ว่าเขาจะพิชิตยอด เขาสูงมากี่ร้อยกี่พันครั้ง ก็ไม่ท�ำให้เขาพิชิตความทุกข์และความเปลี่ยวเหงาที่ซ่อนอยู่ ภายในจิตใจของเขาได้เลย ท้ายที่สุดแล้วการที่เราจะท�ำอะไรหรือสิ่งใดได้ส�ำเร็จ ไม่ใช่เพียงเรามีความ มั่นใจในตนเอง แต่เราจะต้องรู้จักการเอาใจตนเอง รู้จักยอมรับข้อบกพร่องของตนเอง และเปิดใจที่จะยอมรับสิ่งใหม่ๆเหมือนกับ “ไฮน์ริค แฮร์เรอร์” ที่ยอมลดทิฐิและร่วม มือกันหลบหนีกับเชลยคนอื่นๆ ยอมไปขอโทษปีเตอร์จนได้เพื่อนร่วมทางกลับมา ยอมรับความพ่ายแพ้จากเกมการจีบสาว และยอมเปิดใจยอมรับและเรียนรู้ที่จะพิชิต ความทุกข์ที่ถูกซ่อนอยู่ภายในจิตใจ ถึงแม้ว่าเขาจะใช้เวลาค้นหาและเรียนรู้มันถึง 7 ปี แต่มันก็ท�ำให้เขาค้นพบความสุขและสมดุลของชีวิตอย่างแท้จริง
38
39
ความดื้อรัน้ อาจเป็ นเหตุ
40
หนังเรื่องนี้เป็นเรื่องราวของชายหนุ่มคนหนึ่งที่ชื่อว่า “แฮริค” ชายหนุ่มผู้ที่รัก ในการปีนเขาเป็นชีวิตจิตใจ แม้ว่าเขาจะเชี่ยวชาญเกี่ยวกับเรื่องปีนเขาจนได้รับรางวัล เหรียญทองโอลิมปิก แต่ในฐานะหัวหน้าครอบครัวเราว่าเขายังท�ำได้ไม่ดีพอ ฟังจากที่ แฮริคบอกกับปีเตอร์ว่า ที่เขาหนีออกมาจากออสเตรเลียแล้วมาปีนเขาก็เพราะเขาไม่ อยากมีลูก ซึ่งเราคิดว่าตอนนั้นภรรยาของแฮริคน่าจะก�ำลังตั้งท้องอยู่ ซึ่งเหตุผลนี้ แหละมันท�ำให้เรามองว่าแฮริคยังมีข้อบกพร่องในฐานะผู้น�ำครอบครัว เรามองว่าตรง นี้ยังไม่ค่อยสมเหตุสมผลเท่าไหร่ เพียงแค่เพราะไม่อยากมีลูกเลยต้องทิ้งภรรยาที่ตั้ง ท้องให้อยู่ท่ามกลางช่วงสงครามคนเดียว ไม่แปลกใจท�ำไมภรรยาของแฮริคถึง ต้องการจะหย่ากับเขา แฮริคและกลุ่มนักปีนเขาได้ออกเดินทางมายังทวีปเอเชียเพื่อมาพิชิตยอด เขาในฐานะคนของเยอรมนี แต่เนื่องจากยังอยู่ในสงครามจึงท�ำให้แฮริคและกลุ่มนัก ปีนเขาถูกทหารของอังกฤษจับไปขังไว้ที่อินเดีย ในขณะที่พวกเขาก�ำลังปีนเขาอยู่นั้น เอง แฮริคก็ได้รับบาดเจ็บที่ข้อเท้าแต่เขาไม่ได้บอกกับเพื่อนร่วมทีม ซึ่งเรารู้สึกไม่เห็น ด้วยกับความคิดนี่ของแฮริคมากๆ เพราะเขาเกือบจะท�ำให้เพื่อนร่วมทีมของเขาได้รับ อุบัติเหตุถึงขั้นเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ พอเพื่อนเตือนหรือบอกกับแฮริค เขาก็จะเถียง เพื่อนกลับเสมอ เหมือนกับเขาไม่เคยรับฟังความคิดเห็นของคนอื่นเลยนอกจากตัวของ เขาเอง นี่ก็เป็นอีกอย่างหนึ่งที่ท�ำให้เราไม่ค่อยชอบแฮริคในช่วงแรกๆ 41
หลังจากกลุ่มนักปีนเขาของแฮริคถูกจับไปขังที่อินเดีย พวกเขาก็คิดหาทาง จะหนีออกจากที่คุมขังแต่มันก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะออกจากที่นั้น กลุ่มนักปีนเขาจึงได้ ปรึกษากันว่าจะหนีออกจากที่นี่ได้อย่างไร แน่นอนว่าแฮริคก็เป็นหนึ่งในนั้นที่น�ำเสนอ ทางออก แต่อย่างที่บอกไปข้างต้นว่าเขาไม่ฟังความเห็นของคนอื่น ชอบท�ำอะไรที่แตก ต่างจากคนอื่น โดยไม่ค�ำนึงถึงความปลอดภัยของผู้อื่นเลย แต่เรื่องนี้ก็สะท้อนให้เรา ได้ข้อคิดอะไรหลายๆ อย่าง เราควรจะรับฟังความคิดเห็นของคนอื่นบ้าง เห็น ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน ซึ่งตัวละครอย่างปีเตอร์เป็นตัวอย่างที่ดีเลยในเรื่อง นี้ นอกจากนี้ หลังเรื่องนี้ยังมีความน่าสนใจอีกอย่างหนึ่งนั้นก็คือ การท�ำ สงครามและการล่าอาณานิคม อย่างหนึ่งที่หนังสะท้อนเรื่องคนที่เชื่อหรือศรัทธาใน เรื่องของศาสนากับคนที่ไม่เชื่อในเรื่องของศาสนา อย่างผู้น�ำของจีนในหนังเรื่องนี้ที่ ต้องการเป็นผู้น�ำทางการเมืองในประเทศทิเบต เขามองว่าศาสนาเป็นเรื่องที่งมงาย และเป็นบ่อนท�ำลายประเทศชาติ ซึ่งเป็นความคิดที่ขัดแย้งกับคนทิเบตที่มีความเชื่อ และศรัทธาในพระพุทธศาสนา หากมองในอีกมุมหนึ่งในหนังคนทิเบตที่เชื่ออย่างนั้น กลับเป็นคนที่อ่อนโยน เห็นคุณค่าของทุกชีวิต เราชอบส่วนนี้ของหนังมากเลย ดูแล้ว มันรู้สึกว่าน่ารักมากๆ อีกส่วนหนึ่งก็หงุดหงิดที่ผู้น�ำจีนมาพูดดูถูกคนทิเบตอย่างนั้น เหมือนกับมองมุมมองของตัวเองและไม่มองวัฒนธรรมของที่อื่น คิดว่าตัวเองยิ่งใหญ่ กว่าคนอื่น กลับมาที่ตัวละครหลักอย่างแฮริคและปีเตอร์ที่พวกเขาทั้งคู่ได้หนีออกมา จากคุกได้ส�ำเร็จ ทั้งคู่ได้เดินทางร่วมกันแม้จะมีกระทบกระทั่งกันบ้าง แต่สิ่งนั้นเองก็ ท�ำให้แฮริคได้เรียนรู้ที่จะใช้ชีวิตร่วมกับคนอื่น เราว่าตรงนี้หนังสอนเราได้ดีเลย บาง ครั้งเราก็ทะเลาะกันเพื่อที่จะได้เข้าใจกัน ไม่ใช่ทะเลาะกันเพื่อตัดมิตรภาพ หลังจากแม้ จะพ่ายแพ้ให้กับความรักแต่แฮริคกลับได้มิตรภาพงดงามจากองค์ทะไลลามะกลับคืน มา เหตุเพราะแฮริคได้รับค�ำสั่งให้เข้าเฝ้าองค์ทะไลลามะ หลังจากนั้นแฮริคก็ได้ 42
สอนอะไรหลายๆอย่างให้กับองค์ทะไลลามะซึ่งตอนนั้นยังเด็กอยู่ เป็นทั้งเพื่อน ทั้งที่ ปรึกษา และในส่วนลึกในหัวใจของแฮริคก็คิดว่าองค์ทะไลลามะคือลูกของเขาคน หนึ่ง ซึ่งเขานั้นก็ได้คิดถึงลูกเขาตลอดเวลาที่อาศัยอยู่ทิเบต เขาเคยเขียนจดหมายไป หาลูกของเขาซึ่งแน่นอนว่าลูกของเขาไม่ยอมรับว่าเขาเป็นพ่อ นั้นท�ำให้เขาเสียใจมาก เราว่าตรงนี้เป็นผลการกระท�ำที่เขาได้ท�ำไว้มากกว่า เพราะเขาเองบอกว่าไม่อยากมี ลูกและได้ทิ้งลูกกับภรรยามาปีนเขา เราว่าแฮริคต้องยอมรับตรงนี้ให้ได้ หลังจากที่ทิเบตได้ถูกรุกรานจากจีน องค์ทะไลลามะได้บอกให้แฮริคกลับ ไปที่ออสเตรเลียเพื่อกลับไปหาลูกของเขา กลับไปท�ำหน้าที่พ่อที่ดีที่ควรจะท�ำ ส่วน พระองค์จะอยู่ทิเบตต่อและได้รับการสถาปนาให้เป็นผู้น�ำทางด้านการเมือง เราชอบที่ องค์ทะไลลามะสอนแฮริคมากเลย ที่บอกว่าพระองค์ไม่ใช่ลูกของแฮริค หากคิดถึง ลูกก็จงกลับไปหาเขา กลับไปท�ำหน้าที่พ่อที่ดี ชดเชยในสิ่งที่ผ่านมาให้เขา นั้นจึง ท�ำให้แฮริคตัดสินใจกลับออสเตรเลียไปหาลูก หลังจากนั้นแฮริคได้เดินทางกลับออสเตรเลียไปหาลูกของเขา แน่นอนว่า ลูกของเขาไม่ยอมเจอเขา แต่เขาก็ไม่ยอมแพ้ ได้มอบของที่ได้จากองค์ทะไลลามะให้ กับลูกชายของเขา ซึ่งนั้นก็ได้ผล ลูกชายเขายอมออกจากที่ซ่อนเพื่อมาดูของที่แฮริ คน�ำมามอบให้ หลังจากนั้นก็ตัดภาพมาที่แฮริคพาลูกชายของเขามาปีเขา ซึ่งจาก ฉากนี้ลูกชายของเขาได้โตขึ้นมากพอสมควรและยังมาปีนเขากับแฮริคอีก แสดงว่าทั้ง คู่ได้เข้าใจกันดีและกลับมาเป็นพ่อลูกกันเหมือนเดิม แสดงว่าที่ผ่านมาแฮริคไม่ยอม แพ้และพยายามเข้าหาลูกชายของเขาด้วยความรักของผู้เป็นพ่อ แสดงให้ลูกชายของ เขาได้เห็นว่าแฮริครักและพร้อมรับผิดชอบในวันเวลาที่ผ่านมา เราว่ามันเป็นตอนจบ ที่ดีมาก ชอบมากๆ และยังมีฉากแฮริคนั่งมองทอดสายตาไปยังทิศที่ประเทศทิเบต ตั้งอยู่ ซึ่งแสดงถึงความห่วงใยและความคิดถึงองค์ทะไลลามะที่ทรงลี้ภัยอยู่จากพิษ ทางการเมือง รวมๆแล้วเราว่าหนังสอนเราได้หลายๆอย่างมาก เป็นหนังที่ควรค่าแก่ การดูมากๆ มีครบทุกอารมณ์ โดยรวมเราชอบมากๆ เลย 43
44
ชนชัน้ ที่ต่าง ไม่ได้หมายความว่า มิตรภาพจะไม่บงั เกิด
45
การเดินทางครั้งนี้ของไฮริชกลับเป็นการเดินทางที่ผ่านเขาไปพบกับเรื่องราวมากมาย ทั้งการเอาขีวิตรอดจากการติดคุกที่อินเดีย เอาชีวิตรอดจากอากาศหนาวเหน็บ การ ความอดยากต่าง ๆ ที่เขาต้องเผชิญตลอดการเดินทาง เขาเดินทางรวมกับนักเดิน ทางที่สามารถหนีเอาตัวรอดมาด้วยกันหนึ่งคนนั่นคือ ปีเตอร์ ออฟชไนเตอร์ สองนัก เดินทางที่มีจุดหมายเดียวกันนั่นคือ ลาซา เมืองหลวงของประเทศทิเบต สถานที่ที่เต็ม ไปด้วยเรื่องราวของศาสนา ความเลื่อมใส ที่นั่นไฮรีชได้เรียนรู้ และค้นพบมิตรภาพ ครั้งใหม่กับผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นองค์จ�ำลองเทพแห่งทเบต ทะไลลามะ 7 Year in Tibet จากฝีมือผู้ก�ำกับชาวฝรั่งเศส ฌอง ฌากส์ อันโน นอกจาก นี้ยังเสริมทัพด้วยนักแสดงคุณภาพอย่าง แบรด พิตต์ และเดวิด ทีวลิส รับบทน�ำของ หนังอีกด้วย หนังสร้างจากหนังสือ อัตชีวประวัติของไฮน์ริค ฮาร์เรอร์ ซึ่งก็คือตัว ละครเอกของหนังนั่นเอง ภาพยนตร์เรื่องนี้เข้าฉายในปี 2540 น�ำเสนอด้านบวกของทะ ไลลามะ แต่กลับเสนอภาพลักษณ์ในด้านลบของประเทศจีนจากการเข้ารุกราน และ บีบบังคับทิเบตให้อยู่ภายใต้การปกครองของจีน ส่งผลให้เมื่อหนังเข้าฉายก็ท�ำให้เกิด กระแสวิพากษ์วิจารณ์ในหลาย ๆ ด้าน
46
แต่ที่หนักที่สุดคงเป็นทางด้านฝั่งจีนที่สั่งแบนผู้ก�ำกับและนักแสดงทั้งสองเข้าประเทศ เลยทีเดียว มิตรภาพ คนต่างชาติ องค์ทะไลลามะ ความสัมพันธ์ที่ไม่น่าจะเกิดขึ้นได้ ในหนังตัวไฮริช คือ ตัวชูโรงในทุกๆ เรื่อง แน่นอนก็เพราะว่าหนังเรื่องนี้มัน สร้างจากชีวประวัติของเขา แต่ถ้าลองมองดีๆ เราจะสังเกตเห็นได้ชัดเจนว่ามีบาง เรื่องของหนังที่ย้อนแย้งกับบริบทในประเทศทิเบต ไม่ว่าจะเป็นข้อห้าม หรือกฎข้อ บังคับที่ต้องประพฤติตัวเมื่ออยู่ต่อหน้าทะไลลามะ อีกทั้งทิเบตนั้นเป็นประเทศที่น้อย คนนักที่เป็นชาวต่างชาติจะสามารถเข้าไปใช้ชีวิต หรือเข้าไปศึกษาหรือหลบซ่อนอยู่ได้ นานตามที่หนังได้บอกเอาไว้ หนังชูเรื่องมิตรภาพระหว่างทะไลลามะ กับตัวไฮริช ในที่ นี้เราไม่ได้มาขัดแย้งว่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นที่เจ้าตัวเล่ามานั้นเป็นเรื่องโกหกหรือเรื่องแต่ง แต่อย่างใด เพราะทะไลลามะที่ 14 ก็ยังทรงพูดถึงมิตรสหายเก่าแก่ที่เคยมีปฏิสัมพันธ์ กันมา เพียงแต่อยากจะชี้ให้เห็นถึงความย้อนแย้ง และ ‘ความอะไรนะ ขออีกที’ ใน หนังที่เกิดขึ้นหลายๆ อย่าง ในหนังแสดงให้เห็นถึงการเข้าพบทะไลลามะที่ไม่ใช่เรื่องง่าย และใช่ว่าทุก คนจะสามารถเข้าพบพระองค์หรือได้เห็นพระพักต์ของพระองค์ได้ ยิ่งส�ำหรับชาวต่าง ชาตินั้นยิ่งแล้วใหญ่โอกาสที่จะได้เข้าพบนั้นเรียกได้ว่าน้อยมาก ขั้นตอนการเข้าพบ หรือการที่ทะไลลามะจะเสด็จไปไหนสักที่นึงนั้น ค่อนข้างยุ่งยากและมีขบวนผู้ติดตาม ยิ่งใหญ่ หากไม่ทรงออกไปไหนก็จะอยู่แต่ที่พักด้านบนที่อยู่สูงจากบ้านเรือนธรรมดา เป็นอย่างมาก เพราะพระองค์นั้นถือได้ว่าเป็นคนชนชั้นสูงประดุจเทพ การท�ำความ เคารพก็แตกต่างกันไป มีทั้งการกราบไหว้ที่ต้องทรุดตัวไปลงนั่งกับพื้น เราจะไม่ สามารถแตะตัวทะไลลามะได้ เว้นเสียแต่ว่าพระองค์จะเป็นผู้เริ่มกระท�ำเอง แต่ในฉาก การเข้าพบทะไลลามะที่ยังคงเป็นเด็กด้วยวัยอยากรู้อยากลอง และพบเห็นชาวต่าง ชาติที่สามารถอาศัยอยู่ในประเทศตนเองได้โดยที่ไม่ถูกสภาขับไล่ออกไปเสียก่อน จึง ได้มีการเชิญตัวไฮริชเข้าพบ ในครั้งแรกการเข้าพบนั้นทางสภาไม่ได้อนุญาตให้เข้าพบ ล�ำพังสองต่อสอง 47
