ตึกฝรั่ง ตั้งน่าน

Page 1

ตึกฝรั่ง ตั้งน่าน

จิรายุส แก้วอินแสง



1


2


งานสถาปั ต ยกรรมอิ ท ธิ พ ลตะวั น ตกในเขตเมื อ งน่ า นสมั ย ที่ โ ลกตะวั น ตกเริ่ ม เปลี่ยนแปลงนโยบายจากเดิม ที่มุ่งเพียงแต่ตดิ ต่อค้าขายและเผยแผ่ศาสนามาเป็นการมุ่ง ยึดครองและปกครองดินแดนทางฝั่งตะวันออก ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 24 จนถึงช่วง พุทธศตวรรษที่ 25 ซึ่งถือเป็นยุคสมัยของการล่าอาณานิคม ท�าให้ประเทศส่วนใหญ่ใน เอเชียพยายามที่จะพัฒนาตนเอง ให้เข้าไปสู่การเป็นประเทศสมัยใหม่ และได้เปดรับ วิทยาการในทุกๆด้านของชาติตะวันตกเข้ามา ทั้งทางด้านการแพทย์ วิทยาศาสตร์ สถาปัตยกรรม ฯลฯ แล้วน�ามาผสมผสานกับศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตในท้องถิ่นของตน จนเกิดเป็นรูปแบบเฉพาะขึ้นมาในสมัยนัน้ 3


การมาถึงของชาติตะวันตกสูประเทศลานนาตะวันออก ศาลากลางจังหวัดน่าน ในอดีตคือ หอค�าโดย ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่านในภาพ ยังปรากฏบันไดขึ้นชั้นบนทั้งสองฝั่งของอาคาร ประเทศไทยเริ่มมีการตื่นตัวในเรื่องของการถูกคุกคามดิน แดนจากชาติตะวันตก เมื่อครัง้ เกิดเรื่องกรณีพิพาทเกี่ยว กับดินแดนของพม่ากับอินเดียในปี พ.ศ. 2367 ซึ่งอินเดีย ในตอนนัน้ ตกอยู่ใต้บังคับของอังกฤษ ท�าให้น�าไปสู่การท�า สงครามระหว่างพม่ากับบริษัทอินเดียตะวันออก ผลคือ อังกฤษเป็นฝ่ายชนะและได้ยดึ ครองดินแดนพม่าทางตอน ล่างพร้อมกับรุกรานขึ้นมาเรื่อยๆ จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2429 พม่าก็ตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษทั้งหมด ส่วนด้านทิศ ตะวันออก ก็ถูกฝรั่งเศสก็รุกคืบมาทางเวียดนาม เขมร และลาว ตัง้ แต่ช่วงทศวรรษ 2360 เป็นต้นมา ซึ่งการ ขยายอิทธิพลของตะวันตกนี้ พระบาทสมเด็ข พระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 4และรัชกาลที่ 5 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ทั้งสองพระองค์ต่างทรงตะหนักถึงความเป็น มหาอ�านาจของชาติตะวันตก ที่ไม่อาจต่อต้านได้โดยใช้ ก�าลัง จึงจ�าเป็นต้องผูกมิตรกับประเทศมหาอ�านาจใน ยุโรป ใช้วธิ ีผ่อนหนักให้เป็นเบาและเร่งปฏิรูปบ้านเมืองให้ ทันสมัย โดยเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.2398 ที่ไทยได้ท�าสนธิ สัญญาเบาว์รงิ กับอังกฤษ จากนั้นก็ท�าการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม และเริ่มรับเอาอิทธิพลตะวันตกเข้ามา เรื่อยๆ และเห็นได้อย่างชัดเจนในสมัยของรัชกาลที่ 5 ซึ่ง ได้มีการได้รับเอาศิลปวิทยาการ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ของชาติตะวันตกเข้ามาในประเทศอย่างมากมาย ทัง้ ยังได้ 4


ส่งเสริมให้เจ้านายและขุนนางชัน้ สูงออกไปศึกษาใน ประเทศตะวันตก และพระมหากษัตริย์ไทยเองก็เสด็จ ประพาสประเทศต่างๆ ทัง้ ในเอเชียและยุโรป รวมทัง้ การ จ้างชาวตะวันตกที่เป็นสถาปนิก จิตรกรประติมากร และ นักวิชาการทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสังคมศาสตร์ ประวัติศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ ฯลฯ เข้ามาท�างานในเมือง ไทย ท�าให้ศลิ ปะแบบตะวันตกเริ่มฝังรากลงในสังคมไทย ผลักดันให้เกิดการพัฒนาแนวความคิดและวิธีการแสดง ศิลปกรรมรูปแบบเฉพาะ กลายเป็นเสน่ห์ของ สถาปัตยกรรมในช่วงของการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ความเป็น สมัยใหม่ โดยได้เรียกศิลปะที่มีการผสมผสานทัง้ ตะวันตก และตะวันออกในยุคนัน้ ว่า โคโลเนียล (Colonial) ซึ่งใช้เป็น ชื่อเรียกที่เข้าใจกันโดยทั่วไป ถึงแม้ว่าจะมีความคิดเห็นใน เชิงวิชาการที่ยังไม่เป็นที่ยอมรับในทั้งหมด เมืองน่านถึงแม้จะอยู่ห่างไกลกรุงเทพฯ แต่ก็เป็น หัวเมืองหนึ่งของสยามที่หลีกเลี่ยงไม่พ้นที่ต้องได้รับผลก ระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผ่านมาจากรัตนโกสินทร์ หรือกรุงเทพฯ และจากการเข้ามาของชาติตะวันตก โดยตรงด้วยเช่นกัน เห็นได้ตงั้ แต่การรับเอาคติศักดินาจาก กรุงเทพฯ มาใช้เพื่อเสริมบารมีที่มีอยู่แล้วให้สูงเด่นขึ้นเช่น ในสมัยของเจ้าอนันตวรฤทธิเดช และพระเจ้าสุรยิ พงษ ผริตเดช ที่ทรงได้รับการสถาปนาเกียรติยศสูงกว่าเจ้า เมืองน่านองค์ก่อนๆ ซึ่งทั้งสองพระองค์ก็ต่างได้สร้าง หอค�าขึ้นใหม่แทนของเดิม และตัง้ แต่ในสมัยของเจ้าอนันต วรฤทธิเดชเป็นต้นมา ก็ได้มปี ระวัติในรายละเอียดเกี่ยวกับ การท�านุบ�ารุงพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก ซึ่งล้วนเป็น ความคิดเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์แบบกรุงเทพฯที่ต้องทรง เป็นองค์ศาสนูปถัมภกอย่างแข็งขัน ในขณะที่เจ้าผู้ครอง นครองค์ก่อนหน้าในพงศาวดารไม่ค่อยกล่าวแจกแจงราย 5


