Church Northeast Wat Nok Aok

Page 1

สิมอีสาน วัดนกออก อําเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา

หทัยกนก กวีกิจสุภัค



1

สิมอีสาน วัดนกออก อําเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา


2

นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา หรือ รูจักในชื่อ “โคราช” เปนจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดใน ประเทศไทยและ มีประชากรมากเปนอันดับ 2 ของประเทศ ซึ่งเปนจังหวัดที่จัดอยูในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ หรือที่เราเรียกกันวา “ภาคอีสานตอนลาง”


3


4

ประวัติอําเภอปักธงชัย

ปกธงชัย เปนอําเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีมา อยูทางตอนใตของจังหวัด สมัยโบราณ เดิมปกธงชัยเปนเมืองโบราณตั้งแตขอมเรืองอํานาจ ทั้งนี้สันนิษฐานไดจาก เขตอําเภอปกธงชัยมีซากปรักหักพังของปรางค หรือ เทวาลัยหลายแหงที่เปนศิลปกรรม และสถาปตยกรรมที่ขอมนิยมสรางตามเมืองตางๆ ที่ตนปกครองอยูใหญบาง เล็กบาง ตามความสําคัญของแตละเมือง เชน ปรางคนาแค ปราสาทสระหิน ปรางคบานปรางค ปรางคกูเกษม ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เปนเมืองหนาดานทางทิศใตของเมืองนครราชสีมา เพื่อเปนก องระวังหนาคอยสอดแนมขาศึกและคอยปะทะขัดขวางหนวงเหนี่ยวไมใหขาศึกยกทัพ ประชิดเมืองนครราชสีมาเร็วเกินไป เมืองปกในสมัยนี้จึงถูกตั้งและเรียกวา “ดานจะโปะ” ในสมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. 2321 ในรัชสมัยพระเจากรุงธนบุรีโปรดฯใหสมเด็จเจาพระยา มหากษัตริยศึก (รัชกาลที่ 1) ยกกองทัพไปปราบเมืองเวียงจันทนและไดรับชัยชนะ ขากลับ จึงไดกวาดตอนเชลยชายหญิงพรอมกับเพี้ยอุปราช และ ใหไปพักอาศัยอยูที่ ดานจะโปะครั้นชาวเมืองเวียงจันทนตั้งบานเรือนเปนหลักฐานมั่นคงแลว เจาพระยา นครราชสีมา (ปน) จึงกราบบังคมทูลสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี ขอพระราชทานพระบรม ราชานุญาตตั้งดานจะโปะเปนเมือง เรียกวา “เมืองปก” (ยังไมมีคําวาธงชัย) และได กราบบังคมทูลขอใหเพี้ยอุปราชเปนเจาเมืองปกคนแรก พระราชทานนามวา “พระยา วงศาอรรคราช” (ซึ่งกลาวกันวาเปนตนตระกูลวรธงไชย ขณะนี้) เมืองปกในสมัยนี้เปน เมืองชั้นตรีขึ้นตรงตอเมืองนครราชสีมา


5

ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร พ.ศ. 2369 เจาอนุวงศแหงเมืองเวียงจันทนยกทัพมา ยึดเมืองนครราชสีมาและไดกวาดตอนชาวเมืองไป แตถูกคุณหญิงโมและชาว เมืองนครราชสีมาตอสูกับทหารเวียงจันทนจนไดรับชัยชนะและไดพระราชทาน นามวา “ ทาวสุรนารี ” การกวาดตอนเชลยคราวนั้น ทหารเจาอนุวงศแหงเมือง เวียงจันทน ไดมากวาดตอนชาวเมืองปกทั้งชาวไทยโคราช และ ชาวเวียงจันทน ซึ่งชาวเวียงจันทรไดอพยพมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารตั้งแตสมัยกรุงธนบุรี จึง พรอมใจกันจับอาวุธตอสูขับไลทหารของเจาอนุวงศพายแพกลับไป (ปจจุบันชาว เวียงจันทนเปนบรรพบุรุษ ของชาวตําบลตะคุทั้งตําบล ตําบลเมืองปก ตําบลสะแกราชบางหมูบาน ตําบลตะขบบางหมูบาน)