แต่ทะไลลามะกลับใช้แม่ของตนเองเป็นตัวกลางในการพาไฮริชเข้าพบ ทรงถามใน หลายๆ และประพฤติประหลาดกับไฮริชต่อหน้าต่อตาสภา เช่น การขยี้หัวของอีก ฝ่ายเล่น ทั้งที่วัฒนธรรมของทิเบตนั้นเคร่งเรื่องนี้เป็นอย่างมาก แต่กลับเพิกเฉยต่อ การกระท�ำของทะไลลามะ ในส่วนนี้อาจจะเป็นเพราะตัวทะไลลามะนั้นถือว่าเป็นผู้ที่ อยู่สูงสุดของทิเบต จึงไม่มีผู้ใดกล้าว่ากล่าวหรือตักเตือน องค์ทะไลลามะมักที่จะขลุกตัวอยู่กับไฮริชเพื่อถามในสิ่งที่พระองค์สงสัยอยู่ เสมอ นอกจากนี้ไฮริชยังเป็นผู้คอยสอนวิชาภูมิศาสตร์และดาราศาสตร์ให้กับพระองค์ ทั้งที่ตนเองเป็นชาวต่างชาติแต่กลับถูกปฏิบัติตนเป็นคนส�ำคัญ ซึ่งจุดนี้ที่มันขัดกับ ธรรมเนียมปฏิบัติและจารีตของประเทศทิเบตเป็นอย่างมาก หากจะอ้างถึงเพราะองค์ ทะไลลามะทรงโปรดแล้ว ก็เห็นจะเป็นไปไม่ได้ เพราะแม้ทิเบตยะนับถือองค์ทะไลลา มะอย่างมาก แต่ประเทศทิเบตก็ยังมีสภาคอยถกเถียงเรื่องที่เหมาะสม เรื่องที่ควรท�ำ หรือไม่ควรท�ำอยู่ดี นอกจากการประพฤติตนของทะไลลามะกับไฮริชนั้นละเมิดต่อกฎของบ้าน เมืองในหลายๆ ข้อ ทั้งการลดตัวลงมานั่งเสมอกัน การแตะเนื้อต้องตัว ห้ามสบตา หรือมองหน้าทะไลลามะโดยตรงก็ดี ทั้งหมดทั้งมวลนี้เป็นเรื่องที่ในหนังละเลยอยู่ไม่ น้อย สิ่งเหล่านี้ท�ำให้กฎการประพฤติตัวกับทะไลลามะดูไม่น่าเชื่อถือ การที่ให้ความ ส�ำคัญกับชาวต่างชาติมากเสียจนขัดกับวิสัยของประเทศปกครองตนเองที่ไม่นิยม ต้อนรับชนชาติอื่นเข้ามาเดินป้วนเปี้ยนในประเทศนั่นก็อีก อีกทั้งคนต่างชาติเหล่านี้ กลับมีพฤติกรรมรักและซื่อสัตย์กับประเทศทิเบตมากกว่าชาวทิเบตที่ทรยศประเทศ ของตน อย่างเช่น ฉากที่รัฐมนตรีทรยศหักหลังทิเบตให้จีนเข้ามายึดครองได้ และ ท�ำให้ทิเบตสูญเสียประชากรไปเป็นจ�ำนวนไม่น้อย แต่อย่างไรก็ตามหนังเรื่องนี้ก็ให้คุณค่ามากกว่าจุดเล็กๆ ที่ย้อนแย้งจน สามารถมองข้ามไปได้แบบนี้ มิตรภาพที่เกิดขึ้นนั้นสวยงามเสมอ ไม่ว่าจะเกิดกับใคร หรือชนชาติไหนก็ตาม 48
อย่างเช่นจุดเด่นของหนังที่ต้องการชูเรื่องนี้มากที่สุดเลยส่งผลให้จุดย้อนแย้งพวกนี้ สามารถถูกกลบลบทิ้งได้อย่างง่ายดาย เพราะคุณค่าที่ได้จากหนังนั้นมีมากกว่าจึงถือ ได้ว่าไม่มีอะไรน่าตะขิดตะขวงใจ ดูจบแล้วท�ำให้ย้อนกลับไปคิดได้หลายเรื่องดี
49
50
สิ่งที่คิดและสิ่งที่เห็น สิ่งใดจริง
51
นิสัยและวัฒนธรรมของคนตะวันตกและของคนตะวันออกที่มีความแตก ต่ า งบางครั้ ง ก็ น� ำ ไปสู่ก ารล้อ เลียนทางวัฒนธรรมหรือเห็ น เป็ น เรื่ อ งตลกจากยก ตัวอย่างฉากในเรื่อง 7 Years in Tibet คนเอเชียมีความเชื่อว่า ชาวตะวันตกมีนิสัยที่เรียกว่า ตัวใครตัวมัน ไม่ เหมือน น�้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า เพราะประเทศทางแถบตะวันตกหนาวและมีสี่ฤดูรวมทั้ง ต้องท�ำงานอย่างรวดเร็วด้วย จึงมีค�ำกล่าวไปทั่วทั้ง ทวีปอเมริกา ยุโรป และ ออสเตรเลียด้วยว่า “Help yourself” แปลว่า บริการตนเอง ด้วยเหตุนี้ชาวตะวันตกจึง มีลักษณนิสัยไม่เหมือนชาวเอเชีย ที่ส�ำคัญคือ ชาวตะวันตกมีวัฒนธรรมที่แตกต่าง จากชาวเอเชีย เมื่อเขามีครอบครัวจะแยกทางจากพ่อแม่ไป เมื่อตอนเด็กพ่อแม่จะ สอนให้ลูกกล้าเผชิญความไม่แน่นอน ด้วยเหตุนี้ชาวเอเชียบางคนจึงเข้ากับคนตะวัน ตกไม่ได้ ส่วนนิสัยเป็นผู้ที่ใช้เหตุผล (วิทยาศาสตร์) มากกว่าอารมณ์ มีความมั่นใจใน ตนเอง และมีความเป็นปัจเจกมากกว่า เพราะพวกเขามีประวัติศาสตร์ที่เรียนรู้และ ชินชากับระบบทุนนิยม และแนวความคิดแบบวิทยาศาสตร์ ซึ่งสอนให้คิดอย่างเป็น ระบบ มีหลักการและเหตุผลชัดเจน แต่ก็เคารพในความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น เช่น ใคร มาเข้าแถวก่อน คน ๆ นั้นจึงมีเหตุผลเพียงพอที่ควรจะได้รับคิวก่อนหน้าเรา เรา 52
มาช้ากว่าเขา เราก็ควรที่จะคิวหลังคนที่มาก่อน การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลเช่นนี้ ท�ำให้ไม่เกิดการแซงคิวเกิดขึ้นนั่นเอง ส่วนนิสัยและวัฒนธรรมของคนเอเชีย มีความคิดเรื่องของกฏระเบียบใน ชุมชนหรือกลุ่มขึ้นมาในเลือดเนื้อ รักษาวัฒนธรรมดั้งเดิม เมื่อเราเป็นสมาชิกในชุมชน เราจึงต้องค�ำนึงถึงผลกระทบของเรื่องต่างๆ มากกว่าแค่ตัวเราเอง เป็นต้นก�ำเนิดนิสัย เอกลักษณ์ต่างๆ ขึ้น เช่น ความเกรงใจ การเคารพเจ้านาย ผู้ใหญ่ ผู้อาวุโส ไม่กล้า พูดติตรง ๆ เพราะกลัวจะเสียน�้ำใจ หรือเข้าแถวอย่างกระจัดกระจาย ด้วยความที่ชาวตะวันตกมีนิสัยมุมมองความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่างจากชาว เอเชียท�ำให้เกิดการล้อเลียนหรือเห็นเป็นเรื่องที่ข�ำขันหรือเข้าใจผิดเพราะการกระท�ำ บางอย่างมีความหมายตรงกันข้ามกันอย่างสิ้นเชิง ยกตัวอย่างฉากในเรื่อง7Years in Tibet
นาทีที่ 34:34 ชาวธิเบตจะมีความเชื่อในเรื่องของสิ่งศักดิ์สิทธิ์เชื่อค�ำท�ำนาย จนเป็นสาเหตุที่ท�ำให้ไม่ต้อนรับชาวต่างชาติ มองชาวต่างชาติเป็นปีศาจและขับไล่ ส่วนพระเอกกับเพื่อนก็จะเชื่อในเรื่องเหตุและผลมากกว่าเนื่องจากมุมมองวัฒนธรรม ของชาวตะวันตกส่วนใหญ่จะเชื่อเรื่องที่พิสูจน์ได้ นาทีที่ 36:43 ล้อเลียนภาษา จากความแตกต่างทางด้านภาษาและวัฒนธรรม ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้เกิดการล้อเลียนกันได้ นาทีที่ 37:32 การปรบมือคือการขับไล่เป็นวัฒนธรรมของชาวธิเบต แต่ใน ทางกลับกันการปรบมือแบบสากลคือการแสดงควายินดีหรือชื่นชม นาทีที่ 40:19 แลบลิ้นคือการทักทาย ชาวทิเบตจะดึงหูทั้งสองข้างของตัวเอง ไว้พร้อมแลบลิ้น นาทีที่ 59:59 เปมาลากี มองว่าการแต่งตัวของชาวต่างชาติเป็นชุดพิลึก นาทีที่ 1:18:55 องค์ดาไลลามะยีหัวพระเอก แล้วพูดล้อสีผม “หัวเหลือง หัว เหลือง” 53
นาทีที่ 1:21:48 พระเอกหัวเราะความเชื่อของชาวธิเบตเรื่องมีความเชื่อว่า ไม่ท�ำร้ายสัตว์ทุกชนิดเพราะชาติที่แล้วอาจเป็นพ่อแม่เรา เพราะชาวตะวันตกแนว ความคิดแบบวิทยาศาสตร์ ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา มุมมองความคิดและวัฒนธรรม ใน แต่ละชนชาติก็มีความแตกต่างกันไปหลากหลายรูปแบบ ซึ่งถ้าเรายึดเอาชนชาติเรา เป็นศูนย์กลางก็จะมองชนชาติอื่นว่าเป็นเรื่องตลกสิ้นดี ที่มีความคิด หรือขนบธรรม เนียนแบบนั้น แต่ถ้ามองลึกลงไปก็คงเป็นเพราะแนวความคิดความเชื่อที่บรรพบุรุษ ถ่ายทอดกันมาจนหล่อหลอมให้ชาตินั้นๆมีวัฒนธรรมแบบนั้นโดยต้องใช้ความเข้าใจ อย่าไปล้อเลียนเพราะอย่างไรก็ตามการล้อเลียนทางวัฒนธรรมก็เป็นสิ่งไม่ควรท�ำ
54
55
จากเชลยสงครามสู่การเป็ นครู
56
ความยิ่งใหญ่ที่แสดงออกมาอย่างสุดแสนธรรมดา ภาพยนตร์ที่สะท้อนใน อีกแง่มุมของดาไลลามะที่ 14 ผู้น�ำด้านจิตวิญญาณสูงสุดของทิเบต ผ่านสายตาของ ไฮน์ริช แฮร์เรอร์ นักปีนเขาชาวออสเตรียที่ใช้ชีวิตอยู่ในทิเบต ระหว่างปี ค.ศ.19441951 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สองจนถึงการรุกรานทิเบตโดยกองทัพปลดปล่อย ประชาชนจีน 7 years in Tibet หรือในชื่อไทย เจ็ดปีที่โลกไม่มีวันลืม ก�ำกับโดย ฌอง ฌากส์ อันโน และเรียบเรียงเป็นบทภาพยนตร์ใหม่โดย เบคกี้ จอห์นสตัน น�ำแสดง หลักโดย แบรด พิตต์(ไฮน์ริค แฮร์เรอร์) และ เดวิด ทีวลิส(ปีเตอร์ ออฟชไนเตอร์) ภาพยนตร์เรื่องนี้มีที่มาจากหนังสืออัตชีวประวัติ ถูกเขียนจากเรื่องราวทั้งหมดเกิดที่ ขึ้นจริงๆของไฮน์ริค แฮร์เรอร์ จากการหลบหนีการเป็นเชลยสงครามจนได้พบกับ องค์ดาไลลามะที่ 14 ในวัยเด็ก ซึ่งในภาพยนตร์เรื่องนี้จะเล่าถึงระยะเวลาตลอดเจ็ดปีที่เขาใช้ชีวิตอยู่ใน เมืองลาซา ประเทศทิเบตที่ไฮน์ริช สอนเรื่องราวต่างๆบนโลกให้กับองค์ดาไลลามะ และพระองค์เองก็สอนเรื่องเกี่ยวกับความเชื่อ ความสงบที่ลึกเข้าไปในหัวใจให้กับเขา เช่นกัน จนกระทั่งตัวไฮร์ริชได้เรียนรู้ ได้เติบโตทางจิตวิญญาณ เติบโตในหัวใจ จน ยอมรับตัวเองและพบความสุขในที่สุด 57
ก่อนจะเข้าสู่บทวิจารณ์ ขอบอกก่อนว่าด้านล่างนี้มีการสปอยเนื้อหาบาง ส่วนนะคะ ถ้าหากใครยังไม่ได้ดู หรือหาอ่านรีวิวก่อนรับชมภาพยนตร์ ก็ขอให้ข้าม บทความนี้ไปก่อนนะคะ ทุกๆคนเมื่อพูดถึงดาไลลามะ สิ่งแรกที่นึกถึงก็คงจะเป็นความยิ่งใหญ่ ความเปี่ยมความสามารถของพระองค์ท่าน ใครหลายๆคนมีพระองค์เป็นต้นแบบใน การใช้ชีวิต หรือแม้แต่ในการแก้ปัญหาความขัดแย้งในหลายๆครั้งก็น�ำการปฏิบัติตน ของพระองค์มาใช้แก้ปัญหา แต่ภาพยนตร์ เจ็ดปีที่โลกไม่มีวันลืม มีมุมมองการน�ำเสนอที่ชูองค์ดาไลลา มะในด้านที่แตกต่างออกไป ไม่ว่าจะเป็นตั้งแต่มุมมองของภาพยนตร์ที่ใช้ ไฮน์ริค แฮร์เรอร์ เป็นตัวน�ำเนินเรื่อง เสมือนกับเป็นสายตาของเราที่มองเห็นพระองค์ท่าน ด้วยตาของตนเอง ด้วยการใช้ตัวละครเป็น Point of View ส่งผลให้ภาพยนตร์เรื่องนี้ ท�ำให้เรารู้สึกว่าเสมือนได้เข้าใกล้องค์ดาไลลามะในวัยเยาว์ด้วยตัวเองได้อย่างใกล้ชิด เลยทีเดียว ความที่ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นเรื่องในขณะที่องค์ดาไลลามะที่ 14 ยังเป็นวัย เยาว์ ดังนั้นภาพจ�ำที่เราทุกคนมีต่อพระองค์ท่านล้วนแต่ยังไม่เกิดขึ้นทั้งสิ้น ภาพยนตร์ จึงมีมมุมมองที่ตัวเราจับออกมาได้ว่า องค์ดาไลลามะนั้นเป็นเพียงพระสงฆ์คน ธรรมดาเท่านั้น ด้วยความที่พระองค์เป็นคนที่มีความคิดความอ่านแบบนั้นจริงๆ ประกอบกับเมื่อน�ำเสนอในแง่มุมนี้เรารู้สึกว่าคนดูจะสามารถอินตามได้ง่ายกว่ามาก อย่างหนึ่งที่เห็นว่าภาพยนตร์เรื่องนี้ตั้งใจให้เรามองว่าดาไลลามะคือคน ธรรมดา คือเรื่องกฎต่างๆมากมาย ไม่ว่าจะต้องอยู่ต�่ำกว่าพระองค์ท่าน ห้ามสบตา ห้ามพูดก่อน และอีกมากมายในภาพยนตร์ที่ร่ายมาจนฟังแทบไม่ทัน เราจะเห็นได้ใน หลายๆฉากของภาพยนตร์ว่าตัวพระองค์เองนั้นไม่ค่อยถืออะไรสักเท่าไหร่ ไม่ว่าจะ การที่ลงมานั่งเสมอกับไฮน์ริค ในฉากที่พระองค์ฝันร้าย หรือฉากซ่อมกล่องดนตรีนั้น ก็สามารถเห็นได้อย่างชัดเจนเช่นเดียวกัน 58
ประกอบกับค�ำพูดขององค์ดาไลลามะในเรื่อง ในหลายๆประโยคที่พระองค์ พูดออกมาก็ล้วนแล้วแต่สื่อถึงความธรรมดาทั้งสิ้น แต่ที่เราคิดว่าชัดเจนที่สุดคงเป็น ประโยคประที่ว่า “My experience of such things is limited. I am a simple Buddhist monk. All I know is the scripture and the words of Lord Buddha.” ในฉากที่นายพล จากจีนเข้าพบ ตัวของดาไลลามะในวัยเยาว์นั่นเอง ตัวพระองค์ก็มองว่าตนเป็นเพียง พระสงฆ์ธรรมดาที่ไม่ได้มีความรู้เรื่องการทหารหรือเรื่องโลกมากมายอะไรนัก เป็น เพียงผู้ที่มีความรู้ด้านค�ำสอนของพระพุทธเจ้าเท่านั้น ในอีกแง่หนึ่ง เหมือนกับว่าผู้ก�ำกับและคนเขียนบทได้แฝงข้อคิดบางอย่าง ซ้อนทับมาในหนัง นั่นคือไม่มีใครยิ่งใหญ่ หรือเก่งโดยไร้ซึ่งการฝึกฝน คนทุกคนล้วน แล้วแต่เป็นมนุษย์คนหนึ่ง มีจุดสูงสุดและต�่ำสุดเป็นของตนเอง ตัวดาไลลามะในขณะ นั้นเองก็เป็นเพียงเด็กคนหนึ่งที่อยากจะฟังเพลง ดูหนัง หรือขับรถเหมือนกับคนธรรม ดาๆทั่วไป แต่เพราะต�ำแหน่งที่ต้องรับผิดชอบ พระองค์จึงจ�ำเป็นที่จะต้องพัฒนาดึง เอาศักยภาพสูงสุดของตัวเองเพื่อให้คู่ควรกับต�ำแหน่งนั้น ปัจจุบัน องค์ดาไลลามะมีอายุ 85 ปี และประทับอยู่ที่ประเทศอินเดีย ใน ส่วนของเมืองลาซาก็ยังคงเป็นเมืองอันศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวพุทธผู้นับถือนิกายทิเบตมุ่งฝัน จะไปให้ถึง และพระราชวังโปตาลากลายเป็นพิพิธภัณฑ์และสถานสักการะที่อยู่สูง ที่สุดและยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก โดยองค์กรยูเนสโกได้ประกาศให้เป็นมรดกโลกทาง ธรรมชาติและวัฒนธรรมแล้วเรียบร้อย เจ็ดปีที่โลกไม่มีวันลืม เป็นอีกภาพยนตร์กึ่งอัตชีวประวัติที่น่าสนใจ และมี รายละเอียด มีเนื้อหา ที่ถึงแม้จะมีความรู้ด้านประวัติศาสตร์ไม่มากก็สามารถเข้าใจ ได้ บวกกับบทและการแสดงของนักแสดง ท�ำให้เหมือนกับว่าเราได้ไปสัมผัส ไปอยู่ ตรงนั้นจริงๆ แม้จะมีในบางจังหวะที่หลุดความสนใจออกไป หรือฉากที่ตัดสลับไปมา แบบงงๆอยู่บ้าง แต่ภาพยนตร์เรื่องนี้ก็ถือว่าเป็นอีกตัวเลือกที่ดีส�ำหรับคนที่สนใจหนัง กึ่งอัตชีวประวัติ หรือคนที่อยากจะรู้เรื่องราวขององค์ดาไลลามะที่ 14 59