ละเอียดในเรื่องนี้มากนักการเข้ามาของอิทธิพลตะวัน ตกในเมืองน่านแบ่งเป็นสองกลุ่มคือ การได้รับอิทธิพล ตะวันตกผ่านกรุงเทพฯ และการเข้ามาเผยแผ่คริสต ศาสนาของมิชชันนารี ซึ่งในด้านของอิทธิพลจากกรุงเทพฯ นั้น เริ่มในช่วงปี พ.ศ. 2429หลังจากที่อังกฤษยึดพม่าเป็น เมืองขึ้น และฝรั่งเศสขยายอ�านาจมาที่หลวงพระบาง สถานการณ์ชายแดนของไทยเริ่มมีปัญหา ท�าให้เมืองน่าน กลายเป็นหัวเมืองชายแดนที่มีความส�าคัญอย่างยิ่งต่อ สยาม รัฐบาลกลางต้องด�าเนินการกับประเทศมหาอ�านาจ ที่แผ่ขยายอิทธิพลมายังแถบนี้ โดยใช้เมืองน่านเป็นหัว หอกในการรักษาชายแดน และรักษา อิทธิพลของไทย เหนือดินแดนเขตปกครองของเมืองน่านรวมถึงเป็นแหล่ง ก�าลังสนับสนุนในการปราบฮ่อในปี พ.ศ. 2433 รัฐบาล สยามก็ได้แต่งตัง้ ข้าหลวงมาประจ�าที่เมืองน่านเป็นครั้ง แรก ซึ่งเป็นนโยบายของการรวบอ�านาจเข้าสู่ศูนย์กลาง โดยเริ่มแรกนัน้ ได้ด�าเนินการแบบค่อยเป็นค่อยไป ต่อมา ในปี พ.ศ.2436 หลังจากเหตุการณ์ท่ไี ทยถูกฝรั่งเศส คุกคามอย่างหนัก (วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112) โดยการส่ง เรือรบล่วงสันดอนปากแม่นา�้ เจ้าพระยาเข้าถึงกรุงเทพ มหานครฯ และข่มขู่เรียกร้องดินแดนฝั่งซ้ายแม่น�้าโขงรวม ถึงราชอาณาจักรลาว บีบบังคับให้ไทยต้องท�าสนธิสัญญา ที่ไม่เป็นธรรม ก่อให้เกิดการสูญเสียดินแดนครั้งใหญ่ท่สี ุด ประมาณ 143,000 ตารางกิโลเมตร ท�าให้สยามต้องเริ่ม เข้ามาจัดการปฏิรูปการปกครองเมืองน่าน เพื่อดึงอ�านาจ เข้าสู่ศูนย์กลางให้มากที่สุด เนื่องจากฝรั่งเศสยังแสดง ท่าทีต้องการดินแดนทางฝั่งขวาที่อยู่ในการปกครองของ เมืองน่านอีกด้วย สภาพการณ์เช่นนี้ท�าให้เมืองน่านมีเรื่อง เกี่ยวข้องกับฝรั่งเศสมากขึ้น ซึ่งในปี พ.ศ. 2439 นัน้ ถือได้ ว่าเป็นช่วงที่เมืองน่านและหัวเมืองเหนือทั้งหมดได้เข้าสู่ 6


กระแสของการเปลี่ยนแปลงจากอิทธิพลภายนอก ที่ได้ ผ่านเข้ามาโดยตัวแทนทางวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง ทั้ง เหล่าข้าหลวงจากส่วนกลาง ชาวตะวันตก และมิชชันนารี เป็นต้น

