ข่าวสารการอนุรักษ์ ปีที่1 ฉบับที่ 2 เมษายน 2556

Page 1

ขาวสารการอนุรักษ ปที่1 ฉบับที่ 2 เมษายน 2556

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ โดยฝายเครือขายพิพิธภัณฑ ไดจัดทําขาวสารการอนุรักษขึ้น เพื่อ ประชาสัมพันธและแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางเครือขายพิพิธภัณฑ ฉบับนี้เปนฉบับที่ 2 ทางคณะผูจัดทําได พยายามนําเสนอเนื้อหาตางๆ ใหมีความหลากหลายมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีคําถามจากผูอานสอบถามในเรื่องตางๆ เขามายังคณะผูจัดทํา จึงนํามาตอบในฉบับนี้ เพื่อใหพิพิธภัณฑอื่นๆ ที่อาจประสบปญหาหรือเกิดขอสงสัยในลักษณะ เดียวกัน และหากทานใดมีคําถามเกี่ยวกับโบราณวัตถุ หรือประสงคจะปรึกษาหารือและแลกเปลี่ยนความรู กรุณา ติดตอมายังสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ กิจกรรม

อบรมเรือ่ งการทําความสะอาดวัตถุพิพิธภัณฑ ใหกับพิพิธภัณฑเครือขาย ณ หอพิพิธภัณฑภูมิพลอดุลยเดชมหาราช โรงเรียนวัดโสธรวรารามวรวิหาร จ.ฉะเชิงเทรา 26 มีนาคม 2556


ปรับปรุงการจัดแสดงในตูจัดแสดงพิพิธภัณฑวัดถ้ําตะโก ต.เขาสมอคอน อ.ทาวุง จ.ลพบุรี วันที่ 13 มีนาคม 2556

ผลกระทบของแสงสวางตอการเกิดสนิมบนเครื่องเงิน เครื่องเงินสวนใหญเมื่อจัดแสดงหรือวางไวจะเกิดสนิมขึ้นปกคลุมผิวของเงินสนิม นี้มีลักษณะเปนชั้นบางๆ สีดําเรียกวา “เงินซัลไฟด” เกิดจาก เงินทําปฏิกิริยากับ สารประกอบกํามะถันในอากาศไดสารประกอบเงินซัลไฟดซึ่งมีสีดํา สนิมดังกลาวเปนสนิมดีที่บงบอกถึงความเกาแก ความงามและคุณคาของ โบราณวัตถุ โดยทั่วไปมักเชื่อวาแสงสวางไมมีผลกระทบตอโลหะ เปนที่รูกันมานานแลว วา แสงสวางมีผลตออินทรียวัตถุ รวมถึงกระตุนการเสื่อมสภาพของตูจัดแสดงและทําให ปลอยกาซบางชนิดออกมา แตเมื่อไมนานมานี้มีการศึกษาผลกระทบของแสงสวางตอ สนิมบนเหรียญเงินและเหรียญตรา พบวาเหรียญเงินที่จัดแสดงไวในพิพิธภัณฑและไดรับ แสงที่มีคาความสวางมากกวา 350 ลักซ เปนระยะเวลานานๆ จะมีความเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้น นอกเหนือจากปจจัยอื่นๆ เชนรังสีอัลตราไวโอเลต อุณหภูมิ ความชื้น และ มลภาวะทางอากาศ การวิจัยและติดตามความเปลี่ยนแปลงของสนิม บนเหรียญเงินและเหรียญตรา ที่จัดแสดงที่บริติชมิวเซียม พบวา สนิมจะคงสภาพเดิมถาเก็บไวในที่มืดหรือไดรับแสง สวางเปนระยะเวลาสั้นๆ แตถาไดรับแสงสวางเปนเวลานานทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลง ของสนิมบนผิวของเงิน โดยจะ สูญเสียความแวววาวและบางครั้งสนิมสีดําหรือสีมวง เปลี่ยนเปนสีขาวและมีลักษณะดาน ความเปลี่ยนแปลงนีเ้ กิดจากการสลายตัวของ ซิลเวอรคลอไรดเปลี่ยนไปเปนธาตุเงิน ซึ่งจะรวมตัวเปนอนุภาคเล็กๆ บนผิวของสนิม อนุภาคเล็กๆ นี้สามารถใชแปรงขนนุมๆ ปดออกได และอนุภาคเล็กๆ นี้ทําใหเกิดการกระจายของแสงนอยลง จึงทํา ใหเครื่องเงินไมแวววาว นอกจากนี้ยังพบวาดานหนาของเหรียญเงินที่จัดแสดงมีความเปลี่ยนแปลงมากกวาดานหลัง แสดงวาแสงสวางมีสวนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ในการจัดแสดงเครื่องเงิน มักจะมีการขจัดสนิมสีดําออกจากผิวเครื่องเงิน เพื่อใหเครื่องเงินมีสีเงินและดู แวววาวขึ้น และมักจะใชสารเคลือบผิว (lacquer) ในการเคลือบปองกันสนิม อยางไรก็ตามการกําจัดสนิมของ เครื่องเงินตองคํานึงถึงความเหมาะสมและตองไมทําลายความงามของวัตถุดวย อีกทั้งการใชสารเคลือบผิวก็ตอง ระมัดระวังหรือหลีกเลี่ยงดวยเชนกัน


หนวยงานดานการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศเกาหลีใต หนวยงานหนวยงานดานการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมในประเทศเกาหลีใต ชื่อวา National Research Institute Cultural Heritage เปนศูนยกลางดานการอนุรักษโบราณวัตถุ โบราณสถานและวัฒนธรรมของเกาหลี ตั้งอยูที่เมืองแทจอน (Daejeon) ซึ่งเปนเมืองที่อยูตรงกลางของประเทศเกาหลีใต เปนเมืองวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีของประเทศเกาหลี สถาบันแหงนี้มีหนาที่รับผิดชอบในการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมทุกแขนงของประเทศ เปนสถาบันขนาด ใหญมีหนวยงานภายในจํานวนมาก จะขอแนะนําใหรูจักบางฝายที่นาสนใจ เชน ฝาย Research Division Of Archaeology ทําหนาที่สํารวจ คนควา ดานโบราณคดีของประเทศเกาหลีใต และสรางมาตรฐานดานการขุดคนทางโบราณคดี ฝาย Research Division of Artistic Heritage ทําหนาที่ศึกษาและพัฒนารากฐานของศิลปะเกาหลี ฝาย Research Division Of Architectural Heritage ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบอาคาร ประวัติศาสตร ของอาคารตางๆ เพื่อหาวิธีอนุรักษโบราณสถาน ฝาย Research Division Of Conservation Science ทําหนาที่ศึกษาองคประกอบของโบราณวัตถุ ประเภทตางๆ ศึกษาผลกระทบทางดานชีววิทยาและเคมีของวัตถุทางวัฒนธรรม และทําหนาที่อนุรักษ ซอมแซม โบราณวัตถุ โบราณสถานตางๆ ฝาย Research Division Of Restoration Technology ทําหนาที่ศึกษาวิจัยวัสดุและเทคนิคดั้งเดิม และ ศึกษาหาวัสดุทดแทน เทคโนโลยีที่ทันสมัยสําหรับการอนุรักษ ดําเนินการศึกษามาตรฐานของวิธีการซอมโบราณวัตถุ ทางสถาบันจัดกิจกรรมประจําปในการประชุมกับผูเชี่ยวชาญ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักอนุรักษใน ระดับนานาชาติ โบราณวัตถุที่คนพบจากแหลงโบราณคดีตางๆ ทั่วประเทศเกาหลี โบราณวัตถุในพิพิธภัณฑทั้งของ รัฐและเอกชน รวมถึงวัดวาอารามจะสงมาทําการอนุรักษที่นี้ นักอนุรักษสวนใหญจบจากมหาวิทยาลัยในเกาหลี เนื่องจากมีหลักสูตรการเรียนการสอนดานการอนุรักษโดยเฉพาะ สิ่งหนึ่งที่นา สนใจคือ เจาหนาที่ที่เขาไปทํางาน ภายในสถาบันแหงนี้ ทุกคนมีโอกาสเปนนักอนุรักษ ไมวาจะเรียนจบมาจากสาขาอื่นๆ เชน บัญชี การเงิน ภาษาศาสตร หรือบรรจุเขามาในตําแหนงอื่น ถาสนใจจะเปนนักอนุรักษ ทางสถาบันฯ ใหทุนและโอกาสไปศึกษาตอ ดานการอนุรักษทั้งในมหาวิทยาลัยในประเทศและตางประเทศ นอกจากนี้ทางสถาบันฯ มีโครงการอบรมสําหรับนักอนุรักษ ผูที่ทํางานดานพิพิธภัณฑ และดานวัฒนธรรม เรียกวา โครงการ Asia Cooperation Programme in Conservation Science: ACPCS เปนประจําทุกป ระยะเวลาในการฝกอบรม 3 เดือน หากผูใดอยากเพิ่มพูนความรูและหาประสบการณในการใชชีวติ อยูใ นประเทศ เกาหลี ดูรายละเอียดเพิ่มเติมดูไดที่เวบไซด www.nrich.go.kr