เพราะไม่ใช่แค่ตัว ไฮน์ริค แฮร์เรอร์ เท่านั้นที่ได้เติบโตขึ้นหลังจากจบเรื่อง ราวครั้งนั้น แต่ตัวเราเองก็ได้เติบโตขึ้นไปพร้อมๆกับตัวละครและภาพยนตร์ด้วยเช่น กัน ตลอดระยะเวลาที่ภาพยนตร์ถ่ายทอดออกมา จะว่าเวลาสองชั่วโมงเป็นเวลาที่สั้น ก็สั้น หรือจะยาวแสนยาวก็ไม่ผิด แต่เวลาสองชั่วโมงตลอดภาพยนตร์ท�ำให้เรา ตระหนักได้ถึงอะไรหลายๆอย่าง ทั้งข้อคิดดีๆที่แฝงมากับเนื้อเรื่อง หรือแม้แต่ค�ำ สอนต่างๆก็เหมือนจะสลักตรึงอยู่ในใจเราเช่นกัน
60
61
ถ้าอยากเข้าใจผูอ้ ื่น ก็ตอ้ งเข้าใจผูอ้ ื่นก่อนเช่นเดียวกัน
62
ในตอนแรกนิสัยของตัวละครหลักอย่างไฮน์ริช แฮร์เรอร์ เป็นคน ทะเยอทะยาน เห็นแก่ตัว ดื้อรั้น อวดดีและไม่สนใจใคร จากการที่ตอนแรกเขายอม ทิ้งภรรยาและลูกที่ยังไม่เกิดมาลืมตาดูโลกเพื่อที่จะมาปีนเขา (ตอนหลังบอกว่ามาปีน เขาเพราะไม่อยากมีลูก) จะปีนเขาไปให้ได้ทั้งที่เจอหิมะถล่ม เหตุการณ์ต่างๆที่รู้สึก ว่าจะสอนให้ไฮน์ริชรู้จักมองโลกให้กว้างมากขึ้นนอกจากตัวเอง ขอยกมาสอง เหตุการณ์ เหตุการณ์แรกคือการหนีออกจากค่ายกักกัน เขาพยายามที่จะหลบหนี ออกจากค่ายเพียงคนเดียวอยู่หลายครั้งแต่ไม่ส�ำเร็จ จนสุดท้ายที่ออกมาพร้อมกับ เพื่อนนักปีนเขากับแผนที่เขาบอกว่าโง่มาก แต่ก็ท�ำให้หนีออกมาส�ำเร็จได้ด้วยดี การต้องเดินทางร่วมกับเพื่อนอีกคน ที่ท�ำให้เขาต้องยอมเสียสละปรับเปลี่ยนอะไร หลายๆ อย่าง เหตุการณ์ที่สองคือตอนเล่นสเก็ตที่เขาพยายามเรียกร้องความสนใจ จากสาวทิเบต แต่ไม่มีใครสนใจ เขาจึงเริ่มเรียนรู้ ถ้าอยากเข้าใจผู้อื่นก็ต้องเข้าใจผู้ อื่นก่อนเช่นเดียวกัน ไฮน์ริชอยู่ทิเบตในฐานะเพื่อนและครูให้กับองค์ดาไลลามะ เขาเล่าสอน เรื่องราวต่างๆของโลกภายนอกให้กับองค์ดาไลลามะและก็ได้เรียนรู้ถึงความสงบ ภายในจิตใจจากองค์ดาไลลามะเช่นเดียวกัน ทั้งสองคนแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่ง กันและกัน ไฮน์ริชได้เรียนรู้การอยู่กับผู้อื่น 63
มีการปรับตัวเพื่อที่จะอยู่ร่วมวัฒนธรรมกับคนอื่นได้ ส่วนองค์ดาไลลามะก็สอน ทัศนคติทางธรรมให้กับไฮน์ริช สุดท้ายไฮน์ริชที่ค่อยๆ ซึมซับเอาความสุขุม ใจเย็นและสงบ เขากลายเป็น คนที่ท�ำอะไรเพื่อคนอื่นและเข้าใจคนอื่นมากขึ้น นึกถึงคนอื่นมากขึ้น สุดท้ายเขาก็ค้น พบหนทางพ้นทุกข์ของตัวเองและเดินทางกลับประเทศเพื่อไปพบลูกชาย
64
65
ความอยากให้เชื่อ ไม่ได้ชกั ชวนกันง่ายๆ
66
ภาพยนตร์เรื่อง 7 Years in Tibet เป็นภาพยนตร์เชิงอัตชีวประวัติของ ไฮน์ริค แฮร์เรอร์ ซึ่งได้บันทึกเรื่องราวของตนเองที่ไปปีนเขาหิมาลัยที่นับได้ว่าเป็นภูเขาที่สูงที่สุดในโลก แต่ระหว่างทางถูกจับตัวไปเสียก่อน จนเขาต้องหาวิธีหลบหนีออกจากค่ายทหารนั้น ท�ำให้ต้องออกเดินทางอย่างยาวนานจนมาถึงประเทศทิเบตและอยู่ที่นั่นถึง 7 ปี ซึ่งเรื่อง ราวภายในภาพยนตร์ด�ำเนินเรื่องช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกทั้งในภาพยนตร์เรื่องนี้ไม่ ได้เล่าถึงเพียงไฮน์ริคอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังสอดแทรกประวัติศาสตร์ก่อนที่ทิเบตจะ ตกเป็นเขตการปกครองของจีน ในภาพยนตร์เรื่องนี้ ยังมีการเล่าเรื่องที่สื่อถึงมิตรภาพให้เห็นอยู่บ่อยครั้ง อย่างเช่น ไฮน์ริคและปีเตอร์ ที่เดินทางร่วมกันมาตั้งแต่ปีนเขา พากันหลบหนีออกจาก คุก จนกระทั่งเดินทางมาจนถึงเมืองลาซา หรือแม้แต่มิตรภาพที่น่าจะเกิดขึ้นได้ยาก ระ หว่างไฮน์ริคและองค์ดาไลลามะที่มีความแตกต่างกันทั้งช่วงอายุ เชื้อชาติ และ ฐานันดร เพราะองค์ดาไลลามะถือได้ว่าอยู่จุดสูงสุดของประเทศทิเบต แต่ไฮน์ริคเป็น เพียงแค่คนธรรมดา อีกทั้งเป็นคนต่างชาติที่ได้เข้าไปอยู่ในเมืองลาซา ซึ่งสมัยก่อน ประเทศทิเบตเป็นประเทศค่อนข้างปิด การที่จะรับคนต่างชาติจึงไม่ค่อยเกิดขึ้นเท่าใด นักหรือไม่เคยเกิดขึ้นเลย แต่ไฮน์ริคสามารถลักลอบเข้าไปและถูกยอมรับให้อยู่ใน 67
ซึ่งความสัมพันธ์อันดีของทั้งคู่ได้พัฒนาขึ้นไปอย่างรวดเร็ว ในเรื่องนี้ไม่ได้ฉายชัดออก มาโดยตรงแต่เราจะเห็นถึงมิตรภาพตั้งแต่ต้นเรื่องจนจบเรื่อง อย่างฉากสุดท้ายที่ไฮน์ ริคกลับมาปีนเขาหิมาลัยอีกครั้งและท�ำมันได้ส�ำเร็จ โดยเลือกที่จะปักธงของประเทศ ทิเบตแทนธงประเทศตัวเองที่ยอดเขา ตัวละครในภาพยนตร์ก็ถือว่าส�ำคัญอย่างหนึ่ง อย่างเช่น ไฮน์ริค จะเป็นตัว ละครหลักที่เป็นผู้ด�ำเนินเรื่อง พาเราไปเห็นเหตุการณ์ต่างๆ ลักษณะนิสัยของตัว ละครตัวนี้คือ การมั่นใจในตัวเองสูง กล้าที่จะท�ำในสิ่งต่างๆ ฉลาด มีไหวพริบ ซึ่ง ลักษณะนิสัยอย่างนี้จะเห็นได้ส่วนมากทางประเทศทางยุโรป เรียกได้ว่าเป็นการสื่อถึง ชาวต่างชาติที่แตกต่างกับชาวทิเบตเมื่อมาอยู่รวมกัน หรือองค์ดาไลลามะ ที่เหมือน จะเป็นตัวแทนของการสื่อถึงศาสนา และการปกครองของประเทศทิเบต ที่ชาวทิเบต นับถือกันเป็นอย่างมาก ซึ่งองค์ดาไลลามะก็จะด�ำเนินเรื่องที่สะท้อนเรื่องของศาสนา วัฒนธรรม ค�ำสอนต่างๆ ที่แสดงออกทางท่าทาง หรือค�ำพูดขององค์ดาไลลามะเอง และยังมีตัวละครที่เป็นทหารในเรื่องที่ไม่ได้มีบทเด่นมาก แต่ยังมีการปรากฏให้เห็นใน บางฉากบางตอน เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีการสู้รบหรือมีสงครามก�ำลังเกิดขึ้นในช่วง ระยะเวลานั้น หรือจะเป็นประชาชนประเทศทิเบตที่มีฉากการเดินทางและการก้ม กราบ แสดงถึงการนับถือความเชื่อและศรัทธาต่อองค์ดาไลลามะเป็นอย่างมาก เพื่อ ให้ภาพยนตร์เรื่องนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เรื่องนี้แสดงให้เห็นถึงศาสนาในทิเบตที่นับถือองค์ดาไลลามะ และความ เชื่อต่างๆ ของคนทิเบต ในภาพยนตร์จะเห็นได้ว่าการน�ำเสนอในเรื่องนี้ฉายชัดอยู่ใน เนื้อเรื่อง อย่างที่กล่าวกันว่า “ผู้คนเชื่อกันว่า การเดินทางไกลไปสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ จะ เป็นการช�ำระความผิดที่เคยกระท�ำ ยิ่งเดินทางไกลมากเท่าไร ยิ่งบริสุทธิ์มากเท่านั้น” ซึ่งบ่งบอกถึงความเชื่อของชาวทิเบตที่มักออกเดินทางไกลเพื่อมากราบไหว้องค์ดา ไลลามะ ในภาพยนตร์จะมีฉากคนเดินทางให้เห็นอยู่บ่อยครั้ง หรือจะเป็นการเคาะ หม้อในลาซาเพื่อไล่ความชั่วร้ายออกไป แม้กระทั่งในตอนหนึ่งของหนังที่แสดงให้เห็น ว่าทิเบตไม่ต้องการที่จะท�ำสงคราม “ชาวทิเบตเชื่อว่าศัตรูคือครูที่ยิ่งใหญ่ เพราะช่วย 68
69
สร้างความอดทนและความเมตตาให้แก่เรา พวกเขาเชื่อมั่นอย่างแรงกล้า ว่าศรัทธาในศาสนา จะปกป้องพวกเขาจากกองทัพจีนได้” ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความ สงบสุขในประเทศทิเบต ที่นับถือพระพุทธองค์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ แต่ทางจีนที่ ต้องการพื้นที่ทิเบตอยู่ก่อนนั้นแล้ว เมื่อการเจรจาไม่เป็นผลทั้งยังถูกองค์ดาไลลามะ สั่งสอนผ่านวาจาที่นิ่มนวล จีนจึงไม่พอใจและยังกล่าวหาว่าศาสนาเป็นพิษ จนท�ำให้ เกิดสงครามระหว่างจีนกับทิเบต จากนั้นไม่นานจีนได้ยกก�ำลังพลเข้าครอบครองพื้นที่ ในทิเบตจนได้ ในเรื่องจะเห็นได้ว่า การแต่งกาย อาวุธ ฉาก และเสียงประกอบ จะสะท้อนให้ว่า เหตุการณ์ที่ปรากฏนั้นอยู่ในช่วงที่ก�ำลังเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 และบรรยากาศของ ประเทศทิเบตสื่อออกมาถึงความเชื่อและศรัทธาในตัวของดาไลลามะที่มีการกราบ ไหว้อยู่เสมอ การขับไล่ความโชคร้ายด้วยการเคาะหม้อแทนที่การคิดหรือวางแผนที่ จะสู้รบกลับ หรือแม้กระทั่งการน�ำคนในเมืองลาซาไปฝึกซ้อมการต่อสู้ใหม่ตั้งแต่แรก จึงท�ำให้เห็นว่าในแต่ละฉากของทิเบตจะสะท้อนถึงการที่ทิเบตรักความสงบไม่อยาก ขัดแย้งกับใคร อาจไม่ได้โดดเด่นอะไร แต่เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ เพราะฉากประกอบ เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้เราเห็นภาพเหตุการณ์เสมือนจริง ทั้งเสียงประกอบที่เป็น บทสวดมนต์ ช่วยให้รู้สึกเข้าถึงเนื้อหาภาพยนตร์ได้ดียิ่งขึ้น การแต่งกายจะท�ำให้ตัวนักแสดงเด่นขึ้นมาในการแบ่งชนชั้น และบอก ลักษณะของคนๆ นั้น เช่น ไฮน์ริค ที่เป็นชาวต่างชาติ การแต่งกายด้วยการใส่สูท แบบฝั่งยุโรป ท�ำให้เขาดูโดดเด่นขึ้นมาถึงจะอยู่ในเมืองลาซาท่ามกลางการแต่งกาย ของชาวทิเบต หรือการแต่งกายในทิเบตก็ยังมีการแบ่งแยกชนชั้นอย่างเห็นได้ชัด เช่น คนชนชั้นกลางกับคนชนชั้นล่าง อย่างการที่คนชนชั้นกลางจะมีการแต่งกายด้วย เสื้อผ้าเนื้อดีและมีเครื่องประดับต่างๆ เพิ่มเติม ดูสะอาดเรียบร้อยสวยงาม แต่ ส�ำหรับคนชนชั้นล่างการแต่งกายไม่ค่อยดูน่ามองและสะอาดเท่าใดนัก เนื้อตัว มอมแมมเหมือนคนที่ท�ำงานอย่างหนัก ในส่วนนี้เป็นลักษณะที่โดดเด่นขึ้นมาให้เราได้ รู้ว่าบุคคลนี้อยู่ในสถานะใดในเรื่อง สัญลักษณ์ในเรื่องมีแฝงอยู่
หลายอย่างไม่ได้เด่นมากในฉากเป็นแค่ส่วนประกอบหนึ่ง แต่สัญลักษณ์แต่ละอย่างมี ความหมายของมันท�ำให้เนื้อเรื่องมีอรรถรสและความเข้าใจมากขึ้น อย่างเช่น พระ ที่ เป็นผู้ปกครองประเทศ ซึ่งสิ่งนี้สะท้อนให้เห็นถึงความยกย่องเอาไว้เหนือสุดของทุก อย่าง หรือจะเป็นสัญลักษณ์ธงชาติ ที่จะน�ำไปปักในสถานที่ไม่ว่าจะเป็นธงประเทศจีน ที่ไปปักที่เมืองลาซา ประเทศทิเบต เพื่อสื่อความหมายของการล่าอาณานิคมได้ ส�ำเร็จ ทิเบตอยู่ใต้อ�ำนาจของประเทศจีน 7 Years in Tibet เป็นภาพยนตร์เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่เรียกได้ว่าควรค่าแก่การ ชม ถึงจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับอัตชีวประวัติของชายคนหนึ่งที่มีการสอดแทรกเรื่องเกี่ยว กับประวัติศาสตร์อยู่ แต่ถ้าเราได้ชม เราจะรู้ว่าภาพยนตร์เรื่องนี้จะให้อะไรกับเรา มากกว่าที่คิด ทั้งได้รู้ถึงวัฒนธรรม ความเชื่อ ความศรัทธา ของชาวทิเบต และค�ำ สอนต่างๆ ที่เราสามารถน�ำมาใช้ในการด�ำเนินชีวิตได้ ถึงเนื้อเรื่องจะไม่ได้ตื่นเต้น เร้าใจเหมือนภาพยนตร์เรื่องอื่นๆ แต่ถ้าคุณลองดูสักครั้ง คุณอาจจะลงรักภาพยนตร์ เรื่องนี้เลยก็ว่าได้
70
71
ศักดินาเทวาธิปไตย
72