7


มิชชันนารีในดินแดนลานนา กลุ่มมิชชันนารีได้เข้ามาในกรุงเทพฯ ครัง้ แรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2401 เข้าสู่เพชรบุรใี นปี พ.ศ. 2404 และเข้าสู่ เชียงใหม่ในปี พ.ศ. 2410 โดยมิชชันนารี ศจ.ดาเนียล แมคกิลวารี ได้รู้จักกับเจ้าบริรักษ์ หลานของเจ้าผู้ครอง นครน่าน ที่เชียงใหม่ ท�าให้ท่านได้เดินทางไปเยือนเมือง น่านเป็นครัง้ แรกในปี พ.ศ.2415 พร้อมกับนายแพทย์ ชารลส์ วรูแมน หลังจากนัน้ ศจ. ดาเนียล แมคกิลวารี ก็ กลับมาเยือนเมืองน่านอีกครั้งในปี พ.ศ. 2433 พร้อมกับ ลูกสาวและคณะมิชชันล�าปาง หลังจากการมาเยือนเมือง น่านในครัง้ นี้ ท�าให้กลุ่มมิชชันนารีที่ศูนย์ล�าปางให้ความ เห็นว่า ควรขยายงานศูนย์มชิ ชันไปทางล้านนาตะวันออก ประจวบกับที่ในปี พ.ศ. 2435 แพร่เกิดทุพภิกขภัยอย่าง รุนแรง คณะมิชชันล�าปางได้เข้าช่วยเหลือประชาชนที่ อดอยาก ต่อมาจึงได้ท�าการจัดตัง้ ศูนย์มิชชันในเมืองแพร่ ขึ้นในปี พ.ศ. 2436 และในช่วงเวลาเดียวกันนัน้ คณะมิช ชันล�าปางมีข้ออ้างว่า ฝรั่งเศสคิดแผ่ขยายอิทธิพลมายัง เมืองน่าน และต้องการขอตัง้ กงสุลที่เมืองน่านเพื่อเปด ตลาดการค้าซึ่งอาจจะสูญเสียโอกาสประกาศคริสต์ ศาสนาในเขตนี้ไปให้กับบาทหลวงของโรมันคาทอลิค ฝรั่งเศส ซึ่งการกระตุ้นให้กลุ่มมิชชันนารีคณะเพรสไบที เรียนอเมริกันให้เร่งด�าเนินการจัดตัง้ ศูนย์มิชชันขึ้นที่น่านนี้ เอง ท�าให้เกิดการมาเยือนเมืองน่านในครัง้ ที่ 3 และจัดตัง้ ศูนย์มิชชันน่านขึ้น โดยศาสนาจารย์นายแพทย์ซามูเอล และนางซาราห์ ซี พีเพิลส์กระแสหลักของการ เปลี่ยนแปลงต่อมาในปี พ.ศ. 2539 รัฐบาลกลาง 8


กรุงเทพฯได้เข้ามาปฏิรูปการเมืองการปกครองในเมือง น่านอย่างจริงจัง และท�าให้เมืองน่านยกเลิกกฎหมาย อาณาจักรหลักค�า แล้วเปลี่ยนไปใช้กฎหมายจาก กรุงเทพฯ ซึ่งช่วงเวลาต่อจากนี้ท�าให้เมืองน่าน เข้าสู่ กระแสหลักของการเปลี่ยนแปลงที่ได้รับผลกระทบจาก อิทธิพลภายนอกที่ผ่านเข้ามาโดยตัวแทนทางวัฒนธรรม ไทยและตะวันตกอย่างต่อเนื่อง บทบาทของเจ้าเมืองในหัว เมืองต่างๆ ถูกลิดรอนลงไปมากจนไม่ได้เป็นเจ้าชีวิตอีกต่อ ไป ส่งผลให้เกิดกบฏเงี้ยวเมืองแพร่ข้นึ ในปี พ.ศ. 2445 เพื่อต่อต้านอ�านาจจากรัฐบาลกรุงเทพฯ และหลังจาก ปราบปรามกบฏส�าเร็จ รัฐบาลกรุงเทพฯ ก็ได้เร่ง เปลี่ยนแปลงการปกครองหัวเมืองประเทศราชให้เป็นหัว เมืองธรรมดามากยิ่งขึ้น ถึงแม้ว่าบทบาทของเจ้าเมืองจะ ถูกลิดรอนไป แต่เจ้าสุรยิ พงษ์ผริตเดชฯ ก็ได้รับการโปรด เกล้าฯ เลื่อนยศให้เป็น พระเจ้านครน่านซึ่งเป็นเจ้าหัว เมืองประเทศราชในล้านนาเพียงองค์เดียวที่ได้รับยศ ฐานันดรศักดิ์นี้ ซึ่งหลังจากได้รับการเลื่อนยศแล้ว พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ ก็ได้สร้างหอค�าขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2446 ซึ่งถือเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนหลังแรกในเมือง น่าน ที่มีศลิ ปะแบบโคโลเนียลผสมอยู่อย่างเห็นได้ชัด เช่น ช่องโค้งของหน้าต่าง การใช้ไม้ฉลุ ประดับตกแต่งชายคา และประตู ซึ่งอาคารหลังนี้ออกแบบโดยเจ้าราชดนัย (เจ้า น้อยยอดฟ้า)หนึ่งในบุตรของพระเจ้าสุรยิ พงษ์ผริตเดชฯ และหอค�า นี้ก็ยังมีลักษณะมีรูปทรงคล้ายกันกับคุ้มเจ้า หลวงเมืองแพร่ ซึ่งคาดว่าน่าจะเป็นฝีมอื การออกแบบของ เจ้าราชดนัยด้วยเช่นกัน เนื่องจากพระองค์ได้สมรสกับเจ้า สุพรรณวดี ธิดาของเจ้าหลวงพิริยะเทพวงศ์ ซึ่งเป็นเจ้า เมืองแพร่ในสมัยนัน้ เจ้าราชดนัยจึงมีศักดิ์เป็นบุตรเขยเจ้า หลวงเมืองแพร่ โดยคุ้มหลวงเมืองแพร่นนั้ สร้างขึ้นในปี 9