6


7


8

ความหมายของคําวา “ สิม ” สิมอีสาน หรือ โบสถอีสาน มาจากการที่ทางอีสานเรียก โบสถวา “สิม” ลักษณะโดยทั่วไปของสิม แบงเปน 2 ประเภทหลักตามสภาพของแหลงที่ตั้ง คือ สิ มนําและสิมบก สิมนํา เปนสิมที่ตั้งอยู กลางนํา เชน สระ หนอง บึง


9

วัดที่ยังไมมีวิสุงคามสีมา สวนใหญสิมบกเปนสิมที่ตั้งอยูบนแผนดิน มีลักษณะเปน อาคารถาวร นอกจากนี้ สิมยังแบงตามลําดับอายุกอนหลังและลักษณะรวมในรูปแบบ ไดเปน 4 ประเภท คือ สิมกอผนังแบบดัง้ เดิม สิมโถง สิมกอผนังรุน หลัง และสิมแบบผสม “ สิม ” มาจากคําวา สีมา สิมมา หรือพัทธสีมา ที่ปรากฏในคําจารึกบนแผนหินที่ ประกาศเจตนาอุทิศของผูสรางปกไวดานหลังสิมมีปรากฏอยูทั่วไป ความหมายของคํา เหลานี้ หมายถึง เขตแดนที่กําหนดในการประชุมทําสังฆกรรมอันเปนกิจของสงฆโดยมี แผนสีมาหินเปนเครื่องหมายแสดงขอบเขตรอบบริเวณตัวสิม


10

ประเภทของสิมอีสาน 1. คามสีมา คือ สิมที่สรางในชุมชน

1.

2. อุทกเขปสีมา คือ สิมที่สรางในนํา

2.


11

ประเภทของสิมอีสาน 3. อัพภันตรสีมา คือ สิมที่สรางในปา

3.


12


13

บทบาทของสิม

ทําอุโบสถกรรมตามพระวินัย ทําวัตรเชา-เย็น อุปสมบท สวดผากฐิน ทําสังฆกรรม ปริวาสกรรม ปวารณา

สวนประกอบตกแตงสิม

“สิมอีสาน” นอกจากจะมีรูปแบบที่บงบอกถึงเอกลักษณของสถาปตยกรรมพื้นถิ่น อีสานแลวยังมีรายละเอียดของการตกแตงอีกหลายประการที่ทําใหตัวสิมมีความงาม เพิ่มมากยิ่งขึ้น เราอาจแยกสิมออกเปน 3 สวน เพื่อใหงายตอการศึกษา ดังนี้ -สวนบน คือ สวนของหลังคาทั้งหมด จะมีสวนประดับตกแตง เชน ชอฟา โหง ลํายอง หางหงส เชิงชาย และสีหนา เปนตน -สวนกลาง คือ ตัวสิม หากเปนสิมโปรงจะไมใครมีการตกแตงมาเทาสิมทึบ ซึ่งใน สวนนี้จะกออิฐฉาบปูนเปนสวนใหญ มีสวนประกอบตกแตง เชน ประตู หนาตาง คัน ทวย ฮังผึ้ง และบางแหงอาจมีฮูปแตมทั้งภายนอกและภายใน ตลอดถึงฐานชุกชีพระ ประธานก็ถือวาเปนงานตกแตงที่อยูในสวนนี้ -สวนฐาน คือ สวนของแอวขันที่กออิฐฉาบปูนทําเปนโบกควํา-โบกหงาย และมีทอง กระดานกระดูกงูตามรสชาติงานชางของอีสาน ซึ่งมีการวางจังหวะและสัดสวนแปลกไป จากชางภาคอื่น


14


15


16

องคประกอบการตกแตงสิม


17

ฮังผึ้ง คือ ตั้งอยูดานหนาประตูทางเขาของอุโบสถ

หรือสวนบนของประตูทางเขา และ ชาวโคราชมีความเชื่อวา ฮังผึ้ง ชวยนําสิ่งไมดีออกจากรางกายกอนเขาอุโบสถ