การประกาศความเป็นมหาอํานาจ ช่วงชิงพื้นที่ และปกครองเมืองที่มีผล พวงมาจากความศรัทธา Seven years in Tibet เป็นการเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นในยุค สงครามโลกครั้งที่สอง ที่มีการล่าอาณานิคม เพื่อประกาศถึงความยิ่งใหญ่และความ เป็นมหาอํานาจในประเทศของตนเอง และทิเบตเป็นพื้นที่หนึ่งในตัวเลือกแรกของจีน ที่จะทําการยึดครอง (ซึ่งในขณะนั้นปกครองโดยเหมา เจ๋อ ตุง) ฉากหนึ่งของหนังสือ ให้เห็นว่าทิเบตนั้นมีองค์ดาไลลามะเป็นผู้ปกครองและมีท้ังบุคคลธรรมดาและพระ สงฆ์เป็นคณะรัฐมนตรีร่วมปกครองประเทศ มีการเปิดประชุมเพื่อปรึกษาหารือกัน เรื่องการเมืองการปกครองต่างๆ อนึ่ง ประเทศ ทิเบตมีการปกครองแบบศักดินาเท วาธิปไตย ซึ่งมีผลมาจากความเชื่อของประชาชนภายในประเทศ การนําเอาพระมาปกครองประเทศนั้น มีความเกี่ยวเนื่องกับการปกครอง ของทิเบตที่เป็นรูปแบบของศักดินาเทวาธิปไตย โดยการปกครองนี้เกิดขึ้นจากความ เชื่อที่มีต่อองค์ดาไลลามะ อีกทั้งมีต่อจิตวิญญาณ การกลับชาติมาเกิด ห้วงของ ธรรมชาติและศาสตร์เร้นลับ การสลับซับซ้อนที่เกิดขึ้นทําให้กลุ่ม ชนชั้นนําทาง การเมืองได้ใช้ความเชื่อต่างๆ เหล่านี้มาสร้างเป็นข้อชอบธรรมทางการเมืองขึ้นและ ผูกขาดเข้ากับชนชั้นสูง ซึ่งทิเบตมีการแบ่งชนชั้นศักดินาอย่างชัดเจน 73
มีการกระจายอํานาจโดยลดหลั่นกันไปตามฐานะของศักดินา โครงสร้างทางการเมือง ของทิเบตจึงเกิดเป็นแบบระบบอํานาจคู่ขึ้น โดยมีข้าราชการที่เป็นฆราวาสควบคู่ไป กับการที่มีข้าราชการที่เป็นพระ ซึ่งไว้ในคานอํานาจกันและกันภายในประเทศนั้นเอง “รูปขององค์ดาไลลามะ ช่วยคุ้มครองเรา” ชายหนุ่มที่เป็นลูกหาบเอ่ยกับ ไฮน์ริค หลังจากค�่ำาคืนที่พึ่งผ่านพ้นมา แคมป์โดนหิมะถล่มและตอนเช้าต้องเดินทาง กลับตามความเห็นอันสมควรของหัวหน้าทีมไต่ เขาอย่างปีเตอร์ ซึ่งมองว่าไม่น่าจะ สามารถเดินขึ้นเขาหิมาลัยต่อไปได้ จึงตัดสินใจเดินให้ทุกคนในทีมเดิน กลับลงเขาไป แต่ไฮน์ริคตัดใจจากยอดเขาหิมาลัยที่ตั้งสูงตระหง่านอยู่ตรงหน้าไม่ได้จึงได้แค่มอง ตามด้วย แววตามุ่งมั่นแต่สั่นไหว ชายหนุ่มลูกหาบคนเดิมนํารูปองค์ดาไลลามะชูขึ้น แตะบริเวณหน้าผากของตนเอง จากนั้นยื่นให้กับไฮน์ริค พร้อมทั้งพูดย�้ำๆ ว่า “รูป ขององค์ดาไลลามะ ช่วยคุ้มครองเรา” ในส่วนนี้ของหนังสอดคล้องกับความเชื่อของ ชาวทิเบตที่เชื่อกันว่า องค์ดาไลลามะเป็นร่างอวตารของพระอวโลกิเตศวร โพธิสัตว์ที่ กลับชาติมาเกิด เป็นการแสดงถึงความเคารพและเทิดทูน ความเชื่อเหล่านี้มีผลเกี่ยว เนื่องจากที่ประเทศทิเบตนั้นตั้งอยู่บนเทือกเขาสูง ผู้คนที่มีศักดินาลดต�่ำลงมาจะ ขาดแคลนเครื่องอุปโภคบริโภคร่วมถึงยาที่ไว้ใช้รักษาโรคที่มาพร้อมกับอากาศหนาว อีกทั้งในบางพื้นที่อยู่บนยอดที่สูงมากออกซิเจนจึงเบาบางกว่าปกติ ทําให้ชาวทิเบต ประสบกับปัญหาการขาดออกซิเจน ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้เองจึงนําไปสู่การถูกตีกรอบ โดยประชาชนไปเองว่าเกิดจากการลงโทษสิ่งลี้ลับ ชาวทิเบตมีการนับถือและศรัทธาต่อศาสนาอย่างแรงกล้า พลเมืองชายส่วน ใหญ่ของทิเบตกว่าครึ่ง บวชเป็นพระ จนได้รับฉายานามว่า “ดินแดนแห่งพระธรรม” (land of dharmar) ความศรัทธาเป็น ตวนําพาให้ประชาชนที่อยู่ห่างไกลเดินทางมายัง เมืองลาซา ซึ่งเป็นที่ประทับขององค์ดะไลลามะผู้เป็นดั่งศูนย์รวมความสงบของจิตใจ มีการเปรียบเปรยและกล่าวถึงให้เห็นภาพแห่งความศรัทธานในบางส่วนของหนัง “ผู้คนเชื่อกันว่าการเดินทางไกลไปยังที่ศักดิ์สิทธิ์ (ตัวผู้เขียนอนุมานว่าเป็นที่ประทับ ขององค์ดะไลลา มะณ เมืองลาซา) 74
จะเป็นการช่วยชําระความผิดที่เคยกระทํา ยิ่งหากเดินทางไกลมากเท่าใด ยิ่งทําให้ บริสุทธิ์มากขึ้นเท่านั้น” ข้อความนี้เป็นส่วนหนึ่งของข้อความภายในจดหมายที่ไฮน์ริค เขียนถึงรอล์ฟ ลูกชายของเขาเองขณะที่กําลังออกเดินทางผ่านภูเขาเขียวขจี ทุ่งหญ้า ที่มีดอกไม้แห้งขึ้นเต็มไปหมด และเทือกเขาที่มีหิมะ นั่นหมายถึงว่าไฮน์ริคได้เดินทาง มาอย่างยาวนานจนผ่านฤดูกาลที่แปรเปลี่ยนไปหลากหลายฤดูการ เดินทางไม่รู้จุด หมายมองเห็นเพียงภูเขาที่รายล้อมและในท้ายที่สุดก็หยุดพักความเหนื่อยอ่อนที่ รอนแรมมานาน ณ เมืองลาชา นั่นจึงทําให้เขาคิดได้พร้อมทั้งหวนคิดคํานึงถึงการก ระทําผิดที่ผ่านมาพ้นมา ความศรัทธาจึงก่อเกิดขึ้นภายในหัวใจของไฮน์ริค ชายหนุ่ม รู้สึกเลื่อมใสและรู้สึกสงบขึ้นภายในจิตใจ เช่นเดียวกันกับความศรัทธาของชาวทิเบต ที่มีต่อองค์ดาไลลามะ ศรัทธาและความเชื่อที่ไม่สูญสิ้นก่อให้เกิดแนวคิดการสร้างความชอบธรรม ทางการเมือง ที่ผู้เป็น ประมุขนั้นเป็นผู้นําของปวงชนทั้งทางโลกและทางจิตวิญญาณ ทั้งหมดนี้ได้รับอิทธิผลมาจากศาสนาดั้งเดิมของทิเบตผนวกเข้ากับแนวคิดทางพุทธ ศาสนา จึงทําให้เกิดการปกครองแบบระบบคู่ที่มีทั้งฆราวาสและพระปกครองขึ้นมา และใช้มาต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน Seven years in Tibet ถ่ายทอดให้เห็นถึงการปกครองของทิเบตได้อย่าง ลงตัว ความเชื่อ ความศรัทธา การเคารพยกย่องสรรเสริญและเทิดทูนต่อองค์ดา ไลลามะก่อให้เกิดการปกครองที่มีทั้ง ฆราวาสและพระทําให้เห็นว่าการเมืองและ ศาสนาสามารถผนวกเข้าไว้ด้วยกันได้ ถ้าสิ่งนั้นเกิดจากความศรัทธาอันแรงกล้าของ ประชาชน ทั้งยังมีการสอดแทรกสัญลักษณ์ในเชิงความหมายแฝงได้อย่างน่าสนใจ และแยบยลกลมกลืน การสะท้อนให้เห็นถึงการประกาศความยิ่งใหญ่ในการล่า อาณานิคมในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มีการพูดเพื่อเปรียบเทียบต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ อย่างลงตัวและสมบูรณ์แบบ
75
76
มากกว่าอัตชีวประวัติ
77
ความต่างในทัศนคติ ลักษณะนิสัย เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และความ เชื่อ การก้าวผ่านพรมแดนนามธรรมเหล่านี้สู่เส้นทางแห่งมิตรภาพปรากฏให้เห็นใน ภาพยนตร์เรื่อง 7 Years In Tibet เจ็ดปีโลกไม่มีวันลืม ปรากฏมิตรภาพให้เราได้เห็นใน เรื่องอยู่หลายส่วน ที่เห็นเด่นชัดคือ มิตรภาพอันมีความแตกต่างทางความคิดและ ลักษณะนิสัยเป็นเส้นเชือกเบาบางกั้นอยู่ตรงกลางระหว่างไฮน์ริคกับปีเตอร์ ออฟซไน เตอร์ หนึ่งคนมุทะลุกับอีกหนึ่งรอบคอบ และอีกหนึ่งมิตรภาพกับก�ำแพงความต่างที่ แสนหนาและสูงใหญ่ อันประกอบด้วยเชื้อชาติ ศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรม ที่ กั้นอยู่ตรงกลาง ไฮน์ริคและองค์ดาไลลามะ หนึ่งชาวต่างชาติผู้พัดหลงในทิเบตกับ หนึ่งพระสงฆ์ที่เปี่ยมไปด้วยความกระหายรู้ผู้ปกครองเมืองลาซา การก้าวข้ามก�ำแพง และเส้นเชือกสู่ค�ำว่ามิตรภาพ ใน 7 Years In Tibet เริ่มความสัมพันธ์ระหว่างไฮน์ริค แฮร์เรอร์กับปีเตอร์ ออฟซไนเตอร์ตั้งแต่ตอนที่ขึ้นรถไฟ ลักษณะนิสัยและความคิดที่แตกต่างไม่น่าเชื่อว่า สุดท้ายจะลงเอยที่ค�ำว่าเพื่อน ไฮน์ริคชอบเอาชนะตามแบบฉบับของนักกีฬา เขา
78
หลายอย่างไม่ได้เด่นมากในฉากเป็นแค่ส่วนประกอบหนึ่ง แต่สัญลักษณ์แต่ละอย่างมี ความหมายของมันท�ำให้เนื้อเรื่องมีอรรถรสและความเข้าใจมากขึ้น อย่างเช่น พระ ที่ เป็นผู้ปกครองประเทศ ซึ่งสิ่งนี้สะท้อนให้เห็นถึงความยกย่องเอาไว้เหนือสุดของทุก อย่าง หรือจะเป็นสัญลักษณ์ธงชาติ ที่จะน�ำไปปักในสถานที่ไม่ว่าจะเป็นธงประเทศจีน ที่ไปปักที่เมืองลาซา ประเทศทิเบต เพื่อสื่อความหมายของการล่าอาณานิคมได้ ส�ำเร็จ ทิเบตอยู่ใต้อ�ำนาจของประเทศจีน 7 Years in Tibet เป็นภาพยนตร์เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่เรียกได้ว่าควรค่าแก่การ ชม ถึงจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับอัตชีวประวัติของชายคนหนึ่งที่มีการสอดแทรกเรื่องเกี่ยว กับประวัติศาสตร์อยู่ แต่ถ้าเราได้ชม เราจะรู้ว่าภาพยนตร์เรื่องนี้จะให้อะไรกับเรา มากกว่าที่คิด ทั้งได้รู้ถึงวัฒนธรรม ความเชื่อ ความศรัทธา ของชาวทิเบต และค�ำ สอนต่างๆ ที่เราสามารถน�ำมาใช้ในการด�ำเนินชีวิตได้ ถึงเนื้อเรื่องจะไม่ได้ตื่นเต้น เร้าใจเหมือนภาพยนตร์เรื่องอื่นๆ แต่ถ้าคุณลองดูสักครั้ง คุณอาจจะลงรักภาพยนตร์ เรื่องนี้เลยก็ว่าได้ มิตรภาพของพวกเขาเกิดขึ้นมาและด�ำเนินไปอย่างแปลกประหลาด คล้าย ไม่ได้มีไว้เนื้อความเชื่อใจกันอยู่ในนั้น ความสัมพันธ์ของพวกเขาไม่อาจท�ำให้เราเชื่อ ได้อย่างสมบูรณ์ว่าระหว่างพวกเขาคือค�ำเพื่อน จนกระทั่งในตอนท้ายของเรื่องถึงได้ เห็นว่าทั้งไฮน์ริคและปีเตอร์ต่างก็มีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นต่อกัน ไม่ว่าจะจากการ เดินทางหรือการต่อสู้ก็ตาม มิตรภาพอันมีเส้นด้ายเชื้อชาติ ก�ำแพงศาสนา เส้นเชือกแห่งความเชื่อ และ แผ่นหนังของวัฒนธรรมกั้นอยู่ระหว่างไฮน์ริคและองค์ดาไลลามะ คงเริ่มต้นเมื่อตอ นที่ไฮน์ริครับรูปภาพขององค์ดาไลลามะจากนักปีนเขาคนหนึ่งจนกระทั้งพวกเขาได้ เจอกันที่เมืองลาซา ความต่างที่มีมากมายเหล่านี้ ท�ำให้มิตรภาพระหว่างไฮน์ริคและ องค์ดาไลลามะค่อนข้าน่าสนใจ พวกเขาก้าวผ่านก�ำแพงสูงแห่งความแตกต่างอันเป็น อุปสรรคต่อผูกมิตรและไปสู่ความเป็นเพื่อน อีกทั้งเรื่องความต่างทางชนชั้นวรรณะก็ 79
ยากที่จะเป็นไปได้ แต่ท้ายที่สุดพวกเขาก็เป็นเพื่อนที่ดีต่อกัน และมีมิตรภาพที่ยืนยาว มิตรภาพคือการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อนต้องพึ่งพาเพื่อนได้ อย่างเช่น ฉากหนึ่งระหว่าไฮน์ริคกับปีเตอร์ที่ไฮน์ริคแบกปีเตอร์ท่ามกลางภูเขาหิมะในตอนที่เท้า ของปีเตอร์โดนหิมะกัดจนเดินไม่ไหว หรือฉากที่ไฮน์ริคเองต้องพึ่งพาอาหารจากปี เตอร์ ด้านมิตรภาพหระว่างองค์ดาไลลามะและไฮน์ริคเองปรากฏให้เห็นค่อนข้างมาก เลยทีเดียว เนื่องจากไฮน์ริคนั้นเป็นทั้งเพื่อนและครูผู้สอนสิ่งต่างๆ ให้แก่องค์ดาไลลา มะ ทว่าไม่ใช่แค่เขาที่ให้ความรู้แก่ดาไลลามะ ขณะเดียวกันไฮน์ริคเองก็เรียนรู้จาก องค์ดาไลลามะด้วยเหมือนกัน เช่นฉากที่ไฮน์ริคสอนเรื่องความต่างของเวลาในแต่ละ ประเทศ และดาไลลามะได้สอนให้ไฮน์ริคเรียนรู้ถึงความสงบ สันติและส�ำรวจลึก ภายในจิตใจตนด้วย และด้วยทั้งหมดที่กล่าวมาท�ำให้เกิดเป็นมิตรภาพอันเหนียวแน่น ของพวกเขา มิตรภาพที่เกิดขึ้นใน 7 Years In Tibet นี้ ไม่ว่าจะระหว่างไฮน์ริคกับปีเตอร์ หรือไฮน์ริคกับองค์ดาไลลามะ ล้วนแล้วแต่มีส่วนที่ท�ำให้เนื้อเรื่องมีความสมบูรณ์ น่า ติดตามจนถึงตอนท้ายของภาพยนตร์ ด้วยความต่างที่เกิดขึ้นในค�ำว่ามิตรภาพนี้เองที่ ชวนให้สนใจ แต่ขณะเดียวกันเมื่อพูดถึงแค่ความสัมพันธ์ระหว่างไฮน์ริคและองค์ดา ไลลามะ เพราะเป็นความแตกต่างที่ยากจะก้าวข้ามนี้เอง ท�ำให้เรื่องราวดูไม่ค่อยจะ สมเหตุสมผลสักเท่าไหร่นัก มองแค่ความต่างทางชนชั้นวรรณะ หรือศาสนาความเชื่อ แม้แต่วัฒนธรรมเองก็ดูจะเป็นอุปสรรคต่อการสร้างความสัมพันธ์ฉันมิตรภาพ แม้จะ บอกว่าการผูกมิตรไร้พรมแดนทางความแตกต่างก็ตามแต่ เนื่องด้วยบริบทต่างๆ มัน ดูง่ายดายเกินไป สองชั่วโมงสิบหกนาทีกับเลขวินาทีหลักสิบกว่าๆ 7 Years In Tibet เป็น ภาพยนตร์อัตชีวประวัติที่น่าดู เรื่องหนึ่ง เราได้เห็นมุมมองและการเกิดขึ้นของ มิตรภาพที่สถานการณ์บีบบังคับอย่างไฮน์ริคและปีเตอร์ หรือในบางครั้งมิตรภาพก็ เกิดในสถานการณ์ที่ไม่น่าเป็นไปได้อย่างไฮน์ริคและองค์ดาไลลามะ และมิตรภาพที่ เกิดขึ้นในภาพยนตร์เรื่อง 7 Years In Tibet นี้อาจไม่ได้แตกต่างกับภาพยนตร์เรื่อง 80
อื่นจนกล่าวได้ว่าเป็นมิตรภาพที่แปลกใหม่ได้ แต่ถ้าพูดถึงความตราตรึงใจในความ สัมพันธ์อันมีจุดเริ่มต้นที่ไม่ธรรมดาเหล่านี้แล้ว ภาพยนตร์เรื่องนี้ก็ถือว่าถ่ายทอดออก มาได้ดีมากทีเดียว