พ.ศ. 2435 ฉลุลวดลายด้วยฝีมอื ของช่างชาวจีน นอกจาก นี้ เจ้าราชดนัยยังมีธิดา 2 คน คือเจ้าสร้อยฟ้า และเจ้า วิลาวัณย์ ซึ่งยังมีภาพถ่ายเก่าของบ้านเจ้าสร้อยฟ้า ที่เคย ปลูกขึ้นในเมืองน่าน เมื่อครัง้ ที่เจ้าราชดนัยย้ายกลับมา ตามค�ำสั่งของพระเจ้าสุรยิ พงษ์ผริตเดชฯ เมื่อปี พ.ศ.2446 โดยเรือนเจ้าสร้อยฟ้าหลังนี้เป็นเรือนที่เจ้าราชดนัยที่เป็น คนออกแบบให้ธดิ าของตน ซึ่งเรือนที่เห็นในรูปนัน้ มี ลักษณะรูปทรงคล้ายกันกับ คุ้มเจ้าเทพมาลา ทัง้ มี อิทธิพลของโคโลเนียลผสมผสานอยู่ด้วยเช่นกัน สังเกตได้ จากหลังคาทรงมะนิลา มีลายฉลุไม้เชิงชาย มีมุขเป็นห้อง หลายเหลี่ยมยื่นออกมาทั้งซ้ายและขวา แต่บ้านเจ้าสร้อย ฟ้ามีการปรับให้มุขฝั่งซ้ายเป็นระเบียงเชื่อมต่อกับบันได ทางขึ้น มีความเป็นไปได้สูงว่า เมื่อครั้งย้ายมารับราชการ ที่เมืองน่านนัน้ เจ้าราชดนัยได้เป็นผู้ออกแบบให้กับคุ้มเจ้า เทพมาลา และคุ้มเจ้านายอีกหลายหลัง รวมถึงคุ้มของ ตนเองที่ได้ขายให้กับกระทรวงยุตธิ รรมและเคยเป็นที่ตั้ง ของศาลจังหวัดน่าน ก่อนจะถูกรื้อสร้างใหม่ในปี พ.ศ. 2512โคโลเนียลในน่านนอกจากหอค�ำ และคุ้มเจ้าเทพ มาลา อันเป็นสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียลในยุคแรกๆ ของเมืองน่านแล้ว หลังจากนัน้ ในปี พ.ศ. 2456 สมัย รัชกาลที่ 6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระเจ้าสุริยพงษ์ผริต เดชฯ ก็ได้ทรงสร้างอาคารเรือนจ�ำของนักโทษชายขึ้น เป็น ศิลปะแบบโคโลเนียลอีกหลังที่ยังคงพบเห็นได้ในเมืองน่าน ซึ่งปัจจุบันคือ อาคารห้องสมุดพร้อมปัญญา ของเรือนจ�ำ จังหวัดน่าน และในปีเดียวกันนี้ฝ่ายมิชชันนารีที่เข้ามาท�ำ พันธกิจเผยแผ่ศาสนาคริสต์อยู่ในเมืองน่าน ก็ได้เริ่มต้น ก่อสร้างอาคารเรียนที่มีโครงสร้างแบบถาวรของนักเรียน ชายขึ้น ณ บ้านต้นป่อง ซึ่งเป็นอาคารก่ออิฐสีแดง ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างโดยศาสนาจารย์ 10


ดร.ฮิวจ์ เทเลอร์ โดยสร้างแล้วเสร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2458 และได้ช่อื ว่าอาคารลินกัล์น หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ของ ตึกแดง และก็ได้เริ่มด�าเนินการสร้างอาคารหลังที่ สองขึ้น ณ บ้านดอนแก้ว เพื่อใช้เป็นอาคารสอนของ นักเรียนหญิง สร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2459 และได้รับ พระราชทานนามว่า โรงเรียนรังษีเกษม ปัจจุบันคือ ตึกรัง ษีเกษม นอกจากนียั้งมีการสร้างอาคารรูปแบบโคโลเนียล ขึ้นตามมจ�านวนมากในเมืองน่านซึ่งส่วนใหญ่เป็นการ สร้างตามความแบบอย่างจากกรุงเทพฯ โดยเฉพาะเรือน หรือคุ้มเจ้านายที่ต้องการสร้างตามสมัยนิยมเช่น คุ้มเจ้า จันทร์ทองดี ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2459 หรือกุฏิสงฆ์ตาม วัดส�าคัญต่างๆในเมืองน่าน ซึ่งมาจากการได้ไปจ�าพรรษา ที่วัดในกรุงเทพฯ ของพระเมืองน่าน ซึ่งเมื่อกลับมาก็ได้ จดจ�ารูปแบบสถาปัตยกรรมที่พบเห็น และจ�าลองแบบขึ้น สร้างในเมืองน่าน จนเกิดความนิยมแพร่กระจายไปยังวัด อื่นๆ เช่น กุฏวิ ัดกู่ค�า กุฏิวัดสวนหอม กุฏวิ ัดนาปัง เป็นต้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 รัฐบาลกลางกรุงเทพฯได้ เข้ามาปฏิรูปการเมืองการปกครองในเมืองน่านอย่าง จริงจัง และท�าให้เมืองน่านยกเลิกกฎหมายอาณาจักร หลักค�า แล้วเปลี่ยนไปใช้กฎหมายจากกรุงเทพฯ ซึ่งช่วง เวลาต่อจากนี้ท�าให้เมืองน่าน เข้าสู่กระแสหลักของการ เปลี่ยนแปลงที่ได้รับผลกระทบจากอิทธิพลภายนอกที่ผ่าน เข้ามาโดยตัวแทนทางวัฒนธรรมไทยและตะวันตกอย่าง ต่อเนื่อง บทบาทของเจ้าเมืองในหัวเมืองต่างๆ ถูกลิดรอน ลงไปมากจนไม่ได้เป็นเจ้าชีวิตอีกต่อไป ส่งผลให้เกิดกบฏ เงี้ยวเมืองแพร่ข้นึ ในปี พ.ศ. 2445 เพื่อต่อต้านอ�านาจจาก รัฐบาลกรุงเทพฯ และหลังจากปราบปรามกบฏส�าเร็จ รัฐบาลกรุงเทพฯ ก็ได้เร่งเปลี่ยนแปลงการปกครองหัว เมืองประเทศราชให้เป็นหัวเมืองธรรมดามากยิ่งขึ้น ถึง 11