18

บันไดมกร คือบันไดทางขึ้นกอนเขาอุโบสถ ซึ่งที่สรางเปนตัวมกรนั้นเปน

เพราะมีความเชื่อวาตัวมกร เปนสัตวสองสิ่งรวมกัน ระหวางพญานาค และ สิงห สัตวสองสิ่งนี้ในเชิงพระพุทธศาสนาแลวสามาดูดกลืนสิ่งชั่วรายเชนกัน


19

หางหงส คือสวนที่ตอทายของหลังคามีไวเพื่อประดับตกแตง

ชาวไทโคราชจะสรางหางหงสเปนรุปหัวพญานาค เนื่องจากเชื่อ วาพญานาคจะชวยปกปองคุมครอง และนําพาสิ่งชั่วรายออก จากพระพุทธศาสนาอีกดวย


20

หนาบัน คือ สวนที่อยูดานบนของอุโบสถ มีไวสําหรับเลาเรื่องราวตางๆ เชน ภาพเรื่องรามเกียรติ์ หรืออาจเปนภาพพรรณพฤกษา ภาพธรรมชาติ เชน แสงดวงตะวัน เพราะเชื่อวา เมื่อชาวบานไดเขาอุโบสถแลวควรไดรับ ความสวางจากแสงพระพุทธเชนเดียวกับแสงของดวงชชตะวัน


21


22

ชอฟา คือสวนประกอบตกแตงอุโบสถที่อยูดาน บนสุด สวนใหญจะแกะสลักเปนรูปตัวพญานาค เพื่อความโคง และรับกับตัวหางหงส


23

เชิงชาย คือสวนที่เชื่อมโยงระหวาง ชอฟา และหางหงส

สวนเชิงชายของวัดนกออกนั้น ไดมีการสรางประติมากรรม รูปสิงหเปนสวนประกอบของการประดับตกแตงเชิงชาย


24

ประวัติวัดนกออก ที่ตั้ง วัดนกออก ตั้งอยูเลขที่ 56 หมูที่ 6 บานนกออก ตําบลนกออก อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 16 ไร 1 งาน 29 7/10 ตารางวาเปนที่ดินโฉนดเลขที่ 20734 ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2470 เขตวิสุงคามสีมากวาง 10 เมตร ยาว 20 เมตร

ภาพถายทางอากาศบริเวณที่ตั้งชุมชนบานนกออก ที่มา : โปรแกรม Google earth, วันที่เขาถึงขอมูล 13 กันยายน 2559


25

สถาปัตยกรรมสิมวัดนกออก ลักษณะทางสถาปตยกรรมของสิมวัดนกออก เปนอาคารสถาปตยกรรมสมัยอยุธยา ตั้งอยูบริเวณดานหลังของพระอุโบสถหลังใหม ภายในอาคารปรากฏภาพจิตรกรรม บนเพดาน เปนภาพจิตรกรรมฝมือชางพื้นบานที่สวยงาม เปนลวดลายภาพสัตวปา หิมพานต ดวงดาราและลวดลายพรรณพฤกษา ซึ่งนาจะเปนภาพจิตรกรรมที่สะทอน ความคิดความเชื่อในเรื่องจักวาลวิทยาแบบชาวบาน


26


27


28

จิตรกรรมบนเพดาน วัดนกออก ภาพจิตรกรรมภายในสิมวัดวัดนกออก ปรากฏอยูเต็มพื้นที่ของเพดานโดย แบงภาพ ออกเปน 3 ชองตามลักษณะทางสถาปตยกรรมของอาคาร


29

รูปแบบจิตรกรรมบนเพดานชองที่ ๑ เปนภาพจิตรกรรมที่ประกอบไปดวยภาพสัตวชนิดตางๆมีทั้งรูปรางเหมือนจริงตาม ธรรมชาติและเหนือธรรมชาติ อยูทามกลางลวดลายพรรณพฤกษาและดวงดารา สามารถแยกออกตามประเภทและจํานวนไดดังนี้


