{ขาวสารการอนุรักษ} ปที่ 5 ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน 2560
เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ ขาวสารการอนุรักษฉบับนี้ สพร.ขอนำเสนอตัวอยางกิจกรรมสรางสรรคสำหรับเด็กปฐมวัยในพิพิธภัณฑ ตางแดน เพื่อกระตุนและสรางจิตสำนึกรักและภูมิใจในถิ่นฐานบานเกิดดวยประวัติศาสตรชุมชน จากนั้นขอนำ เสนอกิจกรรมในรั้วสพร. ซึ่งเปนภาพบรรยากาศการอบรมซอมแซมชุดโขน ปดทายขาวสารการอนุรักษฉบับนี้ ดวยการไขขอของใจกับปญหาที่พบบอยครั้งจากการซอมแซมกระดาษ รวมถึงเคล็ดลับการแกไขปญหาดวย การใชวิธีการที่งาย สุดทาย หากทานใดมีขอมูลขาวสาร ขอแนะนำดานงานอนุรักษ และงานพิพิธภัณฑดานอื่นๆ สามารถ ติดตอมายังสพร. ทางสพร.มีความยินดีเปนอยางยิ่งในการรวมสรางกระบวนการเรียนรูแกสังคมครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอำนวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ
กิจกรรม เมื่อวันที่ 28 - 30 มีนาคม 2560 ไดมีการจัดอบรมการอนุรักษวัตถุเครื่อง แตงกายโขนที่จะนำไปใชจัดแสดงในนิทรรศการถาวร ใหแกเจาหนาท่ิของสพร. มีวิทยากรจากศูนยการศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก วิทยาลัยในวัง โดยได เรียนรูเทคนิคและวิธีการปกผาพื้นฐานนำมาปรับใชในการซอมแซมวัตถุ ในการอนุรักษเครื่องกายโขนครั้งนี้ เจาหนาที่ สพร. ไดใชอุปกรณที่หาซื้อ ไดงาย เชน ดิ้นโปรง ดิ้นขอ เขามาเสริมสวนที่ชำรุด ทั้งนี้ดิ้นโปรงและดิ้นขอ ที่มีความเงาและขาวใส จะมีการเคลือบสารเคมีบนดิ้น ในการปฏิบัติงานจึงจำ เปนตองระมัดระวังในการสัมผัส และตองลางมือและซับมือใหแหง หลังจาก สัมผัสกับวัสดุเปนเวลานาน หนา 1
พิพิธภัณฑกับงานบริการศึกษาในมิติประวัติศาสตรชุมชน พิพิธภัณฑทางประวัติศาสตรซานวอรคีน (San Joaquin County Historical and Museum) ตั้งอยูในสวน สาธารณะมิคกี้โกรฟ ระหวางเมืองสต็อคตั้นและเมืองโลได รัฐแคลิฟอรเนีย สหรัฐอเมริกา กอตั้งขึ้นเมื่อปคศ. 1966 มีอาณาบริเวณพื้นที่ 2 ไร 1 งาน (3,716 ตารางเมตร) อาคาร 12 หลัง ประกอบดวย อาคารจัดแสดงคอลเลคชั่น ประเภทเครื่องมือ เครื่องใช สิ่งประดิษฐ เครื่องเรือน เฟอรนิเจอร อุปกรณและเครื่องจักรกลทางการเกษตรมากกวา 50,000 ชิ้น ซึ่งวัตถุจัดแสดงบางชิ้นมีอายุสมัยนับตั้งแตป ค.ศ.1860, อาคารจัดแสดงนิทรรศการ และอาคารซึ่งเปน ที่ตั้งรานจำหนายสินคาที่ระลึกของพิพิธภัณฑ สิ่งที่โดดเดนและนาสนใจของพิพิธภัณฑแหงนี้คือการจัดกิจกรรมพิเศษสำหรับ เด็ก (อายุ 5-10 ป) ซึ่งไดเริ่มดำเนินการมาตั้งแตป คศ. 1983 โดยการนำ รูปแบบวิถีการดำเนินชีวิตของชาวพื้นเมืองซานวอรคีน ซึ่งเปนบรรพบุรุษรุน แรกที่บุกเบิกและกอตั้งเมืองโลได (ราว ค.ศ.1800) มาเปนครูตนแบบใหเด็กได ใชบทบาทสมมติการเปนผูคนสมัยนั้น การจัดการเรียนการสอนเริ่มตั้งแตการ นำเสื้อผาเครื่องแตงกาย ในแบบชาวพื้นเมืองซานวอรคีนมาใหเด็กไดสวมใส มีการฝกสอนใหเด็กเรียนรูดวย การลงมือปฏิบัติจริง (Learning by Doing) ผานโปรแกรมการเรียนรูทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เด็กจึงสามารถศึกษา เรียนรูไดอยางเปนอิสระ และเพลิดเพลินไปกับกิจกรรมตางๆ ที่ทางพิพิธภัณฑ ไดคัดเลือกไวใหอยางนาสนใจ ไดแก งานฟารมโคนม งานบดขาวโพด งานทำ อาหาร งานซักรีด งานทอผา งานประดิษฐสิ่งของเครื่องใช งานเหมืองทอง และงานศิลปะวาดภาพ กิจกรรมดังกลาวถูกดำเนินไปภายใตการดูแลของครู อาสาของพิพิธภัณฑซึ่งเปนผูถายทอดความรู ใหความชวยเหลือและคำแนะนำ ตลอดชวงการฝกฝนเรียนรูที่สอดแทรกไวดวยทักษะ ดานการเรียนรูและการคิด วิเคราะห ทักษะการแกไขปญหา ทักษะ การ เปนผูนำ ทักษะการทำงานเปนทีม ทักษะดานอาชีพ ทักษะดานความเขาใจวัฒนธรรมที่แตกตางจนนำไปสูการรับรู และเขาใจประวัติศาสตรชุมชนของตนเอง เปนการปลุกจิตสำนึกรักและภาคภูมิ ใจในถิ่นฐานบานเกิด สรางเสริมความรับผิดชอบในหนาที่ตอตนเองและสังคม จากกิจกรรมการเรียนรูดังกลาวทำใหเห็นวา บทบาทและภารกิจของพิพิธภัณฑในปจจุบัน ไมใชแคเพียงพื้นที่จัดแสดง วัตถุสิ่งของเพียงเทานั้น แตพิพิธภัณฑยังถูกทำหนาที่เสมือนผูนำทางในการสงตอความรู ความคิด จากคนรุนอดีตมาสู คนรุนปจจุบันไดอยางดี หากพิพิธภัณฑสามารถนำทรัพยากรวัฒนธรรมที่มีมาเปนเครื่องมือในการออกแบบกิจกรรม รวม ถึงการสรางบรรยากาศการเรียนรูอยางสรางสรรคและนาสนใจ สามารถเชิญชวนใหเด็กตื่นตัวที่จะเรียนรูไดอยางสนุก สนาน คงไมใชเรื่องยากอีกตอไปที่พิพิธภัณฑจะถูกทำหนาที่เปนหองเรียนหองที่สองของเด็กๆ
หนา 2
ขอมูลทั่วไปของพิพิธภัณฑ พิพิธภัณฑทางประวัติศาสตรซานวอรคีน (San Joaquin County Historical and Museum) วันและเวลาเปดทำการ : วันพุธ – อาทิตย (เวลา 11.00 – 16.00 น.) คาธรรมเนียมการเขาชม : - ผูใหญ (อายุ 18-64 ป) $5 - ผูสูงอายุ (อายุ 65 ป ขึ้นไป) $4 - เยาวชน (อายุ 13-17ป) $4 - เด็ก (อายุ 6-12 ป) $2
ขอมูลอางอิง “Discover and Learn.” พิพิธภัณฑทางประวัติศาสตรซานวอรคีน. เขาถึงเมื่อ 5 พฤษภาคม 2560. http://www.sanjoaquinhistory.org/teachers.php หนา 3
รักษวัตถุ ทานรูหรือไมวา เทปกาว หรือกระดาษกาว วัสดุอยางแรกที่เรานึกถึงเพื่อนำมาใชซอมแซมรอยขาดหนังสือ เอกสาร กระดาษ หรือนำมาติดฉลากบนวัตถุนั้น เปนวิธีการทำรายโบราณวัตถุโดยที่เราอาจไมเคยทราบมากอน ปญหาจากการ ใชเทปกาวซอมแซมกระดาษมักพบเจอบอยครั้งในงานอนุรักษ เพราะเทปกาวหาไดงาย และสะดวกในการนำมาซอมชิ้น งานตางๆ หรือแมแตการนำมาติดเปนฉลากบนวัตถุในการจัดแสดงก็ตาม แตเมื่อเวลาผานไปก็จะพบวาเทปกาวแตก หลุดรอน ทำใหเกิดคราบเหนียว และเปลี่ยนเปนคราบสีเหลืองทิ้งรองรอยบนผิววัตถุ ซึ่งปญหาเหลานี้แกไขไดยากมาก และหากเปนวัตถุชิ้นสำคัญที่เสื่อมสภาพไดงาย การดำเนินการอนุรักษวัตถุยิ่งมีความยากมากขึ้น เพราะจำเปนตอง หลีกเลี่ยงการดำเนินการใดๆ ที่สงผลเสียตอวัตถุ
ดังนั้นเมื่อเกิดปญหาหนังสือ เอกสาร หรือกระดาษ ชำรุดฉีกขาดควรประเมินสภาพความเสียหายเบื้องตนกอน หากทานยังไมมีเวลาในการเตรียมการซอมแซมในทันที ใหนำแผนไมรา (Mylar) มาประกบ ดานหนาและดานหลัง ของวัตถุที่ชำรุดฉีกขาด จากนั้นนำเก็บใสกลอง หลีกเลี่ยงการหยิบจับเพื่อปอง กันชิ้นสวนหลุด หายและฉีกขาดเพิ่มขึ้น เอกสารอางอิง Preservation at National Archive. (2017) Tape is Evil. Accessed May 1. Available from http://preservearchives.tumblr.com/post/160012392520/preservation-through-poetry-tape-is-evil-tape-is
ผูจัดทำ นางสาวปฐยารัช ธรรมวงษา นางสาวศิรดา เฑียรเดช นางสาววรรณวิษา วรวาท
สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท: 02 225 2777 ตอ 101 Fax: 02 225 1881-2 e-mail: Sirada@ndmi.or.th, Wanvisa@ndmi.or.th www.facebook.com/museumsiamfan หนา 4