แม้ว่าบทบาทของเจ้าเมืองจะถูกลิดรอนไป แต่เจ้าสุรยิ พงษ์ผริตเดชฯ ก็ได้รับการโปรดเกล้าฯ เลื่อนยศให้เป็น พระเจ้านครน่านซึ่งเป็นเจ้าหัวเมืองประเทศราชในล้านนา เพียงองค์เดียวที่ได้รับยศฐานันดรศักดิ์นี้ ซึ่งหลังจากได้รับ การเลื่อนยศแล้ว พระเจ้าสุรยิ พงษ์ผริตเดชฯ ก็ได้สร้าง หอค�าขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2446 ซึ่งถือเป็นอาคารก่ออิฐ ถือปูนหลังแรกในเมืองน่าน ที่มีศิลปะแบบโคโลเนียลผสม อยู่อย่างเห็นได้ชัด เช่น ช่องโค้งของหน้าต่าง การใช้ไม้ฉลุ ประดับตกแต่งชายคาและประตู ซึ่งอาคารหลังนี้ออกแบบ โดยเจ้าราชดนัย (เจ้าน้อยยอดฟ้า)หนึ่งในบุตรของพระเจ้า สุริยพงษ์ผริตเดชฯ และหอค�านี้ก็ยังมีลักษณะมีรูปทรง คล้ายกันกับคุ้มเจ้าหลวงเมืองแพร่ ซึ่งคาดว่าน่าจะเป็น ฝีมือการออกแบบของเจ้าราชดนัยด้วยเช่นกัน เนื่องจาก พระองค์ได้สมรสกับเจ้าสุพรรณวดี ธิดาของเจ้าหลวง พิริยะเทพวงศ์ ซึ่งเป็นเจ้าเมืองแพร่ในสมัยนัน้ เจ้าราชดนัย จึงมีศักดิ์เป็นบุตรเขยเจ้าหลวงเมืองแพร่ โดยคุ้มหลวง เมืองแพร่นนั้ สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2435 ฉลุลวดลายด้วย ฝีมือของช่างชาวจีน นอกจากนี้ เจ้าราชดนัยยังมีธดิ า 2 คน คือเจ้าสร้อยฟ้า และเจ้าวิลาวัณย์ ซึ่งยังมีภาพถ่ายเก่า ของบ้านเจ้าสร้อยฟ้า ที่เคยปลูกขึ้นในเมืองน่าน เมื่อครัง้ ที่ เจ้าราชดนัยย้ายกลับมาตามค�าสั่งของพระเจ้าสุรยิ พงษ์ ผริตเดชฯ เมื่อปี พ.ศ.2446 โดยเรือนเจ้าสร้อยฟ้าหลังนี้ เป็นเรือนที่เจ้าราชดนัยที่เป็นคนออกแบบให้ธดิ าของตน ซึ่งเรือนที่เห็นในรูปนั้นมีลักษณะรูปทรงคล้ายกันกับ คุ้ม เจ้าเทพมาลา ทั้งมีอทิ ธิพลของโคโลเนียลผสมผสานอยู่ ด้วยเช่นกัน สังเกตได้จากหลังคาทรงมะนิลา มีลายฉลุไม้ เชิงชาย มีมุขเป็นห้องหลายเหลี่ยมยื่นออกมาทัง้ ซ้ายและ ขวา แต่บ้านเจ้าสร้อยฟ้ามีการปรับให้มุขฝั่งซ้ายเป็น ระเบียงเชื่อมต่อกับบันไดทางขึ้น มีความเป็นไปได้สูงว่า 12


เมื่อครั้งย้ายมารับราชการที่เมืองน่านนัน้ เจ้าราชดนัยได้ เป็นผู้ออกแบบให้กับคุ้มเจ้าเทพมาลา และคุ้มเจ้านายอีก หลายหลัง รวมถึงคุ้มของตนเองที่ได้ขายให้กับกระทรวง ยุติธรรมและเคยเป็นที่ตั้งของศาลจังหวัดน่าน ก่อนจะถูก รื้อสร้างใหม่ในปี พ.ศ. 2512