81
82
หลักค�ำสอนและความเชื่อของชาวทิเบต
83
เนื้อเรื่องเล่าถึงชีวิตการเดินทางของไฮน์ริช ฮาเรอร์ และปีเตอร์ ออฟช ไนเตอร์ สองนักไต่เขาชาวออสเตรียที่ขณะนั้นอยู่ใต้การปกครองของนาซีเยอรมนี ทั้ง สองเป็นตัวแทนของเยอรมนีในการพิชิตยอดเขานังกาปาร์บัต บนเทือกเขาหิมาลัย แต่ เมื่อเยอรมนีประกาศสงครามกับสหราชอาณาจักรจึงถูกจับตัวเป็นเชลยสงคราม และ ส่งเข้าค่ายกักกัน ทั้งสองหลบหนีออกมาจากค่ายและเดินเท้าขึ้นเหนือไปสู่ทิเบต ได้ พบกับทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่ในวัยเด็ก ได้เป็นครูสอนวิชาภูมิศาสตร์และดาราศาสตร์ ให้กับพระองค์ และเป็นที่ปรึกษาทางการทหารให้กับกองทัพทิเบต ทั้งสองใช้ชีวิตอยู่ ในพระราชวังโปตาลาเป็นเวลาเจ็ดปีจนกระทั่งองค์ทะไลลามะทรงเข้าพิธีครองบัลลังก์ อย่างเป็นทางการ และเดินทางกลับออสเตรียหลังจากกองทัพปลดปล่อยประชาชน จีน เข้ารุกรานทิเบตในปี ค.ศ. 1950 นอกจากเรื่องราวการเดินทางของไฮน์ริช ฮาเรอร์ ที่เป็นจุดส�ำคัญของเรื่องแล้ว ในภาพยนตร์เรื่องนี้ยังสอดแทรกหลักค�ำสอนและความเชื่อของชาวทิเบตลงไปใน หลายๆ ฉาก ท�ำให้ได้ข้อคิดและคติสอนใจบางอย่างจากชาวทิเบต โดยหลังจากที่ได้ดูภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นรอบที่สองก็ได้ลิสต์ค�ำสอนในแต่ละฉาก ออกมาเพื่อที่จะได้ท�ำความเข้าใจกับค�ำสอนและความเชื่อวัฒนธรรมของชาวทิเบตได้ อย่างชัดเจน 84
ในฉากที่ไฮน์ริช ฮาเรอร์และปีเตอร์ ออฟชไนเตอร์เดินทางมาถึงทิเบตและได้ พบกับสาวตัดชุดชาวทิเบต นักไต่เขาทั้งสองก็ได้ปิ๊งเธอเข้าอย่างจัง ท�ำให้เขาทั้งสอง แย่งกันจีบสาวทิเบตคนนี้ โดย ไฮน์ริช ฮาเรอร์ เริ่มจีบโดยพูดคุยเรื่องที่เขาเป็นนักไต่ เขาโอลิมปิกพร้อมโชว์สมุดบันทึกที่มีข่าวที่เขาชนะรางวัลโอลิมปิกมามากมาย ให้สาว ชาวทิเบตดู และเธอก็ได้พูดถึงค�ำสอนที่แตกต่างระหว่างชนชาติว่า ” นี่ก็เป็นอีกอย่าง ที่ต่างกันมากระหว่างอารยธรรมของเรา คุณชื่นชมคนที่พาตัวเองไปสู่จุดสูงสุดไม่ว่า จะเป็นในเรื่องไหนก็ตาม แต่เราชื่นชมคนที่ละวางอัตตาไว้ “ ฉากตอนที่เขาช่วยสร้างโรงหนังให้องค์ทะไลลามะ แล้วจ�ำเป็นต้องขุดดินซึ่ง ท�ำให้ไส้เดือนตาย คนทิเบตเชื่อเรื่องการกลับชาติมาเกิด ไส้เดือนหรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อาจจะเป็นแม่ของเราเมื่อชาติที่แล้วคนทิเบตจึงมีทัศนคติความเชื่อที่จะไม่ท�ำร้ายสิ่งมี ชีวิตทุกชนิด และต้องให้ความเคารพ เพื่อเป็นการทดแทนพระคุณ ฉากองค์ทะไลลามะ ตอนอายุสิบกว่าปี ต้อนรับนายพลจีนแสดงถึงความน่า นับถือและสติปัญญาของท่านเช่นกัน ท่านทักทายและพูดกับนายพลจากจีนว่า “ค�ำ สอนของพุทธองค์ ตรัสไว้ว่า ทุกคนกลัวอันตราย และความตาย ไม่มีใครไม่รักชีวิต เมื่อคิดได้เช่นนี้แล้ว เราจะไม่ฆ่าใคร ท่านต้องเข้าใจ ค�ำสอนนี้ฝังอยู่ในใจชาวทิเบต ทุกๆคน เราจะเป็นชนชาติที่รักความสงบ ยึดหลักปฏิเสธความรุนแรง อาตมาสวด มนต์ให้ท่านประจักษ์ว่านี่คือความเข้มแข็ง หาใช่ความอ่อนแอ” เป็นหนึ่งฉากที่ประทับใจมาก เพราะถึงแม้นายพลจีนจะกะท�ำกริยาและ พูดจาไม่ค่อยดี แต่องค์ทะไลลามะก็ใช้สติปัญญาในการพูดคุยอย่างนิ่งสงบ และใช้ค�ำ สอนในการพูดคุยเจรจาต่อรองทางการเมือง อีกฉากเป็นตอนที่ไฮน์ริช ฮาเรอร์ พูดถึงเรื่องการปีนเขา ว่า “มันเป็นความ เรียบง่ายอย่างแท้จริง เวลาคุณปีนเขา สมองคุณปลอดโปร่ง ไม่สับสน มีเป้าหมาย แน่วแน่ และทันใดนั้น แสงเหมือนจะคมชัดขึ้น คุณรู้สึกเหมือนเปี่ยมไปด้วยพลังอันล�้ำ ลึกของชีวิต ผมรู้สึกแบบนั้น เฉกเช่นเมื่อได้อยู่กับพระองค์ท่าน” 85
และอีกฉากที่ส�ำคัญในตอนท้ายเรื่อง คือ ไฮน์ริช ฮาเรอร์ วางแผนจะพาองค์ ทะไลลามะหนีออกนอกประเทศ แต่พระองค์ไม่ไป ท่านกล่าวว่า “มีภาษิตทิเบตอยู่บท หนึ่งว่าเอาไว้ว่า ถ้าปัญหาแก้ไขได้ เราก็ไม่จ�ำเป็นต้องไปกังวล ถ้าแก้ไขไม่ได้ กังวล ไปก็ไม่มีประโยชน์ “ “ผมจะช่วยคนได้ยังไง ถ้าหนีไปจากพวกเขา ผมจะเป็นผู้น�ำแบบไหน ท�ำเพื่อผู้ อื่นท�ำให้ผมมีเวลาคิดหาทางออก พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า การเห็นเราไม่ท�ำให้พ้นทุกข์ แต่ต้องใช้ความเพียรพยายาม จงเพียรหาทางพ้นทุกข์ของตัวเองด้วยปัญญา” และฉากที่กินใจคนดูมากที่สุดคงจะหนีไม่พ้นฉากที่ไฮน์ริช ฮาเรอร์ มาลาองค์ ทะไลลามะกลับบ้าน ดูแล้วรู้สึกว่าทั้งสองผูกพันกันมากจริงๆ ไม่แปลกเลยที่ภาพยนตร์เรื่องนี้ถือว่าเป็นภาพยนตร์ในดวงใจของใครหลายๆคน ซึ่งนอกจากจะเป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริงของนักไต่เขาชาวออสเตรียอย่างไฮน์ริช ฮา เรอร์ แล้ว เนื้อเรื่องยังมีความสนุกและสอดแทรกค�ำสอนและคติสอนใจในความเชื่อ ของชาวทิเบต ท�ำให้ได้รู้จักวัฒนธรรมของคนทิเบตมากขึ้นจากภาพยนตร์นี้
86
87
วัตถุดิบหลากหลายในสลัดรส
88
การรวมสิ่งสองสิ่งเข้าด้วยกันแล้วท�ำให้เกิดความกลมกลืนนั้นเป็นเรื่องที่ ยาก แต่เพราะเหตุใด ภาพยนตร์ที่สร้างขึ้นจากหนังสืออัตชีวประวัติของนักปีนเขา ชาวออสเตรีย ไฮน์ริค แฮร์เรอร์ อย่างเรื่อง SEVEN YEARS IN TIBET ถึงรวมเอาความ หลากหลายของเนื้อหาเอาไว้ได้ หากจะเปรียบเทียบให้เห็นภาพ คงต้องนึกถึงสลัดผัก ชามโตหลากสีสัน ที่ประกอบไปด้วย มะเขือเทศ แครอท ข้าวโพด ผักกาดหอม และ มีตัวด�ำเนินเรื่องที่คลุกเคล้าให้ทุกอย่างเข้ากันดีอย่างน�้ำสลัดครีมหวานมัน ออกมา เป็นภาพยนตร์ที่มีรสชาติอร่อยกลมกล่อมน่าลิ้มลอง เรื่อง SEVEN YEARS IN TIBET ว่ากันว่าลาซาเมืองหลวงของประเทศทิเบตเป็นเหมือนป้อมปราการสูงใหญ่ ที่ตั้งอยู่ใจกลางเอเชีย เป็นประเทศที่อยู่สูงและโดดเดี่ยวที่สุดในโลก ซึ่งภาพยนตร์ ท�ำให้คนดูอย่างเรารู้สึกแบบนั้นจริงๆ จากการด�ำเนินเรื่องผ่านตัวละครหลักอย่างไฮน์ ริค แฮร์เรอร์ ที่ต้องผ่านความยากล�ำบาก ผ่านอุปสรรค ตั้งแต่การปีนภูเขาน�้ำแข็ง ใน อากาศที่หนาว อุณหภูมิติดลบ ถูกทหารอังกฤษจับกุมจากผลของการเกิดสงคราม ความหิวโหยจากการขาดอาหาร ความเหนื่อยล้าจากการเดินทาง การแหกคุกหนี ตายเอาชีวิตรอด หนีกระสุนปืน
89
และผลัดหลงเข้าไปในเมืองลาซา ของทิเบต จนได้พบกับองค์ทะไลลามะองค์ที่สิบสี่ ในวัยเด็ก ตรงนี้นี่หละ เป็นเหมือนจุดเริ่มต้นของเรื่องอย่างจริงจัง จากที่ก่อนหน้านี้ ตัวหนังพยายามที่จะแสดงให้เห็นถึงด้านเสียของไฮน์ริคเป็นส่วนใหญ่ ทั้งความทะนง ตัว ความเย่อหยิ่ง ความมีอีโก้สูง น�ำไปสู่การชี้ให้เห็นว่าความสามัคคีนั้นเป็นสิ่งส�ำคัญ ผ่านความล้มเหลวของไฮน์ริค ก่อนจะเริ่มเข้าเรื่องอย่าจริงจังซึ่งใช้เวลาค่อนข้างจะ นานถ้าเทียบกลับภาพยนตร์เรื่องอื่นๆทั่วไป ไฮน์ริคที่ได้เข้าไปอยู่ในลาซา เมืองหลวงของทิเบต ที่ใครๆต่างก็รู้ว่าเป็น เมืองปิดและไม่อนุญาตให้ชาวต่างชาติเข้าไปเด็ดขาด เป็นเหมือนการเปิดประตูเข้าสู่ โลกของทิเบตเพราะหลังจากนี้ผู้ก�ำกับเหมือนค่อยๆหยิบวัตถุดิบส�ำหรับการท�ำสลัด ใส่ลงในชามใบใหญ่ โดยเริ่มจากการเล่าถึงระบอบการปกครองของทิเบตอย่าง คร่าวๆ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม หนังเรื่องนี้เก็บมาให้เราครบเกือบ ทั้งหมด ยังไม่นับรวมเรื่องของศาสนาพุทธที่มองผ่านจอยังรู้สึกถึงความน่าเลื่อมใส ความขลัง และความศักดิ์สิทธ์ ที่ตัวหนังพรีเซนต์ให้เรา หรือแม้แต่การน�ำเรื่องของ สงคราม การล่าอาณานิคมของประเทศจีนมาน�ำเสนอตีคู่ไปกับหลักความเชื่อทาง ศาสนาพุทธของชาวทิเบต ความเลื่อมใส เชื่อมั่นในหลักค�ำสอนของพระพุทธองค์ ซึ่ง จะมีฉากหนึ่งที่สร้างความประทับใจ คือฉากที่องค์ทะไลลามะ ต้อนรับนายพลจีน ฉากนี้แสดงให้เห็นถึงความน่านับถือและสติปัญญาขององค์ทะไลลามะ ที่พูดกับนาย พลจากจีนว่า “ค�ำสอนของพระพุทธองค์ ว่าไว้ว่า ทุกคนกลัวอันตรายและความตาย ไม่มี ใครไม่รักชีวิต เมื่อคิดได้เช่นนี้แล้ว เราจะไม่ฆ่าใคร ท่านต้องเข้าใจ ค�ำสอนนี้ฝังอยู่ใน ใจชาวทิเบตทุกๆคน เราจะเป็นชนชาติที่รักความสงบ ยึดหลักปฏิเสธความรุนแรง อาตมาสวดมนต์ให้ท่านประจักษ์ว่านี่คือความเข้มแข็ง หาใช่ความอ่อนแอ”
90
เรื่องของมิตรภาพระหว่างไฮน์ริคและองค์ทะไลลามะนั้นเริ่มต้นจากความ สิ้นหวังของไฮน์ริค ที่เสียใจจากจดหมายตัดความสัมพันธ์จากลูกชายของเขา ไม่ว่า จะด้วยเหตุใดก็ตาม ไฮน์ริคที่ตกลงปลงใจสร้างโรงหนังตามความประสงค์ขององค์ ทะไลลามะในวัยเด็ก นั่นเป็นเหมือนชนวนมวนแรกที่สร้างความสัมพันธ์และมิตรภาพ ระหว่างเขาทั้งสอง ฉากที่ทั้งสองได้เจอกันครั้งแรกน่าประทับใจตรงที่องค์ทะไลลามะ ตื่นตาตื่นใจกับผมสีทองสว่างของไฮน์ริค จุดนี้ท�ำให้เราเห็นว่าองค์ทะไลลามะนั้นมี ความสนใจในโลกภายนอกและอยากที่จะเรียนรู้ในทุกๆเรื่อง ซึ่งไฮน์ริคก็สามารถ สนองความต้องการของท่านได้เกือบทั้งหมด ต่างคนต่างมอบความรู้ ข้อคิด ขัดเกลา กันและกันอย่างเป็นธรรมชาติ ตลอดระยะเวลา7ปี ท�ำให้คนทั้งสองเกิดความสัมพันธ์ ที่ดีต่อกัน เป็นทั้งศิษย์และอาจารย์ เป็นเพื่อนเล่น เป็นพี่ และไม่ว่าความสัมพันธ์นี้จะ มีชื่อเรียกว่าอะไร แต่ภาพยนตร์เรื่องนี้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจน ว่าคนทั้งสองมี มิตรภาพที่ดีและหวังดีต่อกันอย่างไม่น่าเชื่อ เป็นอีกจุดที่ภาพยนตร์พยายามให้เรา เห็นถึงพัฒนาการทางด้านความคิดและจิตใจของตัวละครหลักในทางที่มันดีขึ้น และ เมื่อมองย้อนกลับไปต้นเรื่องก็ได้แต่คิดในใจว่ามันช่างแตกต่างกันเหลือเกิน เหมือน กับว่าไฮน์ริคในตอนต้นเรื่องกับไฮน์ริคในตอนท้ายนั้นเปลี่ยนไปเป็นคนละคน ลองคิดดูว่าทั้งหมดนี้มารวมอยู่ในหนังเรื่องเดียวได้อย่างไร โดยที่เนื้อหาไม่ตีหรือขัด กัน ตรงกันข้ามกลับสามารถเดินเรื่องได้อย่างราบรื่นและมีสมดุลไม่เอียงไปทางใด ทางหนึ่งมากจนเกินไป ภาพยนตร์เรื่องนี้ให้อะไรกับคนดูอย่างเราๆมากมาย ทั้งข้อคิดที่เป็นเหมือ นสัญญะ ไม่มีการพูดให้ได้ยิน แต่แสดงให้เห็นจากบริบทของตัวละคร หรือข้อคิดอีก หนึ่งฉากที่ตรึงใจคนดู คือฉากที่ไฮน์ริควางแผนจะพาองค์ทะไลลามะหนีออกนอก ประเทศ แต่พระองค์ไม่ไป และบอกกับไฮน์ริคว่า “มีสุภาษิตทิเบตอยู่บทหนึ่งว่าเอาไว้ ถ้าปัญหาแก้ไขได้ เราก็ไม่จ�ำเป็นต้อง ไปกังวล ถ้าแก้ไขไม่ได้ กังวลไปก็ไม่มีประโยชน์ “ 91
ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างที่ดี ส�ำหรับการน�ำเสนอเนื้อหาของ เรื่องที่มีความหลาย ซึ่งเป็นเรื่องที่ค่อนข้างจะกระจัดกระจาย ให้ลองนึกภาพในหัว ถึงเรื่องของ มิตรภาพ ศาสนา สงคราม สังคม ประเพณีและวัฒนธรรม แต่ละเรื่องนั้น แทบจะไม่มีความเกี่ยวข้องกันแม้แต่น้อย แต่ภาพยนตร์เรื่อง SEVEN YEARS IN TIBET สามารถหยิบจับเอาวัตถุดิบเหล่านี้ มาผสมและปรุงแต่งได้รสชาติที่อร่อยกลมกล่อม ไม่มีหวานเกินไป เค็มเกินไป คงไว้แค่ความพอดีจนเกิดเป็นความพอใจของเรา
92
93
ความกลมกล่อมของภาพยนตร์อตั ชีวประวัติ
94