30

รูปแบบจิตรกรรมบนเพดานชองที่ ๒ เปนภาพจิตรกรรมที่มีลักษณะคลายกับจิตรกรรมในชองที่หนึ่ง ซึ่งประกอบไปดวยภาพ สัตวชนิดตางๆ ที่มีรูปรางเหมือนจริงตามธรรมชาติและเหนือธรรมชาติ อยูทามกลาง ลวดลายพรรณพฤกษา และดวงดารา สามารถแยกออกตามประเภทและจํานวนไดดังนี้


31

รูปแบบจิตรกรรมบนเพดานชองที่ ๓ เปนภาพจิตรกรรมที่มีลักษณะคลายกับจิตรกรรมในชองที่หนึ่งและชองที่สอง ซึ่ง ประกอบไปดวยภาพสัตวชนิดตางๆที่มีรูปรางเหมือนจริงตามธรรมชาติและเหนือ ธรรมชาติ อยูทามกลางลวดลายพรรณพฤกษา และดวงดารา สามารถแยกออกตาม ประเภทและจํานวนไดดังนี้


32

ประวัติของผูเขียนภาพจิตรกรรม

นายบุญมี กฐินฉิมพลี

จากการสอบถามชาวบานและเอกสารที่ไดมีผูบันทึกไว ทราบวา ชางผูวาดภาพจิตรกรรมที่วัดปทุมคงคานั้นคือ นายบุญมี กฐินฉิมพลี นายบุญมีเกิดเมือ่ ประมาณพุทธศักราช 2411 ถึง 2412 มีถิ่นกําเนิดเดิมอยูที่บานใกลโพธิ์เมืองปก มีพี่สาว 2 คน คนโตชื่อมณี คนรองลงมาไมทราบชื่อ(ทศ บารมีบรรณานุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ คุณแมนอย นวลฉิมพลี ปจจุบันอาศัยอยูบานเลขที่4 หมูที่ 4 ตําบลงิ้ว อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ไดสมรสกับนางทองพูน ซึ่งเปนบุตรสาวคนเดียวของหลวงแสง และนางสวน ซึ่งอพยพ มาจากบานหนองบัวรองในตัวเมืองนครราชสีมา มาอยูที่ บานกุดกระดี่ ตําบลงิ้ว ในปจจุบันคุณแมนอย นวล ฉิมพลี มีบุตร 7 คน คือ นางทับทิม แสงอรุณ , นาง สําเภา ผลฉิมพลี , นางกําปน สุมฉิมพลี , นาง นอย นวลฉิมพลี , นายชุม กฐินฉิมพลี , นายชื่น กฐิน ฉิมพลี และ พระครูธวัชชโยดม (นายฉัตร กฐินฉิมพลี) นายบุญมี กฐินฉิมพลี มีผลงานทางดานการเขียน ภาพจิ ต รกรรมฝาผนั ง วั ด อยู ห ลายแห ง ในเขตอํ า เภอ ปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา เทาที่รวบรวมได คือ ผล งานการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังที่วัดงิ้ว วัดมกุฎไทยา ราม วัดนกออก และวัดโคกศรีษะเกษ นับวานายบุญมี กฐิน ฉิมพลี เปนศิลปนที่มีผลงานทางดานจิตรกรรมที่มีฝมือ และมีคุณคายิ่งตอการศึกษาทางดานวิชาการ และ ศิลปะ


33


34


35


36

สิมอีสาน วัดนกออก ภาพและเนื้อเรื่อง © 2016 (พ.ศ.2557) โดย หทัยกนก กวีกิจสุภัค สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ พิมพครั้งแรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 จัดพิมพโดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ออกแบบและจัดรูปเลมโดย หทัยกนก กวีกิจสุภัค โดยใชฟอนต TH Niramit AS 14 pt หนังสือเลมนี้เปนผลงานทางวิชาการจัดทําขึ้นเพื่อสงเสริม และตอยอดศักยภาพการศึกษา ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.