13


อาคารลินกัลนโรงเรียนนานคริสเตียนศึกษา

นอกจากการรับเอาอิทธิพลของตะวันตกมาจาก สยามแล้ว การเข้ามาของมิชชันนารี ยังท�าให้เกิดการ ถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมตะวันตกสู่การสร้างสรรค์ สถาปัตยกรรมต่างๆ ในเมืองน่านด้วยเช่นกัน ตึกลินกัล์น และตึกรังษีเกษม ของโรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา เป็น ผลลัพธ์ที่ชัดเจนของการถ่ายทอดและรับอิทธิพลดังกล่าว ซึ่งหลังจากที่มิชชันนารีคณะเพรสไบทีเรียน อเมริกัน จัด ตั้งศูนย์มชิ ชันน่าน เพื่อเผยแผ่ศาสนาคริสต์ขึ้นในปี พ.ศ. 2438 โดยศาสนาจารย์นายแพทย์ซามูเอล นางซาราห์ซี พีเพิลส์ และนางสาวแคทเธอรีน ฟลีสัน หลังจากนัน้ ก็ได้ ด�าเนินพันธกิจหลักของมิชชันนารีคือ การเผยแผ่ศาสนา คริสต์ สอนหนังสือ และรักษาพยาบาลผู้ป่วย โดยนางสาว ฟลีสันได้เปดโรงเรียนสอนเด็กขึ้นเมื่อปลายเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2440 ส่วนงานทางด้านการแพทย์อยู่ใต้ ความรับผิดชอบของนางสาวแมรี่ เอ โบว์แมน หมอมิชชัน นารีที่เดินทางเข้ามาน่านเมื่อปี พ.ศ. 2439 โดยใช้เรือนพื้น เมืองเก่าเป็นสถานรักษาพยาบาลในช่วงแรก ก่อนจะสร้าง ใหม่เป็นเป็นโรงเรือนไม้ไผ่มุงหญ้าคาในระยะเวลาต่อมา จากความพยายามของมิชชันน่านในการสร้างอาคารเรียน ถาวรขึ้น โดยศาสนาจารย์ ดร. ฮิวจ์เทเลอร์ได้รณรงค์หา ทุนในช่วงที่ท่านกลับไปอเมริกาและได้ทุนสนับสนุนส่วน ใหญ่มาจากคริสจักรลินกัล์นมลรัฐเนบราสกา ท�าให้ในปี พ.ศ. 2456 จึงเกิดการสร้างอาคารของโรงเรียนชายขึ้น เป็นอาคารอิฐดินเผา ซึ่งในเมืองน่านสมัยนัน้ ยังหาผู้ท่ปี ัน อิฐไม่ได้ จึงต้องจ้างช่างปันอิฐมาจากเชียงใหม่ โดย ศาสนาจารย์เทเลอร์ ได้ดูแลการปันและการเผาอิฐด้วย 14


ตนเองอย่างใกล้ชดิ อาคารเรียนหลังแรกสร้างเสร็จใน ปลายเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2458 เป็นที่รู้จักกันในนาม ของ“ตึกแดง” ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2459 พ่อครูปาล์มเมอร์ ผู้รับผิดชอบโรงเรียนชายก็ได้ให้มกี ารใช้ชื่อโรงเรียนอย่าง เป็นทางการว่า โรงเรียนลินกัล์นอะแคเดมี (The Lincoln Academy for Boys) เพื่อเป็นที่ระลึกแก่คริสตจักรลินกัล์น ที่ให้ทุนสนับสนุนการก่อสร้างอาคารมาตัง้ แต่ต้น อาคาร 2 ชั้น ยกพื้นสูงจากระดับพื้นประมาณ 0.5 เมตร เป็น อาคารรูปตัวแอล (L) ตัวอาคารสร้างโดยอิฐเผา มีระเบียง ทางด้านหน้า โดยตัวอาคารนี้ ดร.ฮิวจ์ เทเล่อร์ และ ครอบครัวได้ย้ายจากจังหวัดล�าปาง มาเป็นมิชชันนารีที่ จังหวัดน่าน ท่านได้กลับไปเยี่ยมบ้านที่สหรัฐอเมริกา และ ได้เชิญชวนมิตรสหายของท่านร่วมบริจาคเพื่อสร้าง โรงเรียนแบบถาวรขึ้น ได้สร้างอาคารขึ้น ใหม่เป็นอาคาร ตึกก่ออิฐสีแดง 2 ชั้น และท�าพิธีเปดอาคาร เมื่อวันที่ 11มิถุนายน 2459 ณ บ้านต้นปล้อง ถนนสุมนเทวราช ให้ชื่อว่า “โรงเรียนลินกัล์นอะแคเดมี” เปดสอนเฉพาะ นักเรียนชาย อาคารสร้างโดยอิฐเผา ถือเป็นตึกเรียนหลัง แรกในเมืองน่าน และเป็นตึกที่ได้รับอิทธิพลจากรูปแบบ ของสถาปัตยกรรมตะวันตกโดยตรง