เป็นหนังที่หยิบยกมาท�ำให้เห็นหลากหลายมุมมองทั้งในเรื่องของความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรม ปัญหาสงคราม ซึ่งท�ำให้ตัวของหนังมีความกลมกล่อมแต่ก็แอบ ตั้งค�ำถามในหลายๆ ช่วงของหนังอยู่พอสมควรเพราะหากใครที่ไม่เคยได้ฟังเรื่องราว ความเชื่อประเพณีรวมถึงวัฒนธรรมของชาว Tibet ก็ต้องเกิดความไม่เข้าใจในตัวเนื้อ เรื่องอย่างแน่นอน แถมแต่ละฉากที่หยิบยกสิ่งเหล่านั้นเข้ามาประกอบในเรื่องก็ไม่ได้มี การอธิบายให้ผู้ชมเข้าใจ อย่างที่จะเป็นทั้งภาษาที่ไม่ได้มีค�ำแปลขึ้นมาให้เพราะมี จังหวะที่ฟังแล้วเกิดความไม่เข้าใจเยอะมาก ชาวทิเบตมีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเองจะอยู่ในตระกูลภาษา จีน ทิเบตภาษาทิเบต พม่าและมีส�ำเนียงสามแบบ คือ ส�ำเนียงเว่ยจิ้ง ส�ำเนียงดัง และ ส�ำเนียงอานตัว นอกจากในเรื่องจะไม่มีค�ำแปลแล้วสิ่งที่เกิดขึ้นอีกอย่างตอนดูหนังคือ พระกับการปกครองประเทศ ซึ่งหากท่านผู้ชมไม่ได้มีข้อมูลในตรงนี้ก่อนดู จะท�ำให้ สงสัยได้ว่ามีความเป็นมาอย่างไร น่าจะมีรายละเอียดอธิบายสักนิดก่อนเข้าสู้เรื่อง เพราะชาวทิเบตมีความเชื่อในเรื่องการกลับชาติมาเกิดหรือที่ชาวท้องถิ่นเรียกกันว่า “ตุลฎ” ที่ให้นิยามเอาไว้คือผู้ที่เลือกจะกลับมาเกิดใหม่ เพื่อโปรดสัตว์ช่วยสัตว์โลกให้ พ้นทุกข์ 95
ชาวทิเบตมองว่าการกลับมาชาติมาเกิดนั้นเป็นเรื่องปกติธรรมดา แต่ที่ พิเศษไปกว่าการตุลกคือการกลับมาเกิดขององค์ดาไลลามะ หรือเรียกว่าการอวตาร มาเกิดใหม่ก็ได้ ในจุดนี้ชาวที่เบตจึงเกิดความเลื่อมใสและมีความศรัทธาอย่างมากใน ขององค์ดาไลลามะ และพระพุทธศาสนานอกจากจะเป็นพระองค์ดาไลลามะยังด�ำรง ต�ำแหน่งสูงสุดทั้งการเมืองศาสนาและอื่นๆ กล่าวโดยรวมรวมคือเป็นทั้งพระมหากษัตริย์และพระสังฆราช ส่วนในด้าน ศาสนาและความเชื่อเดิมชาวทิเบตนับถือศาสนาเป็นเจี้ยว หรือว่าศาสนาค�ำมีการ พัฒนา 3 ขั้น คือ ขั้นที่หนึ่ง ที่เป็นหรือการภักดี ขั้นที่สองเชีย เป็น หรือการเผยแพร่ ขั้นที่สาม เลี้ยวเป็นหรือการนับถือซึ่งหลังจากศตวรรษที่ 7 ก็เกิด 1 ความขัดแย้งกันใน ข้อปฏิบัติทางศาสนา ปัจจุบันชาวทิเบตจึงเรียกศาสนาพุทธว่า “หนางปาฉวี” หรือศาสนาลามะ โดยแบ่งแยกออกเป็นนิกาย เช่น นิกายหนงหม่า คือ นิกายดั้งเดิม เรียกทั่วไปว่า ศาสนาแดงนิกายซ่าเจีย คือนิกายเทา เรียกทั่วไปว่า นิกายดอกไม้ นิกายก�ำจวี คือ นิกายเผยแผ่ศาสนา เรียกทั่วไปว่าศาสนาขาว และนิกายก�ำลัง ที่หมายถึง นิกาย เทศนา นอกจากนี้ในเนื้อเรื่องเหมือนกับว่าชาวทิเบตไม่ต้อนรับชาวต่างชาติให้เข้า มาในเมือง ทั้งการตบมือขับไล่การแลบลิ้นของชนเผ่าทิเบตแต่จริงๆ แล้วอีกฉากที่มี การคล้องผ้าสีขาวที่คอคือการห่าด�ำสิ่งนั้นจริงๆ แล้วคือการต้อนรับและแสดงถึง ความเคารพสูงสุดนั้นเอง ต่อไปอีกฉากที่ในเรื่องไม่ได้อธิบายเหตุผลไว้ก็คือการกราบแบบชาวทิเบต เพราะในเรื่องจะมีจังหวะนี้ ที่มีผู้คนก�ำลังโน้มตัวกราบไปกับพื้นตลอดทาง ซึ่งชาว ทิเบตเรียกการกราบแบบนี้ ว่ากราบแบบอัษฎางคประดิษฐ์ เป็นเอกลักษณ์ของชาว พุทธทิเบต เพราะเป็นการนอนราบติดพื้นทั้งตัวโดยให้ร่างกายทั้งมือ 2 ข้างเข่า 2 ข้าง เท้า 2 ล�ำตัวและหน้าผากรวม 8จุ ดติดไปกับพื้นหรือเรียกอีกอย่างว่าชากเซลชาก Chog หมายถึงกายศักดิ์สิทธิ์วาจาศักดิ์สิทธิ์ และจิตศักดิ์สิทธิ์ของพระโพธิสัตว์ทั้ง 96
หลายส่วนเซล Tsel คือการอุทิศตนอย่างจริงใจและจริงจังที่จะเดินรอยตามพระพุทธ ศาสนาตามทางที่ถูกต้องมุ่งสู่การเป็นพระพุทธเจ้าซึ่งมีความเชื่อกันว่าชาวทิเบตจะ กราบไหว้แบบอัษฎางคประดิษ์ถึง 100, 000 ครั้งในการแสวงบุญไปยังวัดโจคังเมือง ลาซาของทิเบตซึ่งเป็นวัดที่ส�ำคัญมีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 1, 360 ปี ต่อไปในเรื่องที่ขอชื่นชมคือการแต่งการดูเป็นธรรมชาติตรงกับบรรยากาศ ชีวิตจริงของชาวทิเบตโดยชุดของดาไลลามะจะเรียกว่าชุดไตรจีวรโดยการน�ำเศษผ้า ที่มีสีและขนาดต่างกันเอามาต่อขึ้นเป็นผืนสวมรองเท้าบูทและสวมหมวกของพระส่วน ประชาชนชายจะสวมเสื้อคลุมยาวแขนยาวหญิงจะเป็นแบบมีแขและไม่มีแขนเสื้อซึ่ง เป็นเสื้อที่ท�ำมาจากขนแกะและหนังสัตว์
97
98
เราชื่นชมคนที่ละวางอัตตาไว้
99
นตัวแทนของเยอรมนีในการพิชิตยอดเขานังกาปาร์บัต บนเทือกเขาหิมาลัย แต่เมื่อ เยอรมนีประกาศสงครามกับสหราชอาณาจักรทั้งสอง จึงถูกจับตัวเป็นเชลยสงคราม และส่งเข้าค่ายกักกัน ทั้งสองหลบหนีออกมาจากค่ายและเดินเท้าขึ้นเหนือไปสู่ทิเบต และได้พบกับทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่ในวัยเด็ก ได้เป็นครูสอนวิชาภูมิศาสตร์และ ดาราศาสตร์ให้กับพระองค์ และเป็นที่ปรึกษาทางการทหารให้กับกองทัพทิเบต ทั้ง สองใช้ชีวิตอยู่ในพระราชวังโปตาลาเป็นเวลาเจ็ดปีตั้งแต่ปี ค.ศ.1944 จนกระทั่งองค์ ทะไลลามะทรงเข้าพิธีครองบัลลังก์อย่างเป็นทางการ และเดินทางกลับออสเตรียหลัง จากกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน เข้ารุกรานทิเบตในปี ค.ศ. 1950 ภาพยนตร์เรื่องนี้ดนตรีประกอบภาพยนตร์ถูกแต่งโดย จอห์น วิลเลียมส์ และมี โยโย มาเป็นนักดนตรีโซโล ภาพยนตร์ถ่ายท�ำส่วนใหญ่ในอาร์เจนตินาโดยมี ภาพฟุตเตจบางส่วนได้มาจากการลักลอบถ่ายท�ำในสถานที่จริง บางส่วนถ่ายท�ำใน เนปาล ชิลี และแคนาดา เนื้อหาในภาพยนตร์น�ำเสนอภาพทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่ใน ทางบวก และกองทัพปลดปล่อยประชาชนในทางลบส่งผลให้ผู้ก�ำกับและนักแสดงน�ำ ทั้งสองถูกห้ามเข้าประเทศจีน
100
พูดวิเคราะห์ถึงตัวหนังในด้านเนื้อหาของบทภาพยนตร์ จากการที่ได้รับชม หนังเรื่องนี้รู้สึกได้ว่า เนื้อหาหรือตัวบทของภาพยนตร์เรื่องนี้นั้น มีเนื้อหาที่เกี่ยวกับ ชีวิตของผู้คนเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการใช้ชีวิต ขนมธรรมเนียมวัฒนธรรมที่ แตกต่างของผู้คนและเชื้อชาติ รวมไปถึงเรื่องของลัทฺธิทางศาสนา และสงคราม ที่ ค่อนข้างน่าสนใจมากส�ำหรับใครที่สนใจ หรือพอจะมีความรู้ในเรื่องประวัติศาสตร์ และสงครามโลกนั้นน่าจะเข้าใจในตัวบทของเนื้อหาได้ไม่ยาก ซึ่งทีน�ำเสนอเกี่ยวกับ ชีวิตผู้คน ยกตัวอย่างเช่น ฉากที่เปิดตัวของเรื่องได้น�ำเสนอถึงพิธีกรรมที่ส�ำคัญของ ชาวธิเบตอย่างพิธีแต่งตั้งองค์ทะไลลามะ ท�ำรู้สึกได้ถึงอารายธรรมอีกรูปแบบหนึ่ง ที่ ท�ำให้เรารู้สึกเหมือนต้องมนต์ขลังสะกดเราให้ละสายตาไม่ได้ ด้วยฉากของหนังที่จัด แต่งได้คล้ายคลึงกับพีกรรมจริงๆ การแต่งกายของนักแสดงก็บ่งบอกถึงความเป็น ชาวธิเบตได้เป็นอย่างดี บวกด้วยดนตรีที่ฟังแล้วราวกับผู้ฟังถูกดึงดูดเข้าไปอยู่ใน พิธีกรรมนั้นจริงๆ ซึ่งนับว่าเป็นฉากของหนังเรื่องนี้ที่น�ำเสนอออกมาได้ดีมากๆ อีกอย่างที่น่าสนใจของหนังเรื่องนี้คือ ฉากที่ไฮน์ริช ที่มาถึงธิเบตและได้พบ กับหญิงสาวทิเบต เขากับเพื่อนก็แย่งกันจีบ โดยไฮน์ริชแสดงความสามารถในการปีน เขาพร้อมโชว์สมุดภาพที่บันทึกผลงานที่ได้รับเหรียญทองโอลิมปิกให้สาวดู หญิงสาว ธิเบตพูดว่า “นี่ก็เป็นอีกอย่างที่ต่างกันมากระหว่างอารยธรรมของเรา คุณชื่นชมคนที่ พาตัวเองไปสู่จุดสูงสุดไม่ว่าจะเป็นในเรื่องไหนก็ตาม แต่เราชื่นชมคนที่ละวางอัตตา ไว้” ซึ่งในฉากนี้ได้แสดงถึงความแตกต่างระหว่างอารยธรรมได้เป็นอย่างดี โดยผ่าน ตัวละเอกและรองของเรื่อง ไม่ว่าจะไปวิธีการพูด การแสดงพฤติกรรมผ่านสายตา และร่างกาย การแต่งกายที่ดูแตกต่าง ความชอบ ทัศนคติหรือความคิดนั้นเอง และ อีกฉากหนึ่งของการพบกันครั้งแรก ของไฮน์ริค และองค์ทะไลลามะ ในฉากนี้ได้น�ำ เสนอถึงองค์ทะไลลามะในด้านที่ดีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความสุภาพนอบน้อม เป็นมิตร
101
ความฉลาดและความสนใจใคร่รู้ ที่จะหาความรู้ต่างๆ มาพัฒนาตนเองอยู่เสมอๆ ดู ได้จากการที่ในฉากนั้นพระองค์ได้ขอให้ไฮน์ริค (แบรต พิตต์) ช่วยมาเป็นครูสอนวิชา ภูมิศาสตร์และดาราศาสตร์ให้กับพระองค์ ถือเป็นฉากที่เก็บรายละเอียดได้ค่อนข้างดีเลยที่เดียว ต่อมาคืออีกฉากที่ ส�ำคัญขอหนังเรื่องนี้ซึ่งก็คือฉากของสงคราม เป็นอะไรที่เราจะไม่เอ่ยถึงก็คงเป็นไปไม่ ได้ เรียกได้ว่าเป็นอีกฉากที่เป็นไคลแม็กซ์ของเรื่องเลยก็ว่าได้ เพราะเป็นฉากหนึ่งจาก ในประวัติศาสตร์จริงๆที่ส�ำคัญของธิเบตในช่วงยุคขององค์ทะไลลามะ ซึ่งได้น�ำเสนอ ชีวิตของผู้คนในธิเบตในฐานะผู้ลี้ภัย ในขณะที่เกิดสงครามโลกครั้งที่สองระหว่าง ประเทศมหาอ�ำนาจต่างๆ โดยมีการแบ่งออกเป็นสองฝ่ายระหว่างฝ่ายอักษะ เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น และฝ่ายสัมพันธมิตร อังกฤษ ฝรั่งเศส ต่อมาจึงมี จีน สหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียต โดยฝ่ายชนะคือ ฝ่ายสัมพันธมิตร ท�ำให้เป็นอ�ำนาจยุโรปหมด ก�ำลังลง จึงเกิดมหาอ�ำนาจใหม่คือ สหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียต จนน�ำไปสู่ สภาพสงครามเย็นในเกือบจะทันทีที่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง ในขณะช่วงของสงครามโลกที่กล่าวมานั้น การเปลี่ยนแปลงใน ประวัติศาสตร์ของธิเบตเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1949 เมื่อกลุ่มกองทหารปลดแอกประชาชน ของจีนได้เข้ามาที่ธิเบตเป็นครั้งแรก หลังจากการเอาชนะกองทหารขนาดเล็กชาว ธิเบตและยึดครองครึ่งหนึ่งของประเทศแล้ว รัฐบาลจีนได้ก�ำหนด “ข้อตกลง 17 ข้อ ส�ำหรับอิสรภาพอันสงบสุขของธิเบต” ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1951 เนื่องจาก เป็นการเซนต์สัญญาตกลงกันภายใต้การข่มขู่ ข้อตกลงนี้จึงขาดความถูกต้องและเห็น ชอบภายในกฎหมายระหว่างประเทศ การต่อต้านการยึดครองของจีนได้เพิ่มขึ้น โดย เฉพาะอย่างยิ่งในธิเบตตะวันออก เนื่องจากมีทั้งการกดขี่จากจีนรวมถึงการท�ำลายอาคารต่าง ๆ ทางศาสนา การจ�ำคุกพระภิกษุและผู้น�ำชุมชนอื่น ๆ ได้เพิ่มขึ้นอย่างน่าตกใจ ในปี ค.ศ. 1959 ประชาชนจึงลุกขึ้นก่อจลาจลมากถึงขีดสุดอย่างเป็นกลุ่มเป็นก้อนที่เมืองลาซา และ เมื่อจีนได้ปราบปรามพวกจลาจลเหล่านี้ ชาวธิเบตประมาณ 87,000 คนได้ถูกฆ่าตาย 102