แลกเปลี่ยนความรู คุณจุฑารัตน : ตองการความรูเรื่องการติดตั้งเครื่องดูดความชื้น จิราภรณ : เครื่องดูดความชื้นเหมาะกับพิพิธภัณฑที่มีวัตถุที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไดงายมากเมื่อไดรับ ความชื้นและไมสามารถควบคุมความชื้นไดดวยวิธีอื่นๆ การใชเครื่องดูดความชื้นจะตองมี เครื่องวัดและบันทึกความชื้นตลอดเวลา เพื่อที่จะควบคุมใหความชื้นอยูในระดับที่ตองการ และคงที่ตลอดเวลา วันละ 24 ชั่วโมง ไมเวนวันหยุดราชการ หากไมสามารถควบคุมได ตลอดเวลาจะทําใหเกิดปญหาหนักกวาเดิม วัตถุพิพิธภัณฑแตละชนิดตองการระดับความชื้น แตกตางกัน เชน ผา กระดาษ ภาพเขียน ภาพถาย ใบลาน เครื่องจักสาน เครื่องเขิน ฯลฯ ตองการความชื้นปานกลาง ในขณะที่ โลหะ แกว ฯลฯ ตองการความชื้นต่ํา หากมีวัตถุหลาย ชนิดอยูในหองเดียวกัน ไมควรติดตั้งเครื่องดูดความชื้นขนาดใหญสําหรับดูดความชื้นภายใน หอง ควรใชเครื่องดูดความชื้นขนาดเล็กหรือซิลิกาเจล สําหรับดูดความชื้นภายในตูบางตู แทน นอกจากนี้ยังตองคํานึงถึงระดับความชื้นในบรรยากาศรอบๆ ตัววัตถุดวย(microclimate) เชน ภายในตู ภายในกลอง ภายในกรอบรูป ฯลฯ ไมใชสนใจเฉพาะความชื้นเฉลี่ยภายในหอง เพราะในหอง ๆ หนึ่งมีจุดอับมากมายที่อากาศไมไหลเวียนถายเทเทาที่ควร จุดอับเหลานี้คือที่ที่ มีความชื้นสะสมอยูสูงกวาที่อื่นๆ และไมสามารถระบายออกไปไดงาย ๆ ทําใหมีเชื้อราเกิดขึ้น อยางไรก็ตาม หากไมมีเครื่องดูดความชื้น ปญหาเรื่องความชื้นสูงและเชื้อราในพิพิธภัณฑจะลด นอยลงได หากคํานึงถึงการระบายอากาศและการลดจุดอับตั้งแตขั้นตอนการออกแบบหรือ ปรับปรุงอาคารหรือจัดทําตู ชั้น ลิ้นชัก ตลอดจนการเลือกใชวัสดุในการจัดเก็บและจัดแสดง คุณไพรินท จิราภรณ

: ทําไมหนังสือเกามีกลิ่นแปลก ๆ : หนังสือเกามักมีกลิ่นแปลกๆ จนหลายคนไมกลาแตะตองเกรงวาเปนกลิ่นเชื้อรา สาเหตุที่ทํา ใหหนังสือเกามีกลิ่นมีหลายสาเหตุ หนังสือทําจากอินทรียวัตถุหลายชนิด เชน กระดาษ หมึก กาว เสนใย บางเลมมีปกทําดวยหนัง ผา พลาสติก อินทรียวัตถุเหลานั้น บางชนิดมี กลิ่น ประจําตัวตั้งแตเริ่มผลิตและเมื่ออินทรียวัตถุเหลานี้ไดรับความรอน แสงสวาง ความชื้น กาซ ในอากาศ และสารเคมีจากสิ่งแวดลอมจะเกิดปฏิกิริยามากมาย ไดสารประกอบหลายชนิด สารประกอบเหลานี้บางชนิดเปนสารระเหยจึงมีกลิ่น เพราะฉะนั้นกลิ่นบนหนังสือเกาจึงเปน กลิ่นของสารประกอบหลายชนิดผสมกัน นอกจากกลิ่นจากภายในตัวหนังสือเองแลว ยังมีกลิ่น จากภายนอกอีกมากมาย จากตู ลิ้นชัก หีบและหองที่เก็บรักษาหนังสือเหลานั้น เชน กลิ่นบุหรี่ ซิการ ควันไฟ ควันธูป ลูกเหม็น การบูร อาหาร ฯลฯ และหากหนังสือนั้น ๆ อยูในที่ที่มี ความชื้นสูงและอับเปนเวลานาน มักจะมีเชื้อราขึ้นเจริญ สงกลิ่นเฉพาะตัวของเชื้อราอีกหลาย กลิ่น บางครั้งมีแบคทีเรียรวมดวย

ผูจัดทํา นางจิราภรณ อรัณยะนาค นายศุภกร ปุญญฤทธิ์ นางวัชนี สินธุวงศานนท นางสาวพัชรลดา จุลเพชร นายคุณาพจน แกวกิ่ง นายพรพิชิต พรรัตน

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถ.สนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 022252777 ตอ 109 fax 022251881-2 e-mail : pacharalada@ndmi.ro.th http://www.ndmi.or.th/home.php http://www.facebook.com/museumsiamfan



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.