15


อาคารรังสีเกษมโรงเรียนนานคริสเตียนศึกษา เมื่อสร้างอาคารโรงเรียนชายแล้วเสร็จก็ได้เริ่ม สร้างอาคารของโรงเรียนหญิงต่อ โดยได้ดัดแปลงแบบ จากอาคารลินกัล์น สร้างแล้วเสร็จในปลายปี พ.ศ.2459 และในปี พ.ศ. 2460 จอมพลสมเด็จพระราชปตุลาบรม พงศาภิมุขเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุ พันธุวงศ์วรเดช ได้เสด็จมาเยี่ยมน่าน และประทานนามให้ โรงเรียนเรียนหญิงนี้ว่า โรงเรียนรังษีเกษม และอาคาร เรียนของนักเรียนหญิงนี้ก็ได้ช่อื ว่า ตึกรังษีเกษมความเป็น มาของตึกลินกัล์น กับตึกรังษีเกษมเป็นความพยายามของ กลุ่มมิชชันน่าน ที่ต้องการสร้างอาคารเรียนถาวร และแข็ง แรงส�าหรับเด็กนักเรียนขึ้น เนื่องจากเด็กนักเรียนบางคน เดินทางมาไกลบ้าน และต้องการที่พักประจ�า ทัง้ ในสมัย นั้น ไม้ในเมืองน่านถูกท�าสัมปทานโดยบริษัทจากอังกฤษ คนทั่วไปไม่สามารถใช้ไม้ในการก่อสร้างได้ท�าให้ต้องสร้าง อาคารด้วยอิฐแทน โดยฐานรากของอาคารชัน้ ล่างสุดเป็น หินขนาดใหญ่ ปูทับด้วยก้อนอิฐ ก่อนจะวางทับด้วยไม้ซุง ขนาดใหญ่ เพื่อรองรับพื้นไม้ของอาคารชัน้ ล่าง ซึ่งปัจจุบัน ถูกปูคอนกรีตทับไปแล้ว ช่องว่างระหว่างไม้ซุงที่รองรับพื้น ไม้จะเป็นช่องระบายอากาศ และความชื้นจากพื้นดินด้าน ล่างออกไป เพื่อไม่ให้ท�าความเสียหายให้กับอาคารภายใน ปี พ.ศ. 2461 ได้มกี ารต่อเติมปีกซ้ายของตึกรังษีเกษมขึ้น มาเพื่อใช้เป็นที่พักมิชชันนารี และหอพักนักเรียน และต่อ มาในปี พ.ศ. 2467 เมื่อเริ่มมีจ�านวนนักเรียนมากขึ้น จึงได้ ต่อเติมฝั่งขวาขึ้นอีกเพื่อขยายเป็นห้องเรียนเพิ่ม และหลัง สงครามโลกครัง้ ที่ 2 ประมาณปี พ.ศ. 2488 ได้ท�าการ 16


เปลี่ยนหลังคาจากดินขอเป็นสังกะสี และทาสีตึกใหม่ ซึ่ง ได้ท�าการบูรณะในลักษณะเดียวกันกับตึกลินกัล์นพร้อม กันไปด้วย และถูกทิ้งร้างมาช่วงระยะเวลาหนึ่ง เนื่องจาก สภาพที่ทรุดโทรมลงของอาคาร ปัจจุบันตึกรังษีเกษม ก�าลังได้รับการปรับปรุงเป็นหอประวัตศิ าสตร์ เปดให้ สามารถเข้าเยี่ยมชมได้โดยการนัดหมายล่วงหน้าในส่วน ของตึกลินกัล์น พื้นชั้นล่างเดิมเป็นไม้เช่นเดียวกับตึกรังษี เกษม แต่ได้ร้อื ออกและเปลี่ยนเป็นพื้นปูน ปูทับด้วย กระเบื้อง พืน้ ที่ใช้สอยภายในแต่เดิมถูกใช้เป็นห้องเรียน โดยชั้นล่างมี 2 ห้องชั้นบนมี 4 ห้อง และยังมีโถงส�าหรับ จัดประชุมในชัน้ ล่าง ซึ่งมีเวทียกพืน้ สูงส�าหรับไว้กล่าวน�า การประชุมด้านบน ปัจจุบันพื้นที่บริเวณนี้ถูกปรับเปลี่ยน เป็นส่วนส�านักงานของโรงเรียน ส่วนห้องด้านข้างที่ติด ระเบียง แต่เดิมเป็นห้องผู้จัดการ และห้องครูใหญ่ปัจจุบัน ถูกปรับเปลี่ยนเป็นห้องพัสดุ และเก็บของด้านหลังของตึก ลินกัล์นยังมีตึกคหกรรม ซึ่งไม่ได้ระบุไว้ว่าสร้างขึ้นเมื่อใด รูปทรงของอาคารได้ถูกปรับเปลี่ยนไปค่อนข้างมากจาก อดีต โดยการยกโครงหลังคาให้สูงขึ้น เปลี่ยนวัสดุมุง หลังคาจากแป้นเกล็ดเป็นสังกะสี ก่อนจะเปลี่ยนเป็นเหล็ก รีดดังที่เห็นในปัจจุบัน องค์ประกอบส�าคัญที่ยังพอให้เห็น ถึงอิทธิพลของรูปแบบตะวันตกคือ ผนังก่ออิฐ โครง หลังคาไม้ และปล่องเตาเผาในด้านสกัดของอาคาร เป็น อาคาร 2 ชัน้ ยกพื้นสูงจากระดับพื้นประมาณ 0.75 เมตร เป็นอาคารรูปตัวยู (U) ตัวอาคารสร้างโดยอิฐเผา มี ระเบียงทางด้านหน้า โดยตัวอาคารนี้ดร.ฮิวจ์ เทเล่อร์ได้ ร่วมมือกับมิสลูซ่ี สตาร์ลิ่ง ( ซึ่งเป็นผู้จัดการตั้งแต่มโี รง สอนนักเรียนหญิง )ได้ก่อสร้างอาคารเรียนหลังแรกขึ้นใน ปี พ.ศ.2453 แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2458 ที่บ้านดอน แก้ว ต�าบลในเวียง อ�าเภอเมือง จังหวัดน่าน และให้ช่อื 17