ในเมืองลาซาและในหนังเรื่องยังได้น�ำเนอฉากหนึ่งที่น่าสะเทือนจิตของผู้ชมได้อย่าง มากซึ่งก็คือซีนที่ทหารจีน ได้บังคับขมขู่ให้พระผู้น้อยในธิเบตยิงพระชั้นผู้ใหญ่ในธิเบต ด้วยกันเอง บริบทโดยรวมของฉาก ดนตรี และการสื่ออารมฯของนักแสดงส่งต่อมายังผู้ ชมได้อย่างยอดเยี่ยมท�ำให้รับรู้ได้ถึงความรู้สิ้นหวัง หดหู่ของผู้ที่ตกเป็นเฉลยของ ประเทศมหาอ�ำนาจได้เป็นอย่างดี ถือว่าเป็นฉากๆหนึ่งของในหน้าประวัติศาสตร์ที่ สร้างความสะเทือนใจให้แก่ผู้ที่ได้รับรู้เป็นอย่างมาก และด้วยการรุกรานของจีนครั้ง นี้ท�ำให้ทะไลลามะองค์ที่สิบสี่ จึงจ�ำต้องเดินทางออกจากธิเบตไปด้วยการยึดครอง ของจีนในธิเบต กองทัพชาวอินเดียและชาวจีน ต้องเผชิญหน้ากันบนเขตแดนของ เทือกเขาหิมาลัย เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ สงครามที่ต้องเสียเลือดเสียเนื้อระหว่าง 2 ประเทศนี้ได้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1962 เมื่อครั้งที่ธิเบตยังมีอิสรภาพ อินเดียเคยใช้ก�ำลังทหารเพียง 1,500 คนในการดูแลความสงบ ณ รอยต่อเขตพรมแดนกับธิเบต แต่ทุกวันนี้อินเดียได้ ประมาณการใช้จ่ายไว้ถึง 550 - 650 ล้านรูปีต่อวัน ในการที่จะคุ้มกันเขตพรมแดนแห่ง เดียวกันนี้จากกองทหารจีนกว่า 300,000 กอง ซึ่งตั้งอยู่ในที่ ๆ ชาวจีนเรียกว่า “เขต ปกครองตนเองธิเบต” (Tibet Autonomous Region) ซึ่งพื้นที่แห่งนี้ประกอบด้วย อาณาเขตของธิเบตที่เหลือเพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้น ส่วนอีกครึ่งหนึ่งก�ำลังถูกกลืนไปกับ หลาย ๆจังหวัดของจีนในบริเวณนั้น ต่อมาได้เอ่ยถึงความสัมพันธ์ของธิเบตที่มีต่ออินเดีย โดยตลอดมาใน ประวัติศาสตร์ เป็นความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด และเป็นมิตรต่อกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ศาสนาพุทธจากอินเดียได้ไปเผยแผ่ที่ธิเบตในศตวรรษที่ 7 ตั้งแต่นั้นมา ประชาชน ธิเบต ก็จะมองอินเดียเป็นผู้น�ำด้านจิตวิญญาณ และด้านปัญญา หนังสือของชาว ธิเบตโบราณหลายเล่มได้อ้างถึงอินเดียว่าเป็น Arya Bhumi ซึ่งหมายถึงผืนแผ่นดินแห่ง ความสูงส่ง การพูดถึงความสัมพันธ์ที่ธิเบตมีต่ออินเดียนั้น Dr. Ram Manohar Lohia ได้ พูดไว้ว่า 103
“ธิเบตมีความสัมพันธ์ที่แนบแน่นกับอินเดียมากกว่าจีน เป็นความสัมพันธ์ที่แนบแน่น ของการใช้ภาษา การค้าขายและวัฒนธรรม ไม่ใช่ความสัมพันธ์ทางยุทธศาสตร์”เป็น เวลาหลายศตวรรษที่ธิเบตได้ท�ำหน้าที่เป็น “ประเทศกันชน” ซึ่งมีประสิทธิภาพ ระหว่างอินเดียกับจีน แต่ทั้งหมดนี้ได้เปลี่ยนแปลงไปในปี ค.ศ. 1950 เมื่อเมืองชามโด ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเขตธิเบตตะวันออกได้ตกเป็นของจีนนั้น กงสุลอินเดียใน เมืองลาซา หรือเมืองหลวงของธิเบตได้ส่งสารด่วนไปที่กรุงนิวเดลลี ซึ่งได้กล่าวเกี่ยว กับสิ่งที่เกิดขึ้นในลักษณะพยากรณ์ไว้ว่า อาณาเขตเทือกเขาหิมาลัยได้ถูกท�ำให้สิ้นไป แล้ว จีนได้บุกรุกธิเบต” ความหมายของเขาคือ เขตพรมแดนทางเหนือของอินเดีย จะไม่ปลอดภัยจากการ บุกรุกจากภายนอกประเทศ อีกต่อไปแล้ว ในการอภิปรายเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1959 นั้น Acharya Kriplani ได้กล่าวไว้ว่า “เรารู้สึกเป็นห่วงเป็นใยอย่างสุดซึ้ง เพราะเหตุว่าจีนได้ท�ำลายประเทศกันชนลงไปแล้ว และในการเมืองระดับชาติ ถือว่า เมื่อประเทศที่เป็นกันชน ได้ถูกท�ำลายโดยประเทศ มหาอ�ำนาจหนึ่ง ประเทศมหาอ�ำนาจนั้น ก็จะถูกมองว่า ได้ประกาศตนเป็นศัตรูต่อ ต้านประเทศเพื่อนบ้าน” และอีกหนึ่งตัวแปรส�ำคัญของเรื่องที่ส�ำคัญพอๆกับตัวหลักของเรื่องเลยก็คือ พระองค์ ทะไลลามะที่สิบสี่ ซึ่งปัจจุบัน ก็ยังคงเป็นมิตรสหายที่ดีต่อไฮน์ริค แฮร์เรอร์ ผู้ ประพันธ์เรื่องนี้นั้นเอง ซึ่งองค์ทะไลลามะ นั้นมีตัวตนอยู่จริงๆ โดยองค์ทะไลลามะ เป็นต�ำแหน่งประมุขหัวหน้าคณะสงฆ์ในพุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนาแบบ ทิเบต นิกายเกลุก (นิกายหมวกเหลือง) เป็นผู้น�ำทางด้านจิตวิญญาณสูงสุดของชาว ทิเบต ค�ำว่าทะไลลามะ มาจากภาษามองโกเลีย dalai แปลว่า มหาสมุทร และภาษา ทิเบต bla-ma แปลว่า พระชั้นสูง ตามประวัติศาสตร์ของทิเบต เชื่อว่าองค์ทะไลลามะเป็นอวตารในร่าง มนุษย์ของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ และเมื่อองค์ทะไลลามะองค์หนึ่งสิ้นพระชนม์ไป จะกลับชาติมาประสูติใหม่เป็นองค์ทะไลลามะองค์ต่อไป โดยเรทิงรินโปเช ซึ่งเป็น 104
พระสงฆ์ระดับรองลงมาจะเป็นผู้ใช้นิมิตสรรหาเด็กคนที่เชื่อว่าเป็นทะไลลามะกลับ ชาติมาเกิด สมเด็จพระ เทนซิน เกียตโซ คือองค์ทะไลลามะ องค์ที่ 14 แห่งทิเบต เป็น ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี ค.ศ. 1989 และเป็นผู้น�ำจิตวิญญาณและ ผู้น�ำสูงสุดของชาวทิเบต ถึงแม้ว่าทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีนจะไม่ยินยอม ก็ตาม พระองค์ทรงเป็นประมุขแห่งพุทธศาสนานิกายมหายาน พุทธศาสนาแบบทิเบต นิกายเกลุก ข้อมูลจาก tibetthailand.info บอกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจ ของชาวทิเบต ทรงได้รับการยอมรับจากชาวโลกทั้งตะวันออกและตะวันตก เพราะได้ เสด็จเยือนประเทศต่างๆทั่วโลก เพื่อแสดงปาฐกถา ทรงได้รับการถวายรางวัลและ ปริญญาบัตรสาขาต่างๆ โดยเฉพาะด้านสันติภาพจ�ำนวนมาก รวมถึงรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ ค.ศ. 1989 โยค�ำสอนขององค์ทะไลลามะนั้นได้สร้างแรงบันดาลใจสูง สุด และช่วยชี้หนทางการใช้ชีวิตที่เป็นสุขอย่างแท้จริงให้กับชาวโลกมาแล้วมากมาย และนี่คือส่วนหนึ่งของค�ำสอนเหล่านั้น “มนุษย์เรานี้ยอมสูญเสียสุขภาพเพื่อท�ำให้ได้เงินมา แล้วต้องสูญเสียเงินตรา เพื่อฟื้นฟูรักษาสุขภาพ แล้วยังเฝ้ากังวลกับอนาคต จนไม่มีความรื่นรมย์กับปัจจุบัน ผลที่เกิดขึ้นจริง ๆ ก็คือ เขาไม่ได้อยู่กับปัจจุบันหรือแม้กระทั่งอยู่กับอนาคต เขา ด�ำเนินชีวิตเสมือนหนึ่งว่า เขาไม่มีวันตาย และแล้วเขาก็ตายอย่างไม่เคยมีชีวิตอยู่ จริง”
105
106
ถ้าคนเราเชื่อกับสิ่งหนึ่ งมากๆ โลกคงอยู่ได้ง่ายกว่ยกว่านี้
107
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เชลยศึกที่หนีมาได้รายหนึ่งเดินทางไปยังทิเบต พร้อมกับภารกิจบางอย่างที่ต้องปฏิบัติ และที่นั่นเองเขาได้พบกับองค์ดาไลลามะ ด้วยบริบทที่แตกต่าง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่งในที่สุดมิตรภาพที่เกิดขึ้นก็ เปลี่ยนแปลงมุมมองต่อชีวิตของเขาตลอดไป ภาพยนตร์อเมริกันเรื่องนี้ฉายในปี 1997 มีความยาว 2 ชั่วโมง 16 นาที ภาพยนตร์เรื่องนี้ก�ำกับโดยฌอง ฌากส์ อันโน โดยสร้างจากหนังสือที่เขียนจาก ประสบการณ์จริงของ “ไฮน์ริช แฮร์เรอร์” นักปีนเขาเหรียญทองโอลิมปิก แสดงน�ำ โดยแบรต พิตต์ เรื่องราวนี้เริ่มขึ้นในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ไฮน์ริช นักปีนเขา ชาวออสเตรียกับทีมงาน ตั้งใจจะไปพิชิตยอดเขาที่สูงอันดับเก้าของโลก ในแถบเทือก เขาหิมาลัย แต่ท�ำไม่ส�ำเร็จ อีกทั้งยังถูกทหารอังกฤษจับกุมเพราะทั้งสองประเทศ ประกาศสงครามกัน เขาพยายามหนีออกจากค่ายหลายครั้งแต่ไม่ส�ำเร็จ แถมเมียยัง ส่งจดหมายมาขอหย่าอีกต่างหาก แต่การหนีครั้งสุดท้ายก็ส�ำเร็จจนได้โดยร่วมกับ พวกที่เป็นนักปีนเขาด้วยกัน หลังจากหนีออกมาส�ำเร็จเขาแยกตัวออกจากกลุ่ม ตระเวนไปทั่ว แล้วตัดสินใจเดินทางเข้าทิเบตโดยมีเพื่อนนักปีนเขาอีกคนร่วมทางมา ด้วย แต่กว่าจะเข้าทิเบตได้ต้องเจออุปสรรคมากมาย ด้วยทางคนทิเบตไม่ต้อนรับคน ต่างชาติ เมื่อเขาเข้าทิเบตได้ และมาถึงเมืองหลวงคือ ลาซ่า โดยมีข้าราชการใหญ่ 108
ให้การรับรอง เขาได้งานให้ส�ำรวจเมืองหลวง เมื่อรู้ข่าวว่าสงครามโลกจบลงเขาตั้งใจ จะเดินทางกลับบ้าน แต่ได้รับจดหมายจากลูกชายว่าไม่รับว่าเขาเป็นพ่อ ท�ำให้เขา เสียใจ และจังหวะพอดีกับองค์ดาไลลามะ (ต�ำแหน่งผู้น�ำทางศาสนาของทิเบต) ให้ เขาเข้าเฝ้า ซึ่งฉากเริ่มต้นพระองค์ท่านยังเป็นเด็กอยู่ เป็นเหตุให้เขาจึงอยู่ทิเบตต่อ และสอนหนังสือและเป็นเพื่อนกับพระองค์ ท�ำให้องค์ดาไลลามะได้เข้าใจสิ่งต่างๆ มากมายเกี่ยวกับโลกภายนอกที่ตัวของพระองค์ไม่เคยได้เข้าใจ ต่อมาจีนคอมมิวนิสต์ ประกาศว่าทิเบตเป็นส่วนหนึ่งของจีน และน�ำก�ำลังเข้ารุกรานทิเบต ทางทิเบต พยายามต่อสู้แต่ไม่สามารถต้านทานได้ สุดท้ายต้องขอยอมแพ้ โดยจีนยอมให้สิทธิ ปกครองตนเองและนับถือศาสนาแต่ต้องยอมรับจีนเป็นผู้น�ำทางการเมือง เขา วางแผนจะพาองค์ดาไลลามะหนีออกนอกประเทศ แต่พระองค์ไม่ไป เขาจึงเดิน ทางออกจากทิเบตคนเดียว เขากลับมายังออสเตรียและกลับมาเยี่ยมลูกชายซึ่งโตพอ จะเข้าใจเขา และเขาได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับเรื่องนี้ขึ้น ท�ำให้โลกได้รับรู้เรื่องราวของ ทิเบต สิ่งที่ผู้เขียนคิดว่าคนดูจะได้อะไรจากเรื่องนี้บ้าง คือ ฉากตอนที่เขาช่วย สร้างโรงหนังให้องค์ดาไลลามะ ต้องขุดดินซึ่งท�ำให้ไส้เดือนตาย คนทิเบตเชื่อเรื่อง การกลับชาติมาเกิด ไส้เดือนหรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อาจจะเป็นแม่ของเราเมื่อชาติที่แล้ว คนทิเบตจึงมีทัศนคติความเชื่อที่จะไม่ท�ำร้ายสิ่งมีชีวิตทุกชนิด และต้องให้ความ เคารพ เพื่อเป็นการทดแทนพระคุณ (ความเชื่อ) และฉากองค์ดาไลลามะ ตอนอายุสิบ กว่าปี ต้อนรับนายพลจีนแสดงถึงความน่านับถือและสติปัญญาของท่านเช่นกัน ท่าน ทักทายและพูดกับนายพลจากจีนว่า “ค�ำสอนของพุทธองค์ ว่าไว้ว่า ทุกคนกลัว อันตราย และความตาย ไม่มีใครไม่รักชีวิต เมื่อคิดได้เช่นนี้แล้ว เราจะไม่ฆ่าใคร ท่านต้องเข้าใจ ค�ำสอนนี้ฝังอยู่ในใจชาวทิเบตทุกๆ คน เราจะเป็นชนชาติที่รักความ สงบ ยึดหลักปฏิเสธความรุนแรง อาตมาสวดมนต์ให้ท่านประจักษ์ว่านี่คือความเข้ม แข็ง หาใช่ความอ่อนแอ” และมีฉากหนึ่งที่ Kungo Tsarong กล่าวกับ ผู้ส�ำเร็จราชการ 109
ได้ความว่า เป็นห่วงคนต่างชาติสองรายนั้นจะติดคุกหากทั้งคู่ต้องข้ามแดนไปอินเดีย และทิ้งท้ายว่า “ช่วยคนตกทุกข์ไม่ต้องมีเหตุผล” สะท้อนให้เห็นถึงความมีเมตตาของ คนทิเบต ฉากที่ยกระดับจิตใจของตัวเอกคงจะเป็นฉากที่ไฮน์ริช เพิ่งมาถึงทิเบตได้ ซักพัก และพบกับสาวทิเบตรายหนึ่ง นามว่า Pema Lhaki เธอคือช่างตัดเสื้อชาวทิเบต เขากับเพื่อนก็แย่งกันจีบ โดยไฮน์ริชแสดงความสามารถในการปีนเขาพร้อมโชว์สมุด ภาพที่บันทึกผลงานที่ได้รับเหรียญทองโอลิมปิกให้สาวดู สาวคนนั้นตอบว่า “นี่ก็เป็น อีกอย่างที่ต่างกันมากระหว่างอารยธรรมของเรา คุณชื่นชมคนที่พาตัวเองไปสู่จุด สูงสุดไม่ว่าจะเป็นในเรื่องไหนก็ตาม แต่เราชื่นชมคนที่ละวางอัตตาไว้” พร้อมทิ้งท้าย ใจความว่า “คนทิเบตทั่วไปจะไม่อวดตัวอย่างนั้นนะ” ท�ำให้ไฮน์ริช เริ่มฉุกคิดใน ความเป็นจริงว่า ความเก่งของไฮน์ริช ก็มิอาจได้รักจากใจจริงของสาวทิเบตคนนั้น ช่วงตอนหนึ่งไฮน์ริชได้รับจดหมายจากลูกชายว่าไม่รับว่าเขาเป็นพ่อ ทั้งที่ไฮน์ริช คาดหวังความสมบูรณ์จากลูกและทุกๆ สิ่งรอบตัวเขาท�ำให้เขาเสียใจเมื่อทุกสิ่งไม่ได้ เป็นดังที่ใจเขาต้องการ และส่งท้ายด้วยฉากที่ ไฮน์ริช พูดถึงเรื่องการปีนเขาว่า “มัน เป็นความเรียบง่ายอย่างแท้จริง เวลาคุณปีนเขา สมองคุณปลอดโปร่ง ไม่สับสน มี เป้าหมายแน่วแน่ และทันใดนั้น แสงเหมือนจะคมชัดขึ้น คุณรู้สึกเหมือนเปี่ยมไปด้วย พลังอันล�้ำลึกของชีวิต ผมรู้สึกแบบนั้น เฉกเช่นเมื่อได้อยู่กับพระองค์ท่าน” อีกฉาก คือ เขาวางแผนจะพาองค์ดาไลลามะหนีออกนอกประเทศ แต่พระองค์ไม่ไป ท่าน กล่าวว่า “มีภาษิตทิเบตอยู่บทหนึ่งว่าเอาไว้ว่า ถ้าปัญหาแก้ไขได้ เราก็ไม่จ�ำเป็นต้อง ไปกังวล ถ้าแก้ไขไม่ได้ กังวลไปก็ไม่มีประโยชน์” “ผมจะช่วยคนได้ยังไง ถ้าหนีไปจากพวกเขา ผมจะเป็นผู้น�ำแบบไหน ท�ำ เพื่อผู้อื่นท�ำให้ผมมีเวลาคิดหาทางออก พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า การเห็นเราไม่ท�ำให้ พ้นทุกข์ แต่ต้องใช้ความเพียรพยายาม จงเพียรหาทางพ้นทุกข์ของตัวเองด้วย ปัญญา” แต่ละฉาก แต่ละประโยค เหมือนใช้มีดแทงเข้ามากลางหัวใจ โดยเฉพาะ ภาพตอนไฮน์ริชมาลาองค์ทะไลลามะกลับบ้าน ดูแล้วน�้ำตาซึม สัมผัสถึงความรักที่ ท่านทั้งสองมอบให้แก่กันและกัน 110
เรื่องนี้เป็นหนังที่ดูสนุกและน่าติดตามอีกเรื่อง ตั้งแต่ฉากการปีนเขาช่วงแรก มีให้ลุ้น ช่วงการหนีจากค่ายเชลยและต้องผจญภัยอยู่นานกว่าจะเข้าทิเบตได้ก็ดูสนุก ในหนังเมื่อมีฉากที่เกี่ยวกับทิเบต เวลาดูเหมือนต้องมนต์ขลัง ทั้งตัวละคร บทสวด พิธีกรรม ค่านิยม ความเชื่อ และวัฒนธรรม ช่วงอยู่ในทิเบตและได้พบกับองค์ดา ไลลามะเป็นภาพที่น่าประทับใจ ฉากองค์ดาไลลามะซึ่งยังเด็กอยู่ต้อนรับนายพล จีนแสดงถึงความน่านับถือและสติปัญญาของท่านเช่นกัน ส่วนช่วงสุดท้ายที่จีนบุกเข้า ทิเบตดูแล้วน่าสะเทือนใจ ทหารทิเบตจ�ำต้องต่อสู้ ทั้งที่ก�ำลังพลน้อยกว่า ใช้อาวุธปืน ที่มีจ�ำนวนน้อยนิดงัดออกมาสู้ บางคนยังใช้ธนูเป็นอาวุธ วัดในทิเบตโดนท�ำลายไป เยอะมาก ดูจบแล้วได้แต่ท�ำใจกับสภาพที่เกิดขึ้นกับทิเบตและองค์ดาไลลามะมาก แนะน�ำว่าหนังเรื่องนี้เป็นหนังที่ไม่เพียงแต่ต้องดู แต่ต้องดูหลายๆ รอบ ดูแล้วจะรัก ทิเบต รักองค์ทะไลลามะ หลังจากที่เราดูหนังจบ เรากลับรู้สึกว่าไม่จบ แต่เป็นเพียง การเริ่มต้น เริ่มต้นที่จะท�ำความรู้จัก เรียนรู้ สัมผัส องค์ทะไลลามะอย่างแท้จริงอีก ครั้ง แรงบันดาลใจอันรุนแรงครั้งนี้อาจท�ำให้เรารีบหาหนังสือของท่านมาอ่าน เช่น เรื่อง “แผ่นดินและประชากรของข้าพเจ้า อัตชีวประวัติของทะไลลามะแห่ง ทิเบต” อยากรู้จักความเป็นมาเป็นไปของท่าน อ่านไปก็ยิ่งรู้สึกอบอุ่นในหัวใจ รู้สึก เหมือนมีพระองค์ท่านเดินเคียงข้างเปี่ยมด้วยความรักและความเมตตา ทิ้งท้ายจากผู้ เขียนว่า “ยังมีรายละเอียดอื่นๆ ให้ค้นหาอีกเพียบบบบ ควรค่าแก่การดูมากกกก” รู้หรือไม่ : ภายหลังจากที่กองทัพคอมมิวนิสต์เข้าไปตั้งในทิเบตแล้ว ความ ไม่พอใจต่อจีนในหมู่ผู้น�ำและประชาชนทิเบตได้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดก็เกิดการ จลาจลต่อต้านจีนขึ้นเมื่อปี 1959 ทางการจีนได้ปราบปรามการจลาจลอย่างเฉียบขาด ดาไลลามะองค์ที่ 14 ซึ่งเป็นผู้น�ำสูงสุดของทิเบตได้หลบหนีไปอินเดียพร้อมกับเจ้า หน้าที่รัฐบาลและประชาชนอีกจ�ำนวนมาก แล้วไปตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นขึ้นที่ธรรมศาลา 111
ในแคว้นหิมาจัลประเทศของอินเดีย และเริ่มกระบวนการเรียกร้องเอกราชของทิเบตที่ กินเวลายาวนานเกือบกึ่งศตวรรษจนถึงทุกวันนี้ รู้หรือไม่ : ทิเบตมีภูมิอากาศที่หลากหลายและได้รับการขนานนามว่า “เมืองที่ไม่มีฤดูกาล แต่ฤดูกาลทั้งสี่จะเกิดขึ้นได้ในวันเดียว”
112
113
วัฒนธรรมความเชื่อและแนวปฏิบตั ิของ คนทิเบตในสมันก่อน
114
115
ส�ำหรับภาพยนตร์เรื่องนี้ได้แสดงให้เห็นว่าผู้คนทิเบตนั้นนับถือและให้ความ ส�ำคัญกับเรื่องศาสนามากเป็นพิเศษ มีองค์ทะไลลามะเป็นตัวแทนศาสนาเป็นที่เคารพ สูงสุดในศาสนา มีความเชื่อเรื่องต่างๆที่น่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็นการปฏิบัติต่อชาวต่าง ชาติ คนทิเบตจะไม่ยอมให้ชาวต่างชาติเข้ามายังประเทศของตน เพราะเคยมีค�ำ ท�ำนายเอาไว้ว่าอาจจะมีสักวันที่ศาสนาจะถูกบุกรุกระรานจากชาวต่างชาติ อาจะ ท�ำให้ศาสนา ถูกท�ำลายลง รวมไปถึงองค์ทะไลลามะอาจจะต้องกลายเป็นสามัญชน นอกจากนี้สิ่งที่กล่าวถึงมากในภาพยนตร์เรื่องนี้คือความเชื่อของคนทิเบต ในสมัยก่อน สิ่งที่น่าสนใจเป็นพิเศษคือ คนทิเบตเชื่อว่า “สัตว์ทุกชนิดบนโลกอาจเคย เป็นแม่ของเราเมื่อชาติที่แล้ว” ต้องให้ความเคารพ เช่นการทดแทนสัตว์ผู้มีพระคุณ และไม่ท�ำร้ายสิ่งมีชีวิต คนทิ เ บตเชื่ อ ว่ า การเดิ น ทางไกลไปยั ง สถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ต ่ า งๆนั้ น ถื อ ว่ า เป็นการช�ำระบาปที่เราก่อเอาไว้ ยิ่งเราเดินทางด้วยความยากล�ำบากเพียงใดเราก็จะ ยิ่งช�ำระบาปที่เราก่อเอาไว้มากที่สุด คนทิเบตยังเชื่ออีกว่าการที่ปรบมือนั้นเป็นการขับ ไล่ปีศาจขับไล่สิ่งที่ไม่ดี คนทิเบตมีความเชื่อว่าศัจตรูคือครูที่ยิ่งใหญ่ เพราะว่าศัจตรูท�ำให้ชาวทิเบต มีความอดทนต่อปัญหาต่างๆ และช่วยให้มีเมตตา และเชื่อว่า “พลังแห่งศาสนาจะ ปกป้องพวกเขาจากอันตรายทั้งหลาย”
คนทิเบตมีการทักทายที่ท�ำในสมัยก่อนคือการแลบลิ้นให้บุคคลอื่น เปรียบ เสมือนการไหว้ทักทายของไทย และคนทิเบตมีประเพณีการต้อนรับผู้คนส�ำคัญจาก ต่างถิ่นที่น่าสนใจ ในเนื้อเรื่องจะกล่าวถึงการต้อนรับนายพลจากประเทศจีน โดยคน ทิเบตจะท�ำพิธีต้อนรับ โดยการน�ำเนยมาปั้นเป็นรูปพระพุทธเจ้าและรูปต่างๆ น�ำมา จัดตั้งไว้ตามที่สถานประกอบพิธีด้านนอก และท�ำพิธีสวดคาถา “เมื่อรูปปั้นที่ท�ำจาก เนยโดนความร้อนจากแสงอาทิตย์เยนก็จะละลาย แสดงให้เห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างบน โลกนี้ไม่มีความยั่งยืน ไม่มีความแน่นอน” เรื่องต่อมาที่จะขอกล่าถึงต่อจากเรื่องวัฒนธรรมและความเชื่อก็คือ เรื่อง การที่คนทิเบตปฏิบัติตนต่อองค์ทะไลลามะ โดยคนทิเบตเชื่อว่าองค์ทะไลลามะเป็น ผู้น�ำทางวิญญาณและมีความเชื่อว่าท่านเป็นองค์อวตารของพระอวโลกิเตศวร (พระ โพธิ์สัตว์แห่งความเมตตา) เป็นพระอริยเจ้าผู้ประเสริฐ แจ่มใส กรุณารู้แจ้งทรงน�ำทาง สว่างแห่งสัทธาและปัญญา การเข้าพบพระองค์ท่าเกิดจะต้องยืนเสมอท่านจะต้องน้อมค�ำนับ มือ ประนมแสดงความเคารพพระองค์ ถ้าหากนั่ง ต้องนั่งต�่ำกว่าพระองค์ ห้ามสบตา ห้ามพูดก่อนท่านรับสั่ง ให้เรียกว่าพระองค์ท่านทุกครั้ง ห้ามหันหลังให้ และอย่าแตะ ต้องพระองค์ท่านเป็นอันขาด จากสิ่งต่างๆที่กล่าวมาเรียกได้ว่าเป็นสิ่งที่คนทิเบตในสมัยก่อนได้ยึดถือ และเป็นแนวปฏิบัตินับว่าเป็นที่ที่ดีงามที่ควรค่าแก่การที่จะสืบทอดขนบธรรมเนียม เหล่านี้เอาไว้ จริงอยู่ที่ว่าการปฏิบัติบางอย่างอาจจะมีความแปลกไปบ้าง แต่ก็ขึ้นอยู่ กับว่าวัฒนธรรมใครเป็นแบบไหน ส�ำหรับคนไหนที่ไม่รู้ว่าวัฒนธรรม ความเชื่อ แนว ปฏิบัติ และ ศาสนาของทิเบตเป็นแบบไหน และอยากศึกษาประวัติศาสตร์ทิเบตใน สมัยโบราณ แนะน�ำให้ดูเรื่องนี้ แน่นอว่าใครทีดูภาพยนตร์เรื่องนี้แล้วอาจจะมีความ หลงรักในวัฒนธรรมทิเบตก็เป็นได้
116
117
การถ่ายทอดวัฒนธรรมและความเชื่อ ของชาวทิเบตผ่านบทภาพยนตร์
118
“ศาสนาคือยาพิษ” ค�ำพูดของ นายพลชางจีงวู ประเทศจีนในภาพยนตร์ เรื่อง seven year tibet 7 ปีไม่มีวันลืม กล่าวทิ้งท้ายก่อนขึ้นเครื่องบินจากไปหลังจาก มาเยือนชาวเมืองลาซา เมืองหลวงของทิเบตในตอนนั้น จึงเกิดค�ำถามขึ้นในใจของผู้ เขียน ว่าจริงหรือ? เลยอยากจะเขียนบทความวิจารณ์ในมุมของผู้ที่ก็ไม่ได้อินกับ ศาสนาขนาดนั้น ศาสนามักจะมาพร้อมวัฒนธรรมความเชื่ออันเก่าแก่ของคนในพื้นที่นั้นๆ อย่างทิเบตถือเป็นอีกหนึ่งพื้นที่ที่มีประวัติศาสตร์อันเก่าแก่มายาวนาน เรื่องศาสนา เป็นเรื่องละเอียดอ่อนเพราะแต่ละคนมีศรัทธาในเรื่องนั้นๆ ไม่เท่ากัน เช่นเดียวกับ นายพล ชางจิงวู ที่ได้กล่าวค�ำพูดนั้นไว้ แต่ในทางกลับกันประเทศที่นับถือพุทธเช่น เดียวกับทิเบตก็ไม่ได้มีการท�ำพิธีกรรมอย่างเดียวกันนั้นเลย จะโทษศาสนาเลยก็ไม่ถู ต้องสะทีเดียว เพราะทุกสิ่งที่ปรากฏในภาพยนตร์ถือเป็นวัฒนธรรมเก่าแก่ของเมืองลาซา ที่มีการสืบต่อกันมารุ่นสู่รุ่น ทุกรุ่น ทุกยุคสมัยผู้คนล้วนเติมใจท�ำ ทั้งยังมีความศรัทธา และเชื่ออย่างสุดหัวใจว่าสิ่งที่เขาท�ำไปสิ่งที่จะได้กลับมาคือการได้พบความสุขที่แท้ จริง สิ่งที่พวกเขาหวังมีเพียงการได้เป็นผู้ที่ละวางสิ่งต่างๆได้ เป็นผู้ที่ไม่ยึดติดกับสิ่ง ใด ไม่ว่าจะเงินทอง หรืออ�ำนาจก็ตาม เช่นเดียวกับในฉากหนึ่งในภาพยนตร์ตอนที่ 119
คนของคณะทูตจีนชวน นาวัง จิ๊กมี่ ไปท�ำงานด้วย ค�ำตอบของเขาคือ ได้รับใช้ชาติ อย่างซื่อสัตว์เป็นรางวัลเพียงพอแล้วครับท่าน แม้ว่าในตอนท้ายจะเหมือนเขาหักหลัง ประเทศก็ตามแต่ก็ท�ำไปเพื่อไม่ให้มีการนองเลือดของคนในประเทศเขาเท่านั้นเอง และในแต่ละเดือน จะต้องมีอย่างน้อยไม่ต�่ำกว่า 7 วัน ที่ชาวทิเบตจะต้อง จัดงานพิธีกรรมที่พิเศษเฉพาะขึ้นมา ชาวทิเบตเชื่อว่า ในช่วงของวันพิธีกรรมที่ส�ำคัญ อย่างนี้ ไม่ว่าจะสร้างกรรมดีหรือกรรมร้าย ผลของกรรมย่อมจะให้ผลอย่างอนันต์ และอย่างมหันต์ ทุกๆวันพุธ ชาวทิเบตเชื่อว่าเป็นวันมงคลที่ต้องประกอบพิธี เพราะ เชื่อว่าวันพุธคือวันประสูติขององค์ทะไลลามะ ในวันที่พระจันทร์เต็มดวงพระสงฆ์ก็จะ ร่วมกันสวดมนต์ให้พิเศษกว่าวันอื่นๆ และในวันประกอบพิธีสารภาพก็เช่นเดียวกัน คือจะมีการสวดมนต์ชนิดพิสดารกว่าปกติ ส่วนชาวบ้านก็จะประกอบพิธีพร้อมกับการ รักษาศีลแปดติดต่อกันสองวัน (มหาวิทยาลัยมหิดล) และเพราะคนของที่นั่นยังบริสุทธิ์เปรียบเสมือนว่าพวกเขาไม่ได้หวังลาภยศ หรือเงินทองมากมาย เพียงแค่ได้ใช้ชีวิตอย่างสงบสุข และได้ท�ำตามประเพณีของ ประเทศชาติเพื่อความเป็นศิริมงคลเท่านั้น เหมือนฉากหนึ่งในภาพยนตร์ในงานพิธี แต่งตั้งทะไลลามะองค์ที่ 14 ลินปูชีนั้นได้พูดว่า เราขอให้พระองค์เป็นผู้น�ำชาวทิเบต ทั้งทางโลกและทางธรรม มันเหมือนเป็นความบริสุทธิ์ที่แท้จริงมันท�ำให้เราทึ่งในความ เคารพที่ชาวทิเบตมีต่อ ทะไลลามะ เพราะเหตุนี้ชาวเมืองถึงได้อยู่กันแบบพึ่งพาอาศัย และกิจวัตรประจ�ำวันที่น่าสนใจ ท�ำให้เมืองแห่นี้ดูมีเสน่ห์ แม้แต่การความสะอาดบ้าน เรือนนั่นก็ถือเป็นพิธีกรรมที่พิเศษแล้ว แต่มันก็มีอีกฉากที่อาจจะสื่อความหมายค�ำว่า “ศาสนาคือยาพิษ” ได้อยู่ เหมือนกัน คือการที่ทุกคนลุกขึ้นมาเพื่อที่จะสู้กับรัฐบาลจีน แต่นั่นก็เป็นเพียงเพื่อ ปกป้องบ้านเมืองและผู้คนที่อยู่ในเมือง อีกนัยคืออยากปกป้องวัฒนธรรมอันเก่าแก่นี้ ไว้ และหนึ่งในความคิดที่คนดูสัมผัสได้คือ ผู้ที่จะมาเป็นผู้น�ำของเขาได้จะต้องเป็นผู้ที่ ถูกเลือกโดยพระพุทธเจ้าเท่านั้น นั่นก็คือ ทะไลลามะ นั่นเอง ถึงแม้ภาพยนตร์ 120
จะปูเรื่องมาให้ชาวทิเบตเป็นผู้ถูกกระท�ำ เพราะส่วนใหญ่ในภาพยนตร์ที่ชัดเจนที่สุดก็ คงเป็นความบริสุทธิ์ของจิตใจคนในประเทศเท่านั้น แต่ก็ได้ทิ้งปมต่างๆให้คนดูได้ ขบคิดกันเอง และตีความหมายตามที่ผู้ชมมองเห็นได้ เพราะแต่ละปมที่ปรากฏใน ภาพยนตร์ไม่ได้มีการแก้ปมนั้นๆ เลยแม้แต่ปมเดียว ดังนั้นส่วนนี้จึงถือได้ว่าเป็นอีก เหตุผลที่สะกิดใจคนดูได้บ้างว่า หรือมันจะเป็นพิษจริงๆ แต่อย่างไรก็ตามโดยภาพรวมแล้วภาพยนตร์เรื่องนี้ได้ทิ้งปมมากมายให้ผู้ ชมได้คิดต่อยอด อารมณ์เหมือนหนังจบแล้วแต่ความคิดยังไม่จบ และเป็นหนังรางวัล อีกเรื่องที่ไม่ควรพลาดอย่างยิ่ง เพราะเราเหมือนได้สัมผัสกับความยิ่งใหญ่ และเก่าแก่ ทางด้านวัฒนธรรมของชาวทิเบตผ่านการถ่ายทอดทางบทภาพยนตร์ พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ ชาวพุทธควรไปเหยียบสักครั้ง รวมทั้งการได้รับรู้ถึงบุคคลที่ใครๆก็ให้ความเคารพ อย่าง ทะไลลามะ การเป็นอยู่แบบเรียบง่ายของคนในพื้นที่ที่เป็นเสน่ห์อีกอย่างที่ผู้ สร้างถ่ายทอดมันออกมาได้ดีเยี่ยม แต่ยังคงโทนของภาพยนตร์เชิงชีวประวัติได้เป็น อย่างดีอีกด้วย
122
123
7 year in TIBE