ว่า “ โรงเรียนรังษีเกษม ” โดยพระนามของพระองค์เจ้า ภาณุรังษี เปดสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในปี พ.ศ. 2461และได้ต่อเติม อาคารรังษีเกษมขนาบตึกทางทิศ ตะวันออก เพื่อเป็นบ้านพักของผู้จัดการ ในปี พ.ศ.2467 ได้ต่อเติมขนาบข้างตึกทางทิศตะวันตกอีกใช้เป็นหอพัก นักเรียนประจ�าท�าให้ตัวอาคารมีลักษณะคล้ายตัวยู นอกจากนี้ยังมีอาคารของโรงพยาบาลเก่าบริเวณ ด้านทิศใต้ของอาคารลินกัล์น ซึ่งปัจจุบันได้ถูกปรับปรุง เป็นบ้านพักอาจารย์ และนักเรียนแลกเปลี่ยนนานาชาติ ซึ่งแต่เดิมนัน้ เป็นโรงเรือนไม้ไผ่มุงหญ้าคา ต่อมาก็ได้น�า วัสดุอุปกรณ์มาจากบ้านเก่าของมิชชันนารีและบ้านเก่า ของพวกเจ้านายที่มิชชันนารีซื้อมาอีกต่อหนึ่ง เพื่อใช้สร้าง เป็นโรงเรือนไม้ไว้เป็นสถานพยาบาลคนป่วย ในการด�าเนิน พันธกิจทางการแพทย์ของกลุ่มมิชชันนารี ต่อมาได้มีการ เรียกร้องขอทุนสนับสนุนเพื่อสร้างโรงพยาบาลขึ้นใหม่ท่มี ั่ง คงแข็งแรง จึงได้รับเงินบริจาค จากกรรมการสตรีแห่ง นิวยอร์กอีก 5,000 ดอลลา นอกจากนี้ยังมีพระเจ้าสุรยิ พงษ์ผริตเดชฯ ที่ได้ประทานเงินให้เพื่อตอบแทนมิชชันนารี ที่รักษาโรคเรื้อรังของพระองค์ให้หายขาดได้ และจอมพล สมเด็จพระราชปตุลาบรมพงศาภิมุขเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่าง วงศ์กรมพระยาภาณุ พันธุวงศ์วรเดช ที่ได้บริจาคเงิน เมื่อ เสด็จเยี่ยมโรงพยาบาล เพื่อสร้างอาคารโรงพยาบาลหลัง ใหม่นี้ขึ้น และซื้อเครื่องมือทางการแพทย์ต่างๆ ซึ่งเริ่มปัน อิฐ เพื่อใช้ในการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2469 และวางศิลา ฤกษ์ก่อสร้างในวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 โดยอาคาร ของโรงพยาบาลหลังนี้เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ชั้นเดียว มี ผังรูปตัวแอล มีทางเดินด้านหน้าที่รับด้วยซุ้มโค้งเป็นแนว ยาวตลอดแนวทางเดินซึ่งใช้เป็นทางสัญจรเข้าสู่ห้องต่างๆ ที่เรียงต่อขนานกันไปตามแนวทางเดิน ในขณะที่อีกฟาก 18


หนึ่งของทางเดินระหว่างช่วงเสา แนวซุ้มโค้งเป็นม้านั่งไม้ ส�าหรับผู้ป่วย และญาติที่มารอรับการรักษาอาคารต่างๆ ของโรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษาแสดงให้เห็นถึง พัฒนาการทางด้านศิลปะสถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพล จากตะวันตกของเมืองน่านในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ที่มา พร้อมกับวิวัฒนาการทางด้านการศึกษาและการแพทย์ ซึ่ง ยังคงอยู่คู่เมืองน่านมาจนถึงปัจจุบัน

19



ตึกฝรั่ง ตั้งนาน ชื่อผูแตง จิรายุส แกวอินแสง ภาพและเนื้อเรื่อง © 2016 (พ.ศ. 2559) โดย จิรายุส แกวอินแสง สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ พิมพครั้งแรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 จัดพิมพโดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ออกแบบและจัดรูปเลมโดย จิรายุส แกวอินแสง ออกแบบโดยใชฟอนต TH Niramit AS ,TH Srisakdi หนังสือเลมนี้เปนผลงานทางวิชาการ จัดทําขึ้นเพื่อสงเสริมและตอยอดศักยภาพการ ศึกษาภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม


“ ถึงแมจะไมโดดเดน และเปนที่รับรูกันโดยกวางขวางเทาการสรางสรรค งานในแบบประเพณีลานนา ลานชาง ไทลื้อ หรือนานเองก็ตาม แตก็เปน ประวัติศาสตรอีกหนาหนึ่งของเมืองนานที่ทําใหเราเห็นถึงความหลากหลาย ของอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่มา บรรจบกันที่เมืองนานของเรา ”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.